wordpress

Page 1

ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 1

ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์ เรื่ อง : การสร้ างเว็ปบล็อกใน wordpress.com

โดย : นางสาวชลีมาศ ร่มโพธิ์ รหัสนักศึกษา 5111302534 นักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม วิชา : ARTI3319 : Visual Communication Design E-mail: chaleemas18@gmail.com Blog: http://arti3319-chaleemas.blogspot.com/ Tel : 08-91694415 ผู้สอน : ผศ.ประชิด ทิณบุตร

Technology


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 2

สวัสดีคะ่ วันนี ้ ดิฉนั นางสาวชลีมาศ ร่มโพธิ์ รหัสนักศึกษา 5111302534 นักศึกษาสาขาวิชา ศิลปกรรมออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จะมาทาการสาธิตการใช้ wordpress เพื่อเป็ นการไม่เสียเวลาเรามารู้ก่อนว่า wordpress มีที่มาและคุณสมบัติอย่างไร Wordpress.com เป็ น open source web software ที่เราสามารถติดตังบนเว็ ้ บ server ของ เราเพื่อสร้ างเว็บไซต์, blog หรื อ community ตอนเริ่มแรก WordPress เป็ นเครื่ องมือไว้ สาหรับสร้ าง blog แต่ได้ รับการพัฒนามาเรื่ อย ๆ จนสามารถสร้ างเป็ นเว็บไซต์ หรื อ เว็บ community ได้ แล้ ว โดยมี ระบบจัดการบทความ หรื อ Content Management System (CMS) ทาให้ ง่ายต่อการใช้ งาน ซึง่ WordPress สร้ างขึ ้นโดย Matt Mullenweg และ Mike Little ในปี 2003 นับว่ามีการพัฒนามาถึง 9 ปี แล้ วและเมื่อเริ่ม search หาคาว่า WordPress ก็จะทาให้ หลายคนที่เริ่มต้ นงงต่ออีกว่า ทาไมมันมี WordPress.com กับ WordPress.org ละ สองอย่างนี ้แตกต่างกันอย่างไรWordPress.com กับ WordPress.org WordPress นี ้พัฒนาต่อยอดมาจาก b2\cafelog ที่พฒ ั นาโดย Michel Valdrighi และชื่อ wordPress นี ้ก็ได้ มาจากการแนะนาของ Christine Selleck ซึง่ เป็ นเพื่อนกับหัวหน้ าทีมพัฒนา นัน่ คือ matt mullenweg โดยปรากฏโฉมครัง้ แรกในปี 2546 ซึง่ เป็ นความร่วมมือกันระหว่าง matt mullenweg และ Mike Little เพื่อที่จะสร้ าง fork ของ b2 ในปี 2547 บริษัท Six Apart ผู้พฒ ั นา Moveable Type ได้ มีการคิดค่าใช้ งาน ทาให้ ผ้ ใู ช้ หนั มาใช้ wordPress กันเป็ นจานวนมาก ปั จจุบนั worpress ก็ยงั เป็ น CMS ตัวหนึง่ ที่มีความสามารถในการสร้ างบล็อกโดยเฉพาะ ได้ มีการนาเอา wordPress มาดัดแปลงเพื่อใช้ ในการสร้ างเว็บไซน์ ซึง่ เจ้ า wordPress ก็เป็ นที่ตอบโจทย์ อย่างดีเยี่ยม มีการนาเอาประโยชน์จาก SEO จากระบบ wordpress มาช่วยสร้ างอันดับให้ กบั เว็บของ


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 3 เรา มีระบบ Upload ที่เป็ น Tool เข้ าช่วย ทาให้ การ upload รูป หรื อ media ต่างๆง่ายเพียงแค่ปลาย นิ ้ว มีระบบ Back end หรื อ ระบบหลังบ้ าน ที่ช่วยให้ เราสามารถเข้ าไปแก้ ไขเนื ้อหาภายในเว็บได้ ตลอด ทาให้ ช่วยลดเวลาในการเขียนลงอย่างมาก จึงเป็ นทีชื่นชอบของเหล่านักเขียนเว็บเป็ นอย่างมาก ลองดูความสามารถของแต่ละตัว แล้ วเปรี ยบเทียบนะครับ ว่าตัวไหนเหมาะสมกับการใช้ งาน ของเรามากกว่ากัน

WordPress.com  ติดตังง่ ้ าย ต้ องบอกว่าแค่สมัครไม่ต้องติดตัง้ เพราะเมื่อสมัครแล้ วทาตามกระบวนการเสร็จ แล้ ว เราก็จะได้ เว็บตามที่เราต้ องการ ภายใต้ url xxxxx.wordpress.com แล้ ว  ไม่ต้องเสียค่า hosting เพราะข้ อมูลต่าง ๆ จะอยูบ่ น server ของ wordpress.com  มีการอัพเดต wordpress ให้ อยูเ่ สมอเมื่อมีเวอร์ ชนั่ ใหม่ออกมา  มี plugin ที่จาเป็ นสาหรับเว็บทัว่ ๆ ไปติดตังไว้ ้ ให้ แล้ ว โดยเป็ นทาง wordpress.com เลือกไว้ ให้ เราใช้ งาน  แน่นอนว่า ฟรี จะเสียค่าใช้ จ่ายก็ตอ่ เมื่อเราต้ องการอัพเกรดเพื่อให้ เราฟั งก์ชนั่ ที่มากขึ ้นจาก ทาง wordpress.com เตรี ยมไว้ ให้

WordPress.org 

อิสระในการใช้ งาน เนื่องจากเราโหลดมาติดตังที ้ ่ server ของเราเอง ดังนันเราสามารถ ้ ปรับแต่งได้ ตามใจเรามากกว่าใช้ งานบน wordpress.com

ปรับแต่ง theme ของเราได้ ตามสะดวก และสามารถ download theme มาติดตังเองได้ ้ โดย ไม่ต้องเลือกเฉพาะที่ทาง wordpress.com จากัดไว้ ให้

ติดตัง้ plugin ได้ ตามใจเรา อยากได้ ตวั ไหน download มาติดตังได้ ้ เลยปรับแต่ง code ได้ ตามที่เราต้ องการ และทาง wordpress.org เองก็มีคมู่ ือไว้ รองรับอยูแ่ ล้ ว

เลือก hosting ที่เราต้ องการ ในราคาที่เราต้ องการได้ ไม่ถกู จากัดอยูเ่ พียงที่เดียว


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 4

ต่อไปเป็ นการสาธิตเข้ าสูร่ ะบบปฏิบตั ิการของ wordpress.com การสร้ างเว็ปบล็อกของ wordpress.com มีขนการปฏิ ั้ บตั ิ ดังนี ้ คือ พิมพ์คาว่า www.wordpress.com ที่ search bar

ภาพที่ 1 แสดงการเข้ าหน้ าเว็ปไซด์ www.wordpress.com ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556. พอเมื่อพิมพ์คาว่า wordpress แล้ ว หน้ าต่างของหน้ าจะปรากฏดังภาพต่อไป  หมายเลข 1 แสดงภาพการสมัครเพื่อเป็ น member ของ wordpress โดยการ login จาก E-mail เพื่อการใช้ งานครัง้ แรก  หมายเลข 2 แสดงภาพการเข้ า login เพื่อเข้ าการสร้ างบล็อก ต่อไป

1

2 ภาพที่ 2 แสดงภาพหน้ าจอ หน้ าแรก สร้ าง Userและ Password ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 5

เมื่อเปิ ดเข้ าหน้ าในหน้ าปฏิบตั ิการ จะเห็นแถบเมนูด้านบน ประกอบไปด้ วย  หมายเลข 1 reader = ผู้อา่ น  หมายเลข 2 stats = สถิติ  หมายเลข 3 my blog = บล็อกของฉัน  หมายเลข 4 freshly pressed = เกิดขึ ้นใหม่  หมายเลข 5 new post = โพสต์ใหม่

3

1 2

4

ภาพที่ 3 แสดงภาพหน้ าจอเมนูบาร์ ด้ านบน (ซ้ าย) ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.

5

ภาพที่ 4 แสดงภาพหน้ าจอเมนูบาร์ ด้ านบน (ขวา)


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 6 ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556. ในขณะที่เราจะสร้ างโพสต์ใหม่ เช่น ข้ อความ รูปภาพ ลิงค์ หรื อว่าวิดีโอต่าง เราสามารถกดเข้ าไปได้ เลยตรงปุ่ ม New post ในระบบปฏิบตั ิการจะให้ เราโพสต์อะไรก็ได้

ภาพที่ 5 แสดงภาพหน้ าจอเมนูบาร์ การโพสต์ตา่ งๆ ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556. ภาพนี ้แสดงถึงการที่เราจะโพสต์ข้อความเพื่อเผยแพร่ให้ บคุ คลอื่นที่ติดตามเราอยู่สามารถรู้ถงึ ข่าวสาร ที่เราจะสื่อออกมาได้ ทางหน้ าเว็ปบล็อก

ภาพที่ 6 แสดงภาพหน้ าจอการโพสต์ข้อความ ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 7 ภาพนี ้แสดงถึงการที่เราจะโพสต์รูปภาพเพื่อเผยแพร่ให้ บคุ คลอื่นที่ติดตามเราอยู่สามารถรู้ถงึ ข่าวสารที่ เราจะสื่อออกมาได้ ทางหน้ าเว็ปบล็อก

ภาพที่ 7 แสดงภาพหน้ าจอการโพสต์รูปภาพ ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.

ภาพนี ้แสดงถึงการที่เราจะโพสต์วิดีโอเพื่อเผยแพร่ให้ บคุ คลอื่นที่ติดตามเราอยู่สามารถรู้ถงึ ข่าวสารที่เรา จะสื่อออกมาได้ ทางหน้ าเว็ปบล็อก

ภาพที่ 8 แสดงภาพหน้ าจอการโพสต์วิดีโอ ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 8

ภาพนี ้แสดงถึงการที่เราจะโพสต์ข้อความอ้ างอิงเพื่อเผยแพร่ให้ บคุ คลอื่นที่ติดตามเราอยูส่ ามารถรู้ถงึ ข่าวสารที่เราจะสื่อออกมาได้ ทางหน้ าเว็ปบล็อก

ภาพที่ 9 แสดงภาพหน้ าจอการโพสต์ข้อความอ้ างอิง ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.

ภาพนี ้แสดงถึงการที่เราจะโพสต์ลิงค์ตา่ งๆเพื่อเผยแพร่ให้ บคุ คลอื่นที่ติดตามเราอยูส่ ามารถรู้ถงึ ข่าวสาร ที่เราจะสื่อออกมาได้ ทางหน้ าเว็ปบล็อก

ภาพที่ 10 แสดงภาพหน้ าจอการโพสต์ลิงค์ตา่ งๆ ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.


ความรู้เรื่ องระบบเทคโนโลยีเพื่อการออกแบบนิเทศศิลป์หน้ าที่ 9 อีกอย่างก็คือ หน้ า Account Settings คือหน้ าปฏิบตั ิการแก้ ไขข้ อมูลส่วนตัว เช่น ชื่อ นามสกุล ภาษาที่ ใช้ หมายเลขโทรศัพท์ รวมไปถึงการเปลี่ยนรูปโปรไฟล์ เพื่อให้ บคุ คลอื่นรู้วา่ นี่คือบล็อคของเราเอง

ภาพที่ 11 แสดงภาพหน้ าจอการแก้ ไขข้ อมูลส่วนตัว ที่มา : ชลีมาศ ร่มโพธิ์,2556.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.