1
เอกสารสรุปผลการดําเนินงาน โครงการ “การจัดการความรูเครือขายการเรียนรูหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา”
จังหวัดนครราชสีมา ประจําป,งบประมาณ 2554
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา www.cddkorat.com โทร. โทรสาร 0-4424-2991 , 0-4424-3610
2
สารบัญ หน้า คํานํา
๒
สรุ ปเวทีถอดบทเรี ยนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ
๓
กิจกรรมการจัดการความรู ้
๓
ผลสําเร็ จเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง
๔
ผลสําเร็ จกลุ่มอําเภอไหมเนื,องาม
๕
ผลสําเร็ จกลุ่มอําเภอเมืองหญิงกล้า
๑๗
ผลสําเร็ จกลุ่มอําเภอลําตะคอง
๒๘
ผลสําเร็ จกลุ่มอําเภอทุ่งสัมฤทธิ6
๓๕
ผลสําเร็ จกลุ่มอําเภอสุ รนารี
๔๖
ภาพกิจกรรมการจัดเวทีถอดบทเรี ยน
๕๗
3
สรุ ปเวทีถอดบทเรียนเครือข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ระดับอําเภอ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสี มา ได้จดั ทําข้อเสนอโครงการริ เริ; มสร้างสรรค์เพื;อ ขับเคลื;อนยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน ความสําเร็ จในการดําเนินงานของสํานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดที;ได้รับอนุมตั ิให้ดาํ เนิ นการตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการภายในระดับหน่วยงาน (IPA) ประจําปี ๒๕๕๔ โครงการ “การจัดการความรู ้เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา” งบประมาณ จากกรมการพัฒนาชุมชน จํานวน ๕๐,๐๐๐ บาท วัตถุประสงค์ เพือ ๑. จัดการความรู ้บทเรี ยนความสําเร็ จ (Best Practice) จากการดําเนินงานเครื อข่ายการ เรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. เพื;อเผยแพร่ ผลงานความสําเร็ จ และยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคล/ครัวเรื อน/หมู่บา้ น/ชุมชน ที;นอ้ มนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่ การปฏิบตั ิได้อย่างสัมฤทธิ6ผล กิจกรรมการจัดการความรู้ ๑. จัดเวทีถอดบทเรี ยนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพื;อคัดเลือกทีมงานและพื,นที; ๒. ประกาศเกียรติคุณทีมงาน/มอบโล่แก่เครื อข่ายที;ได้รับการคัดเลือกดีเด่น ๓. นําบทเรี ยนเผยแพร่ ในการจัดนิทรรศการแสดงผลงานเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระยะเวลาดําเนินการ จัดเวทีถอดบทเรี ยนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับกลุ่มอําเภอ 5 กลุ่มอําเภอ ดังนี, วันที; 22 สิ งหาคม 2554 ณ ห้องประชุมอําเภอบัวใหญ่ กลุ่มอําเภอไหมเนื, องาม ประกอบด้วย อําเภอบัว ใหญ่,ประทาย,โนนแดง,บัวลาย,แก้งสนามนาง,บ้ายเหลื;อมและสี ดา วันที; 22 สิ งหาคม 2554 ณ ห้องประชุม อบจ.นครราชสี มา กลุ่มอําเภอเมืองหญิงกล้า ประกอบด้วย อําเภอเมืองนครราชสี มา,จักราช,เฉลิมพระเกียรติ,โนนไทย,โนนสู ง, ขามสะแกแสงและพระทองคํา วันที; 22 สิ งหาคม 2554 ณ ห้องประชุมเทศบาลตําบลกุดจิก อําเภอสู งเนิน กลุ่มอําเภอลําตะคอง ประกอบด้วย อําเภอปากช่อง,สี คิ,ว,สู งเนิน,ขามทะเลสอ,ด่านขุนทด และ
4
เทพารักษ์ วันที; 22 สิ งหาคม 2554 ณ ห้องประชุมเทศบาลตําบลในเมือง อําเภอพิมาย กลุ่มอําเภอทุ่งสัมฤทธิ6 ประกอบด้วย อําเภอพิมาย,คง,ชุมพวง,ห้วยแถลง,ลําทะเมนชัยและเมืองยาง วันที; 23 สิ งหาคม 2554 ณ ห้องประชุมอําเภอโชคชัย กลุ่มอําเภอสุ รนารี ประกอบด้วย อําเภอโชคชัย, ครบุรี,เสิ งสาง,ปั กธงชัย,วังนํ,าเขียวและหนองบุญมาก ผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรม ประกอบด้วย ๑. ๒. ๓. ๔.
พัฒนาการอําเภอ ๓๐ คน พัฒนากร ๑๕๖ คน ผูน้ าํ ๖๔ คน หัวหน้ากลุ่มงาน/นักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัดผูร้ ับผิดชอบ นิเทศ ติดตามงานกลุ่มอําเภอ จํานวน ๒๕ คน รวม ๒๗๕ คน
ผลการดําเนินงานของกลุ่มอําเภอทีได้ รับการคัดเลือก
Best Practice
กลุ่มอําเภอไหมเนื, องาม กลุ่มอําเภอเมืองหญิงกล้า กลุ่มอําเภอลําตะคอง กลุ่มอําเภอทุ่งสัมฤทธิ6 กลุ่มอําเภอสุ รนารี
ได้แก่ ได้แก่ ได้แก่ ได้แก่ ได้แก่
อําเภอบัวใหญ่ อําเภอขามสะแกแสง อําเภอปากช่อง อําเภอเมืองยาง อําเภอหนองบุญมาก
5
สรุ ปผลเวทีถอดบทเรียนเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ปี ๒๕๕๔ เพือคัดเลือกทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ กลุ่มอําเภอไหมเนือ4 งาม ประกอบด้วย อําเภอบัวใหญ่, ประทาย, โนนแดง, บัวลาย, แก้งสนามนาง, บ้านเหลื;อม และสี ดา กลุ่มเป้าหมาย ๑. ๒. ๓. ๔.
พัฒนาการอําเภอ 7 คน พัฒนากร 29 คน ผูน้ าํ 14 คน หัวหน้ากลุ่มงาน/นักวิชาการพัฒนาชุมชน ๓ คน รวม ๕๓ คน
รู ปแบบและวิธีการ ๑. พัฒนาการอําเภอนําเสนอผลการดําเนิ นงานการขับเคลื;อนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพียง ๒. ผูน้ าํ ชุมชนที;เป็ นคณะทํางาน เป็ นผูน้ าํ เสนอผลการดําเนิ นงานการขับเคลื;อนเครื อข่าย เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๓. คณะกรรมการ (หัวหน้ากลุ่มงาน/นักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด) ซักถามเพิ;มเติม ให้ ข้อคิดเห็น/เสนอแนะแก่ทีมอําเภอ/เครื อข่าย ๑. องค์ ความรู้ จากอําเภอทีเป็ นทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ Best Practice เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ กลุ่มไหมเนื,องามที;ได้รับการคัดเลือกให้เป็ นเครื อข่ายดีเด่น ได้แก่ เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา อําเภอบัวใหญ่
6
๑.๑ ข้ อมูลทัวไป อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา มีการพัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ตั,งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็ นต้นมาจนถึงปั จจุบนั จํานวน ๑๗ หมู่บา้ น ในปี ๒๕๕๔ สํานักงานพัฒนาชุมชน จังหวัดนครราชสี มา ได้จดั ทําโครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา ระดับอําเภอขึ,น เพื;อสนับสนุนขับเคลื;อนกิจกรรมหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ทีมงานสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอบัวใหญ่ จึงได้ดาํ เนิ นงานตามโครงการดังกล่าวโดย จัดตั,งเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอพียง เมื;อวันที; ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔ ซึ; งมีที;ทาํ การเครื อข่าย ตั,งอยู่ ณ บ้านหนองเม็ก หมู่ที; ๙ ตําบลด่านช้าง อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา ๑.๒ แนวทางการจัดตั4งเครือข่ ายของทีม อําเภอ Input : แนวทางการดําเนิ นงานของจังหวัด/กิจกรรมตามยุทธศาสตร์ กรมฯ/จังหวัด/กิจกรรมที;ร่วม ดําเนิ นการกับภาคีการพัฒนา/การประชุมเตรี ยมความพร้อมของจังหวัด Process : สํารวจความพร้อมของพื,นที;/สร้างความรู ้ความเข้าใจ/สร้างทีมงาน/สร้างระบบการ จัดการความรู ้ Output : มีคณะกรรมการเครื อข่าย/ทีมขับเคลื;อนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพียง Outcome : คณะกรรมการเครื อข่ายฯ มีบทบาทในการขับเคลื;อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/มีแหล่งเรี ยนรู ้ เชื;อมโยงเครื อข่ายฯ/Website อําเภอประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลแหล่งเรี ยนรู ้ดา้ น ศกพ. ๑.๓ กลยุทธ์ ในการสร้ างเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจ กลยุทธ์ ๕ ส. ๑. สร้ างความพร้ อมของพืน4 ที จัดทําฐานข้อมูลหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง/ข้อมูลของกลุ่ม/องค์กร/เครื อข่าย/ทะเบียนข้อมูล รายชื;อแกนนําการพัฒนาหมู่บา้ น เตรี ยมทีมวิทยากรกระบวนการ/ออกแบบเนื, อหาหลักสู ตรในการจัดเวทีสร้างความเข้าใจ ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น ในที;ประชุมหัวหน้าส่ วนราชการ/กํานันผูใ้ หญ่บา้ น และเว็บไซต์อาํ เภอ วางแผนปฏิบตั ิการ
7
๒. สร้ างความรู้ ความเข้ าใจ ประชุมทีมงานพัฒนาชุ มชนสร้างความเข้าใจแนวทางการดําเนิ นงาน จัดเวทีสร้างความรู ้ความเข้าใจแกนนําหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงประชาสัมพันธ์การดําเนิ น โครงการฯ เพื;อค้นหาแนวร่ วม ๓. สร้ างทีมงาน ตั,งคณะทํางานในระดับต่างๆตั,งแต่ระดับอําเภอ ถึงระดับหมู่บา้ น ตั,งคณะกรรมการเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับหมู่บา้ น ระดับตําบล และระดับอําเภอ จัดตั,งเครื อข่ายเมื;อวันที; ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔ มีที;ทาํ การเครื อข่ายตั,งอยู่ ณ บ้านหนองเม็ก หมู่ที; ๙ ตําบลด่านช้าง อําเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสี มา ๔. สร้ างความร่ วมมือ ประสานหน่ วยงานภาคีเศรษฐกิจพอเพียง/แสวงหางบประมาณสนับสนุน การดําเนินงาน ได้ แก่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยร่ วมในการปรับปรุ งศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชน สนับสนุนการดําเนินงานกลุ่มอาชีพ บ้าน วัด โรงเรี ยน สนับสนุนการให้ความรู ้ การพัฒนาด้านจิตใจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จังหวัดนครราชสี มา สนับสนุนวัสดุสาธิ ตกิจกรรมบ่อแก๊ส ชีวภาพ การแปรรู ปผลิตภัณฑ์จากข้าว เป็ นต้น m องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ;นสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาปรับภูมิทศั น์ของหมู่บา้ น ประสานของบประมาณเป็ นค่าอาหารจากหมู่บา้ นที;เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทุกหมู่บา้ น ๕. สร้ างระบบจัดการความรู้ จัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ จัดทําทะเบียนข้อมูลความรู ้ที;มีอยูใ่ นชุมชน จัดการความรู ้/การสื บค้นความรู ้ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เพื;อขยายผลการเรี ยนรู ้ ทางเว็บไซต์สาํ นักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ ๑.๔ กิจกรรมเครื อข่ าย จุดเรี ยนรู ้/พัฒนาและปรับภูมิทศั น์หมู่บา้ นแสดงให้เห็นถึงการเปลี;ยนแปลงในทางที;ดีข, ึน ร่ วมคิด ร่ วมวางแผน ร่ วมดําเนินการกับคณะกรรมการขับเคลื;อนเครื อข่ายการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ประสานหน่วยงานภาคีสนับสนุนงบประมาณต่อยอดกิจกรรม
8
๑.๕ ประโยชน์ ทีเกิดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายการเรี ยนรู้ ฯ • มีจุดเรี ยนรู ้ดา้ นการส่ งเสริ มพัฒนาอาชีพ • หมู่บา้ นเป้ าหมายสมาชิกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื; อง • ประชาชนเกิดความศรัทธาในตัวเจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชน ทําให้ง่ายต่อการประสานงาน และ สามารถทํางานร่ วมกับประชาชนได้เป็ นอย่างดี • ภาคีการพัฒนาให้ความร่ วมมือสนับสนุนการดําเนิ นงาน สนับสนุนงบประมาณวัสดุอุปกรณ์ • สนองตอบยุทธศาสตร์ การดําเนินงานตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงทุกระดับ ๒. การสรุ ปบทเรียนเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา อําเภอบัวใหญ่ ๒.๑ สภาพทัวไปก่ อน การพัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ปั จจุบนั มีหลายหน่วยงานที;เข้าไปส่ งเสริ มสนับสนุน เช่น พัฒนาชุมชน เกษตร กศน. อบต. ลักษณะต่างคนต่างทําไม่มีการบูรณาการ ในปี นี, ( พ.ศ. ๒๕๕๔ ) สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสี มา ได้จดั ทําโครงการริ เริ; มสร้างสรรค์เพื;อสนับสนุนการดําเนินงาน ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอบัวใหญ่ จึงได้จดั เวทีสร้างความรู ้ความเข้าใจในการสร้าง เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ และจัดตั,งเครื อข่าย การเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงอําเภอบัวใหญ่ ขึ,นเมื;อวันที; ๒๖ เมษายน ๒๕๕๔ โดยมีนายบัวเรี ยน สุ โพธิ6 เป็ นประธาน และมีหน่วยงานภาคีเป็ นที;ปรึ กษา ๒.๒ กลยุทธ์ /เทคนิค ใช้หลักการ ๕ ร่ วมเป็ นกลยุทธ์ ในการขับเคลื;อนการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ๑. ร่ วมคิด ๒. ร่ วมวางแผน ๓. ร่ วมดําเนินการ ๔. ร่ วมรับผลประโยชน์
9
๕. ร่ วมติดตาม/ถอดบทเรี ยนความสําเร็ จ ๒.๓ กิจกรรมการแลกเปลียนเรียนรู้ ของ เครือข่ ายฯ การจัดตั,งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนและการบริ หารจัดการชุมชน ธนาคารขยะ ออมวันละบาท สวัสดิการชุมชน ๑ ไร่ แก้จน กิจกรรมสาธิ ต เลี,ยงปลาดุกในบ่อซี เมนต์/ทํานํ,ายาเอนกประสงค์/ทําปุ๋ ยอินทรี ย/์ นํ,าหมักชีวภาพ/เพาะเห็ด/ทอเสื; อ/การเลี,ยงหมูหลุม/แปลงสาธิ ตเกษตรอินทรี ย/์ เพาะพันธ์กล้าไม้ ๒.๔ ประโยชน์ ทเกิ ี ดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายฯ แก่ สมาชิ กและชุ มชน ประชาชนในหมู่บา้ นมีความตื;นตัว ร่ วมมือกันปรับปรุ งภูมิทศั น์สภาพแวดล้อมชุมชน หมู่บา้ นที;เป็ นจุดดําเนินการจัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ มีรายได้เพิ;มขึ,นจากการจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ชุมชน หน่วยงานภาคีการพัฒนา ได้เข้ามาสนับสนุ นการพัฒนาอาชีพต่อยอดกิจกรรม มีทางเลือกในการประกอบอาชีพตามถนัด จากการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้/สาธิ ตกิจกรรมต่างๆ ๒.๕ ปัจจัยทีมีผลต่ อความสํ าเร็จของโครงการ คณะกรรมการเครื อข่ายฯ มีความรู ้ ความเข้าใจ ในการดําเนินงานตามโครงการฯ คณะกรรมการ/สมาชิกเครื อข่ายฯ มีส่วนร่ วมการดําเนินงานในทุกขั,นตอน คณะกรรมการ/สมาชิกเครื อข่ายฯ ที;เข้าร่ วมโครงการเห็นประโยชน์ในการสร้างเครื อข่าย ที;มีการ แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ได้รับการยอมรับชื;นชมในความสําเร็ จ อยูใ่ นพื,นที;ดาํ เนินงาน หมู่บา้ นเครื อข่ายฯ มีความพร้อม มีศกั ยภาพ มีทุนทางสังคม ชุมชนมีความรัก ความสามัคคี หน่วยงานภาคีการพัฒนา ให้ความร่ วมมือเป็ นอย่างดี ๒.๖ การสร้ างความยังยืนให้ เครือข่ ายฯ คณะกรรมการเครื อข่ายฯ ต้องจัดให้มีการประชุมอย่างสมํ;าเสมอ ต้องจัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กบั สมาชิกอย่างต่อเนื; อง
10
มีแผนการดําเนินงานที;เป็ นปั จจุบนั สามารถปฏิบตั ิได้จริ ง มีการแสวงหางบประมาณ มาสนับสนุนการดําเนิ นงานของเครื อข่ายฯ มีการฝึ กอบรม ศึกษาดูงาน การแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ กับเครื อข่ายอื;นๆ มีหน่วยงานภาคีการพัฒนาที;เกี;ยวข้อง ต้องให้ความสําคัญ อย่างต่อเนื; องและจริ งจัง ๒.๗ ข้ อเสนอแนะเชิ งนโยบาย ให้มีการขยายผลการดําเนิ นงานโครงการฯ ไปในเขตพื,นที; จังหวัดอื;น ๆ ทัว; ประเทศ ผูบ้ ริ การระดับสู งต้องให้ความสําคัญ และให้มีการบรรจุไว้ในแผนงาน/โครงการกิจกรรมประจําปี ของหน่วยงาน ๒.๘ ข้ อเสนอแนะเชิ งปฏิบัติ ควรสร้างความเข้าใจกับแกนนําในหมู่บา้ น ให้เห็นความสําคัญในการขับเคลื;อนกิจกรรมหมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพียง คณะกรรมการเครื อข่ายฯ ต้องขับเคลื;อนกิจกรรมอย่างต่อเนื;อง ให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็ น วิถีชีวติ ของคนในชุมชน เกิดการพัฒนาที;ยง;ั ยืน สามารถพัฒนา เป็ นหมู่บา้ นต้นแบบมีการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ศึกษาดูงานจากหมู่บา้ น/ชุมชนอื;น ในระดับหมู่บา้ น แกนนําหมู่บา้ นควรส่ งเสริ มสนับสนุ น และนําองค์ความรู ้ที;หลากหลายใน ชุมชนมาเป็ นต้นแบบ ในการขยายผลต่อยอดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง และยกย่องชมเชยในระดับหมู่บา้ น ตําบล อําเภอ เพื;อให้เจ้าของความรู ้น, นั เกิดความภาคภูมิใจ ถึงโครงการสิ, นสุ ดลงแล้ว ก็ควรสนับสนุนฝึ กอบรมให้ความรู ้ ศึกษาดูงาน แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ร่ วมกันระหว่างเครื อข่าย ให้ดาํ เนิ นการต่อไปอย่างต่อเนื; อง เพื;อความเข้มแข็งอย่างยัง; ยืนของ หมู่บา้ น/ ชุมชน สํ านักงานพัฒนาชุ มชนอําเภอประทาย กระบวนการ/ขั4นตอน และกลยุทธ์ เทคนิคในการสร้ างเครื อข่ าย การเรี ยนรู ้ฯ 1. สร้างความสัมพันธ์ ติดต่อ สื; อสารระหว่างกัน พบปะ พูดคุย ทําความรู ้จกั ซึ; งกันและกัน แลกเปลี;ยนข้อมูล ที;อยู่ เบอร์ โทรศัพท์ เพื;อใช้ติดต่อสื; อสาร 2. ส่ งเสริ มสนับสนุนให้มีการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ ความรู ้ ภูมิปัญญา
11
-
- มีการประชุม ปรึ กษาหารื อ/สร้างเป้ าหมายร่ วมกัน สร้างแรงจูงใจร่ วมกัน - มีการขับเคลื;อนกิจกรรมร่ วมกัน มีกฎ กติกา ที;ทุกคนพอใจ - มีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื; อ เช่น เอกสาร แผ่นพับ เว็บไซด์ วิทยุชุมชน 3. ส่ งเสริ ม สนับสนุน ให้มีการทํากิจกรรมการมีส่วนร่ วม ร่ วมมือ ร่ วมใจ แก้ไขปั ญหา - จัดกิจกรรมของเครื อข่ายร่ วมกันอย่างต่อเนื; อง และขยายผล - จัดทําทะเบียนกลุ่ม องค์กรสมาชิก ข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน องค์ความรู ้และภูมิปัญญา - จัดทําสื; อประชาสัมพันธ์การทํางานและกิจกรรมของเครื อข่าย ตามช่องทางต่างๆ 4. สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ศูนย์กลางเครื อข่ายเรี ยนรู ้ การแลกเปลียนเรียนรู้ 1. 2. 3. 4. 5.
การเพาะเห็ดนางฟ้ า และเห็ดภูฐาน การทํานํ,ายาเอนกประสงค์ การเผาถ่านทํานํ,าส้มควันไม้ไล่แมลง การทําปุ๋ ยหมักชีวภาพ การปลูกผักสวนครัว/การทําไร่ นาสวนผสม ประโยชน์ จากการขับเคลือนเครือข่ ายฯ ทีสมาชิ ก
1. 2. 3. 4. 5. 6.
มีส่วนร่ วมแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และ ประเทศชาติ มีโอกาสแลกเปลี;ยนความรู ้ ข้อมูล ข่าวสาร ทักษะ ประสบการณ์ สมาชิกมีรายได้เพิ;มขึ,น ความเป็ นอยูท่ ี;ดีข, ึน สมาชิกมีจิตเป็ นสาธารณะ ในการทํางานเพื;อส่ วนรวม สมาชิกได้รับความช่วยเหลือ กําลังใจ และการยอมรับ จากเพื;อนในเครื อข่าย ช่วยเชื;อมประสานแหล่งทรัพยากรด้านต่างๆ ทั,งภายใน และนอกเครื อข่าย ......................................................................
สํ านักงานพัฒนาชุ มชนอําเภอโนนแดง
กลยุทธ์ เทคนิค กระบวนการมีส่วนร่ วมในการสร้ างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ของทีมงาน ประชุมชี,แจงเจ้าหน้าที;/มอบหมายภารกิจ
12
ประชุมคณะกรรมการและคณะทํางาน บูรณาการขยายผลเศรษฐกิจพอเพียง เพื;อกําหนดหมู่บา้ น เป้ าหมาย และแนวทางการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ประชุมชี,แจงสร้างความเข้าใจแกนนําหมู่บา้ น และร่ วมวางแผนเชื; อมโยงเครื อข่าย ประชุมครัวเรื อนต้นแบบหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง คัดเลือกครัวเรื อนต้นแบบ จัดทําข้อมูลและผังเชื; อมโยงเครื อข่ายจุดเรี ยนรู ้/ประชาสัมพันธ์กิจกรรมเรี ยนรู ้ให้ประชาชนทัว; ไปและ หมู่บา้ นเครื อข่ายทราบ การขับเคลือนกิจกรรมของเครือข่ ายการเรียนรู้ ฯ จัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กิจกรรม ประชุมครัวเรื อนต้นแบบ ปรับปรุ งจุดเรี ยนรู ้ ปรับปรุ งศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนให้เป็ นเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ นําคณะกรรมการศึกษาดูงานแต่ละหมู่บา้ น ประโยชน์ที;ได้จากการสร้างเครื อข่ายฯ หมู่บา้ นมีการแลกเปลี;ยนข้อมูลข่าวสาร ทักษะ ความรู ้ เครื; องมือ ชาวบ้านมีความคิดริ เริ; มโดยไม่ตอ้ งรอเจ้าหน้าที;มาชี,แนะ สํ านักงานพัฒนาชุ มชนอําเภอบัวลาย กลยุทธ์ เทคนิค กระบวนการมีส่วนร่ วมในการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ของทีมงาน ประชุมชี,แจงสร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที;และคณะทํางาน ทบทวนองค์ความรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง/ตัวชี, วดั แก่เจ้าหน้าที; ประสานคณะกรรมการเครื อข่ายแต่ละหมู่บา้ นเพื;อชี, แจงรายละเอียด ประสานความร่ วมมือกับกลุ่มองค์กร และหน่วยงานที;เกี;ยวข้อง จัดทําแผนปฏิบตั ิการ ดําเนินการขับเคลื;อนกิจกรรม ประชาสัมพันธ์/รายงานผล
13
การขับเคลื;อนเครื อข่าย จัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กิจกรรม จัดทําคําสั;งคณะทํางานขับเคลื;อนกิจกรรมระดับอําเภอ/จัดทําระเบียบเครื อข่ายฯ/จัดทําข้อมูลและ ผังเครื อข่าย/จัดการความรู ้ ประเมินความสุ ขมวลรวม เปิ ดหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ สร้างวิทยากรเรี ยนรู ้ ประโยชน์ ทได้ ี จากการสร้ างเครือข่ ายฯ มีแหล่งแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ สํ านักงานพัฒนาชุ มชนอําเภอสี ดา กระบวนการ/ขั,นตอน 1. ร่ วมเสนอความคิดเห็นโครงการริ เริ; มสร้างสรรค์ปี ๒๕๕๔ 2. ได้ปรึ กษาหารื อแนวทางการดําเนิ นงานตามโครงการฯ ร่ วมกับนายอําเภอและภาคีการพัฒนา 3. ได้ประสานให้พฒั นากรประจําตําบล ได้จดั เก็บข้อมูลในพื,นที;หมู่บา้ นเป้ าหมาย 4. ออกคําสั;งแต่งตั,งคณะทํางานเครื อข่าย ฯ ระดับอําเภอ 5. เชิญประชุมคณะทํางานเครื อข่าย ฯ ระดับอําเภอ เพื;อคัดเลือกสถานที;ต, งั เครื อข่ายฯ การวางแผน ปฏิบตั ิการขับเคลื;อนกิจกรรมของเครื อข่าย ฯ 6. สนับสนุนการจัดทําเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ของเครื อข่ายฯ 7. ประสานงานภาคีการพัฒนา เพื;อให้การสนับสนุนการขับเคลื;อนงานของเครื อข่ายฯ 8. ร่ วมสนับสนุนในการถ่ายทอดองค์ความรู ้และบันทึกองค์ความรู ้ร่วมกับเครื อข่ายฯ กลยุทธ์/วิธีการ
14
1. ทําการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กนั เองในทีมงาน 2. ร่ วมกันศึกษาข้อมูลแนวทางการขับเคลื;อนเครื อข่ายฯ เพื;อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ กรมการ พัฒนาชุมชน ปี ๒๕๕๔ 3. แบ่งงานกันทําภายในทีม เพื;อความสําเร็ จของงาน 4. วางแผนปฏิบตั ิการ และดําเนิ นงานตามแผนฯเกิดอะไรบ้าง 5. ทีมอําเภอ สามารถขับเคลื;อนกิจกรรมตามภารกิจได้ดี 6. เกิดการเชื; อมโยงการทํางานของเครื อข่ายฯ กับงานตามยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุมชน 7. เกิดองค์ความรู ้ใหม่ในทีมอําเภอ 8. เกิดแหล่งเรี ยนรู ้ในชุมชนเพิ;มมากขึ,น จากกระบวนการทํางานของเครื อข่ายฯได้อะไรบ้าง 9. ได้มีการสร้างความรู ้ ความเข้าใจในการทํางานเป็ นทีม 10.ได้ทาํ งานกับเครื อข่ายฯ และภาคีการพัฒนาที;แนบแน่นยิง; ขึ,น 11. ได้ถอดบทเรี ยนความสําเร็ จในการขับเคลื;อนงานของเครื อข่ายฯ สํ านักงานพั ฒนาชุ มชนอําเภอบ้ านเหลือม ********************* กลยุทธ์ เทคนิค และกระบวนการมีส่วนร่ วมในการสร้ างเครือข่ ายการเรี ยนรู้ ฯ สร้างความเข้าใจการดําเนิ นงานตามโครงการฯแก่เจ้าน้าที;พฒั นาชุมชนให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ประชาสัมพันธ์แนวทางการดําเนินงานโครงการฯในที;ประชุมหัวหน้าส่ วนราชการ/กํานันผูใ้ หญ่บา้ น สํารวจข้อมูล/จัดทําฐานข้อมูล/จัดทําแผนปฏิบตั ิการ สร้างการเรี ยนรู ้/สร้างความเข้าใจในการดําเนินงานตามโครงการฯแก่หมู่บา้ นสมาชิก จัดเวทีสร้างความรู ้ความเข้าใจกระบวนการทํางาน และจัดตั,งคณะทํางานขับเคลื;อนกิจกรรม แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้/จัดทําแผนขับเคลื;อนกิจกรรม /ปรับปรุ งพัฒนาแหล่งเรี ยนรู ้ /ประชุมสัญจร บูรณาการการทํางานของคณะทํางานขับเคลื;อนฯระดับอําเภอ/ตําบล โดยร่ วมกับ ศจพ.อ และ ศจพ.ต. ประสานภาคีพฒั นาขอรับการสนับสนุนงบประมาณ เพื;อสนับสนุนการขับเคลื;อนกิจกรรมของเครื อข่ายฯ กิจกรรมการเรี ยนรู้ ของเครือข่ าย แก๊สชีวภาพ กลุ่มอาชีพตัดเย็บผ้า/กลุ่มทอตะกร้า การผลิตผงนัว การเลี,ยงกุง้ /การเลี,ยงกบ
15
การปลูกผักปลอดสารพิษ ประโยชน์ที;ได้รับจากโครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง การขับเคลือนยุทธศาสตร์ กรมฯ เกิดการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ในการบริ หารจัดการทุนชุมชนซึ; งนําไปสู่ การจัดสวัสดิการชุมชน ก่อให้เกิดแนวคิด แนวทาง ในการบริ หารจัดการกลุ่มให้มีการกระจายผลประโยชน์ต่อชุมชนมากขึ,น กลุ่มอาชีพในพื,นที;เป้ าหมาย ได้รับการกระตุน้ เกิดการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ เกิดช่องทางในการประกอบ อาชีพใหม่ๆเพิ;มขึ,น เช่น อาชีพเลี,ยงกบ อาชีพปลูกผักปลอดสารพิษ อาชีพผลิตตะกร้า เป็ นต้น กิจกรรมแผนงานของหมู่บา้ นได้มีการบรรจุไว้ในแผนชุมชนและมีการนําไปใช้ประโยชน์ องค์ความรู ้ที;มีอยูใ่ นหมู่บา้ น/ชุมชน ได้รับการจัดการความรู ้และนําไปเผยแพร่ ให้เกิดประโยชน์ต่อ ผูส้ นใจต่อไป ********************* สํ านักงานพั ฒนาชุ มชนอําเภอแก้ งสนามนาง กลยุทธ์ เทคนิคในการขับเคลือนเครือข่ ายการเรียนรู้ ฯ ให้ เกียรติและสร้ างกําลังใจในการทํางานสร้ างภาคี ให้ ความอิสระในการดําเนินกิจกรรม จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น นายอําเภอเป็ นทีปรึกษา/สร้ างภาคี : ส่ วนราชการ, อบต. กพสอ. อช. กระบวนการดําเนินงาน ศึกษารายละเอียดประชุมแกนนําหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง กับเจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชน ร่ วมกับภาคีการพัฒนาพัฒนากรประจําตําบล จัดเก็บข้อมูลในพื,นที;หมู่บา้ นเป้ าหมาย การวางแผนปฏิบตั ิการ/กําหนดหมู่บา้ นเป็ นศูนย์กลาง/เตรี ยมความพร้อมขับเคลื;อนกิจกรรมเครื อ ค้นหาแกนนําแนวร่ วม/คัดเลือกคณะทํางานเครื อข่าย ฯ ระดับอําเภอ และระดับหมู่บา้ น จัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ร่วมกันของเครื อข่ายฯ ในรู ปแบบเวทีสัญจรสนับสนุนในการถ่ายทอด องค์ความรู ้และถอดบทเรี ยน ติดตามประเมินผล ประโยชน์ที;ได้รับจากโครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง
16
เกิดการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กิจกรรมในเวทีแลกเปลี;ยน มีการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้และต่อยอดกิจกรรมให้ดียง;ิ ขึ,น เกิดแหล่งเรี ยนรู ้ในหมู่บา้ น ตําบล อําเภอเพิ;มมากขึ,น จากกระบวนการทํางานของเครื อข่ายทําให้เกิดความรัก ความสามัคคีในการทํางานร่ วมกันใน องค์กรและหน่วยงานภาคีพฒั นา ได้ถอดบทเรี ยนความสําเร็ จในการขับเคลื;อนงานของเครื อข่ายฯ มีการเรี ยนรู ้การทํางานเป็ นทีม ได้พฒั นาศักยภาพของตนเองมากขึ,น ทํางานกับสมาชิกเครื อข่ายฯ และภาคีการพัฒนาอย่างต่อเนื; อง ปัจจัยสู่ ความสํ าเร็จ จนท. /ภาคี เข้าใจหมู่บา้ น /ผูบ้ ริ หารเห็นความสําคัญ ได้รับสนับสนุนงบประมาณ สร้างเครื อข่าย ได้ความรู ้ ดํารงตนอยูด่ ว้ ยความพอเพียง ………………………..
17
สรุ ปผลเวทีถอดบทเรียนเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ปี ๒๕๕๔ เพือคัดเลือกทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ
กลุ่มอําเภอเมืองหญิงกล้ า รู ปแบบและวิธีการ ๑. การแจ้ งประเด็นและหลักเกณฑ์ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด แจ้งประเด็นให้อาํ เภอ ได้เตรี ยมการสําหรับการนําเสนอผลงานให้คณะกรรมการได้พิจารณา ๔ ประเด็น ดังนี, ๑.๑ กลยุทธ์ กระบวนการ หลักการมีส่วนร่ วมในการขับเคลื;อนการดําเนิ นงานของ ทีมงานสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอและเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ (๓๐ คะแนน) ๑.๒ การขับเคลื;อนกิจกรรมของเครื อขาย โดยพิจารณาว่าเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ได้ทาํ อะไรกัน มาบ้าง (๒๕ คะแนน) ๑.๓ ผลประโยชน์ที;เกิดขึ,นจากการขับเคลื;อนกิจกรรมของเครื อข่ายต่อสมาชิกเครื อข่ายฯ ชุมชน และงานกรมการพัฒนาชุมชน (๒๕ คะแนน) ๑.๔ การจัดทํา E-Mapping (๒๐ คะแนน) ๒. เตรียมทีมคณะกรรมการจากสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสี มา จํานวน ๓ ท่าน ดังนี, นางขวัญใจ จันทรมณี หัวหน้าฝ่ ายอํานวยการ เป็ นประธาน, นางจรวย โพธิ6 นอก นักวิชาการ พัฒนาชุมชนชํานาญการ เป็ นกรรมการ และนางปาริ ชาติ สุ รบัณฑิตวงศ์ นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ เป็ นกรรมการ ๓. จัดเตรียมข้ อมูล เอกสารการถอดบทเรี ยน ที;เกี;ยวข้อง อําเภอละ ๒ เล่ม ๔. กลุ่มอําเภอเป้าหมาย ประกอบด้วย ๗ อําเภอ ได้แก่ อําเภอเมืองนครราชสี มา โนนสู ง โนนไทยจักราช เฉลิมพระเกียรติฯ พระทองคํา และอําเภอขามสะแกแสง ๕. ดําเนินการ ๑ วัน ในวันที ๒๒ สิ งหาคม ๒๕๕๔ (ระหว่างเวลา ๐๘.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.) ณ ห้องประชุมรักษ์โคราช องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดนครราชสี มา ๖. ผู้เข้ าร่ วมเวทีประกอบด้ วย พัฒนาการอําเภอ ๗ คน พัฒนากร ๓๐ คน ผูน้ าํ ชุมชน ๒๐ คน นักวิชาการ ๓ คน รวมทั,งสิ, น ๖๐ คน ๗. รู ปแบบการนําเสนอ ๗.๑ คณะกรรมการชี,แจง ทําความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์การพิจารณา กําหนดเวลาใน
18
การนําเสนอ และวิธีการนําเสนอ ๗.๒ การนําเสนอ เป็ นเอกสาร และ PowerPoint ๗.๓ การนําเสนอทีละอําเภอตามลําดับ โดยวิธีการจับฉลาก ๗.๔ เวลาที;ใช้ในการนําเสนอ อําเภอละ ๓๐ นาที โดย มีพฒั นาการอําเภอ เป็ นผูน้ าํ เสนอ ด้านกลยุทธ์/วิธีการ (๑๕ นาที) สําหรับตัวแทนเครื อข่ายให้นาํ เสนอกระบวนการดําเนิ นการขับเคลื;อน เครื อข่าย (๑๐ นาที) และคณะกรรมการจะดําเนิ นการ ซัก-ถาม (๕ นาที) ๘. คณะกรรมการ ให้คะแนนตามเกณฑ์ และดําเนิ นการสรุ ปผลคะแนน โดยแจ้งอําเภอให้ ทราบ เป็ นเอกสาร ๘. สรุ ปเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในกระบวนการขับเคลื;อนเครื อข่าย การเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติฯ ระดับอําเภอ ๒. องค์ ความรู้ จากอําเภอทีเป็ นทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ Best Practice ความเป็ นมา สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสี มา มีการดําเนินการสร้างสรรค์เครื อข่ายการ เรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ เพื;อยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคล/ ครัวเรื อน/ชุมชน ที;นอ้ มนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสู่ การปฏิบตั ิได้อย่างสัมฤทธิ6ผล ถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื;องในโอกาสจะทรงเจริ ญพระชนมพรรษา ๘๔ พรรษา ในวันที; ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ อําเภอทีมีผลงานดีเด่ น Best Practice ของกลุ่มอําเภอเมืองหญิงกล้านี, คือ อําเภอขามสะแกแสง ซึ; ง มีความโดดเด่นของเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ ระดับอําเภอ ดังนี, จุดเด่ น การใช้กลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิต เป็ นฐานในการเชื; อมกิจกรรมอื;น ๆ เพื;อ ช่วยเหลือสมาชิกในการขาดเงินทุนประกอบอาชีพ การจัดหาสวัสดิการต่าง ๆ แล้วร่ วมกับมูลนิธิศุภนิมิต ขยายเครื อข่าย เป็ นร้านค้าชุมชน เชื;อมกับกลุ่มอาชีพในการจัดจําหน่ายผลิตผลของสมาชิกในชุมชน ในการ ส่ งเสริ มกลุ่มอาชีพปลูกพริ ก การสี ขา้ วสาร โดยใช้แกลบและรําข้าว ในการนํามาเป็ นส่ วนผสมในการผลิตปุ๋ ย นาโนเพื;อบํารุ งรักษาดิน โดยการจัดทําโครงการออมดินขึ,นในปี ๒๕๕๓ ปั จจุบนั มีเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ระดับ อําเภอ ณ บ้านหนองโพธิ6 หมู่ที; ๖ ตําบลชีวกึ กลยุทธ์ /วิธีการ ๑) การสร้างแนวคิดการเรี ยนรู ้การให้กบั ผูน้ าํ ชุมชนอําเภอขามสะแกแสง โดย นายณิ ช ศพล ศรี ปัญญา พัฒนาการอําเภอขามสะแกแสง เป็ นระยะเวลาต่อเนื;อง ๔ ปี ปี ๒๕๕๑ การสร้างแนวคิดและแรงบันดาลใจ ในการเป็ นเครื อข่าย ปี ๒๕๕๒ การสร้างระบบทํา ในการศึกษาดูงานเกี;ยวกับเครื อข่ายด้านการพึ;งพา
19
ตนเอง ณ เครื อข่ายอินแปง บ้านกุดบาก จังหวัดสกลนคร และศึกษาเรี ยนรู ้จากเครื อข่ายที;เข้มแข็ง บ้านหนอง กลางดง อําเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ และการศึกษาดูงานกลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิต บ้าน ขาม อําเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ ปี ๒๕๕๓ การสร้างระบบการบริ หารจัดการเครื อข่าย โดยการเชื;อมเครื อข่ายกลุ่ม ออมทรัพย์ฯ ร้านค้าชุมชน กลุ่มอาชีพ และกลุ่มปุ๋ ยนาโน ในการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้และขยายผล ปี ๒๕๕๔ การเป็ นเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติฯ ระดับอําเภอ ๗ หมู่บา้ น (ปี ๕๓ จํานวน ๔ หมู่บา้ น และปี ๕๔ จํานวน ๓ หมู่บา้ น) ๒) มีการประสานส่ งเสริ ม และสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน จากความร่ วมมือ ของภาคีเครื อข่ายการพัฒนา อาทิเช่น อบต./อําเภอ/ภาคประชาสังคม เช่น มูลนิธิศุภนิมิตฯ เป็ นต้น ปัจจัยทีทําให้ ประสบความสํ าเร็จ ๑. ผูน้ าํ ชุมชนในพื,นที; มีความตั,งใจ และมีอุดมการณ์ในการพัฒนาชุมชน ๒. สมาชิกในชุมชนให้ความร่ วมมือกับผูน้ าํ ในการทํากิจกรรมต่าง ๆ ๓. มีภาคีเครื อข่ายการพัฒนาให้ความร่ วมมือและการสนับสนุนอย่างต่อเนื;อง เช่น พัฒนาชุมชน, องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ;น/ภาคประชาสังคม เช่น มูลนิธิศุภนิมิตฯ เป็ นต้น ๔. การส่ งเสริ มกิจกรรมให้กบั สมาชิกในชุมชนครบวงจร ดังนี, - ด้านการจัดสวัสดิการในชุมชนเช่น การดูแลสมาชิกในการเจ็บป่ วย เป็ นต้น - ด้านเศรษฐกิจ ส่ งเสริ มด้านการออมเงิน การจัดหาตลาดให้กบั สมาชิก โดยมี เครื อข่ายร้านค้าชุมชน (ที;สมาชิกนําผลผลิต และผลิตภัณฑ์วางจําหน่ายในราคาที;ประหยัด) เป็ นต้น - ด้านสังคม ให้การสนับสนุ นเยาวชนในการต่อต้านยาเสพติด การส่ งเสริ มการลด อบายมุข โดยวิธีการ ผูน้ าํ ชุมชนจะขอแบ่งเงินครึ; งหนึ;งจากการซื,อหวยในแต่ละงวดมาเป็ นการออมให้กบั สมาชิก -ด้านสิ; งแวดล้อม ในการส่ งเสริ มการรักษาสิ; งแวดล้อม โดยการไปศึกษาหัวเชื,อการ ทํา ปุ๋ ยนาโน และโครงการ การออมดินขึ,น ๒. การสรุ ปบทเรียนเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา อําเภอขามสะแกแสง ๒.๑ กลยุทธ์ /วิธีการ
มีกระบวนการส่ งเสริ มการสร้างเครื อข่ายเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง แบ่งเป็ น ๓ ขั,นตอน อย่างต่อเนื; อง ได้แก่
20
- การสร้างระบบคิด ในการสร้างความตระหนัก ในการดํารงชีวติ ตามแนวคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง - การสร้างระบบทํา โดยการนําเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตั ิจริ ง ในการ เริ; มดําเนินการที;ครัวเรื อนเป็ นลําดับแรก กลุ่ม/องค์กร และเครื อข่าย - การสร้างการเรี ยนรู ้ในระบบการจัดการ เพื;อให้เกิดการยกระดับความเข้มแข็งในด้าน การบริ หารจัดการเครื อข่ายให้ยง;ั ยืน ๑) การเชิดชูเกียรติและยกย่องความรู ้ของสมาชิกเครื อข่ายที;สามารถถ่ายทอดองค์ ความรู ้แก่สมาชิกและผูท้ ี;สน โดยเครื อข่ายจะตั,งให้เป็ น “ครู ชุมชน” ๒) การสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ โดยประสานเชื; อมโยงหน่วยงานต่าง ๆ ทั,งภายใน และภายนอกชุมชนให้เข้ามามีบทบาทในการส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ของชุมชนทั,งในด้านทรัพยากร ความรู ้ และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ อาทิเช่น มูลนิธิศุภนิมิตฯ อบต. สํานักงานเกษตรอําเภอ พัฒนาชุมชนอําเภอ ๓) การขับเคลื;อนกิจกรรมแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ของสมาชิกเครื อข่าย โดยใช้กลุ่มออม ทรัพย์เพื;อการผลิต ที;มีสมาชิกถึง ๖๑ หมู่บา้ น ในการจัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ศึกษาดูงาน และเชื;อมขยายผล ไปยังหมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพียง ๗ หมู่บา้ น (ที;ได้รับงบการสนับสนุนจากกรมการพัฒนาชุมชน )ปี ๒๕๕๓ จํานวน ๔ หมู่บา้ น และ ปี ๒๕๕๔ จํานวน ๓ หมู่บา้ น ให้เป็ นเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติฯ ๘๔ พรรษา ในการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้และสนับสนุนกิจกรรมด้านต่าง ๆ เพื;อช่วยเหลือกัน ๒.๒ สิ งทีได้ เรี ยนรู้ (Learning) สํ าหรับผู้นํา ๑. ผูน้ าํ ได้เรี ยนรู ้กิจกรรมเกี;ยวกับการดําเนิ นชีวติ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื,นที;อื;น และสามารถนํากลยุทธ์ และวิธีการ มาปรับใช้ในพื,นที;ตน ๒) ผูน้ าํ ได้รู้จกั กันและเป็ นเครื อข่ายแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ท, งั ด้านกิจกรรม และวิชาการจาก เครื อข่ายภาคีการพัฒนา และเครื อข่ายในพื,นที; ๓) ผูน้ าํ เกิดแรงบันดาลใจ ในการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๔) ผูน้ าํ มีความมัน; ใจและกล้าที;จะแสดงออกมากยิง; ขึ,น ๕) ผูน้ าํ สามารถขยายผลเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงในพื,นที;อื;น หรื อผูส้ ฯใจ สํ าหรับเจ้ าหน้ าที ๑. การทําความเข้าใจในวัตถุประสงค์และเป้ าหมายที;ตรงกัน จึงจะสามารถขับเคลื;อนงาน ให้ประสบความสําเร็ จได้โดยง่าย ๒. การแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ของเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ อย่างสมํ;าเสมอ ทําให้เกิดการขยายผลกิจกรรมที;หลากหลายได้
21
๓. การใช้กลไกองค์กรต่าง ๆ ให้เหมาะสมในการขับเคลื;อนกิจกรรมที;แตกต่างกันไป เช่น - องค์กรสตรี ในการส่ งเสริ มการลดร่ ายจ่าย ในการทํานํ,ายาล้างจาน - การให้บทบาทกลุ่ม อสม. ในการขับเคลื;อนกิจกรรมแพทย์ทางเลือก (กัวซา) - ผูน้ าํ ชุมชน ในกิจกรรมการส่ งเสริ มการทําปุ๋ ยหมักชีวภาพ การออมเงิน การออม ดิน ร้านค้าชุมชน เป็ นต้น ๔. การใช้เวทีประชาคมเป็ นเครื; องมือในการแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ๕. การมองเป้ าหมายให้ชดั เจน เป็ นทิศทาง โดยการใช้แผนปฏิบตั ิการเป็ นเครื; องมือ และ การพิจารณาองค์กรที;เหมาะสมให้เป็ นกลไกในการขับเคลื;อนกิจกรรม โดยผลประโยชน์ที;ได้รับเกิดขึ,นกับ ชุมชนและประชาชนในพื,นที; ๒.๓ แนวทางการขยายผลและการนําไปปรับใช้
สํ าหรับเครือข่ าย 1. ปรับโครงสร้างและบทบาทหน้าที;ของคณะกรรมการเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ให้ชดั เจน 2. จัดทําแผนปฏิบตั ิการของเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ให้คลอบคลุมทุกด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านความมัน; คง ด้านสิ; งแวดล้อม และด้านการบริ หารจัดการ เป็ นต้น 3. การประสานกิจกรรม โดยการจัดเวทีสัญจรแลกเปลี;ยนภายในอําเภอ กลุ่มอําเภอ 4. การขับเคลื;อนกิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการ 5. การจัดเวทีสัมมนาร่ วมกันของคณะกรรมการเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ระหว่างกลุ่มอําเภอ เพื;อ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานร่ วมกัน สํ าหรับเจ้ าหน้ าที ๑. การประสานความร่ วมมือกับหน่วยงานภาคีการพัฒนาต่าง ๆ ในการสนับสนุนและ ขยายผล ของกิจกรรม ๒. การติดตามประเมินผล โดย การจัดเก็บข้อมูลผลลัพธ์ที;เกิดขึ,นกับสมาชิกเครื อข่ายและ ประชาชนในพื,นที; ๓. สรุ ปผลการประเมิน และประชาสัมพันธ์ผล เพื;อนําไปสู่ การขยายผลต่อไป ๒.๔ ปัจจัยทีมีผลต่ อความสํ าเร็จประกอบด้ วย ๑) การทําความเข้าใจในเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการขับเคลื;อนกิจกรรมการทํางาน ร่ วมกันของเจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชนและภาคีการพัฒนา
22
๒) การพัฒนาศักยภาพของผูน้ าํ ตามหลักการพัฒนาชุมชน ๓) การจัดให้มีเวทีประชาคม ของคณะกรรมการเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ในการแลกเปลี;ยน เรี ยนรู ้อย่างต่อเนื;องและสมํ;าเสมอ ๔) การมีส่วนร่ วมและให้การสนับสนุนของหน่วยงานภาคีการพัฒนาต่าง ๆ ของ ภาครัฐ/ ท้องถิ;น /เอกชน อาทิเช่น อบต., ธอส.,ปตท., มูลนิธิศุภนิมิต และพัฒนาชุมชน เป็ นต้น ๒.๕ ข้ อคิดเห็นและข้ อเสนอแนะ สํ าหรับเครือข่ าย ๑) คณะกรรมการเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ได้เกิดการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ในแต่ละกิจกรรมที;ได้มี การนําเสนอและมีจุดเด่น จุดดี ในแต่ดา้ นที;แตกต่างกันไป และสามารถนําไปปรับใช้ อาทิเช่น เห็นแนวทาง การเชื;อมโยงเครื อข่ายในระดับอําเภอ และจังหวัด กลยุทธ์ดา้ นการตลาด โดยใช้การประชาสัมพันธ์ควบคู่กบั เทคนิคให้ผบู ้ ริ โภคได้ทดลองการใช้ผลิตภัณฑ์ (อ. พระทองคํา) ใช้กลไกเยาวชนในการขับเคลื;อนการมีส่วน ร่ วม (อ.จักราช) ใช้กลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิตในการขับเคลื;อนกิจกรรมที;เชื; อมโยงกัน เป็ นร้านค้าชุมชน (อ. ขามสะแกแสง) เป็ นต้น ๒) ผูน้ าํ ชุมชน ได้มีโอกาสแลกเปลี;ยนและเกิดแนวคิดในการพัฒนางานในชุมชนมากขึ,น เปิ ดโลกทัศน์ของตนเองให้กว้างขึ,น ๓) ใช้หลักการทํางาน โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการพึ;งตนเอง เป็ นสําคัญ สํ าหรับเจ้ าหน้ าที ๑) สามารถนํากลยุทธ์/เทคนิค/วิธีการ ของผูบ้ ริ หารที;ใช้ในแต่ละพื,นที;ไปปรับใช้ในการ พัฒนางานของตนเอง ๒) การใช้หลักการมีส่วนร่ วมในการพัฒนางานในชุมชน ๓) การประสานหน่วยงานภาคีการพัฒนาต่าง ๆ เข้ามาช่วยคิด ช่วยทํา ในกิจกรรมที;เป็ นที; ต้องการของประชาชน จึงจะทําให้งานต่าง ๆ ประสบผลสําเร็ จ ๔) การทํางานต้องทําความเข้าใจในเป้ าหมาย และวัตถุประสงค์ร่วมกันให้ชดั เจนและเป็ น ทิศทางเดียวกัน ๒.๖ ปัญหา/อุปสรรค ด้ านเครือข่ ายเรียนรู้ ฯ ๑) ผูน้ าํ ชุมชนยังขาดความรู ้ความเข้าใจ และไม่เข้าใจในบทบาทของตนในการขับเคลื;อน
23
เครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ ในบางพื,นที; ๒) ระยะเวลาค่อนข้างน้อย จึงทําให้บางพื,นที;ขบั เคลื;อนกิจกรรมไม่สาํ เร็ จ ๓) คณะกรรมการขับเคลื;อนกิจกรรมยังมุ่งทําแต่กิจกรรมในพื,นที;ของตนเป็ นส่ วนใหญ่ ๔) ข้อจํากัดด้านงบประมาณในการให้การสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ไม่เพียงพอและ ต่อเนื;อง ด้ านเจ้ าหน้ าที ๑) ภารกิจในการปฏิบตั ิงานด้านเอกสารบนสํานักงานมีค่อนข้างมาก ทําให้ไม่สามารถ พัฒนางานในพื,นที;ได้ต่อเนื; อง ๒) เจ้าหน้าที;บางส่ วนยังขาดความรู ้ความเข้าใจในการขับเคลื;อนกิจกรรมเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ๓) เจ้าหน้าที;บางส่ วนยังไม่สามารถบริ หารจัดการงานต่าง ๆ ในความรับผิดชอบให้สาํ เร็ จ ในเวลาและสถานการณ์ที;ถูกจํากัดได้ จุดเด่ น/กลยุทธ์ /วิธีการขับเคลือนในกลุ่มอําเภอเมืองหญิงกล้ า ๑. อําเภอโนนสู ง จุดเด่ น มีเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๓๓ หมู่บา้ น โดยมีบา้ นสะแทด หมู ที; ๑๑ ตําบลธารประสาท เป็ นศูนย์เรี ยนรู ้ระดับหมู่บา้ น มีกิจกรรมที;โดดเด่น ๒๐ กิจกรรม อาทิเช่น การ ส่ งเสริ มลดรายจ่ายและเพิ;มรายได้ ในการทําแก๊สชีวภาพในถุง พีวซี ี การปลูกผักปลอดสารพิษ การเลี,ยงหมู หลุม การใช้รถจักรยานปั; นนํ,าเพื;อลดผัก การเพาะเห็ด การทํา Food bank การส่ งเสริ มการท่องเที;ยว ในการ จัดกลุ่มบ้านพักรับรองนักท่องเที;ยว (Home stay) เป็ นต้น กลยุทธ์ /วิธีการ ๑) การประชาสัมพันธ์กิจกรรมเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระ เกียรติฯ ในที;ประชุมประจําเดือน กํานัน-ผูใ้ หญ่บา้ น ให้ทราบและให้การสนับสนุนกิจกรรม ๒) มอบหมายให้พฒั นากรรับผิดชอบบ้านต้นแบบ คนละ ๒ – ๓ หมู่บา้ น และให้ ครัวเรื อนต้นแบบ ๓๐ ครัวเรื อน ให้ขยายผลครัวเรื อนละ ๕ ครอบครัว ๓) เจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชนร่ วมกับผูน้ าํ ชุมชน สรุ ปและจัดความรู ้ ผลการดําเนินกิจกรรม ครอบครัวพัฒนา มีรายได้เฉลี;ย ๒-๓๐๐ บาท/วัน ปัจจัยทีทําให้ ประสบความสํ าเร็จ ๑. การให้ความรู ้ความเข้าใจเกี;ยวกับการดําเนิ นชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง
24
๒. ผูน้ าํ ชุมชนมีใจรัก และอยากให้สมาชิกในชุมชนอยูด่ ีกินดี ๓. มีกิจกรรมที;หลากหลาย และสร้างรายได้อยูท่ ี;บา้ นเช่นการปลูกผัก,การจําหน่ายปุ๋ ย เป็ นต้น ปัญหา/อุปสรรค ๑. กรรมการเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ มีการรวมตัวแบบหลวม ๆ ๒. ระยะเวลาการดําเนินการน้อย (๑ ปี ) ๓. อําเภอเมืองนครราชสี มา จุดเด่ น การมีจุดเรี ยนรู ้เครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ณ บ้านบึงประเสริ ฐ ในการ เป็ นจุดศึกษาดูงาน การจัดทําแก๊สชีวภาพเพื;อใช้หุงต้มในครัวเรื อน การส่ งเสริ มการออม การส่ งเสริ มป่ า ชุมชน โรงสี ชุมชน และขยายผลอีก ๔ หมู่บา้ น และเชื; อมกับตําบลโคกกรวด ในการเป็ นจุดเรี ยนรู ้ ณ สวนเขา หิ น บ้านหนองรังกา เป็ นจุดเรี ยนรู ้แห่งที; ๒ ของพื,นที;อาํ เภอเมืองนครราชสี มา กลยุทธ์ /วิธีการ การขับเคลื;อนเครื อข่าย โดยกําหนดแผนปฏิบตั ิการในการขับเคลื;อนเวที สัญจร ๓ เดือน/ครั,ง ปัจจัยทีทําให้ ประสบความสํ าเร็จ ๑) มีศูนย์เรี ยนรู ้เครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ ต้นแบบ ในการขยายผล ได้แก่ บ้านบึงประเสริ ฐ ต.พลกรัง อ.เมืองนครราชสี มา ระดับจังหวัด ๑ แห่ง ๒) มีผนู ้ าํ ชุมชนที;มีความมุ่งมัน; ตั,งใจ และมีประสบการณ์ในพื,นที;ยงั คงให้การ สนับสนุนและขับเคลื;อนงานอย่างต่อเนื; อง อาทิเช่น นายสุ นทร อดีตผูใ้ หญ่บา้ นบึงประเสริ ฐ ตําบลพลรัง นายสําลอง อดีตผูใ้ หญ่บา้ นหนองรังกา ตําบลโคกกรวด ปัญหา/อุปสรรค เขตพื,นที;เมืองมีความหลากหลายในด้านความเป็ นอยูข่ องชุมชน และ ศักยภาพพื,นที;ที;มีความแตกต่างกัน จึงทําให้ยากต่อการพัฒนาที;มีความแตกต่างกันในบางพื,นที; ๓. อําเภอเฉลิมพระเกียรติฯ จุดเด่ น มีกิจกรรมเครื อข่าย หลากหลาย อาทิเช่น เครื อข่ายรักษาศิลปวัฒนธรรมดนตรี ไทย สิ นค้า OTOP นํ,ายาล้างจาน การทําปุ๋ ยนํ,าหมักชีวภาพ การปลูกผักปลอดสารพิษ และกิจกรรมเด่น ได้แก่ การส่ งเสริ มการออมเงินของประชาชน ตามโครงการ ออมบาตร กิจกรรมแพทย์ทางเลือก (กัวซา) ใน การรักษาภูมิปัญญาพื,นบ้าน โดยการส่ งเสริ มของธนาคาร ธอส. ให้การสนับสนุน ถือเป็ นการสร้างรายได้ให้ คนในชุมชน กลยุทธ์ /วิธีการ ๑) ใช้เวทีชุมชนในการจัดทําแผนชุมชน และบรรจุกิจกรรมต่าง ๆ ในแผนชุมชน ประสาน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ;นและหน่วยงานต่าง ๆ ให้การสนับสนุน ๒) การจุดประกายโดย การใช้เวทีประชาคมในการคัดเลือก และระบบการสมัครใจ เข้าสู่ โครงการการขยายผลครอบครัวพัฒนาต้นแบบ ๓๐ ครัวเรื อน
25
ปัจจัยทีทําให้ ประสบความสํ าเร็จ ๑. การใช้เวทีประชาคมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ๒. การมีส่วนร่ วมของภาคีเครื อข่ายให้การสนับสนุน เช่น อบต. , ธอส. เป็ นต้น ๓. ผูน้ าํ ชุมชนมีความเข้มแข็ง และใช้แผนชุมชนเป็ นเครื; องมือในการสร้างกิจกรรม ต่าง ๆ ของชุมชน ปัญหา/อุปสรรค คณะกรรมการเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ยังไม่ชดั เจนในบทบาทหน้าที;ของตน ๔. อําเภอพระทองคํา จุดเด่ น การขับเคลื;อนเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ที;ใช้หลักของการสมัครใจ ในการขับเคลื;อน กิจกรรม ในการกรอกรายชื;อและลงทะเบียนสําหรับกิจกรรมที;ตนสนใจ ได้แก่ การทํานํ,ายาซักผ้าผสมนํ,า ขี,เถ้า, นํ,ายาล้างจาน , นํ,ายาปรับผ้านุ่ม โดยใช้กลไกคณะกรรมการพัฒนาสตรี ในการขับเคลื;อน และจัดทํา ชุดเรี ยนรู ้ให้กบั ผูส้ นใจสามารถทําเองได้ที;บา้ น กลยุทธ์ /วิธีการ ๑) การค้นคว้าหาข้อมูล และข้อเท็จจริ งทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษากิจกรรมการลด รายจ่ายในครัวเรื อน อาทิเช่น นํ,ายาซักผ้า นํ,ายาปรับผ้านุ่ม เป็ นต้น ในการสร้างความเชื;อมัน; และมาตรฐาน ให้กบั ผูผ้ ลิตและผูซ้ ,ื อ ๒) ใช้กลวิธี ไปด้วยกัน และช่วยกัน ของคณะกรรมการพัฒนาสตรี ๓) การทดลอง เพื;อหาสู ตรที;มีมาตรฐาน ก่อนที;จะให้ความรู ้และขยายผลกิจกรรม ๔) ใช้หลักการทํางาน ทําหนึ;งอย่างต้องได้อย่างน้อย ๒ อย่าง เช่น ทํานํ,ายาล้างจาน ผลิตเครื; องมือชุ ดความรู ้เป็ นเอกสาร ๑ ชุด ๕) การจัดทําชุดเรี ยนรู ้ ได้แก่ เอกสาร CD เพลง สื; อ/วัสดุอุปกรณ์ เป็ นต้น ปัจจัยทีทําให้ ประสบความสํ าเร็จ ๑) การศึกษาส่ วนผสมของวัตถุดิบที;ใช้ในการเป็ นเครื; องมือการขยายผลเครื อข่ายให้ เกิดความเชื; อมัน; และมีมาตรฐานในการผลิตผลิตภัณฑ์ ๒) การขับเคลื;อนเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ โดยการส่ งเสริ มการขับเคลื;อนขององค์กรสตรี ใน การสนับสนุนกิจกรรมของใช้ในครัวเรื อน เช่น นํ,ายาล้างจาน นํ,ายาซักผ้าฯ เป็ นต้น ๓) การจัดประชาสัมพันธ์กิจกรรม เป็ นแผ่นพับ และเอกสาร ปัญหา/อุปสรรค ผูน้ าํ ชุมชนยังมีความคิดเห็นที;แตกต่างกันเป็ นส่ วนใหญ่ จึงส่ งผลทํา ให้ยงั ไม่สามารถขับเคลื;อนกิจกรรมในรู ปของเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงได้ จึงมีการเรี ยนรู ้ เป็ นจุดเรี ยนรู ้ ไม่ใช่ศูนย์เรี ยนรู ้ ไม่เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการได้ ๕. อําเภอจักราช
26
จุดเด่ น การใช้กลุ่มเยาวชนในการขับเคลื;อนกิจกรรมเครื อข่าย อาทิเช่น ในการ ส่ งเสริ มการปลูกป่ า และผ้าป่ ากล้าไม้ที;ชาวบ้านมีส่วนร่ วมในการสมทบกล้าไม้เพื;อปลูกป่ า ร่ วมกับ หน่วยงานภาคีการพัฒนาต่าง ๆ กลยุทธ์ /วิธีการ ๑. ใช้วธิ ี การขับเคลื;อนเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ภายใต้ Concept กิจกรรมว่า “Small But Smart” ๒. กําหนดเป้ าหมายให้ชดั เจน และวางแผนปฏิบตั ิการในการขับเคลื;อน แบบค่อยเป็ น ค่อยไป ปัจจัยทีทําให้ ประสบความสํ าเร็จ ๑) การสนับสนุนองค์กรในพื,นที;ที;มีศกั ยภาพในการทํางานให้มีความเหมาะสมกับ กิจกรรม เช่น การส่ งเสริ มเยาวชนในการเป็ นแกนรณรงค์ให้ประชาชนร่ วมสนับสนุน ๒) การขับเคลื;อนกิจกรรม โดยการวิเคราะห์ศกั ยภาพ และดําเนินการแบบค่อยเป็ น ค่อยไป ปัญหา/อุปสรรค มีระยะเวลาค่อนข้างน้อย ในการทําความเข้าใจกับคณะกรรมการ เครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ จึงทําให้ภาพการขับเคลื;อนเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ยังไม่ชดั เจน ๖.อําเภอโนนไทย จุดเด่ น กิจกรรมการส่ งเสริ มเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ ให้สมาชิกในชุมชนปลูกหญ้าแฝก ตลาด ทั,งภายใน ภายนอก และตลาดต่างประเทศ โดยมีศูนย์เรี ยนรู ้เครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ ณ บ้านโคก พรม หมู่ที; ๕ และขยายผลเครื อข่ายสมาชิกอีก ๑๖ หมู่บา้ น ในเรื; องของการปลูกหญ้าแฝก เพื;อส่ งเสริ มกลุ่ม อาชีพหัตถกรรมจากใบหญ้าแฝกในการทําผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ตระกร้า กระเป๋ า เป็ นต้น พืชสมุนไพร ปุ๋ ย ชีวภาพ การริ เริ มการทําป่ าชุ มชนให้เป็ น Food bank เป็ นต้น กลยุทธ์ /วิธีการ ๑. การเตรี ยมความพร้อมให้กบั เจ้าหน้าที;ในการทําความเข้าใจให้ถูกต้องตรงกัน ๒. การค้นหาปราชญ์ชาวบ้าน เพื;อร่ วมกันวางแผนและจัดเวทีประชาคมในการ ขับเคลื;อนเครื อข่ายเรี ยนรู ้ ๓. การใช้เวทีประชาคมในการคัดเลือกครอบครัวพัฒนาต้นแบบ ๓๐ ครัวเรื อน และ กําหนดการขยายผลตําบลละ ๒๕ ครัวเรื อน ๔. การใช้เวทีสภากาแฟในการพูดคุย หารื อและการแก้ไขปั ญหาร่ วมกันของ หน่วยงานและชุมชน ปัจจัยทีทําให้ ประสบความสํ าเร็จ ๑) การมีส่วนร่ วมของหน่วยงานภาคีการพัฒนาต่าง ๆ เช่น ปตท. /ศูนย์พฒั นาที;ดินใน พื,นที; /อบต./พัฒนาชุมชน เป็ นต้น
27
๒) การวิเคราะห์ชุมชนที;เกิดจากความร่ วมมือของหน่วยงานและภาคี โดยใช้เวทีสภา กาแฟ เป็ นเครื; องมือ ๓) พื,นที;มีกิจกรรมที;หลากหลาย ชุมชนมีความสามัคคี และมีผนู ้ าํ ที;มีศกั ยภาพนําการ เปลี;ยนแปลงมุ่งผลประโยชน์ของส่ วนร่ วมเป็ นหลัก ปัญหา/อุปสรรค เครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ มีผนู ้ าํ ชุมชนที;ยงั ขาดภาวะผูน้ าํ ไม่กล้าแสดงออก และขาดความ เชื;อมัน; เป็ นส่ วนใหญ่ ทําให้การขับเคลื;อนเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ เป็ นไปได้ชา้ ..........................................................
28
สรุ ปผลเวทีถอดบทเรียนเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ปี ๒๕๕๔ เพือคัดเลือกทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ
กลุ่มอําเภอลําตะคอง พืน4 ทีเป้าหมาย ประกอบด้วย ๖ อําเภอ ได้แก่ อําเภอปากช่ อง, สี คิว4 , สู งเนิน, ด่ านขุนทด, ขามทะเลสอ และเทพารักษ์ รายละเอียดการดําเนินการ จัดเวทีสรุ ปบทเรี ยนเมื;อวันที; ๒๒ สิ งหาคม ๒๕๕๔ ณ ห้องประชุมเทศบาลตําบลกุดจิก อ. สู งเนิน จ. นครราชสี มา ผู้ร่วมเวทีประกอบด้ วย พัฒนาการอําเภอ ๔ คน (อบรม นพส.๒ คน), พัฒนากร ๓๑ คน, ผูน้ าํ ๑๘ คน, นักวิชาการฯจังหวัด ๓ คน รวม ๕๑คน รู ปแบบ/วิธีการ ๑. คณะกรรมการประเมินคัดเลือกชี,แจงวัตถุประสงค์สร้างความเข้าใจ กรอบการให้คะแนน กรอบเวลา ตามหลักเกณฑ์/แนวทางตามประกาศ และจัดลําดับการนําเสนอด้วยวิธีการจับสลาก ๒. พัฒนาการอําเภอนําเสนอผลการขับเคลื;อนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ระดับอําเภอ ๓. ผูน้ าํ ชุมชนที;เป็ นคณะทํางานเครื อข่ายฯ นําเสนอผลการดําเนินงานเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๔. คณะกรรมการประเมิน/คัดเลือก (หัวหน้ากลุ่มงาน/นักวิชาการฯจังหวัด) ประเมินคัดเลือก
29
โดยพิจารณาจากข้อมูลผลการดําเนินงานจากเอกสาร จากการนําเสนอด้วย Power point อําเภอละ ๒๕ นาที และซักถามตามประเด็นเพิ;มเติมในเวที และให้ผรู ้ ่ วมเวทีได้แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ร่วมกัน ๕-๑๐ นาที คณะกรรมการฯ ให้ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ ๒. องค์ ความรู้ จากอําเภอทีเป็ นทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ Best Practice ๒.๑ ข้ อมูลทัวไป อําเภอปากช่อง ได้รับการคัดเลือกให้เป็ นอําเภอที;มีการดําเนินการตามโครงการสร้างเครื อข่าย การเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ กลุ่มอําเภอลําตะคอง อําเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสี มา มีจาํ นวนหมู่บา้ นทั,งหมด ๒๑๗ หมู่บา้ น โดยได้มีการ พัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบเพื;อการเรี ยนรู ้ของอําเภอปากช่องมาตั,งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ดังนี, - ปี ๒๕๕๒ จํานวน ๑ หมู่บา้ น คือ บ้านเทพนิมิต หมู่ที; ๑๙ ตําบลวังกะทะ - ปี ๒๕๕๓ จํานวน ๓ หมู่บา้ น คือ บ้านคลองมะค่าหิ น หมู่ที; ๓ ตําบลวังกะทะ บ้านเฉลิมพัฒนา หมู่ที; ๑๔ ตําบลวังกะทะ และบ้านสายชนวน หมู่ที; ๑๗ ตําบลจันทึก - ปี ๒๕๕๔ จํานวน ๒ หมู่บา้ น คือ บ้านภูไทพัฒนา หมู่ที; ๑๔ ตําบลวังไทร บ้านยางบ่อง สามัคคี หมู่ที; ๒๑ ตําบลวังกะทะ และได้รับงบประมาณตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดนครราชสี มา “บ ว ร” ได้แก่ บ้านโป่ งดินดํา หมู่ที; ๙ ตําบลคลองม่วง ๒.๑ แนวทางการจัดตั4งเครือข่ ายของทีมอําเภอ ๒.๑.๑ สร้างความเข้าใจ/วางแผน ๑) ศึกษาสร้างความเข้าใจรายละเอียดโครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๒) มอบหมายให้มีผรู ้ ับผิดชอบหลัก คือนางสาวอุษา จําปาวิทยาคุณ ตําแหน่ง นักวิชาการ พัฒนาชุมชนชํานาญการ ๓) จัดทําแผนปฏิบตั ิการ ๑) การจัดเวทีประชาคม มีกลุ่มเป้ าหมายเข้าร่ วม ได้แก่ ผูน้ าํ ชุมชน ผูแ้ ทนกลุ่ม องค์กร ต่างๆ แกนนําหมู่บา้ น ปราชญ์ชาวบ้าน หมู่บา้ น ๆ ละ ๕ - ๗ คน ( หมู่บา้ นใหญ่ – เล็ก และความสมัครใจ) ผูแ้ ทนส่ วนราชการ เช่น กศน. ปกครอง สนง.เกษตร สาธารณสุ ข พัฒนาชุมชน เพื;อสร้างความเข้าใจ ค้นหาฐานและทุน ทบทวน วิเคราะห์ กําหนดเป้ าหมายการพัฒนา พร้อมกําหนดสถานที;ต, งั เครื อข่ายศูนย์ เรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ที;บา้ นภูไทพัฒนา หมู่ที; ๑๔
30
ตําบลวังไทร เป็ นศูนย์เรี ยนรู ้ของเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๒) สร้างกลไก โดยคัดเลือกตั,งคณะกรรมการขับเคลื;อนระดับอําเภอที;ประกอบด้วยหัวหน้า ส่ วนระดับอําเภอ/ผูบ้ ริ หารท้องถิ;น และคณะทํางานสร้างทํางานเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียงระดับอําเภอ ที;ประกอบด้วยเจ้าหน้าที;ส่วนราชการที;เกี;ยวข้อง ผูน้ าํ ชุมชน แกนนํา ปราชญ์ชาวบ้าน เป็ นต้น ให้มีหน้าที;สาํ รวจ/จัดทําฐานข้อมูลเครื อข่ายฯ จัดทําแผนปฏิบตั ิการขับเคลื;อน ดําเนิ นการตาม แผน/สนับสนุ นและสร้างการเรี ยนรู ้ รายงานผล ประเมินผล/สรุ ปผลการดําเนินงานหลังเสร็ จสิ, นโครงการ ๓) จัดทําแผนปฏิบตั ิการ - กําหนดรู ปแบบการเรี ยนรู ้ แผนที;การเชื;อมโยงการเรี ยนรู ้ (E-mapping) กิจกรรมการ เรี ยนรู ้รายละเอียดการเรี ยนรู ้ - จัดทําข้อมูล ความรู ้ เพื;อการเรี ยนรู ้ - จัดทําบันทึกข้อมูล ทะเบียนรายชื;อ บันทึกภูมิปัญญา ภาพถ่ายกิจกรรม ๔) ปฏิทิน/กิจกรรมการเรี ยนรู ้และข้อมูลเพื;อการเรี ยนรู ้ของเครื อข่าย เช่น - การแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้การทําแก๊สชีวภาพ ที;บา้ นภูไทพัฒนา - การสาธิ ตการทํานํ,าหมักชี วภาพ บ้านยางบ่องสามัคคี,การทํานํ,ายาเอนกประสงค์ บ้านโป่ งดินดํา - ส่ งเสริ มการปลูกต้นไม้ตามบ้านเรื อน อย่างน้อยครัวเรื อน ละ ๕ ต้น - ส่ งเสริ มการปลูกป่ าชุมชนทุกชุชน - การสร้างเครื อข่ายการออมทรัพย์ ตําบลคลองม่วง ตําบลวังกระทะ ตําบลวังไทร - เรี ยนรู ้เทคนิคการบริ หารจัดการเงินทุน (กลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิต) บ้านโป่ งดินดํา - เรี ยนรู ้การจัดทําบัญชีครัวเรื อนบ้านโป่ งดินดําและบ้านเทพนิมิต ๒.๑.๒ ดําเนินการตามแผน/สนับสนุน คณะทํางานฯ ได้แบ่งหน้าที;และมอบหมายให้ปฏิบตั ิหน้าที; ประสานและบูรณาการทํางานร่ วมกันกับแกน นํา/เจ้าหน้าที;/ภาคี เพื;อการบรรลุเป้ าหมายร่ วมกัน ๒.๑.๓ การติดตาม/ประเมินผล ติดตามการดําเนินงานอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั,ง อย่างต่อเนื; องพร้อมกับประชาสัมพันธ์การดําเนิ นงาน ของเครื อข่ายไปพร้อมๆ กัน ๒.๓ กลยุทธ์ ๑) การมีส่วนร่ วม (ร่ วมคิด วางแผน ตัดสิ นใจ ปฏิบตั ิ ติดตาม รับประโยชน์ ) ๒) สร้างความคุน้ เคย และความสัมพันธ์ที;ดีระหว่างผูน้ าํ ชุ มชน ผูแ้ ทนกลุ่ม องค์กรต่างๆ แกนนํา ปราชญ์ และประชาชน)
31
๓) การติดตาม สร้างขวัญกําลังใจการปฏิบตั ิงานโดยมีเป้ าหมายเพื;อการทําความดี ถวายในหลวง ๔) การศึกษาข้อมูล/ศึกษาชุมชน สํารวจ/วิเคราะห์ขอ้ มูล การแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ การวางแผน การดําเนินงานตามแผน และการติดตาม ๕) สร้างความตระหนัก สิ; งจูงใจ การได้รับประโยชน์จากเครื อข่าย ๖) การใช้เครื; องมือในการทํางาน ( แผนปฏิบตั ิการและคณะทํางานที;มีเจ้าภาพที;ชดั เจน) ๗) ภาคีการพัฒนาในพื,นที; (ส่ วนราชการต่างๆ ที;เกี;ยวข้อง) ๒.๔ เทคนิคในการทํางาน ๑. การมีส่วนร่ วมในการขับเคลื;อนกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ๒. สร้างความผูกพันและรับผิดชอบต่อการสร้างเครื อข่าย(ผูป้ ฏิบตั ิงานเอาด้วย) ๓. การเตรี ยมตัวเตรี ยมใจว่าเครื อข่ายต้องใช้เวลา (หากไม่มีเวลาพอ ) ๔. ความเคารพ การยอมรับ และไว้วางใจกัน ๕. ประโยชน์จากการสร้างเครื อข่ายร่ วมกัน (อาจจะต้องเสี ยสละบางอย่างบ้างเพื;อ ความสําเร็ จ) ๖. การตระหนักถึงปั ญหาที;อาจเกิดร่ วมกันและความยืดหยุน่ ๗. มีความคาดหวังที;ตรงกันในการร่ วมมือกันทํางาน ๘. การร่ วมรับผิดชอบร่ วมกันทั,งสําเร็ จ และล้มเหลว ๙. สร้างความตระหนัก สิ; งจูงใจ การได้รับประโยชน์จากเครื อข่าย ๑๐. ประสานภาคีการพัฒนาในพื,นที; (ส่ วนราชการต่างๆ ที;เกี;ยวข้อง) ๒.๕ เคล็ดลับ ส่ งเสริ ม/สนับสนุนให้เครื อข่ายมีชีวติ อยูเ่ สมอ ด้วยการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ส;ิ งที;มีความสําคัญในการ ประกอบอาชีพและการดํารงชีวติ หรื อข้อมูลความรู ้อื;นๆ ที;ทนั กระแส มีความแปลกใหม่ น่าสนใจอยู่ ตลอดเวลา ๒.๖ สิ งทีได้ เรี ยนรู้ ๑) การแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้การดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในเครื อข่ายและนอกเครื อข่าย ด้วยสิ; ง ที;คิดว่าดีที;สุด และต้องการของสมาชิกเครื อข่าย เช่น กิจกรรมสาธิ ตการกําจัดเพลี,ยแป้ ง การทํานํ,ายา เอนกประสงค์ การทําปุ๋ ยหมัก/นํ,าหมักชีวภาพ การสาธิ ตการขยายพันธุ์พืช(มะขามเปรี, ยว) การเลี,ยงไส้เดือน พันธุ์ไทเกอร์ การขยายพันธุ์พืช (ไผ่และจันทร์ ผา) เทคนิ คการปลูกข้าวโพดและแครอท การเลี,ยงหมูหลุม การสาธิ ตการทําแก๊สชีวภาพ เป็ นต้น ๒) การสร้างการเรี ยนรู ้ดา้ นการบริ หารจัดการทุน (กลุ่มออมทรัพย์ฯ, กข.คจ.,กองทุน หมู่บา้ นฯ, กลุ่มผั,ใช้น, าํ ) การให้ความรู ้จากการทําบัญชีครัวเรื อน การให้ความรู ้การใช้พลังงานทดแทน
32
( พลังงานแสงอาทิตย์) ๓) สร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครื อข่าย ด้วยการปลูกต้นไม้ร่วมกันระหว่างสมาชิก เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง กับผูน้ าํ อช.ทุกตําบล และชาวบ้านหนองกระเต็น หมู่ที; ๑๖ ตําบลวังกะทะ ๔) การสํารวจฐาน/ทุนข้อมูลเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ (ข้อมูลปราชญ์ ภูมิปัญญาท้องถิ;น กิจกรรมการเรี ยนรู ้ ฯลฯ) ๕) ร่ วมจัดเวทีสรุ ปบทเรี ยนของการสร้างการของเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๒.๗ ประโยชน์ เชิ งนามธรรม ๑) สมาชิกเครื อข่ายได้แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ขอ้ มูล ข่าวสาร ความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ที; สําคัญจําเป็ นในการประกอบอาชีพ การดํารงชีวติ ผ่านการจัดเวทีเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ เพื;อใช้ในการ ดํารงชีวิต การประกอบอาชี พ และการแก้ไขปั ญหาและการพัฒนาชุมชน ๒) สมาชิกเครื อข่ายสามารถเชื;อมโยง และเรี ยนรู ้วธิ ี การทํางานนําไปสู่ การทํางานร่ วมกัน อย่างมีความสุ ข ๓) สมาชิกเครื อข่ายได้รับการช่วยเหลือสนับสนุ นในกรณี ที;เกินขีดความสามารถ ๔) เกิดการยอมรับ ความศรัทธา ความไว้ใจกัน มากขึ,น ๕) สมาชิกเครื อข่ายรู ้เท่าทันโลก ทันเหตุการณ์ มากขึ,น ๒.๘ ประโยชน์ เชิ งรู ปธรรม ๑) เกิดการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู ้ใหม่ เช่น กลุ่มแปรรู ปมะขามเปรี, ยว เครื อข่ายกลุ่มผูใ้ ช้ แก๊สชีวภาพ ฯลฯ ๒) สมาชิกเครื อข่ายมีการแลกเปลี;ยนข้อมูลข่าวสาร ทักษะ ความรู ้ ประสบการณ์ ผ่าน กระบวนการจัดเวทีการเรี ยนรู ้ภายใต้การบริ หารจัดการของเครื อข่ายเอง ๓) สมาชิกเครื อข่าย เกิดการแลกเปลี;ยนการใช้ทรัพยากรในหมู่บา้ นและระหว่างหมู่บา้ น ร่ วมกัน ๔) สมาชิกเครื อข่าย สามารถเชื;อมโยงคนที;มีปัญหาและความต้องการที;เหมือนกัน ให้ สามารถทํางานร่ วมกันได้ เช่น การแก้ไขปั ญหาเพลี,ยแป้ งในมันสําปะหลัง ฯลฯ ๒.๙ ผลสํ าเร็จ ๑) การได้รับการยอมรับจากประชาชนและภาคีการพัฒนาในการเป็ นเจ้าภาพหลักในการ ส่ งเสริ ม สนับสนุนการพัฒนาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
33
๒) คณะทํางานเครื อข่ายฯ มีทกั ษะและประสบการณ์ในการบริ หารจัดการความรู ้ที;สาํ คัญ และจําเป็ นกับชุมชน ๓) ชุมชน กลุ่ม องค์กร ปราชญ์ ได้มีโอกาสในการบันทึกเรื; องราวและถ่ายทอดความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ ๒.๑๐ ความยังยืนของเครือข่ าย ความยัง; ยืนของเครื อข่ายต้องอาศัยหลักการมีส่วนร่ วม ที;เป็ นกระบวนการที;สาํ คัญในการพัฒนา ความเข้มแข็งอย่างยัง; ยืนได้ การมีส่วนร่ วมและกิจกรรมที;ทาํ ร่ วมกันที;จะก่อให้เกิดความยัง; ยืน ได้แก่ ๑) มีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรมที;ดาํ เนิ นอย่างต่อเนื;อง ๒) มีการรักษาสัมพันธภาพที;ดีระหว่างสมาชิกเครื อข่าย ๓) มีส่วนร่ วมกําหนดกลไกสร้างระบบจูงใจ ๔) มีส่วนร่ วมจัดหาทรัพยากรสนับสนุนเพียงพอ ๕) มีส่วนร่ วมให้ความช่วยเหลือและช่วยแก้ไขปั ญหา ๖) มีการสร้างผูน้ าํ รุ่ นใหม่อย่างต่อเนื;อง ๒.๑๑ ข้ อเสนอแนะ ๑) การส่ งเสริ ม สนับสนุน และติดการทํางานของเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ อย่างต่อเนื;องและต่อไป ๒) ขยายผลการดําเนินงานด้วยการเพิ;มสมาชิกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ให้ครอบคลุมมากยิง; ขึ,น ๓). สร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงระหว่างอําเภอ ระหว่างกลุ่มอําเภอ ระหว่างจังหวัด ๔) สนับสนุนงบประมาณ เพื;อการพัฒนาเครื อข่ายอย่างต่อเนื;อง ๕) จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ใหม่ๆ ทันกระแส ทันเหตุการณ์ เพื;อให้สมาชิกเครื อข่ายรู ้เท่าทัน ๖)จัดหานักจัดการความรู ้ระดับมืออาชีพมาร่ วมเป็ นวิทยากรเพื;อการพัฒนา ๓. สรุปการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูการสรางเครือขายฯ กลุมอําเภอลําตะคอง ๓.๑ ทีมสํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอและภาคได้สร้างกระแสการพัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษาเพื;อการเรี ยนรู ้ร่วมกัน โดยสํารวจข้อมูล รวบรวมข้อมูล ทบทวน วิเคราะห์การ ดําเนินงานที;ผา่ นมา เพื;อกําหนดเป้ าหมายในพัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ร่ วมกันกับภาคีพฒั นา
34
๓.๒ ผูท้ ี;มีส่วนเกี;ยวข้องทั,งในระดับบริ หาร ระดับปฏิบตั ิระดับอําเภอ ตําบล หมู่บา้ น ได้มีส่วน ร่ วมในการกําหนดเป้ าหมาย การบูรณาการความร่ วมมือกันอย่างจริ งจัง ๓.๓ เกิดการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กนั อย่างกว้างขวางทั,งในระดับครัวเรื อน หมู่บา้ น ตําบล อําเภอ และ กลุ่มอําเภอ ๓.๔ ผลของการเรี ยนรู ้ของเครื อข่ายในบางกิจกรรมสามารถวัดผลลัพธ์ได้ เช่น ทําแก๊สชีวภาพ
..............................................
35
สรุ ปผลเวทีถอดบทเรียนเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ปี ๒๕๕๔ เพือคัดเลือกทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ กลุ่มอําเภอทุ่งสั มฤทธิ^ ประกอบด้วย อําเภอพิมาย ชุมพวง คง ห้วยแถลง ลําทะเมนชัย และอําเภอเมืองคง กลุ่มเป้ าหมาย ๑. พัฒนาการอําเภอ ๖ คน ๒. พัฒนากร ๒๖ คน ๓. ผูแ้ ทนเครื อข่าย ๑๕ คน ๔. หัวหน้ากลุ่มงาน/นักวิชาการพัฒนาชุมชน ๔ คน รวม ๕๑ คน รู ปแบบและวิธีการ ๑. เจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชนอําเภอ/ผูแ้ ทนเครื อข่ายที;เป็ นคณะทํางาน นําเสนอผลการดําเนินงาน การขับเคลื;อนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ไม่เกิน ๒๕ นาที ๒. คณะกรรมการ (หัวหน้ากลุ่มงาน/นักวิชาการพัฒนาชุมชนจังหวัด) ซักถามรายละเอียด เพิ;มเติม จากทีมอําเภอ/เครื อข่าย ไม่เกิน ๕ นาที 1. องค์ ความรู้ จากอําเภอทีเป็ นทีมงานและพืน4 ทีต้ นแบบ Best Practice อําเภอเมืองยาง จังหวัดนครราชสี มา มีหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงในอําเภอเมืองยาง ประกอบด้วย ๑..๑ หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงระดับ “พออยู่ พอกิน” ปี ๒๕๕๓ จํานวน ๑ หมู่บา้ น ได้แก่ บ้านโนนปี บ หมู่ที; ๓ ตําบลโนนอุดม ๑.๒ หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ปี ๒๕๕๔ ประกอบด้วย หมู่บา้ นโนนมันแกว หมู่ที; ๑๒ ตําบลกระเบื,องนอก และ หมู่บา้ นหนองมะเขือ หมู่ที; ๙ ตําบลละหานปลาค้าว อําเภอเมืองยาง
36
๑.๓ หมู่บา้ นตามโครงการเครื อข่ายคุณภาพชีวติ วิถีพอเพียง ประกอบด้วย หมู่บา้ นโนนปี บ หมู่ที; ๑,๓,๔,๕ และ หมู่ที; ๗ ตําบลโนนอุดม อําเภอเมืองยาง ๑.๑ กลยุทธ์ ในการสร้ างเครือข่ ายการเรี ยนรู้ หมู่บ้าน ๑. จัดการประชุมเพื;อประชาสัมพันธ์ สร้างกระบวนการเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๒. แต่งตั,งคณะกรรมการเครื อข่ายฯขับเคลื;อนโครงการ IPA การสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอเมืองยาง (คําสั;งอําเภอ)เพื;อดําเนินการ ขับเคลื;อนกิจกรรมให้ดาํ เนิ นอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๓. กําหนดจุดดําเนิ นการศูนย์เรี ยนรู ้ กระบวนการสร้างเครื อข่าย บ้านโนนปี บ หมู่ที; ๓ ตําบลโนนอุดม เพื;อจัดทําข้อมูลและผังการเชื; อมโยงเครื อข่าย ๔. จัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กิจกรรมด้านเศรษฐกิจพอเพียงที;ทาํ มาโดยนําเอาครัวเรื อนเป้ าหมายนําร่ อง „… ครัวเรื อนและครัวเรื อนที;สนใจในกระบวนการมาแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กิจกรรม พร้อมจัดทําข้อมูล และผังการเชื;อมโยงเครื อข่าย ๕. จัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ภายในหมู่บา้ นแล้ว ก็ให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู ้ในแต่ละอาชีพของ ครัวเรื อนเป้ าหมาย ที;ดาํ เนิ นการในหมู่บา้ น โดยการนําเสนอในที;ประชุมเครื อข่ายเพื;อเผยแพร่ ไปสู่ หมู่บา้ นอื;นในอําเภอ และดําเนินการให้มีการศึกษาดูงานของหมู่บา้ นเครื อข่ายร่ วมกัน และเป็ น หมู่บา้ นต้นแบบในการศึกษาดูงานของหมู่บา้ นอื;นในอําเภอ ๖. คณะกรรมการเครื อข่าย กําหนดกิจกรรมจัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กิจกรรมขยายผลเครื อข่ายการ เรี ยนรู ้ หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง สู่ สมาชิกอย่างน้อยเดือนละ ๑ กิจกรรม (โดยคัดแยกบุคคลจากใบ ขอความอนุเคราะห์วทิ ยากร) ในหมู่บา้ น หรื อศูนย์การเรี ยนรู ้ ๗. สรุ ปและถอดบทเรี ยนเพื;อถ่ายทอดผูน้ าํ ชุมชนอื;น ๆ ต่อไป ๑.๒ กิจกรรมเครือข่ าย กิจกรรมที;เครื อข่ายอําเภอคัดเลือกให้สมาชิกมาร่ วมแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ๑. การทํานํ,ายาเอนกประสงค์ ๒. การทําปุ๋ ยอินทรี ยอ์ ดั เม็ด ๓. กลุ่มทําข้าวกล้องงอก ๔. ป่ าชุมชน ๕. วัดปลอดเหล้า
37
๖. การทอเสื; อกก ๗. ปราชญ์ชาวบ้าน ๘. ทอผ้าไหม ๙. กองทุนแม่ของแผ่นดิน ๑๐. กลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิต/ร้านค้าชุมชน ๑.๓ ประโยชน์ ทเกิ ี ดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายการเรี ยนรู้ ฯ - สมาชิกมีความพออยู่ พอกิน คือ ความพอดีที;ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ื;น เช่น การผลิตและการบริ โภคที;อยูใ่ นระดับพอประมาณ - สมาขิกมีความพออยู่ พอใช้ คือ ความมีเหตุผล การตัดสิ นใจเกี;ยวกับการใช้ชีวติ พอเพียงนั,น จะต้อง เป็ นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที;เกี;ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที;คาดว่าจะเกิดขึ,นจากการ กระทํานั,น ๆ อย่างรอบคอบ - สมาชิกมีความพึง พอใจ แต่ก็มีภูมิคุม้ กันที;พร้อมรับผลกระทบและการเปลี;ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ที;จะเกิดขึ,นโดยคํานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที;คาดว่าจะเกิดขึ,น ในอนาคตทั,งใกล้และไกล สรุ ปบทเรียนเครือข่ ายการเรี ยนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงฯ กลุ่มอําเภอทุ่งสัมฤทธิ6 ๑. อําเภอพิมาย ๑.๑ สภาพทัวไปก่ อนดําเนินงาน สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอพิมาย จึงได้จดั เวทีสร้างความรู ้ความเข้าใจในการสร้างเครื อข่าย การเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ และจัดตั,งเครื อข่ายการ เรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงอําเภอพิมาย โดยนําเอาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงที;มีอยูใ่ นอําเภอพิมาย ปี ๒๕๕๓ – ๒๕๕๔ ได้แก่ บ้านโนนกุ่ม หมู่ที; ๑๔ ตําบลดงใหญ่ บ้านซาด หมู่ที; ๖ ตําบลชีวาน และ บ้านเตย หมู่ที; ๑ ตําบลกระเบื,องใหญ่ (หมู่บา้ นขยายผล) มาเป็ นแกนนําในการจัดตั,ง ๑.๒ กลยุทธ์ /เทคนิค การจัดเวทีแลกเปลี;ยนการเรี ยนรู ้เชื; อมโยงหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ ระดับหมู่บา้ น ๑. แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ตามแนวทางหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ
38
๒. ๓. ๔. ๕. ๖.
ทบทวนการประเมินหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง๔ด้าน๒๓ตัวชี,วดั พัฒนา/ปรับปรุ งศูนย์เรี ยนรู ้ (ภายในศูนย์) พัฒนาจุดเรี ยนรู ้ (ภายนอกศูนย์) คัดเลือกกิจกรรมการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นฯ สร้างวิทยากรการเรี ยนรู ้ ๑.๓ กิจกรรมการแลกเปลียนเรียนรู้ ของเครือข่ ายฯ
๒.๓.๑ สรุ ปบทเรี ยน บ้านคล้า หมู่ที; ๘ ดําเนินการชี,แจงความเป็ นมาของโครงการ จัดเวทีสัญจรสร้างความเชื; อมโยงของแต่ละหมู่บา้ น แกนนําหมู่บา้ น แนะนําตัวคณะทํางานขับเคลื;อนฯ คัดเลือกคณะทํางานขับเคลื;อนฯ ระดับอําเภอ จัดทําระเบียบเครื อข่ายหมู่บา้ นเรี ยนรู ้เฉลิมพระเกียรติฯ เรี ยนรู ้การจัดทําศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนต้นแบบ บ้านคล้า แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้กิจกรรมแต่ละหมู่บา้ น ยังไม่ได้ศึกษาแหล่งเรี ยนรู ้ภายนอกศูนย์ฯ ของบ้านคล้า ศึกษาเรี ยนรู ้ที;ศูนย์บริ การถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ ประจําตําบลสัมฤทธิ6 มีครัวเรื อนทําการเกษตรผสมผสาน ๒.๓.๒ สรุ ปบทเรี ยน บ้านเตย หมู่ที; ๑ ตําบลกระเบื,องใหญ่ ที;ทาํ การศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชน ยังก่อสร้างไม่เสร็ จ หมู่บา้ นมีการอนุรักษ์วฒั นธรรมประเพณี มีแหล่งเรี ยนรู ้การปลูกพืชในพื,นที;ดินเค็ม แหล่งนํ,าในหมู่บา้ นสามารถเก็บกักนํ,าได้ มีโรงปุ๋ ยชีวภาพอัดเม็ด มีโรงสี ชุมชน ระดับตําบล มีหลายหน่วยงานเข้าไปสนับสนุน และส่ งเสริ ม ๒.๓.๓ สรุ ปบทเรี ยนบ้านที;บา้ นซาด ได้เรี ยนรู ้การนําเสนอข้อมูลทัว; ไปของหมู่บา้ น ด้วย power point ได้เรี ยนรู ้การเป็ นวิทยากรการนําเสนอกิจกรรมการเรี ยนรู ้ของหมู่บา้ น ด้วย power point คัดเลือกกิจกรรมเด่นแต่ละหมู่บา้ น
39
คัดเลือกกิจกรรมเด่นของอําเภอ ประเมินกิจกรรม ได้ชมประตูทางเข้าหมู่บา้ นที;สวยที;สุด (กํานันพงษ์คิดอย่างนั,น) ๒.๓.๔ สรุ ปบทเรี ยนบ้านที;บา้ นโนนกุ่ม • สรุ ปผลการดําเนินงานที;ผา่ นมาของโครงการ/เรี ยนรู ้หมู่บา้ นเครื อข่ายอื;นเพื;อประสบการณ์ในการ พัฒนาหมู่บา้ น / สรุ ปประเมิน • นําเสนอข้อมูลบ้านโนนกุ่ม/กิจกรรมเด่น/การดูงาน/ประกวดหมู่บา้ น • การถอดบทเรี ยนโครงการ/การปรับปรุ งแผ่นพับ • การวางแผนการจัดกิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิ งหาราชินี • การสมัครเป็ นสมาชิกเครื อข่าย เขียนใบสมัคร • เยีย; มชมหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงฯ และกิจกรรมการเรี ยนรู ้ /ประเมินโครงการ ๒.๓.๕ สร้างพลังเครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงตามโครงการสร้างเครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ กิจกรรมการจัดงานของดีเมืองพิมาย ณ ลานพรหมฑัต วันที; ๗-๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๒.๓.๖ สร้างพลังเครื อข่ายจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติเทิดไท้องค์ราชิ นี วันที; †‡ สิ งหาคม ‡ˆˆ‰ ๑.๔ ประโยชน์ ทเกิ ี ดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายฯ แก่ สมาชิ กและชุ มชน มิติดา้ นสังคม • แสดงพลังเครื อข่ายเทิดพระเกียรติสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ๑๒ สิ งหามหาราชินี • บันทึกความดีถวายพ่อหลวง(ธนาคารความดี) ดําเนินการที;บา้ นเตยหมู่ ๑ ตําบลกระเบื,องใหญ่ • การส่ งเสริ มช่องทางการตลาดเพื;อแสดงและจําหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนใน “งานธงฟ้ า” และ “ของดี เมืองพิมาย” • การประชุมสัญจรแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ระหว่างสมาชิกเครื อข่าย • ๑ ตําบล ๑ สมาชิกเครื อข่าย • ๑ ไร่ แก้เหงา • เครื อข่ายหมู่บา้ นจัดกิจกรรมปกป้ องสถาบัน • จัดตั,งศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนเพิ;มขึ,นในเครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน ๒ แห่ง มิติดา้ นสิ; งแวดล้อม เกิดการเชื; อมโยงระหว่างเครื อข่ายองค์กรชุมชน (เครื อข่ายผูน้ าํ อช.+เครื อข่ายหมู่บา้ น ศพพ.)
40
๒. อําเภอคง การพัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบก่อนมีเครื อข่ายฯ o ปี ๒๕๕๓ มีบา้ นต้นแบบ ๑ หมู่บา้ น บ้านห้วยทราย หมู่ที; ๖ ตําบลหนองมะนาว มีเครื อข่าย ระดับตําบล ๑ เครื อข่าย ตําบลตาจัน; ตามโครงการเครื อข่ายชุมชนคุณภาพชีวติ ดีดว้ ยวิถี พอเพียง o ปี ๒๕๕๓ มีหมู่บา้ นต้นแบบ ๒ หมู่บา้ น บ้านตะโกโคก (อยูด่ ี กินดี) บ้านดอนน้อย(พออยู่ พอกิน) และบ้านขยายผล o บ้านบะดาวเรื อง (บวร) กลยุทธ์ /เทคนิค ๑. การสร้างความเข้าใจในการดําเนินงานเครื อข่าย ๒. การวิเคราะห์ขอ้ มูล วิเคราะห์พ,นื ที; ๓. การทํางานเป็ นทีม การจัดคนให้เหมาะสมกับงาน การแบ่งงานกันทํา ๔. การมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วน ๕. การสื; อสารการประชาสัมพันธ์ ๖. การสร้างการเรี ยนรู ้ กิจกรรมการแลกเปลียนเรียนรู้ ของเครือข่ ายฯ • สนับสนุนการจัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ระหว่างหมู่บา้ นเครื อข่าย • คัดเลือกคณะทํางาน จากแกนนําหมู่บา้ น หมู่บา้ นละ ๒ คน • จัดทําคําสั;งแต่งตั,ง • คัดเลือกที;ต, งั ศูนย์เรี ยนรู ้ของเครื อข่ายฯ • สนับสนุนให้แต่ละหมู่บา้ นได้ไปสํารวจข้อมูล คัดเลือกจุดเรี ยนรู ้ ปรับปรุ งพัฒนาจุดเรี ยนรู ้ • สนับสนุนการปรับปรุ งศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนที;เป็ นศูนย์กลางของเครื อข่ายอําเภอ • นําคณะทํางานเครื อข่ายและแก่นนําแต่ละหมู่บา้ นศึกษาดูงานตามจุดเรี ยนรู ้ของแต่ละหมู่บา้ น • จัดกิจกรรมประกวดคุม้ และครอบครัวพัฒนาดีเด่น • จัดทําเว็บไซด์เครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง • ประชาสัมพันธ์กิจกรรมของเครื อข่ายผ่านเว็บไซด์สาํ นักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ • ประชาสัมพันธ์ผา่ นวิทยุชุมชน รายการ พัฒนาชุมชนสัมพันธ์” ทางสถานีวทิ ยุ FM 105.55 MHz • จัดทําโครงการถวายสัตย์ปฏิญาณในการดํารงชีวิต ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื;อถวายเป็ น พระราชกุศล เนื; องในวโรกาสเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั
41
ประโยชน์ ทเกิ ี ดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายฯ แก่ สมาชิ กและชุ มชน สมาชิ กเครือข่ าย - มีขอ้ มูลกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงของแต่ละหมู่บา้ น - แผนที;เครื อข่ายฯ เป็ นสิ; งที;บอกถึงการเชื;อมโยงซึ; งกันและกัน - ศูนย์เรี ยนรู ้เครื อข่ายฯ ได้รับการปรับปรุ ง พัฒนาเป็ นศูนย์กลางเครื อข่ายฯ - การขับเคลื;อนช่วยให้หมู่บา้ นอื;น ๆ ที;ไม่ได้เข้าร่ วมเครื อข่ายสามารถรู ้และเข้าร่ วมกิจกรรมได้ - เกิดอาชีพใหม่ ๆ เช่นการเลี,ยงกบ การเลี,ยงจิ,งหรี ด การทําสปาเท้าจากมะกรู ด เป็ นต้น - เป็ นแหล่งสร้างปราชญ์ชุมชน ผูน้ าํ แสงสว่างให้ชุมชนและถ่ายทอดความรู ้อนั เป็ นวิทยาทาน - น้อมนําเอาแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มาใช้ในการดําเนินชีวิต ทําให้จิตใจสงบ สุ ข อิ;มเอม ไม่ทุกข์ หรื อทุกข์ก็ทุกข์นอ้ ย - เป็ นการส่ งเสริ มและกระตุน้ ให้คนทําดีต่อไปเรื; อย ๆ และทําดีแล้วบอกต่อยิง; จะเกิดผลดี - ลดรายจ่ายในครัวเรื อน/เพิ;มรายได้ในครัวเรื อน - ช่วยสร้างอาชีพให้กบั คนในครัวเรื อน แก้ไขปั ญหาการว่างงาน - สิ; งแวดล้อมในชุมชนได้รับการฟื, นฟูอนุรักษ์ และพัฒนาให้เพิ;มมากขึ,น เป็ นการเอาป่ ามาไว้ในบ้าน - พัฒนาคนในชุ ม ชนให้มี การเปลี; ยนแปลงพฤติ กรรมไปในทางที; ดีข, ึ น เช่ น กิ จกรรมการลด ละ เลิ ก อบายมุข - สร้างภูมิคุม้ กันให้กบั ครัวเรื อนโดยการใช้ความรู ้ที;ได้รับจากการดําเนิ นงานของเครื อข่ายฯ มาปฏิบตั ิ - ทําให้ชุมชนมีระบบการจัดการตนเองโดยลดการพึ;งพาจากภายนอก - สร้างระบบช่วยเหลือกันโดยกระบวนการเรี ยนรู ้เรื; องการออมเพื;อจัดสวัสดิการชุมชน - ทําให้เกิดความรัก สามัคคีในชุมชน ปัจจัยทีมีผลต่ อความสํ าเร็จของโครงการ ๑. ความพร้อมของแกนนํา ๒. ความตั,งใจ เสี ยสละ และทุ่มเทการทํางานของแกนนําเครื อข่าย ๓. การมีส่วนร่ วมของแกนนําคนในชุมชน และภาคีการพัฒนาทุกภาคส่ วน ๔. การคิดบวก และพร้อมแก้ไขปั ญหาเสมอ มีความอดทนอยู่เสมอ เพราะความอดทนเป็ นคุณธรรมที; จะทําให้การดําเนินงานประสบผลสําเร็ จ
42
๕. มีกาํ ลังใจดีจากที;ทาํ งานและครอบครัวสนับสนุนทําให้แกนนํานั,น ได้ทุ่มเททําเพื;อเครื อข่ายอย่าง จริ งจัง ๖. การสนับสนุนการดําเนิ นงานของหน่วยงานพัฒนาชุมชนและภาคีเครื อข่ายการพัฒนาอื;นๆ ที; สนับสนุนด้านวิชาการและด้านงบประมาณ ๓. อําเภอชุ มพวง กลยุทธ์ /เทคนิค ใช้หลักการ ๕ ร่ วมเป็ นกลยุทธ์ ในการขับเคลื;อนการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ๑. การสร้างต่อยอด-ขยายผลจากต้นทุนเดิม ๒. การสร้างความตระหนักรับรู ้ร่วมกัน ๓. การเตรี ยมความพร้อมทุกภาคส่ วน ๔. การบูรณาการ งาน เงิน พื,นที; ๕. การติดตามเกาะติดพื,นที; เทคนิค กระบวนการมีส่วนร่ วมการสร้างเครื อข่าย ๑. การประชุมหัวหน้าส่ วนราชการ,กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ น ๒. ร่ วมกับภาคภาคีการพัฒนา (ปค.,กษ.,อบต.) เสนอคัดเลือกหมู่บา้ นเป้ าหมาย ๓. การจัดเวทีประชาคมในหมู่บา้ นเป้ าหมาย ๔. การคัดเลือกแกนนําชุมชน พลังของการขับเคลื;อนกิจกรรม ๕. การคัดเลือกครัวเรื อนเป้ าหมายรู ปธรรมผลของการขับเคลื;อนกิจกรรม ๖. การมอบหมายภารกิจผูป้ ระสานงานขับเคลื;อนกิจกรรม อบต. + จนท.พช.+ ผูน้ าํ อช. ๗. จังหวัดสร้างวิทยากรกระบวนการสร้างเครื อข่ายเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง การจัดเวทีขบั เคลื;อนการสร้างเครื อข่ายฯ ครั,งที; ๑ ๑. ชี,แจงสร้างความเข้าใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. การคัดเลือกกรรมการเครื อข่าย ๓. การสํารวจจัดทําฐานข้อมูลกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ๔. การร่ วมกันกําหนดแผนงานศึกษาดูงานศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนยางใน การจัดเวทีขบั เคลื;อนการสร้างเครื อข่ายฯ ครั,งที; ๒ ๑. สนับสนุนจัดกิจกรรม Mobile Unit ณ ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชนบ้านยางใน ๒. กิจกรรมแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้แกนนําชุมชนหมู่บา้ นเครื อข่ายฯโซนทุ่งสัมฤทธิ6 ๓. สร้างการเชื; อมโยง จุดการเรี ยนรู ้กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง การจัดเวทีขบั เคลื;อนการสร้างเครื อข่ายฯ ครั,งที; ๓ การสรุ ปถอดบทเรี ยนของหมู่บา้ นเครื อข่ายเรี ยนรู ้ฯ จาก แกนนํา ๑๗ หมู่บา้ น ๙ ตําบล
43
และ อบต. ๙ ตําบล กิจกรรมการแลกเปลียนเรียนรู้ ของเครือข่ ายฯ การสร้างแกนนําเครื อข่าย ระดับอําเภอ ๑ คณะ ระดับหมู่บา้ น ๑๗ หมู่บา้ น การจัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้แก่แกนนําเครื อข่าย ๑๗ หมู่บา้ น ๓ เวที การจัดเวทีสร้างการเรี ยนรู ้แก่คนในชุมชน ประโยชน์ ทเกิ ี ดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายฯ แก่ สมาชิ กและชุ มชน ๑. ครัวเรื อน/คนในชุมชน/ผูน้ าํ ชุมชน/องค์กรชุมชน เกิดความตื;นตัว เกิดการเรี ยนรู ้ ๒. เกิดการแลกเปลี;ยน เทียบเคียงกิจกรรมกันระหว่างเครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจัยทีมีผลต่ อความสํ าเร็จของโครงการ ๑. ทิศทาง กระแสวิถีชีวติ เศรษฐกิจพอเพียง ๒. ความยืดหยุน่ ของหลักปรัชญาศก.พพ. ๓. การใช้กลยุทธ์ ˆ ประการ ๔. การสร้างกิจกรรมแบบค่อยเป็ นค่อยไป ๕. Learning by doing ตามความถนัด เหมาะสมของตัวเอง ๖. มีความเคลื;อนไหวต่อเนื; อง Dynamics ๗. มีเครื อข่ายทั,งในระดับหมู่บา้ น ตําบล อําเภอ ๘. เจ้าหน้าที;มีฐานองค์ความรู ้เศรษฐกิจพอเพียง สามารถเป็ นที;ปรึ กษา ให้คาํ แนะนําได้ดี เกาะติด ติดตามถึงระดับพื,นที; ๙. ความยากจน มัง; มี ไม่ใช่ปัจจัยในความสําเร็ จ ความเชื;อมัน; ว่าสามารถทําได้ต่างหากที; เป็ นปั จจัยแห่งความสําเร็ จ ๔. อําเภอลําทะเมนชั ย สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอลําทะเมนชัยได้ดาํ เนินการจัดทําโครงการสร้างเครื อข่ายการ เรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา เพื;อให้มีศูนย์เรี ยนรู ้เครื อข่ายระดับอําเภอ และ กระบวนการบริ หารจัดการเชื; อมโยงการเรี ยนรู ้ที;เป็ นรู ปธรรม กลยุทธ์ /เทคนิค • ประชุมหมู่บา้ นเครื อข่ายเศรษฐกิจพอเพียง ๙ หมู่บา้ น • คัดเลือกคณะกรรมการเครื อข่าย • จัดตั,งศูนย์เรี ยนรู ้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงระดับอําเภอ ที;บา้ นใหม่ทะเมนชัย หมู่ที; ๖ ตําบล ไพล อําเภอลําทะเมนชัย จังหวัดนครราชสี มา
44
• พัฒนาการอําเภอและเจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชน อบรมการสร้างเครื อข่ายหมู่บา้ นที;อาํ เภอพิมาย • เจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชนและเครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงศึกษาดูงานหมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียง ดีเด่น ที;อาํ เภอชุมพวง กิจกรรมการแลกเปลียนเรียนรู้ ของ จุดเรียนรู้ ศูนย์ เรียนรู้ ระดับอําเภอ บ้ านใหม่ ทะเมนชั ย หมู่ที ๖ ต.ไพล ๑. การแปรรู ปการทําขนม ๒. โรงสี ชุมชน ๓. การผลิตข้าวกล้องงอก ๔. กองทุนหมู่บา้ น บ้ านขุย หมู่ที ๖ ตําบลขุย ๑. การผลิตเบาะรองนัง; จากผ้าไหม ๒. การเลี,ยงปลาดุก ๓. การทําเกษตรทฤษฏีใหม่ ๔. การผลิตถ่านไม้
บ้ านหินแร่ หมู่ที ๖ ตําบลบ้ านยาง ๑. ปุ๋ ยอินทรี ยช์ ีวภาพอัดเม็ด ๒. การปลูกผักปลอดสารพิษ ๓. ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชน บ้ านโสกดู่ หมู่ที ๔ ต.บ้ านยาง การแปรรู ปผลิตภัณฑ์จากกก บ้ านหนองม่ วง หมู่ที ๓ ต.บ้ านยาง การทํากระถางสวนครัวลอยฟ้ า บ้ านโนนบูรพา หมู่ที ๗ ต.ไพล กลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิต
ประโยชน์ ทเกิ ี ดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายฯ แก่ สมาชิ กและชุ มชน • เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงระดับอําเภอ มีศูนย์เรี ยนรู ้ที;สามารถถ่ายทอด † ศูนย์ • คณะกรรมการขับเคลื;อนเครื อข่ายระดับอําเภอ/ตําบล และคณะกรรมการเครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียงฯ มีกระบวนการทํางานแบบมีส่วนร่ วม • หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงตามแผนปฏิบตั ิการอย่างต่อเนื; อง และมีการสรุ ปผลการดําเนิ นงานทุก กิจกรรม ๕. อําเภอห้ วยแถลง สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอห้วยแถลง มีเป้ าหมาย ดําเนินงานเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียง อําเภอห้วยแถลงให้ มีความเข้มแข็งและสามารถขยายผลได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยยึดหลัก ปรัชญางานพัฒนาชุมชนที;วา่
45
มนุษย์mทุกคนมีเกียรติและศักดิ6ศรี ในความเป็ นคน มนุษย์mทุกคนมีความสามารถ หรื อมีศกั ยภาพ ความสามารถของมนุ ษย์mสามารถพัฒนาได้ถา้ มีโอกาส กลยุทธ์ /เทคนิค ๑. สํารวจ/จัดทําฐานข้อมูลเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ประชุมให้ความรู ้ จัดเวทีแลกเปลี;ยนความคิดเห็น จัดตั,งคณะทํางาน ที;ปรึ กษา ๓. วางแผน/โครงการ ค้นหาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ๔. ดําเนิ นงานตามแผนและโครงการ ๕. การติดตาม ประเมินผล กิจกรรมการแลกเปลียนเรียนรู้ ของเครือข่ ายฯ จัดเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ๑๕ หมู่บา้ น • ศึกษาดูงานแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ด้านการเรี ยนรู ้พลังงานทดแทนชุมชน † กลุ่ม • ด้านการการทําเกษตรอินทรี ยช์ ุมชน ๕ กลุ่ม • ด้านการบริ หารจัดการร้านค้าชุมชน ๑ กลุ่ม • ด้านการทํานํ,ายาเอนกประสงค์ชุมชน ๑ กลุ่ม • ด้านการบริ หารจัดการกองทุนชุมชน ๓ กลุ่ม • ด้านการประกอบอาชีพชุมชน ๑๘ กลุ่ม ประโยชน์ ทเกิ ี ดขึน4 จากการขับเคลือนเครือข่ ายฯ แก่ สมาชิ กและชุ มชน • มีเครื อข่ายการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา • มีทีมขับเคลื;อนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง • มีศูนย์เรี ยนรู ้การแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ประสบการณ์ดา้ นต่างๆ • ทําให้เกิดจิตสํานึก พึ;งตนเองและสมาชิกเครื อข่าย • เกิดจิตสํานึกและแรงบัลดาลใจของตนเองและสมาชิกเครื อข่าย • ได้บทเรี ยนจากการพัฒนา (ถอดบทเรี ยน) • เกิดความร่ วมมือในการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทุกระดับ • มีการสื บทอดภูมิปัญญา • ประชาสัมพันธ์ การขับเคลื;อนกิจกรรมหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ทุกระดับ • เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื;องในวโรกาสครบรอบ ๘๔ พรรษา • ได้รับการยกย่องเชิ ดชูเกียรติ ระดับบุคคล ระดับครอบครัว และชุมชน ..............................................
46
สรุ ปผลเวทีถอดบทเรียนเครื อข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ปี ๒๕๕๔ เพือคัดเลือกทีมงานและพืน4 ที ต้ นแบบ กลุ่มอําเภอสุ รนารี (ปักธงชั ย , โชคชั ย , หนองบุญมาก , วังนํา4 เขียว , เสิ งสาง , ครบุรี) วันที ๒๓ สิ งหาคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ น. ณ ห้ องประชุ มศาลาประชาคม อําเภอโชคชั ย ๑. กลุ่มเป้าหมาย (กลุ่มอําเภอสุ รนารี : ปั กธงชัย , โชคชัย , หนองบุญมาก , วังนํ,าเขียว , เสิ งสาง , ครบุรี) ๑) พัฒนาการอําเภอ จํานวน ๖ คน ๒) พัฒนากร จํานวน ๒๗ คน ๓) แกนนําเครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๖ เครื อข่าย จํานวน ๑๒ คน ๒. รู ปแบบ/วิธีการ ๑) รู ปแบบการจัดเวที จัดที;นง;ั เป็ นรู ปตัวยู / เกือกม้า พร้อมอุปกรณ์ในการนําเสนอ ๒) พัฒนาการอําเภอโชคชัยในฐานะเจ้าภาพ กล่าวต้อนรับ ๒) ผูเ้ ข้าร่ วมเวทีแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้แนะนําตัว ๓) หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์ การพัฒนาชุมชน และนักวิชาการ สร้างความเข้าใจ ๓.๑) ทบทวนแนวทางการขับเคลื;อนการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง เฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๓.๒) ชี,แจงหลักเกณฑ์/แนวทางในการนําเสนอ และการคัดเลือกเครื อข่ายฯ ระดับอําเภอ ดีเด่น ดังนี, กําหนดให้แต่ละอําเภอนําเสนอกระบวนการในการขับเคลื;อนโครงการสร้าง เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ไม่เกิน ๓๐ นาที (จับฉลาก) โดย แบ่งเนื, อหาที;จะต้องนําเสนอออกเป็ น ๒ ส่ วน ได้แก่ -ส่ วนที; ๑ การสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ของทีมงานสํานักงานพัฒนาชุมชน อําเภอ -ส่ วนที; ๒ การสร้างและขับเคลื;อนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ของคณะกรรมการ เครื อข่าย
47
หมายเหตุ เนื,อหาในการนําเสนอเป็ นไปตามหลักเกณฑ์/แนวทางในประกาศของจังหวัด ให้ทุกอําเภอส่ งเอกสารการถอดบทเรี ยนแก่คณะกรรมการก่อนที;จะนําเสนอ ข้อมูลในเวที เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ ข้าร่ วมเวทีซกั ถาม/แลกเปลี;ยนความคิดเห็นเพื;อการเรี ยนรู ้ หลังจากแต่ละอําเภอนําเสนอเสร็ จเป็ นที;เรี ยบร้อยแล้วไม่เกิน ๑๐ นาที ๓.๓) กําหนดให้ผเู ้ ข้าร่ วมเวทีทุกคนได้ร่วมกันคัดเลือกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ น เศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ดีเด่น ด้วยการให้ทุกคนออกเสี ยงคัดเลือก อําเภอที;ขบั เคลื;อนการสร้างเครื อข่ายฯ ที;ดีที;สุดจํานวน ๑ อําเภอ (ยกเว้นอําเภอของตนเอง) ๓. สรุ ปผลการจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรู้ การสร้ างเครือข่ ายฯ ทั4ง ๖ อําเภอ ทีมงานสํ านักงานพัฒนาชุ มชนอําเภอ -สรุ ปภาพรวม ๑) สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอทุกแห่ง มีการวางแผนและกําหนดแนวทางในการ ดําเนินงานที;ชดั เจน อีกทั,ง พัฒนาการอําเภอโดยส่ วนใหญ่มีการเสริ มสร้างกระบวนการ แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ร่วมกันในทีมงานอย่างต่อเนื; อง ๒) ในการสร้างความเข้มแข็งให้กบั เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ทีมงานสํานักงานพัฒนาชุมชน อําเภอโดยส่ วนใหญ่จะใช้ “เวทีเครื อข่ายสัญจร” เป็ นเครื; องมือในการสร้างปฏิสัมพันธ์ ร่ วมกันของสมาชิกในเครื อข่าย ๓) เจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชนเกิดการเรี ยนรู ้ และเกิดทักษะในการบริ หารจัดการชุมชนมากขึ,น ๔) มีการบูรณาการการความร่ วมมือในการพัฒนาร่ วมกับภาคีพฒั นาและคณะกรรมการ เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ๕) การดําเนิ นงานตามคํารับรองการปฏิบตั ิราชการกรมฯ/จังหวัด/กลุ่มจังหวัดเป็ นไปอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ/ประสิ ทธิ ผล เครือข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ -สรุ ปภาพรวม ๑) มีการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ร่วมกันระหว่างสมาชิกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ๒) มีการพัฒนาจุดเรี ยนรู ้ในหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงที;เป็ นสมาชิกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ และมีการเชื;อมโยงจุดเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบ
48
๓) เกิดการขยายผลการดําเนิ นกิจกรรมตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ กว้างขวางและครอบคลุม ๔) เกิดกระบวนการสร้างผูน้ าํ และวิทยากรประจําเครื อข่าย มีการพัฒนาวิทยากรชุมชน , วิทยากร ครู ก. ครู ข. ๕) มีการจัดการความรู ้ (KM) ในหมู่บา้ นสมาชิกเครื อข่าย ๖) ครอบครัวพัฒนาสามารถเป็ นแบบอย่างในการขยายผลการน้อมนําหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดําเนินชีวิตได้อย่างเป็ นรู ปธรรม ๗) เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ เป็ นกลไกสําคัญในการเสริ มสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนใน “มิติทางเศรษฐกิจ” และ “มิติทางสังคม” ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ๘) สามารถสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วมของคนในชุมชนเกิดความรักความสามัคคีใน ชุมชนอย่างต่อเนื; องและยัง; ยืน ๙) เครื อข่ายสามารถเชื; อมโยงกิจกรรมการพัฒนาและสามารถสร้างงานสร้างรายได้ให้กบั คนในชุมชนได้อย่างต่อเนื; อง สรุ ปผลการเรียนรู้ จําแนกรายอําเภอ อําเภอหนองบุญมาก “สพอ. หนองบุญมาก” : มีการทํางานเป็ นทีม มีการกําหนดบทบาทหน้าที;ชดั เจน และ สามารถเชื;อมโยง บูรณาการความร่ วมมือจากภาคีการพัฒนาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ , ทีมงาน สพอ. ใช้ บทบาทของผูเ้ อื,ออํานวยในการส่ งเสริ ม/สนับสนุ นการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ได้อย่างชัดเจน , มีกล ยุทธ์ในการแสวงหางบประมาณจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ;นเพื;อพัฒนาศักยภาพวิทยากรชุมชน , การใช้ พื,นที;ตน้ แบบ (บ้านหนองพยอม) เป็ นหมู่บา้ นแม่ข่ายเป็ นแกนในการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ “เครือข่ ายฯ อ. หนองบุญมาก” : หมู่บา้ นสมาชิกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ทุกแห่งมีการพัฒนา จุดเรี ยนรู ้ และจัดฐานเรี ยนรู ้อย่างเป็ นระบบ , มีทีมวิทยากรชุมชน ครู ก. ครู ข. , สมาชิ กเครื อข่ายมี ปฏิสัมพันธ์กนั อย่างต่อเนื; อง สามารถรองรับการศึกษาดูงานจากแม่ข่ายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ , มิติทาง สังคมโดดเด่น กิจกรรมเด่น หมู่บา้ นสมาชิกเครื อข่ายให้มีศกั ยภาพและความพร้อมรองรับการเป็ นพื,นที; ศึกษาเรี ยนรู ้หมู่บา้ น ศก.พพ. ได้ทุกแห่ง , มีการเชื; อมโยงสถานีเรี ยนรู ้ทุกหมู่บา้ นที;เป็ นสมาชิกเครื อข่ายการ
49
เรี ยนรู ้ฯ ได้อย่างเป็ นเอกภาพ , มีการจัดสถานีการเรี ยนรู ้ที;เป็ นระบบ โดยมีปราชญ์ชาวบ้าน/ชุมชนเป็ น วิทยากรประจําสถานี , ครอบครัวพัฒนามีความพร้อมเป็ นต้นแบบที;ดี มีกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียงใน ครัวเรื อนที;หลากหลาย , มีการปรับปรุ งภูมิทศั น์หมู่บา้ นได้โดดเด่น เป็ นระเบียบ และสวยงาม , มิติทาง สังคมของชุมชน และสมาชิกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ มีความเข้มแข็ง และมีความเอื,ออาทรต่อกันอย่างชัดเจน อําเภอปักธงชั ย “สพอ. ปักธงชั ย” : สพอ. มีแผนในการส่ งเสริ มสนับสนุ นการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ที; ชัดเจน , เข้าไปมีส่วนร่ วมในการส่ งเสริ ม/สนับสนุนการจัดเวทีเครื อข่ายฯ สัญญจร และประสานความ ร่ วมมือจากภาคีการพัฒนาให้เข้ามามีส่วนร่ วมในกิจกรรม “เครือข่ ายฯ อ. ปักธงชั ย” : มีการจัดกิจกรรมเครื อข่ายสัญจร และร่ วมกันทํากิจกรรม สาธารณประโยชน์ในพื,นที;ที;เป็ นเจ้าภาพ , มีหมู่บา้ นสมาชิกที;มีความโดดเด่นในการน้อมนําหลักปรัชญา ของ ศก.พพ. มาใช้ในการดําเนินชีวติ และการพัฒนาหมู่บา้ น อีกทั,ง ยังมีความโดดเด่นในมิติทางสังคม กิจกรรมเด่น การจัดเวทีเครื อข่ายสัญจรและปลูกป่ า , หมู่บา้ นสมาชิกเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ที; มีความโดดเด่นในด้าน “มิติทางสังคม” ฯลฯ อําเภอโชคชั ย “สพอ. โชคชั ย” : เจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชนอําเภอเข้าไปมีบทบาทในการส่ งเสริ ม/สนับสนุน ให้มีการน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการขับเคลื;อนกิจกรรมในพื,นที;ได้อย่างชัดเจนเป็ น รู ปธรรม เป็ นต้นทุนที;ดีต่อการเสริ มสร้างความเข้มแข็งของเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ต่อไปในอนาคต “เครือข่ ายฯ อ. โชคชั ย” : มีกิจกรรมซึ; งเป็ นสวัสดิการชุมชนที;โดดเด่นในรู ปของ Food Bank , แปลงรวม , หมู่บา้ นสมาชิกเครื อข่ายฯ มีปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ;นที;หลากหลาย กิจกรรมเด่น พื,นที;เรี ยนรู ้ดา้ นการอนุ รักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ;น , ด้านการทําแปลงรวมของ ชุมชน โดยใช้พ,ืนที;สาธารณะซึ; งเป็ นดินเสื; อมโทรมของชุ มชนมาพัฒนาและจัดสรรให้สมาชิกในชุมชนได้ เข้าไปประกอบอาชีพ และมีกฎกติกาที;ชดั เจน , มีความโดดเด่นในด้านมิติทางสังคม ฯลฯ
50
อําเภอเสิ งสาง “สพอ. เสิ งสาง” : สพอ. มีบทบาทที;ชดั เจนในการส่ งเสริ ม/สนับสนุนการสร้างการเรี ยนรู ้ นอกสถานที; (ศึกษาดูงาน จ.บุรีรัมย์) เพื;อพัฒนาความรู ้และทักษะแก่คณะกรรมการเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ “เครือข่ ายฯ อ. เสิ งสาง” : เครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ มีบทบาทในการกระตุน้ และจุดประกายใน ครัวเรื อนในหมู่บา้ น/ชุมชนน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดําเนิ นชีวติ ได้อย่าง กว้างขวาง และเป็ นรู ปธรรม , ตลาดชุมชน , กิจกรรมเด่น มีกลุ่ม/องค์กรที;เข้มแข็งเข้าร่ วมเป็ นคณะกรรมการเครื อข่าย เช่น คณะกรรมการ ศอช.ต. , ผูน้ าํ สตรี , มีสถานีการเรี ยนรู ้ทางด้านการเกษตรแบบผสมผสานที;หลากหลาย , จุด เรี ยนรู ้กิจกรรมผูส้ ู งอายุประกอบอาชีพเสริ มด้านการจักสาน ฯลฯ อําเภอวังนํา4 เขียว “สพอ. วังนํา4 เขียว” : กลยุทธ์ในการดําเนิ นงานใช้หมู่บา้ นแม่ข่าย (บ้านบุไทร ต.ไทย สามัคคี) เป็ นแกนในการสร้างเครื อข่ายและขยายผลการดําเนินงาน “เครือข่ ายฯ อ. วังนํา4 เขียว” : ศูนย์กลางเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ มีความเข้มแข็ง เป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้แก่สมาชิกเครื อข่ายได้ กิจกรรมเด่น : สถานีการเรี ยนรู ้การบริ หารจัดการหมู่บา้ นท่องเที;ยวโฮมสเตย์ , การปลูกป่ า ชุมชน , การปลูกผักปลอดสารพิษ ฯลฯ อําเภอครบุรี “สพอ. ครบุรี” : ส่ งเสริ มสนับสนุนให้เจ้าหน้าที; สพอ. ทุกคนมีส่วนร่ วมในกระบวนการ สร้างเครื อข่ายฯ , มีการสกัดความองค์ความรู ้ในหมู่บา้ น/ชุมชน “เครือข่ ายฯ อ. ครบุรี” : ศูนย์กลางเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ มีความเข้มแข็ง ซึ; งเชื;อมโยงแหล่ง เรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาเพื;อเป็ นจุดเรี ยนรู ้ และถ่ายทอดภูมิปัญญา กิจกรรมเด่น การพัฒนาจุดเรี ยนรู ้ในหมู่บา้ นแม่ข่าย ๔. ผลกระทบต่ อการขับเคลือนยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุ มชน/จังหวัด/กลุ่มจังหวัด และอืนๆ ๔.๑ ตัวชี4วดั กรมการพัฒนาชุ มชน ๑.๑.๑ ระดับความสําเร็ จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับหมู่บา้ น ๒.๑ ร้อยละของกลุ่มผูผ้ ลิตชุมชนที;สามารถบรรลุเป้ าหมายตามแผนธุ รกิจ
51
๓.๑.๑ ระดับความสําเร็ จของกลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิต ระดับ ๓ มีการจัดสวัสดิการชุมชน ๓.๑.๓ ระดับความสําเร็ จของผูน้ าํ อช. ในการส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ ของครัวเรื อนที;ตกเกณฑ์ จปฐ. ปี ๒๕๕๓ ๔.๒ ตัวชี4วดั จังหวัดนครราชสี มา/ กลุ่มจังหวัด ๑.๒.๔ ร้อยละที;เพิ;มขึ,นของมูลค่าการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP ๑.๒.๕ ร้อยละที;ผา่ นเกณฑ์การจัดระดับหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๒.๑ ระดับความสําเร็ จของการสนับสนุน/ ส่ งเสริ มการพัฒนาหมู่บา้ น/ชุมชนด้วยกระบวนการมี ส่ วนร่ วม ๓.๑ ระดับความสําเร็ จของการแก้ไขปั ญหาเพื;อลดจํานวนครัวเรื อนยากจน ที;มีรายได้เฉลี;ยตํ;ากว่า เกณฑ์ จปฐ. ๔.๓ ยุทธศาสตร์ กรมการพัฒนาชุ มชน ๑) ยุทธศาสตร์ การพัฒนาทุนชุ มชน : ส่ งเสริ มการออมในชุมชน เช่น กิจกรรมออมเพื;อพ่อ , บาตร ออมสิ น , ทําความดีเพื;อพ่อด้วยการออม , การนําทุนชุมชนมาใช้ในงานการพัฒนาชุมชนและจัดสวัสดิการใน ชุมชน , การนําทุนชุมชน (๕ ทุน) มาสร้างมูลค่าเพิ;มในกิจกรรมด้านเศรษฐกิจและสังคม ๒) ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเศรษฐกิจของชุ มชนให้ เข้ มแข็ง : การจัดกิจกรรมเรี ยนรู ้ดา้ นการลด รายจ่าย เพิ;มรายได้ต่างๆ ในพื,นที; , การแก้ไขปั ญหาหนี, นอกระบบในชุมชน , การจัดทําบัญชีครัวเรื อน , การส่ งเสริ มการดําเนิ นกิจกรรมวิสาหกิจชุมชน , การส่ งเสริ มอาชีพหลัก/อาชีพเสริ ม , การทําเกษตร ผสมผสาน , การทํา Food Bank /ห้างสรรพสิ นค้าของชุมชน/ครัวชุมชน ๓) ยุทธศาสตร์ การพัฒนาขีดความสามารถของผู้นําชุ มชนให้ เข้ มแข็ง : ส่ งเสริ มสนับสนุนให้ผนู ้ าํ ชุมชนได้เข้ามามีบทบาทในการขับเคลื;อนกิจกรรมในบทบาทที;หลากหลาย เช่น วิทยากรชุมชน , นักจัดการ ความรู ้ของชุมชน (KM) , นักวิจยั ท้องถิ;น , ผูเ้ อื,ออํานวย (Facilitator) ในการขับเคลื;อนเครื อข่าย , ผูส้ ร้างแรง บันดาลใจ/จุดประกาย , ผูส้ มานฉันท์ของชุมชน , มัคคุเทศก์ชุมชน , นักประชาสัมพันธ์ , นักเชื;อมประสาน และบูรณาการ เป็ นต้น ๔) ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ของชุ มชน : การจัดการความรู ้ของปราชญ์ชาวบ้าน , การ จัดทําคลังข้อมูลของชุมชน , การจัดทํา E-mapping , การจัดเวทีเครื อข่ายสัญจร , การสร้างวิทยากรชุมชน ครู ก. ครู ข. , มีการถอดบทเรี ยนความสําเร็ จที;เป็ น Best Practice กิจกรรมในชุมชนต่างๆ , มีการจัดสถานี เรี ยนรู ้/ฐานการเรี ยนรู ้ของชุมชน และเครื อข่าย ๕) ยุทธศาสตร์ การขับเคลือนแผนชุ มชน : นําแผนชุมชนในส่ วนที;เป็ นแผนพึ;งตนเอง เช่น การ แก้ไขปั ญหาสิ; งแวดล้อม , การลดปั ญหาการใช้ปุ๋ยเคมี , การกําจัดศัตรู พืช , การแก้ไขปั ญหาความเดือดร้อน ของประชาชน มาแก้ไขปั ญหา ด้วยการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ และการส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมจากภาคีการ พัฒนาเข้ามาให้การสนับสนุ นในแผนที;เกินขีดความสามารถของชุมชนที;จะดําเนิ นการได้เองโดยลําพัง
52
๔.๔ มิติการพัฒนาด้ านอืนๆ ๑) ตอบสนองต่อการขับเคลื;อนการพัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ซึ; งเป็ น Flagship Project ของกระทรวงมหาดไทย ๒) ส่ งเสริ มสนับสนุนให้ประชาชนน้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดําเนิ น ชีวติ ได้อย่างกว้างขวาง ๓) เสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในหลากหลายมิติ เช่น มิติดา้ นเศรษฐกิจ มิติดา้ นสังคม มิติ ด้านการเมือง มิติดา้ นการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ; งแวดล้อม มิติดา้ นการอนุ รักษ์วฒั นธรรมและ ภูมิปัญญา เป็ นต้น โดยใช้เครื อข่ายของชุมชนเป็ นกลไกสําคัญในการขับเคลื;อน ๔) เป็ นการวางรากฐานที;สาํ คัญให้กบั ชุมชนในการนําไปสู่ การขยายผล และต่อยอดในงานการ พัฒนาชุมชนที;เข้มแข็งและยัง; ยืนต่อไปในอนาคต ๕. ปัจจัยทีมีผลต่ อความสํ าเร็ จ ๑) การสร้างความรู ้ความเข้าใจให้ทีมงานขับเคลื;อนหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงและผูน้ าํ ชุมชนเกิด แรงจูงใจ แรงบันดาลใจและพลังศรัทธา ๒) การประสานงานที;ดีระหว่างผูน้ าํ ชุมชนและภาคีการพัฒนาในการขับเคลื;อนหมู่บา้ นเศรษฐกิจ พอเพียง ๓) ความกระตือรื อร้นและการมีส่วนร่ วมของสมาชิกในเครื อข่าย และของคนในชุมชน ๔) การบริ หารจัดการที;ดี มีการแบ่งหน้าที;รับผิดชอบอย่างชัดเจน ๕) หน่วยงานภาคีพฒั นาภาครัฐ/องค์กรที;มีอยูใ่ นหมู่บา้ นให้การสนับสนุน และเป็ นพี;เลี,ยงในการ ขับเคลื;อนกิจกรรมหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนื; อง ใกล้ชิด ๖) ความต่อเนื; องในการพัฒนา และการเข้าใจสภาพปั ญหาที;แท้จริ งที;ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวติ และ ความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน ๖. ข้ อคิดเห็น ข้ อเสนอแนะ และโอกาสในการพัฒนาต่ อไปในอนาคต ๑) จังหวัดและอําเภอควรสนับสนุนเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ อย่างต่อเนื; อง ๒) พัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ๓) ประสานหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคเอกชน สนับสนุนการดําเนินงานของเครื อข่าย ๔) ประชาสัมพันธ์ การดําเนิ นงานของเครื อข่ายฯให้เป็ นที;ยอมรับและมีส่วนร่ วมกับเครื อข่าย
53
๗. ประโยชน์ ทได้ ี รับจากการจัดเวทีแลกเปลียนเรียนรู้ ๑) เกิดการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้และแลกเปลี;ยนประสบการณ์ร่วมกัน ระหว่างสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด , สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ และเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง ๘๔ พรรษา ๒) ผูเ้ ข้าร่ วมเวทีเกิดความภาคภูมิใจ แรงจูงใจ และแรงบันดาล ใจในทํางาน อีกทั,ง สามารถจุดประกายความคิดในการทํางานแก่ ผูเ้ ข้าร่ วมเวทีได้เป็ นอย่างดี ๓) เกิดเครื อข่ายการทํางาน และเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ที;ขยายผลจากระดับอําเภอไปสู่ ระดับกลุ่มอําเภอ ๔) ผูเ้ ข้าร่ วมเวทีได้รับรู ้ถึงความสําเร็ จ และเห็นประโยชน์ของการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ฯ ที;ส่งผล กระทบทางบวกต่อหมู่บา้ น/ชุมชนในมิติต่างๆ ที;หลากหลาย ๘. เครือข่ ายการเรียนรู้ ฯ ทีได้ รับการคัดเลือกให้ เป็ นเครือข่ ายดีเด่ น ได้แก่ เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา “อําเภอหนองบุญมาก” เครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ อําเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสี มา การก่ อเกิดเครื อข่ าย จังหวัดนครราชสี มา ได้เสนอโครงการริ เริ; มสร้างสรรค์ “โครงการสร้าง เครื อข่ายหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ” ภายใต้คาํ รับรองการ ปฏิบตั ิราชการภายในกรมการพัฒนาชุมชน (Internal Performarree Agrument : IPA) ปี งบประมาณ ๒๕๕๔ โดยมีหมู่บา้ นเป้ าหมายเป็ นหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พ.ศ. ๒๕๕๒, ๒๕๕๓, ๒๕๕๔ โดยอําเภอหนองบุญมาก มีหมู่บา้ นต้นแบบดังนี, หมู่บ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๓ จํานวน ๒ หมู่บา้ น คือ ๑. บ้านสว่างพัฒนา หมู่ ๑๐ ตําบลหนองบุนนาก (หมู่บา้ นมัง; มี ศรี สุข) ๒. บ้านหนองพยอม หมู่ ๔ ตําบลลุงเขว้า (หมู่บา้ นอยูด่ ี กินดี) หมู่บ้านเป้าหมาย ปี ๒๕๕๔ จํานวน ๓ หมู่บา้ น ๑. บ้านหนองหวาย หมู่ ๑๔ ตําบลหนองหัวแรต (หมู่บา้ นมัง; มี ศรี สุข) ๒. บ้านโนนสะอาด หมู่ ๗ ตําบลไทยเจริ ญ (หมู่บา้ นอยูด่ ี กินดี) ๓. บ้านสารภี หมู่ ๑ ตําบลสารภี (หมู่บา้ นพออยู่ พอกิน) โดยมีสถานที;ต, งั เครื อข่ายอยูท่ ี; บ้านหนองพะยอม หมู่ ๔ ตําบลลุงเขว้า อําเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสี มา
54
ขั4นตอนการสร้ างเครือข่ ายการเรียนรู้ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๑.เจ้าหน้าที;พฒั นาชุมชนทุกคนร่ วมกันศึกษาทําความเข้าใจการดําเนินงาน “โครงการสร้างเครื อข่าย การเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ” ให้เป็ นไปในทิศทาง เดียวกัน ๒.เชิญผูน้ าํ /กลุ่ม/องค์กร/เครื อข่าย จากหมู่บา้ นเป้ าหมาย จํานวน ๕ หมู่บา้ น ร่ วมประชุมชี,แจง ทําความเข้าใจโครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอแต่งตั,งคณะทํางาน “โครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระ เกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ” เพื;อขยายผลการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงและขับเคลื;อน แผนปฏิบตั ิการโครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๓.แต่งตั,งคณะทํางาน “โครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระ เกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ” เพื;อขยายผลการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงและขับเคลื;อน แผนปฏิบตั ิการโครงการสร้างเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ ๔.จัดทําแผนปฏิบตั ิการเครื อข่ายการเรี ยนรู ้หมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา ระดับอําเภอ เทคนิคหรือเคล็ดลับในการสร้ างเครือข่ ายการเรียนรู้ • มีการประชุมแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ท, งั ๕ หมู่บา้ น • อบรมครัวเรื อนต้นแบบ • นําครอบครัวต้นแบบมาเป็ นแบบอย่างในการขับเคลื;อนกิจกรรม • หาแนวทางขับเคลื;อนกิจกรรมฯของคณะกรรมการเครื อข่าย • นิทรรศการการเรี ยนรู ้ เผยแพร่ ในชุมชนและเครื อข่าย • มีการระดมความคิด แลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ ถ่ายทอดความรู ้ปราชญ์ชาวบ้าน ให้ความรู ้ครอบครัว ต้นแบบเผยแพร่ กิจกรรม • กิจกรรมขยายผล แก่ครัวเรื อนในหมู่บา้ น และภายนอกหมู่บา้ น เช่น การทํากระเป๋ า เมล็ดผัก หรื อ กิจกรรมที;มีประโยชน์ • จัดตั,งกลุ่มเพิ;มเติม เช่นกลุ่มออมทรัพย์เพื;อการผลิต กลุ่มทําขนมไทย แปรรู ปยางรถ กลุ่มผูพ้ ิการ
55
• ร่ วมกันทํากิจกรรมมากขึ,น เช่น ตะกร้า กระเป๋ า ทอเสื; อ นํ,ายาล้างจาน กิจกรรมทีเครือข่ ายทําร่ วมกัน มีการรวมกกลุ่มกิจกรรมที;หลากหลาย เช่นทอเสื; อ จักสาน เลี,ยงไก่ เลี,ยงกบ เพาะเห็ด เป็ นต้น มีการพัฒนารู ปแบบผลิตภัณฑ์ เช่นเครื; องจักสาน มีการเพาะปลูกพืชผักที;หลากหลาย มีการเรี ยนรู ้ทาํ ปุ๋ ยชีวภาพ นํ,าหมักเพื;อการเกษตร ลดต้นทุนการผลิต จัดตั,งกลุ่มทําเชื, อราบิวเวอร์ เรี; ย จําหน่ายในเครื อข่าย จัดตั,งกลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษจําหน่าย ค้นหาปั ญหาเพื;อแก้ไขปั ญหาร่ วมกัน การจําหน่ายผลิตภัณฑ์ในท้องถิ;นร่ วมกัน การขยายผลหมู่บา้ นเศรษฐกิจพอเพียง การจัดทําศูนย์เรี ยนรู ้ระดับอําเภอ
ประโยชน์ ทเกิ ี ดจากการขับเคลือนงานเครือข่ าย ๑. มีการแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ภูมิปัญญาในท้องถิ;น ๒. เจ้าหน้าที;เกิดทักษะในการบริ หารจัดการชุมชนมากขึ,น ๓. เกิดกระบวนการสร้างผูน้ าํ และวิทยากรประจําเครื อข่าย ๔. สามารถบูรณาการการมีส่วนร่ วมในการพัฒนากับภาคีพฒั นาและคณะกรรมการเครื อข่าย ๕. เกิดการขยายผลการดําเนิ นกิจกรรมตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ครอบคลุม ทั,ง ๙ ตําบล ๖. เครื อข่ายสามารถเชื;อมโยงกิจกรรมการพัฒนาและสามารถสร้างงานสร้างรายได้ให้กบั คนใน ชุมชนได้อย่างต่อเนื;อง (เช่นบ้าน หนองพะยอมมีกิจกรรมการศึกษาดูงานก็นาํ สิ นค้าของหมู่บา้ น เครื อข่ายไปร่ วมจําหน่าย เป็ นต้น)
ปัจจัยความสํ าเร็จ • ความร่ วมมือของผูน้ าํ ทั,ง ๕ หมู่บา้ น • การใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน • หน่วยงานต่างๆให้ขอ้ เสนอแนะและให้ความร่ วมมือ • ความรักสามัคคีของคนในชุ มชน และการมีส่วนร่ วม • การศึกษาดูงาน การแลกเปลี;ยนเรี ยนรู ้ระหว่างหมู่บา้ นเครื อข่าย
56
การดําเนินงานของเครือข่ ายการเรียนรู้ จะมีความยังยืนได้ • มีการทํากิจกรรมอย่างต่อเนื;อง • การมีส่วนร่ วมและใช้เวทีพดู คุย • ให้หน่วยงานดูแลอย่างใกล้ชิด • การสนับสนุนของทางราชการด้านความรู ้ และเงินทุน • ความสามัคคี ความมีคุณธรรม และความชื;อสัตย์ในชุมชน • มีการประชุมเครื อข่ายแสดงความคิดเห็นเดือนละ ๑ ครั,ง • การนําสิ; งใหม่ๆ ของทางราชการเข้าสู่ ชุมชน • การทํากิจกรรมชุมชน-เครื อข่าย-ราชการ ที;ยง;ั ยืนในการรวมกลุ่ม • สุ ดท้ายมีการสรุ ปผลของเครื อข่ายอย่างต่อเนื; องเพื;อการตื;นตัวของชุมชน ข้อเสนอแนะ • งบประมาณสนับสนุนในการขับเคลื;อนกิจกรรมของเครื อข่าย • ควรมีการศึกษาดูงานต่างจังหวัดบ้าง • ควรมีการให้ความรู ้อย่างต่อเนื;อง • มีการสนับสนุนกิจกรรมใหม่ๆ •
อยากให้หน่วยงานราชการดูแลอย่างใกล้ชิด
...................................................
57
ภาพกิจกรรมการจัดเวทีถอดบทเรี ยน
58
คัดเลือก IPA กลุ่มไหมเนือ4 งาม
59
คัดเลือก IPA กลุ่มทุ่งสัมฤทธิ^
60
คัดเลือก IPA กลุ่มสุรนารี
61
62
63
64
65
คัดเลอื ก IPA กลุ่มเมอื งหญิงกล้า
66
ภาพประกวด IPA ลําตะคลอง วันที 22 สิงหาคม 2554 ณ ห้องประชุมเทศบาลตําบลกุดจิก