นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย 2561

Page 1

นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย โดย คณาจารย์ และ นักศึกษา โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

ประจาปีการศึกษา 2561

1|VISUAL

ART

1

VISUAL ART


สารจากอธิการบดี นิท รรศการศิล ปกรรมร่ ว มสมัย ของคณาจารย์ แ ละนัก ศึก ษา โปรแกรมวิช า ศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เป็ นการแสดงผล งานชิ ้นสาคัญ ของคณาจารย์และนักศึกษา โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิช า ทัศนศิลป์ทุกคน บ่งบอกถึงศักยภาพในทางความคิด และความรับผิดชอบของแต่ละคน และการนาเสนอผลงานศิลปกรรมที่หลากหลายเทคนิคในการสร้ างสรรค์ เป็ นอีกบทบาท หนึ่งที่จะช่วยสะท้ อนปรากฎการณ์ทางสังคมบันทึกและจารึ กประวัติศาสตร์ ที่เกิดขึ ้น ถูกรั งสรรค์ปัน้ แต่งให้ เกิดมิติแห่งความงดงาม ทางด้ านสุนทรี ยภาพ ซึ่งเป็ นศาสตร์ ที่ เกี่ยวเนื่องกับทัศนศิลป์ VISUAL 2 | V I S UART A L A2 R T


‚ นิท รรศการศิล ปกรรมร่ วมสมัยของคณาจารย์ และนักศึก ษา โปรแกรมวิช า ศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ประจาปี การศึกษา 2561‛ เป็ นกิจกรรมที่ น่าชื่ นชมยินดีในความมุ่งมั่น และความสมัครสมานสามัคคีของ คณาจารย์และนักศึกษา ที่ได้ ร่วมกันจัดกิจกรรม ที่งดงาม อันมีคณ ุ ต่อการศึกษาทาง ศิลปะแก่นกั เรี ยน นักศึกษาและประชาชนทัว่ ไป และเป็ นแรงกระตุ้น ให้ เกิดความซาบซึง้ และมีผ้ สู นใจในการศึกษาค้ นคว้ าทางศิลปะมากขึ ้น ในนามมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย กระผมขอแสดงความยินดี และขอชมเชยในความสาเร็จที่จะเกิดขึ ้นต่อไป ไว้ ณ โอกาสนี ้

( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรชัย มุง่ ไธสง ) อธิการบดี

3|VISUAL

ART

3

VISUAL ART


สารจากผูอ้ านวยการสานักศิลปะและวัฒนธรรม โปรแกรมวิช าศิ ล ปกรรมศาสตร์ แขนงวิ ช าทัศ นศิ ล ป์ กับ ส านั ก ศิ ล ปะและ วัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย ถือ ว่าเป็ นบ้ านใกล้ เรื อนเคีย ง เพราะมีทาเล ที่ตงติ ั ้ ดกัน ดังนัน้ จึงเห็นความเป็ นมาและความเป็ นไปต่างๆ อย่างใกล้ ชิด โดยเฉพาะ กิจกรรมของนักศึกษาทุกชัน้ ปี ซึ่งนอกจากเรี ยนในห้ องเรี ยนแล้ ว ทุกคนก็จะทางานของ ตนเอง บางคนก็แกะ บางคนก็ปัน้ และหลายๆ คนก็วาด เช้ าถึงเย็น เย็นถึงดึก บางครัง้ บางทีก็ยันสว่าง ถือว่าเป็ นแขนงวิชาที่ยากเย็นและหินมากๆ แต่ก็เพราะความยากและ ความหินเช่นนี ้ ที่อาจารย์มอบให้ จากเริ่ มต้ น อาจจะจาใจทา พัฒนาเป็ นทาด้ วยความ เคยชิน และกลายเป็ นวัฒนธรรม อันเป็ นปกติของนักศึกษาทัศนศิลป์ในที่สดุ ผลงานของ นักศึกษาในอดีตและกาลังร่ าเรี ยนกันในปั จจุบัน จึงเป็ นประจักษ์ พยานที่เป็ นรูปธรรม สาหรับยืนยันถึงความสาเร็จ ดัง่ คาโบราณว่าไว้ ‚ถ้ าคุณพูดเขาจะฟั ง แต่ถ้าคุณทาเขาจะ เชื่อ‛

4VISUAL | V I S UART A L A4R T


ในการจัดนิทรรศการ ‚ศิลปกรรมร่วมสมัยของคณาจารย์และนักศึกษาแขนงวิชา ทัศนศิลป์‛ ในคราวครัง้ นี ้ เป็ นการยืนยันถึงความวิริยะอุตสาหะของนั กศึกษา ที่ตงใจร ั ้ ่า เรี ยนและผลิตผลงานด้ านศิลปะ และความเอาใจใส่ของคณาจารย์ ที่ เพียรพยายาม ถ่ายทอดวิชาความรู้ ทัศนคติ ทักษะกระบวนการต่างๆ อีกครัง้ หนึ่ง ในนามของผู้บริ หาร สานักศิลปะและวัฒนธรรม จึงขอแสดงชื่นชมยินดีในการจัดกิจกรรมของคณาจารย์และ นั ก ศึ ก ษา ณ หอนิ ท รรศการหมุน เวี ย นในครั ง้ นี ้ ขอให้ ประสบความส าเร็ จ ตาม วัตถุประสงค์ที่ตงไว้ ั ้ และจงเป็ นหมุดหมายสาคัญ ที่ร่วมสร้ างพลังทางศิลปะ เพื่อส่งต่อ จากรุ่นพี่สรู่ ุ่นน้ องต่อไปอย่างไม่มีสิ ้นสุด ‚เมืองใดไร้ศิลป์โสภณ เมืองนั้นไม่พ้นเสื่อม ทราม”

(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมหวัง อินทร์ ไชย) ผู้อานวยการสานักศิลปะและวัฒนธรรม

5|VISUAL

ART

5

VISUAL ART


สารจากคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ หากจะเปรี ยบอาหารว่าง คือ สิง่ จาเป็ นสาหรับหล่อเลี ้ยงร่างกายให้ เจริญเติบโต แล้ วไซร้ ศิลปกรรม ก็เฉกเช่นกัน ย่อมคือสิง่ จาเป็ นสาหรับการบารุงบาเรอจิตใจให้ อิ่มเอม และเต็มเปี่ ยมไปด้ วยสุนทรี ยภาพ ความซาบซึ ้งเนื่องด้ วยมนุษย์ คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถ สัมผัส รับรู้ และรู้สกึ ถึงความงาม ความวิเศษและพลานุภาพ แห่งศิลปกรรมทังมวล ้ ในนามคณบดี ค ณะมนุษ ยศาสตร์ ดิ ฉั น ขอแสดงความชื่ นชมและยิ น ดี กั บ คณาจารย์และนักศึกษา โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ ทุกท่าน ที่ ได้ ร่วมแรงร่วมใจกันจัดนิทรรศการศิลปกรรมร่ วมสมัย ขึ ้นในครัง้ นี ้ และหวังเป็ นอย่างยิ่ง ว่างานนี ้จะก่อให้ เกิดปรากฏการณ์และประสบการณ์ ใหม่ ๆ แก่ผ้ ทู ี่สนใจในแวดวงศิลปะ ทุกคน

( ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหัทยา สิทธิวเิ ศษ ) คณบดี คณะมนุษยศาสตร์ VISUAL 6 | V I S UART A L A6 R T


นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย โดย คณาจารย์ และ นักศึกษา โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ประจาปีการศึกษา 2561 เป็ นโครงการที่ จั ด แสดงงานร่ ว มกั น เป็ นครั ง้ แรกอย่ า งเต็ ม รู ป แบบระหว่า ง คณาจารย์ และนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรมทุกชันปี ้ ทัง้ นีเ้ พื่อเป็ นการแสดงศักยภาพ ของบุคลากร ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ที่ก่อให้ เกิดประโยชน์แก่การเรี ยนการสอน และเผยแพร่ ผลงานศิลปะให้ กบั เยาวชน อาจารย์ นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่ มีความ สนใจในงานศิลปะภายใต้ นิยามว่า “ เชียงรายเมืองศิลปะ ”

7|VISUAL

ART

7

VISUAL ART


VISUAL 8 | V I S UART A L A8 R T


9|VISUAL

ART

9

VISUAL ART


VISUAL 10 | V I SART U A L 10A R T


รายชื่อคณาจารย์โปรแกรมศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพาวดี นิศวอนุตรพันธ์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โอม พัฒนโชติ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภรัตน์ อินทนิเวศ 4. อาจารย์กฤษณพล ทีครูซ 5. อาจารย์จกั รกริช ฉิมนอก

รายชื่อศิลปินรับเชิญ ศาสตราจารย์กมล ทัศนาญชลี 1 อาจารย์จาง ฮัน่ ตง อาจารย์ Tin Win อาจารย์ศรี วรรณ เจนหัตถการกิจ อาจารย์สมพงษ์ สารทรัพย์ อาจารย์พานทอง แสงจันทร์ อาจารย์ภทั รี ฉิมนอก อาจารย์ทนงศักดิ์ ปากหวาน อาจารย์มานิตย์ กันทะสัก

1 2

ศาสตราจารย์ เดชา วราชุน 2 อาจารย์ Khankeo Vannasouk อาจารย์ Tran Thi Hoai Dien อาจารย์ฉลอง พินิจสุวรรณ อาจารย์ทรงเดช ทิพย์ทอง อาจารย์อรพิน สืบทิม อาจารย์จงจิตร มูลมาตย์ อาจารย์ผกู พัน ไชยรัตน์ อาจารย์พทุ ธรักษ์ ดาษดา

ศิลปิ นแห่งชาติ ปี 2540 สาขาทัศนศิลป์ ศิลปิ นแห่งชาติ ปี 2550 สาขาทัศนศิลป์

11 | V I S U A L

ART

11

VISUAL ART


เรื่อง บทร่าง เชียงรายเมืองศิลปะ สมพงษ์ สารทรัพย์

(น 29 - 35 ) เสพสุขผ่านงานศิลป์ ยุพาวดี นิศวอนุตรพันธ์

( น 36 - 44 ) การศึกษาและการพัฒนาผลงานสร้างสรรค์เชิงศิลปะที่นาเสนอ อัตลักษณ์แห่งจิตวิญญาณ โอม พัฒนโชติ

( น 45 - 66 ) ความบันดาลใจจาก “ดอกไม้” ศุภรัตน์ อินทนิเวศ

( น 67 - 74 ) ความหมายระหว่างวัตถุและภาพเงา กฤษณพล ทีครูซ ( น 75 - 81 )

ทัศน(คติ)ศิลป์แห่งการสร้างสรรค์ จักรกริช ฉิมนอก ( น 82 - 93 ) VISUAL 12 | V I SART U A L 12A R T


A 1.ศิลปิน ศาสตราจารย์กมล ทัศนาญชลี 2.ศิลปิน อาจารย์จาง ฮัน่ ตง ชื่อผลงาน Untitled ชือ่ ผลงาน ฝั นในยูนาน 6 เทคนิค สีอะครี ลคิ บนผ้ าใบ ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร 3.ศิลปิน อาจารย์ Khankeo Vannasouk ชื่อผลงาน WAY OF LIFE เทคนิค สีอะคริลกิ บนผ้ าใบ ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร 13 | V I S U A L

ART

เทคนิค ภาพพิมพ์ ขนาด 47 x 66 เซนติเมตร 4.ศิลปิน ศาสตราจารย์เดชา วราชุน ชื่อผลงาน Untitled เทคนิค สื่อผสม ขนาด 130 x 60 เซนติเมตร 13

VISUAL ART


B 1.ศิลปิน อาจารย์ศรี วรรณ เจนหัตถการกิจ ชื่อผลงาน คารวะดอย ช้ างงู เทคนิค สีน ้ามันบนแคนวาส ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร 3.ศิลปินอาจารย์ Tran Thi Hoai Dien ชื่อผลงาน Untitled เทคนิค สีอะคริลกิ บนผ้ าใบ ขนาด 50 x 60 เซนติเมตร VISUAL 14 | V I SART U A L 14A R T

2.ศิลปิน อาจารย์ฉลอง พินิจสุวรรณ ชื่อผลงาน รุ่งอรุณ ณกิ่งลม เทคนิค ปากกาลูกลื ้นบนกระดาษ ขนาด 63 X 73 เซนติเมตร 4.ศิลปิน อาจารย์ Tin Win ชื่อผลงาน Untitled เทคนิค สีน ้ามันบนผ้ าใบ ขนาด 80 x 90 เซนติเมตร


C 1.ศิลปิน อาจารย์พานทอง แสงจันทร์ ชื่อผลงาน จงเป็ นดอกไม้ ที่เบ่งบาน เทคนิค สีอะครี ลคิ บนผ้ าแคนวาส ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร

2.ศิลปิน อาจารย์ทรงเดช ทิพย์ทอง ชื่อผลงาน หลวงพ่อปราถนา เทคนิค สีฝนบนผ้ ุ่ าแคนวาส ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร

3.ศิลปิน อาจารย์สมพงษ์ สารทรัพย์ ชื่อผลงาน แม่ (แด่แม่ธรณี 2561/5) เทคนิค สีอะคริลกิ สีน ้ามัน ดินสอบนผ้ าแคนวาส ขนาด 65 x 120 เซนติเมตร 15 | V I S U A L

ART

15

VISUAL ART


D 1.ศิลปิน อาจารย์สวุ ทิ ย์ ใจป้อม ชื่อผลงาน แอ้ AEA

2.ศิลปิน อาจารย์อรพิน สืบทิม ชื่อผลงาน เริงระบา

เทคนิค ชาโคลบนกระดาษ

เทคนิค สีอะครี ลคิ บนผ้ าแคนวาส

ขนาด 20 x 15 เซนติเมตร

ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร

3.ศิลปิน อาจารย์พทุ ธรักษ์ ดาษดา

4.ศิลปิน อาจารย์จงจิตร มูลมาตย์

ชื่อผลงาน คุณค่าและความงามของชีวติ (2019) ชื่อผลงาน หอมกลิน่ 2 เทคนิค สีอะคริลกิ บนผ้ าแคนวาส เทคนิค สีน ้าม้ นบนผ้ าแคนวาส ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร VISUAL 16 | V I SART U A L 16A R T

ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร


A

17 | V I S U A L

ART

17

VISUAL ART


B

VISUAL 18 | V I SART U A L 18A R T


C

19 | V I S U A L

ART

19

VISUAL ART


D

VISUAL 20 | V I SART U A L 20A R T


E

21 | V I S U A L

ART

21

VISUAL ART


H

VISUAL 22 | V I SART U A L 22A R T


J

23 | V I S U A L

ART

23

VISUAL ART


K

VISUAL 24 | V I SART U A L 24A R T


E 1.ศิลปิน อาจารย์ทนงศักดิ์ ปากหวาน ชื่อผลงาน หลุดพ้ น เทคนิค สีฝนบนแคนวาส ุ่ ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร 3.ศิลปิน อาจารย์ภทั รี ฉิมนอก

2.ศิลปิน อาจารย์มานิตย์ กันทะสัก ชื่อผลงาน ค้ าาาาาาา เทคนิค เกรยองผ้ าแคนวาส ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร 4.ศิลปิน อาจารย์ผกู พัน ไชยรัตน์

ชื่อผลงาน เสียงกระซิบผีเสื ้อ เทคนิค สีอะคริลกิ บนผ้ าแคนวาส

ชื่อผลงาน "ORANGE AREA" เทคนิค สีน ้ามัน,สีอะคริลกิ บนผ้ าแคนวาส

ขนาด 80 x 100 เซนติเมตร

ขนาด 60 x 80 เซนติเมตร

25 | V I S U A L

ART

25

VISUAL ART


H 1.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพาวดี นิศวอนุตรพันธ์ ชื่อผลงาน “ขุนเขา อารมณ์ และการ แปรเปลี่ยน 6‛ ขนาด 75 x 120 เซนติเมตร.เทคนิค สีอะคริลกิ บนผ้ าแคนวาส 2.อาจารย์จกั รกริช ฉิมนอก ชื่อผลงาน ร่างกาย – จินตนาการ – ใบตองแห้ ง ขนาด ปรับเปลี่ยนตามพื ้นที่ เทคนิค สื่อผสม 3.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โอม พัฒนโชติ ชื่อผลงาน The series of ‘Spiritual Identity: the Overlay of Memories (Endless) no.1-no 4’ , 2013-2017 , ขนาด แตกต่างกัน, เทคนิค สีอะคริลกิ และปากกาบนผ้ าแคนวาส (จากซ้ ายไปขวา) 4.อาจารย์กฤษณพล ทีครูซ ชื่อผลงาน Mather of son in T.cruz Family, Son of Family in T.cruz Familya , Fther of son in T.cruz Family (จากซ้ ายไป ขวา) ขนาด 50x70, 60x80 ,50x70 เซนติเมตร (จากซ้ ายไปขวา) เทคนิ ค สีอะครี ลคิ บนแคนวาส 5.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภรัตน์ อินทนิเวศ ชื่อผลงาน ความสุขวันใหม่, แรกแย้ ม, ชูช่อรับ อรุ ณ 1, ชูช่อ รั บอรุณ 2, จินตนาการสีม่วง (จากซ้ ายไปขวา) ขนาด 50x70, 50x70 ,90x140, 50x70 ,90x140 เซนติเ มตร (จากซ้ ายไปขวา) เทคนิ ค สี น ้ามันบนผ้ าใบ VISUAL 26 | V I SART U A L 26A R T


J 1. นายสุรยุทธ์ จิตมโนวรรณ์ 2. นางสาวศรัญย์ภทั ร จีระยา 3. นายอนาวิล ท้ างแก่นจันทร์

11. นายสมเดช มาเยอะ 12. นายณัฐกร สุรินธรรม 13. นางสาวนันทวัน ตาคา

4. นายวุฒิชยั ใจเที่ยง 5. ประภาพรรณ วงศ์กาวิน 6. นางสาวธัญลักษณ์ หอมนาน 7. นางสาวธิดาพร นันติ 8. นางสาวสุภนิดา ใจปิ นตา 9. นายสุรชาติ อินทรา 10.นายพงศ์รวี อ่องสกุล

14. นายวีระยุทธ สุเต็น 15. นายพุธศิลป์ สิงห์แก้ ว 16. นางสาวสุพตั รา บุญเสงี่ยม 17. นางสาวกฤติยา โมงยาม 18. นางสาวธีรนาฏ ทวีพนั ธ์ 19. นายอิทธิฤทธิ์ จอมแก้ ว 20 นายเทวา เสาศิลา

27 | V I S U A L

ART

27

VISUAL ART


K 1. นายกิจชพงษ์ นภาจรี 2. นายเจตนิพทั ธ์ เก่งกล้ า 3. นายธนพล ตาเบ้ า 4. นางสาวสุทอ ไพรสัณฑ์สดใส

9. นางสาวนฤทัย เถาปั ญญา 10.นายณัฐกร สุรินธรรม 11. นางสาวสุพตั รา อินต๊ ะชุ่ม 12. นางสาวสรัลชนา ปอใจ

5. นายมารุต ใจตึก 6. นางสาววิรมณ์ เทพอินทร์ 7. นายปภาวิน สีลาคา 8. นางสาวสุกฤตตา อุบลกาญจน์

13. นายกวินภพ บุญถี 14. นางสาวธีรนาฏ ทวีพนั ธ์ 15. นายอานนท์ คามัน่ ทูล

VISUAL 28 | V I SART U A L 28A R T


บทร่าง เชียงรายเมืองศิลปะ สมพงษ์ สารทรัพย์

___________________________________________________ ถ้ ามีคนพูดว่าเชี ยงรายเป็ นเมือ งศิลปะ เมื่อ 20-30 ปี ที่แล้ ว คงจะมีคนหัวเราะ เยาะกันทังเมื ้ อง ทังประเทศ ้ …แต่เมื่อเวลาผ่านไปจนถึงวันนี ้ ปั จจุบนั นี ้ คาพูดนีค้ งเป็ นเรื่ อง ปกติธรรมดาไปเสียแล้ ว ด้ วยเชียงรายได้ ถูกประกาศให้ เป็ นหนึ่งในสามเมืองศิลปะ ที่จะมี โครงการ Thailand Art Biennale เกิดขึ ้นในปี 2565...มีอะไรเกิดขึ ้น ? หรื อมีอะไรที่ทาให้ เชียงรายถูกยอมรับเช่นนัน้

\ 

ศิลปิ นรับเชิญ

29 | V I S U A L

ART

29

VISUAL ART


ปี 2532 ถวั ล ย์ ดัช นี รวมพลศิ ล ปิ น และช่ า งพื น้ บ้ าน จั ด จุ ล มหกรรม ศิลปะวัฒนธรรมล้ านนา ไตยวน ขึ ้นที่ศนู ย์วฒ ั นธรรมแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร นี่ เป็ นจุดเริ่มต้ นของ กระบวนการสร้ างสรรค์ศลิ ปกรรมของเชียงราย และในปี 2535 ถวัลย์ ดัชนี อีกเช่นกัน ที่ได้ รวมพลศิลปิ นเชียงราย เฉพาะด้ านวิจิตรศิลป์ ในนาม 9 สล่าเชียงราย จัดแสดงผลงานศิลปกรรมขึ ้นที่ โรงแรมดุสติ ไอส์แลนด์ เชียงราย ซึ่งเป็ นการแสดงศิลปกรรม ครั ง้ แรกที่ จัด ขึ ้นในจัง หวัด เชี ย งราย และงานนี ไ้ ด้ ถูก จัด ขึน้ อี ก ครั ง้ ที่ โ รงแ รม ดุสิต ธานี กรุงเทพ งานนี ้จัดว่าเป็ นงานใหญ่ระดับชาติ ระดับประเทศ ที่ชาวเชียงรายพร้ อมใจร่ วมกัน จัด โดยมี ผู้วา่ ราชการจังหวัดเชียงราย นาย คารณ บุญเชิด เป็ นประธาน และมีการระดม ทุนรายได้ จากงานนิทรรศการศิลปกรรม จัดสร้ างหอศิลป์แรกขึ ้นในจังหวัดเชียงราย ใน สถาบันราชภัฎเชียงราย สถานที่ที่เป็ นหอศิลป์ ที่เราได้ จัดแสดงขึ ้นในครัง้ นี ้ การแสดงครัง้ นันถื ้ อได้ วา่ เป็ น นิทรรศการที่ประสบผลสาเร็จมากที่สดุ เกิดกระแสตื่นตัวทางศิลปกรรมกับ ประชาชนชาวเชียงราย ในวงกว้ าง เกิดผลตามมาเป็ น ลูกโซ่ แทบจะทุกด้ านที่เกี่ยวข้ องกับ งานศิลปะ ที่ไม่ใช่เฉพาะกับงานจิตรกรรม ประติมากรรม แต่ยังรวมถึง งานนาฎกรรม งาน ดนตรี และศิลปะการตกแต่ง เกิดร้ านค้ าศิลปะและสิง่ ของที่ระลึก เกิดอหิงสาอาร์ ตแกลเลอ รี่ แกลเลอรี่ แห่งแรกของเชียงราย ที่เปิ ดตัวโดยคุณ รี เบก้ า สิทธิวงค์ สถานที่ที่ไม่ไกลจาก วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย สถาบันที่มีการศึกษาศิลปะแห่งแรก และแห่งเดียวในจังหวัด เชี ยงรายในขณะนัน้ ปั จ จุบัน จากการเปิ ดตัวแกลเลอรี่ ในครั ง้ นัน้ ก่อ ให้ เกิ ดศิลปิ นจาก สถาบันแห่งนี ้ เติบโตมามีชื่อเสียงในระดับชาติ นานาชาติ ขึ ้นมาหลายคน และเป็ นกาลัง สาคัญ ยิ่งขององค์กร สถาบันศิลปะของเชียงรายที่จ ะผลักดันเชี ยงรายให้ ก้าวหน้ าเจริ ญ ต่อไป

VISUAL 30 | V I SART U A L 30A R T


ปี 2544 สิบสองปี ให้ หลัง จากการเริ่ มต้ น แสดงงานครั ง้ แรกของศิลปิ น เชียงราย สมพงษ์ และ เสาวนีย์ สารทรัพย์ ได้ เปิ ด 9 อาร์ ต แกลเลอรี่ ขึ ้นเป็ นแกลเลอรี่ แห่ง ที่สอง ขยายต่อการเรี ยนรู้ เปิ ดประตูเชียงรายให้ กว้ างออกไปอีก โดยจัดแสดงศิลปกรรม อย่างต่อเนื่องตลอดปี ทังผลงานของศิ ้ ลปิ นท้ องถิ่น และระดับชาติ นานาชาติ ขยายกว้ าง เชื่อมต่อกรุงเทพ เชียงราย และสถาบันภูมิภาคอื่นๆ เกิดกลุ่มก้ อนศิลปิ น และผู้เสพรับงาน ศิลปะเป็ นรู ปอธรรมชัดเจน ปี 2543 เกิดการรวมพลังครัง้ ใหญ่ของศิลปิ นเชี ยงราย เพื่อ ผลักดันโครงการหอศิลป์ร่วมสมัย ร่วมกับ คุณวันชัย จงสุทธนามุนี นายกเทศมนตรี นคร เชียงรายในขณะนัน้ กับพื ้นที่เกาะกลางน ้า ระหว่าง โรงแรมริ มกก รี สอร์ ท กับโรงแรมดุสิต ไอส์แลนด์ มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ความรู้เรื่ องหอศิลป์และจัดนิทรรศการศิลปกรรมของ 31 | V I S U A L

ART

31

VISUAL ART


ศิลปิ นเชี ยงราย 100 คน กับศิลปิ นที่มีชื่อเสียงทังประเทศขึ ้ ้นที่ จังหวัดเชียงราย และที่หอ ศิลป์แห่งชาติ กรุงเทพ จนเกิดการอนุมตั ิมอบพื ้นที่เกาะกลางนา้ เพื่อการก่อสร้ างหอศิลป์ ระหว่างกรมธนารั กษ์ กระทรวงการคลัง กับ เทศบาลนครเชียงรายขึ ้นที่โรงแรมดุสิตไอส์ แลนด์ ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2548 และเกิดการก่อตัง้ สมาคมศิลปิ นเชียงรายขึ ้น ในปี 2548 เพื่อรองรับโครงการหอศิลป์ร่วมสมัยเชียงราย ที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นจริงในอนาคต

VISUAL 32 | V I SART U A L 32A R T


ปี 2555 สมาคมศิลปิ นเชี ยงรายได้ จัดประชุม ประกาศยุติการดาเนินการของ สมาคม ด้ วยไม่สามารถผลักดันโครงการหอศิลป์ให้ สาเร็ จได้ ในการประชุมครัง้ นัน้ เฉลิมชัย โฆษิตพิพฒ ั น์ ได้ มอบเงินเพื่อก่อตังกองทุ ้ นศิลปิ นเชียงราย รองรับการทางานของกลุ่มศิลปิ น เชี ย งราย และ สมลัก ษณ์ ปั น ติบุญ ได้ รั บ คัด เลื อ กให้ เ ป็ นประธานกองทุน และนี่ เ ป็ น จุดเริ่ มต้ นอีกครัง้ ที่สาคัญ เกิดการระดมทุนครัง้ ใหญ่ของศิลปิ นเพื่อ จัดสร้ างองค์กรสถาบัน ของตัวเอง จนเกิดเป็ นกองทุนขัวศิลปะ และสมาคมขัวศิลปะในเวลาต่อมา การเปลี่ยนแปลง ครัง้ ยิ่งใหญ่ในกระบวนการคิด และวิธีการในการพึ่งพาตนเองครัง้ นี ้ เป็ นการปฎิ วตั ิวงการ จากการรอ ร้ องขอความช่วยเหลือจากรั ฐ เป็ นการพึ่งพาตนเอง และนี่เป็ น ผลทาให้ สะพาน เชื่อมต่อศิลปะกับผู้คนและสังคม เป็ นไปโดยธรรมชาติและดาเนินไปตามครรลองของศิลปะ ด้ วยตัวของมันเอง นี่คือที่มาของปั จจุบนั ที่เชี ยงราย ได้ ถูกยอมรับให้ เป็ นหนึ่งในสามเมือ ง ศิลปะของประเทศ

33 | V I S U A L

ART

33

VISUAL ART


ปี 2565 อีกสามปี ข้ างหน้ า จังหวัดเชี ยงรายจะเป็ น สถานที่จัด มหกรรมศิ ลปะ Thailand Art Biennale ( ไทยแลนด์ อาร์ ต เบียนนาเล่ ) กิจกรรมศิลปะที่ยิ่งใหญ่ระดับชาติ นานาชาติ การเดินทางของศิลปิ นเชี ย งรายจากจุด เริ่ มต้ น ปี 2532 ได้ เดิน ทางมาถึงจุด เปลี่ยน ที่สาคัญอีกครัง้ 30 ปี ที่ผา่ นมา เชียงรายเป็ นเมืองศิลปะที่จริงแท้ ..จริ งหรื อ ? หรื อแค่ การอุปโลกน์ 30 ปี จากอดีต จากเมืองชายแดน ไกลโพ้ น ศิลปิ นเพียงต้ องการสร้ างพื ้นที่ให้ ตัวเองได้ มีบทบาททางสังคม..ให้ ตวั เองเป็ นที่ยอมรับในความรักแห่งศิลปกรรม …เชียงราย เมือ งศิลปะ อาจมีอ ะไรให้ เราต้ อ งขบคิดอี กครั ง้ กับคาถามที่ ไม่ได้ มาจากตัวเอง....ภาระ ยิ่งใหญ่จากนี ้คืออะไร ? จากนี ้ต่อไปสิง่ ที่เราจะต้ องกระทา คืออะไร ?

ภาระยิ่งใหญ่จากนี ้คืออะไร? จากนี ้ต่อไปสิ่งที่เราจะต้ องกระทา คืออะไร?

VISUAL 34 | V I SART U A L 34A R T


ชื่อ : สมพงษ์ สารทรัพย์ เกิด : 19 มิถนุ ายน 2504 ที่อยู่ : 29 หมู่ 11 ต.จอมหมอกแก้ ว อ.แม่ลาว จ.เชียงราย 57250 การศึกษา : 2527 - ศศบ. มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร นิทรรศการเดี่ยว : 2531 - แสดงผลงานเดี่ยวครัง้ แรก ที่สถาบันเกอเธ่กรุงเทพฯ 2535 แสดงผลงานเดี่ยว ดิอาร์ ติส แกลเลอรี่ , กรุงเทพฯ, 2543 - แสดงผลงาน ครัง้ ที่ 5 หอศิลป์ แห่งชาติ, กรุงเทพฯ, 2554 - แสดงผลงาน ครัง้ ที่ 14 พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพฯ นิทรรศการกลุ่ม : 2536 - แสดงงานศิลปกรรม 9 สล่าเชียงราย ‚เพื่อทาทุนสร้ างหอศิลป์ เชียงราย สถาบันราชภัฎเชียงราย – ถึงปั จจุบนั อีกหลายครัง้ รางวัล/เกียรติยศ : 2532 - เหรี ยญทองแดง จิตรกรรมบัวหลวง, 2533 - เหรี ยญเงิน จิตรกรรมบัวหลวง, 2534 - รางวัลศิลปกรรมแห่งชาติประเภทจิตรกรรม, 2539 - ได้ รับ มอบหมาย เขียนจิตรกรรมโพธิ์เงิน , โพธิ์ทอง ติดตั ้งถาวรที่ ซ้ ุมพระหยก วัดพระแก้ ว จ. เชี ยงราย, 2543 - ได้ รับเชิญ จากมูลนิธิศิลปะไทย ไปแสดงผลงานเดี่ยวจิตรกรรม ที่ อัมสเตอร์ ดมั , เนเธอร์ แลนด์, 2551 - ได้ รับคัดเลือกจากกระทรวงวัฒนธรรม สร้ างสรรค์ ศิลปกรรมพระประวัติ และพระราชกรณียกิจในสมเด็จพระนางเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิ วัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ 35 | V I S U A L

ART

35

VISUAL ART


เสพสุขผ่านงานศิลป์ ยุพาวดี นิศวอนุตรพันธ์

________________________________________________ เราจะปฏิเสธไม่ได้ วา่ งานศิลปะนันอยู ้ ่รายล้ อมรอบตัวเราตังแต่ ้ ตื่นนอนตอนเช้ าไป จนถึงกลับไปเข้ านอนอีกครัง้ โดยที่ เรามองเป็ นเรื่ องธรรมดาทัง้ ที่ไม่ตงั ้ ใจและไม่ทันสังเกต โดยเฉพาะเรื่ อ งของสีและองค์ประกอบของศิลปะ ซึ่งผลงานศิลปะเหล่านัน้ ส่วนใหญ่ จ ะ ปรากฏในรูปของงานประเภทประยุกต์ศิลป์ (Applied Art) คือเน้ นประโยชน์ใช้ สอยและมี รูปลักษณ์ สวยงาม ส่วนใหญ่ จ ะออกมาในรู ปของข้ าวของเครื่ องใช้ ในชีวิตประจาวัน เช่น แปรงสีฟัน แก้ วนา้ จาน ชาม ช้ อ น ผ้ าปูที่นอน ตุ๊กตา กระเบื ้องปูพืน้ วอลเปเปอร์ บุผนัง ผ้ าม่าน ประตู หน้ าต่า ง เครื่ อ งแต่ง กาย เครื่ อ งประดับ เครื่ อ งสาอาง และอี กเยอะแยะ มากมาย ล้ วนแล้ วแต่ผา่ นการกระบวนการออกแบบและคัดสรรมาเป็ นอย่างดี ซึ่งกว่าจะถึง มือผู้บริ โภคได้ นนั ้ จะต้ อ งผ่านฝี มือของนัก คิดนักออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เชี่ยวชาญ ผ่านการ นาเสนอ ผ่านการทดสอบและทดลองใช้ นับไม่ถ้วน ผ่านฝี มือการขายของนักการตลาด นัก ประชาสัมพันธ์ การจัดทาสื่อโฆษณาอื่นๆทุกรูปแบบทุกช่องทาง กว่าจะมาถึงมือผู้ใช้ จริ งๆ เราจะเห็นว่าเส้ นทางของผลิตภัณ ฑ์ ที่ ครบเครื่ อ งครบครันอเนกประสงค์ทงั ้ ประโยชน์และ สวยงามนัน้ กว่าจะนามาวางจาหน่ายถึงมืออย่างเรา ช่างเดินทางมาไกลและยาวนาน อีกทัง้ มีเส้ นทางที่สลับซับซ้ อนมากมาย (ดังภาพที่ 1 และ 2) 

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. , โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย VISUAL 36 | V I SART U A L 36A R T


ภาพที่ 1 ของใช้ ภายในบ้ านที่ผ่านการดีไซน์จากนักออกแบบภายใต้ แบรนด์ IKEA ที่มา : www.ipricethailand.com. สืบค้ นเมื่อ 10 มิถนุ ายน 2562

37 | V I S U A L

ART

37

VISUAL ART


ภาพที่ 2 เสื ้อผ้ าจากเศษถุงขยะเหลือใช้ ฝีมือของ รุ่ งโรจน์ จันทร์ กระจ่าง เจ้ าของแบรนด์เสื ้อผ้ าดัง La Rocca ที่มา www.baanlaesuan.com/153017/arts/la-rocca. สืบค้ นเมื่อ 10 มิถนุ ายน 2562 VISUAL 38 | V I SART U A L 38A R T


ในทางกลับกันยังมียงั มีงานศิลปะอีกประเภทหนึ่ง คือ งานประเภทจักษุสมั ผัสหรื อ ทัศนศิลป์ (Fine Art) ที่ผ้ จู ะชื่นชมงานนี ้ได้ จะต้ องมีความตังใจในระดั ้ บหนึ่งที่จะพาตัวเองไป ในสถานที่แสดงงานที่มีความเฉพาะกิจ เฉพาะช่วงเวลา เช่น ตามห้ องแสดงงานศิลปะ (Art Gallery) หรื อลานแสดงงานชัว่ คราวในห้ างสรรพสินค้ าหรื อในอาคารส่วนราชการที่เป็ นของ ภาครัฐและเอกชนก็ตาม มีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนการเพื่อแสดงงานตามอัตลักษณ์ ของ ศิลปิ น ซึ่งงานประเภทนี ้จาเป็ นต้ องอาศัยเวลาในการชมงาน หมายความว่า ผู้เข้ าชมจะต้ อง เปิ ดใจเพื่ออ่านประวัติส่วนตัวของศิลปิ น ประวัติความเป็ นมาของแนวคิด และเทคนิคของ ผลงาน ก่อนที่จะเปิ ดอารมณ์ความรู้สกึ ของตนเข้ าไปแตะสัมผัสกับความรู้สึกของความเพียร พยายามตังใจสร้ ้ างงานของศิลปิ นได้ อย่างเข้ าใจ นอกจากนี ้ถ้ าเราเข้ าชมงานศิลปะในห้ อง แสดงงานขนาดใหญ่ในระดับพิพิธภัณฑ์ (Art Museum) หรื อห้ อ งแสดงงานศิลปะขนาด ใหญ่ (Art Gallery) เมื่อเราเดินชมงานในห้ องต่างๆ ด้ วยความซาบซึ ้งในสุนทรี ยภาพแล้ ว และก่อ นที่ เราจะออกจากพิพิธภัณ ฑ์ หรื อห้ อ งแสดงงานนัน้ ไป เราจะพบกับห้ อ งจ าหน่าย สินค้ าที่ระลึก (Gift Souvenirs) ที่เป็ นตัวแทนผลิตภัณฑ์จากงานศิลปะชิน้ เล็กๆ แต่มากมาย ไปด้ วยเรื่ องราวความประทับใจที่เป็ นความรู้ สึกดีๆ เพื่อเก็บไว้ เป็ นที่ระลึก นึกถึง และหวน ย้ อ นความทรงจาดีๆ ว่าครั ง้ หนึ่งเราเคยมาพบความสุขสุนทรี ย์จ ากการเสพงานศิลปะที่ นี่ เป็ นการพกพาหนีบหิ ้วงานศิลปะชิ ้นเล็กๆ ติดตัวเราก่อนจะออกไปจากสถานที่นนั ้ ด้ วยความ เปี่ ยมสุข (ดังภาพที่ 3 ถึง 5)

39 | V I S U A L

ART

39

VISUAL ART


ภาพที่ 3 งานศิลปะของศิลปิ นที่มีชื่อเสียงระดับตานานกับผลงานที่ถกู ถ่ายทอดลงสู่ผลิตภัณฑ์ ของที่ระลึก ในนิทรรศการศิลปะ ‚From-Monet-to-Kandinsky‛ จัดแสดงไปจนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 ณ ชัน้ 3 RCB Galleries ของโรงแรมเดอะริ เวอร์ The River City กรุ งเทพมหานคร ที่มา : www.punpro.com/p/From-Monet-to-Kandinsky. สืบค้ นเมื่อ 10 มิถนุ ายน 2562 VISUAL 40 | V I SART U A L 40A R T


ภาพที่ 4 ผลิตภัณฑ์ที่บนั ทึกความทรงจาจากการแสดงนิทรรศการงานศิลปะของศิลปิ นทีแ่ สดงงานผ่านพ้ น ไปแล้ ว แต่ยงั คงมีจาหน่ายที่ร้านขายของที่ระลึกขัวศิลปะ (Artbridge Shop) เชียงราย ที่มา : www.facebook.com/artbridgeshop. สืบค้ นเมื่อ 15 มิถนุ ายน 2562

41 | V I S U A L

ART

41

VISUAL ART


ภาพที่ 5 ผลงานที่เกิดจากงานวิจยั ของนิสิตระดับดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ก็สามารถประยุกต์งานทัศนศิลป์เข้ าสู่งานประยุกต์ศิลป์ได้ ที่มา : ยุพาวดี นิศวอนุตรพันธ์ , 2561 : 166-208

“สุดท้ายแล้ว เราก็จะพบว่า งานศิลปะดีๆ อยู่รายล้อมรอบๆ ตัวเรานี่เอง” VISUAL 42 | V I SART U A L 42A R T


อ้างอิง _________.(2562). ของใช้ภายในบ้านที่ผ่านการดีไซน์จากนักออกแบบภายใต้ แบรนด์ IKEA. อ้ างอิงจาก www.ipricethailand.com. สืบค้ นเมื่อ 10 มิถนุ ายน 2562. ______.(2562). เสื้อผ้าจากเศษถุงขยะเหลือใช้ฝีมือของ รุ่งโรจน์ จันทร์กระจ่าง เจ้าของ แบรนด์ เสื้อผ้าดัง La Rocca. อ้ างอิงจาก www.baanlaesuan.com/153017/arts/la-rocca.สืบค้ นเมื่อ 10 มิถนุ ายน 2562. ______.(2562). งานศิลปะของศิลปินที่มีชื่อเสียงระดับตานานกับผลงานที่ถูก ถ่ายทอดลงสู่ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกในนิทรรศการศิลปะ “From-Monetto-Kandinsky” จัดแสดงไปจนถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 ณ ชั้น 3 RCB Galleries ของโรงแรมเดอะริเวอร์ The River City กรุงเทพมหานคร. อ้ างอิงจาก www.punpro.com/p/From-Monet-to-Kandinsky.สืบค้ นเมื่อ 10 มิถนุ ายน 2562. _________.(2562). ผลิตภัณฑ์ที่บันทึกความทรงจาจากการแสดงนิทรรศการงาน ศิลปะของศิลปินที่ แสดงงานผ่านพ้นไปแล้ว แต่ยังคงมีจาหน่ายที่ร้าน ขายของที่ระลึกขัวศิลปะ (Artbridge Shop) เชียงราย อ้ างอิงจาก www.facebook.com/artbridgeshop. สืบค้ นเมื่อ 15 มิถนุ ายน 2562. ยุพาวดี นิศวอนุตรพันธ์. (2561). รูปแบบทุนทางวัฒนธรรมสาหรับการเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ทางการ ท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. (หน้ า 166-208). 43 | V I S U A L

ART

43

VISUAL ART


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุพาวดี นิศวอนุตรพันธ์ สังกัดคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิท ยาลัยราชภัฏ เชี ย งราย, ประวั ติก ารศึ กษา ปี 2561 ศิล ปกรรมศาสตรดุษ ฎี บัณฑิต สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปี 2541 ครุศาสตรมหา บัณ ฑิต สาขาวิช าศิลปศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, ปี 2535 ครุ ศาสตรบัณ ฑิ ต สาขาวิชาศิลปศึกษา สถาบันราชภัฏเชียงใหม่ การแสดงผลงานศิลปกรรม ปี 2562 ออกแบบผลิตภัณฑ์สว่ นหนึ่งจากวิจยั ปริ ญญาเอกในงานมหกรรมเมืองพิพิธภัณฑ์เชียง แสน ‚ปาเจียงแสนปิ๊ กบ้ าน‛ วัดเจดีย์หลวง เชี ยงแสน เชียงราย และนิทรรศการ ‚The Lovers for Nangnon‛ ขัวศิลปะเชียงราย, ปี 2561-2560 ผู้จัดตังโครงการแสดงงาน ้ นิทรรศการ ‚มุทิตาจิต‛ และ ศิลปกรรมร่วมสมัย ‚My Best Friends #40‛ ของกลุ่มศิษย์ เก่ า ศิ ล ปกรรม มร.ชร, ร่ ว มโครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บัติ ก ารฯ นานาชาติ ‚RMUTL International Art Workshop 2018‛ มทร.ล้ านนา, โครงการ ‚ครุศิลปะสร้ างสรรค์งาน ศิล ป์ กับ ศิล ปิ นแห่ ง ชาติ รุ่ น 8‛ หออัค รศิล ปิ น, ปี 2559 แสดงเดี่ ย วภาพถ่ า ยและ ภาพเขียนวิถีชีวติ ลุม่ น ้าโขง 6 ประเทศ ‚GMS. General : Man : Soul‛ หอศิลป์ มน., ปี 2558-2550 นิทรรศการ Art Sharing : Greater Mekong Sub-Region กับศิลปิ นกลุ่ม ลุม่ น ้าโขง 6 ประเทศ, ร่วม workshop และแสดงศิลปกรรม ‚อารยชาติพนั ธุ์‛, นิทรรศการ ศิลปกรรม ‚ครูศิลป์แผ่นดินล้ านนาครัง้ ที่ 12-6 , ‚โครงการแลกเปลี่ยนศิลปกรรมลุ่มนา้ โขง : ไทย-จีน สูป่ ระชาคมอาเซียน‛ และร่วมออกแบบและสร้ างงานประติมากรรมปูนปั น้ 2 ผลงานประดับสวนปาล์มในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย VISUAL 44 | V I SART U A L 44A R T


การศึกษา และการพัฒนาผลงานสร้างสรรค์เชิงศิลปะ ที่นาเสนออัตลักษณ์แห่งจิตวิญญาณ 1 โอม พัฒนโชติ 2 ______________________________________________________________ _

บทคัดย่อ ผลงานในปั จจุบนั เป็ นงานสร้ างสรรค์ในชุดผลงานเชิงศิลปะที่ ชื่อ ‚การทับซ้ อนของ ความทรงจา: การสร้ างสรรค์ผลงานจิตรกรรมสื่อ ผสมนาเสนอสัญลักษณ์ แห่งพัฒนาการ ด้ านจิ ตวิญ ญาณเฉพาะตนที่ สัมพันธ์ กับ ความเชื่ อ และศรั ทธาในศาสนาพุท ธและ คริ ส ต์ (Overlay Memories: the creation of Mixed Media Painting represented Individual Spiritual Development which related to Buddhist and Christian Symbolism and its Transformation to images)‛ โดยวัตถุประสงค์ของงานวิจยั คือ เพื่อศึกษากระบวนการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะที่ มุ่งเน้ นการศึกษาองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ประการ คือ แนวคิด รูปแบบ และเทคนิคในการ สร้ างสรรค์งาน ภายใต้ บริบทของการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปกรรมร่วมสมัย ซึ่งแนวคิดหลักใน การสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะโครงการนี ้ก็คือ การนาเสนอการทับซ้ อนของความทรงจา การ 1

The Study and the Development of the Artistic Creative Works Presenting the Artist’s Spiritual Identity 2

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. , โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

45 | V I S U A L

ART

45

VISUAL ART


เดินทางของชีวติ หรื อ ประสบการณ์สว่ นตัวของผู้วิจัย ผ่านภาพเปรี ยบเทียบหรื อสัญลักษณ์ ที่ ใช้ เทคนิคการสร้ างภาพซ้ อ นของรู ปร่ างรู ปทรงจากการเขียนภาพใหม่ทับภาพเก่าหรื อ ผลงานเก่าไปเรื่ อยๆ เพื่อนาเสนอมิตคิ วามเข้ าใจในพัฒนาการแห่งจิตวิญญาณ ที่ชีใ้ ห้ เห็นถึง ความสมดุลของชีวติ ซึง่ อาจกล่าวได้ อีกอย่างว่าเป็ นการศึกษาตัวตนของศิลปิ นและสภาวะ จิตปั จ จุบันผ่านการวิเคราะห์ อ ดีต ที่ สามารถนาไปสู่ความเข้ าใจในชี วิตอย่างแท้ จริ งและ กาหนดอนาคตในอุดมคติได้ จากการศึกษาวิจยั ทาให้ พบว่ารูปร่ างรูปทรงและตัวหนังสือที่ถูกออกแบบนาเสนอ ในผลงานศิลปะครัง้ นี ้นัน้ มีความเกี่ยวข้ องเชื่อมโยงกับความเชื่อความศรัทธาทางศาสนา ทัง้ พุทธ และคริ สต์ ซึ่งเป็ นบริ บทพื ้นฐานแห่งพัฒนาการทางแนวคิดและจิตวิญ ญาณส่วนตัว ของศิลปิ นในปั จจุบนั โดยมีการแสดงออกผ่านรูปทรงของภาชนะหรื อวัตถุเชิงศาสนาพุทธที่ คล้ ายบาตรพระ ประกอบกับ การแสดงออกผ่านหน้ าตาและท่าทางของรูปทรงของมนุษย์(ที่ ไม่สมบูรณ์ ) ที่เชื่อมโยงกับสัญลักษณ์ เชิงคริ สต์ศิลป์ และการเข้ าใจสมดุลแห่งชีวิตจากแก่น คาสอนของทังสองศาสนา ้ คาสาคัญ: กระบวนการสร้ างสรรค์งานศิลปะ, กระบวนการเรี ยนรู้ทางศิลปะ , สัญลักษณ์ ใน งานศิลปะ บทนา กระบวนการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะเป็ นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ประกอบ ไปด้ ว ยศาสตร์ แ ห่ งการวิจัย และการสร้ างสรรค์ รูป ทรงทางศิลปะที่ มีค วามหมาย สร้ าง ผลกระทบทางอารมณ์และมีคณ ุ ค่าเชิงสุนทรี ยศาสตร์ ซึ่งในการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะแต่ ละชิ ้นหรื อแต่ละชุดนัน้ ก่อให้ เกิดกระบวนการเรี ยนรู้เชิงศิลปะ สร้ างองค์ความรู้ใหม่ที่สร้ าง แรงบันดาลใจ ชี ้นาแนวทาง และเป็ นตัวอย่างให้ ผ้ ทู ี่ฝึกฝนปฏิบตั งิ านศิลปะในทุกระดับ VISUAL 46 | V I SART U A L 46A R T


ดังนันในการค้ ้ นคว้ าวิจัยครัง้ นี ้จึงมุ่งเน้ นไปที่ การศึกษาศิลปิ นและผลงานศิลปะที่ สร้ างขึ ้น ผ่านการเรี ยนรู้ และเที ยบเคียงทฤษฎี ต่างๆที่ เกี่ ยวข้ อง เช่น พฤติกรรมมนุษย์เชิง จิ ต วิ ท ยา วัฒ นธรรม ความเชื่ อ และศาสนา ทฤษฎี ศิ ล ปะ รู ป แบบศิ ล ปะ(ศึ ก ษาจาก ประวัตศิ าสตร์ ศลิ ป์) เทคนิควิธีในการสร้ างสรรค์งานศิลปะและทฤษฎีอื่นๆที่เกี่ยวข้ อง ซึ่งอาจ กล่าวได้ ว่าเป็ นทิศทางเดียวกันกับกระบวนการการเรี ยนรู้ สร้ างประสบการณ์ เชิงศิลปะที่ กล่าวมาข้ างต้ นนัน่ เอง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อ พัฒนาและเผยแพร่ องค์ความรู้ เกี่ ยวกับกระบวนการสร้ างสรรค์ผลงาน ศิลปะที่มีแนวคิดเป็ นอัตลักษณ์เฉพาะตนของศิลปิ น 2. เพื่อพัฒนาและเผยแพร่ องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเรี ยนรู้เชิงศิลปะ 3. เพื่อพัฒนาและเผยแพร่ กระบวนการพัฒนาตัวตนเชิงจิตวิญญาณของศิลปิ น สมมติฐานของการวิจัย 1. การพัฒนาตัวตนเชิงจิตวิญ ญาณของศิลปิ น (Spiritual Development) จะ ปรากฏให้ เห็นผ่านสัญลักษณ์ในงานศิลปะและการศึกษาวิจัยสัญลักษณ์ นนั ้ บนพื ้นฐานของ การศึกษาประสบการณ์ พื ้นฐานส่วนตัว (Background) และ รากเหง้ าเชิงวัฒนธรรมของ ศิล ปิ น (Cultural Roots) รวมไปถึง ผลกระทบจากการพัฒ นาและเผยแพร่ อ งค์ค วามรู้ เกี่ยวกับกระบวนการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะและกระบวนการเรี ยนรู้ (Its presentation and Exhibition)

47 | V I S U A L

ART

47

VISUAL ART


ระเบียบวิธีการวิจัย วิธี การด าเนิน การวิจัย เป็ นการวิจัยเชิง คุณ ภาพ การศึก ษาค้ น คว้ าตรวจสอบ เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง (Documentary Research) และการวิจัยภาคสนาม (Field Research) ซึ่งประกอบไปด้ วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) และการสนทนา กลุม่ (Focus Group) ร่วมกับการผลิตงานสร้ างสรรค์และการวิเคราะห์อภิปรายองค์ความรู้ ที่ได้ ในรูปแบบการพรรณนา ผลการวิจัยและการอภิปราย จากข้ อ มูล ที่ ปรากฏ ในส่วนที่ ได้ จ ากการวิจัย ภาคสนาม (Field Research) ที่ ประกอบด้ วยขันตอนการสั ้ มภาษณ์ เชิงลึก (In-Depth Interview) การสนทนากลุ่ม (Focus Group) เกี่ยวกับการผลิตงานสร้ างสรรค์และการวิเคราะห์อภิปรายองค์ความรู้ที่ได้ สามารถ อธิบายในรู ปแบบการพรรณนาดังนี ้ ผู้ช มผลงานในนิทรรศการทัง้ ที่ มหาวิทยาลัย ราชภัฎ เชียงรายและวิทยาลัยเพาะช่างมีความพึงพอใจในผลงานศิลปะในภาพรวมในระดับมาก และมีความเข้ าใจในที่มาของแนวคิดและกระบวนการสร้ างสรรค์งานศิลปะ รวมถึงคุณค่า เชิงสุนทรี ยศาสตร์ ของผลงานในระดับมาก และในนิทรรศการทังสองครั ้ ง้ พบว่าจานวนผู้ที่จบ การศึก ษาสูง กว่า ปริ ญ ญาตรี ที่ มี ค วามพึง พอใจ ความเข้ า ใจและได้ รั บ ผลกระทบด้ า น สุนทรี ยะจากการชมผลงานศิลปะมีจานวนน้ อ ยกว่าผู้ที่มีการศึกษาต่ากว่าปริ ญญาตรี ซึ่ง อาจแสดงให้ เห็นถึงตัวแปรในการเข้ าถึงหรื อเข้ าใจในงานศิลปะที่อาจไม่เกี่ยวข้ องกับระดับ การศึกษา แต่อาจเป็ นกรอบประสบการณ์เชิงศิลปะแบบปั จเจกบุคคล ส่วนข้ อ มูลจากการสนทนากลุ่ม ประชากรผู้เ ข้ า ร่ วมมีค วามเห็ นตรงกันในการ ตระหนักถึงผลกระทบของผลงานศิลปะแยกตามหัวข้ อที่ระบุไว้ คือ 1. องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะที่มีแนวคิดเป็ นอัต ลักษณ์เฉพาะตนของศิลปิ น VISUAL 48 | V I SART U A L 48A R T


2. องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเรี ยนรู้เชิงศิลปะ 3. กระบวนการพัฒนาตัวตนเชิงจิตวิญญาณของศิลปิ น นอกจากนี ้จากการศึกษา ค้ นคว้ าตรวจสอบเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ อง (Documentary Research)สามารถ อธิบายถึงองค์ความรู้ที่ได้ ดงั นี ้ 1. กระบวนการสร้ างสรรค์งานศิลปะ 1. 1 แนวคิ ด ในงานสร้ างสรรค์ ค รั ง้ นี ม้ ี แ นวคิด ที่ น อกเหนื อ ไปจากการ นาเสนออัตลักษณ์ ทางมโนทัศน์ หรื อ ตัวตนทางจิตวิญญาณของศิลปิ น คือ การมุ่งหวังใน การแสดงออกถึงความมุง่ มัน่ ส่วนตัวที่จะนาเสนอคุณค่าเชิงศิลปะและสุนทรี ยศาสตร์ รูปแบบ ใหม่ที่ไม่ยึดติดอยู่กับการลอกเลียนแบบธรรมชาติและออกห่างจากการจ าลองแบบตาม ความเป็ นจริง ซึ่งอาจกล่าวได้ ว่าเป็ นการแสดงออกถึงตัวตนเพื่อให้ ได้ มาซึ่งการยอมรับทาง สังคม อันเป็ นความต้ องการพื ้นฐานของมนุษย์ (Basic Needs) ตามทฤษฎี ของมาสโลว์ (Newman & Di Capprio, 2526, อ้ างถึงใน รังสรรค์ โฉมยา, 2548) 1.2 รู ป แบบ ลัท ธิ ท างศิ ล ปะหรื อ การเคลื่ อ นไหวทางศิ ล ปะที่ น ามา เปรี ยบเทียบเพื่อ อธิบายผลงานสร้ างสรรค์ในโครงการวิจัยครั ง้ นีไ้ ด้ ชัดที่สุด คือ ศิลปะแนว ถวิลหาอดีต ซึ่งมีคาอธิบายตามที่ กระสินธุ์ อินสว่าง (2559, น. 2-17) สรุปไว้ คือ ส่วนใหญ่ ศิลปิ นได้ ประสบการณ์ ตรงเป็ นแรงขับที่ นาไปสู่ภ าวการณ์ แห่งการถวิลหาอดีต ซึ่งพบว่า สัมพันธ์กนั อย่างมีนยั ยะสาคัญกับ มโนทัศน์ ประสบการณ์ และความทรงจา จากการศึกษา งานวิจัยในโครงการนี พ้ บว่า ผลงานสร้ างสรรค์ทุกชุด มีรูปแบบทางศิลปะที่สอดคล้ อ งกับ ศิลปะแนวถวิลหาอดีต กล่าวคือ เป็ นการนาเสนอรูปแบบใหม่ของศิลปะแนวถวิลหาอดีต ที่ สร้ างความแตกต่างจากเดิมที่นิยมเน้ นการพรรณนาเล่าเรื่ องสภาพแวดล้ อม บรรยากาศ พื ้นที่และแสงสีอนั เป็ นการถ่ายทอดเชิงรูปธรรม สู่การตัดทอนคลี่คลายไปสู่รูปแบบแห่งการ สร้ างภาพเปรี ยบเทียบหรื อการสร้ างภาพอุปมาอุปไมย (Metaphor) ที่ตงค ั ้ าถามต่อตัวศิลปิ น 49 | V I S U A L

ART

49

VISUAL ART


เองกับบริบทในการทางานที่แตกต่างกันออกไปอันเนื่องมาจากการย้ ายถิ่น หรื อการทางาน ในสถานที่ที่ไม่ค้ นุ ชิน แตกต่างกันทังสภาพแวดล้ ้ อมทางกายภาพและวัฒนธรรม 1.3 เทคนิค เป็ นเทคนิคจิตรกรรมสื่อ ผสม มีการใช้ ผลงานสร้ างสรรค์ใน อดี ต ของศิ ล ปิ นมาสร้ างเป็ นผลงานใหม่ ด้ ว ยการเพิ่ม การทับ ซ้ อ นของรู ป ร่ า งรู ป ทรง สัญลักษณ์ที่ออกแบบใหม่บนแผ่นอะคริ ลิกใสอีกเป็ นจานวนหลายชัน้ เพื่อสะท้ อนการหวน คานึงถึงอดีต และการนาเสนอประสบการณ์ การเดินทางของชี วิตและพัฒนาการเชิงจิต วิญญาณ ซึ่งเป็ นพัฒนาการเชิงรูปทรงทางศิลปะที่มีอตั ลักษณ์เฉพาะตัว และเป็ นสัญลักษณ์ รูปธรรมที่นาเสนอแนวคิดนามธรรมที่ สามารถเข้ าใจและตีความได้ หลากหลายตามมุมมอง ของปั จเจกบุคคล 2. กระบวนการเรี ยนรู้เชิงศิลปะ กระบวนการเรี ยนรู้ทางศิลปะที่เป็ นกระบวนการผสมผสานกันระหว่างกระบวนการ ที่ก่อให้ เกิดความรู้ (Knowledge) และกระบวนการที่ก่อให้ เกิดการเห็นคุณค่า (Value) หรื อที่ เรี ยกว่าสุนทรี ยศาสตร์ นั่นเอง เป็ นขันตอนที ้ ่เน้ นถึงการมองเห็นถึงคุณสมบัติ การคัดเลือก การควบคุมและกระบวนการหรื อขันตอนในการสร้ ้ างสรรค์งานศิลปะโดยที่ความสาคัญของ กระบวนการการสร้ างสรรค์ของศิลปิ น เป็ นกระบวนการที่ เกิดจากการใช้ ทักษะและหลัก ทฤษฎีในการจัดการกับวัตถุดิบในงานศิล ปะ หรื อทัศนธาตุให้ ได้ อย่างลงตัวมีเอกภาพ เกิด เป็ นผลงานที่มีคณ ุ ค่าทางศิลปะ (ชุตมิ า เวทการ, 2551, น.19) 2.1 กระบวนการที่ก่อให้ เกิดความรู้ 2.1.1 อิทธิพลและแรงบันดาลใจในการสร้ างสรรค์งานศิลปะ สิริอร วิช ชาวุธ และคณะ (2550, น. 5, 8, 33 – 34) กล่าวว่า การศึก ษาเรื่ อ ง พฤติกรรมตามแนวคิดพฤติกรรมนิยมที่มี B.F. Skinner เป็ นผู้นาในการศึกษา มีหลักการคือ บุคคลหรื อสัตว์จะมีพฤติกรรมซ ้า ๆ และมีการเรี ยนรู้สิ่งใหม่ ๆ ได้ จากการได้ รับแรงกระตุ้น VISUAL 50 | V I SART U A L 50A R T


เสริ ม (Reinforcement) ซึ่งสามารถแปรผันเป็ นไปได้ ทัง้ สองทาง คือ บวกและลบ จากผล การศึกษาโครงการวิจยั สิ่งที่ได้ นาไปสู่องค์ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์เชิงจิตวิทยาที่มี อิทธิพลต่อแรงบันดาลใจในการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะดังนี ้ 2.1.1.1 การทับซ้ อนของความทรงจา ประสบการณ์ และการถวิลหาอดีต (Nostalgia) การถวิลหาอดีตในระดับบุคคลนัน้ เป็ นการสร้ างภาพส่ วน ตน หรื อ อัตลักษณ์ แห่งมโนทัศน์ ที่มีรูปแบบแห่งการนาเสนอเรื่ องราวชีวิตส่วนบุคคล ผ่าน การปรุงแต่ง สร้ างสรรค์และทาความเข้ าใจเรื่ องราวความทรงจาและภาพตัวแทนเฉพาะตนที่ แตกต่ า งกั น ไป โดยมี ค วามสัม พัน ธ์ ร ะหว่ า งเวลาและสถานที่ และเป็ นอั ต ลัก ษณ์ ที่ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอผกผันตามเงื่ อ นไขของสังคม (พัฒนา กิติอาษา, 2546, น. 7-23, อ้ างอิงใน กระสินธุ์ อินสว่าง, 2559, น. 10) ในบริบทแห่งการถวิลหาอดีตและการสร้ างสรรค์ ผลงานศิลปะ สามารถอธิบายได้ ตามแนวคิดของนักปรัชญาชาวอเมริ กัน เคลวิน โอ. แชรก ( Calvin O. Schrag) ดังนี ้ ‚การถวิลหาอดีตเป็ นรู ปแบบหนึ่งของความคิดสร้ างสรรค์บน พื ้นฐานของจินตนาการของปั จเจกบุคลที่แสดงออกถึงจินตนาการและความทรงจาในอดีตที่ มีลกั ษณะของภาพที่แยกส่วนไม่ตอ่ เนื่อง (Nonlinear) นาเสนอความเป็ นจริ งเฉพาะตนและ สังคมซึ่งแต่ละบุคคลเป็ นส่วนหนึ่งของสังคมและมีความเชื่อมโยงกับสังคม‛ (Schrag, 2535, น. 74, อ้ างถึงใน กระสินธุ์ อินสว่าง, 2559, น. 12) 2.1.1.2 วัฒนธรรม คาจากัดความของวัฒนธรรมคือ พฤติกรรมแห่งการเรี ยนรู้ร่วมกันซึ่งสืบทอดจากรุ่นสูร่ ุ่นเพื่อจุดมุง่ หมายในการสนับสนุนการ ดาเนินชีวติ ของบุคคลและสังคม การปรับตัวและพัฒนาการ เป็ นเรื่ อ งของวิถีชีวิต จริ ยธรรม คุณธรรม โดยที่วฒ ั นธรรมจะสะท้ อนให้ เห็นถึง ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ จารี ตประเพณี และผลงานประดิษฐ์ ตา่ ง ๆ ที่มีพฒ ั นาการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา มีการถ่ายทอดองค์ ความรู้ดังกล่าวจากรุ่ นสู่รุ่ นผ่านระบบการศึกษาทัง้ ในระบบและนอกระบบจนนาไปสู่อัต 51 | V I S U A L

ART

51

VISUAL ART


ลักษณ์ แห่งวัฒนธรรมของชุมชน และศิลปิ นก็รับอิทธิพลนันมาและแสดงออกอย่ ้ างชัดเจน ผ่านสัญลักษณ์เชิงศิลปะ (จุฑาพรรณ ผดุงชีวติ , 2551, น. 4 – 9) 2.1.1.2.1 ความเชื่ อ และอิ ทธิ พ ลต่อ การ พัฒนาตัวตนทางจิตวิญ ญาณ ความเชื่อ ใน พจนานุกรมศัพท์ สังคมวิทยา อังกฤษ – ไทย (2524, น. 42,) หมายถึง การยอมรับในสิง่ ต่างๆ ว่าเป็ นจริ ง มีอยู่จริ งของมนุษย์และกลุ่มชน ซึ่งมีผลต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์ทงในแง่ ั้ ดีและร้ าย ไม่ว่าสิ่งเหล่านัน้ จะสามารถพิสจู น์ได้ ว่าเป็ นความจริงด้ วยวิทยาศาสตร์ หรื อไม่ก็ตาม ซึ่งเกี่ยวข้ องเชื่อมโยงกับทฤษฎีการทาความ เข้ าใจผลงานศิลปะบนพื ้นฐานของการศึกษารากเหง้ าทางด้ านวัฒนธรรมของ สจ๊ วต ฮอลล์ (Steward Hall) ผ่านมุมมองของ อารี น ราชีด (Araeen Rasheed) ที่วิเคราะห์แนวคิดของ ฮอลล์และอธิบายเพิม่ เติมว่า ‚ ในการศึกษาแนวคิดในการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะแต่ละชิน้ นันไม่ ้ เพียงแต่ต้องศึกษาพื ้นฐานทางวัฒนธรรมท้ องถิ่นของศิลปิ นซึ่งเป็ นอัตลักษณ์ เฉพาะตน เท่านัน้ แต่ยงั ต้ องพิจารณาบริบทแห่งวัฒนธรรมผสมประกอบด้ วย‛ นาไปสู่การพิสูจ น์ ตรวจสอบตนเองและการค้ นพบตนเองของผู้วิจัยในด้ าน อัต ลักษณ์ ทางวัฒนธรรม ประสบการณ์ ความเชื่ อ ตัวตนทางจิตวิญ ญาณ และปั จ จัยด้ า น สภาพแวดล้ อ มหรื อ วิถีชี วิตที่ แตกต่างไปจากที่ เคยเป็ น (Diaspora or Displacement) ในขณะปฏิบตั กิ ารทางศิลปะหรื อสร้ างสรรค์งาน (Araeen Rasheed, 2543, น. 3-20, อ้ างอิง ใน Ohm Pattanachoti, 2553, 9) โดยพบว่าข้ อมูลที่ได้ มีดงั นีค้ ือ ‚มีมมุ มองความเชื่ออัน เป็ นอัตลักษณ์บนพื ้นฐานของการเป็ นคนไทยที่นบั ถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทในช่วงต้ น ของชี วิต และมีการเปลี่ยนแปลงสู่การนับถื อ ศาสนาคริ สต์นิกายโปรเตสแตนต์ในปั จจุบัน โดยทัศนคติและมโนทัศน์มีการเปลี่ยนแปลงผกผันตามเวลาและสถานที่ ‛ ซึ่งอาจเป็ นการให้ คาจากัดความเฉพาะตนตามกรอบแห่งวัฒนธรรมโลก (ที่นิยมแบ่งหมวดหมูใ่ นทุกเรื่ อง) แต่มี ข้ อแตกต่างที่เป็ นประเด็นสาคัญคือ การมีหลักคิดในแง่มมุ ของการปฏิบตั ิ การเป็ นคนดี การ ทาความดี (คาสอนร่ ว มของทัง้ ศาสนาพุท ธและคริ ส ต์) การไม่ยึ ดติด กับรู ป เคารพและ VISUAL 52 | V I SART U A L52A R T


พิธีกรรม หรื อวิถีแห่งการปฏิบตั ิตามจารี ตของแต่ละศาสนาที่เกี่ยวข้ องในวิถีชีวิตแต่ละช่วง ชีวิต การไม่คานึงถึงค่านิยมร่ วมสมัย และการคานึงถึงคุณค่าด้ านจิตใจมากกว่าร่ างกาย (Ohm Pattanachoti. (2012). Thai Identity and its Relationship to Spirituality within the context of Contemporary Art: Transformation of Faith and Belief to Images, RMIT University. P. 4-42) 2.2 กระบวนการที่ก่อให้ เกิดความซาบซึ ้ง หรื อ สุนทรี ยภาพ 2.2.1 กระบวนการสร้ างสุนทรี ยภาพและยกระดับจิตใจมนุษย์ ศิลปะเป็ นการนาเสนอรูปแบบการสร้ างสรรค์ที่ประสบความสาเร็ จทางด้ านสุนทรี ยศาสตร์ โดยมี ก ารเปลี่ ย นรู ป หรื อ เปรี ย บเที ย บให้ เ ห็ น ถึ ง สาระข้ อ มูล หรื อ การน าไปสู่ก ารเข้ า ถึ ง ความหมายบางอย่างที่ ซ่อ นอยู่ผ่านสัญ ลักษณ์ โดยมีการนาเสนอการเปลี่ยนแปลงหรื อ เปลี่ยนรู ปของข้ อ มูลหรื อ สิ่งที่ ศิลปิ นต้ องการสื่อ ออกมาในรูปของสัญ ลักษณ์ บางประการ อย่างมีสนุ ทรี ยะ มีหลักสาคัญ ในการสร้ างสรรค์ 4 ประการคือ 1. การสร้ างสรรค์อ ย่างมี ความสุข (Play) เป็ นกิจ กรรมที่ เติมเต็มความสุขให้ แก่ตวั เองซึ่งอยู่เหนื อไปอีกขันหนึ ้ ่งของ ความจ าเป็ นพื ้นฐานที่ มนุษย์ ต้องทาเพื่อเอาชีวิตรอด 2. รู ปแบบในการสร้ างสรรค์ผลงาน ศิลปะ (Form) เป็ นปั จ จัยที่ เปรี ยบเสมือ นหลักในการทางานการสร้ างสรรค์งานศิลปะ ซึ่ ง เกี่ ยวข้ อ งกับเวลาและสถานที่ 3. สุนทรี ยะ (Aesthetic) ซึ่งหมายถึง การรั บรู้ สัมผัสได้ ถึง ความงามแห่งศิลปะ เป็ นปฏิกิริยาตอบสนองด้ านอารมณ์ความรู้สึกของมนุษย์ที่มีต่อผลงาน ศิลปะที่ประสบความสาเร็ จ เป็ นความซาบซึง้ และความอิ่มเอมในการเข้ าถึงงานศิลปะที่ มี คุณค่า 4. การสื่อสารความหมายที่ซ่อนอยู่ผ่านสัญลักษณ์ ในงานศิลปะ (Transformation – Representation) เป็ นการเปลี่ยนรูปจากสิ่งที่เป็ นนามธรรมมาเป็ นรูปธรรมหรื อสัญลักษณ์ (Alland, 1977, p. 39, อ้ างอิงใน Harris, 1993, p. 412) ดังนันอาจกล่ ้ าวได้ วา่ ในการวิเคราะห์ผลงานสร้ างสรรค์ชุ ดนี ้ สร้ างความตระหนักรู้ ในกระบวนการสร้ างสุน ทรี ยภาพและการยกระดับจิตใจมนุษย์ ของศิลปะ ซึ่งในที่ นีอ้ าจ 53 | V I S U A L A R T 53 VISUAL ART


หมายถึง ‚การสร้ างผลงานศิลปะที่ มี รูปแบบเฉพาะตัวอธิบายหรื อ สะท้ อ นตัวตนที่ มีอัต ลักษณ์ ของศิลปิ นผ่านสัญ ลักษณ์ เชิ งศิลปะ เป็ นกระบวนการที่ ก่อ ให้ เ กิด ความสุข ขณะ ปฏิ บัติง านนอกจากนัน้ ยังแสดงให้ เห็น ถึง ความจ าเป็ นหรื อ คุณ ค่า ของศิลปะที่ ส ามารถ ยกระดับจิตใจ (สร้ างความตระหนักรู้ในตัวเองเป้าหมายในชีวิตและการพัฒนาด้ านจิตใจ) สร้ างปฏิกิริยาตอบสนองด้ านอารมณ์ความรู้สกึ ของศิลปิ นและผู้ชมงาน และเป็ นองค์ความรู้ ที่เผยแพร่และสืบทอดส่งต่อได้ ‛ 2.2.2 กระบวนการประเมินคุณ ค่าผลงานศิลปะ คุณ ค่าของ ผลงานศิลปะก็คือความงาม การเข้ าใจในเรื่ องของความงามหรื อสุนทรี ยะจึงเป็ นประเด็นที่ สาคัญในการหาความรู้อย่างเป็ นระบบ นักปราชญ์ ชาวกรี กที่ชื่อว่า Homer (400-300 BC) ซึ่งได้ ให้ คานิยามของความงามที่ เป็ นนามธรรมไว้ ว่า ‚ความงามคือ ความมหัศจรรย์ เป็ น ความรู้ สึก เฉพาะตัว ที่ ลึก ซึ ง้ ในจิ ต ใจ ซึ่ ง อธิ บ ายให้ คนอื่ น เข้ า ใจได้ ย าก ‛ สอดคล้ อ งกับ ศาสตราจารย์ช ลูด นิ่มเสมอ ที่ กล่าวว่า การจะเข้ าถึงความงามได้ คนเราต้ อ งเปิ ดใจเพื่อ สัมผัสซาบซึ ้งกับความงามของธรรมชาติ เป็ นประสบการณ์ การฝึ กฝนในการเข้ าถึง ซึมซับ และการรับรู้ความงามดังกล่าว ซึ่งในเชิงพัฒนาการแห่งศิลปกรรมนัน้ มาตรฐานแห่งความ งามได้ เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย สามารถเข้ าใจได้ ว่าปั จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงใน เรื่ อ งมาตรฐานความงามหรื อ สุน ทรี ยะนัน้ ก็ คือ กาลเทศะ หรื อ เวลา และสถานที่ นั่นเอง นอกจากนี ้ ศิลป์ พีระศรี ได้ ให้ ความหมายของสุนทรี ยะไว้ ชัดเจนว่า ความงามในศิลปกรรม ไม่เพียงแต่คานึงถึงรูปทรงที่สวยงาม องค์ประกอบที่ลงตัว และเทคนิคฝี มือที่สมบูรณ์ เท่านัน้ แต่ต้องมองถึงเนื ้อหาด้ วย เนื ้อหาที่เกิดจากเจตจานงและทัศนคติของศิลปิ นที่มีความตังใจ ้ ให้ งานศิลปะของเขากระตุ้นจิตสานึกก่อเกิดปั ญญาและยกระดับจิตใจแก่ผ้ ชู มได้ ด้วย โดย สรุป สุนทรี ยภาพในงานศิลปะนัน้ ก็คือ ภาพรวมแห่งความงาม ความจริ ง และความดี เป็ น คุณสมบัตทิ ี่แสดงถึงความงามที่เป็ นสากล ก้ าวพ้ นกับดักมาตรฐานความงามของแต่ละยุค สมัยหรื อกาลเทศะได้ (อิทธิพล ตังโฉลก ้ , 2550, น. 36–112) VISUAL 54 | V I SART U A L54A R T


3. สัญลักษณ์ในงานศิลปะ 3.1 สัญลักษณ์แห่งความเป็ นไทย (Thai-ness) 3.1.1 ‚ความเป็ นไทย‛ ในงานศิลปะ คือ ภาพแห่งการเดินทาง พัฒนาการทางวัฒนธรรม จารี ตประเพณี และความเชื่อ ความศรัทธาของกลุ่มชนในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็ นบริบทแห่งการก่อกาเนิดความเป็ นไทย ซึ่งแน่นอนว่าเดินควบคู่ มากับวิถีชีวิตที่อยู่ภายใต้ อิทธิพลของหลักธรรมคาสอนทางศาสนาพุทธ ประกอบกับความ ร่ ารวยเชิงทรัพยากรธรรมชาติ ภูมปิ ระเทศและภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้ อนที่เหมาะสม ขัด เกลาผู้ คนให้ มี ลัก ษณะนิ สั ย เฉพาะตั ว ที่ น่ า ประทั บ ใจกั บ การมี ค วามโอบอ้ อมอารี เอือ้ เฟื ้อเผื่อแผ่ จนถูกขนานนามว่า ‚ดินแดนแห่งรอยยิม้ ‛ ในเชิงศิลปะก็เช่นเดียวกัน จาก การศึกษาและวิจยั พบว่า งานศิลปะไทยถูกนิยามไว้ ว่าเป็ นงานเชิงช่างชัน้ สูง เป็ นงานวิจิตร ศิลป์ที่สะท้ อนให้ เห็นถึงภาวะทางจิตใจที่ศิลปิ นและผู้คนในท้ องถิ่นถูกยกระดับและขัดเกลา ด้ วยกระบวนการการสร้ างสรรค์งานศิลปกรรม เช่น ลายไทย จิตรกรรมไทย บอกเล่าเรื่ องราว ความเชื่อ ความศรัทธาในพุทธศาสนา จนเห็นเป็ นเด่นชัด (โอม พัฒนโชติ, 2560, น.1-13) 3.1.2 ‚ความเป็ นไทย‛ และความเชื่ อ มโยงกับตัว ตนทางจิต วิญ ญาณของศิล ปิ น จากการศึก ษาวิจั ย ผลงานสร้ างสรรค์ แ ละการอภิ ป รายผลดัง มี รายละเอียดต่อไปนี ้ ภาพประกอบที่ 1 เป็ นผลงานที่ผลิตขึ ้นในประเทศไทยปี 2550-2551, The series of ‘Faith and belief: Assembly of love no. 1- 4’ ซึ่งถูกนาไปใช้ ในการวิเคราะห์ตวั ตนทาง จิตวิญญาณของศิลปิ น หรื อ อาจเรี ยกอีกอย่างว่า อัตลักษณ์ ของผู้วิจัย ที่เกี่ยวข้ องกับบริ บท แห่งความเป็ นไทย ผลที่ได้ พบว่ามีความเชื่อมโยงกับความเชื่อความศรัทธาทางศาสนา ทัง้ พุทธศาสนาและคริสต์ศาสนา ที่เป็ นสภาวะทางจิตวิญญาณซึ่งสัมพันธ์กับเวลาและสถานที่ ในขณะนัน้ (งานสร้ างสรรค์ ร ะดับ ปริ ญ ญาโทที่ น าไปศึกษาวิจัย ระดับ ปริ ญ ญาเอก ณ มหาวิทยาลัยรอยัล เมลเบิร์น อินสติวติวท์ ออฟ เทคโนโลยี -RMIT University, Australia) 55 | V I S U A L A R T 55 VISUAL ART


กล่าวคือ มีการแสดงออกที่เป็ นลักษณะเฉพาะตัวโดยสะท้ อนแนวคิด การค้ นหาความสมดุล ของชีวติ บนพื ้นฐานความเชื่อความศรัทธาในคริสต์ศาสนาและศาสนาพุทธ ประกอบกับการ ถวิลหาอดีตและความทรงจาในวัยเยาว์ โดยมีการใช้ สัญ ลักษณ์ เชิงศิลปะที่ เชื่ อมโยงกับ ศาสนาคริสต์แสดงออกผ่านภาษาร่างกายของรูปร่างรูปทรงของคน มีการสร้ างภาพฉากหลัง ที่เป็ นรูปทรงของสถาปั ตยกรรมที่ซับซ้ อน (labyrinths/ Mazes-ลักษณะของเขาวงกต) แฝง ความหมายของการเดินทางแห่งชีวติ ที่ไม่ยังไม่สิ ้นสุด และรูปทรงของเรขาคณิตที่คล้ ายคลึง กับบาตรพระนาเสนอภาพเปรี ยบเทียบภาชนะใส่จิตวิญญาณ หรื อร่างกายของมนุษย์นั่นเอง มีการใช้ เทคนิควิธีที่แสดงถึงความประณี ตและการทุ่มเทในการสร้ างสรรค์งานแบบที่ อาจ กล่าวได้ ว่าเป็ นจิตวิญญาณในการสร้ างสรรค์งานศิลปะแบบไทย คือ การเขียนรูปหรื อการ สร้ างร่ อ งรอยด้ วยการสานกันของปากกาลูกลื่นและการแต้ มสีด้วยฝี แปรงขนาดเล็กสอด ประสานกันอย่างประณี ตและมุ่งมัน่ โดยเป็ นไปในลักษณะที่เรี ยกว่า ทีละฝี แปรง (Step by Step or Incremental Brush Stroke) ภาพประกอบที่ 2 เป็ นผลงานสร้ างสรรค์ในชุด ‘Spiritual Identity: the Overlay of Memories no.1-no 4’ ซึ่งผลิตขึ ้นในปี พ.ศ. 2552-2555 (ค.ศ. 2009-2012) เป็ นผลงานศิล ปนิพ นธ์ ในระดับปริ ญ ญาเอก ณ มหาวิทยาลัย รอยัล เมลเบิร์น อินสติวติวท์ ออฟ เทคโนโลยี (RMIT University, Australia) ที่ แสดงออกถึ ง พัฒนาการเชิงจิตวิญญาณส่วนบุคคลของศิลปิ นที่เข้ าใจตัวเองมากขึ ้นมีสมดุลมากขึ ้น และ การใช้ ทรัพยากรดังกล่าวเป็ นแรงบันดาลใจในการสร้ างสรรค์งานก่อให้ เกิดพัฒนาการเชิง ศิลปะสูงขึ ้น กล่าวคือ การออกแบบสร้ างสัญลักษณ์เชิงศิลปะที่สะท้ อนอัตลักษณ์ ของศิลปิ น ที่มีความสัมพันธ์กบั รากเหง้ าทางวัฒนธรรม และความศรัทธาในศาสนาแบบพหุวฒ ั นธรรม และบริ บทอื่นๆที่เกี่ ยวข้ อง เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเวลาและสถานที่ ในการผลิตผลงาน และการถวิลหาอดีต ภาพประกอบที่ 3-6 เป็ นผลงานในช่วงระยะเวลาตังแต่ ้ กลับมาจากออสเตรเลียและ เข้ าทางานเป็ นอาจารย์ประจาสาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ผลิตขึ ้น VISUAL 56 | V I SART U A L56A R T


ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2556-25662 จากการวิจยั สามารถกล่าวโดยสรุปได้ ดงั นี ค้ ือ ผลงานมีแนวคิด ในการน าเสนอการเดิน ทางของชี วิ ต หรื อ ประสบการณ์ ส่ ว นตัว ของศิ ล ปิ นผ่า นภาพ เปรี ยบเทียบหรื อการใช้ สญ ั ลักษณ์ เชิงศาสนาและไม่ใช่ศาสนาในผลงานศิลปะสื่อผสม เป็ น รูปแบบที่เรี ยกว่าศิลปะถวิลหาอดีต โดยมีการใช้ เทคนิคการสร้ างภาพซ้ อนของรูปร่ างรูปทรง ของมนุษย์เป็ นสัญลักษณ์ที่เชื่อมโยงกับความเชื่อทางศาสนาและสัญชาตญาณพื ้นฐานของ มนุษย์ ซึ่งบางครัง้ ก็ต้อ งการแสดงออกถึงอารมณ์ ขันของศิลปิ นที่ต้อ งการเยาะเย้ ย เสียดสี บรรทัดฐานของสังคม (การเป็ นคนดีไม่ใช่แค่ได้ ชื่อว่านับถือศาสนาพุทธ หรื อนับถือศาสนาใด ศาสนาหนึ่งหรื อมากกว่า หรื อ การเป็ นคนดีต้องปกปิ ด ไม่แสดงออกหรื อพูดถึงเรื่ องทางเพศ ที่เป็ นแรงขับพื ้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์ และที่สาคัญสัญลักษณ์ เชิงศาสนาต้ องสูงส่ง ไม่สามารถอยู่ในที่ไม่เหมาะสมได้ ไม่สามารถอยู่ร่วมกับสิ่งที่ไม่ดีงามได้ ) โดยมีการใช้ รูปร่ าง รูปทรงของมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์ประกอบกับท่าทางที่สื่อถึงการแสดงออกทางเพศประกอบกับ รูปทรงทางศาสนา เช่น บาตรใส่อ าหารของพระ เป็ นการแสดงออกและนาเสนอมิติความ เข้ าใจในพัฒนาการแห่งจิตวิ ญญาณ ซึ่งชี ใ้ ห้ เห็นถึงความสมดุลของชีวิตหรื อการเดินสาย กลางที่อาจกล่าวได้ อีกอย่างว่าเป็ นการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อศึกษาตัวตนของศิลปิ น และการพยายามทาความเข้ าใจสภาวะจิต ในปั จ จุบันของศิล ปิ นด้ วยการวิเคราะห์ อ ดี ต ศึกษาเส้ นทางเดินของชีวิตที่ ผ่านมา โดยหวังว่าอาจจะนาไปสู่ความรู้ความเข้ าใจในชี วิต อย่างแท้ จ ริ งและสามารถกาหนดอนาคตในอุดมคติได้ บนพืน้ ฐานของพัฒนาการทางจิต วิญญาณที่เข้ มแข็งและสมดุล

57 | V I S U A L

ART

57

VISUAL ART


ผลงานสร้างสรรค์ที่ใช้เพื่อศึกษาในโครงการวิจัยครั้งนี้

ภาพที่ 1 The series of ‘Faith and belief: Assembly of love no. 1- 4’, 2007-2008, 150 x 180 cm, 162 x 245 cm, acrylic and pen on canvas

VISUAL 58 | V I SART U A L58A R T


ภาพที่ 2 The series of ‘Spiritual Identity: the Overlay of Memories no.1-no 4’, 2009-2012, 150 x180 cm, acrylic and pen on canvas.

59 | V I S U A L

ART

59

VISUAL ART


ภาพที่ 3 The series of ‘Spiritual Identity: the Overlay of Memories no.5-no 8’, 2013-2017, various size, acrylic and pen on canvas.

VISUAL 60 | V I SART U A L60A R T


ภาพที่ 4 The series of ‘Spiritual Identity: the Overlay of Memories (Endless) no.1-no 8’, 20132017, various size, acrylic and pen on canvas ( left to right).

61 | V I S U A L

ART

61

VISUAL ART


ภาพที่ 5 Spiritual Identity; Overlay Memories (Endless) No.9, 2019, 80x100cm, Mixed Media (Acrylic and marker on the canvas of previous work)

ภาพที่ 6 Spiritual Identity; Overlay Memories (Endless) No.10, 2019, 45x100cm, Mixed Media (Acrylic and marker on the printed artwork and transparent sheet) VISUAL 62 | V I SART U A L62A R T


สรุปผลการวิจัย จากการศึกษางานวิจัยพบว่า ศิลปิ นมีเจตนาในการสร้ างสรรค์งานด้ วยการแสดง ถึงมโนทัศน์สว่ นตัว การตังค ้ าถามต่อผู้ชมงานเกี่ยวกับแนวคิดและมุมมองส่วนตัวของศิลปิ น ต่อคุณ ค่าของงานศิลปะและความเชื่อความศรั ทธาในศาสนา การตีความต่อหลักคาสอน และบรรทัดฐานของสังคมในการให้ คานิยามของการเป็ นคนดี โดยศิลปิ นมุ่งหวังและกระตุ้น ให้ ผ้ ชู มงานทาความเข้ าใจต่อทัศนคติมมุ มองของศิลปิ นที่อาจไม่ตรงกับค่านิยมของสังคม โดยทั่ว ไป และนอกจากนั น้ ผู้วิ จั ย เชื่ อ ว่ า การศึก ษาประสบการณ์ แ ละพื น้ ฐานส่ว นตัว (Background) ร่ วมกับการศึกษารากเหง้ า เชิงวัฒ นธรรมและความเชื่ อ ของตนเอง อาจ นาไปสูค่ วามรู้ความเข้ าใจ สร้ างความตระหนักรู้เกี่ยวกับมโนทัศน์เฉพาะบุคคลและพื ้นฐาน ของแนวคิดดังกล่าว ร่วมกับการทบทวนและสร้ างองค์ความรู้ใหม่ในกระบวนการสร้ างสรรค์ ศิลปะ โดยที่ ทงั ้ สองกระบวนการอาจเป็ นภาพคู่ขนานที่ ทับซ้ อนที่ก่อ ให้ เกิดการเรี ยนรู้เชิง ศิลปะ การเข้ าถึงคุณค่าความงามในงานศิลปะที่สะท้ อนภาพเปรี ยบเทียบของประสบการณ์ และการเดินทางของชีวิต เป็ นพัฒนาการทางจิตวิญ ญาณและพัฒนาการเชิงศิลปะที่ อาจ สร้ างผลกระทบทังต่ ้ อตัวศิลปิ นเองและผู้ชมงานได้ และเป็ นงานวิจัยที่ยังคงมุ่งมัน่ ปฏิบตั ิและ มีเส้ นทางให้ สารวจและค้ นหาความหมายของมันต่อไป ข้อเสนอแนะ 1. การวิจัยครั ง้ นี ย้ ังคงดาเนินการอยู่ผ่านการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะและการ เผยแพร่ผา่ นสื่อดิจิทลั และการจัดแสดงนิทรรศการ ซึ่งการประยุกต์ใช้ ระเบียบวิธีวิจัยแบบอื่น ที่เกี่ยวข้ องเหมาะสมอาจนามาซึ่งข้ อมูลที่ชัดเจนมากขึ ้นเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจและ ผลกระทบต่อผลงาน และอาจสามารถระบุถึงการพัฒนาตัวตนทางจิตวิญญาณของศิลปิ น และผู้ชมงานได้ ละเอียดชัดเจนเป็ นที่ประจักษ์มากขึ ้น 63 | V I S U A L

ART

63

VISUAL ART


รายการอ้างอิง กาจร สุนพงษ์ ศรี . (2555). สุนทรียศาสตร์. (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จุฑ าพรรธ์ (จามจุ รี ) ผดุง ชี วิ ต . (2551). วั ฒ นธรรม การสื่ อ สารและอั ต ลั ก ษณ์ . กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชุตมิ า เวทการ. (2551). การจัดการการเรียนรู้สาระทัศนศิลป์บนพื้นฐานวัฒนธรรม ชุมชน. กรุงเทพฯ: วี.พริน้ ท์ (1991). ราชบัณ ฑิ ต ยสถาน. (2524). พจนานุ ก รมศั พ ท์ สั ง คมวิ ท ยา (อั ง กฤษ-ไทย) ฉบั บ ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: บริษัทรุ่งศิลป์การพิมพ์ (๑๙๗๗) จากัด รั ง สรรค์ โฉมยา. (2548). เอกสารประกอบการสอนวิ ชาจิ ตวิ ท ยา. มหาสารคาม: ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษา และการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. สิริอร วิชชาวุธ และคณะ (2550). จิตวิทยาทั่วไป. (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . อิ ท ธิ พ ล ตัง้ โฉลก. (2550). แนวทางการสอนและสร้ า งสรรค์ จิ ต รกรรมขั้ น สู ง . กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์ พริน้ ติ ้ง. Harris, M. (1993). Culture, People, Nature: An Introduction to General Anthropology (Six Editions). New York: Harper Collins College Publishers. กระสินธุ์ อินสว่าง. (2559 , มกราคม-มิถุนายน). การถวิลหาความรู้สึกในอดีตผ่านผลงาน ทัศนศิลป์ กรณี ศึกษาผลงานจิตรกรรมของ ปี เตอร์ ดอยจ์ . วารสารวิจิตรศิลป์ , 7(1), 1-64. VISUAL 64 | V I SART U A L64A R T


Pattanachoti, O. (2012). Thai Identity and its Relationship to Spirituality within the context of Contemporary Art: Transformation of Faith and Belief to Image (Ph.D. Thesis). Royal Melbourne Institute of Technology (RMIT) University. Araeen, R. (2000). A New Beginning: Beyond postcolonial cultural theory and identity politics. Third Text, 50, 3-20. Retrieved from http://dx.doi.org/10.1080/09528820008576833

65 | V I S U A L

ART

65

VISUAL ART


Ohm Pattanachoti Date of Birth: April 7, 1970 Born: Bangkok, Thailand Residency: 100/466 Sunsai Sub-District, Muang District, Chiangrai. Work: Present-2012 Lecturer at Chiangrai Rajabhat University, Chiangrai, Thailand, Present-2005 God Giving Publishing Limited Partnership, Owner and Editor, 2beloved Publishing Limited Partnership, Owner and Editor. 2004-2000 Dokya Group Publishing, Editor. Education: 2013 Doctor of Fine Art Candidate, RMIT University, Melbourne, Victoria, Australia 2009 Master Degree of Fine Art (Visual Art: Painting), King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL), Bangkok, Thailand 2005 Bachelor of Communication Arts, Sukhothai Thammathirat Open University, Thailand. 1997 Diploma of Art and Design, majo r: Fine Art, Whitecliffe College of Art and Design, Auckland, New Zealand. 1994 First Certificate of English, Hamstead School of English, London, UK. 1990 1988 Printmaking, Faculty of Fine & Applied Art, Rangsit University, Patumthanee, Thailand VISUAL 66 | V I SART U A L66A R T


ความบันดาลใจจาก “ดอกไม้‛ ศุภรัตน์ อินทนิเวศ

______________________________________________________________

สีสนั และรูปทรงที่แตกต่างหลากหลายของดอกไม้ เป็ นความบันดาลใจที่ ข้าพเจ้ า ประทับใจในความงาม ความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ ลีลาของกลีบที่ทับซ้ อน รูปทรงอิสระที่ พลิ ้วไหว สีสันทังนุ ้ ่มนวลและฉูดฉาด เป็ นความงามที่ธรรมชาติสรรสร้ างและมอบให้ เมื่อ ยามแย้ มบานหรื อร่วงโรย ต่างให้ ความรู้ถึงลมหายใจที่มีทงความสุ ั้ ขและความเศร้ า เมื่อเรามี ความสุข เช่นเดีย วกับดอกไม้ ที่แย้ ม บานส่งกลิ่นหอม และเมื่อ เรารู้ สึก ถึงความ ทุกข์ เศร้ า อารมณ์นนคล้ ั ้ ายเมื่อดอกไม้ แห้ งเฉาพร้ อมจะร่วงโรย ชีวติ ที่มีสภาวะทางความสุขนัน้ เป็ นสิ่ง ที่ทกุ คนต้ องการและโหยหา ซึ่ง ทาได้ ไม่ยาก ความสุขมีมากมายรอบๆตัวเรา ด้ วยการสร้ าง บรรยากาศและกิจกรรมที่ไม่ซ ้าซาก หาจุดมุ่งหมาย ปรับเปลี่ยนวิธีการ เรี ยนรู้ ทดลองและ ลงมือทา ในผลงานชุดนี ้ ข้ าพเจ้ าต้ องการถ่ายทอดมุมมองทางความคิด จากการดารงชีวติ ที่ พยายามค้ นหา และสร้ างมุมมองทางความสุขให้ กับตัวเอง การนาเอารู ปทรง และสีสัน ดอกไม้ มาเป็ นสัญลักษณ์ ในการถ่ายทอดความคิดผ่านความงามที่แตกต่าง ด้ วยดอกไม้ ท่ี สะพรั่งเบ่งบาน สีสนั ที่ฉดู ฉาดเปล่งประกาย ชูช่อรับแสงแดดยามเช้ า เช่นความยินดีและชื่น ชมการมีชีวติ ที่งดงามในทุกๆวัน ในผลงานชื่อ ความสุขวันใหม่ 

ผู้ ช่ว ยศาสตราจารย์ , โปรแกรมวิ ช าศิล ปกรรมศาสตร์ แขนงวิ ชาทัศนศิ ล ป์ คณะมนุษ ยศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

67 | V I S U A L

ART

67

VISUAL ART


ภาพที่ 1 ชื่อภาพ : ความสุขวันใหม่ ขนาด 50 x 70 เซนติเมตร เทคนิค สีนา้ มันบนผ้ าใบ VISUAL 68 | V I SART U A L68A R T


ผลงานชิน้ นี ้ ได้ ความบันดาลจากความงามของกลีบดอกกุหลาบที่กาลังเบ่งบาน กลีบด้ านในสีแดง สีฉดู ฉาด มีความร้ อนแรง กระฉับกระเฉงและเคลื่อนไหว กลีบรอบนอก ด้ านล่างของภาพ เป็ นกลุ่มสีโทนเย็น สีเขียวและสีน ้าเงิน ให้ ความรู้สึกถึงความสบายและ ผ่อนคลาย คอยโอบอุ้มกลีบด้ านในให้ ชูช่อโดดเด่น พร้ อมรับมือกับทุกสถานการณ์ การจัด วางโครงภาพด้ วยการสร้ างจุดเด่นกลางภาพ มีความชัดเจนด้ วยคูส่ ีตดั กัน เป็ นผลงานที่สร้ าง ความรู้สกึ สนุกสนาน ท้ าทายและมีความอิสระด้ วยรูปทรงและพื ้นผิวจากรอยพู่กัน การใช้ สี สดใสและฉูดฉาดช่วยสร้ างสุนทรี ยรสในผลงาน และผลงานชื่อ แรกแย้ม ชิ ้นนี เ้ ป็ นดอก กุหลาบเหมือนชิ ้นแรก แต่แตกต่างกันในเรื่ องการใช้ สีผลงานชิ ้นนี ้ ข้ าพเจ้ าต้ องการแสดงออก ถึง ความงาม

ภาพที่ 2 ชื่อภาพ : แรกแย้ ม ขนาด 50 x 70 เซนติเมตร เทคนิค สีนา้ มันบนผ้ าใบ

69 | V I S U A L

ART

69

VISUAL ART


ความนุ่มนวลของดอกกุหลาบกาลังแย้ มบาน เป็ นความงามที่ร้ ู สึกประทับใจ เมื่อใดที่ พบ อุปสรรค และปั ญหารุมเร้ า การดาเนินชีวิตที่ไม่ราบรื่ น สวยหรู การได้ อยู่เพียงลาพัง ค่อยๆ คิดและเผชิญ หน้ า ในสิ่งที่ เ กิดขึ ้น หยุดนิ่ง ค่อ ยๆพิจ ารณา ทาให้ เกิดความสบายใจ เช่ น ผลงานชิ ้นนี ้ที่ข้าพเจ้ าเขียนด้ วยความสุข ความนุ่มนวลสบายตาของสี ด้ วยการลดค่าความ จัดของสีด้วยสีขาว การให้ ทิศทางของน ้าหนักแสง-เงา ดูลึกมีมิติสมจริ ง สัมผัสจับต้ องได้ การจัดวางแบบภาพด้ วยการสร้ างจุดเด่น ด้ วยสีและรู ปทรงตรงกลางภาพ นอกจากนี ใ้ ห้ มี ที่วา่ งในพื ้นหลังของภาพเพื่อให้ เกิดการเห็นรูปทรงและมีอากาศกระจายโดยรอบตัวภาพไม่ แน่นอึดอัด ช่วยสร้ างความรู้สกึ ถึงความสุขที่น่มุ นวลผ่อนคลาย ส าหรั บ ผลงานชิ น้ ที่ ส ามนี ้ ชื่ อ ผลงาน จิ น ตนาการสี ม่ ว ง ข้ า พเจ้ าต้ อ งการ แสดงออกถึงการปรั บเปลี่ยนมุม มอง โดยการสร้ างสีสนั ที่ เห็นแตกต่างจากความเป็ นจริ ง ความสุขในงานชิน้ นีเ้ กิดจากการเรี ยนรู้สิ่งใหม่ การปรุงแต่ งความงามด้ วยการจินตนาการ เช่น ดอกไม้ ที่ได้ กาหนดสีขึ ้นใหม่ สร้ างบรรยากาศทังภาพด้ ้ วยสีเอกรงค์ โครงสีของภาพเป็ น สีมว่ ง ซึ่งเป็ นสีที่ข้าพเจ้ าชื่นชอบ ต้ องการให้ ผลงานออกมาในอารมณ์ ความสุขที่เป็ นส่วนตัว ดูลึกลับแต่มีเสน่ห์เย้ ายวนใจน่าค้ นหา รู ปทรงของดอกไม้ ถูกตัดทอนภาพให้ เห็นเพียงการ ขยายออกของกลีบดอกที่แผ่ออกจากตรงกลาง ใช้ การไล่ค่าน ้าหนักของสีให้ เกิดความอ่อนเข้ ม พื ้นหลังใช้ สีเข้ มลึกและด้ านบนสว่างเพื่อสร้ างมิตทิ างจินตนาการ จัดวางด้ วยจังหวะของ กลีบดอกใหญ่เล็กทับซ้ อนกัน

VISUAL 70 | V I SART U A L70A R T


ภาพที่ 3 ชื่อภาพ : จินตนาการสีม่วง ขนาด 90 x 140 เซนติเมตร เทคนิค สีนา้ มันบนผ้ าใบ

71 | V I S U A L

ART

71

VISUAL ART


การมีเป้าหมายให้ ชีวติ ทาให้ ใช้ ชีวติ อยู่อย่างมีความหวัง เช่นผลงานชิ ้นที่ 4 และ 5 ชื่อภาพ ชูช่อรับอรุณ 1 และ ชูช่อรับอรุณ 2 ข้ าพเจ้ าใช้ ดอกทิวลิปสีขาวที่ชื่นชอบและ ประทับใจในเป็ นลักษณะเฉพาะของรูปทรงและสีสนั เป็ นดอกไม้ ที่ มีความงามด้ วยเส้ นและสี กลีบดอกอวบอิ่มแต่บอบบาง ดูแลยาก ต้ องการความเย็น ความชุ่มฉ่าตลอดเวลา ดอกอวบ อิ่มที่ตงบนก้ ั ้ านอ่อนที่คอยพยุงให้ ดอกตังชู ้ ช่อขึ ้นอย่างมัน่ คง เบ่งบานรับแสงแดดในยามเช้ า โดยไม่หวาดหวัน่ ต่อลมฝน แสดงออกถึงการอยู่ด้วยความหวังเป็ นกาลังใจและสร้ างความสุข สดชื่นให้ กบั ชีวติ โครงสีในภาพเป็ นแบบเหมือนจริง สร้ างความรู้สึกด้ วยบรรยากาศที่ดผู ่อน คลาย เป็ นทิวทัศน์แบบกว้ าง ลึกออกไป ดอกไม้ ดเู ด่นด้ วยแสง สีที่เป็ นธรรมชาติเหมือนจริ ง เส้ นของดอกทาให้ รูปทรงดอกไม้ ดเู คลื่อนไหว สร้ างความสุขบนรอยยิ ้มที่เบิกบาน

ภาพที่ 4 ชื่อภาพ : ชูชอ่ รับอรุ ณ 1 ขนาด 90 x 140 เซนติเมตร เทคนิค สีนา้ มันบนผ้ าใบ VISUAL 72 | V I SART U A L72A R T


ภาพที่ 5 ชื่อภาพ : ชูชอ่ รับอรุ ณ 2 ขนาด 50 x 70 เซนติเมตร เทคนิค สีน ้ามันบนผ้ าใบ

73 | V I S U A L

ART

73

VISUAL ART


ชือ่ Name วัน เดือน ปี เกิด ที่อยู่ ที่ทางาน

ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2537

นางศุภรัตน์ อินทนิเวศ Mrs. Suppharat Inthaniwet 1 ตุลาคม 2519 63 หมู่ 6 บ้านป่าอ้อ ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (57100) โทร. 086-9137499 E-mail srin56@hotmail.com โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ 80 หมู่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (57100)โทร. 053-776000 ต่อ 1318 คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศิลปมหาบัณฑิต สาขาจิตรกรรม) คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศิลปบัณฑิต สาขาจิตรกรรม) วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี

ประวัติการทางาน พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน อาจารย์ประจาโปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย VISUAL 74 | V I SART U A L74A R T


ความหมายระหว่างวัตถุและภาพเงา กฤษณพล ทีครูซ

______________________________________________________________ _

มนุษย์ ทุกคนมี ค วามทรงจ ากับ สิ่ง ต่างๆ ที่ เกิ ด ขึน้ ในอดีต และเมื่ อ มี สิ่ง ใดซึ่ ง มี ความสัมพันธ์ใกล้ เคียงกับเหตุการณ์ ในอดีต เหตุการณ์ แห่งความทรงจาเหล่านัน้ จะปรากฏ ออกมาในความรู้ สึกของเราเองโดยอัตโนมัติ ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ ้นกั บข้ าพเจ้ านัน้ คงหลงเหลือให้ เห็นเพียงวัตถุให้ เห็นเสมือนความหมายเป็ นจริ งทางโลกภายนอกเหล่านัน้ แต่ความหมายที่ เกิดขึน้ ระหว่างวัตถุกับข้ าพเจ้ านันเป็ ้ นความหมายทางโลกภายในของตน สาหรั บการสื่อ ความหมายจากภายในสู่ภายนอกโดยผ่านผลงานศิลปะนัน้ ย่อมจะต้ อ งแสดงจินตนาการ และแฝงความหมายไว้ เสมอ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องราว รูปทรง เส้ นต่างๆ โดยอาจจะเป็ นเรื่ องราว ของความเพ้ อฝั น จินตนาการ นาสูอ่ ดีตหรื อดินแดนที่มองไม่เห็น ครอบครัวถือเป็ นสถาบันแรกของมนุษย์ในการเริ่มความทรงจา การได้ รับการอบรม สัง่ สอน ประสบการณ์ ความรู้สกึ ถึงความรัก ความอบอุ่น สิ่งแวดล้ อมต่างๆ ของบรรยากาศ สวนรอบบ้ านของข้ าพเจ้ า ซึ่งเป็ นสถานที่ ที่ใช้ ในการจัดกิจกรรมของครอบครัว และการเล่น ต่า งๆ ในวัย เด็ก ของข้ า พเจ้ า กับ พี่ ๆ หรื อ เพื่ อ นบ้ า นในละแวกบ้ า นเดี ย วกัน เกิ ด ความ ประทับใจในความรัก ความอบอุ่น ซึ่งเป็ นจินตนาการผลักดันในการสร้ างผลงานของข้ าพเจ้ า แม้ ข้าพเจ้ าไม่สามารถเดินทางย้ อนเวลากลับไปถึงเรื่ องราวที่เกิดขึ ้นในอดีตได้ สิง่ ที่ข้าพเจ้ า

อาจารย์, โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช

ภัฏเชียงราย

75 | V I S U A L

ART

75

VISUAL ART


พอที่ จ ะทาได้ ก็เพียงนึกย้ อ นถึง ประสบการณ์ ของเรื่ อ งราว แม้ เรื่ อ งราวหรื อ ความทรงจ า บางอย่า งได้ ซี ดจางไปตามกาลเวลา แต่ร่ อ งรอยของความทรงจ าก็ ยัง ช่ว ยยื นยันว่าสิ่ง สวยงาม ความผูกพันเหล่านันยั ้ งคงเกิดขึ ้นและอยู่ในความทรงจาของข้ าพเจ้ าเสมอ ข้ าพเจ้ าจึงมีแนวความคิดว่า รูปร่างและร่องรอยของวัตถุ เสมือนความจริ งทางโลก ภายนอกที่สมั ผัสได้ แค่ทางกาย แต่ความหมายที่เกิดขึ ้นอย่างแท้ จริ งระหว่างวัตถุกับตัวตน นันเป็ ้ นความหมายทางโลกภายใน เป็ นภาพเงาที่แปรเปลี่ยนบิดพลิ ้ว มีมิติเดียว เมื่อทาบทับ สิง่ ใดๆ จะเกิดการหักเห สะท้ อนถึงความเป็ นไปจากประสบการณ์ ของเรื่ องราวที่เคยเกิดขึ ้น อาจมีทงั ้ สุข สมหวัง ร่ าเริ ง หัวเราะ ปะปนคละเคล้ ากันไปกับเสียงร้ องไห้ ความโดดเดี่ยว เดียวดาย แต่สุดท้ ายสิ่งต่างๆ เหล่านัน้ ก็ ได้ รางเลือ นไปพร้ อ มๆกับการเคลื่อนไปของเวลา เหลือเพียงเรื่ องราวที่ถูกเก็บซ่อนไว้ ข้างในใจลึกๆ เท่านัน้ เมื่อใดก็ตามที่ได้ สมั ผัสกับบุคคล สิง่ ของ หรื อเพียงเรื่ องเล่าจากบุคคลที่เคยอยู่ร่วมประสบการณ์ รวมถึงกลิ่นอายของสถานที่ ใดที่หนึ่ง มีผ ลทาให้ ภ าพต่างๆ ที่ เ ลื อ นรางกลับ สร้ างความนึ ก คิดที่ เ ด่น ชัด ขึ ้นมา จึ ง สื่ อ ความหมายเป็ นภาพเงาแสดงเรื่ องราวปลุกอดีตของข้ าพเจ้ าอีกครัง้ ดังนัน้ จึงพยายามที่จะ ถ่ายทอดความรู้สกึ จากความทรงจา ประสบการณ์ ความประทับใจ สื่อความหมาย เป็ นภาพ เงาแสดงเรื่ องราว บรรยากาศสวนรอบๆ บ้ านของข้ าพเจ้ าในอดีต ที่ ให้ ความรู้สึกถึงความรัก ความอบอุ่น อันมีต่อกันในครอบครั ว ซึ่งเป็ นจินตนาการผลักดันในการสร้ างผลงานของ ข้ าพเจ้ า แม้ ข้าพเจ้ าไม่สามารถเดินทางย้ อนเวลากลับไปถึงเรื่ องราวที่เกิดขึ ้นในอดีตได้ สิ่งที่ ข้ าพเจ้ าพอที่จะทาได้ ก็เพียงนึกย้ อนถึงประสบการณ์ของเรื่ องราว ในการสร้ างสรรค์ผลงานของข้ าพเจ้ า การสร้ างภาพร่ างมีความสาคัญ ที่ ช่วยให้ ข้ าพเจ้ าเห็นภาพรวมได้ ชดั เจนขึ ้นซึ่งแบ่งผลงานออกเป็ น 2 ส่วนคือ ในส่วนของวัตถุที่สื่อถึง บ้ านของข้ าพเจ้ าในอดีต และในส่วนของภาพร่ างเงาตกทอดของวัตถุดังกล่าว ที่แสดงถึง บรรยากาศสวนรอบบ้ าน VISUAL 76 | V I SART U A L76A R T


ภาพที่ 1 ภาพวัตถุที่สื่อถึงบ้ านของข้ าพเจ้ าในอดีต

ภาพที่ 2 ภาพร่ างเงาตกทอดของวัตถุ

77 | V I S U A L

ART

77

VISUAL ART


ภาพที่ 3 ภาพร่ างเงาตกทอดของวัตถุ

การสร้ างสรรค์ผลงาน ‚ ความหมายระหว่างวัตถุและภาพเงา ‛ เป็ นความทรงจาที่ มีความผูกพันกับบ้ านและครอบครัว ความทรงจาเป็ นสิง่ ที่ข้าพเจ้ าใช้ เป็ นส่วนพื ้นฐานนาไปสู่ ความคิดทบทวน เรื่ อ งราวในอดีตวัยเด็ก เมื่อ ข้ าพเจ้ าสร้ างผลงานเสร็ จ ทัง้ หมดและมอง กลับไป ข้ าพเจ้ าพบว่าส่วนประกอบของผลงานชุดนี ้เป็ นส่วนพืน้ ๆ หรื อพื ้นฐานธรรมดาที่ คนเราจะมี คื อ ความผูก พัน หรื อ ความทรงจ า เรื่ อ งราวทัง้ หมดจะเกิ ด ขึน้ ได้ ก็ ต่อ เมื่ อ มี ประสบการณ์ที่พร้ อมจะเปิ ดให้ เกิดความคิดทบทวนถึงอดีต เกิดการเคลื่อนไปของความทรง จา วัตถุตา่ งๆ นัน้ ย่อมมีความหมายซ่อนอยู่และเป็ นสัญลักษณ์แทนการเชื่อมต่อพื ้นที่กับมิติ และเวลาในพื ้นที่จากจิตนาการของเราเสมอเมื่อเราได้ สมั ผัสกับสิง่ เหล่านัน้

VISUAL 78 | V I SART U A L78A R T


ในขันตอนการปฏิ ้ บตั งิ านนัน้ ได้ เกิดความรู้สกึ ต่างๆ ขึ ้นอย่างมากมาย เช่นการที่ได้ จดจ่อปลายสิว่ ลงสู่แผ่นไม้ อัดที่แข็งนันท ้ าให้ นึกถึงเรื่ องราวต่างๆ จากประสบการณ์ ในอดีต อีกทังการแกะที ้ ่เจอทังเนื ้ ้อไม้ ที่แตกต่างกันไปตามลักษณะของไม้ อดั ที่นาไม้ หลากหลายชนิด อัดรวมกันขึ ้นมาเป็ นแผ่น แกะง่ายบ้ าง ยากบ้ าง เสมือนเรื่ องราวต่างๆ ที่มีหลากหลาย อาจมี ทังสุ ้ ข สมหวัง ร่าเริง หัวเราะ ปะปนคละเคล้ ากันไปกับเสียงร้ องไห้ โดดเดี่ยวเดียวดาย ที่เกิด ภายในสวนรอบบ้ าน รวมถึงลักษณะของทีสวิ่ ที่แกะ ขนาดของสิ่วที่แกะ เล็กบ้ าง ใหญ่บ้าง การแกะที่คมชัดของร่องรอยสิว่ และการแกะที่เกิดร่องรอยจากการที่สิ่วไม่คม ย่อมทาให้ เกิด ความหมายที่ แตกต่างกันออกไป ส่งผลให้ ผลงานที่ เกิดขึน้ นัน้ มีความรู้ สึกที่ แตกต่างกัน ออกไปและเป็ นไปตามที่ข้าพเจ้ าต้ องการคือสื่อถึงเรื่ องราวมากมายที่เกิดขึ ้นภายในสวนรอบ บ้ านตามประสบการณ์ของข้ าพเจ้ านัน่ เอง ข้ าพเจ้ าได้ ทดลอง วิเคราะห์ และพัฒนาผลงานใน เรื่ องรูปแบบ แนวความคิด ตลอดจนปรับปรุงเทคนิควิธีการต่า งๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ การ สร้ างสรรค์ผลงานมีความสมบูรณ์ที่สดุ ดังนันพื ้ ้นที่ ที่สร้ างสรรค์ขึ ้นจึงเป็ นพื ้นที่เฉพาะ ซึ่งพิเศษต่อความรู้สึกและความนึก ฝั นของข้ าพเจ้ า โดยประกอบกับการศึกษารู ปแบบการนาเสนอผลงานศิลปะ โดยเฉพาะ ศิลปะการจัดวางที่เน้ นการนาเสนอผลงานเป็ น ส่วนประกอบที่ก่อให้ เกิดภาพแห่งสาระของ ผลงาน ในการจัดวางนันข้ ้ าพเจ้ าเลือกที่จะถ่ายทอดผลงานโดยการจัดสร้ างวัตถุและทาการ ตัดวัสดุไม้ อดั เป็ นภาพเงาของวัตถุที่บดิ เบือนมุมมองและความหมายตามความเป็ นจริ ง ภาพ เงาที่แปรเปลี่ยนบิดพลิ ้ว มีมิติเดียว เมื่อทาบทับสิ่งใดๆ จะเกิด การหักเห สะท้ อ นถึงความ เป็ นไปจากประสบการณ์ ของเรื่ อ งราวที่เคยเกิดขึ ้น นาเสนอผ่านผลงานศิลปะการจัดวาง ภายใต้ แนวความคิดของภาพความทรงจาต่างๆ หลังจากนันข้ ้ าพเจ้ าได้ วเิ คราะห์ประเด็นที่ได้ ระหว่างการสร้ างสรรค์ เพื่อให้ เกิดแง่คิดที่เป็ นประโยชน์เกี่ยวเนื่องกับการทางานครัง้ นี ้ เช่น สาระที่ค้นพบทังในส่ ้ วนของเนื ้อหาและรูปแบบของผลงาน อาจเป็ นผลต่อแง่คิดบางประการ 79 | V I S U A L

ART

79

VISUAL ART


ที่มีบางส่วน แตกต่างไปจากเดิม ทังของข้ ้ าพเจ้ าในฐานะผู้สร้ าง และส่วนความคาดหวังว่า จะเป็ นผลต่อผู้ดู

ภาพที่ 4 ผลงานความหมายระหว่างวัตถุและภาพเงา

ผลงานการสร้ างสรรค์ ชุดนี ้ ได้ ดาเนิน ไปตามแนวความคิด ที่ ตงั ้ ไว้ ในระดับหนึ่ ง กล่าวคือ สามารถถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สกึ ต่างๆ ของเรื่ องราว บรรยากาศ สิ่งแวดล้ อมถึง สวนรอบบ้ าน ลงบนภาพเงาของวัตถุให้ ออกมาในรูปแบบของผลงานการแกะไม้ อีกทัง้ ยัง เป็ นการเผยแพร่ศลิ ปะสูส่ าธารณชน เกี่ยวกับ เรื่ องราวของข้ าพเจ้ าที่พยายามสื่อสารกับผู้ดู ซึ่งอาจเป็ นการต่อยอดในเรื่ องความคิดเกี่ยวกับผลงานต่อไป

VISUAL 80 | V I SART U A L80A R T


อาจารย์กฤษณพล ทีครูซ จบการศึกษาระดับปริ ญญาตรี จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลธัญ บุรี พ.ศ.2543 ในหลักสูต รศึก ษาศาสตร์ บัณ ฑิต สาขาวิช า ศิล ปกรรม คณะศิ ล ปกรรม และจบการศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาโท ศิ ล ปมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิช าทัศ นศิล ป์ คณะวิจิ ต รศิล ป์ ในปี พ.ศ.2558 จากมหาวิท ยาลัย เชี ย งใหม่ ประสบการณ์ การทางานนันเป็ ้ นอาจารย์ประจาสาขาวิชาศิลปกรรมตังแต่ ้ ปี พ.ศ.2544 จนถึงปั จจุบนั เป็ นคนจังหวัดเชียงราย อยู่ที่ 96/3 ม.4 ต.ริ มกก อ.เมือง จ.เชียงราย และ สามารถติดต่อได้ ที่ 063-1146767

81 | V I S U A L

ART

81

VISUAL ART


ทัศน(คติ)ศิลป์แห่งการสร้างสรรค์ จักรกริช ฉิมนอก 1 ______________________________________________________________

ภาพที่ 1 จักรกริ ช ฉิมนอก,‛ ร่ างกาย – จินตนาการ – ใบตองแห้ ง‛ , ศิลปะจัดวาง ( Installation art ) : วีดีโอ หุ่นโชว์ชดุ ใบตอง ภาพถ่ายขาว-ดา (ขนาดใหญ่) กล่องบรรจุภณ ั ฑ์กล้ วยจากบลาซิล “ Ausstellung Going Bananas 2011” Vögele Culture Center, Switzerland

มนุ ษ ย์ แ ตกต่ า งจากสั ต ว์ และสิ่ง มี ชี วิต อื่ น ๆ เพราะมนุษ ย์ เ ป็ นสิ่ง มี ชี วิต ที่ มี ความสามารถในการพัฒ นาทักษะด้ า นต่างๆ ทัง้ การใช้ ร่างกาย ความนึ กคิดสติปัญ ญา เหตุผล การควบคุมสัญชาตญาณ หรื อพฤติกรรมโดยธรรมชาติ การกาหนดกฏเกณฑ์บรรทัด ฐานต่างๆนาๆมากมาย โดยความสามารถเหล่านี ้ล้ วนต่างมีวิวัฒนาการเปลี่ยนแปลง สืบ ทอด ต่ อ เนื่ อ งกั น มาอย่ า งยาวนาน ตามยุ ค สมั ย ตามบริ บ ท และเหตุ ปั จ จั ย จาก 1

อาจารย์, โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช

ภัฏเชียงราย VISUAL 82 | V I SART U A L82A R T


สภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติ การดารงอยู่ในรูปแบบของวิถีชีวิต วิธีปฏิบตั ิ และการแสวงหา เติมเต็ม ความจ าเป็ นในขัน้ พืน้ ฐาน จนกลายเป็ นรู ป แบบการแลกเปลี่ ย น เพื่ อ สิ่ง ที่ เ ป็ น ประโยชน์สาหรับตนเอง ประกอบกันเข้ าจนกลายเป็ นรูปแบบของภาพลักษณ์ ปรากฏ ตาม แรงจูงใจที่ถกู ปลุกเร้ า จากภายในของตัวบุคคล และทาให้ เกิดความอยากทาพฤติกรรมต่างๆ ตามที่ตวั เองปรารถนา จากแรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation)กับ การจูงใจภายนอก (Extrinsic Motivation)

ภาพที่ 2 จักรกริ ช ฉิมนอก,‛ ร่ างกาย – จินตนาการ – ใบตองแห้ ง‛ , ศิลปะจัดวาง ( Installation art ) หุ่นโชว์ชดุ ใบตอง ภาพถ่าย (ขนาดใหญ่) The15 Finalists Exhibition a total of 130 artwork by artist from 24 countries in the Asia Pacific Breweries (APB) Foundation Signature Art Prize 2011, Singapore Art Museum (SAM)

ซึ่งลักษณะสาคัญของแรงจูงใจ ที่ เป็ นตัวกระตุ้นก่อ ให้ เกิดพลังงานในการแสดงพฤติกรรม เป็ นสิ่ง เร้ า สิ่งกระตุ้นให้ ไม่ห ยุดนิ่ ง เป็ นสิ่งซึ่ง ต้ อ งได้ รั บการเสริ มแรง และควรได้ รั บการ ตอบสนอง อาจเป็ นรางวัล หรื อสิ่งของ เพื่อเป็ นการเสริ มแรงภายนอก ก่อให้ เกิดการปลี่ยน 83 | V I S U A L

ART

83

VISUAL ART


แปลงด้ านต่างๆ ทาให้ สภาพร่ างกายเปลี่ยนแปลงไป ทาให้ สภาพอารมณ์ เปลี่ยน ก่อให้ เกิด นิสยั ความเคยชิน ช่วยสร้ างความรู้สกึ ทาให้ เกิดความมุง่ หวังตามความต้ องการ ซึ่ง มาสโลว์ (Maslow) 2 จัดลาดับความต้ องการ ซึ่งเริ่ มจากความต้ องการพื ้นฐานของมนุษย์ (Survival Need) แล้ วจะค่อ ยๆต้ อ งการสูงขึ ้นตามลาดับ เริ่ มจากความต้ อ งการในปั จ จัย 4 ความ ต้ องการอาหาร น ้า เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค อากาศ และความต้ องการทางเพศ เป็ นความต้ องการทางกาย สรี ระ (Physiological Need) นาไปสู่ความต้ องการความมัน่ คง และความปลอดภัยในชีวิตทังทางร่ ้ างกายและจิตใจ (Safety and Security Need) หรื อ ความมัน่ คงในการทางานและการมีชีวติ อยู่อย่างมัน่ คงในสังคม ทาให้ เกิดความต้ องการด้ าน สังคม ต้ อ งการการยอมรับว่าตนเป็ นส่วนหนึ่งของสังคม เป็ นที่ รักของผู้อื่น และต้ องการมี สัมพันธภาพที่ ดี กับ บุค คลอื่ น (Social Needs) ได้ รั บการยกย่ อ งจากบุคคลอื่ น ความ ต้ องการด้ านนี ้เป็ นความต้ องการระดับสูงที่เกี่ยวกับความมัน่ ใจในตัวเองในเรื่ องของความรู้ ุ ค่าสูง ความสามารถ และความสาเร็ จของบุคคล มีความปรารถนาที่จะมองตนเองว่ามีคณ ได้ รับชื่อเสียง เกียรติยศ (Esteem Need) สุดท้ ายคือความต้ องการการประสบความสาเร็ จ ในชีวติ (Self Actualization Need) คือ การมีความต้ องการที่จะรู้จัก และเข้ าใจตนเองตาม สภาพที่แท้ จริง เพื่อพัฒนาชีวติ ของตนเองให้ สมบูรณ์ (Self-fulfillment) มีความสามารถและ มีความจริงใจต่อตนเอง มีสติในการปรับตัว เปิ ดโอกาสให้ ตนเองเผชิญกับความจริ งของชีวิต และเผชิญกับสิง่ แวดล้ อมใหม่ๆ โดยคิดว่าเป็ นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้ น ที่จะพัฒนาตนเอง เต็มที่ตามศักยภาพ 2

อับราฮัม มาสโลว์ / Abraham Maslow (1908) ศาสตราจารย์ทางด้ านจิตวิทยา ผู้วางรากฐาน

จิตวิทยามนุษยนิยม เขาได้ พฒ ั นาทฤษฎีแรงจูงใจ ซึง่ มีอิทธิ พลต่อระบบการศึกษาของอเมริ กนั และเป็ น บุคคลสาคัญในการเคลื่อนไหวในกลุ่มจิตวิทยามานุษยนิยมในหมูน่ กั จิตวิทยาชาวอเมริ กนั ซึง่ มีอิทธิ พล ต่อระบบการศึกษาของอเมริ กนั VISUAL 84 | V I SART U A L84A R T


ภาพที่ 3 จักรกริ ช ฉิมนอก, ศิลปะแสดงสด ( Performance art ) เริ่ มตังแต่ ้ พ.ศ. 2540 – ปั จจุบนั

ดังนันจากความต้ ้ องการ มนุษย์จึงเกิดแรงขับเคลื่อนเพื่อให้ เกิดการการพัฒนา ซึ่ง นามาถึงการสร้ างสรรค์สงิ่ ต่างๆ เพื่อตอบสนองประโยชน์ ทงั ้ ทางตรง และโดยทางอ้ อม ตาม

85 | V I S U A L

ART

85

VISUAL ART


แนวคิดทฤษฎีความคิดสร้ างสรรค์ ของ

walls

3

ได้ กล่าวว่า ความคิดสร้ างสรรค์เกิดจาก

กระบวนการคิดสิง่ ใหม่ๆ โดยการลองผิดลองถูก (Trial and Error) โดยเตรี ยมข้ อมูล ครุ่นคิด เรี ยบเรี ยง เชื่ อ มโยงความสัมพันธ์ ต่า งๆ เข้ าด้ วยกันให้ มีความกระจ่ างชัด และสามารถ มองเห็น ภาพพจน์มโนทัศน์ของความคิด และ พิสจู น์ว่าเป็ นความคิดที่เป็ นจริ งและถูกต้ อง หรื อไม่ สอดคล้ องกับแนวคิดของ เอลลิส พอล ทอร์ แรนซ์ (E. Paul Torrance) 4ซึ่งให้ นิยาม ความคิดสร้ างสรรค์ ว่า เป็ นกระบวนการของความรู้สึกไวต่อปั ญหา หรื อสิ่งที่บกพร่ องขาด หายไปแล้ วรวบรวมความคิดตังเป็ ้ นสมมติฐานขึ ้น ต่อจากนันก็ ้ ทาการรวบรวมข้ อมูลต่างๆ เพื่อทดสอบสมมติฐานนัน้ สาหรับ กิลฟอร์ ด (Guilford)5 กล่าวว่า ความคิดสร้ างสรรค์เป็ น ความสามารถทางสมอง ในการคิดหลายทิศทางซึ่งมีองค์ประกอบด้ วย ความสามารถในการ ริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการคิด และความสามารถในการแต่งเติมและ ให้ คาอธิบายใหม่ที่เป็ นการติดตามหลักเหตุผล เพื่อหาคาตอบ ดวงฤทธิ์ บุญนาค กล่าวว่า ความคิดสร้ างสรรค์ไม่ใช่เส้ นตรง ( Non-linear) อย่างเช่น 1+1 เท่ากับ 2 โดยปกติผ้ คู น บอกว่า A+ B แล้ วจะเป็ นผลรวมของ A และ B หรื อบอกว่า ความคิดสร้ างสรรค์ต้องเป็ น ลักษณะใดลักษณ์หนึ่งเท่านัน้ แต่ในความเป็ นจริง A+B ต้ องเท่ากับ C ผลรวมของ A และ B ต้ องเท่ากับสิง่ ใหม่เสมอ นันคื ้ อ ความคิดสร้ างสรรค์ และที่สาคัญ ความคิดสร้ างสรรค์ ต้ อง ก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง ความคิดสร้ างสรรค์จะต้ องเริ่ มต้ น ด้ วยการคิดในกรอบเสียก่อน กรอบเป็ นตัวที่กาหนดทุกสิง่ ทุกอย่างไว้ เพราะเป็ นไปไม่ได้ ที่ผ้ ทู ี่ไม่ความรู้และประสบการณ์ 3

Walls, ความคิดสร้ าสรรค์, ที่มา www.seal2thai.org/sara/sara146.htm สืบค้ นเมื่อ 15/16/2562

4

Ellis Paul Torrance (1962) เป็ นนักจิตวิทยาชาวอเมริ กนั จาก Milledgeville รัฐจอร์ เจีย

5

Paul Guilford (1950) เป็ นนักจิตวิทยาชาวอเมริ กนั ที่ศกึ ษาเกีย่ วกับความฉลาดทางสติปัญญาของ

มนุษย์ VISUAL 86 | V I SART U A L86A R T


จะคิดนอกกรอบได้ ผู้ที่คดิ นอกกรอบได้ คือ ผู้ที่อยู่ในกรอบมานานจน ตระหนักรู้และเข้ าใจ ถึงบริบทเพียงพอที่จะทาให้ สามารถคิดนอกกรอบได้ 6

ภาพที่ 4 จักรกริ ช ฉิมนอก, ศิลปะเน้ นแนวคิด ( Conceptual art )

ในงานด้ า นทัศนศิลป์ ( Visual arts) คื อ กระบวนการถ่า ยทอดผลงานทาง ศิลปะ ด้ วยความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อนาไปสู่การสรรสร้ างศิลปะอย่างมีจินตนาการ มีระบบ ระเบียบ เป็ นขันเป็ ้ นตอน อย่างมีประสิทธิภาพสวยงาม มีการปฏิบตั ิงานตามแผน และมีการ พัฒนาผลงานให้ ดีขึ ้นอย่างต่อเนื่อง ด้ วยแรงปรารถนาจูงใจ ผลักดัน นาความรู้สึกนึกคิด จากความเป็ นนามธรรมหรื อมโนสานึก เกิดเป็ นแรงบันดาลใจ นามาสู่สิ่ งที่ จบั ต้ องได้ เป็ น 6

ดวงฤทธิ์ บุนนาค. บทความเรื่อง ความสร้ างสรรค์ของผู้ประกอบการเชิงสร้ างสรรค์ , เศรษฐกิจ

สร้ างสรรค์ : แนวคิด กลยุทธ์ และกรณีศกึ ษา, เอกสารสรุ ปการบรรยายในโครงการฝึ กอบรมหลักสูตร ผู้บริ หารด้ านเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ (EXCET1) ,สานักงานบริ หหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ มหาชน) ร่วมกับสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศริ นทร์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 ( น.12)

87 | V I S U A L

ART

87

VISUAL ART


รู ป ธรรม มีค วามคงทนในระดับหนึ่ ง โดยหาทางแสดงออกผ่า นแนวคิด รู ปแบบวิธี ก าร กระบวนการ เทคนิควิธีการ สื่อหลากชนิด การใช้ วสั ดุต่างๆมากมาย ตามความสามารถการ เรี ยนรู้ ซึ่งทาให้ เกิดความรู้จากความจ า (Knowledge) ความเข้ าใจ ( Comprehend) การ ประยุกต์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis)การวิเคราะห์ การประเมินค่า (Evalution) และ สร้ างสรรค์ (Create)7 ที่ผ้ สู ร้ างสรรค์ได้ ฝึกฝนปฏิบตั จิ นเกิดเป็ นประสบการณ์

ภาพที่ 5 จักรกริ ช ฉิมนอก, วาดเส้ น : เกรยองบนแคนวาส ( Drawing : Crayon on canvas )

7

ทฤษฎีของ Bloom ( Bloom's Taxonomy) ที่มา https://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-

pages/blooms-taxonomy/ สืบค้ นเมื่อ 15/6/2562

VISUAL 88 | V I SART U A L88A R T


ซึ่ง เอ็ดการ์ เดล เชื่อว่าประสบการณ์ ที่เป็ นรู ปธรรม จะทาให้ เกิดการเรี ยนรู้ แตกต่างจาก ประสบการณ์ที่เป็ นนามธรรม เรี ยงตามลาดับจากประสบการณ์ ที่ง่ายไปหายาก8 ทาให้ เกิด พลวัตในการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมตามความเชื่อ ความศรัทธา เป็ นปั จจัยสาคัญใน การสร้ างความมีชี วิต ชี ว า ทัศ นศิลป์ ยุค ใหม่ข องไทย เป็ นการหลอมรวมรากเหง้ า ทาง วัฒนธรรมและแรงบันดาลใจจากการที่ได้ สมั ผัสกับแรงกระตุ้น ที่แพร่ หลายในนานาประเทศ จนเป็ นที่ยอมรับกันว่าเป็ นสากลเข้ าด้ วยกัน เป็ นนวัตกรรมทางศิลปะที่น่าทึ่ง ประกอบเข้ ากับ ความสามารถในการปรับตัว ให้ เข้ ากับกระแสความคิดใหม่ ทัศนศิลป์ เป็ นศิลปะที่มิได้ เน้ น ความฉับไวของปฏิภาณ แต่เป็ นประเภทของศิลปะที่ให้ เวลากับตนเอง

ภาพที่ 6 จักรกริ ช ฉิมนอก, ประติมากรรมสื่อผสม ( Mixed media Sculpture )

8

กรวยประสบการณ์ (Cone of Experience)

https://sirikanya926.wordpress.com/2014/01/27/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A7% E0%B8%A2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%9A%E0%B8 %81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C-cone-of-experience/ สืบค้ นเมือ่ 15/6/2562

89 | V I S U A L

ART

89

VISUAL ART


ทัง้ ในด้ านของการสร้ าง และในด้ านของการรั บ แสวงหาทางออกใหม่ๆ เป็ นทิศทางของ ศิลปะร่ วมสมัยที่ น่าสนใจยิ่งเป็ นผลจากความเปลี่ยนแปลง ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี ศิลปิ นบางคนไม่ได้ รับเทคโนโลยี เพียงในฐานะเครื่ อ งมือ เครื่ อ งใช้ สอย แต่พยายามสกัด ความคิดเชิงปรัชญาออกมาจากโลกของเทคโนโลยี เพื่อนินิจพิจารณาความเป็ นไปของโลก ยุคใหม่ ที่ขยายอาณาเขตออกไปอย่างไร้ พรมแดน 9 ศิลปะเป็ นเรื่ องราวของผู้สร้ าง แต่การ สร้ างเป็ นสิ่งที่มีเป้าหมาย เพื่อการเลียนแบบบางสิ่งบางอย่าง แน่นอน สิ่งที่สมควรจะต้ อ ง เลียนแบบนัน้ ย่อมมีคณ ุ ค่า โดยผ่านการนาเสนอด้ วยสื่อต่างๆ ทังนี ้ ข้ ึ ้นอยู่ว่าเป้าหมายของ ศิลปะนัน้ อยู่ที่อะไร การยอมรั บความแตกต่างของสภาวะทางโลกที่สามารถเข้ าถึงได้ ด้วย ประสาทสัมผัสทัง้ ห้ ากับสภาวะที่อ ยู่นอกเหนื อประสาทสัมผัสทัง้ ห้ า แสดงให้ เห็นถึงการมี จิตสานึก ที่สามารถนามนุษย์ออกไปสูโ่ ลกที่ไม่ดารงอยู่ภายในกรอบของประสาทสัมผัส

ภาพที่ 7 จักรกริ ช ฉิมนอก และ ภัทรี ฉิมนอก , ศิลปะแสดงสด ( Performance art ) Anagrammatic encounter / shaping and fine-tuning 2018, The platform Action Lab PAErsche Basel, Switzerland 9

เจตนา นาควัชระ, ศิลป์ส่องทาง, กรุ งเทพฯ : บริ ษัทเคล็ดไทย, 2546

VISUAL 90 | V I SART U A L90A R T


ศิลปะที่ไม่ต้องการการอ้ างอิงจากภายนอก เป็ นแนวทางของการสร้ างความบริ สทุ ธิ์ของ อาณาเขตแห่งศิลปะในสภาวะสมัยใหม่ ศิลปะที่มีความหมายก็จะต้ องเป็ นสิ่งที่เกิดขึ ้นมา จากตัวศิลปะเอง แสดงให้ เห็นถึงความริ เริ่ ม (Originality) ในตัวเอง ไม่มีอะไรหรื อ ไม่มีใคร เหมือนทาให้ เกิดช่องว่างและความแตกต่าง ดารงอยู่ในมิติเวลา (Time) และพื ้นที่ (Space) ทาให้ วตั ถุที่นาเสนอมีความเป็ นเอกลักษณ์ แปลกใหม่ 10

ภาพที่ 8 จักรกริ ช ฉิมนอก,‛ ร่ างกาย – จินตนาการ – ใบตองแห้ ง‛ , ศิลปะจัดวาง ( Installation art ) The 3rd Fukuoka Asian Art Triennale 2005, Fukuoka Asian Art museum , Japan

10

ธเนศ วงศ์ยานนาวา, ศิลปะกับสภาวะสมัยใหม่ : และความลักลัน่ , สานักงานศิลปวัฒนธรรมร่วม

สมัย, 2552

91 | V I S U A L

ART

91

VISUAL ART


ภาพที่ 9 จักรกริ ช ฉิมนอก, ศิลปะจัดวาง ( Installation art ) : ถัก ทอ เย็บ มัด ติดเศษวัสดุ พลาสติก C.H.C.H. company Project Made in Blackburn 2006, Blackburn gallery and Museum, UK

ดังนัน้ ทัศนคติของศิลปิ นจึงเป็ นอิทธิพลในองค์ประกอบที่สาคัญหลักในการ สร้ างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ เพราะผลงานการสร้ างสรรค์นนย่ ั ้ อมถูกกลัน่ กรองออกมาจาก ความสัมพันธ์ตา่ งๆ ของ การมองเห็น การจดจา ความนึกคิด ที่เกิดขึ ้นทังโดยทางตรง ้ และ ทางอ้ อมจากประสบการณ์ชีวติ ของผู้สร้ างสรรค์ ผ่านการตีความสรรสร้ างสิง่ ต่างๆ เป็ นวง โคจรกระบวนการที่ตอ่ เนื่องปรากฏสื่อสารออกมาถึงผู้รับชม ด้ วยทัศนคติที่มีตอ่ ชีวิต และ โลก

ภาพที่ 10 จักรกริ ช ฉิมนอก และ ภัทรี ฉิมนอก , ศิลปะแสดงสด ( Performance art ) Anagrammatic encounter / shaping and fine-tuning 2018, The platform Action Lab PAErsche , Köln, Germany VISUAL 92 | V I SART U A L92A R T


นายจักรกริช ฉิมนอก เป็ นอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2556 ปั จ จุ บัน ประจ าโปรแกรมวิช าศิ ล ปกรรมศาสตร์ แขนงวิช าทัศ นศิ ล ป์ คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จบการศึกษา ระดับชัน้ ประกาศนียบัตร วิชาชีพศิลปกรรม วิทยาลัยช่างศิลป์ กรมศิลปากร (ลาดกระบัง), ระดับปริญญาตรี สาขา ประติม ากรรม คณะวิจิ ต รศิล ป์ มหาวิท ยาลัย เชี ย งใหม่ , ระดับ ปริ ญ ญาโท สาขา ทัศนศิลป์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ , ปั จ จุบัน กาลังศึกษาระดับดุษฎี บัณฑิต สาขาศิลปะและการออกแบบ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จักรกริช มีความสนใจในเรื่ องราวท้ องถิ่น วัฒนธรรม สภาพแวดล้ อม ธรรมชาติ ซึ่งเป็ นแนวคิดหลักในการสร้ างสรรค์และพัฒนาผลงานทัศนศิลป์หลากหลายรูปแบบ เขา ได้ รับเชิญโดยพิพิธภัณ ฑ์ศิลปะ แกลเลอรี่ และเทศกาลศิลปะ ให้ เข้ าร่ วมแสดงผลงาน ศิลปกรรมต่างๆ ทังภายในประเทศไทยและต่ ้ างประเทศ เช่น ประเทศลาว ประเทศเมียน มาร์ ประเทศญี่ ปุ่ น ประเทศอัง กฤษ ประเทศไต้ ห วัน ประเทศสิง คโปร์ ประเทศ สวิสเซอร์ แลนด์ ประเทศจีน ประเทศสาธารณรัฐเกาหลีใต้ ประเทศเยอรมัน เป็ นต้ น ผลงานของ จักรกริช ฉิมนอก ถูกสะสมโดยพิพิธภัณฑ์ศิลปะ ฟูกูโอกะเอเชียน อาร์ ตมิวเซี่ยม ประเทศญี่ปนุ่ และ ผู้ที่ชื่นชอบโดยทัว่ ไป http://chakkritchimnok.wix.com/portforio?fbclid=IwAR19MIxdh6tYVRgHKCstZUo AuFFHPQybp8TvaxiwMErZSPgIJxukDRe-B2s 93 | V I S U A L

ART

93

VISUAL ART


ขอขอบพระคุณ ศาสตรเมธี ดร.เฉลิมชัย โฆษิตพิพฒ ั น์ ( ศิลปิ นแห่งชาติ ปี 2554 สาขาวิชาทัศนศิลป์ ) ศาสตราจารย์กมล ทัศนาญชลี ( ศิลปิ นแห่งชาติ ปี 2540 สาขาวิชาทัศนศิลป์ ) ศาสตราจารย์ เดชา วราชุน ( ศิลปิ นแห่งชาติ ปี 2550 สาขาวิชาทัศนศิลป์ ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรชัย มุง่ ไธสง (อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมหวัง อินทร์ ไชย (ผู้อานวยการสานักศิลปะและวัฒนธรรมฯ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สหัทยา สิทธิวเิ ศษ (คณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ฯ) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปฏิพนั ธ์ อุทยานุกลู ( รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ฯ) อาจารย์สวุ ทิ ย์ ใจป้อม (นายกสมาคมขัวศิลปะ) อาจารย์จาง ฮัน่ ตง อาจารย์ Khankeo Vannasouk อาจารย์ Tin Win อาจารย์ Tran Thi Hoai Dien อาจารย์ศรี วรรณ เจนหัตถการกิจ

อาจารย์ฉลอง พินิจสุวรรณ

อาจารย์สมพงษ์ สารทรัพย์ อาจารย์พานทอง แสงจันทร์ อาจารย์อรพิน สืบทิม อาจารย์ทนงศักดิ์ ปากหวาน

อาจารย์ทรงเดช ทิพย์ทอง อาจารย์ภทั รี ฉิมนอก อาจารย์จงจิตร มูลมาตย์

อาจารย์ผกู พัน ไชยรัตน์ อาจารย์มานิตย์ กันทะสัก อาจารย์พทุ ธรักษ์ ดาษดา ศิลปิ นเชียงรายทุกท่าน เจ้ าหน้ าที่ และบุคลากร สมาคมขัวศิลปะ นศ.ชมรมฯ บุคลากร เจ้ าหน้ าที่ สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

บุคลากร เจ้ าหน้ าที่ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชี ยงราย คณาจารย์โปรแกรมศิลปกรรมศาสตร์ บุคลากร เจ้ าหน้ าที่ นักศึกษาผู้ช่วย และผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องทุกๆ ท่าน ด้วยความเคารพ VISUAL 94 | V I SART U A L94A R T


ขอขอบคุณ อาจารย์อดิวชั ร์ พนาพงศ์ไพศาล (Conductor) และ นักศึกษาสาขาดุริยางคศิลป์ โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์

Trumpet

Percussion

นายเอกราช แผ่นทอง นางสาวฐิตมิ า บุญสินธุ์ชยั นายกฤตยชญ์ เมืองมา

นายธนวัฒน์ อภิมงคลเลิศ นางสาวอัญชิสา ยิ่งสินสุวฒ ั น์

Horn

นายถิรายุ เชื ้อเมืองพาน นายกิตติภณ หมีจนั ต๊ ะ

นายอรรถนนท์ อุปะนันท์ นางสาว เจนจิรา บัวแก้ ว นางสาว สณิสา ฟูคา

Trombone

Euphonium

Tuba นายสมศักดิ์ เชื ้อชาติสงิ ขร นายคณาธิป วงศ์เกี่ย

นายภาณุเดช ใจแปง ‚ นิทรรศการศิลปกรรมร่ วมสมัยของคณาจารย์และนักศึกษา โปรแกรมวิชาศิลปกรรมศาสตร์ แขนงวิชา ทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ประจาปี การศึกษา 2561‛ พิมพ์ครัง้ แรก พ.ศ. 2562 ( จานวน 100 เล่ม ) ออกแบบกราฟิ กและรู ปเล่ม โดย จักรกริ ช ฉิมนอก ถ่ายภาพ โดย ณัฐพล จันเลน พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชอบพิมพ์ 14/1 หมู่ 11 ถ.หนองบัว ต.รอบเวียง จ.เชียงราย 57000 ( โทร 053 – 746756)

95 | V I S U A L

ART

95

VISUAL ART


VISUAL 96 ART | V I S 96 UAL ART


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.