Emagazine

Page 1


CONTENT 01-02

03-04

05-08

09-10

11-12

13-20

บุกตำนานกรุงธนบุรี

รานยาในตำนานบานบุ

ชุมชนบานขาวเมายานธนบุรี

เพชรน้ำงามแหงจิตรกรรมไทย

มนตรักขันลงหิน

- ประวัติศาสตรหัวรถจักรไทย - กระบวนพยุหยาตราชลมารค



บุกตำนาน กรุงธนบุรี ยานธนบุรี เปนพื้นที่ทางประวัติศาสตรที่มีความสำคัญแหงหนึ่ง ของประเทศไทย เปนจุดกำเนิดของประเพณีวัฒนธรรม และพิธีกรรมที่มีความสำคัญตางๆมากมายรวมถึงชุมชน สมัยกอน อาทิเชน ชุมชนบานขาวเมา, ชุมชนทำขันลงหิน และยังถือวาเปนแหลงที่ตั้งของวัดวาอารามที่มีชื่อเสียง ตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยาอยูเปนจำนวนมากไมวาจะเปน • • • • • •

วัดดุสิตตารามวรวิหาร วัดสุวรรณารามวรวิหาร วัดยางสุทธารามวรวิหาร วัดอมรินทรารามวรวิหาร วัดศรีสุดารามวรมหาวิหาร วัดอรุณราชวรารามวรมหาวิหาร เปนตน

ศิริราช-วังหลัง ทุกคนตางรูจักกันเปนอยางดีถือเปนหนึ่งในสถานที่ ที่มีความสำคัญและเปนแหลงประวัติศาสตรยานธนบุรี ในชวงสมัยของรัชกาลที่ 1 ศิริราชเดิมทีมีชื่อวา “บานสวนมังคุด” และเปลี่ยนชื่อมาเปน“วังสวนมังคุด” ตอมาไดเกิดการสูรบ ประเทศพมาไดบุกเขามายึด วังสวนมังคุด แตเจาฟาองคอินทรกรมหลวงอนุรักษเทเวศไดกอบกูเอกราชไวไดและไดเลื่อนยศตำแหนงเปน “เจากรมราชบวรสถานพิมุข”

01


สมัยรัชกาลที่ 5 ไดทรงแตงตั้งใหวังสวนมังคุด เปน “โรงพยาบาลวังหลัง” และตอมา “เจาฟาศิริราช” พระราชโอรสของรัชกาลที่ 5 ไดทรงสวรรคตดวย พระอาการทองรวง อายุเพียง 1 ป 7 เดือนเทานั้น จึงไดจัดพระราชทานเพลิงพระศพ ณ ทุงพระสุเมรุ และทรงไดมีการจัดตั้ง "โรงพยาบาลศิริราช” โดยให ชื่อคลองจองกับ “เจาฟาศิริราช” รวมทั้งทรงจัดตั้ง “พิพิธภัณฑศิริราชพิมุขสถาน”เพื่อเปนอนุสรณสถาน รำลึกถึงเจาฟาศิริราช

สงครามเอเชียบูรพา

ในชวงแรกประชาชนสวนมากไมคอยนิยมเขารับ การรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช ทางโรงพยาบาลจึง ไดนำคนจรจัดเขารับการรักษา ปจจุบันโรงพยาบาล ศิริราชถือเปนศูนยการแพทยที่มีความเปนเลิศที่ใหญ ที่สุดในเอเชียอีกดวย

ดวยเหตุนี้จึงทำใหบริเวณโดยรอบ ไดเกิดสถานที่ทางประวัติศาสตรที่สำคัญ เกิดขึ้นตามมาอีกจำนวนมาก ไมวาจะเปน โรงรถจักรธนบุรี, หลวงพอวัดโบสถนอย และพิพิธภัณฑเรือพยุหยาตราชลมารค

02

ตอมาไดเกิดสงครามเอเชียบูรพาขึ้น สยามไดถูกประเทศญี่ปุนแฝงตัวเขามายึด พื้นที่และตั้งกองบรรชาการ ตัดเสนทาง รถไฟไปยังอำเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี เพื่อเปนทางผานไปยังประเทศพมา สงผล ใหพื้นที่ดังกลาวเกิดเปนจุดยุทธศาสตร ของสยามประเทศ


ชุมชนบานขาวเมา ยานฝงธน ชุมชนบานขาวเมา เปนชุมชนดั้งเดิม ตั้งแตสมัยธนบุรี สันนิษฐานวาคงอพยพมาจากอยุธยาเดิมเรียกวาบาน สวน มีการทำสวนประกอบกับการทำขาวเมาเกือบทุก หลังคาเรือน โดยมีขาวเปลือกจากอยุธยาสุพรรณบุรี นครชัยศรี และตำบลบางพรมอำเภอตลิ่งชันบางสวน โดยบรรทุกเรือลอง มาตามลำน้ำผานคลองบางกอก นอยเขาคลองลัดวัดทอง มาสงถึงบานเพราะมีลำกระ โดงเขาถึงทุกบาน และยังมีการแปรรูปผลไมอีกหลาย อยางเชน พุทธากวน,ขนุนกวน,กลวยกวนสับประรด

ภายหลังเขาใจวาเมื่อ 100กวาปมีกลุมคนมอญ เขามาผสม กับคนพื้นที่ ซึ่งกลุมคนมอญนี้ไดนำ วัฒนธรรมการกวนขนม คือ กาละแม และขาว เหนียวแดงเขามาเผยแพรจึงเปนผลิตภัณฑประ จำชุมชนอีกอยางหนึ่ง ปจจุบันการทำขาวเมา เลิกลาไปแลว เพราะมีขั้นตอนที่ยุงยากตองใช คนมากปจจุบันจึงเหลือแตการทำกาละแม และ ขาวเหนียวแดง กระยาสารทที่เปน ขนมดั้งเดิม ของชุมชนบานขาวเมาซึ่งก็เหลือไมเพียงกี่หลัง

“ ขาวเมา ”

ขาวเมา หรือขาวแบน (เมมร) “ ใชเปนเสบียงในยามศึกสงคราม สามารถอยู ไดตลอดป วิธีการกินเพียงแคพรมน้ำลงบน ขาวเมาแลวนวดใหนิ่มก็สามารถรับประทานได แลวปจจุบันชุมชนขาวเมาไมมีพื้นที่ในการปลูก ขาวจึงตองนำขาวเขามาจาก จังหวัดอื่นๆ ”

03


“ วิธีการทำขาวเมา ” นำขาวเปลือกไป แชน้ำ 1 คืน แลวลางออกจะเกิดเปน น้ำขาวฟองลอยเหนือน้ำ จากนั้นนำ ขาวไปคั่วลงกระทะใหหมาดน้ำ จะได ออกมาลักษณะคลายๆกับขาวเหนียว

นำขาวที่ไดจากการคั่วมาตำลงครก กระเดื่องถาตองการยอมสีขาวใหเปน สีเขียวก็ใสกามปูลงไปใบกามปูไมเพียง แต ยอมสีใหกับขาวเมาเพียงอยาง เดียวแตยังชวยกลบกลิ่นแถมยังไม เปลี่ยนกลิ่นของเขาเมาที่ตำอีกดวย สุดทายนำขาวที่ตำมาฝดบนกระดัง เพื่อนำใบกามปูและเศษขาวเปลือกออก

“ การแปรรูป ” ขาวเมาขูด ขาวเมาทอด ขาวเมาหมี่ ขาวเมาบด ขาวเมาตั้ง ขาวเมาดิบ ขาวเมาราง


ขันลงหิน ชุมชนบ้านบุ ประวัติ

ชุมชนบ้านบุ เดิ ม ก่ อ นจะมาเป็ น ชุมชนบ้านบุในปัจจุบันได้มี การสื บ ทอดภู มิ ปั ญ ญามา จากสมัยกรุงศรีอยุธยา ณ ย่านวังไชย จนกระทั่งสมัย พระเจ้าตากสินมหาราชเสีย กรุง ในปี พ.ศ.2310 ชาว บ้ า นได้ มี ก ารอพยพมาตั้ ง เป็นหมู่บ้านอยู่ที่บางลำภู หลังจากนั้นชาวบ้าน ก็ ไ ด้ ก ลั บ มารวมตั ว กั น อี ก ครั้ ง โดยยึ ด ทํ า อาชี พ ตี ขั น ลงหินเป็นหลักเเละยังมีการ ถ่ายทอดวิชาช่างบุต่อเนื่อง กันมาในชุมชนหลายชั่วอายุ คน จนเป็นที่มาของนามว่า “บ้านบุ” ในปัจจุบันเป็นเวลา 200 กว่าปี

ขั้นตอนการทำขันลงหิน

05


2. การละลาย

เป็นการตกแต่งเพื่อเก็บรอย ค้อนต่อจากการตีขึ้นรูปและแต่งเนื้อ ของภาชนะให้เรียบตึง โดยเมื่อละ ลายเเล้ว ต้องได้รอยเป็นทรงรี ซึ่งมี ลักษณะคล้ายเมล็ดข้าวเม่า หากตีลาย แล้วที่ได้ไม่เป็นทรงรี เเสดงว่าทั่งรองตี หรือ “กระล่อน” ที่ใช้อาจเอียง ความ ยากง่ายของการลายจะสัมพันธ์กับการ ตีขึ้นรูป กล่าวคือถ้าช่างตีเททองลงบน งันได้กลมเรียบและตีขึ้นรูปเนื้อเรียบ ดี การละลายก็จะง่ายและทำได้อย่าง รวดเร็ว แต่ถ้าตีไม่เรียบ ให้ความร้อน ไม่สม่ำเสมอหรือลงน้ำไม่ระอุ เมื่อนำมา ลายจะทำได้ยากและเสี่ยงต่อการ “ลั่น” หรือแตกเสียหาย

1. การหลอม

ได้แก่ ทองแดง ดีบุก และเศษ ขั น ลงหิ น เก่ า ใส่ ใ นเบ้ า หลอมที่ ทํ า ด้ ว ย ดินเผา เพื่อทำการหลอมโลหะ จาก นั้นแหวกถ่านในเตาให้เป็ นแอ่ งสํ า หรั บ วางเบ้าลงไป เติมถ่านปิดทับ ด้านบน จนมิดแล้วจึงสูบลมเพื่อโหมไฟให้แรง ขึ้น โดยใช้เวลาหลอมโลหะประมาณ 15 นาที เมื่อสังเกตเห็นว่าน้ำทอง “ใส เป็นม้วก” หรือละลายดีแล้วจึงเกลี่ย ถ่านและขี้เถ้าออก เทน้ำทองอย่างช้าๆ ลงในแม่พิมพ์ทรงกลมหรือ “งัน” ที่ใส่ น้ํ า มั น เครื่ อ งผสมน้ํ า มั น ดี เ ซลเตรี ย ม ไว้ ระวังไม่ให้สิ่งแปลกปลอมตกลง ไป เมื่อเททองแล้วใช้พัดโพดเพื่อช่วย ให้ ท องแผ่ ก ระจายเต็ ม งั น ทิ้ ง ไว้ จ น แผ่ น ทองเย็ น แล้ ว จึ ง เทออกจากงั น

การตีแผ

ทำเพื่อแผ่แผ่นทองให้ได้ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางตามต้องการ ช่างจะ ใช้คีมคีบแผ่นทองช้อนกัน 4-5 แผ่น จากนั้ น จึ ง ค่ อ ยๆตี จ ากบริ เ วณกลาง ของแผ่นทองไล่ออกไปยังขอบ โดย ต้องเผาไฟสลับกับการตีไปเรื่อยๆ และ ต้องระวังไม่ให้ตีในขณะที่แผ่นทองยัง ร้อนเเดงหรือเย็น จนเปลี่ยนเป็นเป็นสี ดำ เพราะจะทำให้แผ่นทองแตกเสียหาย เรียกว่า “เเตกแดง” และ “แตกดำ” เวลา ตีช่างแบะลูกมือจะตีสลับกันเป็นจังหวะ พยายามให้รอยค้อนแต่ละครั้งซ้ำ รอย เดิม โดยระหว่างตีช่างต้องค่อยๆ หมุน แผ่นทองเป็นวงกลม ปกติเมื่อตีครบ รอบแผ่นทองก็จะเย็นหรือเปลี่ยนเป็นสี ดำต้องนำเข้าเผา ไฟใหม่อีกครั้ง 06

3. การกลึง

เ ป็ น ก า ร ขั ด เ อ า ผิ ว ภ า ช น ะ ออกเพื่ อ ให้ เ ห็ น สี ท องอขงเนื้ อ สํ า ริ ด โดยเอาภาชนะวางบนเตาไฟจนร้ อ น นํ า ชั น ที่ เ คี่ ย วจนข้ น มาทาที่ ก้ น ภาชนะ จากนั้นนำไปติดเครื่องกลึง หรือที่ เรียกว่า “ภมร” ซึ่งภมรที่ใช้กลึงแต่เดิม จะใช้การชักรอก แต่ปัจจุบันเปลี่ยนมา ใช้มอเตอร์แทน สํ า หรั บ การชั น ที่ ไ ด้ ไ ม่ เ หนี ย ว ทำให้ทาแล้วไม่ติดกับภมร ซึ่งช่างจะใช้ เหล็กกลึงจากจุดศูนย์กลางของภาชนะ โดยสามารถกลึ ง ได้ ทั้ ง ด้ า นนอกและ ด้านใน กรณีที่กลึงทั้งด้านนอกและ ด้านในเรียกว่า “กลึงขาว” ส่วนกรณีที่ กลึงเฉพาะด้านในเรียกว่า “กลึงดำ”


“ น่ า เสี ย ดายอี ก ไม่ น านก็ ค งไม่ ม ี ใ ครทํ า ต่ อ ก็ จ ะเหลื อ เเต่ เ เค่ ช ื ่ อ บ้ า นบุ . .. “

ลุงตี๋

4. การกรอ

คือการที่ช่างนำตะไบมากรอ ขอบปากของภาชนะให้เรียบเสมอกัน แต่เดิมเรียกขั้นตอนนี้ว่า “ขึ้นตะไบ” เนื่องจากช่างจะใช้ตะไบเป็นเครื่องมือ การตกแต่งแทน การกรอนั้นช่างจะนำ น้ำใส่กะละมังรองไว้ใต้หินจัดจากนั้นนำ ปากภาชนะ ที่ช่างลายกันไว้ให้ไปกรอ กับหินที่ติดอยู่บนมอเตอร์ไฟฟ้า ซึ่ง ช่างต้องหมั่นสังเกต ตลอดการเจียร ว่าขอบปากภาชนะเรียบเสมอกัน หรือ ไม่ในขณะที่กรอจะมีเศษผงทองหลุด ออกมาและตกลงในกะละมังที่เตรียม ไว้ซึ่งช่างจะค่อยๆ เทเศษฝุ่นละอองที่ ลอยอยู่เหนือน้ำทิ้งไป ส่วนเศษทองที่ ยังเปียกอยู่ก็จะนำส่วนดังกล่าวไปคั่ว ในกระทะให้แห้งแล้วจึงจะสามารถนำไป หลอมใหม่ได้

5 การเจียร

การเจียรในสมัยโบราณไม่มีขั้นตอนนี้ แต่ในปัจจุบันกลุ่มผู้ผลิตได้ประยุกต์นำ เครื่องเจียรไฟฟ้าโดยใช้แผ่นเจียรโลหะ เนื้อหยาบมาแต่งรอยตำหนิต่างๆ บน ภาชนะเพื่อให้ผิวภาชนะเรียบเรียกว่า “การเก็บเม็ด” ซึ่งในขั้นตอนนี้ช่างจะ เจียรเฉพาะส่วนที่มีริ้วรอยก็สามารถ ข้ามขั้นตอนนี้ไปยังขั้นตอนต่อไปนั่นคือ “การแต่งผิว” คือการตกแต่งริ้วรอย อันเกิดจากขั้นตอนการเก็บเม็ดอีกครั้ง สำหรับขั้นตอนนี้จะใช้แผ่น โลหะเนื้อ ละเอียดแต่งให้ทั่วผิวภาชนะเพื่อความ สะดวกต่องานในขั้นตอนต่อไป

6 การขัด

สำหรับการขัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของ การทํ า ขั น ลงหิ น เพื่ อ ที่ จ ะให้ เ กิ ด ความ มันวาว ก่อนส่งต่อไปจำหน่ายซึ่งการ ขั ด เงาเป็ น ลํ า ดั บ แรกสํ า หรั บ ขั้ น ตอน นี้ ช่ า งจะหมุ น ภาชนะไปตามมอเตอร์ ซึ่ ง จะต้ อ งใช้ ค วามระมั ด ระวั ง ในการ ทำเป็นอย่างมาก เนื่องจากลูกทรายมี ความคมสูงเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ในขั้ น ตอนต่ อ มาจะใช้ น้ํ า ยาขั ด เงา ทาที่ลูกผ้าติดมอเตอร์และหมุนภาชนะ ไปตามลูกผ้าที่หมุนอยู่เพื่อให้การขัดเงา ทั่วถึงและเงา เป็นอันจบขั้นตอนการ ทำขันลงหิน 07


มนต์รักขันลงหิน ด้วยความรักของคุณป้าและคุณลุง ที่คบหาดูใจมา ตั้งแต่สมัยวัยเด็ก จนกระทั่งทั้งคู่ได้ตัดสินใจจะมาสืบทอด ภูมิปัญญาของที่บ้าน จนถึงทุกวันนี้....

บทสัมภาษณ์

Q : ข้อผิดพลาดในการตีแผ่ขันมีอะไรบ้าง ? W : ค้อนตีกันบ้าง เพราะลงผิดจังหวะกัน ทำเอาคิ้วคุณลุงตี๋ แตกเลย Q : ระยะเวลาทำขันลงหิน 1วันได้ขันกี่ใบ? W : ประมาณ 10 กว่าใบ บางใบก็ตีแล้วแตก Q : แล้วทำอย่างไรกับใบที่แตก? W : มันเอามาขึ้นรูปใหม่ไม่ได้ ต้องเอาไปหลอมใหม่

Q : คุณป้าและคุณลุงชื่ออะไร? W : ป้าประทุม และ ลุงตี๋ Q : อายุเท่าไหร่แล้ว? W : ป้าอายุ50ปีส่วนลุงอายุ64ปี Q : คุณป้ากับคุณลุงพบกันได้อย่างไร? W : เราเรียนอยู่ที่โรงเรียนเดียวกัน Q : ทำไมคุณป้าเเละคุณลุงถึงได้ตัดสินใจมาทำงานที่นี้? W : หลังจากคุณพ่อของป้าเสีย เราเรียนจบพอดีก็เลยตัดสิน ใจมาทำงานที่นี้ต่อเลย Q : ทำขันมากี่ปีแล้ว? W : ก็ประมาน 30 - 40 ปีเเล้ว Q : ปกติงานที่คุณป้าทำประจำอยู่ฝ่ายไหน? W : ป้าทำเป็นหมดเลย เมื่อก่อนป้าก็ช่วยคุณพ่อ ทำมาแต่เด็ก 08


“สงวนโอสถ” ร้านยาไทยแผนโบราณ นาย สงวน เหล่าตระกูลซึ่งชาวบ้านเรียกขานว่า

“หมอหงวน” คือผู้ก่อตั้งร้านสงวนโอสถเมื่อกว่า 75 ปี ที่แล้ว หมองวนติดตามพ่อเข้ามาค้าขายเเพหน้าวัดทอง ต่อมาได้ขยับขึ้นมาค้าขายที่ห้องแถวข้างตลาด และมี โอกาสเรียนรู้ยาไทยและสอบไล่วิชาแพทย์แผนโบราณ ของกระทรวงสาธารณสุขได้ใบประกอบวิชาศิลป์ จึงเปิดร้านขายยาไทยแผนโบราณ “สงวนโอสถ” หลังตลาดวัดทอง “หมอหงวน” มีความสามารถและเชี่ยวชาญใน การปรุงยา คิดตำ�ราเองเเละรักษาคนไข้ในย่านบ้านบุ เมื่อท่านเสียชีวิต บุตรชาย คือเหล่าตระกูล และนางสาว สุมณฑา เหล่าตระกูล เพราะคำ�พูดของปู่ว่า “อย่าให้เป็นตาลยอดด้วน” ยาไทยแผนโบราณหลายอย่างที่ยังทำ�อยู่มีชื่อ เสียงของร้านสงวนโอสถ ได้แก่ ยาหอมอินทรจักรมี สรรพคุณ บำ�รุงหัวใจแก้วิงเวียนศรีษะ อ่อนเพลีย ยานิลโอสถ ยาเขียวหอม ยาหอมสมมิตรกุมาร ยาแก้ไข้ทับระดู และ ยาหอมสมมิตรกุมารน้อย ปัจจุบันถึงแม้ว่าการแพทย์และสาธารณสุข จะก้าวหน้าไปไกลเพียงใด สำ�หรับชาวบ้านบุและใกล้เคียง ยังคงเชื่อมั่นในสรรพคุณของยาไทยแผนโบราณ ...


กับตำ�นานร้านยาไทยแผนโบราณ “พูดคุย” สงวนโอสถ Q : ร้านยาทำ�มากี่ปี แล้วคุณป้าเป็นรุ่นที่เท่าไหร่แล้ว ? W : ปีนี้ก็ครบ 80 ปีพอดี ทำ�มาตั้งแต่รุ่นคุณปู่แล้ว ป้าเป็นรุ่นที่3 Q : ทำ�ไมป้าถึงยังทำ�ร้านยาอยู่? W : ป้าเคยสัญญากับคุณปู่เอาไว้ แล้วก็มันเป็นอะไรที่ อยู่กับเรามานาน ตั้งแต่10ขวบป้าก็ทำ�แล้ว มันซึมซับมาตั้งแต่เด็ก โดนคุณปู่ไล่ไปชั่งยา แต่ป้ารู้สึกมีความสุขนะ ที่เราได้ทำ�ยาขึ้นมากับมือของเราเอง Q : แล้วสูตรยาพวกนี้ใครเป็นคนคิด? W : คุณปู่เป็นคนคิด มีตำ�รายาของคุณปู่ที่ทำ�จาก ใบลานแต่เก็บเอ่ไว้กลัวเสียหาย อีกเล่มเป็นตำ�ราเดียวกันทำ�จากกระดาษสา

Q : แล้วขั้นตอนที่ยาหรืออุปกรณ์อะไรพวกนี้ ยังใช้ของเดิมอยู่มั้ย? W : ป้าใช้ของเดิมทุกอย่าง ยกเว้นอย่างเดียว เครื่องบดยา ตอนนี้ใช้เป็นไฟฟ้าแล้ว อันเดิมนี่ฝุ่นเครอะไปหมดเเล้ว Q : ทำ�ไมถึงขายยาในราคาที่ถูก? W : ป้าขายเพราะว่าเราไม่ได้คิดเอากำ�ไร ป้าขายเป็นเชิงอนุรักษ์มากกว่า Q : ร้านนี้เคยลงนิตยสารแนะนำ�อะไรพวกนี้บ้างมั้ย? W : ก็มีนะ นิตยสารของการบินไทย ชื่อ SAWASDEE พอฝรั่งที่เค้าอ่านนิตยสาร เเล้วเค้าเห็นเค้าก็ยากมาเห็น โรงแรมที่เค้าพักอยู่ก็โทรมาหาป้าบอกว่าเค้า อยากมาลงทัวร์ที่นี่

Q : สูตรยาพวกนี้ถูกเปลี่ยนแปลงอะไรบ้างมั้ยจาก สมัยก่อน? Q : แล้วยาของที่นี่ซื้อทางไหนได้บ้างถ้าไม่สะดวกมา? W : ป้าทำ�สูตรเดิมจากตำ�ราทุกอย่างไม่ผิดเพี้ยนเลย W : ยาของป้าไม่มีส่งขาย เมื่อช่วงน้ำ�ท่วมทำ�ให้ส่วนผสมยาบางตัวเสียไป ถ้าอยากซื้อต้องมาซื้อที่เท่านั้น ! ทำ�ให้ทำ�ยาบางตัวขึ้นมาไม่ได้ ป้าก็จะไม่ทำ�ยาตัวนั้น . . . เพราะป้าต้องทำ�ตามสูตรจริงๆ

10


“เพชรน้ำงาม” ภาพจิตรกรรมไทยบน ฝาผนังที่สวยที่สุด

วัดสุวรรณาราม ราชวรวิหาร

ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่เห็นในปัจจุบัน

เป็ น ฝี ม ื อ ของจิ ต กรเอกสมั ย รั ช กาลที ่ 3 ได้ แ ก่ หลวงวิจต ิ รเจษฎา (ครูทองอยู)่ และหลวงเสนีบริรก ั ษ์ (ครูคงแป๊ะ) เขียนเป็นภาพพุทธประวัติตอนสำคัญๆ และภาพทศชาติ ฝาผนังด้านซ้ายพระประธานระหว่าง ช่ อ งหน้ า ต่ า งเขี ย นภาพทศชาติ เ รี ย งตามลำดั บ คื อ เตมียชาดก มหาชนกชาดก สุวรรณสามชาดก เนมิราชชาดก มโหสถชาดก ภูริทัตชาดก จันทกุมารชาดก นารทชาดกและวิธุรชาดก ซึ่งในสมัยนั้นทั้งสองท่าน ได้ประชันฝีมอ ื กันอย่างดุเดือด

ภาพเขียนทศชาติตอนมโหสถชาดก ของครูคงแป๊ะจะเน้นรายละเอียดของผู้คนทั้งคนไทย จีน ฝรั่งและใช้สีสดใสในภาพ ครูคงแป๊ะได้ดัดแปลง เทคนิคแบบจีนมาใช้ โดยเฉพาะการใช้พก ู่ น ั ปลายแหลม ที่เรียกว่าหนวดหนู ตัดเส้นการใช้สีอ่อนแก่รวมทั้ง การเขียนแรเงาบางๆ ทำให้ภาพแสดงการเคลื่อนไหว และมีสีที่สดใส ภาพเนมี ร าชของครู ท องอยู ่ ค วามงามเกิ ด จากการจัดองค์ประกอบของภาพที่โดดเด่นแปลกตา ต่ า งกั บ ภาพในยุ ค สมั ย เดี ย วกั น เน้ น ความสมดุ ล เท่ า เที ย มกั น ระหว่ า งซ้ า ยและขวารายละเอี ย ด ต่ า งๆเขี ย นอย่ า งถี ่ ถ ้ ว นวิ จ ิ ต รบรรจงมี ร ะเบี ย บ ดูโล่งสะอาดตา 11


เหนื อ กรอบหน้ า ต่ า งขึ ้ น ไปเป็ น รู ป เทพยั ก ษ์ ค นธรรพ์ ช ุ ม นุ ม กั น หันหน้าไปทางพระประธานตามลำดับ ส่วนด้านหลังพระประธานเป็นภาพ พุทธประวัติเสด็จจากดาวดึงส์เปิดโลกสวรรค์ มนุษย์และนรก

ฝ ั ่ ง ตรงข้ามพระประธาน

เรี ย กว่ า พุ ท ธประวั ต ิ ต อนมารผจญ ด้ า นขวามื อ เป็ น กองทั พ ของพญามาร ที ่ เ รี ย กร้ อ งให้ พ ระพุ ท ธองค์ ล งจาก บั ล ลั ง ก์ แ ต่ พ ระพุ ท ธเจ้ า ทรงปฏิ เ สธ กล่ า วว่ า พระองค์ ท ่ า นนั ่ ง มาตั ้ ง แต่ อสงไขยแล้ว และทรงใช้พระหัตถ์แตะพื้น ให้พระแม่ธรณีเป็นพยานตรงกลางของ ภาพจึงเป็นภาพพระแม่ธรณีบีบมวยผม เป็ น พยาน และด้านซ้ายมือเป็นภาพที่กองทัพ พญามารถูกน้ำท่วมพลพรรคพญามาร ล้มตายแตกพ่ายไปซึ่งภาพน้ำของสมัยนั้น ยั ง คงเป็ น เส้ น โค้ ง ไปโค้ ง มาอยู ่ ต่ อ มา ได้มีการดัดแปลงโดยการวาดน้ำแบบฟุ้งๆ เพื่อเพิ่มความสมจริงขึ้นอีก ซึ ่ ง ในรู ป แฝงภาพวาดของชาว ต่ า งชาติ ล งไปด้ ว ยเป็ น การจิ ก กั ด เบาๆ เพราะสมั ย นั ้ น เป็ น การทำสนธิ ส ั ญ ญา จึงถือว่าเป็นมารไปด้วย


“พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี” แห่งคลองบางกอกน้อย

Credit : Knuppgraphy

พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ น ี ้ เป็ น สถานที ่ ใ ช้

เก็ บ เรื อ พระราชพิ ธ ี ห รื อ ใช้ ป ระกอบพิ ธ ี พ ระยุ ห ยาตรา ชลมารค ซึง่ ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 6 เดือนในการเตรียมตัว ก่ อ นมี พ ระราชพิ ธ ี โดยเรื อ จะถู ก ซ่ อ มแซมโดยการ “ตอกหมั น ยาชั น ”เป็ น การใช้ ผ ้ า ดิ บ กั บ ชั น เรื อ ตอกลงไป ระหว่างร่องไม้ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำรั่วซึมเข้ามาในตัวเรือ หลั ง จากนั ้ น ก็ ท ำการประดั บ กระจกใหม่ ซึ ่ ง ในปั จ จุ บ ั น มี เ รื อ หลั ก ๆ ทั ้ ง หมดด้ ว ยกั น 8 ลำ ได้ แ ก่ เรื อ พระที ่ น ั ่ ง สุพรรณหงส์ , เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช , เรือพระที่นั่ง อเนกชาติภุชงค์ , เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ร.9 , เรือครุฑเหินเห็จ , เรือกระบีป ่ ราบเมืองมาร , เรืออสุรวายุภก ั ษ์ และเรื อ เอกไชยเหิ น หาว รวมถึ ง เรื อ ดั ้ ง เรื อ แซงคื อ เรื อ ที ่ นำข้ า ศึ ก โดยจะมี ค นนำเสียงเห่เรือ 13


สมัยก่อนยังไม่มอี ปุ กรณ์

ในการสื ่ อ สารจึ ง มี ก ารเคาะ หรื อ ร้ อ งเพื ่ อ ให้ เ กิ ด จั ง หวะที ่ พร้อมเพรียงเรียกว่าการเห่เรือ เมื่อเรือเริ่มออกจากท่า เรียกว่า เห่เอ๋ย เมือ ่ เรืออยูก ่ ลางน้ำ เรียกว่า ชาละวะ..เห่ ช ่ ะ และเมื ่ อ ใกล้ ถ ึ ง ที่หมายจะเปลี่ยนจังหวะ เรียกว่า มูลเห่

ต่อมา รัชกาลที่ 4ได้ทรง

สร้างเรือนารายณ์ทรงครุฑเพราะ ในสมัยก่อนมีความเชือ ่ ว่า “กษัตริย์ เปรียบเสมือนนารายณ์ ส่วนครุฑ เปรียบเสมือนเทพ” เมือ ่ นำนารายณ์ ทรงครุฑมาตั้งเป็นชื่อเรือก็จะมี ความหมายว่าทัง้ คูม ่ ฤ ี ทธิเ์ ท่าเทียม กั น แต่ ถ ้ า เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ท ี ่ ใ ช้ หน้าที่ทำการสภาจะให้ครุฑอยู่สูง สุด

ห ลั ง จากนั ้ น ได้ เ กิ ด

สงครามเอเชี ย บู ร พา ในสมั ย รั ช กาลที ่ 4 โดยเรื อ นารายณ์ โดนระเบิ ด เสี ย หาย ต่ อ มาในปี 2538ได้ ม ี การบู ร ณะซ่ อ มแซมใหม่ เ ป็ น เวลา 6 เดือน พ.ศ.2539 ก็ได้เกิดพิธี พยุ ห ยาตราชลมาตรเพื ่ อ ถวาย แด่รัชกาลที่ 9 ให้มาประทับโดย มี ก ารตั ้ ง ขบวนที ่ ว ั ด สุ ธ ี


15


16


ย้อนรอย คู่กรรม “สถานีรถไฟ” บางกอกน้อย

ใ นช่ ว งสมั ย สงคราวเอเชี ย บู ร พา

ตั ้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2484 ประเทศญี ่ ป ุ ่ น ได้ เ ข้ า มาตั ้ ง กองบรรชาการในสยามและ ตัดทางรถไฟไป อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรีผ่านไป ทางประเทศพม่า และเข้ายึดประเทศอินเดีย นอกจากนัน ้ ทีโ่ รงรถจักรธนบุรย ี งั เป็นสถานที่ กำเนิดของตำนานโกโบริอีกด้วย

บ ริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อย

นั ้ น กลายเป็ น จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการขนส่ ง เสบียงข้ามไปยังสะพานข้ามแม่นำ้ แคว จึงกลาย เป็นผลกระทบต่อชาวบางกอกน้อยอย่างเลีย ่ ง ไม่ ไ ด้ ท ำให้ เ กิ ด เรื ่ อ งราวมากมายระหว่ า ง ชาวบางกอกน้อยกับทหารญี่ปุ่น

17


ปั จ จุ บ ั น โรงรถจั ก รธนบุ ร ี ไ ด้ ก ลายเป็ น สถานที ่

สำหรับซ่อมรถไฟ แต่สมัยนั้นมีวิธีการซ่อมรถไฟโดยการ นำเข้าหัวจักรรถไฟที่ชาวบ้านเรียกกันว่า หวูด หรือ หวอ มาจากประเทศอเมริกา/เยอรมนี โดยการทำงานของหัวรถจักร ไอน้ำจะต้องอาศัยน้ำต้มเดือด ต่อมาได้มก ี ารพัฒนารถจักรไอน้ำ มาเป็นเครื่องจักรดีเซล

ส ถานที ่ แ ห่ ง นี ้ ย ั ง เป็ น สถานที ่ ถ ่ า ยทำเรื ่ อ งราว

ความรักระหว่างทหารญี่ปุ่นกับหญิงสาวชาวบางกอกน้อย ของนวนิยายชื่อดังอย่างเรื่อง “คู่กรรม” อีกด้วย 18


19


20



สมาชิกกลุม นางสาวกนกพรรณ ชุมศรี นางสาวเกตนสิรี จันทรดำรงค นางสาวกชกร หลอสกุล นายธนพล ตระการรัตนกุล นายกันตภณ ธรรมธวัช นายศุภกร จูฑะสุวรรณ

55080501402 55080501406 55080501504 55080501818 55080501816 55080501824


Culture Trip Action


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.