paper.indd 1
12/22/2010 11:30:06
paper.indd 2
12/22/2010 11:30:06
paper.indd 3
12/22/2010 11:30:07
การทำเยื่อกระดาษใช้เอง
การทำเยื่อกระดาษ ไม่ใช่เรื่องยากเย็นอะไรมากนัก เพราะประเทศไทยมีวัตถุดิบมากมาย ที่สามารถนำมาใช้ในการ ทำกระดาษอย่างง่ายๆ ได้ ถ้าเพียงเข้าใจความรู้พื้นฐานเพียงเล็กน้อย ในการเตรียมเยื่อกระดาษ และในการต้ม ให้ เหลือแต่เส้นใยกระดาษ วิธีการที่นำเสนอต่อไปนี้ อาจจะเหมาะสมกับศิลปิน และครูสอนศิลปะ ที่ต้องการทำเยื่อ กระดาษไว้ใช้ในงานส่วนตัวหรือใช้ในการสอนศิลปะ วัตถุดิบ(Raw Materials) สิ่งที่เราต้องการจากพืช คือเส้นใยเซลลูโลส(cellulose) ซึ่งพืชทุกชนิดสร้างขึ้นมาเป็นเนื้อไม้ เปลือกไม้ แกนของเถา ไม้เลื้อย และเป็นโครงสร้างหลักของต้นพืช นอกจากเซลลูโลส ในส่วนของพืช ยังมีสารอินทรีย์เคมีอีกมากมาย เช่น น้ำตาล แป้ง ไขมัน โปรตีน ลิกนิน คิวติน ไข(แวกซ์) ฯลฯเราต้องการแค่เส้นใยเซลลูโลส ยิ่งมีเปอร์เซ็นต์สูง ก็ยิ่งดี(เช่น ใยฝ้าย มีเซลลูโลสมากกว่า 90 % เปลือกปอสาแห้ง ที่ลอกเปลือกชั้นนอก ชั้นกลางออกไปแล้ว มีเซลลูโลส ประมาณ 35-50 %) วิธีการง่ายๆ ก็คือการต้มด้วยด่าง เพื่อกำจัดสารอินทรีย์อื่นๆออกไป ด่างที่เรารู้จักกันดี เช่นปูนขาว ใช้ใน การหมัก และ นึ่งเยื่อกระดาษข่อยมาตั้งแต่สมัยโบราณ ขี้เถ้าไม้ จากเตาฟืน เตาถ่าน ใช้ต้มเยื่อปอสา มานานใน ภาคเหนือก่อนที่จะมีโซดาไฟใช้ในปัจจุบัน (ญี่ปุ่นใช้ขี้เถ้าไม้ หรือ โซดาแอช(มีฤทธิ์อ่อนกว่าโซดาไฟ) ในการต้มเยื่อ กระดาษ) หลักการง่ายๆ ก็คือ เอาส่วนของพืช ต้มด้วยด่าง ล้างด่างออกให้หมด ได้เส้นใยเซลลูโลส เอาเส้นใยไปทุบ ตี ปั่น ให้ แยกออกจากกันเป็นเส้นๆ เล็กๆ ละเอียด ก็จะได้เยื่อกระดาษไปใช้งานได้ การเตรียมวัตถุดิบ พืชที่ให้เส้นใยดีมาก ในประเทศไทย คือ เปลือกปอสา และเปลือกข่อย เปลือกไม้มี 3 ชั้น ชั้นนอก(Outer Bark)สี น้ำตาล มีเส้นใยน้อย ควรลอกหรือขูดลอก ชั้นกลาง มีสีเขียว(Green Bark) มีเส้นใยที่ยาวมาก ไม่นิยมใช้ เพราะ ทำให้กระดาษหนาไม่สม่ำเสมอกัน ชั้นใน(Inner Bark) ส่วนใหญ่มีสีขาว เส้นใยยาวประมาณ 1 ซ.ม. ปอสา เลือก จากต้นที่ไม่แก่เกินไป อายุ1-2 ปี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 1-2 นิ้ว ขึ้นในที่ดินดี ชุ่มชื้น จะทำให้ลอก เปลือกได้ง่าย กิ่งข่อย ควรเลือก กิ่งอ่อน สีน้ำตาลเข้ม มีกิ่งแขนงน้อย เมื่อตัดทอน เป็นท่อนๆ แล้ว ใช้มีดเล็กกรีด เปลือกไม้ลึกถึงเนื้อไม้ตามยาว เป็นแนวกว้าง 1-2 นิ้ว แล้วลอกเปลือกออกเป็นแถบยาวๆ ล้างน้ำเอายางออก หลังจากนั้น ใช้มีดเล็กๆ เฉือนให้ถึงเปลือกในสีขาว ดึงลอกเอาเปลือกสองชั้นนอกทิ้งไป ล้างน้ำอีกครั้งเพื่อให้ยางไม้ หลุดออกไปให้มากที่สุด เมื่อได้มากพอแล้ว นำไปต้มกับด่าง หรือตากแห้งเก็บรวบรวมไว้ก่อน (เปลือกปอสาสด เมื่อ ตากแห้งแล้ว จะมีน้ำหนักเหลือประมาณ 20 % เท่านั้น) การต้ม ชั่งน้ำหนักปอสาแห้ง 10 ส่วน ต่อโซดาไฟเกล็ด 0.5-1 ส่วน(5-10 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก) เช่น ปอสาแห้ง 1 ก.ก. ใช้ โซดาไฟ ระหว่าง 50-100 กรัม ปอสด 5 ก.ก.(5000 กรัม) ใช้โซดาไฟ ประมาณ50 ถึง 100 กรัม ควรเริ่มจากใช้สาร เคมีน้อยๆ ก่อน ถ้าต้มนานหลายชั่วโมงแล้วไม่เปื่อย ค่อยเพิ่ม โซดาไฟ ภาชนะที่ใช้ในการต้ม ใช้ได้ตั้งแต่ ปีป ถังสี เก่า หม้อดินเผา ถังเหล็ก หม้อเสตนเลสยิ่งดี การต้ม เริ่มจากใส่วัตุดิบลงไปในหม้อต้ม ประมาณ 3ใน4 ของภาชนะ เติมน้ำให้ปริ่ม กับ วัตถุดิบ โรยโซดาไฟเกล็ด ทับลงไปบนวัตถุดิบ แล้วก่อไฟต้มน้ำ ควรต้มในที่อากาศถ่ายเทได้ดี ควรอยู่เหนือลม เวลาพลิก กลับ วัตถุดิบ) หลังจากน้ำเดือด ประมาณ ครึ่งชั่วโมง ใช้ไม้กด วัตถุดิบด้านบน ลงไปล่าง
paper.indd 4
12/22/2010 11:30:07
กลับจากล่างขึ้นบน ต้มประมาณ1-2 ชั่วโมง คีบเอาเยื่อไม้ออกมาล้างน้ำ แล้วลองบีบหรือฉีกด้วยนิ้วมือดูว่าเปื่อยเป็น เส้น เล็กๆ ได้ง่าย ถือว่าสุกแล้ว (อาจจะ ราไฟ แล้วเติมน้ำ ทิ้งไว้ข้ามคืน เพื่อให้สุกทั่วถึงก็ได้) หลังจากต้มสุกแล้ว เอาเยื่อออก จากหม้อต้ม แช่น้ำสะอาด เปลี่ยนน้ำ หลายครั้ง จนกว่าจะไม่ลื่นมือ หมดด่างที่ตกค้าง อาจจะใช้เวลา 1-2 วัน หรือแช่ในน้ำ ไหล จะเร็วกว่า (ถ้ายังไม่ได้ใช้งาน ควรบรรจุถุงพลาสติค แช่ในตู้เย็น ในช่องแช่ผักผลไม้ ) เยื่อที่ต้มแล้ว น้ำหนักเยื่อที่เหลือ (เมื่อแห้งแล้ว) จะเหลือประมาณ 35-50 เปอร์เซ็นต์ ของวัตถุดิบ นำเยื่อ(Fiber) นี้ ไป ทุบ ตี ตำ ให้แตกแยก ออกจากกัน เป็นเส้นเล็กละเอียด ก็จะได้ เยื่อกระดาษ(pulp) ไว้ใช้งาน เช่น ทำกระดาษสา100%/ ผสมกับเยื่ออื่นๆ เช่นหนังสือพิมพ์ เส้นด้าย เส้นใยพืชอื่น ๆ ใช้ผสมกับปูนตำ ในงานปูนปั้น ฯลฯ (ถ้ายังไม่ได้ใช้งาน ควรบรรจุถุงพลาสติค แช่ตู้เย็น ในช่องแช่ ผัก จะเก็บได้นานหลายเดือน) หมายเหตุ ถ้าใช้ขี้เถ้าไม้ในการต้ม ควรเตรียมขี้เถ้าให้มากๆ ร่อนเอากากหยาบๆ ออก นำไปต้มให้เดือด ทิ้งไว้ให้ตกตะกอน เอาน้ำด่าง ใสๆ ไปต้ม และ เติมไปเรื่อยๆ จนกว่าจะสุกเปื่อย พืชอื่นๆ ที่ให้เส้นใยที่หาได้ง่ายเช่นต้นกล้วย ก้านกล้วย ต้นข่า หญ้าคา ต้นกก ฟางข้าว ต้นข้าวโพด ผักตบชวา เถาวัลย์ และวัชชพืช ทั้งหลาย สามารถนำมาทำกระดาษได้ทั้งสิ้น โดย ควรใช้ สาร เคมีในสัดส่วนที่น้อยกว่าการต้มเยื่อปอสา เพราะโครงสร้างเส้นใยของพืชเหล่านี้ ไม่แข็งแกร่ง ไม่มียาง ต้มได้โดยง่าย ใช้ เวลาน้อยกว่า แต่ เปอร์เซ็นต์เยื่อที่ดี และเหนียว ก็มีน้อยกว่าด้วย ก่อนต้ม ควรตัด สับ ทุบ ตี ตากแดด หรือหมัก ให้ สาร อินทรีย์อื่นๆ ถูกย่อยสลายไปก่อน เพื่อการประหยัดสารเคมี ฟืน และเวลา การทุบตีเยื่อกระดาษ ทำได้ง่ายๆ เช่น ใส่เยื่อที่ ต้มแล้ว หมาดน้ำ ลงในถุงพลาสติคใส หรือถุงตาข่ายไนล่อน หรือวางบนตาข่ายไนล่อน ทบตาข่ายขึ้นมาทับเยื่อไว้ กันไม่ ให้เยื่อกระดาษกระเด็นเซ็นซ่าน ส่วนใหญ่ เยื่อไม้ที่ต้มด้วยด่างสุกแล้วจะให้สีในโทนน้ำตาล หลากหลายเฉดสี ถ้าต้องการ ให้เยื่อ สะอาดมากขึ้น สีอ่อนลง อาจจะใช้วิธีแช่ในน้ำปูนใส (ทำจากปูนขาวที่ใช้โรยสนาม) แช่ในน้ำสะอาดจนตกตะกอน ใสๆ โซดาไฟเกล็ด(caustic soda สูตรเคมี NaOH) น่าจะมีขายทุกจังหวัด อาจจะหาซื้อได้จากร้านขายเครื่องก่อสร้างใหญ่ ๆ อาจจะถามได้จากคนขายลูกโป่ง กระดาษทั่วไป ที่ใช้พิมพ์ เขียน ทำจากส่วนที่เป็นเนื้อไม้(wood) ,มีเส้นใยสั้น ประมาณ 1-2 มิลลิเมตร ไม่มีความเหนียวทนทาน โดยธรรมชาติ เท่ากับเส้นใยยาว เช่น เยื่อปอสา (ประมาณ1 ซ.ม.) ข่อย ลินิน (linen) ฝ้าย(cotton) ป่าน(hemp) ปอ(jute) ซึ่งนิยมใช้ทำกระดาษคุณภาพสูง สำหรับงานศิลปะ ซึ่งต้องการกระดาษที่ มีอายุยืนยาวหลายร้อยปี สุพรรณ พรหมเสน ไอดิน เปเปอร์ มิลล์ ลำปาง ทำกระดาษมาตั้งแต่ ปี พ.ศ.2529
paper.indd 5
12/22/2010 11:30:08
‘ความเป็นอื่น’ และ ‘ความไม่เป็นอื่น’ เมื่อพื้นที่รองรับกลับกลายเป็นตัวแสดง
อารยา ราษฎร์จำเริญสุข
Kunstforum นิตยสารศิลปะที่มีสัดส่วนเนื้อความสอดล้อไปกับภาพผลงาน หลายๆครั้งมักตั้งหัวข้อเล่มหนังสือราย สองเดือนนำเสนอศิลปะในความสัมพันธ์กับหลายสิ่งส่วนต่างๆ จนชวนนึกขำๆว่า สิ่งที่เรียกว่า ศิลปะ มีพฤติกรรม สำส่อน เที่ยวจับคู่กับ คำจำกัดความอื่นทั่วทิศทุกทางไปหมด ศิลปะกับดนตรี Kunst und Musik ศิลปะกับโฆษณา Kunst und Werbung ศิลปะกับวรรณคดี Kunst und Literatur ศิลปะกับกีฬา Kunst und Sport ศิลปะกับแฟชั่น Kunst und Mode ศิลปะกับเกม Kunst und Spiel นอกจากจับคู่สู่สมกับคำอื่น สร้างความสัมพันธ์นัวเนียถ่ายโอนรักใคร่/ขัดแย้งสู่กันทั้งในโลกศิลป์เดียวกันอย่างดนตรี ภาพยนตร์หรือวรรณกรรม หรือโลกแห่งการแข่งขันบันเทิงอื่นอย่างกีฬาและเกมแล้ว การที่ศิลปะแสดงความหมาย สะท้อนความนัย และหยิบยืมทั้งความหมายความนัยไม่ใช่แค่แฟชั่นและโฆษณา แต่มากไปกว่าในทางสังคมการเมือง ประเด็นศิลปะกับการเมือง ในทศวรรษ 60 และ 80 หรือศิลปะกับเศรษฐศาสตร์ก็ถูกบันทึกไว้ในพจนานุกรมศิลปะ หรือในนิตยสารข้างต้นก็มี Kunst und Wirtschaft นอกจากนี้ในสายทางประวัติศาสตร์ศิลป์ส่วนประเภทงานศิลปะเรายังเห็นการจับคู่ของศิลปะกับสิ่งส่วนเชิงเดี่ยวที่มี ลักษณะและคำเรียกที่ต่างกัน ไม่ว่าจะเป็น land, body, video ต่อท้ายด้วย art เหล่านี้บอกทั้งความคืบเคลื่อนที่ ครั้งหนึ่งศิลปินละทิ้งสตูดิโอ มุ่งสู่ทะเลทรายของเซาท์เวสต์ในอเมริกาเพื่อหาภูมิประเทศเป็นพื้นที่อื่นสำหรับงานของ พวกเขา บอกถึงความคืบเคลื่อนที่ร่างในฐานะผู้กระทำกิจศิลป์ในสตูดิโอพื้นที่ขลังของศิลปิน บัดนี้ตกลงใจขึ้นเวที แสดงเสี ย เองแทนภาพวาด และบอกถึ ง การจำลองต้ น แบบจากปฐมภู มิ ม าสู่ ทุ ติ ย ภู มิ ทั้ ง อย่ า งมี แ บบแผนและไร้ แบบแผนในฐานะภาพฉาย เมื่อศิลปะผูกสัมพันธ์กับ คำเดี่ยว คำใหญ่ หรือคำความหมายผสม กระบวนการทางศิลปะได้จัดการ หมุนคำเหล่านั้น ให้แสดงความหมายมากไปกว่า นอกเหนือกว่า แตกต่าง ย้ำลึกไปกว่าความหมายเดิมของคำเหล่านั้น สำคัญคือศิลปะทำให้เกิดการประจักษ์ถึง ‘ความเป็น’ ที่มากไปกว่าคุณสมบัติทางรูปลักษณ์ของคำเหล่านั้น หรือที่จริง หมายถึงตัวสิ่งส่วนนั้นๆ ศิลปะทำให้ความหมายของคำว่า land, body และ video เคลื่อนเลื่อนไปพร้อมกับการก้าว เคลื่อนเป็นไปแบบอยู่ไม่สุขของศิลปะ ถ้ า ทิ ว ทั ศ น์ และรู ป ร่ า งคน เคยเป็ น เพี ย งรู ป ลั ก ษณ์ ที่ ถู ก วาด เคยขยั บ เปลี่ ย นไปตามลั ก ษณะต่ า งๆในสายทาง ประวัติศาสตร์ศิลป์คิวบิสม์ ฟิวเจอริสม์ ในทางการมองเห็น Land Art และ Body Art ได้เลื่อนจากการเป็นสิ่งที่ถูกวาด และทำการขยายพื้นที่ของศิลปะออกไปไกลกว่าที่จะหมายถึงพื้นดินถิ่นที่หนึ่ง หรือร่างกายเดี่ยว/หมู่ในฐานะวัตถุ ศิลปะ เมื่อ art เข้าร่วมกับ land จึงไม่เพียงแต่การมองเห็นรูปลักษณ์พื้นที่หรือพื้นที่จริงในฐานะงานศิลปะ แต่คือการสัมผัส ความเป็นพื้นที่ที่แตกต่างจากเดิม คืออิสรภาพที่มากไปกว่าการจำลอง คือการสามารถแสดงตัวของ ‘ตัวโจทย์/ ต้นแบบ’ เอง เมื่อ art เข้าร่วมกับ body นักทฤษฎีศิลปะ François Pluchart (1937-1988) ได้ให้ถ้อยแถลงไว้ใน ค.ศ.1974 ถึงว่า “Body Art ได้นำไปสู่การสำแดงสิทธิที่ตรงไปตรงมาถึงส่วนประสบการณ์ทางร่างกายในฐานะความจำเป็นเชิง การเมือง”
paper.indd 6
12/22/2010 11:30:08
‘ร่าง’ ซึ่งเรารู้ โดยเฉพาะใต้ความหมายทางคำสอนในพุทธศาสนา ว่าเป็นพื้นที่แห่ง ราคะ ทุกข์ ความเจ็บป่วย และความ ตาย ที่การจดจารความหมายนี้ได้ถูกย้ำในศิลปะทั้งอ้อมๆผ่านภาพเหมือนศิลปินจากหนุ่มสาวจนแก่หรือในนิทรรศการ ว่าด้วยร่างที่เป็นตัวแสดงชีวิต เพศจนถึงความตาย แต่ ร่าง ทั้งในงานศิลปะและความเป็นจริงก็เคลื่อนไปสู่กิจกรรมกลุ่ม อย่างการประท้วง ปฏิวัติ สงคราม ส่วนใหญ่เป็นฝั่งฝ่ายข้างน้อย ถึงจุดนี้ Body Art ก็พา ร่าง ที่เคยถูกจำลอง/วาด ไกล ไปจากการวิจารณ์เชิงสุนทรีย์ที่คุ้นชิน พาไปไกลจนไม่สุนทรีย์อีกต่อไปเมื่อศิลปินชายชาวเวียนนิสวิ่งงับฉี่ของอีกศิลปิน หนึ่งบนเวทีที่ต่างเปลือยกันทั้งคู่ หรืออีกนายหนึ่งนอนชักว่าวร้องเพลงชาติออสเตรียในวันที่ถูกเชิญมาบรรยายจนถูกขัง คุก คำอย่าง psycho - physischen Konditionen หรือเงื่อนไขทางจิต – กายถูกนำมาพิจารณาผลงานเพอร์ฟอร์ม้านซ์ ชักชวนให้ศิลปะถอยห่างจากสุนทรียรส ไปหาเพื่อนใหม่ในศาสตร์อื่นอย่างจิตวิทยาและการเมือง เมื่อ land + body + art นำไปสู่ รอยพิมพ์บนผิวอก ที่ศิลปินวางหนังสือบนอกเปลือยแล้วนอนให้แดดอาบผิวบน ชายหาดในผลงาน Reading Position for Second Degree Burning ในปี 1970 เกิดร่องรอยของกิจกายขึ้น ‘กิจกาย’ (physichen Aktion) ยังขยายการผสมคำในถ้อยแถลงของ Vito Acconcis ซึ่งมีคำ Body – Performance และ body ที่ เป็นกลไกของ performance ก็ถูกส่งสู่ video performance คำเดี่ยว land body video ได้ถูกร้อยต่อ ผูกโยง ขยาย เชื่อม ในสายทางศิลปะเปรียบเทียบกับ Netzkunst ประเภทงาน ศิลปะที่มีคำเรียกโดยเอาคำสองคำมาประชิดกัน ซึ่งถูกเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ศิลปะในอินเตอร์เน็ต (Kunst im Internet) ทั้งแตกต่างและคล้ายกัน ศิลปะในพื้นที่กระดาษที่ไม่เคยให้ความสำคัญกับคำ ‘กระดาษ’ ในฐานะคำเรียกเช่นงานวาด เส้น ภาพพิมพ์ ภาพวาดสีน้ำ ก็สามารถกลับค่าเป็น กระดาษในฐานะงานศิลปะได้ น่าสนใจว่า การตั้งหัวข้อโดยเอาสิ่งส่วนหนึ่งเป็นที่ตั้งหรือเป็นโจทย์ให้ขบคิดตามอำเภอใจได้เปิดโอกาสให้คนทำงาน ศิลปะกลุ่มหนึ่งละทิ้งความเคยชินในการมองกระดาษ ในฐานะพื้นที่รองรับรูปที่คุ้นชินจนละเลย น่าสนใจว่าในการ ทำงานศิลปะของคณาจารย์ในภาควิชาฯ คณะวิจิตรศิลป์ครั้งนี้จะเปิดโอกาสให้กระดาษกับศิลปะจูงมือกันคืบเคลื่อนไป หาคำและนัยหมายอื่นมากน้อยอย่างไร ไม่ได้เป็นเรื่องยากอะไรในเมื่อตัวแบบสำหรับวาดอย่าง land และ body ส่วนหนึ่งได้ละจากผืนผ้าใบมาแสดงการปรากฏ ของตัวสิ่งส่วนนั้นเอง ละจากกรอบภาพมาปรากฏในจอฉาย กระดาษในฐานะพื้นที่รองรับมาเสมอจะชักชวนทั้งคน ทำงานศิลปะและผู้ชมไปสู่การสำเหนียกศิลป์ที่แตกต่างไปจากเดิม ไม่ใช่เพื่อหาความใหม่ แต่เพื่อก่อเกิดความเป็นไปได้ อื่นๆ ที่เร้าใจคอศิลป์และนักวิชาการศิลป์ โจทย์นี้ง่ายกว่าการก้าวกระโดดไปตั้งวัสดุอื่นเป็นหัวข้อการทำงาน วัสดุอื่นที่ให้นัยของการเป็นปฏิปักษ์มากกว่ากระดาษ วัสดุคุ้นเคยของคนทำงานศิลปะ (เช่นจอทีวีสำหรับดูข่าว ดูละคร ไม่ใช่เอาไว้ทำศิลปะ เตียงเอาไว้นอนไม่ใช่ไว้ทำศิลปะ แต่คงไม่ลืมว่า โถฉี่ ได้สร้างประวัติศาสตร์ให้วงการมาแบบที่ไม่มีใครลบล้างหักรอยได้เลย) แต่โจทย์นี้ยากตรงที่ ‘เพราะ คุ้นเคย ฉันจึงอาจก้าวไม่ไกลไปจากเดิม’ การหักมุมมีอีกที่ตรงนี้ (หักบริบทไม่ใช่หักที่ตัวงาน) ตรงที่... การตั้งหัวข้อเพื่อ หา ‘ความเป็นอื่น’ ถูกหักมุมด้วยความ ‘ไม่เป็นอื่น’
paper.indd 7
12/22/2010 11:30:08
PAPER TALK KAMOL TASSANANCHALEE SUPAN PRONSEN BANNARAK NAKBUNLUNG PONGDEJ CHAIYAKUT ARAYA RASDJARMREARNSOOK YUPHA MAHAMART RICHARD DAVID GARST CHAIYOT CHANDRATITA ROSSALIN GARST PAKORNPATARA JANTHAKHAISORN THONGCHAI YUKANTAPORNPONG CHAIVUT RUAMRUDEEKOOL KITTI MALEEPHAN TIPPAWAN THUNGMHUNGMEE SONGKARN SOODHOM KADE JAVANALIKIKORN DAVID BURKE CHATCHAWAN NILSAKUL JULIA SCHWADRON CHALONGDEJ KUPHANUMAT JAN THEO DE VLEESCHAUWER MORAKOT KETKLAO PADUNGSAK KOCHSOMRONG SUPACHAI SATSARA THATTCHAI HONGPHAENG SUGREE GASORNTGATSARA SUTTHISAK PHUTHARARAK PEERAPONG DOUNGKAEW PAKIT BUNSUT UDOM CHIMPUKDEE SOONTORN SUWANHEM IKUO EISO TAWATCHAI PUNTUSAWASDI KOSIT JUNTARATIP MARUT THAUMBOONREANG
paper.indd 8
12/22/2010 11:30:08
paper.indd 9
12/22/2010 11:30:14
paper.indd 10
12/22/2010 11:30:20
paper.indd 11
12/22/2010 11:30:26
paper.indd 12
12/22/2010 11:30:29
พงศ์เดช ไชยคุตร Pongdej Chaiyakut paper.indd 13
นำเสนอความเป็นจริงที่หนีไม่พ้นปัญหาทางสังคม ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมของมนุษย์ อันได้แก่ความ โลภ โกธร หลง การแสวงหาอำนาจ ความเห็นแก่ตัว การเอารัดเอาเปรียบ และความเหลื่อมล้ำทาง สังคม สะท้อนให้เห็นถึงมุมมืด และจุดบอดของชีวิต “The Darkness of Bruegel”, Paper Art, Installation Variable
12/22/2010 11:30:35
อารยา ราษฎร์จำเริญสุข Araya Rasdjarmrearnsook ถ้าเราถูกสอนว่า วัตถุนิ่ม สีขาว เปื่อยยุ่ย ขาดได้ที่แขวนอยู่นี้ คือกระดาษ เราก็จะเรียกสิ่งสีขาวนวลนี้ว่ากระดาษ แต่เราไม่ได้ถูกสอนมาว่าอย่างนั้น เราจึงใช้คำอื่นเรียกชิ้นนิ่มสีขาวนี้ แต่เราอาจมองวัตถุสีขาวนี้ว่าคล้ายๆกระดาษ เพราะกระดาษแผ่นแรกที่เรารู้จักมักเป็นสีขาว ฉีก ขาดได้ ไม่คงทน วัตถุชิ้นขาวนี้จึงคล้ายกระดาษ แต่ก็มีกระดาษอายุเป็นพันๆ ปีที่ถูกเก็บไว้ให้คงทน ไม่ใช่เพราะกระดาษนั้นสำคัญ แต่เพราะกระดาษรองรับความหมายสำคัญ เช่นเป็นหลักฐาน สำคัญเท่าๆ กับให้การเรียนรู้ สิ่งนุ่มๆ สีขาวนี้ใช้ บัง หุ้ม ห่อ กระดาษก็ใช้บัง หุ้ม ห่อได้ แต่กระดาษถูกใช้เขียนมากกว่า ถูกเขียนแล้วก็ถูกอ่าน เราจะอ่านสิ่งนุ่มสีขาวนี้ได้หรือไม่ ได้ เราอ่านว่า มันนุ่มและเก่าจึงขาด บางทีเราอ่านเลยไปถึงว่า มันอ่อนโยน อ่อนโยนเพราะแสงส่องผ่านได้รางๆในกลางวัน มีสีที่กลืนจางไปกับห้องสีขาวๆ เหมือนปรับสีไปตามความเหลืองนวลของแสงไฟ อ่อนโยนเพราะ ไม่ขืนทานการพัดของสายลม เมื่อสิ่งนุ่มขาวถูกอ่านว่าอย่างนี้ ความหมายจึงเลย ความเป็นกระดาษไป แต่ความเป็นกระดาษก็เลยวัตถุนุ่มขาวนี้ไปเช่นกัน ต่างก็เลยกันไป พบกันก็แต่ในความคิด ในที่นี้เป็นความคิดของคนทำงานศิลปะ คนหนึ่ง
ผ้า กระดาษ หมอก, 2553, สgตนเลส ผ้า กระดาษ กระจก
paper.indd 14
ถ้าการเขียนจบลงตรงคำว่า คนหนึ่ง คนอาจสำคัญกว่าวัตถุทั้งสองสิ่งที่เขียนถึงมาพักหนึ่ง แต่เรากำลังเพ่งมองสิ่งๆ หนึ่ง หรือสองสิ่ง ไม่ใช่ตัวเราเอง เหมือนกับสถานการณ์ที่ครูบอกนักเรียนในสายหมอกว่า “ให้เรียนรู้หมอก ไม่ได้ให้เรียนรู้ชีวิต” ................
12/22/2010 11:30:38
ยุพา มหามาตร Yupha Mahamart ไม่มี ไม่มี ไม่มี ไม่มี
คืนวันเพ็ญ แสงจันทรา แสงหิ่งห้อย แม้เพียงเสียงกระซิบใดๆ
October sleep, Blue print, Intaglio, Woman hair, 66 x 31 cm.
paper.indd 15
12/22/2010 11:30:40
ริชาร์ด กาสต์
Richard David Garst My work is involved with collaboration. Usually with other artists. Sometimes with nature and/or time. I found this Sa material in a pile of scrap in my friends studio. I froze its shape I’ve had it for several years, waiting for an opportunity to show it.
? #%@&*, Sculpture; Sa Fiber and Polyurethane, 87 x 33 x 9 cm.
paper.indd 16
12/22/2010 11:30:46
ไชยยศ จันทราทิตย์ Chaiyot Chandratita paper.indd 17
Untitle, paper work, 56 x 76 cm.
12/22/2010 11:30:52
paper.indd 18
12/22/2010 11:30:54
ปกรณ์ภัทร์ จันทะไข่สร Pakornpatara Janthakhaisorn paper.indd 19
ช้างยิ้ม-ครอบครับสุขสันต์ จากวันว่างของความอิ่มเอมใจ ช่วงเวลาแห่งความสุขที่ เกิดขึ้นได้เสมอๆ หากใจเราสงบ ไม่ละโมบ ไม่ดูถูก ไม่เหยีดหยามผู้ใด ไม่แบ่งกลุ่ม ไม่ยึดมั่นถือมั่นในตนโดยหลงตนว่าเหนือกว่าอื่นใด...ผู้อื่นผู้ใดด้อยกว่าตน ....งานศิลปะสำหรับข้าพเจ้าแล้วคือการปลดปล่อยสบายๆ มีความสุข แล้วให้...มือ ใจ และจินตนาการประสานเป็นหนึ่งเดียว ไม่ได้ต้องการสร้างโลกหรือเปลี่ยนโลก... เพียงแต่อยากให้ผู้คนให้คุณค่าในสิ่งที่ตัวเองสร้างสรรค์ขึ้นอย่างภาคภูมิใจ chang yim happy family 1, เปเปอร์มาเช่, แปรผันตามพื้นที่
12/22/2010 11:30:58
ธงชัย ยุคันตพรพงษ์ Thongchai Yukantapornpong paper.indd 20
การมองเห็นของเรามักถูกกระตุ้นให้สนใจและพึงพอใจในรูปแบบที่เป็นระเบียบของหน่วย ต่างๆ ซึ่งปรากฏอยู่ในธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยการทำงานของระเบียบที่เกิด ขึ้นนั้น มักจะมาพร้อมเพรียงกับความรู้สึกถึงความงาม และประสบการณ์นี้อาจช่วยเผยให้ เข้าใจในความงามทางศิลปะที่ซ่อนอยู่ในระเบียบของแบบรูปก็ได้ “Resonance of Words”, 2010, 57 x 57 cm.
12/22/2010 11:31:01
ชัยวุฒิ ร่วมฤดีกูล Chaivut Ruamrudeekool paper.indd 21
อาจารย์บรรณรักษ์ นาคบัลลังก์ ศึกษาคิดค้นการทำกระดาษจากรังไหม เป็นกระดาษที่มีสีเหลืองทอง สวยงาม เพื่อถวายงานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ในการทำสมุ ด ลงพระนาม พิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต รของมหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ และสมุดลงพระนามในวโรกาสต่างๆ อาทิ การจัดทำหนังสือจากกระดาษรังไหม ให้กับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นที่พอพระหฤทัย ทรงรับสั่งว่าเป็นกระดาษ ที่มี ความนุ่ม และสวยงาม นำความปราบปลื้มมาสู่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และครอบครัวนาคบัลลังก์ “อาจารย์บรรณรักษ์ นาคบัลลังก์”, กระดาษรังไหม+ทองคำเปลว, 33 x 26 ซ.ม.
12/22/2010 11:31:05
paper.indd 22
12/22/2010 11:31:10
ทิพวรรณ ทั่งมั่งมี
Tippawan Thungmhungmee paper.indd 23
ในพุ่มไม้ดอกขาว หอมกลิ่นประพิมประพาย ยิ่งนานนับวัน ก็ยิ่งทวีความหอม ประพิมประพาย, งานฉลุกระดาษสา, 47 x 42 ซ.ม.
12/22/2010 11:31:14
สงกรานต์ สุดหอม Songkran Soodhom paper.indd 24
“เมตตา – กระดาษ”, 2010, เทคนิคผสม, 30 x 30 x 50 ซ.ม.
12/22/2010 11:31:19
เกศ ชวนะลิขิกร Kade Javanalikikorn paper.indd 25
Paper on Electronic Box, Ready made object, 80 x 30 cm.
12/22/2010 11:31:24
David Burke My recent work is influenced by the dramatic landscape that surrounds the city of Chiang Mai, Thailand. They are not direct depictions of a specific place; instead each work fuses several experiences and spaces together into one image. While the subject matter of these works explores and often celebrates nature, the artificiality of the materials contradicts this idea. The use of synthetic material is a commentary on man’s impulse to consume, contain & modify the natural landscape in order to accommodate our own needs and desires. Much like a pre-packaged item one would buy at the market, the paintings themselves are artificial landscapes that have been encased in plastic. They represent a shrink-wrapped rendition of nature, preserved for the viewer’s consumption. Whispers in the Sky, 2010, acrylic & resin on canvas, 90 x 60 cm.
paper.indd 26
12/22/2010 11:31:26
ชัชวาล นิลสกุล Chatchawan Nilsakul
นำเสนอประสบการณ์การมองเห็นของรูป ทรง 2 มิติ ในรูปทรง 3 มิติ ที่เกิดจากการ สร้ า งมิ ติ ล วงผ่ า นการวาดและตั ด บน กระดาษ Slow-motion (M), วาดเส้น, ตัดบนกระดาษ, 120 x 100 cm.
paper.indd 27
12/22/2010 11:31:33
Julia Schwadron paper.indd 28
My most recent paintings explore material possibilities through which an image can arise. Often, I scratch back through layers of paint in order to reveal an image through an imagined screen which is really the remnants of glazes above. In my piece, “Thailand Curtain,” I am using the surface of the paper as a place to put a drawing, but also allowing the paper itself to become 3dimensional, and therefore, sculptural. The shadows created by the folds of the “curtain” create yet another layer of the drawing in space. An image of a curtain asks the viewer to think about surface and light, while also considering what is covered up and what is revealed. “Thailand Curtain”, 2010, watercolor on paper, 56 x 56 cm.
12/22/2010 11:31:39
ฉลองเดช คูภานุมาต Chalongdej Kuphanumat paper.indd 29
ตำนานแม่กาเผือกที่แพร่หลายอยู่แถบอุษาคเนย์ ซึ่งนิยมเทศน์ช่วงเข้าพรรษา ก่อให้เกิด คติการสร้างศาสนสถานอันเนื่องกับพระพุทธเจ้าสี่พระองค์ที่ตรัสรู้ในภัทรกัปนี้ อันได้แก่ พระกุกกุสันธะ พระโกนาคมนะ พระกัสสป อดีตพระพุทธเจ้าสามพระองค์ และพระ โคตมะ พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน ซึ่งสร้างแรงบันดาลใจให้แก่บรรดาช่างศิลปิน เพื่อการ แสดงออกมาเป็นผลงานสร้างสรรค์ในรูปองค์รวมทางสถาปัตยกรรม จิตรกรรม และ ประติ ม ากรรม สะท้ อ นสุ น ทรี ย ภาพที่ มี ค วามหลากหลายของแต่ ล ะกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ใ น ภูมิภาคนี้ กักกุสันโธ โกนาคม กัสสปะ โคตมะ, ฉลุกระดาษ, 35 x 75 ซ.ม.
12/22/2010 11:31:43
Jan Theo De Vleeschauwer
“Paper”, 2010, Oil on canvas, 60 x 49.5 cm.
paper.indd 30
12/22/2010 11:31:48
มรกต เกษเกล้า Morakot Ketklao
Book is a grateful area, Book being as space of knowledge and imagination, as space of dreaming and happiness. หนั ง สื อ เป็ น พื้ น ที่ ที่ วิ เ ศษ หนั ง สื อ เป็ น ได้ ทั้ ง พื้นที่ทางความคิดและจินตนาการ พื้นที่ของความฝันและความสุข ห้องในหนังสือ The Room is in the Book, Mixed Media, 35 x 25 cm.
paper.indd 31
12/22/2010 11:31:50
ผดุงศักดิ์ คชสำโรง Padungsak Kochsomrong paper.indd 32
การเสนอข้อมูลข่าวสาร ผ่านสื่อมวลชน ชนิดที่เป็นสิ่งพิมพ์ (หนังสือพิมพ์ ) เป็นสิ่งที่ จำเป็นและมีผลต่อกระบวนการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงทางสังคมตลอดเวลาที่ผ่านมา โดยเฉพาะสังคมไทย การดำรงอยู่ของข้อมูลรวมถึงการผลิตซ้ำ ทำให้เกิดการทบทวนและ อ้างอิง ข้อมูล ข้อมูลจึงมีตัวตน มีกาละและเทศะ ข้าพเจ้าจึงต้องการนำเสนอการมีตัวตน กาละ เทศะของข้อมูล โดยผ่านผลงานศิลปะแสดงสด (Performance art) “People Let’s Not Hate Each Other”, performance art, 40 นาที
12/22/2010 11:31:52
ศุภชัย ศาสตร์สาระ Supachai Satsara paper.indd 33
12/22/2010 11:31:54
ธัชชัย หงษ์แพง Thattchai Hongpaeng paper.indd 34
“This is The Symbol of Harvest.It’s Form Reflect A Good Harvest of Rice.” Harvest, Bamboo, Skin of Baffalo, Paper, 200 x 200 x150 cm. (Height)
12/22/2010 11:31:56
สุกรี เกษรเกศรา Sugree Gasorngatsara paper.indd 35
แสดงลักษณะของเส้นที่เกิดขึ้นอย่างอิสระโดยกระบวนการเทคนิคผสม ใช้ยางพาราสด ราดลงบน กระดาษสาให้เกิดปฏิกิริยาไหลอย่างอิสระ กำหนดทิศทางของเรื่องราวจากคนเป็นโครงสร้างแบบ คร่าวๆ แต่จะควบคุมการไหลน้อยที่สุด ภาพที่เกิดขึ้นจะไม่มีการปรุงแต่ง เส้นที่เกิดขึ้นเป็นรูปทรง ส่วน ใหญ่เกิดขึ้นจากเส้นตรง เพราะเส้นดังกล่าวสามารถบ่งบอกถึงพื้นฐานเทคนิควิธีการอย่างอิสระ เรียบ ง่าย ฉับพลันและตรงไปตรงมา มิติแห่งเส้น, ยางพาราบนกระดาษสา, 105 x 132 cm.
12/22/2010 11:31:56
สุทธิศักดิ์ ภูธรารักษ์ Thattchai Hongpaeng
ความงามบนใบหน้ า และร่ า งกายของหญิ ง สาวใน แต่ละยุคสมัยของไทยอาจแตกต่างกันไปตามแต่ละ ช่วงวัฒนธรรม ยุคสมัยหนึ่งความงามของหญิงสาว อาจจะต้องขาวอวบอีกสมัยหนึ่งอาจขาวใสบอบบาง อิอิ หรืออีกสมัยหนึ่งเธอเหล่านั้นจะต้องขาวผ่องเป็น ยองใย ฮา... แต่ความงามใดที่จะเป็นนิรันดร์อยู่คู่กับ จิตใจของพวกเธอโดยไม่มีกฎเกณฑ์ของคณะกรรมการ วัฒนธรรมคอยชี้ขาดในเรื่องความงามเหล่านั้น ความงามอันเป็นนิรันดร์ในอุดมคติของหญิงสาวจะ เป็นฉันใดในทัศนคติของชายหนุ่มแก่ๆ อย่างผม ขอ เชิญติดตามไปกับจินตนาการในการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะของผม ที่พูดถึงความงามในแง่ลบของสังคมร่วม สมั ย ในประเทศไทยที่ มี ถึ ง เธอเหล่ า นั้ น ด้ ว ยสายตา แมวเซาๆ อย่างผม อิอิ “ฝันถึงความงาม”, 2553, ปั้นหล่อกระดาษ, ผมปลอม, เล็บฟ้อน, ปิ่นปักผม
paper.indd 36
12/22/2010 11:31:59
พีระพงษ์ ดวงแก้ว Peerapong Doungkaew paper.indd 37
Art - Festival 2010, Installation Drawing on paper, Dimension variable
12/22/2010 11:32:02
ปกิต บุญสุทธิ์ Pakit Bunsut paper.indd 38
เส้นและโครงสร้าง ก่อให้เกิดจินตนาการทางรูปทรง และการเคลื่อนไหวเป็นไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด Stupa, กระดาษ, 110 x 150 x 56 ซ.ม.
12/22/2010 11:32:05
อุดม ฉิมภักดี
Udom Chimpukdee อะไรก็แล้วแต่ล้วนเกิดจากการปรุงแต่งของจิต ให้เราเห็นเป็น ไปตามจิตกำหนด But are caused by the mental preparations that we see is the mind set. เปลือกนอกเปลือกใน, กระดาษสา, ขนาดเป็นไปตามพื้นที่ในการจัดวาง Outer shell in, Mulberry paper, Size According to the layout area
paper.indd 39
12/22/2010 11:32:10
สุนทร สุวรรณเหม Soontorn Suwanhem paper.indd 40
ความเปลี่ยนแปลงชั้นบรรยากาศของโลกทำให้เกิดการแปรปรวนของระบบนิเวศน์ในธรรมชาติและ สภาพแวดล้อมที่เกิดผลร้ายจากภัยธรรมชาติ มีความร้ายแรงทุกขณะเหมือนเป็นภัยร้ายเงาตามตัว ไปพร้อมกับความเจริญด้านวัตถุในสังคมปัจจุบันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และนับวันยิ่งทวีความรุนแรง เพิ่มขึ้นตามความตื่นตัวของโลกเสรีทางปัญญาและไร้พรมแดน ที่ไม่ให้ความสำคัญกฎเกณฑ์ที่ควร จะเป็น ในฐานะเป็นมนุษย์คนหนึ่งที่อาศัยอยู่บนโลก เห็นความบอบซ้ำที่เกิดขึ้นในธรรมชาติเป็นภัย ร้ายอย่างน่าสะพรึงกลัวจึงทำให้เรากลับถอยมาดูวิถีชีวิตแบบบรรพบุรุษที่มีความเรียบง่าย อาศัย ชีวิตควบคู่กับธรรมชาติและสภาพแวดล้อม เป็นการพึ่งพากันตามความพอเหมาะพอดีไม่มากไม่น้อย ดุลยภาพชีวิตและธรรมชาติจึงเดินไปด้วยกันอย่างมีความสงบและเกิดสันติได้
12/22/2010 11:32:14
paper.indd 41
12/22/2010 11:32:23
ธวัชชัย พันธุ์สวัสดิ์ Tawatchai Puntsawasdi paper.indd 42
“Never Give Up”, 2007, Paper, 40 x 90 x 60 cm.
12/22/2010 11:32:25
โฆษิต จันทรทิพย์ Kosit Juntaratip paper.indd 43
ECDYSIS - WHERE THERE IS LOVE THERE IS SUFFERING, 3D Scan - konica minolta vivid 9i by Narumon Kiti, Programming Thanapong Phromdee, Photos by Parisut Sri-apai
12/22/2010 11:32:31
มารุต ธรรมบุญเรือง
Marut Thaumboonreang paper.indd 44
สัมพันธ์ภาพ ระหว่างการทำงานประจำ...........................และ.........................งานศิลปะ? ก.........ลิ้............ง......... = กลิ้ง....กลิ้ง.....กลิ้ง มันต่อไปเถอะ......................มารุต “Mine…….Rolers”, Collage on Pipe Paper, Installation variable
12/22/2010 11:32:36
PONGDEJ CHAIYAKUT
Born 21 October 1954, Bangkok, Thailand Office Faculty of Fine Arts, Chiangmai University, Chiangmai 50200 Education 1973-78 B.F.A. Printmaking, Silpakorn University, Bangkok 1980-83 M.F.A. Printmaking Silpakorn University, Bangkok 1987-88 Academy of Fine Art, Karkow, Poland, Under Prof. Stanislaw Wejman Awards 3 rd Prize (Print), 29 th National Art Exhibition, Bangkok • Honorable Prize , International Art Exhibition from Bata , Co.,Ltd. • Poland embassy Grant, 1987-1988 • Freeman fellowship U.S. A., 1998 (Vermont Studio Center) • Selected Artist for Project in celebra tion of King 6 th cycle Birthday Anniversary, 1999 • Silpa Bhirasri Grant for artist. 1993-2001 Dean of Faculty of Fine Art,Chiang Mai University. 2002-2005 Director of The Center for promotion of Art and Culture, Chiang Mai University. One Man Exhibitions 1988 Youth Art Gallery, Hiroshima Prefecture Japan (Three places) 1993 Art Forum Bangkok. 1998 Vermont Studio Center Art Gallery, U.S.A. 2000 Num Thong Gallery, Bangkok. 2002 National Art Gallery, Chao-Fa, Bangkok • Chiang mai University Art Museum, Chiang mai. 2003 9 Art Gallery, Chiang Rai. 2006 Royal college of Fine art, Konsthogskolan Stockholm, Sweden. 2007 The office of the E.U. deligation, Bangkok • Jamjuree Art Gallery, Chulalongkorn University • 9 Art Gallery, Chiang Rai. 2008 The Art Gallery, Faculty of Fine Arts, Chiang mai University, Chiangmai. 2010 The Darkness of Bruegel Jamjuree Art Gallery, Chulalongkorn University. paper.indd 45
ARAYA RASDJARMREARNSOOK
Born in Trad Thailand. Lives and works in Chiang Mai, Thailand Araya Rasdjarmrearnsook received MFA from Silpakorn University, Bangkok, in 1986, Diplom Fuer Bildende Kuenste from Hochschule Fuer Bildende Kuenste Braunschweig, 1990 (DAAD) and Meisterschuelerin, Hochschule Fuer Bildende Kuenste Braunschweig Germany in 1994. Solo Exhibitions In this circumstance, the sole object of attention should be the treachery of the moon, Ardel Gallery, Bangkok (2009); The Two Planets Series, Gimpel Fils Gallery, London (2008); In a blur of desire, 100Tonson Gallery, Bangkok (2007); Great Times Message, 100Tonson Gallery, Bangkok (2006); Lament, Tensta Konsthall, Stockholm (2003); At Nightfall Candles Are Lighted, Contemporary Art Museum, Chiang Mai and Chulalongkorn University Art Gallery, Bangkok (1999,2000); Lament of Desire, ArtPace, San Antonio, Texas, and the Faculty of Fine Art Gallery, Chiang Mai, Thailand (1998-99); Numerous solo exhibitions at National Gallery, Bangkok, including: Why Is It Poetry Rather than Aware ness? (2002); Lustful Attachment (1995); Water Is Never Still (1994); Stories in Room (1992); and Graphic Notes (1987). Group Exhibitions Video Art Biennale, The Center for Contemporary Art, Tel Aviv, Israel (2010); 1st Nanjing Biennale, Nanjing, China (2010); 1 st Ural Industrial Biennial of Contemporary Art, National Center for Contemporary Art, Ekaterinburg Branch, Russia (2010); Rainbow Asia, Hangaram Art Museum of Seoul Arts Center, South Korea (2010); Beauty of Distance,
YUPHA MAHAMART
Born 1969 in Thailand Education 1992 B.F.A. 2nd, Hon., (Graphic Art), at Silpakorn University, Bangkok, Thailand. 1997 M.F.A. (Graphic Art), at Silpakorn University, Bangkok, Thailand. • Receiving a scholarship to attend an arts programmer, The Royal Collage of Art, London, England ,Frence and Netherland. • Art Instructure at the Department of Fine Arts, King Mongkut’s Institute of Technology, Laddrabong, Bangkok. • Art Instructure at the Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Chiang Mai. 2004 Receiving a research scholarship,Creative Printmaking forVisually Impaired Children 2006 Artist Resident to The Asian Masters Network, Asian Culture Partnership Initiative of The Korean Ministry of Culture & Tourism, Republic of Korea. 2008 Receiving a research scholarship, Art Therapy and Mental Rehabilitation for females Inmates. 2009 Artist Resident to “The Okke tomodachi No Wall - exhibition” Art Exhibition and Workshop”, Kyoto, Japan. Address 239/22 Ang Kaew Village, Huey Kaew Rd. Tambon Suthep, Chiang Mai, Thailand 50202 Yupha_c@Yahoo .com,Mae.manee@hotmail.com Selected Solo Exhibitions: 1999 Art Exhibition of Print Works,Mai Lerk See Gallery, Bangkok. 2005 Art Exhibition “Sound See Hear..”, 9Gallery, Chiang Rai. 2006 Art Exhibition “Imprint”,Chiang Mai. Selected Group Exhibitions 2009 Art Exhibition “No Wall Art Exhibition and Workshop”, Kyoto, Japan. 2008 Art and Environ ment workshop with Maekhong River school, Chiang Mai.
RICHARD DAVID GARST
Born Bartlesville, Oklahoma, U.S.A., 1948 Education 1979 M.F.A. Printmaking, Cranbrook Academy of Art, Bloomfield Hills, Michigan, U.S.A. 1974 B.F.A. Painting, Kansas City Art Institute, Kansas City, Missouri, U.S.A. Work Experience Teaching 2001-Present Guest Instructor, Department of Printmaking, Faculty of Fine Art,Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. Printing / Collaborations 2001-1994 Artist Proof Limited Editions, Bangkok / Chiang Mai 1992 -91, 84 New City Editions, Venice, California, U.S.A. 1991, 83-80 Gemini G.E.L., Los Angeles, California 198685 Petersberg Press Inc., New York City, New York 1984-83 Cirrus Editions Limited, Los Angeles, California Artists Printed Jean Michael Basquet, Jonathan Borofsky, Francesco Clemente, Ron Davis, Jim Dine, Jedd Garet, Philip Guston, Michael Heizer, David Hockney, Jasper Johns, Roy Lichten stein, DanielLibeskind, Bruce Nauman, Robert Ra u s c h e n b e r g , J a m e s Rosenquist, Richard Serra Sculpture Editions Frank Gehry, Claus Oldenburg Invitational / Group Exhibitions 2010 The 7th Thai-Vietnam Contem porary Art Exhibition 2010, By Lecturers of 11 Universities from Thailand and Vietnam • International Art Exchange, Thailand / USA, Chiang Mai University A r t C e n t e r , C h i a n g M a i • 6 th International Art Festival Workshop in Thailand, Pho-Chang Academy of Arts, Rajamangala University of Technology Rattanakosin, Bangkok.
12/22/2010 11:32:36
ไชยยศ จันทราทิตย์
เกิด พ.ศ. 2502, กรุงเทพมหานคร การศึกษา 2525 ปริ ญ ญาตรี ศิ ล ปบั ณ ฑิ ต (ภาพพิ ม พ์ ) มหาวิทยาลัยศิลปากร 2532 ปริญญาโท ศิลป มหาบัณฑิต (ภาพพิมพ์) มหาวิทยาลัยศิลปากร กรุงเทพฯ ประวัติการทำงาน 2538 อาจารย์ ระดั บ 6 สาขาวิ ช าภาพพิ ม พ์ ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2541 อาจารย์ ระดับ 7 สาขาวิชาภาพพิมพ์ ภาควิชา ภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม คณะ วิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นิทรรศการ 2540 นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ์ฯ ศิลปะแห่ง รัชกาลที่ 9 เนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระ เจ้ า อยุ่ หั ว ทรงครองสิ ริ ร าชสมบั ติ ครบ 50 ปี ศูนย์ประชุมสิริกิต์ กรุงเทพมหานคร 2542 การ แสดงผลงานวิชาการของคณาจารย์ ภาควิชา ภาพพิมพ์ จิตรกรรมและประติมากรรม คณะ วิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พิพิธภัณฑ สถานหอศิลป์แห่งชาติ กรุงเทพ มหานคร, หอ นิ ท รรศการศิ ล ปะวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ 2542 การแสดงผลงานศิ ล ปกรรม เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนพรรษา ครบ 6 ร อ บ ห อ นิ ท ร ร ก า ร ศิ ล ป ป แ ฒ น ธ ร ร ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2544 นิทรรศการผลงาน ภาพพิมพ์ขนาดเล็ก ครั้งที่ 4 คณะวิชาศิลบป กรรม สถาบั น เทคโนโลยี ร าชมงคลพายั พ เชี ย งใหม่ 2545 นิ ท รรศการศิ ล ปะร่ ว มสมั ย “สายสั ม พั น ธ์ ศิ ล ปิ น ออสเตรเลี ย น-ไทย” หอ นิ ท รรศการศิ ล ปวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ 2545 นิทรรศการศิลปะภาพพิมพ์ “ New Traditional Art” (Project Printmaking: Japan & Thailand 2002 หอศิลปมหาวิทยาลัย ศิลปากร กรุงเทพมหานคร 2545 นิทรรศการ ศิ ล ปะร่ ว มสมั ย หลากหลายมุ ม มอง: ศิ ล ปะ สั ม พั น ธ์ ไ ทย-ออสเตรี ย หอศิ ล ปะและการ ออกแบบคณะมั ณ ฑนศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร 2545 นิ ท รรศการศิ ล ปกรรมของ คณาจารย์ ภ าควิ ช าภาคพิ ม พ์ จิ ต รกรรม และ ประติมากรรม คณะวิจิตรศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ ห อ นิ ท ร ร ก า ร ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2546 นิทรรศการผลงาน ศิลปะภาพพิมพ์ขนาดเล็ก ครั้งที่ 5 ศูนย์การค้า เซ็นทรัลแอร์พอร์ตพลาซ่า จ.เชียงใหม่
paper.indd 46
ROSSALIN GARST
Born Feb. 1956 Education BFA. Graphic Art, Silapa korn University Bangkok. MFA. Fine Arts (Printmaking and Mixed Media) Otis Art Institute, California, U.S.A. Awards An Exhibition of Sketches and Models in Celabration of H.M. the King’s 6th Cycle Birthday Anniversary on the 5th of December 1999. Selected Exhibitions 2009 The Dog Show, Foyer Gallery, ANU, ACT, Australia. 2008 “ Confluence of 9”, The National Gallery of Thailand, Bkk. 2008 “ Traces of Siamese Smile”, Bangkok Art And Culture Center, Bkk. 2007 Religious Beliefs and Contemporary, Social Phenomena of Southern East Asia, Guangdong Museum of Art, China. 2006 Memoirs to the King “ The 7” The Contemporary Art Project 2006, Silpakorn University Art Gallery. BKK. 2005 Thai – German Contemporary Art Exchange 2005 The Galerie Rachal Haferkamp Cologne, German • Contemporary Art Exhibition, Chiang Mai University Art Museum, Chiang Mai. 2004 The Exhibition of Art’s Instructors Department of Printmaking, Painting and Sculpture, Faculty of Fine Art, ChiangMai University. • Thai-Vietnam Contemporary Art Exhibition by Lecturers of 6 Universities from Thailand and Vietnam. 2003 “ Different Wall, Different Way, Different Work”, The National Gallery, Bangkok. • Art in Box, Silom Gallerier, Bangkok. • The Exhibition of Art’s Instructors Departmenta of Printmaking, Painting and Sculpture, Faculty of Fine Art, Chiang Mai University, Chiang Mai. 2002 Drawing, Slipakorn University Art Gallery, Bangkok. 2001 Art Exhibition with love and Respect for Sawasdi Tantisuk, Bangkok Bank’s Musical Art Centre, Bangkok.
PAKORNPATARA JANTHAKHAISORN
เกิด ตุลาคม 2515 การศึกษา 2534-39คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศิลปะบัณฑิต; สาขาวิชาภาพพิมพ์) 2539-43 คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร (ศิลปะ มหาบัณฑิต; สาขาวิชาภาพพิมพ์) ที่ทำงาน ภาควิชาภาพพิมพ์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ต.ห้วยแก้ว อ.เมือง จ.เชียงใหม่ โทร 0-5394 – 4807,0-5394-4821แฟกซ์ 0-53944836. Email khaisorn@hotmail.com/ chaarts@gmail.com Website www.chaarts. com / www.rama9art.org/prakornpatara การแสดงผลงานเดี่ยว และ คู่ 2540 นิทรรศการเดี่ยว MINI PRINT ณ ร้านไม้ หลากสี จตุ จั ก ร, กรุ ง เทพมหานคร. 2545 นิ ท รรศการผลงานจิ ต รกรรม แสดงเดี่ ย ว ที่ MASAMIS food & wine กรุงเทพมหานคร. • นิ ท รรศการศิ ล ปกรรมคู่ ชุ ด “อารมณ์ และ ปรารถนา” (DESIRE & EMOTION) บ้ า น บางกอกแกลเลอร์ รี่ กรุ ง เทพมหานคร. 2546 นิทรรศการเดี่ยว จิตรกรรม “รูปทรงแห่งความ ปรารถนา: Form of DESIRE” H Gallery. กรุ ง เทพมหานคร. 2547 นิ ท รรศการเดี่ ย ว จิตรกรรมสีน้ำแบบ “ทีเล่น-ทีจริง ครั้งที่ 1” ห้อง นิทรรศการศิลปะ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ 2550 นิทรรศการเดี่ยว จิตรกรรมสีน้ำ แบบ “ทีเล่น-ทีจริง ครั้งที่ 2” ณ แกลเลอรี่ปาณิ ศา เชียงใหม่ 2551 นิทรรศการเดี่ยว จิตรกรรม “ DESIRE & EMOTION” ณ แกลเลอรี่ปาณิศา เชียงใหม่ เกียรติประวัติ 2539 รางวั ล ชมเชย ภาพจิ ต รกรรมทิ ว ทั ศ น์ มูลนิธิธนาคารกรุงเทพฯ กรุงเทพมหานคร 2540 รางวัลชมเชย ศิลปกรรมร่วมสมัยของมิตซูบิชิ ระดับอุดมศึกษาขึ้นไป 2542 รางวัลเกียรตินิยม อั น ดั บ 3 เหรี ย ญทองแดง ประเภทภาพพิ ม พ์ การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 45 • รางวัล ดีเด่น ศิลปกรรม “ นำสิ่งที่ดีสู่ชีวิต ” ของ บริษัท โตชิบา • รางวัลชนะเลิศ นิทรรศการร่วมสมัย ของธนาคารกสิกรไทย 2543 รางวัลเกียรตินิยม อั น ดั บ 3 เหรี ย ญทองแดง ประเภทภาพพิ ม พ์ การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 46 • รางวัล ประกาศนี ย บั ต ร ศิ ล ปกรรมยอดเยี่ ย มแห่ ง ประเทศไทย บริษัทฟิลิป มอร์รีส จำกัด. 2544 รางวัลประกาศนียบัตร ศิลปกรรมยอดเยี่ยมแห่ง ประเทศไทย บริษัทฟิลิป มอร์รีส จำกัด.
THONGCHAI YUKANTAPORNPONG
Born August 1960 Bangkok, Thailand Education 2002 M.F.A (Graphic Arts), Silpakorn University, Bangkok.1985 B.F.A (Graphic Arts), Silpakorn University, Bangkok.1981 The College of Fine Arts, Bangkok. Awards 2006 Grand Prize 7 th International Print Triennale de Chamalie’res France. 2001 Award Winner, 13 th Toshiba “ Brings Good Things to Life” Art Competition, Bangkok. 1992 Award Winner, Thai Farmer Bank Contemporary Art Exhibition, Bangkok. 1986 3 rd Prize, Bronze Medal, 32 th National Art Exhibition, Bangkok. • 3rd Prize, Bronze Medal, 10th Bualuang Contemporary Art, Bangkok. 1985 Award Winner, Thai Farmer Bank Contemporary Art Exhibition Bangkok. Solo Exhibitions 2006 Surapon Gallery, Bangkok, Thailand. • A.C.S. Gallery, Nagoya, Japan. • Chiang Mai Art Museum, Chiang Mai, Thailand. • Suan Doi House Mini Art Gallery, Chiang Mai, Thailand. 2005 Gallery Tomos, Tokyo, Japan. 2004 A.C.S. Gallery, Nagoya, Japan. 2003 The Twain Tippetts Exhibition Hall, Utah State University, USA. • Gallery Tomos, Tokyo, Japan. 2002 A.C.S. Gallery, Nagoya, Japan. 2001 SAOH Gallery, Tokyo, Japan. 1999-95 A.C.S. Gallery, Nagoya, Japan. 1990 Seven Sea Gallery, Bangkok. International Exhibitions 2008 “Hybrid Prints from Hybrid World”, The Royal University College of fine Arts gallery room, Stockholm, Sweden. 2007 Contemporary Art Exhibition “Show Me Thai”, Museum of Contemporary Art, Tokyo Japan.
12/22/2010 11:32:36
CHAIVUT RUAMRUDEEKOOL
Born 25 October 1970, Bangkok, Thailand Education 1993 B.F.A. (Graphic Arts) Faculty of Fine Arts, Chiang Mai university, Chiang Mai. 1999 M.F.A (Graphic Arts) The Faculty of Painting Sculpture and Graphic Arts,Silpakorn University, Bangkok. Office Assistant Professor of Printmaking, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University Chiang Mai 50200, Thailand. Tel. 66-53-944821 Fax. 66 -53-944836 Email: ruamrudeekool@ gmail.com Solo Exhibitions 2009 “Blossom - Happiness” TITA Gallery, Chiang Mai. 2005 “Flower of Love” La Luna Gallery, Chiang Mai. Thailand. 2004 “Power of Faith” Chuwa Gallery Tokyo, Japan. 2003 “Dimension of Happiness”Eet Me Art Gallery, Bangkok, Thailand. 2000 “Colours of Faith” Sheraton Grande Sukhumvit, Bangkok, Thailand. 1999 “Dimension of Colour” The Art Gallery of Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Chiang Mai. Thailand. “Colours Printmaking-Chaivut” Royal Princess Larn Luang, Bangkok, Thailand. Selected Group Exhibitions 2009 2 nd NBC Tokyo International Screen Print Biennial, Tokyo, JAPAN 2009 • 6th International Triennial of Graphic Art BitolaI, 2009 Republic of MACEDONIA. 2007 13th International Exhibition Small Graphic Froms, Poland-Lodz. 2006 International Print Triennial 2006, 2000, 1997 Krakow, P o l a n d . 2 0 0 5 1 st 2 nd 3 rd 5 th International Mini-Print Biennial Cluj-Napoca, Romania 1997, 1999, 2001 • 1st International Small Size Engraving Salon “Inter-Grabado” Minas, Uruguay.
paper.indd 47
KITTI MALEEPHAN
Born November 23, 1967, Bangkok, Thailand Education 1996-98 M.F.A.(Painting) Silpakorn University, Bangkok, Thailand.198993 B.F.A.(Painting) Chiang Mai University,Chiang Mai, Thailand. Awards and Experience 2003-04 Asian Artists Fellowships the 10th Annual Freeman Foundation Artists Residency at the Vermont Studio Center Award Winners (Sculpture), Johnson, Vermont, USA 2002-03 Asian Artists Fellowships the 8th Annual Freeman Foundation Artists Residency at the Vermont Studio Center Award Winners (Painting), Johnson Vermont, USA 2000-01 Contemporary Painting Workshops with Prof. Marco Zappa “Thai - Italian Art Space. 1911-2000 ” Project, Faculty of Fine and Applied Arts, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand Solo Exhibitions 2008 “No Meaning” Contemporary art Exhibition at Self Preservation Gallery on Bourke Street, Melbourne Australia 2004 “Cycle” Art Exhibition, The Red Mill Gallery, Johnson, Vermont, USA. 2000 “non-CFC” Art Exhibition, at Tadu Contemporary Art, Bangkok,Thailand 1998 ”Material World” Art Exhibition in a natural environment, Silpakorn University, Nakonpathom, Thailand. Group Exhibitions 2009 “Tang Keub” Group Exhibition of Instructors and Students from Painting Department, Faculty of Fine Arts of Chiangmai University. Panisa G a l l e r y B a n g k o k 2 0 0 8 2 5 th Anniversary of Faculty of Fine Arts, Chiangmai University Art Museum Thailand.
TIPPAWAN THUNGMHUNGMEE
Born May 29 ,1973, Phitsanuloke Address 422/19 Phitsanuloke-Vatong Rd., Muang Phitsanuloke Thailand Office Instructor of Printmaking at The Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Thailand. Tel. 04-0475284, 06-6196970, 053-944837 Fax: 053944836 Education 1996 B.F.A(Painting), Chiang Mai University, Chiang Mai.1999 M.F.A. (Painting), Silpakorn University, Bangkok. Solo Exhibitions 2003 Art Exhibition “Birth Without Violence“ Chiang Mai Experience in the field of Conservation Mural Painting. 1997 Conservation Mural Painting at Vihan Lai Kum, Wat Prasing, Chiang Mai. 1998 Conservation Mural Painting at Vihan Lai Kum, Wat Prasing, Chiang Mai. • Conservation Mural Painting at Wat Saw Hine, Nong hoi, Chiang Mai. 1999 Conservation Mural Painting at Wat Aang Sila, Muang, Chone Buree. • Conservation Mural Painting at Wat Bubpharram, Kajai, Trad. 2000 Conservation Mural Painting inside Grotto at Wat Umong: Chiang Mai. • Conservation Mural Painting at Wat Pummarine area Wat Dusit ,Bangkok. Group Exhibitions 2002 Art Exhibition on Ceremonial fan as a result of “NARIT Day“ Silapakorn University Art Museum. • Art Exhibition of Group “Ejection Group 3“ Chiang Mai. 2003 Art Exhibition of Contemporary Painting the 5 th Panasonic, The National Gallery, Bangkok. • Art Exhibition of Intructors Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Thailand. 2004 Art Exhibition of Group “Ejection Group 4“ Chiang Mai.
SONGKARN SOODHOM
เกิด นครศรีธรรมราช การศึกษา ศิ ล ปมหาบั ณ ฑิ ต (จิ ต รกรรม) มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร • ศิ ล ปบั ณ ฑิ ต (จิ ต รกรรม) มหา วิทยาลัยเชียงใหม่ รางวัลเกียรติยศ 2535 รางวัลชนะเลิศ นิทรรศการศิลปกรรมร่วม สมั ย ธนาคารกสิ ก รไทย • รางวั ล เกี ย รติ นิ ย ม อันดับ 2 เหรียญเงิน นิทรรศการศิลปกรรมแห่ง ชาติ ครั้งที่ 38 • รางวัลพิเศษ นิทรรศการนำสิ่ง ที่ดีสู่ชีวิต “โตชิบา” ครั้งที่ 4 2534 รางวัลที่ 3 เหรียญทองแดง นิทรรศการจิตรกรรม บัวหลวง ครั้งที่ 15 2533 รางวัลชนะเลิศ นิทรรศการนำ สิ่งที่ดีสู่ชีวิต “โตชิบา” ครั้งที่ 2 ประวัติการแสดงงาน 2551 แสดงนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้ง ที่ 54 ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า, กรุงเทพฯ, เชียงใหม่ • แสดงนิทรรศการคณาจารย์ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม ณ หอนิทรรศการ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • แสดง นิ ท รรศการครบรอบ 25 ปี วิ จิ ต รศิ ล ป์ ณ หอ นิ ท รรศการศิ ล ปวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่ 2550 แสดงนิทรรศการคณาจารย์ 6 สถาบันศิลปะ ไทย-เวียดนาม ประเทศเวียดนาม • แสดงนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 53 ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า, กรุงเทพฯ, เชียงใหม่ 2549 แสดงนิทรรศการคณาจารย์ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม ณ หอนิทรรศการ ศิ ล ปวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ • นิทรรศการศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติ ณ หอคำ หลวง ราชพฤกษ์ เชี ย งใหม่ 2548 แสดง นิทรรศการพื้นที่และพื้นที่ (Space and Space) ณ สี ล ม แ ก ล ล อ เ ลี ย ก รุ ง เ ท พ ฯ • แ ส ด ง นิ ท รรศการคณาจารย์ ภ าควิ ช าภาพพิ ม พ์ จิตรกรรม และประติมากรรม ณ หอนิทรรศการ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2547 แสดงนิ ท รรศการคณาจารย์ 6 สถาบั น ศิ ล ปะ ไทย-เวียดนาม ประเทศไทย • แสดงนิทรรศการ คณาจารย์ ภ าควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และ ประติมากรรม ณ หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ • แสดงนิ ท รรศการ ศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 50 ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า, กรุ ง เทพฯ 2546 แสดงนิ ท รรศการคณาจารย์ ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม ณ โรงแรมเบสน์ฟอร์จูน ทาวน์ กรุงเทพฯ และที่ หอนิ ท รรศการศิ ล ปวั ฒ นธรรม มหาวิ ท ยาลั ย เชียงใหม่
12/22/2010 11:32:36
KADE JAVANALIKIKORN
Born 1961, Bangkok Education 1985 B.F.A. (Painting & Drawing) University of North Texas, Denton, Texas U.S.A. Solo Exhibition 1993 “Brown Air, Brown Trees, Brown Ocean and a dirty Auto mobile ” Art Forum, Bangkok & Chiang Inn Plaza, Chiang Mai. 1996-97 “Pinocchio” Small Theater, Kad Suan Kaew, Chiang Mai. 1997 “Yes & No (Back against the wall)” Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University & The National Gallery, Bangkok. 1998 “Amphur Mae Tang, Chiang Mai” Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University & Place of Art, Bangkok 2003 “Sublime” H Gallery, Bangkok 2005 “Colors Next to Back,” Art Republic, Bangkok 2006 “Goodbye Snoopy, Hello Kitty”Jiqoo Art Space, Chiang Mai 2007 “Without A word” COFA space, The University of New South Wales, Australia. Selected Group Exhibitions: 1997 “Art for King Rama 9”Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok 1998 “Golden Jubilee Art, Exhibition : 50 Years of Thai Art” Queen Sirikit National Convention Center, Bangkok 1999 “Exhibition : 72 rd Years of the King Birthday” Chiang Mai University Art Museum, Chiang Mai “River of the King” Bangkok, Chiang Mai, Songklar 2000 “Thai, Japan, Vietnam Contemporary Art” Bangkok, Tokyo, Vietnam 2001 “ Hot Dog”Chiang Mai University Art Museum Chiang Mai 2004 “Art Republic’s First Exhibition”Art Republic, Bangkok 2005 “Mind’s Eye”Faculty of Fine Art’s Gallery, Chiang Mai 2006 “0.01 Ricther” Gallery Panisa, Chiang Mai2007 “Abstract Art” Chiang Mai University Art Center, Chiang Mai.
paper.indd 48
DAVID BURKE
Born September 13th 1975 Email davidburke13@gmail.comWebsite: www.dburke.org Education 1999-2002 M.F.A. Painting, Tyler School of Art, Philadelphia, PA and Rome, Italy 1993-1997 B.A. Visual Arts, University of California San Diego, La Jolla, CA Selected Exhibitions Solo Shows 2010 LandEscaping, Chiang Mai University Art Center, Chiang Mai, Thailand Dreaming My Dreams with You, (Two-Person show w/ Rene Smith),Koi Art Gallery, Bangkok, Thailand 2008 Victory Garden, Olio United, Portland, OR 2007 Victory Garden, Julie’s Tea Gallery, Alameda, CA 2006 Pools, Puddles, Skins & Swings, Castro Valley Arts Foundation, Castro Valley, CA 2005 Skin Deep, Deep Roots Gallery, Oakland, CA 2002 Role Call, Temple Gallery, Rome, Italy Selected Group Shows 2010 Thai-Vietnam, Contemporary Art Exhibition 2010, CMU Art Center, Chiang Mai, Thailand Abstract, Angkrit Gallery, Chiang Rai, Thailand International Art Exchange 2010, CMU Art Center, Chiang Mai, Thailand 2009 Think For The World: International Sculpture Symposium, Faculty of FineArts Gallery, Chiang Mai University, Thailand Chiang Mai University Faculty of Fine Arts Lecturer Exhibition, CMU Art Center, Chiang Mai, Thailand Artificial Nature, Auto Body Fine Art, Alameda, CA 2008 Good Things Come in Small Packages, Auto Body Fine Art, Alameda, CA R/ DEvolution, Olympic Mills Gallery, Portland, OR 2007 Earth, Regene ration Gallery, Oakland, CA RE: Genesis, Regeneration Gallery, Oakland, CA.
CHATCHAWAN NILSAKUL
JULIA SCHWADRON
Born Ayutthaya, Thailand in 1970 Education 2000 M.A.F. (Painting) Master of Fine Arts, University of Oregon, Eugene, Oregon, USA 1994 B.F.A. (Painting) Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand Work Experience 2002 Art Instructor (Painting) Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Chiang Mai 2006-08 Contemporary Gallery Owner, Art Space Ji-Qoo, Chiang Mai 2001-02 Art Instructor, Arts Department, Suan Dusit University, Bangkok, Thailand Solo Exhibition 2008 Organic-Cyber, Opening Exhibition at Look at This Gallery, Chiang Mai 2000 Ambient Space, Burapha University Art Gallery, Chon Buri, Thailand 1999 See Thought, Waterstone Gallery, Portland, Oregon, USA Selected Exhibition 2007 Color of Chiang Mai, Star Poets Gallery, Tokyo, Japan 2006 AUK, Art Space Ji-Qoo, Chiang Mai 2005 O n e by One, Group Exhibition, National Art Museum, Chiang Mai 2002-08 Exhibition of Art Instructors, Chiang Mai University Art Museum, Chiang Mai 2004 C o n t e m p o r a r y A r t Exhibition Thailand-Vietnam, Chiang Mai University Art Museum, Chiang Mai 2003 S. Seventeen Cafe, Group Exhibition, National Art Museum, Chiang Mai 2001Eugene-Portland, Oregon Art Exhibition for two Institutes, Oregon, USA 1998 Group Show, Waterstone Gallery, Portland, Oregon, USA Award 2000 Graduate Teaching Fellowship, University of Oregon, Oregon, USA.
Education 2004 MFA Painting | Tyler School of Art, Elkins Park, PA 2002 Critical Theory | Temple University in Rome, Italy 1998 BA Studio Art | University of California at San Diego, La Jolla, CA 1993 Illustration | Pratt Institute of Art, Brooklyn, NY Selected Exhibitions 2012 (upcoming solo) Farnam Galleries, Simpson College, Indianola, Iowa 2011 (upcoming solo) Faculty of Fine Arts Gallery, Chiang Mai University, Thailand • (upcoming solo) Edward & Bernice Wenger Center for the Arts, Sid Jacobson Jewish Community Center, East Hills, NY 2010 PULSE Miami Art Fair, Charles James Gallery, Booth E-309 • COPY JAM! 2: TEXT EDITION, A Printinteres ting Curatorial Project, The Printer’s Ball, Chicago, IL • Palling Around with Socialists, U-Turn Art Space, Cincinnati, Ohio • Remnants, curated by Lisa Lebofsky and Michelle Doll, Fuse Gallery, NY, NY 2009 Drawing Contemporaries, Eyebeam Art and Technology Center, NY, NY • Treasure Chest, Metaphor Gallery, Brooklyn, NY 2008 Back to the Garden, Metaphor Gallery, Brooklyn, NY • Iowa Artists 2008: Drawing, Des Moines Art Center, Des Moines, IA • Icon Iowa 2008, Icon Gallery, Fairfield, IA • for you, for me, from me, FLUXspace, Philadelphia, PA 2007 The Large Works Show, Icon Gallery, Fairfield, Iowa • New Paintings, Julia Schwadron, Spazio 522, New York, NY • Spazio 522, Inaugural exhibition, New York, NY • Faculty Exhibition, University of Iowa Museum of Art, Iowa City, IA • Beyond the Surface the artists of DFB, The Studio at DFB, L .I.C., NY 2005 The Matzo Files, Streits Matzo Factory, New York, NY 2004 Power T’s, Pierogi2000 Gallery, Brooklyn, NY
12/22/2010 11:32:37
CHALONGDEJ KUPHANUMAT
Born October 15, 1972 Bangkok , Thailand. Education B.F.A.(Thai Art), Silpakorn University, Bangkok. • M.F.A.(Thai Art), Silpakorn University, Bangkok. Office Instructor of Printmaking at The Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University Chiang Mai 50200, Thai land. Tel. 66-53-944821 Fax 66-53944836 Group Exhibitions 2003 Exhibition The Queen Sirikit Arts Exhibition Center, Bangkok. 2004 26th Bua Luang Art Exhibition, The Queen’s Gallery. Bangkok.• The 5 Decade Anniversary The Collage of Fine Arts Exhibition,The Silom Galleria, Bangkok • THAI-VIETNAM Contemporary Art Exhibition by Lecturers of 6 Univer sities from Thailand and Vietnam. 2003-09 Art Exhibition of Intructors Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Thailand 2010 The s e c o n d D e c a d e of Bua Luang Paintings, The Queen’s Gallery. Bangkok• THAI-VIETNAM Contem porary Art Exhibition by Lecturers of 11 Universities from Thailand and Vietnam. Awards 1996 1 st Prize 20 th Bua Luang Art Exhibition (Landscape Painting in Thailand), Musical Art Center,Bangkok.
paper.indd 49
JAN THEO DE VLEESCHAUWER
Born St-Niklaas, Belgium on August 12th 1959 25 March 2005-Present Assistant Professor 1988-Present Lecturer in Painting; Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Thailand 1983-85 Creative therapy; Mental Hospital “St-Jan De Deo”, Ghent, Belgiu 1983 M.F.A. in Painting; St-Lucas, Ghent, Belgium Solo Exhibition 2008 “Paintings and Drawings” by Jan Theo De Vleeschauwer, at Galerie Panisa, Chiang Mai, June 13th-July 7th, 2008 Group Exhibitions 2010 “Thai-Vietnam Contemporary Art Exhibition”, at Chiang Mai University Art Center.• “Abstract”, Exhibition by Painting Division, Faculty of Fine Arts, CMU, at Angkritgallery, Chiang Rai, August 8th, 2010, August 30 th , 2010 • “The 2 nd Bangkok Triennial International Print and Drawing Exhibition, on the Occasion of Celebration 65 th Anniversary of Silpakorn University, at Eastern Center of Art and Culture, Burapha University (January 7th, 2010-January 29th, 2010), Chiang Mai University Art Center, Chiang Mai University (July 6th, 2010 July 25 th, 2010) 2009 • “The 2 nd Bangkok Triennial International Print and Drawing Exhibition, on the O c c a s i o n o f C e l e b r a t i o n 6 5 th Anniversary of Silpakorn University, at Bangkok Art and Culture Centre, Bangkok, May 18, 2009-June 14, 2009, Sanamchandra Art Gallery, Silpakorn University (November 6th, 2 0 0 9 - D e c e m b e r 1 3 th, 2 0 0 9 • “Contemporary Art Exhibition by Lecturers from Department of Print making, Painting and Sculpture, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University”, at Chiang Mai University Art Center, November 9 th , 2009November 27th, 2009
MORAKOT KETKLAO
Born 13 November 1971, Thailand Resident 208 Moo 5 Mae Hea, Maung, Chiang Mai Tel: +66 53 447518, Mobile: +66 15302799 E-Mail: mail@morakot ketklao.com Education 2003 M.F.A. (Meisterscheulerstudium) In Intermedia Class (Prof. Alba D’ Urbano) Hochschule feur Grafik und Buchkunst (Academy of Visual Arts), Leipzig, Germany 1998 M.F.A. in Painting (Advisor: Montien Boonma and Amrit Chusuwan) Faculty of Painting Sclupture & Graphic Arts, Silpakorn University, Bangkok, Thailand Prize And Scorlarship 2003 International Placement Services | Zentralstelle fuer Arbeitsver mittlung (ZAV) Frankfert am Main, Germany 2001 Scholarship for Master Programme (Female Artist) Stipendium der Kulturstiftung des Freistaates Sachsen, Dresden, Germany. Solo Exhibitions 2008 PSI. (Personality Sound image), House 28, Royal University of Fine Arts, Stockholm, Sweden 2003 Yellow House Academy of Visual Arts,Leipzig, Germany. 2001 Garderobe Anatomy Institute Leipzig University, Leipzig, Germany. 1998 Darkish Beauty DNA. Center Co.ltd, Bangkok, Thailand. Selected Exhibitions 2010 Foreign affairs exhibition ,Kreidl Kala, BMUKK, Vienna, Austria • Return Ticket Thailand-Germany, Bangkok Art and Culture Center, Thailand • Imagine Peace, Bangkok Art and Culture Center,Thailand 2009 -10 1x suitcase, Chiang Mai / Thailand, Kuala Lum Pur /Malaysia, Singapore, Xian / Chaina
PADUNGSAK KOCHSOMRONG
Padungsak Kochsomrong was born in Bangkok in 1964. He received a BFA in Painting at the Faculty of Fine Art, Chiang Mai University in 1991 and a Masters degree in Art Education at the Faculty of Education, Chulalongkorn University in Bangkok in 1999. As the Director of Studio Xang, Chiang Mai, he champions its initiatives which combine art, education, and activism. Padungsak is also a practicing artist and painting instructor at Chiang Mai University. He has performed and exhibited widely, domestically and internationally. He is a frequent participant and organizer of The Asiatopia International Performance Art Festival held annually in Bangkok and Chiang Mai. His most recent Solo performance and installation exhibition was executed in 2007, entitled “ Surrealistic Conception” Faculty of Fine Arts, Chiangmai University, Thailand 2004 SoloArt Exhibition” Deconstruction after the Condolence to the Authorities Project.” Faculty of Fine Arts,Chiangmai University, Thailand / 2001 SoloArtExhibition“ Perception&Reality”,Chiangmai University,Chiangmai,Thailand/“ Freedom “How are you?” Hull Time Based Arts, Hull, England. Selected Performance Art and Painting Exhibition: 2010: Performance Art Laboratory Project (PALA Project)” undisclosed territory” solo,Indonesia /“GIVE ART A CHANCE”ASIATOPIA 12/ 2010 International Performance Art Festival,ChiangMai,Thailand / 2009THE 12 th DFEWA INTERNATIONAL SYMPOSIUM OF CONTEMPORARY ART PARAZA FRANCE / 2008, “Art_Plus-jp Performance Art Project 2008”, Japan / PERFURBANCE # 4, Java, Yogjakarta ,Indonesia / 2007,”Smell”ASIATOPIA 9/2007 International Performance Art Festival, Chiangmai, Thailand. 12/22/2010 11:32:37
SUPACHAI SATSARA
Born 1968 In Ayutthaya, Thailand. Education And Working Experience 1987-92 Visiting lecturer, Faculty of Fine Arts,Chiang Mai University, Chiang Mai Thailand| 1988 Independent Artist| 1992-93 Visiting lecturer, Faculty of Fine Arts, ChiangMai University,ChiangMai, Thailand| 1997 Master Program of Painting in the Faculty of Painting Sculpture and Graphic Art Silpakorn University, Bangkok,Thailand| 1999 M.F.A (Painting) Silpakorn University, Bangkok,Thailand| 2000 Instructor in Painting, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University,Chiang Mai, Thailand| Awards 1991 Silpa Bhirasri Gold Medal Award, The 8th Exhibition of Contemporary Art of Young Artists on the Occasion of “Silpa Bhirasri Day”,Silpakorn University,Bangkok,Thailand|1992 National Youngsters Award, Arts and Culture Filed, Bangkok, Thailand|1994 The best outstanding alumnus of Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand|1995 Scholarship for 6 months visits in U.S.A. From The Asian Cultural Council; an Affiliate of the Rockefeller Brothers Foundation|1997 Mali Scholarship for Exhibition in Bangkok and Chiang Mai. Solo Exhibitions 2007 Thailand. Television Aesthetics By Supachai Satsara Nan Riverside Art Gallery 18 October 2007-28 November 2007 Ayothaya Contempo rary Art Gallery 30 December 200724 February 2008. 2008 Nine Art Gallery 4 May 2008- 25 May 2008 Faculty Of Finearts, Chiang Mai University 6 June 2008- 29 June 2008. 2 0 0 9 L i g h t n i n g Conducto Art Exhibition By Supachai Satsara: Pongnoi Art Space July 2009.
paper.indd 50
THATTCHAI HONGPHAENG
Born 4 December 1968, Loey Province Education 1982 College of Arts Lartkrabang, Bangkok 1986 B.F.A. (sculpture) Faculty of Fine Arts, Chaingmai University 1992 M.F.A. (Sculpture) Faculty of Fine Arts, Silpakon University 2008 Assistant Professor Present Professor of Department Visual Arts, Faculty of Fine Arts, Chiangmai University Awards 1990 Pratumthancc. Out Standing Youth Award from Social Welfare Council of Thailand in 1990. • 2 nd Prize, Bronze Medal. (Sculpture) 36th National Exhibition of Art, Bangkok. • Award Winner from Contemporary Art Competition, Organized by Thai Farmer Bank. Bangkok. 1991 2 nd Prize, Bronze Medal.(Sculpture) 37th National Exhibition of Art, Bangkok. • Selected Prize. Sculptuer for Setting at Centra Bangna Building Bangkok. 1992 The Royal Sport-Club Scholar ship in Royal Patronage. Selected Prize 1996 2 nd Prize, Bronze Medal. (Sculpture) 42th National Exhibition of Art, Bangkok. • Award Winner. In small Sculpture. Organized by Ministry of Public Health, Nontabury. Exhibitions 2009 Thai-Japan Suculpture Symposium, Facuty of Fine Arts, Chiangmai University • Art Exhibition” HAIKU SCULPTURE 2009”, Okinawa, Japan2010 Thai-Vietnam Contemporary Art Exhibition, C.M.U art center, Chiangmai • International Art Exhibition “OVER TONE II”, Kanagawa prefectual hall, Japan.
SUGREE GASORNTGATSARA
Born 6 March 1970 Education 1994 B.F.A. [Sculpture], Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Thailand. 2002 M.F.A. [Sculpture], Silpakorn University, Thailand. Awards 1993 Selected Prize, Award From The Auspicious Occasion of Birthday Anniversary of The Queen Sirekikit, Benjasiri Park Sukhumvit, Bangkok. 2001 Selected Prize, 16 th P.T.T. Exhibition Contemporary Art Silpakorn University Gallery, Bangkok. • Award Winner, 13th Tosihiba Brings Good Things To Life Art Competion 2002, Bangkok. 2002 Selected Prize, 14th Tosihiba Brings Good Things To Life Art Competion 2002, Bangkok. 2004 Second Priz, Krung Thai Sculpture Exhibition • Award Winner, ExhiBition Set Sculpture Awards. Bangkok. 2005 Award Winner, 17 th Tosihiba Brings Good Things To Life Life Art Competion 2005, Bangkok 2006 Merit Award, The 1st China-Asean Youth Artwork Creative Contest Cayacc (China). Selected Group Exhibitions 2006 Exhibition King,S Anniveersary 60th, Chiang Mai. • Exhibition The 1st China - Asean Youth Artwork Creative Contest Cay Acc (China). • The Exhibtion of Haiku Sculpture Tounokura Choshuri Naha City Okina wa Japan • Exhibtion Vietnam Thailand Contemporary Art Exhibtion By Lecturs of 6 University From Vietnam And Thailand. 2007 Lacquer Workshop At College of Arts, Hue University, Vietnam.
SUTTHISAK PHUTHARARAK
เกิด 22 พฤษภาคม 2512, ยะลา ที่อยู่ สาขาวิชาประติมากรรม คณะ วิ จิ ต รศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ถ.สุ เ ทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์ 053-944843 E-mail. sutthisakphuthararak@ yahoo.com การศึกษา 2545 ศิ ล ปมหาบั ณ ฑิ ต (ประติ ม ากรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการแสดงผลงาน 2536 ร่วมแสดงงานมหกรรมประติมากรรม 93 ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า จังหวัดกรุงเทพฯ โดยสมาคม ประติมากรไทย 2544 ร่วมแสดงประติมากรรม “รำลึกถึงผู้ช่วยศาสตราจารย์เขียน ยิ้มศิริ” โดย คณาจารย์และนักศึกษาภาควิชาประติมากรรม ณ หอศิลป์คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและ ภาพพิ ม พ์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร กรุ ง เทพฯ 2545 ร่วมแสดงนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 48 ณ หอศิลป์เจ้าฟ้า จังหวัดกรุงเทพฯ โดยมหาวิทยาลัยศิลปากร 2545-52 ร่วมแสดง งานศิ ล ปกรรมคณาจารย์ ภ าควิ ช าภาพพิ ม พ์ จิ ต รกรรมและประติ ม ากรรม คณะวิ จิ ต รศิ ล ป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 2547 ร่วมแสดงงานเทศกาลศิลปะนาๆ ชาติ “ศิลปะ บนผื น ทราย” ณ หอศิ ล ปวั ฒ นธรรมภาค ตะวั น ออก มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา จั ง หวั ด ชลบุ รี 2547 ร่วมแสดงงานประติมากรรมต้นแบบติด ตั้ง ณ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จังหวัดกรุงเทพฯ 2548 ร่วมแสดงงานศิลปกรรม อมตะอาร์ ต อวอร์ ด ครั้ ง ที่ 1/2547 ณ หอศิ ล ป์ เจ้ า ฟ้ า จั ง หวั ด กรุ ง เทพฯ 2548 ร่ ว มแสดง นิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 49 ณ หอ ศิ ล ป์ ม หาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร จั ง หวั ด นครปฐม 2548-49 ร่วมแสดงศิลปกรรมไทยครั้งที่ 6 ณ หอศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วั ง ท่ า พระ กรุงเทพฯ 2549 ร่วมแสดงงานศิลปกรรมอมตะ อาร์ ต อวอร์ ด ครั้ ง ที่ 2/2548 ณ ลานเอนก ประสงค์เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพ ฯ 2549 ร่วม แสดงศิ ล ปกรรมไทยครั้ ง ที่ 7 ณ หอศิ ล ป์ มหาวิ ท ยาลั ย ศิ ล ปากร วั ง ท่ า พระ กรุ ง เทพฯ 2550 ร่วมแสดงศิลปกรรมไทยครั้งที่ 8 ณ หอ ศิ ล ป์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศิ ล ป า ก ร วั ง ท่ า พ ร ะ กรุงเทพฯ 2550-52 ร่วมแสดงผลงานศิลปกรรม คณาจารย์ ภ าควิ ช าภาพพิ ม พ์ จิ ต รกรรมและ ประติ ม ากรรม ณ หอนิ ท รรศการศิ ล ปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่
12/22/2010 11:32:37
PEERAPONG DOUNGKAEW
Born January 26 , 1950 at Ubon Ratchthani Address 12 Wualai Road, Soi 4, Haiya, Muang District, Chiang Mai, Thailand. 50100 Home. Tel. (053) 282 -074 Mobile. 081-9519577 E-mail.p. doung@chiangmai.ac.th, p.doung@ windowslive.com Education 1988 Master of Fine Art (Sculpture) SiIpakorn University Bangkok. Working Place Faculty of Fine Art. Chaing Mai University, Thailand. Awards 3rd Prize Bronze Medal Sculpture 32nd National Exhibition of Art. • Winner prize, sculpture competition for architecture, Krung Thai bank public company limited Bangkok, 2003. Exhibitions 2008 Contemporary art exhibition by Lecturers from Department of Printmaking, Painting and Sculpture, 2008. • Thai-Japan Sculpture Symposium The 2 nd 5-30 January 2009 at The Art Gallery, Faculty of Fine Arts, Chiang MaiUniversity, Thailand. 2009 Solo Exhibition “Representational-Abstract” 22 June -10 July 2009 Faculty of Fine Arts, Chiangmai University. • “Haiku” Sculpture Symposium 2009 Okinawa, Japan. 2010 3 rd International Sculpture Symposium by Sculpture Division Faculty of Fine art , Chiang Mai University • 6th International Art Festival Workshop in Thailand 2010 • International Art Exchange ThailandU.S.A. 2010 LA Artcore USA,23 Mach -12 April 2010.• Solo Exhibition “Happiness” School of Art, foyer gallery. • The Australian National University, 30 March-10 April 2010• International Sculpture Symposium “Think for the World” Thailand. paper.indd 51
PAKIT BUNSUT
Born November 16th 1971 Address 117 Nontavam Haiya District Mueng Chiang Mai Tel. 6653 -275467 Mobile 081-3068215 Email Pakit_toy@hotmail.com, Pakit@ fineart.cmu.ac.th Education Rajamongkol Technogy Institute, North West branch Chiang Mai. • B.F.A Sculpture Silpakorn University. • M.F.A. Sculpture Silpakorn University. Profession Art Instructor at College of Fineart Chiang Mai University Thailand. Awards 2006 prize 49 national art sculpture exhibition Silpakorn University. 200001 Contemporary Painting Work shops with Prof. Marco Zappa “ThaiItalian Art Space 1911-2000” Project, Faculty of Fine and Applied Arts, Khon Kaen University, Khon Kaen, Thailand. Exhibitions 2 0 0 6 1 3 th N a t i o n a l c e r a m i c s exhibition Bangkok. 2006 Contemporary art exhibition Chiang Mai University. 2006 Assistant artist The International Sculpture and Environment The Esteem world plants celebration Chiang Mai Thailand,. Royal Flora Rachaphruek. 2007 The 6 th contemporary Vietnam-Thai exhibition. 2007 Exhibition Thai & Japan mini sculpture Okinawa (Japan). 2008 Contemporary exhibition 25 year Chiang Mai University. 2008 Mini sculpture department Chiang mai University. 2009 contemporary exhibition sculpture thai- Japan chaing mai university. 2009 solo exhitbition sculpture art center chaing mai university. 2010 international sculpture symposium “ think for the world” chaing mai university. 2010 contemporary Thai-Vietnam exhibition.
UDOM CHIMPUKDEE
Born 12 May 1969, Suratthanee Thailand. Address 11 Moo 2 Hankeaw Hangdong Chiang Mai, ThaiLand. 50230 Tel. 053-483338 Mobile. 086 -1904753 Email. udonghi@hotmail.com Education 1996-99 Masters Degree in Fine Arts (MFA) Sculpture Silpakorn University, Bangkok, Thailand.1989-94 Bachelor Degree in Fine Arts (BFA) Sculpture Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. Prizes and Awards 1998 Second Prize, 44th National Art Exhibition, National Gallery, Bangkok Thailand. • Top Award Winner, Thai Farmer Bank, Contemporary Art Exhibition, Thai Farmer Bank Gallery, Bangkok Thailand. 2005 Simon Prize Visiting Artist, Workshop and Solo Exhibition, Access Australian National University School of Art, Canberra Australia. 2006 Silpa Bhirasri Prize, Award Winner and Art Exhibition, Silpakorn University Gallery Bangkok Thailand. 2010 Daiko Foundatio Research and Study Program 5 month Group Exhibitions 2009 2 nd Sculpture Symposium in Chiang Mai. 2010 Japan + Thailand Art Session in Hamamatsu Cave Gallery 7 - 22August 2010 ,Chisuoka, Japan และงานไทยเวียดนาม Solo Exhibitions 2005 “Cycle of Life and Meditation” Exhibition School of Arts Foyer Gallery ANU. Canberra Australia. 2006 “Black Magic” Exhibition Ji-Qoo Nimmanhemin Rd., Suthep Muang Chiang Mai Thailand. 2008 “The Four Windows” Culture Centre of Thailand, Bangkok. 2010 Seeing Around Nagoya Satellite Gallery Nagoya, Japan 2010 17 -31 August 2010.
SOONTORN SUWANHEM
Born 29 December 1967 Pattanee Educations B.F.A (Sculpture) Chiang Mai University , Chiang Mai • M.F.A (Sculpture) Silpakorn University, Bangkok. 2008 Assistant Professor Department of Sculpture Exhibition 2 0 0 8 T h e 5 th C o n t e m p o r a r y Thai-Vietnam Art Exhibition at Art Museum, Chiangmai University • The Exhibition of Haiku Sculpture ณ Tounkokura Choshuri Naha City Okinawa Japan • The Exhibition of Sculpture By instructors and Students of Sculpture Division 2008 4-18 July 2008 • The Exhibition of Art,s instructors Department of Printmaking Painting and Sculpture Faculty of Fine Art,s 10-23 November 2009 • The Exhibition of Sculpture By instructors and Students Thai-Japan of Sculpture Division 15-22 December 2008 2009 - Faculty of fine Arts Chiangmai university Thai-Japan symposium sculpture 5-30 January 2009 at The Art Gallery, Faculty of Fine Arts, Chiangmai University • 6 th ART Exhibition by Jed Yod Group Contemp 0ray Art Exhibition by Guest Artists and The Art Instructors of Faculty of Art and Architecture rajamangala University Of Technology Lanna, Northern Ch i an g M ai • Ha i k u Sculpture 2009 an international Joint Exhibition among Art Universities • Sculpture Exhibition on the Auspicious Occasion of His Majesty the King Rama 9 Anniversary Celebration 22 December-29 January 2010 2010 -Exhibition of Mini Sculpture No.3 Award Award Winner, 4th Toshiba “Brings Good Things to life “ Art Competition 1992, Bangkok. • Award Winner, 4th “Lopburee Sculpture” 1992 Lopburee. 12/22/2010 11:32:37
IKUO EISO
Born 8 November 1964, Tokyo, Japan Education 1989 B.F.A.(Sculpture) Tokyo Zokei University, Tokyo 1996 M.F.A. (Sculpture) Silpakorn University, Bangkok Exhibitions 1992 “Bankok Traces” Gallery of Faculty, Silpakorn University, Bangkok 1993 “Sculpture Exposition” National Gallery, Bangkok 2005 “Solo Exhibition” Gallery of Akishima civic hall, Tokyo 2005-09 “Santama Fine Arts Exhibition” Gallery of Tachikawa civic hall, Tokyo 2006-09 “Sokei Sculpture Exhibition” Tokyo metropolitan museum, Tokyo 200809 “Santama Mini works Exhibition” Jinan Gallery, Kokubunji, Tokyo 2009 “Thai-Japan Sculpture Simposium” Gallery of Faculty, Chiangmai University, Chiangmai 2009 “Contemporary Artist Exhibition” Tokyo metoropolitan museum, Tokyo 2009 “Sokei Exhibition in autumn” Tanaka Gallery, Yaesu, Tokyo.
paper.indd 52
TAWATCHAI PUNTUSAWASDI
Born January, 1971 Bangkok, Thailand Address 157 Moo 6,Papong, Doi Saket, Chiangmai 50220 Thailand Email. tpuntusawasdi@yahoo.com Tel. 0850938436 Education 2001 M.F.A. Sculpture, Silpakorn University, Bangkok, Thailand 1993 B.F.A. Sculpture, Faculty of Fine Arts, Chiangmai University, Thailand Solo Exhibitions 2008 “Dwelling Series” Esplanade Concourse, Singapore. 2007 “The Beauty of Distance” Valentine Willie, Kualalumper, Malaysia “Southeaster Wind, Morisot Foundation, France. 2005 “Flat Perception”, Numthong Gallery, Bangkok, Thailand. 2003 “DIM” Chulalongkorn Art Gallery, Bangkok, Thailand. 2001 “A Village Among Mountains, Chiangmai Art Museum, Thailand. 1998 “Realistic Image” Bangkok University Art Gallery, Bangkok,Thailand. 1996 “Form-ShapeForm” Japan Cultural Council, Bangkok, Thailand.
KOSIT JUNTARATIP
Born May 1971, Chiang Mai, Thailand Education And Work 1994 B.F.A. in Painting, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University, Thailand 2000 (Post Gradudate) Diplom in Audiovisual Media, Academy of Media Arts, Cologne, Germany 2003 (Meisterschueler) in Media Art and Photography, Academy of Visual Arts, Leipzig, Germany 2004 - Present Lecturer in Media Art, Media Arts and Design, Chiang Mai University, Thailand Prize And Scholarship 1999 DAAD-Prize for Foreigner Students, Academy of Media Arts, Cologne, Germany 2002 Scholarship for Master Programme, Free State Sachsen Funds, Germany Contact 208 Moo 5 Mae-Hea Muang Chiang Mai 50100 Thailand mobile 00 66 84 0431516 www.kositLOVE.com e-mail: <kosit@mediaartsdesign.org> Solo Art Exhibition 2003 Die Liebe (Bio Material) in collaboration with Georg Reissig, Laden fur Nichts, Leipzig, Germany. 2005 KISS - Photography Exhibition Bangkok University Gallery (BUG), Bangkok University, Bangkok, Thailand. 2006 Suffering Duet - KANDADA / Project Collective.021 Solo Art Project and Exhibition, Organized by CommandN, Kandada, Tokyo, Japan. 2008 10th Asiatopia Perfor mance and Artist’s Talk, Bangkok, Thailand. 2008 AS IWANT YOU TO UNDERSTAND Interactive Art Exhibition Pong Noi Community Art Space, Chiang Mai, Thailand. 2010 THE POST-SUPERHU MANITY angkrit gallerry, Chiang Rai, Thailand. 2010 SKIN COMMUNITY: Return Ticket Thailand-German 2010 Bangkok Art and Culture Centre (BACC), Bangkok, Thailand.
MARUT THAUMBOONREANG
Born 24 September 1980 Nakornracharsima Address Faculty of Fine Art ChiangMai University 50202 Chiang Mai Thailand E-mail: Joe_TM003@hotmail.com Education 2007 Master of Arts (printmaking) Chiang Mai University 2005 Bachelor of Arts (printmaking) Chiang Mai University Art Exhibition 2010 Art Exhibition “NATURISM” at Doi Suthep Education Center Chiangmai University 2010 Exhibition Small Print “back bone of the world” at Art Gallery, Faculty of FineArts, Chiangmai University 2010 Art Exhibition “LOVE” at Art Gallery,Faculty of FineArts, Chiangmai University 2009 Exhibition Print Making at Look at this Gallary Chiang Mai Thailand 2007 Art Exhibition “MFA 4 ”at Chiang Mai Art Center Thailand 2007 Art Exhibition “Slow Motion Day” at Chiang Mai Art Center Thailand 2006 Art Exhibition “Artistic Dialogues:Creativity- Sensibility” MFA ll at Chiang Mai Art Center Thailand.
12/22/2010 11:32:37
paper.indd 53
12/22/2010 11:32:41
การแสดงผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยของคณาจารย์ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติ มากรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2553 Contemporary Art Exhibition by Lecturers from Department of Printmaking, Painting and Sculpture, Faculty of Fine Arts, Chiangmai University. 2010
ขอขอบคุณ ดร.กมล ทั ศ นาญชลี , รศ.พิ ษ ณุ ศุ ภ นิ มิ ต ร, รศ.พงศ์ เ ดช ไชยคุ ต ร, อาจารย์ บ รรณรั ก ษ์ นาคบัลลังก์, รศ.อารยา ราษฎร์จำเริญสุข, ดร.สุภาพร นาคบัลลังก์, อาจารย์ธงชัย ยุคันตพรพงษ์, ผศ.กิ ต ติ มาลี พั น ธุ์ , ผศ.สุ ก รี เกษรเกศรา, คุ ณ ทั ด ศรี ชั ย เมคา, คุ ณ มารุ ต ธรรมบุ ญ เรื อ ง, คุณวรรณิศร ลิขิตพัฒนวิศาล, คุณอังคณา ตาไฝ, คุณไชยันตร์ โคมแก้ว, คุณพจวรรณ พันธ์ จินดา,คุณชาญณรงค์ คำวงษา,คุณจรัญ ดอกเรือนคำ และคุณเหรียญ ปวนกาศ เจ้าหน้าที่หอนิทรรศการศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การแสดงผลงานศิลปกรรมร่วมสมัยของคณาจารย์ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรมคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Contemporary Art Exhibition by Lecturers from Department of Printmaking, Painting and Sculpture, Faculty of Fine Arts, Chiangmai University. 2010 ผู้จัด : ภาควิชาภาพพิมพ์ จิตรกรรม และประติมากรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบ : ชัยวุฒิ ร่วมฤดีกูล ออกแบบปก : ปรัชญา คัมภิรานนท์ ถ่ายภาพ : ธงชัย ยุคันตพรพงษ์, มารุต ธรรมบุญเรือง, ศิลปิน คอมพิวเตอร์กราฟิค : กรรณิการ์ ศรีคำมูล พิมพ์ที่ : บริษัท โชตนาพริ้นท์ จำกัด โทร.053 -225-237 paper.indd 54
12/22/2010 11:32:41
paper.indd 55
12/22/2010 11:32:41
Cover-ok.pdf 12/22/2010 11:28:57
paper.indd 56
12/22/2010 11:32:43