เอกสารสรุปผลการดำเนินงานความสำเร็จของผู้นำ อช. ปี 2554

Page 1

สรุปผลการดําเนินงาน ตัวชี้วัดที่ ๓.๑.๓ ระดับความสําเร็จของผู$นําอช. ในการส&งเสริมคุณภาพชีวิต ของครัวเรือนที่ตกเกณฑ, จปฐ. ป. ๒๕๕๓

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา


คํานํา

เ อ ก ส า ร ฉ บั บ นี้ เ ป น เ อ ก ส า ร ก า ร ถ อ ด บ ท เ รี ย น ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง ผู นํ า อ ช . ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดที่ ๓.๑.๓ ระดับความสําเร็จของ ผูนํา อช.ในการส,งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนที่ตกเกณฑ1 จปฐ. ป3 ๒๕๕๓ ของผูนํา อช. จังหวัด นครราชสีมา ประกอบดวยกระบวนการทํางานของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ32 อําเภอและ นักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัดในการส,งเสริมการดําเนินงานของ ผูนํา อช.ในการขับเคลื่อนตัวชี้วัด กลยุทธ1เทคนิคในการทํางานเพื่อใหบรรลุตัวชี้วัด นวัตกรรมการทํางานในการส,งเสริมคุณภาพชีวิต ครัวเรือนที่ตกเกณฑ1 รวมถึงป=ญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะและประโยชน1ที่ไดรับจากการทํางาน ตามตัวชี้วัดนี้ ขอขอบคุณพัฒนาการอําเภอและทีมงานทุกอําเภอที่ขับเคลื่อนตัวชี้วัดไดบรรลุเปAาหมาย และมีผลการดําเนินการเปนรูปธรรมส,งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปAาหมาย ทําใหภารกิจงานของ ผูนําอช. ไดรับการยอมรับของภาคีการพัฒนา

กลุ,มงานสารสนเทศการพัฒนาชุมชน สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา


สารบัญ หนา

บทนํา

1

บทที่ 1 กระบวนการทํางานของสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

4

แนวทางการดําเนินงานตามคํารับรอง

7

กระบวนการส!งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนตกเกณฑ' จปฐ ป*2553

8

เกณฑ'การใหคะแนน

9

การตรวจสอบหลักฐานอางอิง

10

การมอบภารกิจขับเคลื่อนตัวชี้วัด

11

บทที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานของ ผูนํา อช.ภาพรวมจังหวัด

13

กลยุทธ'เทคนิคในการบรรลุตัวชี้วัด

22

นวัตกรรมการทํางานในการส!งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนที่ตกเกณฑ'

23

ความสําเร็จในการส!งเสริมคุณภาพชีวิต

25

ป;ญหาอุปสรรคของการดําเนินงาน

29

ขอเสนอแนะในการทํางาน

27

บทสรุปของการทํางานเรื่องตัวชี้วัดมีผลประโยชน'ที่ไดรับอย!างไร

28


1

สรุปบทเรียน ผลการดําเนินงานความสําเร็จของผูนํา อช. ในการสงเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนที่ตกเกณฑ) จปฐ. ป+ 2553 จังหวัดนครราชสีมา ตามคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ............................... บทนํา กรมการพั ฒ นาชุ ม ชน ดํ า เนิ น งานอาสาพั ฒ นาชุ ม ชนโดยส งเสริ ม ใหประชาชนเขามาเป6 น อาสาสมัครเพื่อพัฒนาชุมชนดวยการจัดใหผูนําอาสาพัฒนาชุมชน (ผูนํา อช.) และอาสาพัฒนาชุมชน เขา มาเป6นแกนนําในการขับเคลื่อนกิจกรรมและโครงการพัฒนาดานตาง ๆ กรมการพัฒนาชุมชนไดดําเนิน โครงการพัฒนาผูนําอาสาพัฒนาชุมชน ป+พ.ศ. 2512 คณะรัฐมนตรี มีมติรับหลักการเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2512 โครงการพัฒนาผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน และ ทดลองดําเนินการในจังหวัดสกลนครและกาฬสินธุ/ รวม 100 คน ป2 พ.ศ. 2515 ขยายการดําเนินงานโครงการพัฒนาผู$นําอาสาพัฒนา ชุมชนออกไปทุกจังหวัด (70 จังหวัดในขณะนั้น) ป2 พ.ศ. 2519 ขยายการดําเนินงานออกไปในทุกตําบลที่เป;ดเขตพัฒนา ป2พ.ศ. 2525 ให$ คัดเลือกอาสาพัฒนาชุมชนที่เป<นสตรีเพิ่มขึ้น หมู>บ$านละ 1 คน รวมเป<น อช. หมู>บ$านละ 2 คน ครบทุก หมู>บ$าน และส>งเสริมให$มีการจัดตั้งชมรมอาสาพัฒนาชุมชน และจัดตั้งสมาคมผู$นําอาสาพัฒนาชุมชนไทย จดทะเบียน เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2542 ที่ตั้งศูนย/ฝBกอบรมการพัฒนาชุมชน ต.สาริกา อ.เมือง จ.นครนายก ป2พ.ศ.2547 ใช$ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว>า ด$วยการอาสาพัฒนาชุ มชน พ.ศ. 2547 เพิ่ มจํานวน อช. หมู>บ$านละไม>น$อยกว>า 4 คน และ ผู$นํา อช. ตําบลละ 2 คน โดยคํานึงถึง จํานวนสัดส>วนชายหญิง ใกล$เคียง กัน โดยผู$นํา อช. ได$รับค>าตอบแทนป2ละ 4 งวด (รอบไตรมาส) งวดละ 500 บาท/คน จํานวน อช./ผู$นําอช. ภารกิจตามนโยบายที่กรมการพัฒนาชุมชนมอบหมาย 1. งานดานเศรษฐกิจ - โครงการแก$ไขปGญหาความยากจนแบบเข$าถึงทุกครัวเรือน ร>วมใจปฏิบัติการแก$จน ตามแนว 4ท สู> 3 พ โดยการเคาะประตูบ$าน - ชุดปฏิบัติการขับเคลื่อน “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ให$เป<นรากฐานของชีวิตประชาชนในหมู>บ$าน


2

2. งานดานสังคม - การส>งเสริมประชาธิปไตยร>วมกับคณะกรรมการการเลือกตั้งป2 2542 รณรงค/เผยแพร>ความรู$เกี่ยวกับ ประชาธิปไตย และตรวจสอบการเลือกตั้ง - สนับสนุนการเข$าร>วมอาสาสมัครพัฒนาประชาธิปไตย ตามโครงการการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย/ ทรงเป<นประมุข 3. งานดานสิ่งแวดลอม - ร>วมกับมูลนิธิสถาบันราชพฤกษ/ ส>งเสริมกิจกรรมหมู>บ$านเขียวขจีดีเด>น โดยเริ่มในป2 2534 มีโครงการ ความร>วมมือกับกรมส>งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล$อม ในการส>งเสริมและพัฒนาอาสาสมัครด$านการอนุรักษ/ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล$อม สิทธิและหนาที่ของ อช. ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย -กระตุ$นให$องค/กรประชาชน รู$สภาพปGญหาของหมู>บ$าน และสามารถวางแผนงาน เพื่อแก$ปGญหาได$เอง รวมถึงกระตุ$นให$ประชาชนรู$จักช>วยตนเอง และเข$ามามีส>วนร>วม ในการพัฒนา หมู>บ$านของตนได$อย>างมี ประสิทธิภาพ -ริเริ่มและสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนา โดยเป<นที่ปรึกษากลุ>มเยาวชน กลุ>มสตรี กลุ>มอาสาสมัคร ตลอดจนองค/กรประชาชน และกิจกรรมการพัฒนาต>างๆ - ช>วยเหลือสนับสนุน การดําเนินงานตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมพัฒนาหมู>บ$าน - เป<นผู$ประสานระหว>างองค/กรประชาชนกับหน>วยงานของรัฐ องค/กรเอกชนหรือเอกชนอื่นๆ - ปฏิบัติหน$าที่อื่น ตามที่เวทีประชาคม คณะกรรมการหมู>บ$าน องค/การบริหารส>วนตําบล หรือทางราชกา มอบหมาย สิทธิและหนาที่ของ ผูนํา อช. ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย - มีหน$าที่เช>นเดียวกันกับ อช.และ - เป<นผู$ประสานงานระหว>าง อช.ในตําบล - เป<นผู$แทนของ อช.ในกิจกรรมต>างๆที่ได$รับมอบหมาย การเปลี่ยนแปลงงานอาสาสมัคร ดําเนินการตอเนื่องจนถึงปBจจุบันโดยใชระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการอาสาพัฒนาชุมชน (ฉบับที่ 2) เป6นแนวทางงาน ป+งบประมาณ 2554 กรมการพัฒนาชุมชน ไดกําหนดใหผูนําอาสาพัฒนาชุมชนและอาสาพัฒนา ชุมชน มีบทบาทในภารกิจ 8 ดาน ดังนี้ 1. การจัดเก็บขอมูล จปฐ./กชช.2ค 2. การจัดทําแผนชุมชน 3. การจัดการศูนย)เรียนรูชุมชน


3

4. การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. การสงเสริมวิถีประชาธิปไตย 6. การปIองกันและแกไขปBญหายาเสพติด 7. การอนุรักษ)ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 8. การพัฒนาเด็กและอื่น ๆ และในป+ 2554 กรมการพัฒนาชุมชนไดมอบภารกิจการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติ ราชการ การขับเคลื่อนตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ระดับความสําเร็จของผูนํา อช. ในการสงเสริมคุณภาพชีวิตของ ครัวเรือนที่ตกเกณฑ) จปฐ. ป+ 2553


4

บทที่ 1 กระบวนการทํางานของสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา Road map การขับเคลื่อนตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ระดับความสําเร็จของผูนํา อช.ในการสงเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ) จปฐ.ป+ 2553

อําเภอ ประชุมผู$นําอช.ชี้แจงแนวทาง/ วิธีการ/ขั้นตอนการดําเนินงาน คํารับรอง(การกระจายเปOาหมาย ให$พิจารณาผู$นํา อช.ในตําบล ที่มีตกเกณฑ/จปฐ.ป253เป<น เปOาหมายหลัก)

จังหวัด สรุปผลการ ดําเนินงานวิเคราะห/ ค$นหานวัตกรรม การดําเนินงาน ส>งเสริมคุณภาพชีวิต

อําเภอ ประสานจัดเตรียมทะเบียนคร. ที่ตกเกณฑ/ จปฐ.ป253พิจารณา ร>วมกับผู$นํา อช.ตรวจสอบ พิจารณาคัดเลือกกลุ>มคร. เปOาหมายที่ตกเกณฑ/จปฐ. (ให$พิจารณาตัวชี้วัดที่มี คร. ไม>ผ>านเกณฑ/มากที่สุดในตําบล เป<นลําดับแรก)

อําเภอ จัดประชุมผู$นํา อช. สรุปผลการดําเนินงาน /สรุปบทเรียน รายงานผล ให$จังหวัดทราบ

ผูนําอช. จัดทําทะเบียนครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ.53และจัดทําทะเบียน ข$อมูลครัวเรือนเปOาหมาย อย>างน$อย2คร.หรือมากกว>านี้ (คร.เปOาหมายต$องยินยอมและ ยอมรับที่จะดําเนินการร>วมกับ ผู$นํา อช.)

ผูนําอช. ถอดบทเรียน และสรุปผล การดําเนินงาน ตามขั้นตอน เป<นรูปเล>ม ส>งอําเภอ

ผูนําอช. -พบปะพูดคุยกับ คร.เปOาหมาย เพื่อตกลงและลงนามร>วมกันในการ กําหนดกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและกําหนดแผนปฏิบัติ -ผู$นําอช.ติดตามและบันทึกการ เยี่ยม คร.เปOาหมายอย>างน$อยเดือน ละ2ครั้งเพื่อติดตามความก$าวหน$า

ผูนําอช. ประสานการจัดเวที ประชาคมตําบล (ไม>น$อยกว>า15คน) ทบทวนการดําเนินงาน รับรองผลสําเร็จในการ ส>งเสริมคุณภาพชีวิต คร.เปOาหมาย

ผูนําอช. ติดต>อประสานงานกับ หน>วยงานภาครัฐ/ภาค เอกชน/คนในชุมชน เพื่อให$การสนับสนุน คร.เปOาหมาย เข$าร>วมกิจกรรม การพัฒนาชุมชน อย>างน$อย 3กิจกรรม

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมาได$กําหนดกรอบแนวทางการขับเคลื่อนตัวชี้วัดดังนี้ 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเจ$าหน$าที่พัฒนาชุมชนในการให$ความรู$ความเข$าใจตัวชี้วัดสู>ผู$ปฎิบัติ


5

-แบ>งกลุ>มเจ$าหน$าที่พัฒนาชุมชนที่รับผิดชอบตัวชี้วัดที่ 3.1.3มาชี้แจงทําความเข$าใจราละเอียดของการ ดําเนินงานตัวชี้วัดเริ่มตั้งแต> 1.1 ใหศึกษา KPI Template รายละเอียดตัวชี้วัดให$ครบถ$วนและทําความเข$าใจ 1.2 การคัดเลือกผูนําอช.เปIาหมาย ให$คัดเลือกผู$นําอาสาพัฒนาชุมชนที่ได$รับคําสั่งแต>งตั้งจากจังหวัดนครราชสีมาตามคําสั่งที่ 4040/2553 ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน 2553 ซึ่งเป<นช>วงการปฏิบัติงานของผู$นํา อช.ในป2งบประมาณ25542557 โดยได$รับค>าตอบแทนจากกรมการพัฒนาชุมชน จํานวน 2,000บาท/คน/ป2 จังหวัดนครราชสีมา มีฐานข$อมูลผู$นําอช. 32อําเภอ จํานวน 554 คน มีจํานวนเปOาหมายตามคํารับรอง 379 คน ให$อําเภอได$ ตรวจสอบผู$นํา อช.เหล>านี้ให$เป<นปGจจุบันและคัดเลือก อช.ที่มีศักยภาพในการขับเคลื่อนงาน 1.3 การจัดทําทะเบียนครัวเรือนเปIาหมาย ทะเบียนรายชื่อครัวเรือนที่ไม>ผ>านตัวชี้วัดตามเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 โดยให$ผู$นํา อช. กําหนดครัวเรือน เปOาหมายที่ไม>ผ>านเกณฑ/ จปฐ. จํานวน 2 ครัวเรือน ต>อ ผู$นํา อช .1คน ให$ผู$นํา อช.ดําเนินการส>งเสริมคุณภาพ ชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ.ป2 2553 โดยเลือกตัวชี้วัดที่มีผู$ไม>ผ>านเกณฑ/มากที่สุดในตําบล ดําเนินการ ก>อนในลําดับแรก และดําเนินการในตัวชี้วัดที่ไม>ผ>านเกณฑ/น$อยกว>าเป<นลําดับต>อไป 1.4 จัดทําบันทึกขอตกลงรวมระหวางผูนําอช.และครัวเรือนเปIาหมายที่จะทํางาน ผู$นํา อช จะต$องทําแบบบันทึกกิจกรรมการพัฒนาที่หัวหน$าครัวเรือนเปOาหมาย และผู$นํา อช. ร>วมกันกําหนดและลงนามตกลงร>วมกันในการพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมาย โดยกิจกรรมการพัฒนา ดังกล>าวจะต$องสามารถดําเนินการให$เสร็จได$ภายในกันยายน 2554ตามแบบ อช.4 1.5 จัดทําแผนปฏิบัติการ การทํางานของผู$นํา อช.ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมายต$องจัดทําเป<นแผนปฏิบัติ การว> า จะทํ า กิ จ กรรมร> ว มกั บ ครั ว เรื อ นเปO า อะไรที่ จ ะพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ครั ว เรื อ นเปO า หมาย ทํ า ที่ ไ หน ระยะเวลาดําเนินการเมื่อไร มีงบประมาณสนับสนุนหรือไม> ตามแบบ อช.3


6

1.6จัดทําแผนติดตาม ผู$นํา อช.ต$องจัดทําแผนติดตามครัวเรือนเปOาหมายว>า จะดําเนินการเมื่อใด ดําเนินการอย>างไร และจะประสานการสนั บสนุน /ช> ว ยเหลื อจากหน>ว ยงานใดบ$ างเพื่อเป< นการส> งเสริ มคุณภาพชี วิ ตครัว เรื อน เปOาหมาย เช>นไปเยี่ยมครัวเรือนเปOาหมายเมื่อไรที่ไหนมีกิจกรรมทําอะไร ได$รับงบประมาณที่ไหน 1.7จัดทําบันทึกการเยี่ยมเยียนครัวเรือนเปIาหมาย ให$ผู$นํา อช. จัดทําบันทึกแสดงความก$าวหน$าของการเยี่ยมเยียนครัวเรือนเปOาหมาย โดย ให$ผู$นํา อช. ลงบันทึกการเยี่ยมเยียนแต>ละครั้งว>า ได$ให$คําแนะนําใดบ$าง และมีความก$าวหน$าอย>างไร กรณีที่มี การประสานขอรั บ การสนั บ สนุ น จากหน> ว ยงานต> า งๆ ให$ มีก ารลงบั น ทึ ก ว> า ได$ ให$ การช> ว ยเหลื อ และให$ คําปรึกษาใดบ$าง พร$อมทั้งลงลายมือชื่อกํากับ ทั้งนี้ เพื่อให$การส>งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมาย ดําเนินไปอย>างต>อเนื่อง

ให$ผู$นํา อช. ติดตาม/สนับสนุน/ช>วยเหลือ เดือนละ 2 ครั้ง/ครัวเรือน

1.8 การติดตอประสานงานบุคคล/หนวยงาน การติดต>อประสานงานของผู$นํา อช. กับหน>วยงานทั้งภาคราชการ เอกชน หรือคนในชุมชนพร$อม ให$การสนับสนุน ส>งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมาย 1.9 การแตงตั้งคณะทํางานสนับสนุนการปฏิบัติงานของผูนํา อช.ระดับอําเภอ ให$อําเภอออกคําสั่งแต>งตั้งคณะทํางานสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู$นํา อช. ระดับอําเภอเช>น ผู$แทน/ หัวหน$าส>วนราชการระดับอําเภอ นายก อบต./สมาชิก อบต. ให$เป<นคณะทํางานสนับสนุนการปฏิบัติงานของ ผู$นํา อช. ในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมายที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 1.10 การรับรองความสําเร็จ เมื่อผู$นํา อช. ปฏิบัติงานไประยะเวลาประมาณ 5เดือน ให$จัดเวทีประชาคมระดับตําบลเพื่อรับรอง ความสําเร็จในการพัฒนาครัวเรือนเปOาหมาย โดยเวทีประชาคมระดับตําบลประกอบด$วย นายก อบต. สมาชิก อบต. ครัวเรือนเปOาหมาย คณะกรรมการหมู>บ$านและผู$แทนส>วนราชการระดับอําเภอ ไม>น$อยกว>า 15 คน เพื่อ รับรองผลการปฏิบัติงานของผู$นํา อช. ให$เป<นที่ยอมรับ 1.11

ความสําเร็จในการสงเสริมคุณภาพชีวิต

ครัวเรือนที่ไม>ผ>านตัวชี้วัดตามเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 ได$รับการส>งเสริม สนับสนุน และพัฒนาจาก ผู$นํา อช. ตามกระบวนการส>งเสริมคุณภาพชีวิตด$านการมีส>วนร>วม ของครัวเรือนเปOาหมาย ผ>านการประเมินและ รับรองผลจากเวทีประชาคม 2. จังหวัดได$สนับสนุนการดําเนินงานเพื่อให$ตัวชี้วัดบรรลุผลโดยกรมการพัฒนาชุมชนมีงบประมาณใน การพัฒนาผู$นํา อช. และในส>วนจังหวัดและอําเภอต$องมีภารกิจร>วมกันพัฒนาผู$นําอช. ดังนี้


แนวทางการดําเนินงานตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของกรมการพัฒนาชุมชน ประจําป+ 2554

7

ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ระดับความสําเร็จของผูนํา อช. ในการสงเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ) จปฐ. ป+ 2553 ปBจจัยนําเขา

กระบวนการ/ขั้นตอน

กรมฯ

จังหวัด

อําเภอ

ประเมินผล/หลักฐาน

1. สนับสนุนงบประมาณค>าตอบแทนแก>

1. ทบทวน ตรวจสอบ 1. จัดทําแนวทางการ

1. ประชุมสร$างความ

1. ประชุมสร$างความเข$าใจกับ

1. หนังสือสั่งการที่เกี่ยวข$อง

ผู$นํา อช. ป2ละ 2,000 บาท/คน

ข$อมูลกลุ>มเปOาหมาย

ดําเนินงานตามตัวชี้วัด

เข$าใจกับเจ$าหน$าที่

เจ$าหน$าที่และกลุ>มเปOาหมาย

2. ทะเบียนข$อมูลกลุ>มเปOาหมาย

2. งบประมาณสนับสนุนการขับเคลื่อน

ทั้งหมด ซึ่งเป<นผูน$ ํา

2. กําหนดเปOาหมาย

2. จัดทีมงานสนับสนุน

2. คัดเลือกกลุ>มเปOาหมายตาม

3. ทะเบียนครัวเรือนเปOาหมาย

กิจกรรมตามแผน ปฏิบัติราชการกรมฯ

อช. ที่ปฏิบัติงานใน

จํานวนผูน$ ํา อช.ที่แต>ละ การดําเนินงานของอําเภอ วิธีการที่เหมาะสม

ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553

ป2งบประมาณ พ.ศ. 2554

ป2งบประมาณ พ.ศ.

จังหวัดต$องรับผิดชอบ

3. รวบรวม จัดทํา

3. จัดทําทะเบียนฐานข$อมูล

4. แผนปฏิบัติการและบันทึก

2554

3. รวบรวม/จัดทํา

ทะเบียนฐานข$อมูล

กลุ>มเปOาหมาย

ข$อตกลงร>วมกันระหว>างผู$นาํ อช.

4. ติดตาม ให$คําแนะนําแก>

และครัวเรือนเปOาหมายฯ

4. ติดตาม ให$คําแนะนํา

กลุ>มเปOาหมาย

5. บันทึกการเยี่ยมเยียน

แก>เจ$าหน$าที่และ

5. จัดเวทีเสริมความรู$เพื่อพัฒนา ครัวเรือนเปOาหมาย

รวม

ทั้งสิ้น 18,085,200 บาท

- ประชุมเชิงปฏิบัติการอาสาพัฒนาชุมชน 2.จัดทําฐานข$อมูลกลุ>ม ฐานข$อมูลกลุม> เปOาหมาย กลุ>มเปOาหมาย บาท

เปOาหมายตามตัวชี้วัด ของกรมฯ 3. สร$างความรู$ความ 4. จัดทําเอกสาร/คู>มือ

- กิจกรรม “รวมพลังอาสาพัฒนาชุมชน

เข$าใจแนวทางการ

การปฏิบัติงาน

กลุ>มเปOาหมาย

กลุ>มเปOาหมาย

6. บันทึกการจัดเวที/ประชุม

ไทย” เนื่องในวาระครบรอบ 42 ป2

ดําเนินงานตาม

5. มอบนโยบายเพื่อ

5. สนับสนุนข$อมูล

6. ส>งเสริมกลุ>มเปOาหมาย

7. ภาพถ>ายกิจกรรม

โครงการพัฒนาผูน$ ําอาสาพัฒนาชุมชน

ตัวชี้วัดแก>เจ$าหน$าที่

สร$างความเข$าใจกับ

ข>าวสาร เช>น การพัฒนา

ดําเนินงานตามกระบวนการ

8. แบบรายงานผลตัวชีว้ ัด

งบประมาณ 2,322,520 บาท

ที่เกี่ยวข$องและ

เจ$าหน$าที่ระดับจังหวัด

ตนเอง, แหล>งทุน,

ส>งเสริมคุณภาพชีวติ ด$านการมี

- สนับสนุนการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนา

กลุ>มเปOาหมาย

ส>วนร>วมของครัวเรือนเปOาหมาย

ชุมชนของ อช.งบประมาณ 8,165,400 บาท

4. จัดทําแผนการ

6. ติดตาม สนับสนุนใน หน>วยงานที่สามารถให$ พื้นที่/จังหวัด การสนับสนุนกิจกรรม

3. จัดทําแนวทางการส>งเสริมและพัฒนา

สนับสนุน

7. ศึกษา วิเคราะห/

การดําเนินงาน

ผู$นํา อช.

5.ติดตาม/ประเมินผล สรุปผลการดําเนินงาน

ระดับอําเภอ งบประมาณ 7,597,280

6. ประสานภาคีร>วมให$ การสนับสนุนกิจกรรม 7. วิเคราะห/ ประเมิน สรุปผล

7. วิเคราะห/ ประเมิน สรุปผล


8

กระบวนการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมาย(ตัวชี้วัดที่ 3.1.3) ขั้นตอนที่ 1

ผู$นํา อช.มีการทบทวน วิเคราะห/ข$อมูลครัวเรือนตกเกณฑ/ จปฐ. ป22553และมี ทะเบียนครัวเรือนเปOาหมายตกเกณฑ/ จปฐ.

ขั้นตอนที่ 2

ผู$นํา อช. มีการจัดทําแผนปฏิบัติการในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือน ที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553และจัดทําบันทึกข$อตกลงร>วมกันระหว>างผู$นําอช. และครัวเรือนเปOาหมาย

ขั้นตอนที่ 3

ผู$นํา อช.จัดทําบันทึกการเยี่ยมเยียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมาย เดือนละ 2ครั้งต>อ 1ครัวเรือนและประสานสนับสนุนให$ครัวเรือนเปOาหมายทํา กิจกรรมการพัฒนาชุมชนอย>างน$อย 3 กิจกรรม

ขั้นตอนที่ 4

ผู$นํา อช.ประสานจัดเวทีประชาคมเพื่อประเมินผลสําเร็จการส>งเสริมคุณภาพชีวิต ครัวเรือนเปOาหมาย

ขั้นตอนที่ 5

ผู$นํา อช.จัดทําสรุปผลการประเมินผลสําเร็จในการส>งเสริมคุณภาพชีวิต ของครัวเรือนเปOาหมาย จัดส>งอําเภอเพื่อสรุปผลการดําเนินงานในภาพรวม

3.เกณฑ)การใหคะแนน : กํ า หนดเป< น ระดั บ ขั้ น ของความสํ า เร็ จ (Milestone) แบ> ง เกณฑ/ ก ารให$ ค ะแนนเป< น 5 ระดั บ พิ จ ารณาจาก ความก$าวหน$าของขั้นตอนการดําเนินงานตามเปOาหมายแต>ละระดับ ดังนี้ ระดับ คะแนน 1 2 3 4 5

ขั้นตอนที่ 1

ระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 5


9

ระดับ

เกณฑ)การใหคะแนน

คะแนน 1

ร$อยละ 65 ของผู$นําอาสาพัฒนาชุมชนมีทะเบียนครัวเรือนเปOาหมาย (นครราชสีมา จํานวน 379 คน)

2

ร$อยละ 65 ของผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน มีแผนปฏิบัติการในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือน เปOาหมาย และมีบันทึกข$อตกลงร>วมกัน (นครราชสีมา จํานวน 379 คน)

3

ร$อยละ 65 ของผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน มีแผนและบันทึกการเยี่ยมเยียนครัวเรือนเปOาหมาย อย>าง น$อยเดือนละ 2 ครั้ง/ครัวเรือน และประสาน/สนับสนุนให$ครัวเรือนเปOาหมายเข$าร>วมกิจกรรม อย>าง น$อย 3 กิจกรรม (นครราชสีมา จํานวน 379 คน)

4

มีการจัดเวทีประชาคมในตําบลเปOาหมาย เพื่อประเมินผลสําเร็จการส>งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือน เปOาหมาย

5

มีการสรุปบทเรียน/ผลการดําเนินงานในภาพรวมระดับจังหวัด เพื่อใช$ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู$ สร$างนวัตกรรม และขยายผลการดําเนินงานในป2ถัดไป

4. วิธีการจัดเก็บขอมูล 1. กําหนดให$ผู$นํา อช.เป<นผู$จัดเก็บข$อมูล โดยใช$แบบรายงานของกรมฯ เป<นหลัก ซึ่งจะต$องมีการจัดเก็บข$อมูลกลุ>มเปOาหมาย ที่ อยู>ในความรับผิดชอบของผู$นํา อช. ดังนี้ 1 ) ทะเบียนครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553

2) ทะเบียนข$อมูลครัวเรือนเปOาหมายที่

ตกเกณฑ/ ป2 2553 3) แผนปฏิบัติการในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 4) บันทึกข$อตกลงร>วม 5) แบบบันทึกการเยี่ยมเยียนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ 6) บันทึกการจัดเวทีประชาคมตําบล (รายงานการประชุมฯ ของแต>ละตําบล) 2. สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ ออกคําสั่งแต>งตั้งคณะทํางานสรุปประเมินผลการดําเนินงาน และรายงานผล ต>อจังหวัด 3. จังหวัดโดยสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด สรุปรายงานผลการดําเนินงานให$กรมฯ ทราบ ภายในวันที่ 10 กันยายน 2554


10

5.การตรวจสอบหลักฐานอางอิง ตัวชี้วัดที่ 3.1.3 ระดับความสําเร็จของผูนํา อช. ในการสงเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ) จปฐ. ป+ 2553 ผูรับผิดชอบ ชื่อตัวชี้วัด

หลักฐานอางอิง

จังหวัด

อําเภอ

ตําบล/ กลุมเปIาหมาย

ตัวชี้วัดที่ 3.1.3

1. คําสั่งแต>งตั้ง ผูน$ ํา อช. 2. ทะเบียนกลุ>มเปOาหมาย (ผูน$ ํา อช.) 3. ทะเบียนครัวเรือนเปOาหมายตกเกณฑ/ จปฐ. 4. แผนปฏิบัติการในการส>งเสริมคุณภาพชีวิต ครัวเรือน เปOาหมายฯ 5. บันทึกข$อตกลงร>วมกันระหว>างผูน$ ําอช. กับครัวเรือน เปOาหมายฯ 6. แผนการติดตาม และบันทึกการเยี่ยมเยียนครัวเรือน เปOาหมายฯ 7. เอกกสารอ$างอิงการจัดกิจกรรม/การเข$าร>วมกิจกรรม พัฒนาชุมชนของครัวเรือนเปOาหมาย 8. คําสั่งแต>งตั้งคณะทํางานสรุป/ประเมินผลการ ดําเนินงาน 9. บันทึกการประชุม/การจัดเวทีประชาคม เพื่อประเมิน ความสําเร็จการส>งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมาย 10. รายงานผลการปฏิบตั ิงานของผู$นํา อช.


6.การมอบภารกิจในการขับเคลื่อนตัวชี้วัด 1.ให$อําเภอจัดทําแผนการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามกรอบที่จังหวัดกําหนด 2.ให$อําเภอจัดประชุมผู$นํา อช.เพื่อสร$างความรู$ความเข$าใจในการดําเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิต 3.จัดทําแผนปฏิบัติการการทํางานของผู$นํา อช. 4.แต>งตั้งคณะทํางานระดับอําเภอสนับสนุนการขับเคลื่อนตัวชี้วัดเพื่อวัดความสําเร็จการทํางานของผู$นํา อช ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมาย 5. ให$ผู$นํา อช.จัดทําแผนติดตามครัวเรือนเปOาหมาย 6.ให$ผู$รับผิดชอบรายงานแบบ อช.1-6 ตามระยะเวลาที่กําหนด 7.ให$ผู$รับผิดชอบสรุปผลการดําเนินงานการพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมายและสรุปบทเรียนการ ทํางานส>งจังหวัดในเดือนสิงหาคม 2554 การติดตามการขับเคลื่อนงาน 1. ติดตามโดยนักวิชาการรับผิดชอบตามคําสั่งสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดที่ 23/2554 ลงวันที่10 มกราคม 2554 ซึ่งแต>งตั้งนักวิชาการติดตาม นิเทศและติดตามสนับสนุนการพัฒนาชุมชน5กลุ>ม อําเภอ คือ กลุ>มสุรนารี กลุ>มลําตะคอง กลุ>มทุ>งสัมฤทธิ์ กลุ>มไหมเนื้องาม และกลุ>มเมืองหญิงกล$า ในการติดตาม งานแต>ละครั้งในพื้นที่ ให$นักวิชาการในกลุ>มอําเภอได$ติดตามผลการปฏิบัติงานผู$นํา อช.ในพื้นที่ รวมทั้งให$ คําแนะนําการดําเนินงานกับเจ$าหน$าที่พัฒนาชุมชนที่รับผิดชอบ 2.

ติดตามโดยการรายงาน โดยนักวิชาการจังหวัดได$สร$างแบบรายงานผลการขับเคลื่อน

ตัวชี้วัด 3.1.3 (E-Report) ในwww.cddkorat.com กําหนดการรายงานทุกวันที่ 25 ของเดือนเพื่อตรวจสอบการ ขับเคลื่อนตัวชี้วัด โดยในรายงานนี้ได$สอบถามการจัดทําเอกสารรายงาน 1.ผู$นําอช.1 ทะเบียนรายชื่อครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ.2553 2.ผู$นํา อช.2 ทะเบียนข$อมูลครัวเรือนเปOาหมายที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 3.ผู$นํา อช.3 แผนปฏิบัติการในการส>งเสริมคุณภาพชีวิต 4.ผู$นํา อช.4 บันทึกข$อตกลงร>วม 5. ผู$นํา อช. 5 แบบบันทึกการเยี่ยมเยียนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 6. ผู$นํา อช.6 รายงานผลการปฏิบัติงาน โดยในรายงานแต>ละแบบให$ผู$รับผิดชอบส>งเป<นเอกสารให$จังหวัดและบันทึกข$อมูลในE-Report เพื่อทราบความเคลื่อนไหวการทํางาน


3.ออกคําสั่งสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพื่อมอบหมายให$เจ$าหน$าที่พัฒนาชุมชนติดตามการ จัดเวทีประชาคมตําบลเพื่อรับรองความสําเร็จในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมายและ ประเมินผลการดําเนินงานและจัดประชุมสรุปผลการดําเนินงาน 4. การติดตามงานในพื้นที่ของนักวิชาการ เช>นออกไปร>วมเป<นกรรมการคัดสรรกิจกรรมพัฒนา ชุมชน หมู>บ$านเศรษฐกิจพอเพียง “อยู>เย็น เป<นสุข” การคัดเลือกผู$นํา อช.ชาย หญิงดีเด>น กลุ>มองค/กรดีเด>น ได$ พบการปฏิบัติงานของผู$นํา อช.ที่ได$ดําเนินการขับเคลื่อนตัวชี้วัดนี้ สามารถสรุปผลการดําเนินกิจกรรมด$วยความ เข$าใจและภูมิใจในการดําเนินการเรื่องนี้

ผู$นําอช.เสนอผลการดําเนินงานขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงและติดตามครัวเรือนเปOาหมาย

ผู$นําอช.ส>งเสริมครัวเรือนยากจนเลี้ยงกบเพิ่มราย

ประชุมผู$นําอช.เพื่อขับเคลื่อนตัวชี้วัดระดับอําเภอ


13

บทที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานของผูนํา อช.ภาพรวมจังหวัดนครราชสีมา .......................... จังหวัดนครราชสีมา 32 อําเภอ ได$มีขั้นตอนการดําเนินงานของผู$นํา อช. พอสรุปได$ดังนี้ 1.สรางความเขาใจแกเจาหนาที่พัฒนาชุมชนรับผิดชอบตําบล ให$มีความเข$าใจในรายละเอียดตัวชี้วัดและได$ระดมความคิดเห็นและกําหนดแนวทางการดําเนินงาน ประเด็นที่ได$มีการพูดคุย ได$แก> ขั้นตอนการดําเนินงานระดับขั้นของความสําเร็จ (Milestone) เกณฑ/การให$ คะแนน เปOาหมายที่ต$องบรรลุการเตรียมข$อมูล จปฐ. ครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 การพิจารณาคัดเลือก ครัวเรือนเปOาหมายการพิจารณาตัวชี้วัดที่ตกเกณฑ/ การจัดทําทะเบียนข$อมูลครัวเรือน แนวทางในการส>งเสริม สนับสนุนของภาคีที่เกี่ยวข$อง ความรู$ ความเข$าใจและทัศนคติที่ดีของเจ$าหน$าที่เป<นปGจจัยสําคัญในการขับเคลื่อน ประเด็นสําคัญที่ต$องทําความเข$าใจ คือการกระจายเปOาหมายพิจารณาผู$นํา อช.ในตําบลที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 เป<นเปOาหมายหลัก ครัวเรือนเปOาหมายที่ไม>ผ>านเกณฑ/ให$พิจารณาตัวชี้วัดที่มีครัวเรือนตกเกณฑ/ จปฐ. มากที่สุดในตําบล เป<น ลําดับแรก ครัวเรือนเปOาหมายต$องยินยอมและยอมรับที่จะดําเนินการร>วมกับผู$นํา อช. การดําเนินงานที่ไม>ถูกต$องตามกระบวนงาน จะไม>สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนได$


2.ประชุมสรางความเขาใจแกผูนํา อช.

)

หลังจากประชุมเจ$าหน$าที่พัฒนาชุมชนแล$วขั้นตอนต>อมาเป<นการสร$างความรู$ความเข$าใจแก>ผู$นํา อช. สิ่งที่มุ>งหวังคือผู$นํา อช. สามารถยกระดับส>งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนตกเกณฑ/ จปฐ. .คัดเลือกจากผู้นําอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นํา อช.) ทีได้ รับการแต่งตังจากคํ & าสังจังหวัด นครราชสีมา ที )*)*/ ,,)เรื อง แต่งตังผู & ้ นําอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นํา อช.) ประจําปี งบประมาณ ,,),,1 ตังแต่ & วนั ที ตุลาคม ,,2 ถึงวันที 2* กันยายน ,,1 จํานวน ,,) คน เป้าหมาย 216 คน . เป็ นผู้นําอช. ทีมีความประสงค์ทีจะเข้ าร่วมขับเคลือนกิจกรรมตัวชี &วัดที 2. .2ระดับ ความสําเร็ จของผู้นํา อช. ในการส่งเสริ มคุณภาพชีวิตของครัวเรื อนทีตกเกณฑ์ จปฐ. ปี ,,2 และอําเภอ ได้ เพิมจํานวนผู้นํา อช. เพือการเรี ยนรู้ ร่วมกัน 2. เป็ นผู้ทีมีความเสียสละทังต่ & อตนเองและส่วนรวม ). เป็ นผู้ทีมีความสามารถในการประสานงานกับครัวเรื อนเป้าหมายและส่วนราชการต่างๆได้ ,. เป็ นผู้ทีสามารถเป็ นแบบอย่างให้ กบั คนอืนๆได้ @.เป็ นผู้ทียอมรับการเปลียนแปลงและยอมรับสิงใหม่ๆและมีความพร้ อมตลอดเวลา การประชุมสร$างความเข$าใจมีประเด็นที่สร$างความเข$าใจ คือ เปOาหมายของกิจกรรม ขั้นตอนการดําเนินงาน Road Map การขับเคลื่อนหลังจาก ผู$นํา อช. มีความเข$าใจแล$ว ที่ประชุมได$ทบทวนตรวจสอบข$อมูล จปฐ. ป2 2553 โดยนําข$อมูล จปฐ. ป2 2554 มาเปรียบเทียบ เพื่อให$ได$ข$อมูลที่ถูกต$องตรงกับความเป<นจริงในปGจจุบัน จากนั้นได$จัดลําดับตําบล จปฐ.ที่ตก เกณฑ/ จปฐ. มากไปหาน$อย ซึ่งจัดลําดับไว$ เป<น ตําบล เปOาหมายจริง กี่ ตําบล แต>กําหนดเพิ่มอีก อีกกี่ ตําบล เพื่อลดความ เสี่ยง หลังจากนั้นได$กระจายเปOาหมายให$ผู$นํา อช. สิ่งที่สําคัญคือ ความถูกต$องของข$อมูล จปฐ.และตําบลที่ตกเกณฑ/มาก ที่สุดเป<นลําดับแรก การมอบหมายภารกิจแก> ผู$นํา อช. การประชุมครั้งนี้ ผู$นํา อช. ยอมรับและมีความเห็นว>ามีภารกิจที่ชัดเจน มีแนวทางการปฏิบัติงานที่เป<นรูปธรรม


,

3.การจัดทําทะเบียนครัวเรือนเปIาหมายและจัดทําทะเบียนขอมูลครัวเรือนเปIาหมาย หลั ง จากการประชุ ม ผู$ นํ า อช. ภารกิ จ ที่ ผู$ นํ า อช. รั บ มาดํ า เนิ น การ คื อ การคั ด เลื อ ก ครั ว เรื อนเปO า หมาย ซึ่ งพิจ ารณาจากครั ว เรื อนที่ ต กเกณฑ/ มากที่ สุด การทํา งานในขั้ นตอนนี้ ผู$นํ า อช.ได$ สอบถามข$อเท็จจริงจากผู$ใหญ>บ$าน ผู$นําชุมชน และกําหนดครัวเรือนเปOาหมาย หลังจากได$ครัวเรือนเปOาหมาย แล$วได$พบปะครัวเรือนที่ได$คัดเลือกไว$ พร$อมได$ชี้แจง สร$างความเข$าใจให$ครัวเรือนเปOาหมายยอมรับว>าตก เกณฑ/ จปฐ. ข$อใดบ$า ง มีแนวทางการยกระดั บอย> างไร เพื่อให$เกิ ดการยอมรับ เป<น การสร$า งความคุ$ นเคย พร$อมกับการจัดเก็บข$อมูล จัดทําทะเบียนข$อมูล ในขั้นตอนนี้ ผู$นํา อช. ได$สร$างแรงจูงใจ สร$างทัศนคติที่ดี ในการยกระดับให$ผ>านเกณฑ/ จปฐ. ครัวเรือนจะต$องเป<นหลัก โดยผู$นํา อช. จะเป<นที่ปรึกษา

4.การจัดทําบันทึกขอตกลงและกําหนดแผนปฏิบัติการในการยกระดับคุณภาพชีวิต หลังจากได$ข$อมูลครัวเรือนเปOาหมายแล$ว ผู$นํา อช.ได$นําข$อมูลปรึกษาหารือกับพัฒนากร เพื่อ กําหนดแนวทางและกิจกรรมการยกระดับคุณภาพชีวิตเป<นการกําหนดกิจกรรมเบื้องต$น ทั้งนี้กิจกรรมจะมาก หรือน$อยขึ้นอยู>กับ จปฐ.ที่ตกเกณฑ/ แต>อย>างน$อยครัวเรือนแต>ละครัวเรือนจะต$องมีกิจกรรม 3 กิจกรรม พูดง>าย จปฐ.บางตัวแก$ไขง>าย จปฐ.บางตัวแก$ไขยาก แต>ทุกครัวเรือนจะต$องมีกิจกรรมน$อมนําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปใช$ในการดํารงชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงไปใช$ในการดํารงชีวิตการเยี่ยมบ$านครัวเรือนเปOาหมาย พบปะพูดคุยโดยผู$นํา อช.และพัฒนากรเป<นการมาพบปะ ครั้งที่ 2 หลังจากในครั้งแรกได$ข$อมูลในเบื้องต$น ในขั้นตอนนี้ ผู$นํา อช. ได$ชี้แจงแนวทางการแก$ไข จปฐ.ที่ตกเกณฑ/ด$วยกิจกรรมต>างๆ และได$ครัวเรือนเปOาหมายได$คัดเลือกกิจกรรม บางครัวเรือนได$กําหนดกิจกรรมการแก$ไขขึ้นมาเอง เมื่อได$กิจกรรมแล$ว ผู$นํา อช.และครัวเรือนเปOาหมาย ได$จัดทําบันทึกข$อตกลงร>วมกัน โดยหน$าที่หลักเป<นของ ครัวเรือนเปOาหมาย ผู$นํา อช. เป<นพี่เลี้ยง พัฒนากร และภาคีการพัฒนาเป<นผู$สนับสนุน บันทึกข$อตกลง เป<นพันธะสัญญาทางใจที่จะต$องทําให$สําเร็จ และเพื่อให$ บรรลุเปOาหมาย ผู$นํา อช.และครัวเรือนเปOาหมายได$จัดทํา แผนปฏิบัติการในแผนนี้ได$กําหนดเวลาไว$ให$เสร็จสิ้น ภายในเดือนสิงหาคม 2554


@


1

การกําหนดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ผู$นํา อช.กระตุ$นให$ครัวเรือนเปOาหมายเน$นการ พึ่งพาตนเอง การลด ละ เลิก อบายมุข การประหยัด ไม>ใช$จ>ายฟุkมเฟlอย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปOาหมายความสําเร็จเพื่อร>วมเฉลิมฉลองในวาระโอกาสเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ$าอยู>หัวเฉลิมพระ ชนมพรรษา 84 พรรษา การทําบันทึกข$อตกลงให$บังเกิดผลอย>างจริงจัง ผู$นํา อช. ได$ขอความร>วมมือจาก ผู$ใหญ>บ$านเป<นสักขีพยาน 5. การติดตามเยี่ยมเยียนครัวเรือนเปIาหมาย ผู$นํา อช. ได$ออกติดตามครัวเรือนเปOาหมายตามแผนปฏิบัติการที่ได$จัดทําไว$ ซึ่งผู$นํา อช.ได กําหนดไว$สัปดาห/ละ 1 ครั้ง นับจากเดือนพฤษภาคม จนถึงเดือนสิงหาคม รวม 14 ครั้ง ในการติดตามได$ ประสานผู$ใหญ>บ$านและผู$นําชุมชนเข$าร>วมกิจกรรม เพื่อติดตามความก$าวหน$า ปGญหาอุปสรรค สังเกตความ เปลี่ยนแปลงและที่สําคัญเพื่อกระตุ$นครัวเรือนเปOาหมาย ผู$นํา อช. ได$สะท$อนความคิดเห็นถึงความลําบากใน การติดตามบางครัวเรือนให$ความร>วมมือน$อย บางครัวเรือนต$องตามไปถึงที่นา บางครัวเรือนต$องไปเยี่ยมเยียน ในตอนเย็น บางครัวเรือนเรียกร$องสิ่งของ งบประมาณสนับสนุน บางครัวเรือนบ>นว>าทําแล$วได$อะไร ไม>ต$อง ทําก็ได$ เดี๋ยว นายก อบต.หรือ ส.ส. เขาเอาของมาแจกเอง ยิ่งจนยิ่งได$รับของแจกมาก ตกเกณฑ/ จปฐ.ดีกว>า ไม>ตก ผู$นํา อช.ส>วนมากเห็นว>าเป<นเรื่องธรรมดา การแก$ไขด$วยการสร$างความเป<นกันเอง สร$างกําลังใจแก> ครัว เรื อนเปOา หมาย รวมทั้งขอความร>ว มมื อจากผู$ ใหญ>บ$า น ร> วมแก$ไขปG ญหาถึงแม$ ปGญหาจะมี อยู>บ$ างแต> ก็ สามารถแก$ไขได$ แรงหนุนแรงเสริมจากพัฒนากร นักพัฒนาชุมชนของ อบต. และครูอาสา กศน. มีส>วน สําคัญ ผู$นํา อช.ได$สะท$อนสภาพวิถีชีวิตของชาวชนบททั่วไป เปลี่ยนจากการพึ่งพาตนเองเป<นการพึ่งพาจาก ภายนอก ความร>วมมือ การมีส>วนร>วมน$อยลง หลังการเยี่ยมเยียนทุกครั้ง ได$จัดทําบันทึกการเยี่ยมเยียนไว$ เป<นหลักฐาน


A

ภาพการติดตามเยี่ยมเยียนครัวเรือน


6

6.การประสานงานสวนราชการ องค)กรปกครองสวนทองถิ่น หลังจากที่ผู$นํา อช. ได$จัดทําแผนปฏิบัติการแล$ว จากเวทีประชาคมระดับตําบล ผู$นํา อช.ได$ประสาน กศน. โรงพยาบาลส>งเสริมสุขภาพ สํานักงานเกษตร อบต. เทศบาล อสม. สตรีแม>บ$าน กองทุนหมู>บ$าน กรรมการกลุ>มออมทรัพย/ กรรมการ กข.คจ. สมาชิก อบต. ร>วมสนับสนุนการดําเนินงาน ซึ่งการสนับสนุนมี หลายด$าน เช>น เงินทุนกู$ยืมจากกองทุนหมู>บ$าน การฝBกอาชีพ ผู$นํา อช.ส>วนใหญ>เห็นว>า กลุ>มองค/กรภายใน ชุมชน รวมทั้งผู$นําชุมชนภายในหมู>บ$านมีส>วนสําคัญมากเพื่อให$เกิดการยอมรับในการทํางานร>วมกับผู$นําชุมชน ท$องถิ่น

7.เวทีประชาคมตําบลทบทวนการดําเนินงานและรับรองผลสําเร็จในการสงเสริมคุณภาพชีวิต กลุ> มเปO า หมายที่ ร> ว มเวที ป ระชาคม ประกอบด$ ว ย เจ$ า หน$ า ที่ อบต. พั ฒ นากร ครู อาสา กศน. ผู$ใหญ>บ$าน ประธานกลุ>มต>างๆ และผู$เกี่ยวข$องกับการยกระดับคุณภาพชีวิตครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ. เป<น การพบปะพูดคุยในระดับตําบล ส>วนใหญ>จะประชาคมในเดือนสิงหาคม ประมาณกลางเดือน ซึ่งการประชุม ได$รับความร>วมมือจาก อบต. งานนี้ผู$นํา อช. แต>ละตําบลเป<นผู$นําการประชาคม โดยมีผู$นํา อช.ตําบลข$างเคียง ร>วมสังเกตการณ/ เวทีได$ระดมความคิดเห็น 2 ประเด็นหลัก คือ ทบทวนแนวทางการดํ า เนิ น งานที่ ผ> า นมา ตามกระบวนการส> ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ของครั ว เรื อ น เปOาหมาย 5 ขั้นตอน ประกอบด$วย ขั้นตอนที่ 1 ผู$นํา อช. มีการทบทวนวิเคราะห/ข$อมูลครัวเรือนตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 และมี ทะเบียนครัวเรือนเปOาหมายตกเกณฑ/ ประเด็นนี้ ผู$นํา อช.เห็นว>าได$ทําถูกต$องครบถ$วน ขั้นตอนที่ 3 ผู$นํา อช. มีการจัดแผนปฏิบัติการในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 ๒๕๕๓ และจัดทําบันทึกข$อตกลงร>วมกันระหว>างผู$นํา อช. และครัวเรือนเปOาหมาย ที่ประชุมเห็นว>า เป<นวิธีการทํางานที่ดีซึ่งควรจะนําวิธีการนี้ไปใช$ที่อื่นต>อไปประสานสนับสนุนครัวเรือนเปOาหมายทํากิจกรรมอย>าง น$อย 3 กิจกรรม เวที เห็นว>าการปฏิบัติงานของผู$นํา อช. มีระยะเวลาจํากัดเห็นควรให$ออกไปเยี่ยมบ$านทุก สัปดาห/ พร$อมทีมงานสนับสนุน


*

ขั้นตอนที่ 4 การจัดเวทีประชาคมเพื่อประเมินผลสําเร็จการส>งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมาย ดีมากทํางานแล$วต$องทบทวนปรับปรุงแก$ไข ขั้นตอนที่ 5 สรุปผลการประเมินผลสําเร็จในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมาย ผู$นํา อช. ยอมรั บ ว> า ยากพอสมควรเพราะไม> ไ ด$ ป ฏิ บั ติ บ> อ ยนั ก โดยสรุ ป กิ จ กรรมการส> ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต ประกอบด$วยกิจกรรม -

การทบทวนวิเคราะห/ข$อมูลครัวเรือนตกเกณฑ/

-

ทะเบียนครัวเรือนเปOาหมายตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553

-

แผนปฏิบัติการส>งเสริมคุณภาพชีวิต

-

บันทึกข$อตกลงร>วมระหว>างผู$นํา อช. และครัวเรือนเปOาหมาย

-

บันทึกการเยี่ยมเยียน

-

การจัดเวทีประชาคมทบทวนและประเมินผล

กระบวนงานโดยสรุปมีความชัดเจนสามารถนําไปปฏิบัติได$ และที่ประชุมมีข$อเสนอว>าควรมีงบประมาณ สนับสนุนกิจกรรม


กิจกรรมการพัฒนาของผูนําอช.กับครัวเรือนเปIาหมาย


กลยุทธ์ เทคนิคในการบรรลุตัวชีวัด ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรื อนเป้าหมาย ทัง& 2 ครัวเรื อน ทีมงานพัฒนาคุณภาพชีวิต ครัวเรื อนเป้าหมาย ของสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอได้ ร่วมกันหาแนวทาง กลยุทธ์ และเทคนิค เพือให้ การ ส่งเสริ มคุณภาพชีวิตครัวเรื อนทีตกเกณฑ์ จปฐ. ได้ ผ่านพ้ นเกณฑ์ จปฐ. เช่น 1.) ประสานภาคีการพัฒนาเพื อร่ วมเป็ นคณะทํ างานสนับสนุนการปฏิ บตั ิงานร่ วมกับผู้นําอาสาพัฒนา ชุมชน ในระดับครัวเรื อน เช่น เจ้ าหน้ าทีขององค์การบริ หารส่วนตําบล(อบต.) เจ้ าหน้ าทีสาธารณสุข ตําบล ครูศนู ย์การเรี ยนชุมชน ตลอดจนอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบ่ ้ าน (อสม.) 2.) การมอบหมายให้ พฒ ั นากรผู้ประสานงานตําบล แต่ละตําบลรับผิดชอบในการส่งเสริ ม สนับสนุนผู้นํา อาสาพัฒ นาชุม ชน ในตํ าบลที รั บผิ ด ชอบ เพื อร่ วมกัน พิ จ ารณาคัด เลื อ กและส่ ง เสริ ม คุณ ภาพชี วิ ต ครัวเรื อนทีตกเกณฑ์ จปฐ. ปี ,,2 3.) การเยียมเยียนครัวเรื อนเป้าหมาย พบปะพูดคุยอย่างเป็ นกันเองของพัฒนากร เพือสังเกตุความก้ าวหน้ า อย่างต่อเนือง และผู้นําอาสาพัฒนาชุมชนติดตาม สนับสนุนช่วยเหลือเดือนละอย่างน้ อย

ครัง& ต่อ

ครัวเรื อน 4.) การสนับ สนุน ครั ว เรื อนเป้าหมายเข้ าร่ ว มกิ จ กรรมของชุม ชนเพื อ รณรงค์ ลด ละ เลิ ก อบายมุข ใน เทศกาลเข้ าพรรษา 5.) การให้ ข้อมูลข่าวสารเกี ยวกับพิษภัยของสิงเสพติด เช่น เหล้ า บุหรี และสารเสพติดอื น แก่ครัวเรื อน เป้าหมาย 6.) โดยรวมแล้ ว ไม่ว่าจะเป็ นเจ้ าหน้ าทีพัฒนาชุมชน หรื อภาคีเครื อข่ายเพือการพัฒนาคุณภาพชีวิต และ ผู้นําอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นํา อช.) เอง ได้ ให้ ความสําคัญ โดยให้ ความใกล้ ชิดกับครัวเรื อนเป้าหมายที ถูกกํ าหนดร่ วมกันตังแต่ & ต้น หมันซักถามความเป็ นอยู่ ตลอดจนความก้ าวหน้ าในการทํ าคําปณิธาน นับว่าเป็ นกลยุทธ์ ทีเข้ าไปนังในใจของครัวเรื อนเป้าหมายเป็ นอย่างดียิง 7.) ผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.) มีความรู$ ความเข$าใจ ในแนวทาง/ขั้นตอน กระบวนการปฏิบัติงาน ในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมายได$อย>างถูกต$อง 8.) ผู$นํา อช. มีแผนการปฏิบัติงานในการส>งเสริมคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปOาหมาย 9.) ผู$นํา อช. ได$รับความร>วมมือจากครัวเรือนเปOาหมายในการพบปะเยี่ยมเยียนและเข$าร>วมจกรรมใน หมู>บ$าน/ชุมชน/หน>วยงานภาคีการพัฒนา


2

10.) ผู$นําอช. ได$รับความรู$ ความร>วมมือจากภาคีการพัฒนา เช>น ผู$ใหญ>บ$าน/กํานัน/พช./ อบต/. กศน./เกษตร/สาธารณสุข 11.) ผู$นํา อช. ได$ปฏิบัติงานร>วมกับหน>วยงานภาคี ในลักษณะการบูรณาการ 12). มีข้อมูลทีถูกต้ อง ผู้นําทีมีคณ ุ ภาพ เน้ นการประสานงาน การติดตามอย่างสมําเสมอ และการร่วมมือ ร่วมแรงของภาคีการพัฒนาและครัวเรื อนเป้าหมาย มีแผนการดําเนินงานทุกขันตอน & ผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.) และครัวเรือนเปOาหมาย มีความตั้งใจจริงในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 13.)ผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.) เยี่ยมเยียนครัวเรือนเปOาหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเป<นประจําและ สม่ําเสมอ 14.)ภาคีการพัฒนามองเห็นถึงความสําคัญในการแก$ปGญหาคุณภาพชีวิตผู$ที่ไม>ผ>านเกณฑ/ จปฐ. ป2 ๒๕๕๓ 15).เจ$าหน$าที่พัฒนาชุมชนเอาใจใส>ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของครัวเรือนเปOาหมายร>วมกับอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.)

นวัตกรรมการทํางาน ในการส่ งเสริมคุณภาพชีวติ การขับเคลือนตัวชีวัด ตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการ ตัวชีวัด ที . . ระดับความสําเร็ จของผูน้ าํ อาสาพัฒนาชุมชน ในการส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตครัวเรื อนทีตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 011 ได้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย นัน ได้สรุ ปผลการทํางานในส่ วนทีเป็ นนวัตกรรมในการทํางาน ดังนี 1. การบูรณาการการทํางาน ระหว่างเจ้าหน้าทีพัฒนาชุมชน ภาคีการพัฒนา ผูน้ าํ อาสาพัฒนาชุมชน ตลอดจนความร่ วมมือของครัวเรื อนเป้ าหมายในการพัฒนา 2. การสร้ างทีมงานนักวิชาการพัฒนาชุมชน เพือสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพชีวติ ครัวเรื อนเป้ าหมาย 3. การจัดเวทีการเรียนรู้ เพือแลกเปลียนเรี ยนรู ้ ในการลด ละ เลิก อบายมุข โดยแบ่งกลุ่มเป้ าหมายทีร่ วม เวทีออกเป็ น กลุ่ม กลุ่มที

กลุ่มติดบุหรี แล้วเลิก

กลุ่มที 0 กลุ่มติดบุหรี แล้วยังเลิกไม่ได้ แต่มีแนวคิดว่าจะลด ละ เลิกบุหรี กลุ่มที กลุ่มไม่เคยสู บบุหรี 4. ได$น$อมนําพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ$าอยู>หัว หลักการทรงงาน “เข$าใจ เข$าถึง และ พัฒนา” 5. ประสบการณ/ตรงของบุคคลตัวอย>างในชุมชน ที่ปฏิบัติตนในการลด ละ เลิก อบายมุขเช>น บุหรี่ สุรา หวยประสบการณ/ตรงของบุคคลที่ประสบผลสําเร็จในการน$อมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช$ใน การดํารงชีวิต เช>น การจัดทําแผนชีวิต โดยการจัดทําบัญชีรับ-จ>าย ครัวเรือน 6. ข$อมูลข>าวสารทางระบบอินเตอร/เน็ต ในการสืบค$นหาข$อมูลทางวิชาการเกี่ยวกับวิธีการบําบัด/รักษา ให$เลิกสุราและบุหรี่


)

7. นําหลักคําสั่งสอนของพุทธศาสนามาใช$ในการดําเนินชีวิตประจําวัน เข$าวัด ฟGงธรรม รักษาศีล ๕ ศีล ๘ ทุกวันพระ และใช$หลักมนุษยสัมพันธ/ (ยิ้มแย$มแจ>มใส ตั้งใจสนทนา เจรจาไพเราะ สงเคราะห/เอื้อเฟlsอ ช>วยเหลือเจือจุน) ในการเข$าไปส>งเสริมครัวเรือน 8. ครัวเรือนเปOหมายเข$าร>วมกิจกรรมในชุมชน เช>น กิจกรรมลด ละ เลิก บุหรี่ สุรา ช>วงเทศกาลเข$าพรรษา กิจกรรมการแข>งขันกีฬาต$านยาเสพติด กิจกรรมการปลูกต$นไม$ทําให$เกิดความร>มรื่น ลดมลพิษทางอากาศ ปOองกันปGญหาภัยแล$ง ปOองกันปGญหาน้ําท>วม 6.ข้ อมูลครัวเรื อนเป้าหมาย (Family Profile) ข้ อมูลความจําเป็ นพื &นฐาน(จปฐ.) การทํางานเชิงรุก การ ประสานงาน การสนับสนุนงบประมาณและทางด้ านวิชาการ การเข้ ารับการศึกษาอบรม การศึกษาดูงาน การประชุม เป็ นต้ น *.ผู้นํา อช. ทํางานจับคูก่ บั อช. ในหมูบ่ ้ านทีมีครัวเรื อนเป้าหมายเพือขับเคลือนกิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการ ทีได้ กําหนดไว้ โดยให้ ผ้ นู ํา อช. เป็ นพีเลี &ยงและให้ อช. เป็ นผู้ขบั เคลือนกิจกรรม . ผู้นํา อช. กับ อช. ร่วมเล่าประสบการณ์ในการขับเคลือนกิจกรรมให้ ประสบผลสําเร็ จในรอบไตรมาสใน เวทีประชาคมในหมูบ่ ้ าน ตําบล เพ่อส่งเสริ มกระบวนการมีสว่ นร่วม .ให้ ชมรม ผู้นํา อช. และ ศอช.ต ร่ วมขับเคลือนความสําเร็ จในการส่งเสริ มคุณภาพชีวิตครัวเรื อน เป้าหมายทีตกเกณฑ์ จปฐ. ปี ๒๕๕๓ ในตําบลนัน& ๆ เช่นการแสวงหางบประมาณในการปฏิบตั งิ านในพื &นที นัน& ๆเช่นอําเภอโนนแดง สามารถจัดหางบประมาณในการดําเนินงานทังสิ & &นจํานวน ๕๑,๒๒๕ บาท (ห้ า หมืนหนึงพันสองร้ อยยีสิบห้ าบาทถ้ วน)


,

ความสําเร็จในการส่ งเสริ มคุณภาพชีวิต . ด้ านข้ อมูล มีข้อมูลความจําเป็ นพื &นฐาน (จปฐ.) ทีมีคณ ุ ภาพเป็ นข้ อมูลจริ งทีได้ จากการสํารวจ . ด้ านผู้นําอาสาพัฒนาชุมชน(อช.) เป็ นผู้ทีทีเสียสละ อดทน มีจิตรใจอาสาในการพัฒนา ด้ านครัวเรื อน ยากจนเป้าหมายให้ ความร่วมมือและยอมรับในการพัฒนาเปลียนแปลงทัศนคติของตนเอง ด้ านภาคีการ พัฒนา ให้ การสนับสนุนทังทางด้ & านงบประมาณและวิชาการต่างๆ


@

ปั ญหาอุปสรรคของการดําเนินงาน .ด้ านผู้นําอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นํา อช.) ต้ องประกอบอาชีพทําให้ มีเวลาไม่เพียงพอในกาติดตาม ครัวเรื อนเป้าหมาย ด้ านภาคีการพัฒนา มีหน้ าทีหลักเป็ นของตนเองจึงทําให้ ไม่มีเวลาหรื อมีเวลาน้ อยในการ ช่วยเหลือสนับสนุน ด้ านงบประมาณ ขาดงบประมาณสนับสนุนมีน้อยและไม่ตอ่ เนือง ด้ านครัวเรื อน เป้าหมาย ตอนกลางตัวชี &วัดทีตกเกณฑ์ จปฐ. ปี ,,2ข้ อที 22 คนในครัวเรื อนไม่สบู บุหรี มีกระบวนการที ทางสาธารณสุขต้ องเข้ าไปส่งเสริ มและบําบัด ซึงต้ องใช้ เวลาและมีกระบวนการทียากต่อการแก้ ไขปั ญหา . ตัวชี &วัดที จปฐ. ปี ,,2 ข้ อที 22 คนในครัวเรื อนไม่สบู บุหรี มีจํานวนกลุม่ เป้าหมายทีตกเกณฑ์มาก ทําให้ การแก้ ไขปั ญหาไม่ครอบคลุมและยากต่อการดําเนินการ 2. ส่วนราชการและภาคีการพัฒนา มองเป็ นปั ญหาทีไม่ใช่เรื องเร่งด่วน ทําให้ ยากแก่การทํางานวันต้ องไปทํา มาหากินจึงทําให้ ไม่อยูบ่ ้ าน 4. การประสานงานส>วนใหญ>ผู$นําชุมชนและภาคีการพัฒนาไม>ให$ความร>วมมือเท>าที่ควร .ผู$นํา อช.ขาดงบประมาณในการสนับสนุนทําให$ขาดความคล>องตัวในการทํางาน เพราะจะต$องประสาน งบประมาณให$ความช>วยเหลือจากส>วนราชการ เอกชน ผู$นําชุมชน หรือภาคีการพัฒนาในการส>งเสริม คุณภาพชีวิตครัวเรือนที่ตกเกณฑ/ 5.ครัวเรือนตกเกณฑ/ จปฐ. ป2 2553 หรือครัวเรือนเปOาหมายไม>อยู>บ$านเป<นประจํา ไปทํางานต>างจังหวัด มี เฉพาะเด็ก ๆ บางครั้งการพัฒนาและเยี่ยมเยือนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตไม>ประสบผลสําเร็จ 6.ครัวเรือนเปOาหมายไร$สมรรถภาพในการพัฒนาต$องส>งต>อหน>วยงานที่เกี่ยวข$อง ไม>สามารถบรรลุในการ วางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ตั้งใจไว$ 7.ผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.) สวมหมวกหลายใบ และประกอบอาชีพทํานาและช>วงการเยี่ยมเยียนเพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิต ตรงกับฤดูฝนทําให$ไม>มีเวลาในการเยี่ยมเยียน ประกอบกับครัวเรือนเปOาหมายไม>อยู>บ$าน ออกไปประกอบอาชีพเช>นกัน


1

ข้ อเสนอแนะในการทํางาน .ด้ านผู้นําอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นํา อช.) สนับสนุนค่าตอบแทนและการติดตามให้ ม ากขึน& และต่อเนื อง สมําเสมอ ด้ านงบประมาณในการส่งเสริ มสนับสนุนครัวเรื อนเป้าหมายควรมีทงที ั & เป็ นตัวเงิน สิงของ วิชาการ และมีอย่างต่อเนือง ด้ านข้ อมูล จปฐ. ให้ มีการปรับปรุงตัวชี &วัดให้ เหมาะสมสอดคล้ องกับการดําเนินชีวิตของ ประชาชน ด้ านภาคีการพัฒนา มีการประชุมพบปะพูดคุยแลกเปลียนความคิดเห็น ข้ อมูล บ่อยๆ 2. ด้ านผู้นําอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นํา อช.) สนับสนุนงบประมาณค่าตอบแทน เป็ นรายเดือนเช่น อสม.เพือ สร้ างขวัญและกําลังใจ 2. ควรให้ มีการกําหนดรูปแบบหรื อคูม่ ือในการปฏิบตั งิ าน เช่นการบันทึกเยียมเยียนเป็ นมาตรฐานเดียวกัน กระบวนการยอมรับการทํางาน อช./ ผู้นํา อช. ภาคีการพัฒนายังไม่ให้ ความสําคัญในการขับเคลือนกิจกรรม ).ด้ านภาคีการพัฒนา มีการประชุมพบปะพูดคุยแลกเปลียนความคิดเห็น ข้ อมูล บ่อยๆ ,.ควรมีการขยายผลการลด ละเลิก บุหรี สู่บคุ คลอืนหรื อครอบครัวอืน ๆ ในชุมชน และเชิญชวนบุคคลรอบ ข้ างให้ เข้ าร่วมโครงการ 6. ในการปฏิบัติงานของอผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.) ทุกคนมีความพยายามในการทํางาน ต$องเสียสละ เวลาในการประกอบอาชีพ ขาดรายได$ บางคนครอบครัวไม>พอใจในการปฏิบัติงานมากเกินไป เป<นเหตุให$มี ปGญหาครอบครัว ต$องเสียสละเงินในกระเปtาของตนเองบ$าง ค>าน้ํามันรถบ$าง ค>าติดต>อประสานงานมาก สําหรับผู$นําอช. มีจิตใจที่จะเสียสละ บางครั้งติดปGญหาคนรอบข$าง เพื่อเป<นขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงาน เกินค>าตอบแทนไตรมาสละ 500-บาท ในการทํางาน ป2ละ 2,000.-บาท ขอให$ช>วยผลักดันค>าตอบแทนของ ผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.) ให$มากกว>านี้


A

บทสรุ ปของการทํางานเรื* องตัวชีว+ ัดนีม+ ีผลประโยชน์ ท* ไี ด้ รับอย่ างไร .ครัวเรื อนทีไม่ผ่านตัวชี &วัดตามเกณฑ์ จปฐ.ปี ,,2ได้ รับการส่งเสริ ม สนับสนุน และพัฒนาจากผู้นํา อช. ตามกระบวนการส่งเสริ มคุณ ภาพชี วิตด้ านการมี ส่วนร่ วมของครั วเรื อนเป้าหมาย ผ่านการประเมิ นและ รับรองผลจากเวทีประชาคม . ด้ านการส่งเสริ มคุณภาพชีวิต ทําให้ ทราบว่าประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวิตทีดีขึ &นตามเกณฑ์ข้อมูลความจําเป็ น พื &นฐาน (จปฐ.) ด้ านสภาพปั ญหา ทําให้ ทราบปั ญหาของประชาชนทีกําลังประสบอยูว่ า่ มีอะไรบ้ าง ทําให้ ผ้ ทู ีเกียวข้ องร่ วมทังภาคี & การพัฒนาต่างๆได้ มีข้อมูล เพือนําไปใช้ ในการวางแผนแก้ ไขปั ญหาอย่างตรง จุด และจัดสรรงบประมาณได้ อย่างถูกต้ อง 2.ผู้นํา อช. กล้ าแสดงออกในเวทีประชาคม ระดับตําบล ระดับอําเภอ เพือสรุปผลการดําเนินงาน ). สร้ างขวัญและกําลังใจในการขับเคลือนกิจกรรมพัฒนาชุมชน ในชุมชน ,. ผู้นํา อช. ได้ ใช้ ระบบฐานข้ อมูล จปฐ. ในการทํางาน ให้ เกิดการพัฒนาทังด้ & านความรู้ และมีความสามารถ ในการทํางานร่วมกับชุมชนได้ เป็ นอย่างดี @.ครัวเรื อนเป้าหมายสามารถเรี ยนรู้การพัฒนาคุณภาพชีวิตจากข้ อมูล จปฐ. ร่ วมกับผู้นํา อช. และภาครี การ พัฒนา จากคนในชุมชนด้ วยกันได้ ทําให้ เกิดความเข้ าใจทีดีตอ่ กันในการทํางานทุกด้ าน 1. ส่วนราชการหรื อภาคีทีร่ วมทํ างานได้ เ รี ยนรู้ ในการทํางานร่ วมกันแบบบูรณาการเพิ มขึน& ในทุกระดับ ก่อให้ เกิดการประสานงานกันอย่างต่อเนืองและเป็ นประโยชน์ตอ่ ภาครวมของชุมชน A. สามารถสร้ างองค์ความรู้ในการทํางานให้ กบั อาสาสมัครทุกภาคส่วนราชการได้ และเห็นความสําคัญการ ใช้ ฐานข้ อมูล จปฐ. ในการทํางานร่วมกัน 6.สามารถขยายผลหรื อปรับปรุงวิธีการทํางานผู้นํา อช. ได้ ชดั เจนดีขึ &นเป็ นลําดับต่อไป 10.ครัวเรือนเปOาหมายเห็นถึงความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง 11.. ครัวเรือนเปOาหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 12. ผู$นําอาสาพัฒนาชุมชน (ผู$นํา อช.) เกิดความภาคภูมิใจในการปฏิบัติงาน 13. เกิดความสามัคคี เกิดการแลกเปลี่ยนระหว>างผู$นําอาสาพัฒนาชุมชนด$วยกัน ในการไปปรับใช$ในตําบลของ ตนเอง 14.ภาคีการพัฒนา เกิดความตื่นตัวในการแก$ไขปGญหาของครัวเรือนเปOาหมาย 15.เจ$าหน$าที่พัฒนาชุมชนกับผู$นําอาสาพัฒนาชุมชนมีกิจกรรมสัมพันธ/กัน ก>อเกิดงานใหม>ในการทํางานร>วมกัน 16. เป<นที่ยอมรับของส>วนราชการ ผู$นํา ภาคีการพัฒนา ในการแก$ไขปGญหาอย>างจริงจัง


สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ศาลากลางชั้น ๓ ถนนมหาดไทย อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา โทร./โทรสาร ๐ ๔๔๒๔ ๒๙๙๑, ๐ ๔๔๒๔ ๓๖๐๑ www.cddkorat.com E-mail: cddkorat@hotmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.