ข้อสอบ ก.พ.

Page 1


สารบัญ หนา สรุปความรูที่เกี่ยวของและระเบียบกฎหมาย - พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไขเพิ่มเติม - พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แกไขเพิ่มเติม - พระราชบัญญัติวธิ ีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แกไขเพิม่ - ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ในสวนของความผิดตอตำแหนงหนาที่ราชการ - พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 - พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 แนวขอสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห - การวิเคราะหเชิงปริมาณ ไดแก ความเขาใจ ความคิดรวบยอด และแกไขปญหา ทางคณิตศาสตรเบื้องตน การเปรียบเทียบและวิเคราะหเชิงปริมาณ ตลอดจนการ ประเมินความเพียงพอของขอมูล - การคิดวิเคราะหเชิงนามธรรม ไดแก การคิดหาความสัมพันธเชื่อมโยงคำ ขอความ หรือรูปภาพ ตลอดจนการหาขอสรุปอยางสมเหตุสมผลจากขอความ สัญลักษณ รูปภาพ สถานการณ หรือแบบจำลองตาง ๆ - การคิดวิเคราะหเชิงภาษา ไดแก การใชภาษาไทยเพื่อการสือ่ สาร ความเขาใจในการ อานภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การตีความจากบทความ ขอความ หรือสถานการณตาง ๆ แนวขอสอบวิชาความรูและลักษณะการเปนขาราชการที่ดี - ระเบียบบริหารราชการแผนดิน หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี วิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครอง หนาที่และความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหนาที่ราชการ ตลอดจนเจนคติ และจริยธรรมสำหรับขาราชการ แนวขอสอบวิชาภาษาอังกฤษ - การทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อวัดความเขาใจในหลักการสื่อสาร โดยใชศพั ท สำนวน โครงสรางประโยคที่เหมาะสม ทั้งในเชิงความหมาย และบริบท แสดงถึง ความสามารถในการสือ่ สารที่มีประสิทธิภาพ การวัดความสามารถดานการอาน โดยทดสอบการทำความเขาใจในสาระของขอความหรือบทความ และการวัด ความสามารถดานการเขียนภาษาอังกฤษระดับเบื้องตน

1 - 50

50 - 163

163 - 199

199 - 229


1

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไขเพิ่มเติม  การจัดระเบียบบริหารราชการแผนดิน ใหแบงออกเปน 3 สวน (ตามมาตรา 4) ดังนี้ 1. ระเบียบบริหารราชการสวนกลาง เป น การบริ ห ารราชการแผ น ดิ น ตามหลั ก การรวมอำนาจ(Centralization) ที ่ ร วมอำนาจ การตัดสินใจการกำหนดนโยบาย การวางแผนการจัดสรรงบประมาณ การควบคุมตรวจสอบ และการบริหาร ราชการในกิจการสำคัญไวใหเปนภาระรับผิดชอบของหนวยงานตาง ๆ ที่สังกัดราชการบริหารสวนกลาง 2. ระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค เปนการบริหารราชการแผนดินตามหลักการแบงอำนาจ (Deconcentration) โดยราชการบริหาร สวนกลางจะมอบอำนาจหนาที่ในกิจการบางอยางไปใหแกราชการบริหารสวนภูมิภาคนำไปปฏิบัติจัดทำ และมี อำนาจตัดสินใจในขอบเขตที่จำกัดบางอยางตามที่ราชการบริหารสวนกลางจะไดมอบไวใหหนวยงานที่ตั้งอยูใน สวนภูมิภาค เปนกลไกสำคัญทางการเมืองในการแปลงนโยบายการเมืองสูการปฏิบัติ 3. ระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น เป น รู ปแบบการจั ดระเบี ย บบริ หารราชการแผ นดิ นตามหลั กการกระจายอำนาจการปกครอง (Decentralization) กล า วคื อ รั ฐ บาลกลางได ก ระจายอำนาจทางการปกครองและการบริ ห ารให แ ก องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ ่ น รู ป แบบต า งๆ เพื ่ อ ดำเนิ น การจั ด ทำบริ ก ารสาธารณะให แ ก ป ระชาชน ภายใตขอบเขตของกฎหมาย

การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง (ตามมาตรา 7) แบงได ดังนี้ 1. สำนักนายกรัฐมนตรี 2. กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐานะเทียบเทากระทรวง 3. ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง 4. กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ซึ่งสังกัดหรือไมสังกัดสำนัก นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง > โดยสำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเปนกระทรวง และ สวนราชการตามขอ 1 – 4 มีฐานะเปนนิติบุคคล


2

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 การจัดตั้ง รวม โอน เปลี่ยนชื่อสวนราชการ (ตามมาตรา 8) 1. การจัดตั้ง รวม หรือ โอนราชการสวนกลาง ต อ งตราเป น พระราชบั ญ ญั ติ เว น แต ก ารรวมหรื อ การโอนไม ว  า จะมี ผ ลเป นการจั ด ตั้ ง สวนราชการขึ้นใหมหรือไม ถาไมมีการกำหนดตำแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางเพิ่มขึ้นใหตราเปน พระราชกฤษฎีกา โดยกำหนดใหสำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือนและสำนักงบประมาณมีหนาที่ ตรวจสอบดูแลมิใหมีการกำหนดตำแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม หรือที่ถูกรวมหรือโอนไปเพิ่มขึ้นจนกวาจะครบกำหนดสามปนับแตวันที่พระราชกฤษฎีกามีผลใชบังคับ 2. การเปลี่ยนชื่อราชการสวนกลาง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา และในกรณีที่ชื่อตำแหนงของขาราชการในสวนราชการนั้น เปลี่ยนไปใหระบุการเปลี่ยนชื่อไวในพระราชกฤษฎีกาดวย 3. การยุบราชการสวนกลาง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา เปนการยุบหนวยงาน เชน กระทรวง หรือกรม ทิ้งไปเลย โดยเมื่อไดมีการยุบสวนราชการขางตนแลว ใหงบประมาณรายจายที่เหลืออยูของสวนราชการนั้นเปนอันระงับไป สำหรับทรัพยสินอื่นของสวนราชการนั้นใหโอนใหแกสวนราชการอื่นหรือหนวยงานอื่นของรัฐ และสำหรับกรณี ขาราชการหรือลูกจางซึ่งตองพนจากราชการเพราะเหตุยุบตำแหนงนอกเหนือจากสิทธิประโยชนที่พึงไดรับ ตามกฎหมายหรือระเบียบขอบังคับอื่นแลว ใหขาราชการหรือลูกจางไดรับเงินชดเชยตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาดวย ซึ่งหากสวนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐประสงคจะรับโอน ขาราชการหรือลูกจางของสวนราชการที่ถูกยุบ สามารถกระทำไดแตตองกระทำภายใน 30 วัน นับแต พระราชกฤษฎีกายุบสวนราชการมีผลบังคับใช  การจัดระเบียบราชการในสํานักนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรีมีนายกรัฐมนตรีเปนผูบังคับบัญชาขาราชการและรับผิดชอบในการกำหนด นโยบาย เปาหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในสำนักนายกรัฐมนตรีใหสอดคลองกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงไว ตอรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยจะใหมีรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำ สำนักนายกรัฐมนตรีเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได  การปฏิบัติหนาที่แทนนายกรัฐมนตรี ในระหวางที่คณะรัฐมนตรีตองอยูในตำแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวาคณะรัฐมนตรีทตี่ ั้งขึ้นใหม จะเขารับหนาที่เพราะนายกรัฐมนตรีตาย ขาดคุณสมบัติ ตองคำพิพากษาใหจำคุก สภาผูแทนราษฎรมีมติ ไมไววางใจ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาความเปนรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภามีมติให ถอดถอนจากตำแหนง ใหคณะรัฐมนตรีมอบหมายใหรองนายกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเปนผูปฏิบัติหนาที่แทน นายกรัฐมนตรี ถาไมมีผดู ำรงตำแหนงรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใหคณะรัฐมนตรี มอบหมายใหรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเปนผูปฏิบัติหนาที่แทน


3

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 อํานาจหนาที่ของนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาล (ตามมาตรา 11) 1. กำกับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผนดิน เพื่อการนี้จะสั่งใหราชการสวนกลาง ราชการ สวนภูมิภาค และสวนราชการซึ่งมีหนาที่ควบคุมราชการสวนทองถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทำรายงาน เกี ่ ย วกั บการปฏิ บ ั ต ิ ร าชการ ในกรณี จ ำเป นจะยั บยั ้ ง การปฏิ บ ั ต ิ ร าชการใด ๆ ที ่ ขั ด ต อ นโยบายหรื อ มติ ของคณะรัฐมนตรีก็ไดและมีอำนาจสั่งสอบสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการสวนทองถิ่น 2. มอบหมายใหรองนายกรัฐมนตรีกำกับการบริหารราชของกระทรวงหรือทบวงหนึ่งหรือหลาย กระทรวงหรือทบวง 3. บังคับบัญชาขาราชการฝายบริหารทุกตำแหนงซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และสวนราชการ ที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเปนกรม 4. สั่งใหขาราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสำนักนายกรัฐมนตรี โดยจะให ขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไมก็ได ในกรณีที่ใหขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ใหไดรับ เงินเดือน ในสำนักนายกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไมสูงกวาเดิม 5. แตงตั้งขาราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหนงของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง โดยใหไดรับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเชนวานี้ใหขาราชการซึ่งไดรับแตงตั้งมีฐานะเสมือน เปนขาราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดำรงตำแหนงนั้นทุกประการ แตถาเปนการแตงตั้ ง ขาราชการตั้งแตตำแหนงอธิบดีหรือเทียบเทาขึ้นไป ตองไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี 6. แตงตั้งผูทรงคุณวุฒิเปนประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา หรือคณะที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี หรือเปนคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ และกำหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือคาตอบแทนใหแกผูซึ่ง ไดรับแตงตั้ง 7. แตงตั้งขาราชการการเมืองใหปฏิบัติราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี 8. วางระเบียบปฏิบัติราชการ เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินเปนไปโดยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เทาที่ไมขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น 9. ดำเนินการอื่น ๆ ในการปฏิบัติตามนโยบาย > ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเปนผูบังคับบัญชาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม แตมิไดสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือทบวง นายกรัฐมนตรีจะมอบหมายใหรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ประจำสำนักนายกรัฐมนตรีปฏิบัติราชการแทนก็ได  สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มี อ ำนาจหน า ที ่ เกี ่ ย วกั บราชการทางการเมื อ ง มี เลขาธิ ก ารนายกรั ฐ มนตรี เป นผู  บ ั ง คั บ บั ญ ชา ขาราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี และใหมีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี


4

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ฝายการเมืองและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายบริหาร เปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะใหมีผูชวย เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการดวยก็ได และแบงได ดังนี้ 1. เลขาธิการนายกรัฐมนตรีและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง เปนขาราชการการเมือง 2. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายบริหารและผูชวยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เปนขาราชการ พลเรือนสามัญ  ***(จำใหดีขอสอบออกทุกป)  สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี มีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับราชการของคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และราชการในพระองค มีเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีเปนผูบังคับบัญชาขาราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี และใหมีรองเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะใหมีผูชวยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป นผู  ช  ว ยสั ่ ง และปฏิ บั ต ิ ร าชการด ว ยก็ ไ ด และกำหนดให ใ ห เลขาธิ ก ารคณะรั ฐ มนตรี รองเลขาธิ ก าร คณะรัฐมนตรี และผูชวยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เปนขาราชการพลเรือนสามัญ (*จำไววาถาเปนสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีตำแหนงบริหารขางตนเปนขาราชการพลเรือนสามัญทั้งหมด)  การบริหารราชการในสํานักนายกรัฐมนตรี สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี นอกจากมี น ายกรั ฐ มนตรี รองนายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ป ระจำสำนั ก นายกรัฐมนตรีใหมีปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งมีอำนาจหนาที่ดังนี้ 1. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักนายกรัฐมนตรี กำหนดแนวทางและแผนการปฏิ บัติ ราชการของสำนักนายกรัฐมนตรี และลำดับความสำคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจำปของสวนราชการ ในสำนักนายกรัฐมนตรีใ ห เปน ไปตามนโยบายที่ นายกรัฐ มนตรีกำหนดรวมทั้ งกำกั บ เรงรัด ติดตามและ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี 2. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการของสวนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี รองจากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ยกเวนขาราชการของสวนราชการซึ่งหัวหนา สวนราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี 3. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี > ในการปฏิบัติราชการของปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ใหมีรองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะใหมีผูชวยปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการ ดวยก็ได

 ***ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และผูช วยปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปนขาราชการพลเรือนสามัญ


5

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง 1. สำนักงานรัฐมนตรี 2. สำนักงานปลัดกระทรวง 3. กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น เวนแตบางกระทรวงเห็นวาไมมีความจำเปนจะไมแยก สวนราชการตั้งขึ้นเปนกรมก็ได โดยสวนราชการตามขอ 2 และ 3 มีฐานะเปนกรมและเปนนิติบุคคล (สำนักงานรัฐมนตรี ไมมีฐานะเปนกรม ไมเปนนิติบุคคล) - กระทรวงใดมีความจำเปนจะตองมีสวนราชการเพื่อทำหนาที่จัดทำนโยบายและแผน กำกับ เรงรัด และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง จะจัดระเบียบบริหารราชการโดยอนุ ม ั ติ คณะรัฐมนตรีเพื่อใหมีสำนักนโยบายและแผนเปนสวนราชการภายใน ขึน้ ตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงก็ได - กระทรวงจะตราพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสวนราชการเพื่อรับผิดชอบภาระหนาที่ใดโดยเฉพาะซึ่งไมมี ฐานะเปนกรมแตมีผูบังคับบัญชาของสวนราชการดังกลาวเปนอธิบดีหรือตำแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะ เปนอธิบดีก็ได ในกรณีเชนนั้นใหอธิบดีหรือผูดำรงตำแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่นดังกลาวมีอำนาจหนาที่สำหรับ สวนราชการนั้นเชนเดียวกับอธิบดี ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา และใหคณะอนุกรรมการสามัญประจำ กระทรวง ทำหนาที่คณะอนุกรรมการสามัญประจำกรม สำหรับสวนราชการนั้น - กระทรวงมีอำนาจหนาที่ตามที่กำหนดไวในกฎหมายวาดวยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ตลอดจนการจัดระเบียบราชการในกระทรวงนั้น ๆ

 รัฐมนตรีวาการกระทรวง ในกระทรวงหนี่งใหมีรัฐมนตรีวาการกระทรวงคนหนึ่งเปนผูบังคับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบใน การกำหนดนโยบายเปาหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานในกระทรวงใหสอดคลองกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรี แถลงไวตอรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดยจะใหมีรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเปนผูชวยสั่ง และปฏิบัติราชการก็ไดในกรณีที่มีรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวงใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมอบหมาย ในกรณีที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงเปน ผูบังคับบัญชาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น และมีฐานะเปนกรม แตมิไดสังกัดกระทรวง รัฐมนตรีวาการ กระทรวงจะมอบหมายใหรัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงปฏิบัติราชการแทนก็ได

 ปลัดกระทรวง มีอำนาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง แปลงนโยบายเปนแนวทางและแผนการปฏิ บัติ ราชการ กำกับการทำงานของสวนราชการในกระทรวงใหเกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบัติงานของ สวนราชการในกระทรวงใหมีเอกภาพสอดคลองกัน รวมทั้งเรงรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของสวนราชการในกระทรวง 2. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการของสวนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี


6

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

3. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สำนักงานปลัดกระทรวง ในการปฏิ บ ั ต ิ ร าชการของปลั ด กระทรวงข า งต น จะให ม ี ร องปลั ด กระทรวงคนหนึ ่ ง เป น ผู  ช  ว ยสั ่ ง และ ปฏิบัติราชการตามที่ปลัดกระทรวงมอบหมายก็ได

 กลุมภารกิจ ภายในกระทรวงจะออกกฎกระทรวงกำหนดใหสวนราชการระดับกรมตั้งแตสองสวนราชการขึ้นไป อยู  ภ ายใตก ลุ  มภารกิจ เดี ยวกั น ก็ ได โดยให แต ละกลุ ม ภารกิจ มี ผ ู ดำรงตำแหน ง ไม ต ่ ำ กว า อธิ บ ดี คนหนึ่ง เปนหัวหนากลุมภารกิจรับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาขาราชการของสวนราชการในกลุมภารกิจนั้น โดยปฏิบัติราชการ ขึ้นตรงตอปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงตอรัฐมนตรีตามที่กำหนดโดยกฎกระทรวง และในกรณี ที่ขึ้นตรงตอรัฐมนตรีตองรายงานผลการดำเนินงานตอปลัดกระทรวงตามที่กำหนดโดยกฎกระทรวง นอกจากนี้ 1. ในกลุมภารกิจเดียวกัน หัวหนากลุมภารกิจอาจกำหนดใหสวนราชการของสวนราชการระดับกรม แหงหนึ่งปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับสารบรรณ บุคลากร กาเงิน การพัสดุ หรือการบริหารงานทั่วไปใหแกสวนราชการ แหงอื่นภายใตกลุมภารกิจเดียวกันก็ได 2. กระทรวงใดมิไดจัดใหมีกลุมภารกิจ และมีปริมาณงานมาก จะใหมีรองปลัดกระทรวงเปนผูชวย สั่งและปฏิบัติราชการเพิ่มขึ้นเปนสองคนก็ได 3. ในกรณีที่กระทรวงใดมีการจัดกลุมภารกิจ จะใหมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเปนหัวหนากลุมภารกิจ ก็ได และใหอำนาจหนาที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับราชการของสวนราชการในกลุมภารกิจเปนอำนาจหนาที่ ของหัวหนากลุมภารกิจนั้น ทั้งนี้ เวนแตจะมีกฎกระทรวงกำหนดไวเปนอยางอื่น 4. กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น และมีความจำเปนอยางยิ่งตองมีรองปลัดกระทรวงมากกวาที่กำหนดไว คณะกรรมการขาราชการพลเรือนและคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการจะรวมกันอนุมัติใหกระทรวงนั้น มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเปนกรณีพิเศษโดยจะกำหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาไวดวยหรือไมก็ได

 สำนักงานรัฐมนตรี มีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเปนขาราชการการเมือง เป น ผู  บ ั ง คั บ บั ญ ชาข า ราชการ และรั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บ ั ต ิ ร าชการของสำนั ก งานรั ฐ มนตรี ข ึ ้ น ตรง ตอรัฐมนตรีวาการกระทรวง และจะใหมีผูชวยเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเปนขาราชการการเมืองคนหนึ่ ง หรือหลายคนเปนผูชวยสั่งหรือปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีก็ได

 สำนักงานปลัดกระทรวง มีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับราชการประจำทั่วไปของกระทรวง และราชการที่คณะรัฐมนตรีมิไดกำหนดให เปนหนาที่ของกรมใดกรมหนึ่งในสั งกัดกระทรวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกำกับและเรงรัดการปฏิ บัติราชการ ของสวนราชการในกระทรวงใหเปนไปตามนโยบายแนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวง


7

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 การจัดระเบียบราชการในทบวงซึ่งสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี หรือกระทรวง 1. สำนักงานรัฐมนตรี 2. สำนักงานปลัดทบวง 3. กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น เวนแตบางทบวงซึ่งเห็นวาไมมีความจำเปนจะไมแยกสวน ราชการตั้งขึ้นเปนกรมก็ได ใหสวนราชการตามขอ 2 และ 3 มีฐานะเปนกรม (ในกรณีที่สำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวงมีทบวงอยูในสังกัด และปริมาณ และคุณภาพของราชการในทบวง ยังไมสมควรจัดตั้งสำนักงานปลัดทบวง จะใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือสำนักงานปลัดกระทรวง ทำหนาที่สำนักงานปลัดทบวงดวยก็ได)

 การบริหารราชการในทบวง ทบวงหนึ่งมีรัฐมนตรีวาการทบวงเปนผูบังคับบัญชาขาราชการ และกำหนดนโยบายของทบวง ใหสอดคลองกับนโยบายที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของทบวง และจะใหมีรัฐมนตรีชวยวาการทบวงเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการก็ได ในกรณีที่มีรัฐมนตรีชวยวาการทบวง การสั่งหรือการปฏิบัติราชการของรัฐมนตรีชวยวาการทบวงใหเปนไปตามที่รัฐมนตรีวาการทบวงมอบหมาย ในกรณีที่เปนทบวงสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ใหรัฐมนตรีวาการทบวงปฏิบัติราชการภายใตการ กำกับของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีวาการกระทวง แลวแตกรณี ปลัดทบวง มีอำนาจหนาที่ดังนี้ 1. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในทบวง กำหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของทบวง และลำดับความสำคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจำปของสวนราชการในทบวงใหเปนไปตามนโยบาย ที่รัฐมนตรีกำหนด รวมทั้งกำกับ เรงรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการในทบวง 2. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการของสวนราชการในทบวงรองจากรัฐมนตรี 3. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสำนักงานปลัดทบวงและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สำนักงานปลัดทบวง - ในการปฏิบัติราชของปลัดทบวง ใหมีรองปลัดทบวงเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการ และจะใหมี ผูชวยปลัดทบวงเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการดวยก็ได - ในกรณีที่มีรองปลัดทบวงหรือผูชวยปลัดทบวง หรือมีทั้งรองปลัดทบวงและผูชวยปลัดทบวง ใหรอง ปลัดทบวงหรือผูชวยปลัดทบวงเปนผูบังคับบัญชาขาราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการรองจากปลัดทบวง - ใหรองปลัดทบวง ผูชวยปลัดทบวง และผูดำรงตำแหนงที่เรียกชื่ออยางอื่นในสำนักงานปลัดทบวง มีอำนาจหนาที่ตามที่ปลัดทบวงกำหนดหรือมอบหมาย - ในกรณี ท ี ่ ป ลั ด ทบวงจะต อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ หรื อ คำสั ่ ง ใดหรื อ มติ ของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งนั้น หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้น มิไดกลาวถึงอำนาจของปลัดทบวงไวใหปลัดทบวงมีอำนาจดังเชนปลัดกระทรวง


8

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

- ในกรณีที่ใหสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือสำนักงานปลัดกระทรวงทำหนาที่สำนักงานปลัดทบวง ใหปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงทำหนาที่ปลัดทบวง  สำนักงานรัฐมนตรี มีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับราชการทางการเมือง มีเลขานุการรัฐมนตรีซึ่งเปนขาราชการการเมืองเปน ผูบังคับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสำนักงานรัฐมนตรีขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการ ทบวง และจัดใหมีผูชวยเลขานุการรัฐมนตรี ซึ่งเปนขาราชการการเมืองคนหนึ่งหรือหลายคนเปนผูชวยสั่งหรือ ปฏิบัติราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรีกไ็ ด  การจัดระเบียบราชการในกรม 1. สำนักงานเลขานุการกรม 2. กองหรือสวนราชการที่มีฐานะเทียบกอง เวนแตบางกรมเห็นวาไมมีความจำเปนจะไมแยกสวน ราชการตั้งขึ้นเปนกองก็ได (สวนรายละเอียดในการแบงสวนราชการในกรม ก็จะขึ้นอยูกับกรมนั้น ๆ ออกระเบียบเอง เชน กรมการปกครอง ก็ จ ะมี ก ฎกระทรวงแบ ง ส ว นราชการของตนเอง เช น กองการเจ า หน าที ่ กองวิ ชาการ และแผนงาน กองคลัง เปนตน ในกรมหนึ่งมีอธิบดีคนหนึ่งเปนผูบังคับบัญชาขาราชการสูงสุด และมีรองอธิบดีเปนผูบังคับบัญชาขาราชการ รองจากอธิบดีและชวยอธิบดีปฏิบัติราชการก็ได เชน อธิบดีกรมการปกครอง อธิบดีกรมศุลกากร

 สำนักงานเลขานุการกรม มีอำนาจหนาที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของกรมและราชการที่มิไดแยกใหเปนหนาที่ของกองหรือสวน ราชการใดโดยเฉพาะมีเลขานุการกรมเปนผูบังคับบัญชาขาราชการ และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สำนักงานเลขานุการกรม นอกจากนี้ยังมีตำแหนง ผูตรวจราชการของกระทรวง ทบวง หรือกรม ซึ่งมีอำนาจหนาที่ตรวจและแนะนำ การปฏิบัติราชการอันเกี่ยวกับกระทวง ทบวง หรือกรมนั้นใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับของ กระทรวง ทบวง หรือกรมหรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี

 หนวยบริการรูปแบบพิเศษ (Service Delivery Unit) หรือ SDU เปนหนวยบริการรูปแบบพิเศษที่อยูภายใตการกำกับดูแลของกรม มีวัตถุประสงคในการปฏิบัติงาน ใหกับสวนราชการตามภารกิจ ที ่จัด ตั้ ง หนว ยบริการรู ปแบบพิ เศษนั้ นเปนหลัก และสนับสนุ นภารกิ จ อื่ น ของสวนราชการดังกลาวตามที่ไดรับมอบหมาย และอาจใหบริการแกสวนราชการอื่น หนวยงานของรัฐ หรือเอกชน แตตองไมกระทบกระเทือนตอภารกิจอันเปนวัตถุประสงคแหงการจัดตั้ง นอกจากนี้รายไดของ หนวยงานดังกลาวหากจัดเก็บไดไมตองนำสงเขาคลังแผนดินแตยังคงอยูภายใตการตรวจสอบของสวนราชการ และสำนักงานตรวจเงินแผนดิน


9

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 การปฏิบัติราชการแทน 1. กรณีที่ผูมีอำนาจ หรือผูบังคับบัญชามอบอำนาจในการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ การปฏิบัติ ราชการหรือการดำเนินการอื่นที่ผูดำรงตำแหนงใดจะพึงปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด โดยที่การมอบอำนาจนั้นมิไดมีการกำหนดกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งนั้นหรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นไวเปนอยางอื่น หรือมิไดหามเรื่อง การมอบอำนาจไว ผูดำรงตำแหนงนั้นอาจมอบอำนาจใหผูดำรงตำแหนงอื่นในสวนราชการเดียวกันหรือ สวนราชการอื่น หรือผูวาราชการจังหวัดเปนผูปฏิบัติราชการแทนได 2. กรณีที่เปนอำนาจในการเฉพาะตัวที่บัญญัติใหตองออกใบอนุญาตหรือที่ผูมีอำนาจอนุญาตไวเปน เฉพาะ สามารถมอบอำนาจใหกับขาราชการผูใตบังคับบัญชา ผูวาราชการจังหวัด หรือตามที่คณะรัฐมนตรี กำหนดเทานั้น เชน การมอบอำนาจใบประกอบธุรกิจโรงแรม คาของเกา ซึ่งเปนอำนาจของผูวาราชการจังหวัด ไมสามารถมอบอำนาจใหกับสวนราชการอื่น เปนผูลงนามแทนได การมอบอำนาจตองทำเปนหนังสือเทานั้น และผูรับมอบอำนาจไมสามารถปฏิเสธการมอบอำนาจนั้นได ตลอดจนไมสามารถมอบอำนาจที่ไดรับมาตอได เวนแตผูมอบอำนาจจะกำหนดใหมอบอำนาจตอไปได โดยจะ กำหนดหลั ก เกณฑ ห รื อ เงื ่ อ นไขในการใช อ ำนาจนั ้ น ไว ด  ว ยหรื อ ไม ก ็ ไ ด แต ถ  า เป น กรณี ม อบอำนาจ ใหผูวาราชการจังหวัด นั้น คณะรัฐมนตรีจะเปนผูกำหนดหลักเกณฑใหผูวาราชการจังหวัดมอบอำนาจตอไป ใหรองผูวาราชการจังหวัด ปลัดจังหวัด หรือหัวหนาสวนราชการที่เกี่ยวของในจังหวัดก็ได การมอบอำนาจตองคำนึงถึงหลักการดังนี้ 1. การอำนวยความสะดวกใหแกประชาชน 2. ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ 3. การกระจายอำนาจรับผิดชอบ 4. ผูรับมอบอำนาจตองปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายตามวัตถุประสงคของการมอบอำนาจ เรื่องดังตอไปนี้ ผูมอบอำนาจอาจพิจารณาไมมอบอำนาจตอก็ได 1. เรื่องที่มีกฎหมายบัญญัติใหเปนอำนาจเฉพาะของผูมีอำนาจหรือเปนเรื่องที่ไมอาจมอบอำนาจได 2. เรื่องที่เกี่ยวกับนโยบายสำคัญ 3. เรื่องที่มีความจำเปนตองดูแลอยางใกลชิดเพื่อใหเปนมาตรฐานเดียวกัน 4. เรื่องที่อาจกอใหเกิดความเดือดรอนหรือความไมเปนธรรมแกประชาชน  การรักษาราชการแทน คือการที่ไมมีผูดำรงตำแหนงหรือมีแตไมสามารถปฏิบัติราชการได ไมวาจะดวยเหตุผลใดก็ตามแต ทำใหผูมีอำนาจรองลงมาจากผูมีอำนาจเขาไปใชอำนาจแทน เชน กรณีตำแหนงวางเพราะผูมีอำนาจยาย เกษียณ ปวย ตาย ผูมีอำนาจตองเดินทางไปตางจังหวัด หรือตางประเทศหลายวัน เปนตน ซึ่งกฎหมาย ไดกำหนดแนวทางผูรักษาราชการแทนผูมีอำนาจไวดังนี้


10

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ตำแหนง 1. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 41)

2. รัฐมนตรีวาการ กระทรวง (มาตรา 42)

3. เลขานุการรัฐมนตรี (มาตรา 43)

4. ปลัดกระทรวง (มาตรา 44)

ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 1 รองนายกรัฐมนตรี ถามีรองนายกรัฐมนตรี หลายคนให คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ใหรองนายกรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเปนผูรักษา ราชการแทน

ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 2 ถาไมมีผูดำรงตำแหนง รองนายกรัฐมนตรี หรือมีแตไมอาจปฏิบัติ ราชการได ใหคณะรัฐมนตรี มอบหมายใหรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเปน ผูรักษาราชการแทน ถาไมมีผูดำรงตำแหนง รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวง หรือมีแต ไมอาจปฏิบัติราชการได ใหคณะรัฐมนตรี มอบหมายใหรัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเปน ผูรักษาราชการแทน

รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงเปนผูรักษา ราชการแทน ถามี รัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงหลายคน ใหคณะรัฐมนตรี มอบหมายใหรัฐมนตรี ชวยวาการกระทรวง คนใดคนหนึ่งเปน ผูรักษาราชการแทน ผูชวยเลขานุการ ถาไมมีผูชวยเลขานุการ รัฐมนตรีเปนผูรักษา รัฐมนตรี ราชการแทน ถามี ใหรัฐมนตรีวาการ ผูชวยเลขานุการ กระทวงแตงตั้ง รัฐมนตรีหลายคน ขาราชการในกระทรวง ใหรัฐมนตรีวาการ คนหนึง่ เปนผูรักษา กระทรวงมอบหมายให ราชการแทน ผูชวยเลขานุการ รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง เปนผูรักษาราชการแทน รองปลัดกระทรวง ถาไมมีผดู ำรงตำแหนง เปนผูรักษาราชการแทน รองปลัดกระทรวง ถามีรองปลัดกระทรวง หรือมีแตไมอาจปฏิบัติ หลายคนให ราชการได นายกรัฐมนตรีสำหรับ ใหนายกรัฐมนตรีสำหรับ สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี

ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 3 -

-

-

-


11

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ตำแหนง

5. รองปลัดกระทรวง (มาตรา 44)

6. อธิบดี (มาตรา 46)

7. รองอธิบดี (มาตรา 46)

ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 1 หรือรัฐมนตรีวาการ กระทรวงแตงตั้ง รองปลัดกระทรวง คนใดคนหนึ่ง เปนผูรักษาราชการแทน

ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 2 หรือรัฐมนตรีวาการ กระทรวงแตงตั้ง ขาราชการในกระทรวง ซึ่งดำรงตำแหนง ไมต่ำกวาอธิบดีหรือ เทียบเทาเปน ผูรักษาราชการแทน -

ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 3

ปลัดกระทรวงจะแตงตั้ง ขาราชการในกระทรวง ซึ่งดำรงตำแหนง ไมต่ำกวาผูอำนวยการกอง หรือเทียบเทา เปนผูรักษาราชการแทน ก็ได ใหรองอธิบดีเปนผูรักษา 1. ถาไมมีผูดำรง 2.แตถานายกรัฐมนตรี ราชการแทน ถามีรอง ตำแหนงรองอธิบดีหรือมี สำหรับสำนักนายกรัฐมนตรี อธิบดีหลายคน แตไมอาจปฏิบัติราชการได หรือรัฐมนตรีวาการ ใหปลัดกระทรวงแตงตั้ง ใหปลัดกระทรวงแตงตั้ง กระทรวงเห็นสมควร รองอธิบดีคนใดคนหนึ่ง เพื่อความเหมาะสม ขาราชการในกรม เปนผูรักษาราชการแทน แกการรับผิดชอบ ซึ่งดำรงตำแหนง การปฏิบตั ิราชการ เทียบเทารองอธิบดี ในกรมนัน้ หรือขาราชการตั้งแต นายกรัฐมนตรีหรือ ตำแหนงหัวหนากอง หรือเทียบเทาขึ้นไปคนใด รัฐมนตรีวาการกระทรวง จะแตงตั้ง คนหนึ่งเปน ผูรักษาราชการแทน ขาราชการคนใดคนหนึ่ง ซึ่งดำรงตำแหนง ไมต่ำกวารองอธิบดี หรือเทียบเทา เปนผูรักษาราชการแทน อธิบดี จะแตงตั้งขาราชการ ในกรมซึ่งดำรงตำแหนง เทียบเทารองอธิบดี หรือขาราชการตั้งแต


12

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ตำแหนง

8. เลขานุการกรม (มาตรา 47)

9. ผูวาราชการจังหวัด (มาตรา 56)

ผูรักษาราชการแทน ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 1 ลำดับที่ 2 ตำแหนงหัวหนากอง หรือเทียบเทาขึ้นไป เปนผูรักษาราชการแทนก็ได อธิบดีแตงตั้ง ขาราชการในกรม คนหนึ่งซึ่งดำรงตำแหนง ไมต่ำกวาหัวหนากอง หรือเทียบเทา เปนผูรักษาราชการแทน รองผูวาราชการจังหวัด ถาไมมีผูดำรงตำแหนง เปนผูรักษาราชการแทน รองผูวาราชการจังหวัด หรือมีแตไมอาจปฏิบัติ ถามีรองผูวาราชการ ราชการได ใหผูชว ยผูวา จังหวัดหลายคน ราชการจังหวัด ใหปลัดกระทรวงแตงตั้ง รองผูวาราชการจังหวัด เปนผูรักษาราชการแทน ถามีผูชวยผูวาราชการ คนใดคนหนึ่ง จังหวัดหลายคน เปนผูรักษาราชการแทน ใหปลัดกระทรวงแตงตั้ง ผูชวยผูวา ราชการจังหวัด คนใดคนหนึ่ง เปนผูรักษาราชการแทน

ผูรักษาราชการแทน ลำดับที่ 3

-

ถาไมมีผูดำรงตำแหนง ผูชวยผูวา ราชการจังหวัด หรือมีแตไมอาจปฏิบัติ ราชการไดใหปลัดจังหวัด เปนผูรักษาราชการแทน ถาไมมีทั้งผูดำรง ตำแหนงรองผูวาราชการ จังหวัด ผูชว ยผูวา ราชการจังหวัด และ ปลัดจังหวัด หรือมีแต ไมอาจปฏิบัติราชการได ใหหัวหนาสวนราชการ ประจำจังหวัดซึ่งมีอาวุโส ตามระเบียบแบบแผน ของทางราชการเปน ผูรักษาราชการแทน

***ในทางปฏิบัติแลวไมมีผูดำรงตำแหนง “ผูชวยผูวาราชการจังหวัด” ในจังหวัดใด ดังนั้นผูรักษา ราชการแทนผู  ว  า ราชการจั ง หวั ด ต อ จากรองผู  ว  า ราชการจั ง หวั ด จะเป น “ปลั ด จั ง หวั ด ” ตำแหน ง “ ปลัดจังหวัด ” ซึ่งเปนหัวหนาสวนราชการระดับจังหวัด มักจะไดรับการยอมรับจากหัวหนาสวนราชการ วาเปนผูบริหารคนหนึ่งของจังหวัดรองจากผูวาราชการจังหวัดและรองผูวาราชการจังหวัด


13

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 การบริหารราชการในตางประเทศ 1. “คณะผูแทน” หมายความวา บรรดาขาราชการฝายพลเรือน หรือขาราชการฝายทหารประจำการ ในต า งประเทศซึ ่ ง ได ร ั บ แต ง ตั ้ ง ให ด ำรงตำแหน ง ในสถานเอกอั ค รราชทู ต สถานกงสุ ล ใหญ สถานกงสุ ล สถานรองกงสุ ล ส ว นราชการของกระทรวงการต างประเทศซึ ่ ง เรี ยกชื่ อ เป นอย างอื ่น และปฏิ บั ต ิ หน าที่ เชนเดียวกับสถานเอกอัครราชทูตหรือสถานกงสุลใหญ และคณะผูแทนถาวรไทยประจำองคการระหวาง ประเทศ 2. “หัวหนาคณะผูแทน” หมายความวา ขาราชการสังกัดกระทรวงการตางประเทศ ซึ่งไดรับแตงตั้ง ใหดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทนตามระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ในกรณีของคณะผูแทน ถาวรไทยประจำองคการระหวางประเทศ ใหหมายความวา ขาราชการสังกัดสวนราชการซึ่งไดรับแตงตั้ง ใหดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทนถาวรไทยประจำองคการระหวางประเทศ 2.1 หัวหนาคณะผูแทนเปนผูรับนโยบายและคำสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการใหเหมาะสมกับการปฏิบัติราชการในตางประเทศ และ เป น หั ว หน า บั ง คั บ บั ญ ชาบุ ค คลในคณะผู  แ ทน และจะให ม ี ร องหั ว หน า คณะผู  แ ทนเป น ผู  ช  ว ยสั ่ ง และ ปฏิบัติราชการแทนหัวหนาคณะผูแทนก็ได 2.2 ในกรณีที่ไมมีผูดำงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทน หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใหรอง หัวหนาคณะผูแทนรักษาราชการแทน 2.3 ในกรณีที่ไมมีรองหัวหนาคณะผูแทนที่จะรักษาราชการแทนตามวรรคหนึ่ง หรือไมมี ผูดำรงตำแหนงใดอันเป น บุคคลในคณะผู แทน หรือมีแตบุคคลดั งกลาวไมอาจปฏิ บัติราชการได ใหการ รักษาราชการแทนหัวหนาคณะผูแทนหรือผูดำรงตำแหนงใดอันเปนบุคคลในคณะผูแทน เปนไปตามระเบียบ ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด 2.4 หัวหนาคณะผูแทนมีอำนาจและหนาที่ ดังนี้ 2.4.1 บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ 2.4.2 บริ ห ารราชการตามที ่ ค ณะรั ฐ มนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการในฐานะหัวหนารัฐบาล 2.4.3 บังคับบัญชาบุคคลในคณะผูแทนและขาราชการฝายพลเรือนที่มิใชบุคคลใน คณะผูแทนซึ่งประจำอยูในประเทศที่ตนมีอำนาจหนาที่ เพื่อใหการปฏิบัติราชการเปนไปตามกฎหมายระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีใน ฐานะหัวหนารัฐบาล 2.4.4 รายงานขอเท็จจริงและความเห็นเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการของบุคคลตาม (2.4.3) เพื่อประกอบการพิจารณาของผูบัง คั บบัญชาของสว นราชการตนสังกัดเกี ่ยวกั บการแตงตั้ ง และ การเลื่อนขั้นเงินเดือน 2.5 รัฐมนตรีวาการกระทรวง รัฐมนตรีวารทบวง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง อธิบดีหรือผูดำรงตำแหนงเทียบเทา อาจมอบอำนาจใหหัวหนาคณะผูแทนปฏิบัติราชการแทนได 3. “รองหัวหนาคณะผูแทน” หมายความวา ขาราชการสังกัดกระทรวงการตางประเทศซึ่งไดรับ แตงตั้งใหดำรงตำแหนงเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการแทนหัวหนาคณะผูแทน ในกรณีของคณะผูแทนถาวร


14

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ไทยประจำองคการระหวางประเทศ ใหหมายความวา ขาราชการสังกัดสวนราชการซึ่งไดรับแตงตั้งใหดำรง ตำแหนงในลักษณะเดียวกัน

การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค ใหจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาคดังนี้ 1. จังหวัด 2. อำเภอ

 การจัดระเบียบบริหารราชการจังหวัด 1. ใหรวมทองที่หลาย ๆ อำเภอตั้งขึ้นเปนจังหวัดมีฐานะเปนนิติบุคคล 2. การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ใหตราเปนพระราชบัญญัติ 3. เพื่อประโยชนในการบริหารงานแบบบูรณาการในจังหวัดหรือกลุมจังหวัด ใหจังหวัดหรือกลุม จังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งงบประมาณได กลุม จังหวัด เปนการรวมจังหวัดแตละจังหวัด จัดตั้งกลุมจังหวัดในประเทศไทย เพื่อสงเสริมการบริหารงานแบบ บูรณาการ การเชื่อมโยงในดานตางๆ เขาดวยกัน ซึ่งจะชวยใหการวางกรอบทิศทางการพัฒนาและการใช ประโยชนในทรัพยากรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรวมกันแกไขปญหาระหวางจังหวัดไดอยางมี ประสิทธิผล ซึ่งปจจุบันไดมีการปรับปรุงรูปแบบการจัดกลุมจังหวัดออกเปน 6 ภาค 18 กลุมจังหวัด ดังนี้ 

ภาค 1.ภาคกลาง

กลุมจังหวัด 1.ภาคกลางตอนบน

2.ภาคกลางปริมณฑล 3.ภาคกลางตอนลาง 1 4.ภาคกลางตอนลาง 2 2.ภาคใต

5.ภาคใตฝงอาวไทย 6.ภาคใตฝงอันดามัน

จังหวัด ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงหบุรี อางทอง นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรปราการ กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี ประจวบคีรีขันธ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร ชุมพร นครศรีธรรมราช พัทลุง สุราษฎรธานี สงขลา กระบี่ ตรัง พังงา ภูเก็ต ระนอง สตูล

ศูนยปฏิบัติการ พระนครศรีอยุธยา

นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี สุราษฎรธานี ภูเก็ต


15

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ภาค 3.ภาคใตชายแดน 4.ภาคตะวันออก

กลุมจังหวัด 7.ภาคใตชายแดน 8.ภาคตะวันออก 1 9.ภาคตะวันออก 2

5.ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ

6.ภาคเหนือ

10. ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน 1 11.ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบน 2 12.ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนกลาง 13.ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ตอนลาง 1 14.ภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนลาง 2 15.ภาคเหนือตอนบน 1 16.ภาคเหนือตอนบน 2 17.ภาคเหนือตอนลาง 1 18.ภาคเหนือตอนลาง 2

จังหวัด นราธิวาส ปตตานี ยะลา ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี สระแกว บึงกาฬ เลย หนองคาย หนองบัวลำภู อุดรธานี นครพนม มุกดาหาร สกลนคร กาฬสินธุ ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด ชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ยโสธร ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี เชียงใหม แมฮองสอน ลำปาง ลำพูน เชียงราย นาน พะเยา แพร ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ สุโขทัย อุตรดิตถ กำแพงเพชร นครสวรรค พิจิตร อุทัยธานี

ศูนยปฏิบัติการ ยะลา ชลบุรี ปราจีนบุรี อุดรธานี สกลนคร ขอนแกน นครราชสีมา อุบลราชธานี เชียงใหม เชียงราย พิษณุโลก นครสวรรค

*ที่มา : ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 17 พฤศจิกายน 2560 เลม 134 ตอนพิเศษ 281 ง หนา 14 – 16

 อำนาจของจังหวัด มีดวยกัน 6 ขอ ดังนี้ 1. นำภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธิ์ 2. ดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยและ เปนธรรมในสังคม 3. จัดใหมีการคุมครอง ปองกัน สงเสริม และชวยเหลือประชาชนและชุมชนที่ดอยโอกาสเพื่อใหไดรับ ความเปนธรรมทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมในการดำรงชีวิตอยางพอเพียง


16

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

4. จัดใหมีการบริการภาครัฐเพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงไดอยางเสมอหนารวดเร็ว และมีคุณภาพ 5. จัดใหมีการสงเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อใหสามารถดำเนินการ ตามอำนาจและหนาที่ขององคกรปกครองสวนท องถิ่ น และใหมีขีดความสามารถพรอมที่จ ะดำเนิ นการ ตามภารกิจที่ไดรับการถายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม 6. ปฏิบัติหนาที่อื่นตามทีค่ ณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นของรัฐมอบหมาย หรือที่มีกฎหมายกำหนด

 อำนาจของผูวาราชการจังหวัด (ตามมาตรา 57 ) มี 9 ขอ ดังนี้ 1. บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด 2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรี สั่งการในฐานะหัวหนารัฐบาล 3. บริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของผูตรวจราชการกระทรวงในเมื่อไมขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี 4. กำกับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใชราชการสวนภูมิภาคของขาราชการซึ่งประจำอยูในจังหวัดนั้น ยกเวนขาราชการทหาร ขาราชการฝายตุลาการ ขาราชการฝายอัยการ ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ขาราชการในสำนักงานตรวจเงินแผนดินและขาราชการครู ใหปฏิบัติราชการใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี หรือยับยั้งการกระทำใด ๆ ของขาราชการในจังหวัดที่ขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของ กระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีไวชวั่ คราวแลวรายงานกระทรวง ทบวง กรมที่เกี่ยวของ 5.ประสานงานและร ว มมื อ กั บ ข า ราชการทหาร ข า ราชกาฝ า ยตุ ล าการ ข า ราชการฝ า ยอั ย การ ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ขาราชการในสำนักงานตรวจเงินแผนดินและขาราชการครู ผูตรวจราชการ และหัวหนาสวนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะ 6. เสนองบประมาณตอกระทรวงที่เกี่ยวของ หรือเสนอขอจัดตั้งงบประมาณตอสำนักงบประมาณ ตามมาตรา 52 วรรคสาม และรายงานใหระทรวงมหาดไทยทราบ 7. กำกับดูแลการบริหารราชการสวนทองถิ่นตามกฎหมาย 8. กำกับการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานองคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในการนี้ใหมีอำนาจ ทำรายงานหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานขององคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจตอรัฐมนตรี เจาสังกัดองคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ 9.บรรจุ แตงตั้ง ใหบำเหน็จ และลงโทษขาราชการสวนภูมิภาคในจังหวัดตามกฎหมาย และตามที่ ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย ***การยกเวน จำกัด หรือตัดทอน อำนาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัดในการบริหารราชการในจังหวัด หรื อ ให ข  า ราชการของส ว นราชการใดมี อ ำนาจหน า ที ่ ใ นการบริ ห ารราชการส ว นภู ม ิ ภ าคเช น เดี ย ว กับผูวาราชการจังหวัดจะกระทำไดโดยตราเปนพระราชบัญญัติ


17

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________ 

คณะกรมการจังหวัด

ในจังหวัดหนึ่งใหมีคณะกรมการจังหวัด ทำหนาที่เปนที่ปรึกษาของผูวาราชการจังหวัดในการบริหาร ราชการแผนดินในจังหวัดนั้น กับปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด โดยมี องคประกอบดังนี้ 1. ผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน รองผูวาราชการจังหวัดหนึ่งคนตามที่ผูวาราชการจังหวัด มอบหมายปลัดจังหวัด อัยการจังหวัดซึ่งเปนหัวหนาที่ทำการอัยการจังหวัด ผูบังคับการตำรวจภูธรจังหวัด และ หัวหนาสวนราชการประจำจังหวัดจากกระทรวงและทบวงตาง ๆ เวนแตกระทรวงมหาดไทยซึ่งประจำอยูใน จังหวัด กระทรวง หรือทบวงละหนึ่งคนเปนกรมการจังหวัดและหัวหนาสำนักงานจังหวัดเปนกรมการจังหวัด และเลขานุการ 2. ถากระทรวงหรือทบวงมีหัวหนาสวนราชการประจำจังหวัดซึ่งกรมตาง ๆ ในกระทรวงหรือทบวงนั้น สงมาประจำอยูในจังหวัดมากกวาหนึ่งคน ใหปลัดกระทรวงหรือปลัดทบวงกำหนดใหหัวหนาสวนราชการ ประจำจังหวัดหนึ่งคนเปนผูแทนของกระทรวงหรือทบวงในคณะกรมการจังหวัด 3. เมื่อผูวาราชการจังหวัดเห็นสมควรจะแตงตัง้ ใหหัวหนาสวนราชการประจำจังหวัดซึ่งปฏิบัติหนาที่ใน ราชการสวนภูมิภาคคนหนึ่งหรือหลายคนเปนกรมการจังหวัดเพิ่มขึ้นเฉพาะการปฏิบัติหนาที่ใดหนาที่หนึ่งก็ได 

คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.)

ทำหนาที่สอดสองและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหนวยงานของรัฐในจังหวัดใหใชวิธีการบริหาร กิจการบานเมืองที่ดี มีองคประกอบ คือ ผูตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอำนาจในจังหวัดเปน ประธานผูแทนภาคประชาสังคม ผูแทนสมาชิกสภาทองถิ่นที่ไมไดดำรงตำแหนงผูบริหารและผูแทนภาคธุรกิจ เอกชน ทั ้ ง นี ้ จำนวน วิ ธ ี ก ารสรรหา และการปฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ ข อง ก.ธ.จ. ให เ ป น ไปตามระเบี ย บสำนั ก นายกรัฐมนตรี  การจัดระเบียบบริหารราชการอำเภอ 1. ในจังหวัดหนึ่งใหมีหนวยราชการบริหารรองจากจังหวัดเรียกวาอำเภอ 2. การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอำเภอ ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา 3. อำเภอไมมีฐานะเปนนิติบุคคล อำนาจหนาที่ของอำเภอ 1. อำเภอมีอำนาจหนาที่เหมือนจังหวัดเฉพาะแตในเขตอำเภอตนเองเพียงเทานั้น 2. สงเสริม สนับสนุน และจัดใหมีการบริการรวมกันของหนวยงานของรัฐในลักษณะศูนยบริการรวม 3. ประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อรวมมือกับชุมชนในการดำเนินการใหมีแผนชุมชน เพื่อรองรับการสนับสนุนงบประมาณจากองคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัด และกระทรวง ทบวง กรม 4. ไกลเกลี่ยหรือจัดใหมกี ารไกลเกลี่ยประนอมขอพิพาทเพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยในสังคม ตามมาตรา 61/2 และมาตรา 61/3 (ขอพิพาททางแพงและอาญาบางประการ)  คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท ในอำเภอหนึ่ง ใหมีคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทของประชาชนที่คูกรณี ฝายใดฝายหนึ่งมีภูมิลำเนาอยูในเขตอำเภอ ในเรื่องที่พิพาททางแพงเกี่ยวกับที่ดิน มรดก และขอพิพาททางแพง


18

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

อื่นที่มีทุนทรัพยไมเกินสองแสนบาท หรือมากกวานั้นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกาของประชาชน ที่คูกรณีฝายใดฝายหนึ่งมีภูมิลำเนาอยูในเขตอำเภอ โดยใหนายอำเภอโดยความเห็นชอบของคณะกรมการ จังหวัดจัดทำบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะทำหนาที่เปนคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท โดยคัดเลือกจากบุคคลที่มีความรูหรือมีประสบการณเหมาะสมกับการทำหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท เมื่อมี ขอพิพาทเกิดขึ้นและคูพิพาทตกลงยินยอมใหใชวิธีการไกลเกลี่ยขอพิพาทใหคูพิพาทแตละฝายเลือกบุคคลจาก บัญชีรายชื่อฯ ฝายละหนึ่งคน และใหนายอำเภอ พนักงานอัยการประจำจังหวัด หรือปลัดอำเภอที่ไดรับ มอบหมายคนหนึ่งเปนประธาน เพื่อทำหนาที่เปนคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท ใหคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทมีอำนาจหนาที่รับฟงขอพิพาทโดยตรงจากคูพิพาท และดำเนินการไกลเกลี่ยใหเกิดขอตกลงยินยอมรวมกันระหวางคูพิพาทโดยเร็ว โดยแบงเปน 3 กรณี ดังนี้ 1. ถาคูพิพาททั้งสองฝายตกลงกันได ใหคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทจัดใหมี การทำสัญญาประนีประนอมยอมความระหวางคูพิพาท และใหถือเอาขอตกลงตามสัญญาประนีประนอมยอม ความมีผลผูกพันคูพิพาททั้งสองฝาย 2. ในกรณีที่คูพิพาทไมอาจตกลงกันได ใหคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท สั่งจำหนายขอพิพาทนั้น (ขอตกลงขางตนใหมีผลเชนเดียวกับคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายวา ดวยอนุญาโตตุลาการ) 3. ในกรณีที่คูพิพาทฝายใดฝายหนึ่งไมปฏิบัติตามสัญญาประนีประนอมยอมความใหคูพิพาทอีกฝายหนึ่ง ยื่นคำรองตอพนักงานอัยการ และใหพนักงานอัยการดำเนินการยื่นคำรองตอศาลที่มีเขตอำนาจเพื่อใหออก คำบังคับใหตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกลาวโดยใหนำกฎหมายวาดวยอนุญาโตตุลาการมาใชบังคับ โดยอนุโลม ***เมื่อคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทไดรับขอพิพาทไวพิจารณา ใหอายุความในการ ฟองรองคดีสะดุดหยุดลง นับแตวันที่ยื่นขอพิพาทจนถึงวันที่บุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท สั่งจำหนายขอพิพาทหรือวันที่คูพิพาททำสัญญาประนีประนอมยอมความกัน แลวแตกรณี กรณีดังตอไปนี้นายอำเภอหรือปลัดอำเภอที่นายอำเภอมอบหมายสามารถไกลเกลี่ยได 1. ความผิดที่มีโทษทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตอำเภอใดหากเปนความผิดอันยอมความได 2. ความผิดที่มใิ ชเปนความผิดเกี่ยวกับเพศ (หมายความวาคดีอ าญาที่ย อมความไม ได เชน ลักทรัพย ชิงทรัพย ปลนทรัพย ฆาคนตาย เปนต น นายอำเภอหรือปลัดอำเภอที่นายอำเภอมอบหมายไมสามารถไกลเกลี่ยได) และในกรณีเมื่อผูเสียหายและผูถูกกลาวหายินยอมเปนหนังสือตามที่ไกลเกลี่ยและปฏิบัติตามคำไกลเกลี่ย ดังกลาวแลว ใหคดีอาญาเปนอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในกรณีที่ผูเสียหายและ ผูถูกกลาวหา ไมยินยอมตามที่ไกลเกลี่ย ใหจำหนายขอพิพาทนั้น แตเพื่อประโยชนในการที่ผูเสียหายจะไป ดำเนินคดีตอไป อายุความการรองทุกขตามประมวลกฎหมายอาญาใหเริ่มนับแตวันที่จำหนายขอพิพาท  การบริหารราชการในอำเภอ 1. ในอำเภอหนึ่ง มีนายอำเภอคนหนึ่งเปนหัวหนาปกครองบังคับบัญชาบรรดาขาราชการในอำเภอ และรับผิดชอบงานบริหารราชการของอำเภอ และนายอำเภอสังกัดกระทรวงมหาดไทย


19

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

2. ใหมีปลัดอำเภอและหัวหนาสวนราชการประจำอำเภอซึ่งกระทรวงทบวง กรมตาง ๆ สงมาประจำ ใหปฏิบัติหนาที่เปนผูชวยเหลือนายอำเภอ และมีอำนาจบังคับบัญชาขาราชการฝายบริหารสวนภูมิภาค ซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ในอำเภอนั้น 3. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงนายอำเภอ ใหผูวาราชการจังหวัดแตงตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหนา สวนราชการประจำอำเภอผูมีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเปนผูรักษาราชการแทน ถามีผูดำรง ตำแหนงนายอำเภอ แตไมอาจปฏิบัติราชการได ใหนายอำเภอแตงตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหนาสวนราชการ ประจำอำเภอผูมีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเปนผูรักษาราชการแทน ในกรณีที่ผูวาราชการ จังหวัดหรือนายอำเภอมิไดแตงตั้งผูรักษาราชการแทนไวเลย ใหปลัดอำเภอหรือหัวหนาสวนราชการประจำ อำเภอ ผูมีอาวุโสตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเปนผูรักษาราชการแทน อำนาจหนาที่ของนายอำเภอ มี 4 ประการ ดังนี้ 1. บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถากฎหมายใดมิไดบัญญัติวา การปฏิบัติตามกฎหมายนั้นเปนหนาที่ของผูใดโดยเฉพาะ ใหเปนหนาที่ของนายอำเภอที่จะตองรักษาการให เปนไปตามกฎหมายนั้นดวย 2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่ง การในฐานะหัวหนารัฐบาล 3. บริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของผูวาราชการจังหวัดและผูมีหนาที่ตรวจการอื่นซึ่ง คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย ในเมื่อไมขัดตอ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการ ของนายกรัฐมนตรี 4. ควบคุมดูแลการบริหารราชการสวนทองถิ่นในอำเภอตามกฎหมาย  การแบงสวนราชการในอำเภอ 1. สำนักงานอำเภอ มีหนาที่เกี่ยวกับราชการทั่วไปของอำเภอนั้น ๆ มีนายอำเภอเปนผูปกครองบังคับ บัญชาขาราชการและรับผิดชอบ 2. สวนตาง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ไดตั้งขึ้นในอำเภอนั้น มีหนาที่เกี่ยวกับราชการของกระทรวง ทบวง กรมนั้น ๆ มีหัวหนาสวนราชการประจำอำเภอนั้น ๆ เปนผูปกครองบังคับบัญชารับผิดชอบ


20

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น ใหจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น ดังนี้ 1. องคการบริหารสวนจังหวัด 2. เทศบาล 3. สุขาภิบาล 4. ราชการสวนทองถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนด การจัดระเบียบการปกครององคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาลสุขาภิบาล และราชการสวนทองถิ่นอื่นตามที่มี กฎหมายกำหนด ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการนั้น  คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ให ม ี ค ณะกรรมการพั ฒ นาระบบราชการคณะหนึ ่ ง เรี ย กโดยย อ ว า “ก.พ.ร.” ประกอบด ว ย นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ รองนายกรั ฐ มนตรี ท ี ่ น ายกรั ฐ มนตรี ม อบหมายเป น ประธาน รั ฐ มนตรี ห นึ ่ ง คน ที ่ นายกรั ฐ มนตรีก ำหนดเป น รองประธาน ผู  ซึ ่ ง คณะกรรมการการกระจายอำนาจให แกอ งค กรปกครอง สวนทองถิ่นมอบหมายหนึ่งคน และกรรมการผูทรงคุณวุฒิไมเกินสิบคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรู ความเชี่ยวชาญในทางดานนิติศาสตร เศรษฐศาสตร รัฐศาสตร การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงิน การคลั ง จิ ต วิ ท ยาองค ก าร และสั ง คมวิ ท ยา อย า งน อ ยด า นละหนึ ่ ง คน ในกรณี ท ี ่ ม ี ค วามจำเป นเพื ่ อ ให การปฏิบัติงานบรรลุผล คณะรัฐมนตรีจะกำหนดใหกรรมการผูทรงคุณวุฒิไมนอยกวาสามคนแตไมเกินหาคน ตองทำงานเต็มเวลาก็ได เลขาธิการ ก.พ.ร. เปนกรรมการและเลขานุการโดยตำแหนง  อำนาจหนาที่ของคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 1. เสนอแนะและใหคำปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการและงานของรัฐอยางอื่น ซึ่งรวมถึงโครงสรางระบบราชการ ระบบงบประมาณ ระบบบุคลากรมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม คาตอบแทน และวิธีปฏิบัติราชการอื่น ใหเปนไปตามมาตรา 3/1 โดยจะเสนอแนะใหมีการกำหนดเปาหมาย ยุทธศาสตร และมาตรการก็ได 2. เสนอแนะและใหคำปรึกษาแกหนวยงานอื่นของรัฐที่มิไดอยูในกำกับของราชการฝายบริหารตามที่ หนวยงานดังกลาวรองขอ 3. รายงานตอคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มีการดำเนินการขัดหรือไมสอดคลองกับหลักเกณฑที่กำหนดใน มาตรา3/1 4. เสนอตอคณะรัฐมนตรีเพือ่ กำหนดหลักเกณฑและมาตรฐานในการจัดตั้ง การรวม การโอน การยุบ เลิก การกำหนดชื่อ การเปลี่ยนชือ่ การกำหนดอำนาจหนาที่ และการแบงสวนราชการภายในของสวนราชการ ที่เปนกระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการอื่น 5. เสนอความเห็นตอคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎีกา และกฎที่ออกตามพระราชบัญญัติน้ี 6. ดำเนินการใหมีการชี้แจงทำความเขาใจแกสวนราชการและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของและประชาชน ทั่วไป รวมตลอดทั้งการฝกอบรม 7. ติ ด ตาม ประเมิ น ผล และแนะนำเพื ่ อ ให ม ี ก ารปฏิ บ ั ต ิ ต ามพระราชบั ญ ญั ต ิ นี ้ และรายงานต อ คณะรัฐมนตรีพรอมทั้งขอเสนอแนะ


21

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

8. ตี ค วามและวิ นิ จฉัย ป ญหาที ่เกิดขึ ้ นจากการใช บัง คั บพระราชบัญ ญัติ นี้ หรื อ กฎหมายวาดวย การปรั บปรุ ง กระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั ้ ง กำหนดแนวทางปฏิ บ ั ต ิ ในกรณี ท ี ่ เป น ป ญ หา มติ ของ คณะกรรมการตามขอนี้ เมื่อไดรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีแลว ใหใชบังคับไดตามกฎหมาย 9. เรียกใหเจาหนาที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณา 10. จัดทำรายงานประจำปเกี่ยวกับการพัฒนาและจัดระบบราชการและงานของรัฐอยางอื่นเสนอตอ คณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอตอสภาผูแทนราษฎรและวุฒิสภา 11. แต ง ตั้ ง คณะกรรมการ คณะอนุ ก รรมการ หรื อ คณะทำงาน เพื ่ อ ปฏิ บัติ หนาที่ ตา ง ๆ ตามที่ มอบหมาย และจะกำหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือคาตอบแทนอื่นดวยก็ได 12. ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่กำหนดในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย


22

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

สรุปพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์แ ละวิธีการบริห าร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ใช้บังคับกับส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่นของรัฐที่อยู่ใน กำกับของราชการฝ่ายบริหาร แต่ไม่รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

▪ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเพื่อบรรลุเป้าหมาย 7 ประการ ดังนี้ (1) เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (4) ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงำนเกินความจำเป็น (5) มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ (6) ประชาชนได้รับกำรอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ (7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ

▪ การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ส่วนราชการจะต้องดำเนินการโดยถือว่าประชาชน เป็นศูนย์กลางที่จะได้รับการบริการจากรัฐ และจะต้องมีแนวทางการบริหารราชการ ดังต่อไปนี้ (1) การกำหนดภารกิจของรัฐและส่วนราชการต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ต ามมาตรา 7 และสอดคล้อง กับแนวนโยบายแห่งรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา (2) การปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์สุจริต สามารถตรวจสอบได้ และมุ่งให้เกิด ประโยชน์สุขแก่ประชาชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น (3) ก่อนเริ่มดำเนินการ ส่วนราชการต้องจัดให้มีการศึกษาวิเคราะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุกด้ าน กำหนดขั้นตอนการดำเนินการที่โปร่งใส มีกลไกตรวจสอบการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน ในกรณีที่ภารกิจใดจะมี ผลกระทบต่อประชาชน ส่วนราชการต้องดำเนินการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนหรือชี้แจงทำความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่ส่วนรวมจะได้รับจากภารกิจนั้น (4) ให้เป็นหน้าที่ของข้าราชการที่จะต้องคอยรับฟังความคิดเห็นและความพึงพอใจของสังคมโดยรวมและ ประชาชนผู้รับบริการ เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญ ชา เพื่อให้มีกำรปรับปรุงวิธีปฏิบัติร าชการให้ เหมาะสม (5) ในกรณี ที่ เกิดปัญหาและอุปสรรคจากการดำเนินการ ให้ส่วนราชการดำเนินการ แก้ไขปัญ หาและ อุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหาหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจากส่วนราชการอื่นหรือระเบียบข้อบังคับที่ออกโดย ส่วนราชการอื่น ให้ส่วนราชการแจ้งให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อดำเนินการแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป และให้แจ้ง ก.พ.ร. ทราบด้วย


23

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

▪ การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (1) ก่อนจะดำเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการล่วงหน้า (2) การกำหนดแผนปฏิบัติ ราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมีรายละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณที่ จะต้องใช้ในการดำเนินการของแต่ ละขั้นตอน เป้ าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิ จ และตัวชี้วัดความสำเร็จของภารกิจ (3) ส่วนราชการต้องจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้องกับมาตรฐานที่ ก.พ.ร. กำหนด (4) ในกรณี ที่ ก ารปฏิ บัติ ภ ารกิ จ หรื อ การปฏิ บั ติ ต ามแผนปฏิ บัติ ร าชการเกิ ด ผลกระทบต่ อ ประชาชน ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการที่จะต้องดำเนินกสรแก้ไขหรือบรรเทาผลกระทบนั้น หรือเปลี่ยนแผนปฏิบัติ ราชการ ให้เหมาะสม ***เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสั มฤทธิ์ ก.พ.ร. อาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกาหนดมาตรการ กากั บ การปฏิ บั ติ ร าชการ โดยวิ ธี ก ารจั ด ทาความตกลงเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรหรื อ โดยวิ ธี ก ารอื่ น เพื่ อ แสดง ความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ *** ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้น โดยจัดทำเป็นแผน 5 ปี (แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 โดยฉบับแรกกำหนดไว้ว่าเป็นแผน 4 ปี) จำให้ดีแผนปฏิบัติราชการตอนนี้ใช้ 5 ปี แล้ว !!!! แผนปฏิบัติราชการ 5 ปี ต้องสอดคล้องกับ 1. ยุทธศาสตร์ชาติ 2. แผนแม่บท 3. แผนการปฏิรูปประเทศ 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา 6. แผนอื่นที่เกี่ยวข้อง และในแต่ละปีงบประมาณ ให้ส่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยให้ระบุสาระสำคัญเกี่ยวกับ 1. นโยบายการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 2. เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน 3. ประมาณการรายได้และรายจ่ายและทรัพยากรอื่นที่จะต้องใช้ >>>เมื่ อ เห็ น ชอบแล้ ว ให้ ส ำนั ก งบประมาณดำเนิ น การจั ด สรรงบประมาณ หากไม่ ได้ รั บ ความเห็ น ชอบมิ ให้ สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณนั้น เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้ส่วนราชการจัดทำรายงานแสดงผลสัมฤทธิ์ของ แผนปฏิบัติราชการประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี ) >>> นอกจากนี้ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการเพื่อขอรับงบประมาณ ให้สำนักงบประมาณ และ ก.พ.ร. ร่วมกันกำหนดแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการด้วย เพื่อให้สามารถใช้ได้กับแผนปฏิบัติราชการ ที่ต้องจัดทำ


24

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ และเมื่อมีการกำหนดงบประมาณรายจ่ายประจำปีแล้วการโอนงบจาก ภารกิจหนึ่งไปภารกิจอื่นซึ่งมีผลทำให้ภารกิจเดิมไม่บรรลุเป้าหมาย หรือนำไปใช้ในภารกิจใหม่ที่มิได้กำหนดในแผน จะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ปรับแผนให้สอดคล้องกัน ▪ การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ เพื่อให้การปฏิบัติราชการภายในส่วนราชการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ส่วนราชการกำหนดเป้าหมาย แผนการทำงาน ระยะเวลาแล้วเสร็จของงานหรือโครงการ และงบประมาณที่จะต้องใช้ในแต่ละงานหรือโครงการ และต้องเผยแพร่ให้ข้าราชการและประชาชนทราบทั่วกันด้วย นอกจากนี้ 1. ให้ส่วนราชการจัดทำบัญชีต้นทุนในงานบริการสาธารณะแต่ละประเภทขึ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กรมบัญชีกลางกำหนด 2. ให้ ส่ ว นราชการคำนวณรายจ่ า ยต่ อ หน่ ว ยของงานบริ ก ารสาธารณะที่ อ ยู่ ในความรั บ ผิ ด ชอบของ ส่วนราชการนั้นตามระยะเวลาที่กรมบัญชีกลางกำหนด และรายงานให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ 3. ในกรณี ที่ร ายจ่ายต่อหน่วยของงานบริการสาธารณะใดของส่วนราชการใดสูงกว่ารายจ่ายต่อหน่วย ของงานบริการสาธารณะประเภทและคุณภาพเดียวกันหรือคล้ายคลึงกันของส่วนราชการอื่น ให้ส่วนราชการนั้น จัดทำแผนการลดรายจ่ายต่อหน่วยของงานบริก ารสาธารณะดังกล่ าวเสนอสำนักงบประมาณ กรมบัญ ชีกลาง และ ก.พ.ร. ทราบ และถ้ามิได้มีข้อทักท้วงประการใดภายในสิบห้าวันก็ให้ส่วนราชการดังกล่าวถือปฏิบัติต าม แผนการลดรายจ่ายนั้นต่อไปได้ 4. ให้สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณร่วมกัน จัดให้มีการประเมินความคุ้มค่าในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการดำเนินการอยู่ เพื่อรายงานคณะรัฐมนตรี สำหรับเป็นแนวทางในการพิจารณาว่าภารกิจใดสมควรจะได้ดำเนินการต่อไปหรื อยุบเลิก และเพื่ อประโยชน์ ในการจัดตั้งงบประมาณของส่วนราชการในปีต่อไป ทั้งนี้ต ามระยะเวลาที่คณะรัฐมนตรีกำหนดในการประเมิน ความคุ้มค่าให้คำนึงถึงประเภทและสภาพของแต่ละภารกิจ ความเป็นไปได้ของภารกิจหรือโครงการที่ดำเนินการ ประโยชน์ที่รัฐและประชาชนจะพึงได้และรายจ่ายที่ต้องเสียไปก่อนและหลังที่ส่วนราชการดำเนินการด้วย 5. ในการจั ด ซื้ อ หรือ จั ด จ้ า ง ให้ ส่ ว นราชการดำเนิ น การโดยเปิ ด เผยและเที่ ย งธรรม โดยพิ จ ารณาถึ ง ประโยชน์และผลเสียทางสังคม ภาระต่อประชาชน คุณภาพ วัตถุประสงค์ที่จะใช้ ราคา และประโยชน์ระยะยาว ของส่วนราชการที่จะได้รับประกอบกัน ในกรณีที่วัตถุประสงค์ในการใช้เป็นเหตุให้ต้องคำนึงถึงคุณภาพและการ ดูแลรักษาเป็นสำคัญ ให้สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องถือราคาต่ำสุดในการเสนอซื้อหรือจ้างเสมอไป 6. ในการปฏิบัติภารกิจใด หากส่วนราชการจำเป็นต้องได้รับการอนุมัติ อนุญาต ความเห็นชอบ จากส่ วน ราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด ให้ส่วนราชการที่มีอ ำนาจอนุมัติฯ แจ้งผลการพิจารณาภายใน 15 วัน นับแต่ วั น ที่ ได้ รั บ คำขอ กรณี ที่ เรื่อ งใดต้ อ งใช้ เวลาเกิ น 15 วั น ให้ ส่ ว นราชการที่ มี อ ำนาจอนุ มั ติ ฯ ประกาศกำหนด ระยะเวลาการพิจารณาให้ส่วนราชการอื่นทราบ ส่วนราชการที่มีอ ำนาจอนุมัติฯ มิได้ด ำเนินการให้แล้วเสร็จ ตามเวลา 15 วัน หรือ ที่ ประกาศไว้ หากเกิ ด ความเสี ย หายใดขึ้น ให้ถือ ว่าข้าราชการซึ่งมี หน้ าที่ เกี่ ยวข้อ งและ หัวหน้าส่วนราชการนั้นประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง เว้นแต่พิสูจน์ได้ว่าความล่าช้านั้นมิได้เกิดขึ้นจากความผิดตน


25

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

7. การสั่งราชการโดยปกติให้ท ำเป็นลายลักษณ์อักษร เว้นแต่ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชามีความจำเป็นจะสั่งราชการ ด้วยวาจาก็ได้ แต่ให้ผู้รับคำสั่งนั้นบันทึกคำสั่งด้วยวาจาเป็นลายลักษณ์อักษร  การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน ให้ส่วนราชการจัดให้มีการกระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ หรือการ ปฏิ บัติราชการ ให้แก่ผู้ด ำรงตำแหน่งที่ มีหน้าที่ รับผิด ชอบในเรื่องนั้นโดยตรง เพื่ อ ให้เกิดความรวดเร็วและลด ขั้นตอน ทั้งนี้ต้องมุ่งผลให้เกิดความสะดวกและรวดเร็ว ในการบริการประชาชน และเมื่อได้มีการกระจายอำนาจ ดังกล่าวแล้ว ให้ส่วนราชการกำหนดหลักเกณฑ์ การควบคุ ม ติ ดตามและกำกับดูแลการใช้อ ำนาจ หลักเกณฑ์ ดั ง กล่ า วต้ อ งไม่ ส ร้า งขั้ น ตอนหรือ การกลั่ น กรองงานที่ ไม่ จ ำเป็ น หากสามารถใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศหรื อ โทรคมนาคมเพื่อลดขั้นตอนและเพิ่มประสิทธิภาพ ตามความเหมาะสมและกำลังเงินงบประมาณ ก.พ.ร. โดยความ เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จะกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีก ารหรือแนวทางในการกระจายอำนาจการตัดสินใจ ความรั บ ผิ ด ชอบระหว่ า งผู้ ม อบอำนาจและผู้ รั บ มอบอำนาจ และการลดขั้ น ตอนในการปฏิ บั ติ ร าชการให้ ส่วนราชการถือปฏิบัติก็ได้  การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม 1. ในกระทรวงหนึ่ง ให้ เป็นหน้าที่ของปลัดกระทรวง ที่จะต้ องจัด ให้ส่วนราชการภายในกระทรวงที่ รั บ ผิ ด ชอบปฏิ บั ติ งานเกี่ ยวกั บ การบริก ารประชาชนร่ ว มกั น จั ด ตั้ ง ศู น ย์ บ ริ ก ารร่ ว ม เพื่ อ อำนวยความสะดวก แก่ประชาชนในการติดต่อสอบถาม ขอทราบข้อมูล ขออนุญาต อนุมัติในเรื่องใดๆที่เป็นอำนาจหน้าที่ของส่วน ราชการในกระทรวงเดียวกัน โดยติดต่อเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์บริการร่วมเพียงแห่งเดียว (จำให้ดีว่าถ้าเป็นกระทรวง เป็นหน้าที่ของปลัดกระทรวง) 2. ให้ ผู้ ว่ า ราชการจัง หวั ด นายอำเภอ และปลั ด อำเภอผู้ เป็ น หั ว หน้ า ประจำกิ่ ง อำเภอ จั ด ให้ ส่ ว น ราชการที่รับผิดชอบดำเนินการเกี่ยวกับการบริการประชาชนในเรื่องเดียวกันหรือต่อเนื่องกันในจังหวัด อำเภอ หรือกิ่งอำเภอนั้ น ร่วมกันจัดตั้งศูนย์บริก ารร่วมไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอ หรื อ สถานที่ อื่ นตามที่ เห็ น สมควร (แต่ ถ้ า เป็ น ภู มิ ภ าคเป็ น หน้ า ที่ ข องผู้ ว่ า ราชการจังหวั ด นายอำเภอ และ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ)


26

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน ว่าภารกิจใดมีความจำเป็นหรือสมควรที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือ เปลี่ยนแปลง การดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงถึง 1. ยุทธศาสตร์ชาติ 2. แผนแม่บท 3. แผนการปฏิรูปประเทศ 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา 6. แผนอื่นที่เกี่ยวข้อง 7. งบประมาณของประเทศ 8. ความคุ้มค่าของภารกิจ 9. สถานการณ์อื่น ๆ (กำหนดเวลาในการจัดให้มีการทบทวนตามที่ ก.พ.ร.กำหนด) ในกรณีที่ .... 1. ส่วนราชการเห็นว่าสมควรยกเลิก ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงภารกิจ ให้ส่วนราชการดำเนินการปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงภารกิจ ให้ส่วนราชการ ดำเนินการปรับปรุงอำนาจหน้าที่ โครงสร้าง และอัตรากำลัง ของส่วน ราชการให้สอดคล้องกันและเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบเพื่อดำเนินการต่อไป 2. ในกรณีที่ ก.พ.ร. พิจ ารณาแล้วเห็นว่าภารกิจของรัฐที่ส่วนราชการใดรับผิดชอบดำเนินการอยู่สมควร เปลี่ ย นแปลง ยกเลิ ก หรื อ เพิ่ ม เติ ม ให้ เสนอคณะรั ฐ มนตรี เพื่ อ พิ จ ารณา เมื่ อ คณะรั ฐ มนตรี เห็ น ชอบแล้ ว ให้ ส่ ว นราชการนั้ น ดำเนิน การปรับ ปรุงภารกิ จ อำนาจหน้ าที่ โครงสร้ างและอั ต รากำลั ง ของส่ วนราชการนั้ น ให้สอดคล้องกัน 3. ในกรณีที่มีการยุบ เลิก โอน หรือรวมส่วนราชการใดทั้งหมดหรือบางส่วน ห้ามมิให้จัดตั้งส่วนราชการที่ มีภารกิจหรืออำนาจหน้าที่ ที่มีลักษณะเดียวกันหรือคล้ ายคลึงกันกับส่วนราชการดังกล่าวขึ้นอีก เว้นแต่มีเหตุผล และความจำเป็นเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ หรือรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมของ ประชาชน และโดยได้รับความเห็นชอบจาก ก.พ.ร. 4. ในกรณีที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเห็นว่า กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศ ที่อยู่ ในความรับผิดชอบของส่วนราชการใด ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ไม่เอื้ออำนวยต่อการ พั ฒ นาประเทศ เป็ น อุ ป สรรค ก่ อ ให้ เกิ ด ภาระเกิ น สมควรให้ ส ำนั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าเสนอแนะต่ อ ส่วนราชการนั้น เพื่อดำเนินการแก้ไข ปรับปรุง หรือยกเลิกโดยเร็วต่อไป 5. ในกรณี ที่ ส่ ว นราชการที่ ได้ รั บ การเสนอแนะไม่ เห็ น ชอบด้ ว ยกั บ ค ำเสนอแนะของสำนั ก งาน คณะกรรมการกฤษฎีกา ให้เสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาวินิจฉัย


27

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

 การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ในการปฏิบัติราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชนหรือติดต่อประสานงานระหว่างส่วนราชการ ด้วยกัน ให้ส่วนราชการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานแต่ละงาน ถ้าไม่ได้กำหนดเวลาแล้วเสร็จ แต่ ก.พ.ร. พิจาณาเห็นว่างานนั้น มีลักษณะที่กำหนดระยะเวลาให้แล้วเสร็จได้ หรือกำหนดเวลาแล้วเสร็จไว้แต่ ก.พ.ร. เห็นว่า ล่าช้าเกินสมควร ก.พ.ร.จะกำหนดเวลาแล้วเสร็จ ให้ส่วนราชการนั้นต้องปฏิบัติก็ได้ และเมื่อส่วนราชการใดได้รับ การติดต่อสอบถามเป็นหนังสือจากประชาชนหรือจากส่ว นราชการด้วยกันเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ นั้น ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้นที่จะต้องตอบคำถามหรือแจ้งการดำเนินการให้ทราบภายใน 15 วัน หรือ ภายในกำหนดเวลาที่กำหนดไว้ ตลอดจนให้ส่วนราชการจัดให้มีระบบเครือข่ายสารสนเทศของส่วนราชการเพื่อ อำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน โดยกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมจะต้องจัดให้มีระบบสารสนเทศ กลางขึ้น >>> ในกรณี ที่ ได้ รับ ร้ อ งเรี ย นหรือ เสนอแนะจากข้า ราชการหรื อ ส่ ว นราชการอื่ น ในเรื่ อ งใด ให้ ส่ ว นราชการ ที่ออกกฎนั้นพิจารณาโดยทันที และในกรณีที่เห็นว่าการร้องเรียนหรือเสนอแนะนั้นเกิดจากความเข้าใจผิดหรือ ไม่เข้าใจในกฎให้ชี้แจงให้ผู้ร้องเรียนทราบภายใน 15 วัน

▪ การปฏิบัติราชการให้ถือว่าเป็นเรื่องเปิดเผยเว้นแต่กรณีมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อ... 1. ประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ 2. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ 3. การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน 4. การคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล  การประเมินผลการปฏิบัติราชการ 1. การประเมิ น ผลส่ ว นราชการ ให้ส่ วนราชการจั ด ให้มี ค ณะผู้ ป ระเมิ นอิ ส ระดำเนิ นการประเมิ นผล การปฏิ บั ติ ร าชการของส่ ว นราชการเกี่ ย วกั บ ผลสั ม ฤทธิ์ ข องภารกิ จ คุ ณ ภาพการให้ บ ริ ก าร ความพึ ง พอใจ ของประชาชนความคุ้มค่าในภารกิจ ตามหลักเกณฑ์วิธีการและระยะเวลาที่ ก.พ.ร. กำหนด 2. การประเมินภาพรวมผู้บังคับบัญชา ส่วนราชการอาจจัดให้มีการประเมินภาพรวมของผู้บังคับบัญชา แต่ ละระดั บหรือ หน่ว ยงานในส่วนราชการก็ ได้ ทั้ งนี้ก ารประเมิ นดังกล่ าวต้อ งกระทำเป็นความลับ และเป็นไป เพื่อประโยชน์แห่งความสามัคคีของข้าราชการ 3. การประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการ ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการเพื่อ ประโยชน์ ในการบริห ารงานบุ ค คล ให้ ส่ ว นราชการประเมิ น โดยคำนึ งถึง ผลการปฏิ บั ติ งานเฉพาะตั ว ของ ข้าราชการผู้นั้น และ ประโยชน์ และผลสัมฤทธิ์ที่หน่วยงานที่ข้าราชการผู้นั้นสังกัดได้รับจากการปฏิบัติงานของ ข้าราชการผู้นั้น


28

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

3.1 ในกรณีทีส่วนราชการใดดำเนินการให้บริการที่มีคุณภาพ และเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด ประชาชนพึงพอใจ ให้ ก.พ.ร เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินเพิ่ มพิเศษ หรือให้ส่วนราชการใช้เงินงบประมาณ เหลือจ่ายเพื่อปฏิบัติงานของส่วนราชการ 3.2 เมื่อส่วนราชการใดสามารถเพิ่มผลงานและผลสัมฤทธิ์ โดยไม่เป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายและคุ้มค่า ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพ ให้ส่วนราชการใช้เงินงบประมาณเหลือจ่าย เพื่อปฏิบัติงานของส่วนราชการ *** (มีเงินเพิ่ม 2 ตัว คือ เงินเพิ่มพิเศษ และเงินรางวัลการเพิ่มประสิทธิภาพ อ่านรายละเอียดให้ดี ๆ)  บทเบ็ดเตล็ด ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำหลักเกณฑ์การบริหารบ้านเมืองที่ดี โดยอย่างน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ 1. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2. การอำนวยความสะดวก 3. การตอบสนองความต้องการของประชาชน ให้ เป็ น หน้ า ที่ ข องกระทรวงมหาดไทยดู แ ลและให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ องค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในการจั ด ทำ หลักเกณฑ์ ดังกล่าว และให้องค์การมหาชน และรัฐวิสาหกิจจัดให้มีหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตามแนวทางของพระราชกฤษฎีกานี้ (ถ้าไม่ดำเนินการให้ ก.พ.ร. แจ้งรัฐมนตรีซึ่งมีหน้าที่ก ำกับองค์การมหาชน กับรัฐวิสาหกิจ)


29

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

สรุปพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แ ก้ไ ขเพิ่มเติม พระราชบัญญัตินี้มิใ ห้ใ ช้บังคับแก่ (1) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (2) องค์กรที่ใช้อำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ (3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง (4) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวางทรัพย์ (5) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์และการสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา (6) การดำเนินงานเกี่ยวกับนโยบายการต่างประเทศ (7) การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจ้าหน้าที่ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหาร ในการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ (8) การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (9) การดำเนินกิจการขององค์การทางศาสนา การยกเว้นไม่ให้นำบทบัญญัติแห่งพระราชบัญ ญัติ นี้ มาใช้ บัง คั บแก่ การดำเนิ นกิจ การใดหรื อ กั บ หน่วยงานใดนอกจากที่กำหนดไว้ข้างต้น ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกาตามข้อเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง ความหมายต่างๆ ที่ควรทราบ “วิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง” หมายความว่า การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่ เพื่อจัดให้มีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ “การพิจ ารณาทางปกครอง” หมายความว่ า การเตรี ย มการและการดำเนิ น การของเจ้ า หน้ า ที่ เพื่อจัดให้มีคำสั่งทางปกครอง “คำสั่งทางปกครอง” หมายความว่า (1) การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอัน ที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่า จะเป็น การถาวรหรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ (2) การอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง “กฎ” หมายความว่า พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็น การทั่วไป โดยไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใด เป็นการเฉพาะ


30

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

“คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท” หมายความว่า คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการ จัดองค์กรและวิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใช้อำนาจหรือได้รับมอบให้ใช้อำนาจ ทางปกครองของรัฐในการดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตาม “คู่กรณี” หมายความว่า ผู้ยื่นคำขอหรือผู้คัด ค้านคำขอ ผู้อยู่ในบังคับหรือจะอยู่ในบังคับของคำสั่ง ทางปกครอง และผู ้ ซ ึ ่ ง ได้ เ ข้ า มาในกระบวนการพิ จ ารณาทางปกครองเนื ่ อ งจากสิ ท ธิ ข องผู ้ น ั ้ น จะถู ก กระทบกระเทือนจากผลของคำสั่งทางปกครอง คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “คณะกรรมการวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง” ประกอบด้ วยประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลั ด สำนั ก นายกรัฐ มนตรี ปลั ด กระทรวงมหาดไทย เลขาธิ การ คณะรั ฐ มนตรี เลขาธิ ก ารคณะกรรมการข้ า ราชการพลเรื อ น เลขาธิ ก ารคณะกรรมการกฤษฎี ก า และ ผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่น้อยกว่าห้าคนแต่ไม่เกินเก้าคนเป็นกรรมการ ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยแต่งตั้ง จากผู้ซึ่งมีความ เชี่ยวชาญในทางนิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรือการบริหารราชการแผ่นดิน แต่ ผู้นั้นต้องไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง ให้เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้งข้าราชการของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการ ▪ อำนาจหน้าที่ (1) สอดส่ อ งดู แ ลและให้ ค ำแนะนำเกี ่ ย วกั บ การดำเนิ น งานของเจ้ า หน้ า ที่ ใ นการปฏิ บ ั ติ ต าม พระราชบัญญัตินี้ (2) ให้คำปรึกษาแก่เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่บุคคลดังกล่าวร้องขอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกำหนด (3) มีหนังสือเรียกให้เจ้าหน้าที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได้ (4) เสนอแนะการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้ (5) จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเป็ นครั้งคราวตาม ความเหมาะสมแต่อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครองให้เป็นไป โดยมีความเป็นธรรมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (6) เรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย


31

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ดังต่อไปนีจ้ ะทำการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ (1) เป็นคู่กรณีเอง (2) เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี (3) เป็นญาติของคู่กรณี คือ เป็นบุพการีหรือผู้สืบสันดานไม่ว่าชั้นใด ๆ หรือเป็นพี่น้องหรือลูกพี่ลูกน้อง นับได้เพียงภายในสามชั้น หรือเป็นญาติเกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้น (4) เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี (5) เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนายจ้างของคู่กรณี (6) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เมื่อมีกรณีการยื่นคัดค้านเกิดขึ้นให้ เจ้าหน้าที่หยุดพิจารณาเรื่องนั้นและแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาเหนือตน ขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบเพื่อที่ผู้บังคับบัญชาดังกล่าวจะได้มีคำสั่งต่อไป ***ถ้าเป็นกรณีกรรมการในคณะกรรมการถูกคัดค้าน และที่ประชุมมีมติให้กรรมการผู้ถูกคัดค้าน ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของกรรมการที่ไม่ถูกคัดค้าน ก็ให้กรรมการผู้นั้น ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ กรณีเจ้าหน้าที่หรือกรรมการในคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งมีสภาพร้ายแรง อั น อาจทำให้ ก ารพิ จ ารณาทางปกครองไม่ เ ป็ น กลางเจ้ า หน้ า ที่ ห รื อ กรรมการผู ้ น ั ้ น จะทำการพิ จ ารณา ทางปกครองในเรื่องนั้นไม่ได้ ให้ดำเนินการดังนี้ (1) ถ้ า ผู ้ น ั ้ น เห็ น เองว่ า ตนมี ก รณี ด ั ง กล่ า ว ให้ ผ ู ้ น ั ้ น หยุ ด การพิ จ ารณาเรื ่ อ งไว้ ก ่ อ นและแจ้ ง ให้ ผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือประธานกรรมการทราบแล้วแต่กรณี (2) ถ้ามีคู่กรณีคัดค้านว่าผู้นั้นมีเหตุดังกล่าว หากผู้นั้นเห็นว่าตนไม่มีเหตุตามที่คัดค้านนั้น ผู้นั้นจะทำ การพิจารณาเรื่องต่อไปก็ได้แต่ต้องแจ้งให้ผู้บังคับ บัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งหรือ ประธานกรรมการทราบ แล้วแต่กรณี (3) ให้ผู้บังคับบัญชาของผู้นั้นหรือคณะกรรมการที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครองซึ่งผู้นั้นเป็นกรรมการ อยู่มีคำสั่งหรือมีมติโดยไม่ชักช้า แล้วแต่กรณี ว่าผู้นั้นมีอำนาจในการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นหรือไม่ ผู้มีความสามารถกระทำการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได้ จะต้องเป็น... (1) ผู้ซึ่งบรรลุนิติภาวะ (2) ผู้ซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกำหนดให้มีความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได้ แม้ผู้นั้นจะยัง ไม่บรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (3) นิติบุคคลหรือคณะบุคคล โดยผู้แทนหรือตัวแทน แล้วแต่กรณี ผู้ซึ่งมี ประกาศของนายกรัฐมนตรี หรือผู้ซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายในราชกิจจานุเบกษากำหนดให้มีความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได้ แม้ผู้นั้นจะยังไม่บรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ นอกจากนี้คู่กรณีอาจมีหนังสือแต่งตั้งให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติ ภาวะกระทำการอย่างหนึ่ง อย่างใดตามที่กำหนดแทนตนในกระบวนการพิจารณาทางปกครองใด ๆ ได้ ในการนี้ เจ้าหน้าที่จะดำเนิน กระบวนพิจารณาทางปกครองกับตัวคู่กรณีได้เฉพาะเมื่อเป็นเรื่องที่ผู้นั้นมีหน้าที่โดยตรงที่จะต้องทำการนั้นด้วย ตนเองและต้องแจ้งให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งให้กระทำการแทนทราบด้วย


32

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

การยื่นคำขอกรณีมีผู้ลงชื่อเกินห้าสิบคนหรือมีคู่กรณีเกินห้าสิบคน ถ้าในคำขอมีการระบุให้บุคคลใด เป็นตัวแทนของบุคคลดัง กล่าวให้ถือว่าผู้ที่ถูกระบุชื่อดังกล่าวเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณีเหล่ านั้น แต่ถ้าไม่มี ให้เจ้าหน้าที่ในเรื่องนั้นแต่งตั้งบุคคลที่คู่กรณีฝ่ายข้างมากเห็นชอบเป็นตัวแทนร่วมของบุคคลดังกล่าว การบอกเลิกตัวแทนร่วมสามารถกระทำได้เป็นหนังสือ การพิจารณา เอกสารที่ยื่นต่อ เจ้าหน้าที่ ให้จัดทำเป็นภาษาไทย ถ้าเป็นเอกสารที่ทำขึ้นเป็น ภาษาต่างประเทศ ให้คู่กรณีจัดทำคำแปลเป็นภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกต้องมาให้ภายในระยะเวลาที่เจ้าหน้าที่กำหนด การแจ้งสิทธิและหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง เมื่อมีผู้ยื่นคำขอเพื่อให้เจ้าหน้าที่มีคำสั่งทางปกครอง ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ผู้รับคำขอที่จะต้อง ดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของคำขอและความครบถ้วนของเอกสาร บรรดาที่มีกฎหมายหรือกฎ กำหนดให้ต้องยื่นมาพร้อมกับคำขอ หากคำขอไม่ถูกต้อง ให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวแนะนำให้ผู้ยื่นคำขอดำเนินการ แก้ ไ ขเพิ ่ ม เติ ม เสี ย ให้ ถ ู ก ต้ อ ง และหากมี เ อกสารใดไม่ ค รบถ้ ว นให้ แ จ้ ง ให้ ผ ู ้ ย ื ่ น คำขอทราบทั น ที ห รื อ ภายในไม่เกินเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับคำขอ และเมื่อผู้ยื่นคำขอได้แก้ไขคำขอหรือจัดส่งเอกสารตามที่ระบุในการ แจ้งครบถ้วนแล้ว เจ้าหน้าที่จะปฏิเสธไม่ดำเนินการตามคำขอเพราะเหตุยังขาดเอกสารอีกมิได้ เว้นแต่มีความ จำเป็นเพื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายหรือกฎและได้รับความเห็นชอบจากผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป ชั้นหนึ่ง ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจ้าหน้าที่ต้องให้คู่กรณีมีโอกาสที่จะได้ทราบ ข้อเท็จจริงอย่างเพียงพอและมีโอกาสได้โต้แย้งและแสดงพยานหลักฐานของตน เว้นแต่กรณีดังต่อไปนี้ (1) เมื่อมีความจำเป็นรีบด่วนหากปล่อยให้เนิ่นช้าไปจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่ง ผู้ใดหรือจะกระทบต่อประโยชน์สาธารณะ(ตัวอย่างเช่น คำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดต่าง ๆ ตอนแก้ไข ปัญหาโควิด 19 มักจะอ้างมาตรานี้ มิให้ใช้สิทธิ์การอุทธรณ์คำสั่งต่าง ๆ ) (2) เมื่อจะมีผลทำให้ระยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกำหนดไว้ในการทำคำสั่งทางปกครองต้องล่าช้า ออกไป (3) เมื่อเป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนั้นเองได้ให้ไว้ในคำขอ คำให้การหรือคำแถลง (4) เมื่อโดยสภาพเห็นได้ชัดในตัวว่าการให้โอกาสดังกล่าวไม่อาจกระทำได้ (5) เมื่อเป็นมาตรการบังคับทางปกครอง (6) กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง รูปแบบและผลของคาสั่งทางปกครอง คำสั่งทางปกครองอาจทำเป็นหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่นก็ได้ แต่ต้องมี ข้อความหรือความหมายที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ และในกรณีที่คำสั่ง ทางปกครองเป็นคำสั่งด้วยวาจา ถ้าผู้รับคำสั่งนั้นร้องขอและการร้องขอได้กระทำโดยมีเหตุอันสมควรภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีคำสั่งดัง กล่าว


33

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

เจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่งต้องยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ โดยคำสั่งทางปกครองที่ทำเป็นหนังสืออย่างน้อยต้องระบุ วัน เดือน และปี ที่ทำคำสั่ง ชื่อและตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่ง พร้อมทั้งมีลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ผู้ทำ คำสั่งนั้น คำสั่งทางปกครองที่ทำเป็นหนังสือและการยืนยันคำสั่งทางปกครอง อย่างน้อยจะต้องมีเหตุผลดังนี้ (1) ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำคัญ (2) ข้อกฎหมายที่อ้างอิง (3) ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ แต่บทบัญญัติข้างต้นไม่ใช้บังคับตามกรณี ดังต่อไปนี้ (1) เป็นกรณีที่มีผลตรงตามคำขอและไม่กระทบสิทธิและหน้าที่ของบุคคลอื่น (2) เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้วโดยไม่จำต้องระบุอีก (3) เป็นกรณีที่ต้องรักษาไว้เป็นความลับ (4) เป็นการออกคำสั่งทางปกครองด้วยวาจาหรือเป็นกรณีเร่งด่วน แต่ต้องให้เหตุผลเป็น ลายลักษณ์ อักษรในเวลาอันควรหากผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งนั้นร้องขอ เจ้าหน้าที่สามารถกำหนดเงื่อนไขของคำสั่งทางปกครองได้ ดังนี้ (1) การกำหนดให้สิทธิหรือภาระหน้าที่เริ่มมีผลหรือสิ้นผล ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (2) การกำหนดให้การเริ่มมีผลหรือสิ้นผลของสิทธิหรือภาระหน้าที่ต้องขึ้นอยู่กับเหตุ การณ์ในอนาคต ที่ไม่แน่นอน (3) ข้อสงวนสิทธิที่จะยกเลิกคำสั่งทางปกครอง (4) การกำหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ต้องกระทำหรืองดเว้นกระทำหรือต้องมี ภาระหน้าที่หรือยอมรับ ภาระหน้าที่หรือความรับผิดชอบบางประการ หรือการกำหนดข้อความในการจัดให้มี เปลี่ยนแปลง หรือ เพิ่มข้อกำหนดดังกล่าว การออกคำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือ ปกติแล้วเจ้าหน้าที่ต้องออกคำสั่งทางปกครองนั้นให้แล้วเสร็จ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เจ้าหน้าที่ได้รับคำขอและเอกสารถูกต้องครบถ้วน คำสั่งทางปกครองที่ออกโดยการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ไม่เป็นเหตุให้คำสั่ง ทางปกครองนั้นไม่สมบูรณ์ (1) การออกคำสั่งทางปกครองโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอในกรณีที่เจ้าหน้าที่จะดำเนินการเองไม่ได้นอกจาก จะมีผู้ยื่นคำขอ ถ้าต่อมาในภายหลังได้มีการยื่นคำขอเช่นนั้นแล้ว (2) คำสั่งทางปกครองที่ต้องจัดให้มีเหตุผล ถ้าได้มีการจัดให้มีเหตุผลดังกล่าวในภายหลัง (3) การรับฟังคู่กรณีที่จำเป็นต้องกระทำได้ดำเนิน การมาโดยไม่สมบูรณ์ ถ้าได้มีการรับฟังให้สมบูรณ์ ในภายหลัง (4) คำสั่งทางปกครองที่ต้องให้เจ้าหน้าที่อื่นให้ความเห็นชอบก่อน ถ้าเจ้าหน้าที่นั้นได้ให้ความเห็นชอบ ในภายหลัง


34

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

การอุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง ถ้าไม่มีกฎหมายกำหนดไว้เฉพาะให้อุทธรณ์คำสั่ง ทางปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่ง ทางปกครองภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งคำสั่งดังกล่าว โดยคำอุทธรณ์ต้องทำเป็นหนังสือโดยระบุ ข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่อ้างอิงประกอบด้วย เจ้าหน้าที่จะต้องพิจารณาคำอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ โดยแบ่งความเห็นในการพิจารณาอุทธรณ์ดังนี้ 1. ในกรณีที่ เห็นด้วยกับคำอุทธรณ์ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนก็ให้ดำเนิน การเปลี่ยนแปลงคำสั่ ง ทางปกครองตามความเห็นของตนภายในกำหนดเวลาดังกล่าวด้วย 2. ในกรณีที่ไม่เห็นด้วยกับคำอุทธรณ์ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน เจ้าหน้าที่ต้องเร่งรายงานความเห็น พร้อมเหตุผลไปยังผู้มีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณ์ โดยผู้มีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณ์ต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ตนได้รับรายงาน ถ้ามีเหตุจำเป็นไม่อาจพิจารณาให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ดังกล่าว ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์จะต้องมีหนังสือแจ้งให้ผู้อุทธรณ์ ทราบก่อนครบกำหนดเวลาดังกล่าว โดย สามารถขยายระยะเวลาพิจารณาอุทธรณ์ออกไปได้ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันที่ครบกำหนดเวลาดังกล่าว กรณีค ำสั่ งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการต่ าง ๆ ไม่ ว ่ า จะจั ดตั ้ งขึ ้ น ตามกฎหมายหรือไม่ ให้คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ทั้งใน ปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งนั้น แต่ถ้าคณะกรรมการดังกล่าว เป็นคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท สิทธิการอุทธรณ์และกำหนดเวลาอุทธรณ์ ให้เป็นไปตามที่บัญญัติใน กฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกา การเพิกถอนคาสั่งทางปกครอง การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเป็นการให้ประโยชน์ต้องกระทำภายในเก้าสิบวันนับแต่ ได้รู้ถึงเหตุที่จะให้เพิกถอนคำสั่งทางปกครองนั้น เว้นแต่คำสั่งทางปกครองจะได้ทำขึ้นเพราะการแสดงข้อความ อันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อ ความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งหรือ การข่มขู่หรือการชักจูงใจโดยการให้ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย ▪ การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย 1. คำสั่ งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและคำสั ่ ง นั ้ นไม่ เป็ นการให้ ประโยชน์แก่ ผ ู ้ รั บคำสั่ง การเพิกถอนสามารถกระทำได้ทั้งหมดหรือบางส่วน โดยจะให้มีผลย้อนหลังหรือไม่ย้อนหลัง หรือมีผลใน อนาคตก็ได้ 2. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้เงิน หรือให้ทรัพย์สินหรือ ให้ประโยชน์ที่อาจแบ่งแยกได้ อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วน โดยจะให้มีผลย้อนหลังหรือไม่ย้อนหลัง หรื อ มี ผ ลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่ง ตามที่ ก ำหนดได้ โดยให้ ค ำนึ ง ถึ ง ความเชื ่อ โดยสุ จริต ของผู้รับ ประโยชน์ในความคงอยู่ของคำสั่งทางปกครองนั้นกับประโยชน์สาธารณะประกอบกัน


35

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

3. กรณีผู้รับคำสั่งทางปกครองเชื่อโดยสุจริตในการคงอยู่ของคำสั่งทางปกครอง ถ้าได้ใช้ประโยชน์จาก คำสั่งทางปกครองนั้นไปแล้ว เจ้าหน้าที่ไม่สามารถเพิกถอนคำสั่งทางปกครองนั้นย้อนหลังได้ ยกเว้นกรณี ดังต่อไปนี้ที่ผู้รับคำสั่งทางปกครอง ไม่สามารถอ้างความเชื่อโดยสุจริตได้ (1) ผู้นั้นได้แสดงข้อความอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อความจริงซึ่งควรบอกให้แจ้ง หรือข่มขู่ หรือชักจูงใจ โดยการให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์อื่นใดที่มิชอบด้วยกฎหมาย (2) ผู้นั้นได้ให้ข้อความซึ่งไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนในสำระสำคัญ (3) ผู้นั้นได้รู้ถึง ความไม่ชอบด้วยกฎหมายของคำสั่งทางปกครองในขณะได้รับคำสั่ง ทางปกครอง หรือการไม่รู้นั้นเป็นไปโดยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง

▪ การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมาย 1. คำสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งไม่เป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่ง ทางปกครองอาจถูก เพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอนหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่ กำหนดได้ เว้นแต่เป็นกรณีที่คงต้องทำคำสั่ง ทางปกครองที่มีเนื้อหาทำนองเดียวกันนั้นอีก หรือเป็นกรณีที่ การเพิกถอนไม่อาจกระทำได้เพราะเหตุอื่น ทั้งนี้ให้คำนึงถึงประโยชน์ของบุคคลภายนอกประกอบด้วย 2. คำสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้ประโยชน์แก่ผู้รับคำสั่ง ทางปกครองอาจถูก เพิกถอนทั้งหมดหรือบางส่วนโดยให้มีผลตั้งแต่ขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่ กำหนดได้เฉพาะเมื่อมีกรณีดังต่อไปนี้ (1) มีกฎหมายกำหนดให้เพิกถอนได้หรือมีข้อสงวนสิทธิให้เพิกถอนได้ในคำสั่งทางปกครองนั้นเอง (2) คำสั่งทางปกครองนั้นมีข้อกำหนดให้ผู้รับประโยชน์ต้องปฏิบัติ แต่ไม่มี การปฏิบัติภายในเวลา ที่กำหนด (3) ข้อเท็จจริงและพฤติ การณ์เปลี่ยนแปลงไป ซึ่ง หากมีข้อเท็จจริงและพฤติ การณ์เช่นนี้ในขณะ ทำคำสั ่ ง ทางปกครองแล้ว เจ้าหน้าที่ ค งจะไม่ ทำคำสั ่ ง ทางปกครองนั ้น และหากไม่ เพิ ก ถอนจะก่ อ ให้เกิด ความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะได้ (4) บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซึ ่ ง หากมี บทกฎหมายเช่ น นี ้ ใ นขณะทำคำสั ่ ง ทางปกครองแล้ ว เจ้าหน้าที่คงจะไม่ทำคำสั่งทางปกครองนั้น แต่การเพิกถอนในกรณีนี้ให้กระทำได้เท่าที่ผู้รับประโยชน์ยังไม่ได้ใช้ ประโยชน์ หรือยังไม่ได้รับประโยชน์ ตามคำสั่งทางปกครองดังกล่าว และหากไม่เพิกถอนจะก่อให้เกิด ความ เสียหายต่อประโยชน์สาธารณะได้ (5) อาจเกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะหรือต่อประชาชนอันจำเป็นต้องป้องกัน หรือขจัดเหตุดังกล่าว 3. คำสั่งทางปกครองที่ชอบด้วยกฎหมายซึ่งเป็นการให้เงินหรือให้ทรัพย์สินหรือให้ประโยชน์ที่ อาจ แบ่งแยกได้ อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือ บางส่วนโดยให้มีผลย้อนหลังหรือไม่มีผลย้อนหลังหรือมีผลในอนาคต ไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติล่าช้าในอันที่จะดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคำสั่งทางปกครอง (2) ผู้ได้รับประโยชน์มิได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติ ล่าช้าในอันที่จะดำเนินการให้เป็นไปตามเงื่อนไขของคำสั่ง ทางปกครอง


36

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

▪ การขอให้พิจารณาใหม่ เมื่อคู่กรณีมีคำขอ เจ้าหน้าที่อาจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่ง ทางปกครองที่พ้นกำหนดอุทธรณ์ ได้ในกรณี ดังต่อไปนี้ (1) มีพยานหลักฐานใหม่ อันอาจทำให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญ (2) คู่กรณีที่แท้จริงมิได้ เข้ามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือได้ เข้ามาในกระบวนการ พิจารณาครั้งก่อนแล้วแต่ถูกตัดโอกาสโดยไม่เป็นธรรมในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (3) เจ้าหน้าที่ไม่มีอำนาจที่จะทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น (4) ถ้าคำสั่งทางปกครองได้ออกโดยอาศัยข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายใดและต่อมาข้อเท็จจริงหรือข้อ กฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสำระสำคัญในทางที่จะเป็นประโยชน์แก่คู่กรณี โดยการยื่นคำขอตาม (1) (2) หรือ (3) ให้กระทำได้เฉพาะเมื่อคู่กรณีไม่อาจทราบถึงเหตุนั้นในการ พิจารณาครั้งที่แล้วมาก่อนโดยไม่ใช่ความผิดของผู้นั้นและต้องกระทำภายในเก้าสิบวันนับแต่ผู้นั้นได้รู้ถึงเหตุซึ่ง อาจขอให้พิจารณาใหม่ได้ การบังคับทางปกครอง

▪ มาตรการบังคับทางปกครอง 1. การบังคับทางปกครองไม่ใช้บังคับกับหน่วยงานของรัฐด้วยกัน เว้นแต่จะมี กฎหมายกำหนดไว้เป็น อย่างอื่น 2. เจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่งทางปกครองมีอำนาจที่จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับทางปกครองเพื่อให้เป็นไป ตามคำสั่งของตนได้ ตามบทบัญญัติในหมวดนี้ เว้นแต่จะมี การสั่งให้ทุเลาการบังคับไว้ก่อนโดยเจ้าหน้าที่ ผู้ทำคำสั่งนั้นเอง ผู้มีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณ์ หรือผู้มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัย ความถูกต้องของคำสั่ง ทางปกครองดังกล่าว 3. ถ้าบทกฎหมายใดกำหนดมาตรการบังคับทางปกครองไว้โดยเฉพาะแล้ว หากเจ้าหน้าที่เห็นว่า การใช้มาตรการบังคับนั้นจะเกิดผลน้อยกว่ามาตรการบังคับตามหมวดนี้เจ้าหน้าที่จะใช้มาตรการบังคับทาง ปกครองตามหมวดนี้แทนก็ได้ 4. ในการใช้มาตรการบังคับทางปกครองแก่บุคคลใด หากบุคคลนั้นถึงแก่ความตาย ให้ดำเนินการ บังคับทางปกครองต่อไปได้ ถ้าบุคคลนั้นมีทายาทผู้รับมรดกหรือผู้จัดการมรดก ให้ถือว่าทายาทผู้รับมรดกหรือ ผู้จัดการมรดกเป็นผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองนั้น

▪ การบังคับตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงิน การบังคับโดยเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ คือ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่มีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ ชำระเงิน ถ้าถึงกำหนดแล้วไม่มีการชำระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้ เจ้าหน้าที่ผู้ทำคำสั่งทางปกครองมีหนังสือ เตือนให้ผู้นั้นชำระภายในระยะเวลาที่กำหนดแต่ต ้องไม่ น้อ ยกว่า เจ็ดวั น ถ้าไม่มีการปฏิบัติ ตามคำเตื อ น เจ้าหน้าที่มีอำนาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพย์สินของผู้นั้นและขายทอดตลาดเพื่อ


37

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

ชำระเงินให้ครบถ้วนได้ โดยหน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงินต้องดำเนิน การยึดหรืออายัดทรัพย์สิน ภายในสิบปีนับแต่วันที่คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินเป็นที่สุด คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินเป็นที่สุดในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ไม่มีการอุทธรณ์คำสั่งต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองภายในระยะเวลาอุทธรณ์ (2) เจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจพิจารณาอุทธรณ์มีคำวินิจฉัยยกอุทธรณ์ และไม่มี การฟ้องคดีต่อศาลภายใน ระยะเวลาการฟ้องคดี (3) ศาลมีคำสั่งหรือคำพิพากษายกฟ้อง หรือเพิกถอนคำสั่งบางส่วน และคดีถึงที่สุดแล้ว หากหน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงินได้ยึดหรือ อายัดทรัพย์สินแล้ว แต่ยังไม่ได้รับชำระเงิน ครบถ้วน และล่วงพ้นกำหนดเวลา จะยึดหรืออายัดทรัพย์สินเพิ่มเติมอีกมิได้

▪ เจ้าหน้าที่ผู้ออกคำสั่งใช้มาตรการบังคับทางปกครองมีอำนาจดังต่อไปนี้ (1) มีหนังสือสอบถามสถาบันการเงิน สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนียนตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย กรมที่ดิน กรมการขนส่งทางบก กรมทรัพย์สินทางปัญญา หรือหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีหน้าที่ ควบคุมทรัพย์สินที่มีทะเบียน เกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง (2) มีหนังสือขอให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือบุคคลอื่นผู้มีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ระงับ การจดทะเบียนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนที่เกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับ ทางปกครองไว้เป็นการชั่วคราวเท่าที่จำเป็นเนื่องจากมีเหตุขัดข้องที่ทำให้ไม่อาจยึดหรืออายัดทรัพย์สินได้ทันที และเมื่อเหตุขัดข้องสิ้นสุดลงให้แจ้งยกเลิกหนังสือดัง กล่าว ทั้งนี้ ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการระงับ การจดทะเบียนหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงทางทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น

▪ การร้องขอให้อัยการ หน่วยงานอื่น ๆ หรือเอกชน ใช้มาตรการบังคับทางปกครอง 1. หน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงิน อาจร้องขอให้สำนักงานอัยการสูงสุดหรือหน่วยงานอื่นใน การสืบหาทรัพย์สินของผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง หน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงิน อาจร้องขอให้สำนักงานอัยการสูงสุดหรือหน่วยงานอื่นดำเนินการสืบหาทรัพย์สินแทนได้ 2. ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงินไม่มี เจ้าหน้าที่ในการดำเนินการสืบหาทรัพย์สิน และหากจำนวนเงินที่ต้องชำระตามมาตรการบังคับทางปกครองนั้นมีมูลค่าตั้งแต่สองล้านบาทขึ้นไปหรือ ตามมูลค่าที่กำหนดเพิ่มขึ้นโดยกฎกระทรวง หน่วยงานของรัฐอาจมอบหมายให้เอกชนสืบหาทรัพย์สินแทนได้ ให้เอกชนที่สืบพบทรัพย์สินได้รับ ค่าตอบแทนไม่เกินร้อยละสองครึ่ง จากเงินหรือทรัพย์สินที่ได้ มาจาก การยึด อายัด หรือขายทอดตลาดทรัพย์สินที่สืบพบได้ ทั้งนี้ จำนวนเงินค่าตอบแทนสูงสุดต้องไม่เกินหนึ่งล้านบาทต่อจำนวนเงินที่ต้องชำระตามคำสั่งทางปกครองใน เรื่องนั้น หรือตามจำนวนที่กำหนดเพิ่มขึ้นโดยกฎกระทรวง ▪ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สิน (1) เจ้าหนีต้ ามคำพิพากษา หมายถึง หน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงิน (2) ลูกหนีต้ ามคำพิพากษา หมายถึง ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง


38

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

(3) อำนาจของศาลในส่วนที่เกี่ยวกับ การบังคับคดี เป็นอำนาจของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง (4) เจ้าพนักงานบังคับคดี หมายถึง เจ้าพนักงานบังคับทางปกครอง การโต้แย้งหรือการใช้สิทธิทางศาลเกี่ยวกับการยึด การอายัด และการขายทอดตลาดทรัพย์สินโดย ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครอง รวมทั้งบุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกยึด หรืออายัด ให้เสนอต่อศาล (1) ศาลแรงงาน ศาลภาษีอากร ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ศาลเยาวชนและ ครอบครัว หรือศาลชำนัญพิเศษอื่น แล้วแต่กรณี ซึ่งเป็นศาลที่มีเขตอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับ คำสั่งที่มีการบังคับทางปกครองนั้น (2) ศาลปกครอง สำหรับกรณีอื่นที่ไม่อยู่ภายใต้บังคับ (1)

▪ การบังคับโดยเจ้าพนักงานบังคับคดี 1. ในกรณีที่มีการบังคับให้ชำระเงินและคำสั่ง ทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินเป็นที่สุดแล้ว หาก หน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงินประสงค์ให้ เจ้าพนักงานบังคับคดีในสังกัดกรมบังคับคดีดำเนิน การ บังคับให้เป็นไปตามคำสั่งทางปกครองดังกล่าว ให้ยื่นคำขอฝ่ายเดียวต่อศาลภายในสิบปีนับแต่วันที่คำสั่ง ทาง ปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินเป็นที่สุด เพื่อให้ ศาลออกหมายบังคับคดีเพื่อบังคับให้เป็นไปตามคำสั่งทาง ปกครองนั้น โดยระบุจำนวนเงินที่ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองยังมิได้ชำระตามคำสั่งทาง ปกครอง ทั้งนี้ ไม่ว่าหน่วยงานของรัฐยังไม่ได้บังคับทางปกครองหรือได้ดำเนินการบังคับทางปกครองแล้ว แต่ยัง ไม่ได้รับชำระเงินหรือได้รับชำระเงินไม่ครบถ้วน 2. เมื่อหน่วยงานของรัฐยื่นคำขอตามข้อ 1 ถ้าศาลเห็นว่าคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินเป็น ที่สุดแล้ว ให้ศาลออกหมายบังคับคดีตั้ง เจ้าพนักงานบังคับคดีและแจ้งให้ เจ้าพนักงานบังคับคดีทราบเพื่อ ดำเนินการต่อไป โดยให้ถือว่าหน่วยงานของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงินเป็นเจ้าหนีต้ ามคำพิพากษา และให้ถือว่า ผู้อยู่ในบังคับของมาตรการบังคับทางปกครองเป็นลูกหนี้ตามคำพิพากษา 3. เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีแล้ว ให้หน่วยงานของรัฐติดต่อกรมบังคับคดี พร้อมทั้งมีหนังสือแจ้งให้ ผู ้ อ ยู ่ ใ นบั ง คั บของมาตรการบังคับ ทางปกครองทราบว่า ศาลได้ต ั ้ง เจ้ า พนั ก งานบั ง คั บคดี เพื่ อ ดำเนิน การ บังคับคดีแล้ว 4. เมื่อศาลออกหมายบังคับคดีและแต่งตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดีแล้วการดำเนินการบังคับให้เป็นไป ตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้ชำระเงิน ให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง

▪ การบังคับตามคำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ “ค่าปรับบังคับการ” หมายความว่า ค่าปรับที่เจ้าหน้าที่สั่งให้ผู้ที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามคำสั่งทาง ปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ ชำระเป็น รายวันไปจนกว่าจะยุติการฝ่าฝืนคำสั่งหรือได้มีการ ปฏิบัติตามคำสั่งแล้ว ไม่ว่าจะเป็นค่าปรับที่กำหนดโดยพระราชบัญญัตินี้หรือโดยกฎหมายอื่น คำสั่งทางปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำสัง่ ทางปกครองฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตาม เจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครองอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้


39

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

(1) เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการด้วยตนเองหรือมอบหมายให้บุคคลอื่นกระทำการแทน โดยผู้อยู่ในบังคับ ของคำสั่งทางปกครองจะต้องชดใช้ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวันในอัตราร้อยละยี่สิบห้าต่อปีของค่าใช้จ่าย ดังกล่าวแก่หน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่นั้นสังกัด (2) ให้มีการชำระค่าปรับบังคับ การตามจำนวนที่สมควรแก่เหตุแต่ต้องไม่เกิน ห้าหมื่นบาทต่อวัน เจ้าหน้าที่ระดับใดมีอำนาจกำหนดค่าปรับบังคับการจำนวนเท่าใด สำหรับในกรณีใด ให้เป็นไปตามที่กำหนดใน กฎกระทรวง ในกรณีที่มีความจำเป็นที่จะต้องบังคับการโดยเร่งด่วนเพื่อป้องกันมิให้มีการกระทำที่ขัดต่อกฎหมายที่ มีโทษทางอาญาหรือมิให้เกิดความเสียหายต่อประโยชน์สาธารณะเจ้าหน้าที่อาจใช้มาตรการบังคับทางปกครอง โดยไม่ต้องออกคำสั่ง ทางปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำก่อนก็ได้ แต่ทั้งนี้ ต้องกระทำโดย สมควรแก่เหตุและภายในขอบเขตอำนาจหน้าที่ของตน ก่อนใช้มาตรการบังคับทางปกครองเจ้าหน้าที่จะต้องมีคำเตือนเป็นหนังสือให้มีการกระทำหรือละเว้น กระทำตามคำสั่งทางปกครองภายในระยะเวลาที่กำหนดตามสมควรแก่กรณี คำเตือนดัง กล่าวจะกำหนดไป พร้อมกับคำสั่งทางปกครองก็ได้ คำเตือนนั้นจะต้องระบุ (1) มาตรการบังคับทางปกครองที่จะใช้ให้ชัดแจ้ง แต่จะกำหนดมากกว่าหนึ่งมาตรการในคราวเดียวกัน ไม่ได้ (2) ค่าใช้จ่ายและเงินเพิ่มรายวันในการที่เจ้าหน้าที่เข้าดำเนินการด้วยตนเองหรือมอบหมายให้บุคคล อื่นกระทำการแทน หรือจำนวนค่าปรับบังคับการ แล้วแต่กรณี การกำหนดค่าใช้จ่ายในคำเตือน ไม่เป็น การตัดสิทธิที่จะเรียกค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น หากจะต้องเสีย ค่าใช้จ่ายจริงมากกว่าที่ได้กำหนดไว้ ***ถ้าผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทางปกครองต่อสู้ขัดขวางการบังคับทางปกครองเจ้าหน้าที่อาจใช้กำลัง เข้าดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามมาตรการบังคับทางปกครองได้ แต่ต้องกระทำโดยสมควรแก่เหตุ และในการใช้ มาตรการบังคับทางปกครอง เจ้าหน้าที่อาจแจ้งขอความช่วยเหลือจากเจ้าพนักงานตำรวจได้ ระยะเวลาและอายุความ 1. กำหนดเวลาเป็นวัน สัปดาห์ เดือน หรือปีนั้น มิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วย เว้นแต่ จะได้เริ่มการในวันนั้นหรือมีการกำหนดไว้เป็นอย่างอื่นโดยเจ้าหน้าที่ 2. ในกรณีที่เจ้าหน้าที่มีหน้าที่ต้องกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในระยะเวลาที่กำหนด ให้นับวัน สิ้นสุดของระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วยแม้ว่าวันสุดท้ายเป็นวันหยุดทำการงานสำหรับเจ้าหน้าที่ 3. ในกรณีที่บุคคลใดต้องทำการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในระยะเวลาที่กำหนดโดยกฎหมายหรือโดย คำสั่งของเจ้าหน้าที่ ถ้าวันสุดท้ายเป็นวันหยุดทำการงานสำหรับเจ้าหน้าที่หรือวันหยุดตามประเพณีของบุคคล ผู้รับคำสั่ง ให้ถือว่าระยะเวลานั้นสิ้นสุดในวันทำงานที่ถัดจากวันหยุดนั้น เว้นแต่กฎหมายหรือเจ้าหน้าที่ ที่มี คำสั่งจะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น 4. ระยะเวลาที่กำหนดไว้ในคำสั่งของเจ้าหน้าที่อาจมีการขยายอีกได้ และถ้าระยะเวลานั้นได้สิ้นสุดลง แล้วเจ้าหน้าที่อาจขยายโดยกำหนดให้มีผลย้อนหลังได้เช่นกัน ถ้าการสิ้นสุดตามระยะเวลาเดิมจะก่อให้เกิด ความไม่เป็นธรรมที่จะให้สิ้นสุดลงตามนั้น


40

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

5. ในกรณีที่ผู้ใดไม่อาจกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในกฎหมายได้เพราะ มีพฤติการณ์ที่จำเป็นอันมิได้เกิดขึ้น จากความผิดของผู้นั้น ถ้าผู้นั้นมีคำขอเจ้าหน้าที่อาจขยายระยะเวลาและ ดำเนินการส่วนหนึ่งส่วนใดที่ล่วงมาแล้วเสียใหม่ก็ได้ ทั้งนี้ต้องยื่นคำขอภายในสิบห้าวันนับแต่พฤติการณ์เช่นว่า นั้นได้สิ้นสุดลง การแจ้ง การแจ้งคำสั่งทางปกครอง การนัดพิจารณา หรือการอย่างอื่นที่เจ้าหน้าที่ต้องแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ อาจกระทำด้วยวาจาก็ได้ แต่ถ้าผู้นั้นประสงค์จะให้กระทำเป็นหนังสือก็ให้แจ้งเป็นหนังสือ 1. การแจ้งเป็นหนังสือให้ส่งหนังสือแจ้งต่อผู้นั้น หรือ ถ้าได้ส่งไปยังภูมิลำเนาของผู้นั้นก็ให้ถือว่าได้รับ แจ้งตั้งแต่ในขณะที่ไปถึง และการแจ้งเป็นหนังสือโดยวิธีให้บุคคลนำไปส่ง ถ้าผู้รับไม่ยอมรับหรือถ้าขณะนำไป ส่งไม่พบผู้รับ และหากได้ส่งให้กับบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติ ภาวะที่อยู่หรือทำงานในสถานที่นั้น หรือในกรณีที่ผู้นั้น ไม่ยอมรับ หากได้วางหนังสือนั้นหรือปิดหนังสือนั้นไว้ในที่ซึ่งเห็นได้ง่ าย ณ สถานที่นั้นต่อหน้าเจ้าพนักงาน ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงที่ไปเป็นพยานก็ให้ถือว่าได้รับแจ้งแล้ว 2. การแจ้งโดยวิธีส่งทางไปรษณีย์ตอบรับให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อครบกำหนดเจ็ดวันนับแต่วันส่งสำหรับ กรณีภายในประเทศ หรือเมื่อครบกำหนดสิบห้าวันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีส่งไปยัง ต่างประเทศ เว้นแต่จะมี การพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจากวันนั้น 3. ในกรณีที่มีผู้รับเกินห้าสิบคนเจ้าหน้าที่จะแจ้งให้ทราบตั้งแต่เริ่มดำเนินการในเรื่องนั้นว่าการแจ้งต่อ บุคคลเหล่านั้นจะกระทำโดยวิธีปิดประกาศไว้ ณ ที่ทำการของเจ้าหน้าที่และที่ว่าการอำเภอที่ผู้รับมีภูมิลำเนา ก็ได้ ในกรณีนี้ให้ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อล่วงพ้นระยะเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้แจ้งโดยวิธีดังกล่าว 4. ในกรณีที่ไม่รู้ตัวผู้รับหรือรู้ตัวแต่ไม่รู้ภูมิลำเนาหรือรู้ตัวและภูมิลำเนาแต่มีผู้รับเกินหนึ่งร้อยคน การแจ้งเป็นหนังสือจะกระทำโดยการประกาศในหนังสือพิมพ์ซึ่งแพร่หลายในท้องถิ่นนั้นก็ได้ ในกรณีนี้ให้ถือว่า ได้รับแจ้งเมื่อล่วงพ้นระยะเวลาสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้แจ้งโดยวิธีดังกล่าว 5. ในกรณีมีเหตุจำเป็นเร่งด่วนการแจ้งคำสั่งทางปกครองจะใช้วิธีส่งทางเครื่องโทรสารก็ได้ แต่ต้องมี หลักฐานการได้ส่งจากหน่วยงานผู้จัดบริการโทรคมนาคมที่เป็นสื่อในการส่งโทรสารนั้น และต้องจัดส่งคำสั่ง ทางปกครองตัวจริงโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตามหมวดนี้ให้แก่ผู้รับในทันทีที่ อาจกระทำได้ ในกรณีนี้ให้ถือว่าผู้รับได้รับ แจ้งคำสั่งทางปกครองเป็นหนังสือตามวัน เวลา ที่ปรากฏในหลักฐานของหน่วยงานผู้จัดบริการโทรคมนาคม ดังกล่าว เว้นแต่จะมีการพิสูจน์ได้ว่าไม่มีการได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจากนั้น คณะกรรมการทีม่ ีอำนาจดำเนินการพิจารณาทางปกครอง หลักเกณฑ์มาตรฐานในการแต่งตั้งคณะกรรมการที่มีอำนาจดำเนินการพิจารณาทางปกครอง 1. การแต่งตั้งกรรมการในลักษณะที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิให้แต่งตั้งโดยระบุตัวบุคคล 2. ในกรณีที่กรรมการพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ ผู้มีอำนาจแต่งตั้งอาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการแทน ได้ และให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทนอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ซึ่งตนแทน 3. ในกรณีที่มีการแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้วยังมี วาระอยู ่ใน ตำแหน่ง ให้ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการที่ได้รับ แต่งตั้งไว้แล้ว


41

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

4. การประชุมของคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมอย่างน้อยกึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่บทบัญญัติแห่งกฎหมายหรือกฎหรือคำสั่งที่จัดให้มีคณะกรรมการชุดนั้นจะกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น 5. ในกรณีมีกรรมการครบที่จะเป็นองค์ประชุมได้ แต่การพิจารณาเรื่องใดถ้าต้องเลื่อนมาเพราะไม่ครบ องค์ประชุม ถ้าเป็นการประชุมของคณะกรรมการซึ่งมิใช่คณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท หากได้มีการนัด ประชุมเรื่องนั้นอีก ภายในสิบสี่ว ันนับแต่วันนัดประชุมที่ เลื่ อนมา และการประชุมครั้งหลัง นี้ม ีกรรมการ มาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมการทั้งหมด ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุม แต่ทั้งนี้ต้องระบุ ความประสงค์ให้เกิดผลตามบทบัญญัตินี้ไว้ในหนังสือนัดประชุมด้วย 6. การนัดประชุมต้องทำเป็นหนังสือและแจ้งให้กรรมการทุกคนทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามวัน เว้นแต่กรรมการนั้นจะได้ ทราบการบอกนัดในที่ประชุมแล้ว กรณีดัง กล่าวนี้จะทำหนังสือแจ้งนัด เฉพาะ กรรมการที่ไม่ได้มาประชุมก็ได้ และการลงมติของที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก


42

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

สรุปประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ในส่วนของความผิดต่อตาแหน่งหน้าที่ราชการ เป็นหมวดของประมวลกฎหมายอาญาที่กำหนดบทลงโทษเจ้าพนักงาน ดังต่อไปนี้ 1. มาตรา 147 ผู้ ใดเป็ น เจ้ า พนั ก งาน มี ห น้ า ที่ ซื้ อ ทำ จั ด การหรื อ รั ก ษาทรั พ ย์ ใดเบี ย ดบั งทรั พ ย์ นั้ น เป็นของตน หรือเป็นของผู้อื่นโดยทุจริต หรือโดยทุจริตยอมให้ผู้อื่นเอาทรัพย์นั้นเสีย ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 2. มาตรา 148 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใด มอบให้หรือหามาให้ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่นต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบ ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือประหารชีวิต 3. มาตรา 149 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภา เทศบาล เรียรับ หรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทำการ หรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือประหารชีวิต 4. มาตรา 150 ผู้ ใดเป็ น เจ้ า พนั ก งาน กระทำการหรื อ ไม่ ก ระทำการอย่ า งใดในตำแหน่ งโดยเห็ น แก่ ทรั พ ย์ สิ น หรื อ ประโยชน์ อื่ น ใด ซึ่ งตนได้ เรี ย ก รั บ หรื อ ยอมจะรั บ ไว้ ก่ อ นที่ ต นได้ รั บ แต่ ง ตั้ ง เป็ น เจ้ า พนั ก งาน ในตำแหน่งนั้นต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 5. มาตรา 151 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ซื้อ ทำ จัดการหรือรักษาทรัพย์ใดๆ ใช้อำนาจในตำแหน่ง โดยทุจริต อันเป็นการเสียหายแก่รัฐ เทศบาล สุขาภิบาลหรือเจ้าของทรัพย์นั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปี ถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 6. มาตรา 152 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จัดการหรือดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสียเพื่อประโยชน์ สำหรับตนเองหรือผู้อื่น เนื่องด้วยกิจการนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองพันบาท ถึงสองหมื่นบาท 7. มาตรา 153 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายทรัพย์นั้นเกินกว่าที่ควรจ่ายเพื่อประโยชน์ สำหรับตนเองหรือผู้อื่น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท 8. มาตรา 154 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่หรือแสดงว่าตนมีหน้าที่เรียกเก็บหรือตรวจสอบภาษีอากร ค่าธรรมเนีย ม หรือ เงินอื่ นใด โดยทุ จริต เรีย กเก็บ หรือละเว้นไม่ เรียกเก็บภาษี อากร ค่ าธรรมเนีย มหรือเงินนั้ น หรือกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใด เพื่อให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนียมนั้นมิต้องเสีย หรือเสีย น้อยไปกว่าที่จะต้องเสีย ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาท ถึงสี่หมื่นบาท


43

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

9. มาตรา 155 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่กำหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้าใดๆ เพื่อเรียกเก็บภาษี อากรหรือค่าธรรมเนียมตามกฎหมาย โดยทุจริตกำหนดราคาทรัพย์สินหรือสินค้านั้น เพื่อ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษี อากรหรือค่าธรรมเนียมนั้นมิต้องเสียหรือเสียน้อยไปกว่าที่จะต้องเสีย ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 10. มาตรา 156 ผู้ ใ ดเป็ น เจ้ า พนั ก งาน มี ห น้ า ที่ ต รวจสอบบั ญ ชี ต ามกฎหมาย โดยทุ จ ริ ต แนะนำ หรือกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใด เพื่อให้มีการละเว้นการลงรายการในบัญชี ลงรายการเท็จในบัญชี แก้ไข บัญชี หรือซ่อนเร้น หรือทำหลักฐานในการลงบัญชีอันจะเป็นผลให้การเสียภาษีอากรหรือค่าธรรมเนียมนั้นมิต้องเสีย หรือเสีย น้อ ยกว่าที่ จะต้อ งเสีย ต้องระวางโทษจำคุ กตั้งแต่ห้าปีถึงยี่ สิบปี หรือจำคุกตลอดชี วิต และปรับตั้ งแต่ สองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท 11. มาตรา 157 ผู้ ใ ดเป็ น เจ้ า พนั ก งาน ปฏิ บั ติ ห รื อ ละเว้ น การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยมิ ช อบ เพื่ อ ให้ เกิ ด ความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริตต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปี ถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 12. มาตรา 158 ผู้ใดเป็น เจ้ าพนัก งาน ทำให้เสี ยหาย ทำลาย ซ่อ นเร้น เอาไปเสี ย หรือ ทำให้ สู ญ หาย หรือ ทำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพ ย์หรือเอกสารใด อั นเป็นหน้าที่ ของตนที่ จ ะปกครองหรือ รักษาไว้ หรือยิ นยอม ให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท 13. มาตรา 159 ผู้ใดเป็นเจ้าพนัก งาน มี หน้าที่ดู แล รักษาทรัพ ย์หรือเอกสารใดกระทำการอันมิชอบ ด้วยหน้าที่ โดยถอน ทำให้เสียหาย ทำลายหรือทำให้ไร้ประโยชน์ หรือโดยยินยอมให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้น ซึ่งตรา หรือเครื่อ งหมายอั นเจ้ าพนัก งานได้ ประทั บหรือ หมายไว้ ที่ ท รัพ ย์ห รือเอกสารนั้นในการปฏิ บั ติ การตามหน้าที่ เพื่อเป็นหลักฐานในการยึดหรือรักษาสิ่งนั้นต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ 14. มาตรา 160 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่รักษาหรือใช้ดวงตราหรือรอยตราของราชการหรือของผู้อื่น กระทำการอันมิชอบด้วยหน้าที่ โดยใช้ดวงตราหรือรอยตรานั้น หรือโดยยินยอมให้ผู้อื่นกระทำเช่นนั้ น ซึ่งอาจ ทำให้ผู้อื่นหรือประชาชนเสียหาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 15. มาตรา 161 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทำเอกสาร กรอกข้อความลงในเอกสารหรือดูแลรักษา เอกสาร กระทำการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมี หน้าที่นั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับ ไม่เกินสองหมื่นบาท 16. มาตรา 162 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน มีหน้าที่ทำเอกสาร รับเอกสารหรือกรอกข้อความลงในเอกสาร กระทำการดังต่อไปนี้ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ (1) รับรองเป็นหลักฐานว่า ตนได้กระทำการอย่า งใดขึ้นหรือว่าการอย่างใดได้กระทำต่อหน้าตน อันเป็นความเท็จ (2) รับรองเป็นหลักฐานว่า ได้มีการแจ้งซึ่งข้อความอันมิได้มีการแจ้ง (3) ละเว้นไม่จดข้อความซึ่งตนมีหน้าที่ต้องรับจด หรือจดเปลี่ยนแปลงข้อความเช่นว่านั้น หรือ (4) รั บ รองเป็ น หลั ก ฐานซึ่ ง ข้ อ เท็ จ จริ ง อั น เอกสารนั้ น มุ่ ง พิ สู จ น์ ค วามจริ ง อั น เป็ น ความเท็ จ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นสี่พันบาท


44

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

17. มาตรา 163 ผู้ ใดเป็ น เจ้ า พนั ก งาน มี ห น้ า ที่ ในการไปรษณี ย์ โทรเลขหรื อ โทรศั พ ท์ กระทำการ อันมิชอบด้วยหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) เปิด หรือยอมให้ผู้อื่นเปิด จดหมายหรือสิ่งอื่นที่ส่งทางไปรษณีย์หรือโทรเลข (2) ทำให้เสียหาย ทำลาย ทำให้สูญหาย หรือยอมให้ผู้อื่นทำให้เสียหาย ทำลายหรือทำให้สูญหาย ซึ่งจดหมายหรือสิ่งอื่นที่ส่งทางไปรษณีย์หรือโทรเลข (3) กั ก ส่งให้ ผิ ด ทาง หรือ ส่ ง ให้ แก่ บุ ค คลซึ่ งรู้ ว่ า มิ ใช่ เป็ น ผู้ ค วรรั บ ซึ่ง จดหมายหรื อ สิ่ ง อื่ น ที่ ส่ ง ทางไปรษณีย์หรือโทรเลข หรือ (4) เปิดเผยข้อความที่ส่งทางไปรษณีย์ ทางโทรเลขหรือทางโทรศัพท์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 18. มาตรา 164 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน รู้หรืออาจรู้ความลับในราชการ กระทำโดยประการใดๆ อันมิชอบ ด้วยหน้าที่ ให้ผู้อื่นล่วงรู้ความลับนั้น ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำ ทั้งปรับ 19. มาตรา 165 ผู้ใดเป็ นเจ้ าพนัก งาน มีห น้าที่ ปฏิ บัติ การให้ เป็นไปตามกฎหมายหรือ คำสั่ง ซึ่งได้ สั่ ง เพื่อบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย ป้องกันหรือขัดขวางมิให้การเป็นไปตามกฎหมายหรือคำสั่งนั้น ต้องระวาง โทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 20. มาตรา 166 ผู้ ใ ดเป็ น เจ้ า พนั ก งาน ละทิ้ ง งานหรื อ กระทำการอย่ า งใดๆ เพื่ อ ให้ ง านหยุ ด ชะงั ก หรือเสียหาย โดยร่วมกระทำการเช่นนั้นด้วยกันตั้ งแต่ห้าคนขึ้นไป ต้อ งระวางโทษจำคุกไม่เกิ นห้าปี หรือปรับ ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับถ้าความผิดนั้นได้กระทำลงเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในกฎหมายแผ่นดิน เพื่อบังคับรัฐบาลหรือเพื่อข่มขู่ประชาชน ผู้กระทำต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองหมื่นบาท


45

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

สรุปพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 ความหมายต่าง ๆ ที่ควรทราบ “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็น การแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการหรือฐานะอื่นใด “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและ มีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบั ญ ญั ติ หรือพระราชกฤษฎีก า และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็น หน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัตินี้ด้วย

▪ การรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่รัฐแบ่งได้ 2 หลักดังนี้ 1. หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิ บัติ หน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดังกล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ และถ้า การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน ของรัฐที่ต้องรับผิด 1.1 ในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐ ถ้าหน่วยงานของรัฐเห็นว่าเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ ต้องรับผิดหรือต้องร่วมรับผิด หรือในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าที่ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็นเรื่องที่หน่วยงานของ รัฐต้องรับผิดหรือต้องร่วมรับผิด หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังกล่าวมีสิทธิขอให้ศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยู่ เรียกเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานของรัฐ แล้วแต่กรณี เข้ามาเป็นคู่ความในคดี และถ้าศาลพิพากษายกฟ้องเพราะ เหตุที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ที่ถูกฟ้องมิใช่ผู้ต้องรับผิด ให้ขยายอายุความฟ้องร้องผู้ที่ต้องรับผิดซึ่งมิได้ ถูกเรียกเข้ามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแต่วันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด 1.2 ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายเพื่อการละเมิดของ เจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้ทำละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงาน ของรัฐได้ ถ้าเจ้าหน้าที่ได้กระทำการนั้นไปด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง 1.2.1 สิ ท ธิ เ รี ย กให้ ช ดใช้ ค ่ า สิ น ไหมทดแทนจะมี ไ ด้ เ พี ย งใดให้ ค ำนึ ง ถึ ง ระดั บ ความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรมในแต่ละกรณีเป็นเกณฑ์โดยมิต้องให้ใช้เต็มจำนวนของ ความเสียหายก็ได้ 1.2.2 ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐหรือ ระบบการดำเนินงานส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออกด้วย 1.2.3 ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมา ใช้บังคับและเจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะส่วนของตนเท่านั้น


46

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

1.3 ถ้าหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหายสิทธิที่จะเรียกให้ อีกฝ่ายหนึ่งชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนให้ มี กำหนดอายุความหนึ่ง ปี นับแต่วันที ่หน่วยงานของรั ฐ หรื อ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้นแก่ผู้เสียหาย 1.4 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่ผู้นั้นอยู่ในสังกัดหรือไม่ ถ้าเป็นการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ ให้ นำบทบั ญญัติ (ข้อ 1.2) มาใช้บังคับโดยอนุ โ ลม แต่ ถ้ า มิ ใ ช่ ก ารกระทำในการปฏิ บั ต ิ ห น้ า ที ่ ใ ห้ บ ั ง คั บ ตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 1.5 สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ ข้างต้นให้มีกำหนดอายุความสองปีนับแต่ วันที่หน่วยงานของรัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน และกรณีที่หน่วยงาน ของรัฐเห็นว่าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นไม่ต้องรับผิด แต่กระทรวงการคลังตรวจสอบแล้วเห็นว่าต้องรับผิด ให้สิทธิเรียกร้อง ค่ า สิ นไหมทดแทนนั้นมีก ำหนดอายุค วามหนึ ่ ง ปี นั บแต่ ว ั นที ่ หน่ ว ยงานของรั ฐ มี ค ำสั ่ ง ตามความเห็ นขอ ง กระทรวงการคลัง 1.6 ในกรณีท ี่ผ ู้เสียหายเห็ นว่ า หน่ ว ยงานของรั ฐ ต้ อ งรั บผิ ด ตามมาตรา 5 (การละเมิ ด ของเจ้าหน้าที่ในขณะปฏิบัติหน้าที่) ผู้เสียหายจะยื่นคำขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่าสินไหม ทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดแก่ตนก็ได้ ในการนี้หน่วยงานของรัฐต้องออกใบรับคำขอให้ไว้เป็นหลักฐาน และพิจารณาคำขอนั้นโดยไม่ชักช้า เมื่อหน่วยงานของรัฐมีคำสั่งเช่นใดแล้วหากผู้เสียหายยังไม่พอใจในผลการ วินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐก็ใ ห้ มีสิทธิร้องทุก ข์ต่ อคณะกรรมการวิ นิจฉัยร้อ งทุก ข์ ตามกฎหมายว่า ด้ ว ย คณะกรรมการกฤษฎีกาได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย 1.6.1 หน่วยงานของรัฐ ต้องพิจารณาคำขอที่ได้รับให้แล้วเสร็จภายในหนึ่ง ร้ อ ย แปดสิบวัน หากเรื่องใดไม่อาจพิจารณาได้ทันในกำหนดนั้นจะต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคให้รัฐมนตรี เจ้าสังกัดหรือกำกับหรือควบคุมดูแลหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได้ แต่รัฐมนตรีดังกล่าวจะพิจารณาอนุมัติให้ขยายระยะเวลาให้อีกได้ไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบวัน 1.7 ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ให้แก่ผู้เสียหาย ตาม (ข้อ 1.2 การละเมิดของเจ้าหน้าที่) หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องใช้ค่าสิ นไหมทดแทนเนื่องจากเจ้าหน้าที่ ผู้นั้น ได้กระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐตาม (ข้อ 1.4 เจ้าหน้าที่ละเมิดต่อหน่วยงานรัฐเอง) ประกอบกับ มาตรา 8 ให้หน่วยงานของรัฐที่เสียหายมีอำนาจออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นชำระเงินดังกล่าวภายในเวลา ที่กำหนด 1.8 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบเพื่อให้เจ้าหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดตาม (ข้อ 1.2 การละเมิด ของเจ้าหน้าที่) และ (ข้อ 1.4 เจ้าหน้าที่ละเมิดต่อหน่วยงานรัฐเอง) สามารถผ่อนชำระเงินที่จะต้องรับผิดนั้นได้ โดยคำนึงถึงรายได้ ฐานะครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย 2. ถ้าการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่มิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดในการนัน้ เป็นการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรงแต่จะฟ้องหน่วยงานของรัฐไม่ได้ ***เมื่อได้มีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นแล้ว สิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ตาม (ข้อ 1.6 กรณีที่ ผู้เสียหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดตามมาตรา 5 การละเมิดของเจ้าหน้าที่ในขณะปฏิบัติหน้าที่ ) ให้ถือว่าเป็นสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครอง


47

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 ความหมายต่าง ๆ ที่ควรทราบ 1. “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น และ มีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือหน่วยงานอื่นของรัฐในฝ่ายบริหาร แต่ไม่หมายความรวมถึง หน่วยงานธุรการของรัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล และองค์กรอัยการ 2. “เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ปฏิบัติงานอื่ นในหน่วยงาน ของรัฐ 3. “องค์กรกลางบริหารงานบุคคล” หมายความว่า คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน คณะกรรมการ ข้ า ราชการพลเรื อ นในสถาบั น อุ ด มศึ ก ษา คณะกรรมการข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา และคณะกรรมการข้ า ราชการตารวจ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยระเบี ย บข้ า ราชการปร ะเภทนั ้ น รวมทั้ ง คณะกรรมการกลางบริหารงานบุค คลของเจ้าหน้าที ่ ของรั ฐในฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการมาตรฐาน การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น 4. “กรรมการ” หมายความว่า กรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม 5. นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรฐานทางจริยธรรมและประมวลจริยธรรม มาตรา 5 มาตรฐานทางจริยธรรม คือ หลักเกณฑ์การประพฤติปฏิบัติอย่างมีคุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งจะต้องประกอบด้วย (1) ยึดมั่นในสถาบันหลักของประเทศ อันได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (2) ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี และรับผิดชอบต่อหน้าที่ (3) กล้าตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม (4) คิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว และมีจิตสาธารณะ (5) มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (6) ปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ (7) ดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดีและรักษาภาพลักษณ์ของทางราชการ มาตรฐานทางจริยธรรมข้างต้น ให้ใช้เป็นหลักสำคัญในการจัดทำประมวลจริยธรรมของหน่วยงานของ รัฐที่จะกำหนดเป็นหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติตนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เกี่ยวกับสภาพคุณงามความดีที่เจ้าหน้าที่ ของรัฐต้องยึดถือสำหรับการปฏิบัติงาน การตัดสินความถูกผิด การปฏิบัติที่ควรกระทำหรือไม่ควรกระทำ ตลอดจนการดำรงตนในการกระทำความดีและละเว้นความชั่ว


48

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

องค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐมีหน้าที่จัดทำประมวลจริยธรรมสาหรับเจ้าหน้าที่ ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบในกรณีที่เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐซึ่งไม่มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลที่รับผิดชอบ ให้องค์กรต่อไปนี้เป็นผู้จัดทาประมวลจริยธรรม (1) คณะรัฐมนตรี สำหรับข้าราชการการเมือง (2) สภากลาโหม สำหรับข้าราชการทหารและข้าราชการพลเรือนกลาโหม (3) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สำหรับผู้บริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (4) คณะกรรมการพัฒนาและส่งเสริมองค์การมหาชน สำหรับผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ และผู้ปฏิบัติงาน ขององค์การมหาชน ในกรณีที่มีปัญหาว่าองค์กรใดเป็นผู้จัดทำประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐประเภทใด ให้ ก.ม.จ.เป็นผู้มีอำนาจวินิจฉัย ในการจั ด ทำประมวลจริ ยธรรมขององค์ ก รกลางบริ ห ารงานบุ ค คลของศาลหรื อ องค์ ก รอั ย การ องค์กรกลางบริหารงานบุคคลของหน่วยงานธุรการของรัฐสภาและองค์กรอิสระ ให้น ำมาตรฐานทางจริยธรรม ตามมาตรา 5 ไปใช้ประกอบการพิจารณาจัดทำประมวลจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐที่อยู่ในความรับผิดชอบด้วย คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม มาตรา 8 ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.ม.จ.” ประกอบด้วย (1) นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ (2) ผู้แทนคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนที่ได้รับมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ (3) กรรมการโดยตำแหน่ง จำนวนห้าคน ได้แก่ ผู้แทนที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการข้าราชการ พลเรื อ นในสถาบันอุด มศึก ษา คณะกรรมการข้ า ราชการครู และบุ ค ลากรทางการศึ กษา คณะกรรมการ ข้าราชการตำรวจ คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น และสภากลาโหม อย่างละ หนึ่งคน (4) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งจำนวนไม่เกินห้าคนเป็นกรรมการ ให้เลขาธิการ ก.พ. เป็ น กรรมการและเลขานุ ก าร และให้ เ ลขาธิ ก าร ก.พ. แต่ ง ตั ้ ง ข้ า ราชการในส ำนั ก งาน ก.พ. เป็นผู้ช่วยเลขานุการได้ตามความจำเป็น

▪ มาตรา 13 ก.ม.จ. มีหน้าที่และอำนาจ ดังต่อไปนี้ (1) เสนอแนะและให้ค ำปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านมาตรฐานทางจริยธรรมและ การส่งเสริมจริยธรรมภาครัฐต่อคณะรัฐมนตรี (2) กำหนดแนวทางหรือมาตรการในการขับเคลื่อน การดาเนินกระบวนการรักษาจริยธรรมรวมทั้ง กลไกและการบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐเพื่อให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคล องค์กร ตามมาตรา 6 วรรคสอง หรือผู้บังคับบัญชานำไปใช้ในกระบวนการบริหารงานบุคคลอย่างเป็นรูปธรรม (3) กำหนดแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมทั้งเสนอแนะ มาตรการในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมแก่หน่วยงาน ของรัฐต่อคณะรัฐมนตรี


49

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟ่าง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ ___________________________________________________________________________________________

(4) กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม โดยอย่างน้อยต้องให้ หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม และให้มีการประเมิน พฤติกรรมทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น (5) ตรวจสอบรายงานประจำปีของหน่วยงานของรัฐตามมาตรา 19 (3) และรายงานสรุปผลการ ดำเนินงานดังกล่าวเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง (6) ตีความและวินิจฉัยปัญหาที่เกิดจากการใช้บังคับพระราชบัญญัตินี้ (7) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ให้ ก.ม.จ. จั ด ให้ ม ี ก ารทบทวนมาตรฐานทางจริ ย ธรรมตามมาตรา 5 ทุ ก ห้ า ปี ห รื อ ในกรณี ท ี ่ มี ความจำเป็นหรือสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป ก.ม.จ. จะพิจารณาทบทวนในรอบระยะเวลาที่เร็วกว่านั้นก็ได้ การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ มาตรา 19 เพื ่ อ ประโยชน์ ใ นการรั ก ษาจริ ย ธรรมของเจ้ า หน้ า ที ่ ข องรั ฐ ให้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ ดำเนินการ ดังต่อไปนี้ (1) กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการรั กษาจริ ยธรรมประจำหน่ วยงานของรั ฐ ในการนี้อาจ มอบหมายให้ส่วนงานที่มีหน้าที่และภารกิจในด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล หรือที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล หรือคณะกรรมการและกลุ่มงานจริยธรรมประจำหน่วยงานของรัฐที่มีอยู่แล้วเป็นผู้รับผิดชอบก็ได้ (2) ดำเนิ น กิ จ กรรมการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ค วามรู ้ ฝึ ก อบรม และพั ฒ นาเจ้ า หน้ า ที ่ ข องรั ฐ ในหน่วยงานของรัฐ และจัดให้มีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม รวมทั้งกำหนดกลไกในการส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่ ของรัฐ ตลอดจนสร้างเครือข่ายและประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐและภาคเอกชน (3) ทุกสิ้นปีงบประมาณ ให้จัดทำรายงานประจำปีตามหลักเกณฑ์ที่ ก.ม.จ. กำหนดเสนอต่อก.ม.จ. โดยให้หน่วยงานของรัฐเสนอรายงานประจำปีผ่านองค์กรกลางบริหารงานบุคคลหรือองค์กรตามมาตรา 6 วรรคสอง แล้วแต่กรณี เพื่อประเมินผลในภาพรวมของหน่วยงานของรัฐเสนอต่อ ก.ม.จ.ด้วย ให้องค์กรกลางบริหารงานบุคคลแต่ละประเภทและองค์กรตามมาตรา 6วรรคสอง มีหน้าที่กำกับดูแล การดำเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม และการประเมินผลการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมทั้งให้มี หน้าที่และอำนาจจัดหลักสูตรการฝึกอบรม การเผยแพร่ความเข้าใจตลอดจนการกำหนดมาตรการจูงใจเพื่อ พัฒนาและส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐมีพฤติกรรมทางจริยธรรมเป็นแบบอย่างที่ดี และ มาตรการที่ใช้บังคับแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานของรัฐซึ่งมีพฤติกรรมที่เป็นการฝ่าฝืนมาตรฐานทาง จริยธรรมหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมโดยอาจกำหนดมาตรการเพื่อใช้ในการบริหารงานบุคคลตาม กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการประเภทนั้น


50

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ความสามารถในการคิดวิเคราะห 1) 39 26 13 0 … ก. 0

ข. 13

ค. -13

ง. -26

ตอบ ขอ ค. เนื่องจากเปนอนุกรมลำดับเชิงเดี่ยวแบบลบ ลบดวย 13 ไปเรื่อยๆ 39

26 -13

2) 4

13 -13

20

0

-13

-13

-13

100 500 …..

ก. 750

ข. 900

ค. 1500

ง. 2500

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากเปนอนุกรมลำดับเชิงเดี่ยวแบบคูณ คูณดวย 5 ไปเรื่อยๆ 4

20 ×5

100 ×5

500

2500

×5

×5

3) 1 2 4 7 … ก. 9

ข. 11

ค. 19

ง. 15

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเปนการบวกเพิ่มเปนเลขที่เพิ่มขึ้นตามลำดับจาก 1+1 =2 2+2 =4 4+3 = 7 7+4 = 11 4) 7 10 16 25 … ก. 37

ข. 39

ค. 42

ง. 45

ตอบ ขอ ก. เนื่องจากเปนการเรียงจำนวนที่เพิ่มขึ้นแบบมีลำดับ 7 +3 = 10 10 + 6 = 16 16+ 9 = 25 และ 25 + 12 = 37 7

10 +3

+6 +3

5) 5 6 11 ก. 45

16

25 +9

+3

37 +12

+3

17 28 … ข. 59

ค. 62

ง. 90


51

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ก. เนื่องจากเปนการบวกสะสมทีละ 2 ตัว 5+6 =11 6+11 = 17 11+17= 28 17+28= 45 6) 12 24 72 288 … ก. 980

ข. 1,440

ค. 1,560

ง. 2,880

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเปนลำดับเชิงเดี่ยวแบบคูณดวยคาเรียงลำดับ คูณดวย 2 และคูณดวย 3 และคูณดวย เลขที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 12

24 ×2

7) 2 3

72 ×3

6

3

288 ×4

3

1,440 ×5

9 3

ก. 8

4 …

ข. 10

ค. 12

ง. 16

ตอบ ขอ ค. เนื่องจากเปนอนุกรมแบบชุด เขียนเลขที่เอามาคูณกัน และผลลัพธตอกันไป 2 × 3 = 6 8) 3 4

5

3 × 3 = 9 12

3 × 4 = 12

21 38 …

ก. 54

ข. 71

ค. 80

ง. 82

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเปนอนุกรมตอเนื่องที่พจนหนาบวกพจนหลังตอกันไปเรื่อยๆ ทีละ 3 พจน 3 + 4 + 5 = 12

21 4 +5 +12

9) 3 7 ก. 30

38 5 +12 +21

71 12 +21 +38

13 21 … ข. 31

ค. 36

ง. 42

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเปนลำดับเชิงเดี่ยวแบบเลขยกกำลังผสม คือ 22 -1 =3 32 -2 = 7 42 – 3= 13 52- 4= 21 62- 5= 31 10) 20 22 25 30 … ก. 32

ข. 34

ค. 38

ง. 40


52

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากเปนลำดับเชิงเดี่ยวแบบหารดวยคาเรียงลำดับ โดยเริ่มจากเลข 120 ลดลงทีละ 10 เปน 110 100 90 80 และหารดวยเลข 6 ลดไปเปน 5 4 3 2 จะได 120 ÷6 = 20 110÷ 5= 22 100÷ 4 = 25 90 ÷3 = 30 80÷ 2 = 40 20

22

25

30

40

120 ÷ 6

110 ÷ 5

100 ÷ 4

90 ÷ 3

80 ÷ 2

11) 9 30 69 132 ... ก. 215

ข. 220

ค. 225

ง. 230

ตอบ ขอ ค. เนื่องจากเปนลำดับเชิงเดี่ยวแบบเลขยกกำลังผสม เริ่มจากเลข 2 ยกกำลัง 3 และตามดวยเลข 3 4 5 6 ยกกำลัง 3 ไปเรื่อยๆ บวกกับเลข 1 และเลขถัดไปที่เพิ่มครั้งละ 2 ไดแก 3 5 7 9 จะไดเปน 23 +1= 9 33+3 = 30 43 +5 = 69 53 +7= 132 63+9 = 225 12) 31 30 33 31 …. ก. 30

ข. 32

ค. 34

ง. 35

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากเปนลำดับเชิงเดี่ยวแบบบวกและลบสลับกัน เริ่มจาก 31 - 1 = 30 33- 2= 31 31+4 = 35 -1 31

30+3 = 33

-2 30

33 +3

31

35 +4

13) 0 1 8 81 … ก. 199

ข. 299

ค. 1,008

ง. 1,024

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากเปนลำดับเชิงเดี่ยวแบบเลขยกกำลัง โดยเริ่มจาก 1 เรียงไปเรื่อยๆลบดวยเลขคงที่คือ 1 และยกกำลั ง เรี ย งกั น ไปเรื ่ อ ยๆ จะได เ ป น (1-1) 1 = 0 (2-1) 2 = 1 (3-1) 3 = 8 (4-1) 4 = 81 (5-1)5 = 1,024 14) 212 ก. 250

224

236

248 …. ข. 262

ค. 2,500

ง. 2,510

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากเป นการคูณดวยเลข 2 ตอเนื่องกั นไปและนำตัว เลขมาเรีย งกั นจะได 2× 1 = 2 เปน 212 2× 2 = 4 เปน 224 2× 3= 6 เปน 236 2×4 = 8 เปน 248 และ2×5 = 10 คำตอบคือ 2,510


53

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

15) 1 11 29 55 … ก. 89

ข. 92

ค. 100

ง. 105

ตอบ ข อ ก. โดยที ่ 1 มาจาก (1×3) – 2 11 มาจาก (3×5) -4 29 มาจาก (5×7) – 6 55 มาจาก (7× 9) -8 เพราะฉะนั้น คำตอบตองมาจาก (9× 11) -10 เทากับ 89 16) 90 88 82 64 …. ก. 24

ข. 12

ค. 10

ง. 8

ตอบ ขอ ค. เนื่องจากเปนอนุกรมหลายชั้น โดยมีทั้งการลดแบบมีลำดับ และการเพิ่มแบบคงที่ 90

88

82

-2

-6 ×3

64 -18

10 -54

×3

×3

17) 240 235 204 200 174 … ก. 170

ข. 171

ค. 182

ง. 190

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเปนลำดับเชิงซอน 2 ชุดดูที่ความเชื่อมโยงของตัวเลขตัวเวนตัว โดยเลขลำดับดังกลาว จะถูกลบดวยเลขที่มีความตางเทากับ 6 เหมือนกัน -6 -36 240

235

-30 204

200

-35

174

171

-29 -6

18) 7 8 9 13 11 … ก. 16

ข. 17

ค. 18

ง. 19

ตอบ ขอ ค. เนื่องจากเปนลำดับเชิงซอน 2 ชุด ใหดูแยกความเชื่อมโยงเลขตัวแรก ตัวที่สาม และตัวที่หา จะเห็นวา 7+ 2 = 9 9+ 2 =11 ถาดูที่เลขตัวที่สองและสี่ จะเห็นวา 8+ 5= 13เพราะฉะนั้น13 +5 จะได เปนคำตอบ คือ 18


54

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

+2 7

+2

8

9

13

11

+5 19)

𝟏𝟏

𝟏𝟏

𝟐𝟐

ก.

1

𝟔𝟔

𝟏𝟏

𝟏𝟏𝟏𝟏

𝟏𝟏

𝟐𝟐𝟐𝟐

18

+5

…. ข.

30

1

ค.

32

1

ง.

35

ตอบ ขอ ก. ดูเฉพาะสวน (ตัวลาง) 2 มาจาก 12+1 6 มาจาก 22+2 12 มาจาก 32+ 3

1

40

1

20 มาจาก 42+ 4 และ 52+ 5 คำตอบที่ไดจะเทากับ 30 เลือกขอทีต่ อบ 30 +5

7

8

9

+5

13

+2

11 18

+2

20) 6 8 10 15 17 19 … ก. 20

ข. 22

ค. 23

ง. 24

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากเปนลำดับเชิงซอน 3 ชุด เลขตัวแรกและถัดไปอีกสามตำแหนงจะมีคาเพิ่มขึ้นทีละ 9 6

8 10 15 17 19 24 +9

คำสั่ง จงพิจารณาหาจำนวนที่ถูกตองซึ่งขาดหายไปจากอนุกรมที่กำหนดให 21) 2, 12, 36, 80, … , 252, 392 ก. 125

ข. 150

ค. 175

ง. 220

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเปนเลขยกกำลังสอง แลวคูณดวยเลขถัดไปเรียงไปเรื่อยๆ เริ่มจาก 12×2 =2 22×3= 12 32 ×4= 36 42 ×5= 80 52×6 จะไดคำตอบคือ 150 22) 8 , 49 , 15, 42, 22, … , 29 ก. 24

ข. 35

ค. 42

ง. 47


55

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ข. ให X แทนคาที่โจทยตองการ แยกอนุกรมดังกลาวออกเปน 2 ชุด ชุดแรก 8, 15, 22, 29 จะเห็นวาคาเพิ่มขึ้นทีละ 7 ( 8+7= 15 15+ 7= 22 22+ 7= 29) ชุดที่สอง 49, 42, X จะเห็นวาคาลดลงทีละ 7 (49 -7= 42 ) ดังนั้น X = 42 -7 = 35 23) 10 3 7 2 5 3 … ก. 2

ข. 3

ค. 4

ง. 5

ตอบ ขอ ก. เนื่องจากตัวหนาลบตัวหลังจะไดตวั ถัดไป 10 - 3

7 - 2

5 - 3

ดังนั้น คำตอบคือ 5 - 3 = 2 24) 3 2 7

5 10 7 …

ก. 7

ข. 9

ค. 10

ง. 12

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากมีการลดดวยจำนวนที่เพิม่ ขึ้น สลับกับเพิ่มขึ้นดวยคาคงที่ 3

2

7

ลด 1

5

เพิม่ 5 ลด 2

10

7

เพิ่ม 5

ลด 3

… เพิ่ม 5

ดังนั้น 7 เพิม่ อีก 5 คำตอบที่ได คือ 12 25) 30 26 28 22 26 18 26 … ก. 16

ข. 18

ค. 20

ง. 22

ตอบ ขอ ก. เนื่องจากมีการลดลงจาก -4, -6 ,-8, ..สลับกับการเพิ่มทีละ 21 , 22, 23,… 30

26 -4

28 +21

22

26 +22

-6

18 -8

26 +23

… -10

ดังนั้น คำตอบ คือ 26 - 10 = 16 26) 3 , 13, 31, … , 91, 133 ก. 42 ตอบ ขอ ค.

ข. 54 สมมุตใิ ห X แทนคาที่โจทยตองการ

ค. 57

ง. 60


56

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

3 13 31 X 91 133 หาผลตางระหวางเลขที่อยูถัดไป เพื่อหาความสัมพันธของอนุกรมดังกลาว จะได 13 -3 = 10 , 31- 13 = 18 , X- 31= A , 91- X = B , 133- 91 = 42 สังเกตจากคาผลตางมาเรียงกัน 10, 18, A, B, 42 จะเห็นวา ผลตางมีคา เพิ่มขึ้นทีละ 8 ดังนั้น B +8 =42 B จะเทากับ 42 -8 = 34 นำคา B ที่ไดไปหาคา X จาก 91- X = B แทนคา B ลงไป จะได 91- X =34 ดังนั้น X = 91- 34 จะไดคำตอบคือ 57 27) 87, 92, 45, 22, … , 80, 39, 19, 63, 68, 33, 16, 51, 56, 27, 13 ก. 75

ข. 77

ค. 79

ง. 80

ตอบ ขอ ก. สมมุติให X แทนคาที่โจทยตองการจากโจทยจะเปนอนุกรมเชิงซอน 4 ชุด นำมาจัดเรียงใหมเปน 4 ชุด โดย การนับตำแหนง 1 ถึง 4 ตอไปเรื่อยๆ จนถึงเลขตัวสุดทาย จะไดดังนี้ ชุดที่ 1 87, X , 63, 51

ชุดที่ 2 92, 80, 68, 56

ชุดที่ 3 45, 39, 33, 27 ชุดที่ 4 22, 19, 16, 13 ในการหาคา X ใชเพียงอนุกรม 2 ชุดก็เพียงพอในการหาคำตอบ ในทีน่ ี้เลือกชุดที่ 1 และ 2 ในการหาคำตอบ จะเห็นวาเลขที่ชุดที่ 2 มีคามากกวาชุดที่ 1 และมีสวนตางที่เทากัน คือ 5 ชุดที่ 2

92 , 80 , 68 , 56

ชุดที่ 1

87 , X , 63 , 51

5 5 5 เพราะฉะนั้น 80 – X = 5 ดังนั้น X = 80 -5 = 75

5

28) 11, 10, 101, 100, … , 1,000, 10,001 ก. 110

ข. 111

ค. 1,010

ง. 1,001

ตอบ ขอ ง. ให X แทนคาที่โจทยตองการ หลังจากนั้นแยกอนุกรมเปน 2 ชุด ชุดแรก คือ 11, 101, X, 10,001 (มาจาก 101+1, 102+1, 103+1 , 104 +1) ชุดที่สอง คือ 10, 100, 1,000

(มาจาก 101, 102, 103)

ดังนั้น X= 103 +1 = 1,001 29) 4, 18, 48 , … , 180, 294, 448 ก. 60

ข. 85

ค. 90

ง. 100


57

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากเปนผลลัพธของเลขที่ยกกำลังแลวคูณดวยเลขที่มีคาเพิ่มขึ้นตามลำดับ ให X แทนคาที่โจทยตองการ 4

, 18

22×1

, 48 , X , 180 , 294

32×2 ดังนัน้

42×3 52×4 X

= 52×4

62×5

72×6

, 448 82×7

= 25 × 4 = 100

30) 7, 36, 125, … , 243 ก. 256

ข. 262

ค. 275

ง. 280

ตอบ ก. โดยให X แทนคาที่โจทยตองการจะเห็นวาเปนอนุกรมที่เลขลดลงทีละ 1 ยกกำลังดวยเลขที่ เพิ่มขึ้นทีละ 1 ดังนี้ 7

,

71

36

,

125

62

,

53

X

, 243

44

35

ดังนั้น X = 44 = 256 31) ทหารเกาหลีเหนือมีงานเลี้ยงสังสรรคประดับยศทหารที่มาในงานจับมือทักทายกันทุกคนปรากฏวา มีการจับมือทักทายกันทั้งหมด 210 ครั้ง อยากทราบวามีทหารมารวมงานทั้งหมดกี่คน ก. 17

ข. 18

ค.20

ง. 21

ตอบ ขอ ง. ให N แทนจำนวนคนทั้งหมด จากสูตร

จำนวนครั้งในการจับมือ = จะได

210 210 × 2

=

𝑁𝑁(𝑁𝑁−1) 2

แทนคาลงไปในสูตร

𝑁𝑁(𝑁𝑁−1) 2

= N(N-1 )

420 = N(N-1 ) จะเห็นวาคำตอบเมื่อนำมาคูณดวยคาของคำตอบลบดวย 1 จะตองได 420 เลขที่เปนไปไดของ N ก็คือ 21 เนื่องจาก 21 ×(21 -1) = 420 32) ลูกเสือสามัญรุนที่ 11 มีทั้งหมด 48 คน เมื่อถึงกิจกรรมสุดทายกอนอำลาจากกัน ลูกเสือทุกคนตอง จับมือกันและกัน อยากทราบวามีการจับมือกันทั้งหมดกี่ครั้ง ก. 1,128 ครั้ง

ข. 1,224 ครัง้

ค. 1,414 ครั้ง

ง. 1,628 ครั้ง


58

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ก. จากสูตร

ให N แทนจำนวนคนทั้งหมด 𝑁𝑁(𝑁𝑁−1)

จำนวนครั้งในการจับมือ = แทนคาลงไปจะได

2

48(48−1)

=

2

= 24 × 47 = 1,128 33) ในวันฉลองปใหมของบริษัท พนักงานทุกคนจะตองเตรียมการดอวยพรมาสงมอบใหกันและกันครบ ทุกคน อยากทราบวาจะมีการดอวยพรทั้งหมดกี่ใบ ถาพนักงานทั้งหมดมี 80 คน ก. 4,800 ใบ

ข. 5,420 ใบ

ค. 6,320 ใบ

ง. 7,900 ใบ

ตอบ ขอ ค. เนื่องจาก ถามีพนักงานทั้งหมด 80 คน แสดงวาแตละคนตองเตรียมการดจำนวน 79 ใบ โดยที่ ไมรวมตัวเอง ดังนัน้ จะมีการดอวยพรทั้งหมดเทากับ 79 × 80 = 6,320 ใบ 34) 1+ 2+ 3+ 4+ 5+ … + 168+ 169+ 170 มีคาเทากับเทาใด ก. 14,535

ข. 14,550

ค. 15,005

ง. 16,745

ตอบ ขอ ก. การหาผลบวกของเลขหลายจำนวนเรียงกันโดยเริ่มตนจาก 1 𝑛𝑛+1

สามารถใชสูตร n(

2

)

โดย n แทนตัวเลขตัวสุดทาย (n ในที่นี้ คือ 170) 170+1

เมื่อแทนคาเพื่อหาคำตอบ จะได 170 (

) = 85 × 171 = 14,535

2

35) 10+ 11+ 12+ 13+ … + 98+ 99 + 100 มีคาเทากับเทาใด ก. 4,250

ข. 4,775

ค. 5,005

ง. 5,545

ตอบ ขอ ค. การหาผลบวกของเลขหลายจำนวนเรียงกันโดยไมไดเริ่มตนจาก 1 𝑛𝑛+1

สามารถใชสูตร n(

2

𝑚𝑚+1

) - m(

2

)

โดย n แทนตัวเลขตัวสุดทาย (n ในที่นี้ คือ 100) และ m แทนเลขกอนเลขตัวแรก (m ในทีนี้ คือ 9)


59

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 100+1 9+1 เมื่อแทนคาเพื่อหาคำตอบ จะได 100( 2 ) - 9( 2 )

= (50 ×101) – (9 × 5) = 5,050 – 45 = 5,005

36) เลขตั้งแต 4 ถึง 13 บวกกันไดเทาไร ก. 55

ข. 65

ค. 75

ง. 85

ตอบ ขอ ง. การหาผลบวกของเลขหลายจำนวนเรียงกันที่ไมไดเริ่มจาก 1 ใชสตู ร ผลบวก =

(ตน+ปลาย)×จำนวนเทอม 2

จำนวนเทอม = ปลาย - ตน + 1 จากโจทย หาจำนวนเทอม จะได = 13 – 4 +1 = 10 แทนคาลงในสูตร จะได ผลบวก

(4 +13)×10

=

= 85

2

37) มีจุดอยู 10 จุด จะสามารถลากเสนเชื่อมตอระหวางจุดทั้งหมด ไดกี่เสน ก. 30

ข. 45

ค. 50

ง. 60

ตอบ ขอ ข. สามารถหาจำนวนเสนเชื่อมตอระหวางจุด โดยอาศัยสูตร ดังนี้ เสนเชื่อมตอระหวางจุด = แทนคาจะได

=

𝑛𝑛(𝑛𝑛−1) 2

10(10−1) 2

โดย n แทนจำนวนจุด =

90

= 45 เสน

2

38) ถนนสายหนึ่ ง ยาว 50 กิ โ ลเมตร และป ก เสาไฟฟ า 2 ข า งทาง โดยมี ร ะยะห า งแต ล ะเสาเท า กั บ 500 เมตร ตองใชเสาไฟทั้งหมดกี่ตน ก. 101 ตน

ข. 120 ตน

ค. 202 ตน

ง. 240 ตน

ตอบ ขอ ค. จาก 1 กิโลเมตร เทากับ 1,000 เมตร ดังนั้น 50 กิโลเมตร = 50 ×1,000 เมตร กรณีที่ระยะทางเปนเสนตรง (ตนกับปลายไมตอกัน) จะใชสูตร จำนวนเสา = แทนคาจะได จำนวนเสา =

ระยะทางทั้งหมด ระยะหางระหวางเสา 50 ×1,000 500

+ 1

+1

= 101

ตองปกเสาไฟทั้งสองขาง ดังนั้น จะตองใชเสาไฟ = 101 × 2 = 202 ตน


60

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

39) สนามหญาของหมูบ านมีความยาว 660 เมตร ตองการปกเสาหางกันตนละ 20 เมตร อยากทราบ วาจะตองใชเสาทั้งหมดกี่ตน ก. 33 ตน

ข. 35 ตน

ค. 40 ตน

ง. 42 ตน

ตอบ ขอ ก. กรณีทรี่ ะยะทางตอกัน (ตนกับปลายตอกัน) สามารถหาจำนวนเสา ไดจากการนำระยะทาง ทั้งหมดหารดวยระยะหางระหวางเสา ดังนั้น จะตองใชเสาทั้งหมด =

660 20

= 33 ตน

40) คุณตันตองการปกเสารั้วลอมรอบที่ดินรูปสี่เหลื่ยมจัตุรัส ยาว 90 เมตร โดยปกเสาหางกันตนละ 3 เมตร จงหาวาคุณตันจะตองปกเสารั้วทั้งหมดกี่ตน ก. 30 ตน

ข. 60 ตน

ค. 90 ตน

ง. 120 ตน

ตอบ ขอ ง. เนื่องจากสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะมีความยาวแตละดานเทากัน ดังนั้น ระยะทางของที่ดินที่ตองการ ลอมรั้ว จะเทากับ 90 × 4 = 360 เมตร กรณีที่ระยะทางตอกัน (ตนกับปลายตอกัน) สามารถหาจำนวนเสา ไดจากการนำระยะทางทั้งหมดหาร ดวยระยะหางระหวางเสา ดังนั้น จะตองใชเสาทั้งหมด =

360 3

= 120 ตน

41) ตองการลอมรั้วลวดหนามที ่ดิ นรู ปสี ่ เหลี่ยมผื นผา จำนวน 2 รอบ โดยลวดหนามราคาเมตรละ 20 บาท จะตองจายเงินอยางนอยที่สุดกี่บาท เมื่อมีที่ดิน 7 ไร และมีดานยาวยาว 140 เมตร ก. 16,200 บาท

ข. 17,600 บาท

ค. 18,000 บาท

ง. 19,500บาท

ตอบ ขอ ข. จาก 1 ไร เทากับ 400 ตารางวา ทีด่ ิน 7 ไร เทากับ 400 × 7 = 2,800 ตารางวาและ 1 วา เทากับ 2 เมตร ถาดานยาวยาว 140 เมตร จะเทากับ

140 2

= 70 วา

หาความยาวของดานกวาง จากสูตร พื้นทีร่ ปู สี่เหลี่ยมผืนผา = ดานกวาง × ดานยาว แทนคาจะได

2,800 = X × 70 X =

2,800 70

= 40 วา

หาความยาวโดยรอบของที่ดิน จะได = 2 × ( 70 + 40) = 220 วา

ลวดจากลอมรั้วลวดหนาม 2 รอบ จะตองใชลวดหนาม = 220 ×2 = 440 วา


61

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

จาก 1 วา เทากับ 2 เมตร ดังนั้น จะใชลวดหนาม = 440 × 2 = 880 เมตร ลวดหนามราคาเมตรละ 20 บาท เพราะฉะนัน้ ตองจายเงิน = 880 × 20 = 17,600 บาท 42) อเล็กซตองการปลูกตนไมในที่ดินรูปสามเหลี่ยมดานเทา โดยปลูกเรียงกันเปนแถวขนานไปกับฐาน ของที่ดิน แถวแรกปลูก 1 ตน แถวตอไปปลูกเพิ่มขึ้นแถวละ 1 ตน ถาแถวสุดทายปลูกได 60 ตน อยากทราบวาอเล็กซปลูกตนไมไดทั้งหมดกี่ตน ก. 1,600 ตน

ข. 1,830 ตน

ค. 1,720 ตน

ง. 2,100 ตน

ตอบ ขอ ข. ใชสตู รเดียวกันกับการหาผลรวมของเลขที่เรียงกันโดยเริ่มตนจาก 1 𝑛𝑛+1

จากสูตร n(

2

)

โดย n = เลขตัวสุดทาย (ในที่นี้คือ 60) 60+1

แทนคาลงไปจะได = 60 (

) = 30 × 61 = 1,830 ตน

2

43) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรสั ที่มีความยาวของดานเทากับ B มีพื้นที่เทากับ 10 ตารางหนวย จงหาพื้นที่ของ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวเทากับ 3B ก. 30 ตารางหนวย ตอบ ขอ ข.

ข. 90 ตารางหนวย

ค. 120 ตารางหนวย

ง. 180 ตารางหนวย

จากสูตร พื้นทีร่ ูปสี่เหลี่ยมจัตุรสั = ดาน × ดาน

แทนคาจากโจทย

จะได

10 ดังนั้น B

= B × B = B2 = √10

ตองการหาพื้นทีร่ ูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวของดานเปน 3 เทาของ B จะได 3B × 3B = 3√10 ×3√10= 3 × 3 × 10 = 90 ตารางหนวย

44) ถาเพิ่มดานหนึ่งของสี่เหลี่ยมจัตุรัส 5 ฟุต และลดอีกดานหนึ่งลง 5 ฟุต จะมีพื้น 75 ฟุต จงหาพื้นที่เดิมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสนี้ ก. 50 ตารางฟุต

ข. 90 ตารางฟุต

ค. 100 ตารางฟุต

ตอบ ขอ ค. ให X แทนความยาวดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเดิม ดังนั้น (X +5)(X-5) = 75 X2- 25 = 75 X2 = 75+ 25 = 100 จะไดพื้นทีเ่ ดิมของสี่เหลี่ยมจัตุรัส (ดาน ×ดาน) เทากับ 100

ง. 120 ตารางฟุต


62

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

45) จากรูปพื้นที่สวนทีแ่ รเงาเปนเทาไร x

2

x

x

2

y

ก. x +y ตารางหนวย ข.

𝑥𝑥𝑥𝑥 2

ตารางหนวย

ค.

𝑥𝑥−𝑦𝑦 2

ตารางหนวย

ง. x -y ตารางหนวย

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากพื้นที่ที่แรเงาจะเทากับครึ่งหนึ่งของพื้นที่สี่เหลี่ยมทั้งหมด ถาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมทั้งหมด เทากับ x × y ดังนั้น พื้นที่ที่แรเงา จะเทากับ

𝑥𝑥𝑥𝑥 2

ตารางหนวย

46) วงกลมวงหนึ่ง ถามีรัศมีเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา พื้นที่ของวงกลมจะเพิ่มเปนกี่เทา ก. 1 เทา ตอบ ขอ ง. จากสูตร

ข. 2 เทา

ค. 3 เทา

ง. 4 เทา

พื้นที่วงกลม = πr2

สมมติใหวงกลมมีคารัศมีเทากับ 1 จะมีพื้นที่ = π(1)2 = πถาเพิ่มคารัศมีเปน 2 เทา จะไดคา รัศมีเทากับ 2 × 1 = 2 และจะไดพื้นที่ = π(2)2 = 4πดังนั้น พื้นที่ของวงกลมจะเพิ่มขึ้น 4 เทา 47) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรสั มีพื้นที่ 64 ตารางนิ้ว ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมนี้จะเปนเทาใด ก. 32 นิว้

ข. 36 นิว้

ค. 40 นิ้ว

ง. 44 นิ้ว

ตอบ ขอ ก. จากสูตร พื้นทีส่ ี่เหลี่ยมจัตุรัส เทากับ ดาน × ดาน ให X เทากับความยาวของดาน แทนคาจากโจทยลงไป จะได

X2 = 64

ดังนั้น X = 8 นำมาหาความยาวรอบรูป

จะได 8 × 4 = 32

48) สี่เหลี่ยมผืนผาจะกลายเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสทันที ถาเราเปลี่ยนแปลงอะไร ก. เพิ่มหรือลดพื้นที่ใหเทากับจัตุรัส

ข. ตัดดานยาวใหเทากับดานกวาง

ค. ลดพื้นที่ใหนอยลงครึ่งหนึ่ง

ง. เพิ่มหรือลดมุดใหเทากันทุกมุม

ตอบ ขอ ข. สี่เหลี่ยมจัตุรัสตองมีความยาวดานยาวและดานกวางเทากัน เพราะฉะนั้นถาตัดดานยาวของรูป สี่เหลี่ยมผืนผาใหเทากับดานกวาง จะไดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทันที


63

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 𝑨𝑨𝑨𝑨 49) สามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีพื้นที่ 𝟒𝟒 ถาฐานยาว B สามเหลี่ยมนี้จะสูงเทาไร

ก. A

ข. 2A

1

ตอบ ขอ ค. จากสูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = จะได

𝐴𝐴

ค.

𝐴𝐴𝐴𝐴 4

สูง

2

1

=

2

=

𝐴𝐴𝐴𝐴

=

𝐴𝐴

4

2

ง.

× สูง × ฐาน แทนคาจากโจทยลงไป

𝐴𝐴 4

× สูง ×B 1

×

× 𝐵𝐵

2

1

2

50) กำหนดพื้นที่ผิวของปริซึมเปน 528 ตารางเซนติเมตร ฐานของปริซึมเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยาวดานละ 12 เซนติเมตร จงหาความสูงของปริซึม ก. 5 เซนติเมตร

ข. 6 เซนติเมตร

ค. 8 เซนติเมตร

ง. 10 เซนติเมตร

ตอบ ขอ ก. จากโจทยทราบวาฐานของปริซึมเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ดังนั้น หาพื้นที่ฐานของปริซึม = ดาน × ดาน = 12 × 12 = 144 ตารางเซนติเมตร พื้นที่ผวิ ของปริซึม = พื้นที่ผิวขาง + พื้นทีฐ่ านทั้งสอง แทนคา จะได

528

= (4 × 12 × สูง) + (2 × 144)

528

= (48 × สูง) + 288

สูง

=

528−288 48

=

240 48

= 5 เซนติเมตร

51) เสนทแยงมุมของสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนรูปหนึ่งยาว 18 และ 24 ซ.ม. เสนรอบรูปของสี่เหลี่ยม ขนมเปยกปูนรูปนี้จะยาวเทาไร ก. 56 ซ.ม.

ข. 60 ซ.ม.

ค. 72 ซ.ม.

ง. 96 ซ.ม.

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเสนทแยงมุมของสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนจะตั้งฉากกันและแบงครึ่งซึ่งกันและกัน ดังภาพนี้ ดังนั้นสามารถหาความยาวแตละดานของรูปสี่เหลี่ยม โดยใชสูตร ทฤษฏีพีธากอรัส ซึ่งมองในมุมมอง สามเหลี่ยมมุมฉาก


64

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

9

12

9 9

12

12

จากสูตร c2 = a2 + b2

(c คือ ความยาวดานที่ยาวที่สุด สวน a และ b คือความยาวดานที่เหลือ) แทนคา จะได X2 = 92 + 122 X2 = 81 + 144 = 225 X =

= 15

√225

ดังนั้น ความยาวของเสนรอบรูปสี่เหลี่ยม จะเทากับ 15 × 4 = 60 52) ใชลวดผูกที่จุดกึ่งกลางของตนปาลมแลวจึงมาผูกหลักซึ ่งหางจากโคนตน 8 เมตร ถาลวดยาว 17 เมตร อยากทราบวาตนปาลมสูงกี่เมตร ก. 20 เมตร

ข. 24 เมตร

ค. 30 เมตร

ง. 40 เมตร

ตอบ ขอ ค. ลองวาดภาพแลวจะพบวาใชทฤษฎีพธี ากอรัสในการหาคำตอบได จุดกึ่งกลางของตนปาลม C = 17 เมตร

B

A = 8 เมตร

จากสูตร

C2 = A2 + B2 172 = 82 + B2 B2 = 172 - 82 = 289 - 64 = 225 B

= √225 = 15 เมตร

เนื่องจาก B แทนความสูงเพียงครึ่งหนึ่งของตนปาลม ดังนั้น จะหาความสูงของตนปาลมโดยนำคา B ไปคูณดวยสอง จะได = 15 × 2 = 30 เมตร


65

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

53) จากรูปหลายเหลี่ยม MNOPQR จงหาวาสามเทาของผลตางของพื้นที่สวนที่ไมแรเงาและแรเงา เทากับเทาใด

Q

R

(เส้นขีด หมายถึงความยาวด้านดังกล่าวเท่ากัน)

15 M

O

6 N

ก. 12 ตารางหนวย

ข. 15 ตารางหนวย

P

8

ค. 24 ตารางหนวย

ง. 27 ตารางหนวย

ตอบ ขอ ค. เริ่มจากหาพื้นที่ในสวนที่แรเงากอน พื้นที่สามเหลี่ยม MNR =

1

× สูง × ฐาน =

1

× 8 × 6 = 24 ตารางหนวย

พื้นที่สามเหลี่ยม OPQ =

1

× สูง × ฐาน =

1

× 15 × 8 = 60 ตารางหนวย

2

2

2

2

หลังจากนั้น หาพื้นที่ในสวนที่ไมแรเงา ซึ่งเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู NOQR 1

ใชสูตรในการหาพื้นที่คือ แทนคาลงไปจะได =

1 2

2

× ผลบวกของดานคูขนาน × สูง

× (15 +8) × 8 =

1 2

× 23 × 8 = 92 ตารางหนวย

หาผลตางของพื้นที่สว นที่ไมแรเงาและแรเงา จะได = 92 - (24 +60) = 8 ตารางหนวย โจทยตองการทราบคาสามเทาของผลตาง ดั้งนัน้ จะไดเทากับ 3 × 8 = 24 ตารางหนวย 54) พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม ABCD มีกี่ตารางนิว้

D

15 นิว้

8 นิว้ A

C E 6 นิว้ B

ก. 145 ตารางนิว้ ตอบ ขอ ข.

ข. 165 ตารางนิ้ว

ค. 175 ตารางนิว้

ง. 180 ตารางนิ้ว

พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม ABCD = พื้นที่สี่เหลี่ยม ADCE + พื้นที่สามเหลี่ยม ABE 1

= (กวาง × ยาว) + ( 2 × สูง × ฐาน)


66

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

1

= ( 15 × 8) + ( 2 × 15 × 6)

= 120 + 45 = 165 ตารางนิ้ว 55) จากรูป จงหาพื้นที่ของสวนที่แรเงาวามีคาเทากับเทาใด

B

A O 14 cm

D

C

ก. 112 ตารางเซนติเมตร

ข. 124 ตารางเซนติเมตร

ค. 168 ตารางเซนติเมตร

ง. 182 ตารางเซนติเมตร

ตอบ ขอ ค. เริ่มจากหาพื้นที่สวนที่ไมแรเงากอน นั่นคือ พื้นที่ของวงกลม นั้นเอง จากรูป ทราบรัศมีของวงกลมเทากับ 14 cm จะได πr2 =

22

× (14)2

=

22

× 14 × 14 = 616 ตารางเซนติเมตร

7

7

หลังจากนั้น หาพืน้ ที่ของสี่เหลี่ยม จากรูป จะเห็นวา เปนสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มดี านเทากันทั้งสีด่ าน และความยาวแตละดานเปนสองเทาของรัศมีของวงกลม ดังนั้น แตละดานของสี่เหลี่ยมมีความยาว เทากับ 14 × 2 = 28 เซนติเมตร นำมาหาพื้นทีข่ องสี่เหลี่ยม โดยใชสตู ร ดาน × ดาน จะไดพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม เทากับ 28 × 28 = 784 ตารางเซนติเมตร หาพื้นที่สว นที่แรเงา ไดจาก นำพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมลบดวยพื้นที่ของรูปวงกลม จะไดเทากับ 783 – 616 = 168 ตารางเซนติเมตร 56) ถารัศมีวงกลม A และ B ยาวเทากันเทากับ 7 นิ้ว จงหาอัตราสวนของพื้นที่แรเงารูป A และ B

A

B


67

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ก. 3 : 1

ข. 4 : 3

ค. 5 : 2

ง. 2 : 1

ตอบ ขอ ข. จากโจทยทราบรัศมีของวงกลมทัง้ สอง เทากับ 7 นิ้ว ดังนั้น ในรูป A สามารถหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม โดยใชสูตร

1 2

× ผลคูณของเสนทแยงมุม ในที่นี้เสนทแยงมุม

จะเทากับ รัศมีของวงกลม × 2 = 7 × 2 = 14 นิ้ว และในรูป B สามารถหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยม โดยใช สูตร ดาน × ดาน ซึ่งความยาวดานของรูปสี่เหลี่ยม จะเทากับ รัศมีของวงกลม × 2 = 7 × 2 = 14 นิ้ว พื้นที่แรเงารูป A = พื้นทีว่ งกลม – พื้นที่สี่เหลี่ยม 22

1

= ( 7 × 7 × 7) - (2 × 14 × 14) = 154 – 98 = 56 ตารางนิ้ว

พื้นทีแ่ รเงารูป B = พื้นที่สี่เหลี่ยม – พื้นทีว่ งกลม 22

= (14 ×14) - ( 7 × 7 × 7)

= 196 – 154 = 42 ตารางนิว้

ดังนั้น อัตราสวนของพื้นที่แรเงารูป A และ B จะเทากับ 56 : 42 นำ 14 มาหารทั้งสองตัวเลข จะได อัตราสวนเปน 4 : 3 57) ถ า คอร ด สองคอร ด ยาวเท า กั น และแบ ง ครึ ่ ง ซึ ่ ง กั น และกั น แต ล ะคอร ด ยาว x เซนติ เ มตร รัศมีของวงกลมนี้จะยาวเทาไร ก.

𝑥𝑥

ซ.ม. 2

ข. 2x ซ.ม.

ทบทวนสวนตางๆของวงกลม เซกเมนต

เสนรอบวง

เซกเมนต์

ค.

3𝑥𝑥 2

ซ.ม.

ง. X ซ.ม.

ตอบ ขอ ก.คอรดที่ยาวที่สดุ ก็คอื เสนผานศูนยกลาง คอรด จุดศูนยกลาง

คอรดที่ยาวเทากัน และแบงครึ่งซึ่งกันและกัน คือเสนผานศูนยกลางสองเสนนั่นเอง

เสนผานศูนยกลาง รัศมี

เซกเตอร

ถาคอรดยาว x เซนติเมตร 𝑥𝑥

ดังนั้น รัศมียาว เทากับ 2


68

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

58) เวลา 13.30 น. เข็มสั้นกับเข็มยาวทำมุมกีอ่ งศา ก. 120

ข. 125

ค. 130

ง. 135

ตอบ ขอ ง. จาก เวลา 13.30 น. แสดงไดดังภาพ

12

12

9

ระหวางเลข 3 และเลข 6 ทำมุม 90 องศา

3 6

และเข็มสั้นชี้อยูกึ่งกลางระหวางเลข 12 และเลข 3

6 ดังนั้น ระหวางเข็มสั้นกับเลข 3 จะทำมุมครึ่งหนึ่งของมุมฉาก ซึ่งเทากับ 45 องศาแสดงวา เวลา 13.30 น. เข็มสั้นและเข็มยาวจะทำมุม เทากับ 90 + 45 = 135 องศา 59) จงหาปริมาตรของกรวยทีม่ ีความสูงเทากับ 10 เซนติเมตร และความสูงเอียงเทากับ 26 เซนติเมตร ก. 576𝜋𝜋 ลูกบาศกเซนติเมตร

ข. 960𝜋𝜋 ลูกบาศกเซนติเมตร

ค. 1,152𝜋𝜋 ลูกบาศกเซนติเมตร

ตอบ ขอ ง. กำหนดให h คือ ความ สูง, l คือ ความสูงเอียง และ r คือ รัศมีของวงกลมที่เปนฐานของกรวย

l

ง. 1,920𝜋𝜋 ลูกบาศกเซนติเมตร

หาคา r โดยใชทฤษฏีพิธากอรัสมาชวย จะได แทนคาลงไป

h

หา ของกรวย จากสูตร

r

l2 = h2 + r2 262 = 102 + r2 r2

=

262 - 102

r2

=

676 - 100

r2

=

576

ปริมาตร 1 3

𝜋𝜋𝑟𝑟 2 ℎ

แทนคาลงไป จะได =

1 3

𝜋𝜋 × 576 × 10 = 1,920𝜋𝜋 ลูกบาศกเซนติเมตร


69

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

60) กลองพลาสติกทรงสี่เหลี่ยมใบหนึ่ง กวาง 18 เซนติเมตร ยาว 20 เซนติเมตร สูง 15 เซนติเมตร ถาเทน้ำใสลงไป ก. 2,160 ลบ.ซม.

𝟑𝟑 𝟓𝟓

ของกลอง จงหาปริมาตรของน้ำในกลอง ข. 2,440 ลบ.ซม.

ค. 2,560 ลบ.ซม.

ง. 3,240 ลบ.ซม.

ตอบ ขอ ง. ปริมาตรของกลอง = กวาง × ยาว × สูง = 18 × 20 × 15 3

3

ถาเทน้ำใสลงไป ของกลอง ดังนั้นปริมาตรของน้ำในกลอง = 5

5

× 18× 20 ×15

= 3,240 ลูกบาศกเซนติเมตร

61) นำลูกเตาที่มีขนาดกวางดานละ 1 เมตร มาทำลูกเตาขนาดกวางดานละ 5 เซนติเมตร จะไดกี่ลูก ก. 8,000 ตอบ ขอ ก.

ข. 8,500

ค. 9,000

ง. 9,500

หาปริมาตรของลูกเตา = กวาง × ยาว × สูง

ปริมาตรของลูกเตาที่มี = 100 × 100 ×100

(1 เมตร = 100 เซนติเมตร)

ปริมาตรลูกเตาที่ตองการ = 5 × 5× 5 นำปริมาตรทั้งสองมาหารกัน เพื่อหาจำนวนลูกเตาที่จะทำได =

100 × 100 ×100 5 × 5× 5

= 8,000 ลูก

62) ที่ดินรูปสามเหลี่ยม มีอัตราสวนความยาวแตละดานดังนี้ 3 : 7: 5 ถาความยาวของที่ดนิ ดานที่ยาว ที่สุด คือ 63 วา ดานที่สั้นที่สุดจะมีคาเทาไร ก. 18 วา

ข. 21 วา

ค. 27 วา

ง. 35 วา

ตอบ ขอ ค. จากอัตราสวนความยาวของดาน 3 : 7 : 5 คาที่มากทีส่ ุด คือ 7 จากโจทยทราบความยาวของดานที่ยาวที่สุด เทากับ 63 วา นำ 63 ไปหารดวย 7 จะไดเทากับ 9 นำ 9 ไปคูณในอัตราสวน จะได

คูณดวย 9 จะได

ความยาวดานที่ 1 : ความยาวดานที่ 2 : ความยาวดานที่ 3 3

:

7

:

5

27

:

63

:

45

ดังนั้น ดานที่สั้นที่สดุ ยาวเทากับ 27 วา


70

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

63) เลขสองจำนวนเปนอัตราสวนตอกัน 5: 3 และมีผลตางเทากับ 40 จงหาเลขจำนวนนอย ก. 60

ข. 80

ค. 120

ง. 180

ตอบ ขอ ก. ให 5X แทนเลขจำนวนมาก 3X แทนเลขจำนวนนอย จากโจทยจะได

5X - 3X = 40 2X = 40 X = 20

ดังนั้น เลขจำนวนนอย เทากับ 3X = 3 × 20 = 60 64) ผาหม 1 ผืน แลกผาเช็ดตัวได 3 ผืน ผาเช็ดตัว 12 ผืน แลกผาเช็ดหนาได 44 ผืน ตองใชผาเช็ดหนา กี่ผืนจึงจะแลกผาหมได 1 ผืน ก. 10 ผืน

ข. 11 ผืน

ค. 12 ผืน

ง. 14 ผืน

ตอบ ขอ ข. จากโจทย นำมาเขียนแยกเปนอัตราสวน ไดดังนี้ ผาหม : 1

:

ผาเช็ดตัว : ผาเช็ดหนา 3 12

:

44

จะเห็นวาตางกัน 4 เทา นำ 4 ไปหาร ดังนั้น ถาจะแลกผาหม 1 ผืน ตองใชผา เช็ดหนา =

44 4

= 11 ผืน

65) ใชแปงและไขไก ในอัตราสวน 5 : 3 จะไดแปงในการทำขนมปง 1 ถัง หากตองการแปงสำหรับ ทำขนมปง 32 ถัง จะตองใชแปงและไขไกอยางละเทาไร ตามลำดับ ก. 10 , 6 ตอบ ขอ ง.

ข. 15 , 9

ค. 9 , 15

อัตราสวน แปงและไขไก เทากับ 5 : 3

เมื่อนำมาผสมกันจะไดแปงใชในการทำขนมปง เทากับ 5 + 3 = 8 สวน อัตราสวนของแปงตอแปงที่ใหทำขนมปงทั้งหมด เทากับ 5 ตอ 8 กำหนดให ใชแปง X สวน ในการทำแปงที่ใชทำขนมปง 32 ถัง

ง. 20 , 12


71

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 5 𝑋𝑋 เขียนเปนสมการ จะได 8 = 32

32 × 5

=

X

=

8X

32 ×5

= 20

8

ถาใชแปง 5 สวน ใชไขไก 3 สวน ถาใชแปง 20 สวน ใชไขไก =

20 ×3

= 12 สวน

5

66) คุณนายสมรแบงเงินใหนุช ชัย และเดช ในอัตราสวน 2 : 3 : 5 ตามลำดับ ถาเงินทั้งหมดเทากับ 85,000 บาท ชัยจะไดรับเงินไปเทาใด ก. 25,500 บาท

ข. 30,000 บาท

ค. 35,500 บาท

ง. 40,500 บาท

ตอบ ขอ ก. ให x แทนคาคงที่ ที่เมื่อนำไปคูณกับอัตราสวนแลวจะไดจำนวนเงินที่แตละคนไดรบั ดังนั้น นุช จะไดรับเงิน 2x บาท ชัย จะไดรับเงิน 3x บาท และเดช จะไดรับเงิน 5x บาท จากโจทยทราบวา เงินที่จะนำมาแบงกันทัง้ หมดเทากับ 85,000 บาท นำมาเขียนเปนสมการจะได

2x + 3x + 5x = 85,000 10x = 85,000 x = 8,500

เพราะฉะนั้น ชัยจะไดรับเงินไป 3x = 8,500 × 3 = 25,500 บาท 67) เลขจำนวนหนึ่งเดิมมีคา 90 เมื่อลดลงแลว 40% แลวกลับเพิ่มใหม 50% เลขจำนวนสุดทาย เปนเทาไร ก. 81 ตอบ ขอ ก.

ข. 82

ค. 84

ง. 85

ถาคาเดิม 100 ลดลงแลวจะเหลือ 100 – 40 = 60 ถาคาเดิม 90

ลดลงแลวจะเหลือ =

90×60 100

= 54

ถาคาเดิม 100 เพิ่มขึ้นแลวจะได 150 ถาคาเดิม

54 เพิ่มขึ้นแลวจะได =

150×54 100

= 81


72

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

68) จงหาอายุปจจุบันของคุณลุงปอม เมื่ออายุของลุงปอมตออายุของนองมะลิในปจจุบันเปน 3 : 2 และ เมื่อ 12 ปที่แลว อัตราสวนของอายุของมะลิตออายุของลุงปอมเปน 2 : 5 ก. 56 ป

ข. 63 ป

ค. 65 ป

ง. 72 ป

ตอบ ขอ ค. ปจจุบันอายุลุงปอม : อายุมะลิ = 3x : 2x เมื่อ 12 ปที่แลว อายุมะลิ : อายุลุงปอม = 2 : 5 ดังนั้น อายุลุงปอม : อายุมะล

=5 : 2

ดังนั้น เอาอายุปจจุบันลบดวย 12 จะได 3x – 12 : 2x - 12 = 5 : 2 นำมาเขียนในรูปเศษสวน เพื่อหาคำตอบ จะได ยายขางของสมการ จะได

3𝑥𝑥−12

=

2𝑥𝑥−12

5 2

(3x – 12) × 2 = (2x -12) × 5 6x - 24

= 10x – 60

10x – 6x

= 60 – 24

4x = 36 x = 9 เพราะฉะนั้น ปจจุบัน ลุงปอมอายุ 7x = 9 × 7 = 63 ป 69) โชวรูมแหงหนึ่งมียอดขายรถกระบะตอรถเกงในอัตราสวน 5 : 11 ถาเดือนนี้ขายรถเกงได 99 คัน จะขายรถกระบะไดกี่คัน ก. 32 คัน

ข. 35 คัน

ค. 45 คัน

ง. 55 คัน

ตอบ ขอ ค. จากโจทย ยอดขายรถกระบะตอรถเกงในอัตราสวน 5 : 11 ให x แทนยอดขายของรถกระบะ ถาขายเกงได 99 นำมาเขียนในรูปเศษสวน เพื่อหาคำตอบ จะได ยายขางของสมการ จะได

5

11

=

𝑥𝑥

99

99 × 5 = 11x x

=

99 ×5 11

= 45 คัน


73

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

70) สมหวังกับสมใจหุนกันเปดรานขายของออนไลน สมหวังลงทุน 8,000 บาท สมใจลงทุน 6 สวน เมื่อแบงกำไรกัน ปรากฎวาสมหวังได 3,200 บาท และสมใจได 4,800 บาท อยากทราบวา สมหวัง ลงทุนกี่สวน ก. 2 สวน

ข. 4 สวน

ค. 8 สวน

ง. 10 สวน

ตอบ ขอ ข. แนวคิด คือ ถาลงทุนไปเทาไร ก็จะตองไดกำไรเปนสวนเทากันกับตอนที่ลงทุน สมใจไดกำไร 4,800 บาท ซึ่งเปน 6 สวน 3,200 ×6

สมหวังไดกำไร 3,200 บาท จะคิดเปน

4,800

= 4 สวน

71) โรงเรี ย นบ า นบุ ญทุ  ม มี นั ก เรี ย นหญิ ง เป น 3 เท า ของนั ก เรี ย นชาย นั ก เรี ย นหญิ ง สอบได 80% นักเรียนชายสอบได 60% อยากทราบวานักเรียนทั้งหมดสอบไดกี่เปอรเซ็นต ก. 50%

ข. 60%

ค. 70%

ง. 75%

ตอบ ขอ ง. ให X แทนจำนวนนักเรียนชาย จำนวนนักเรียนหญิงเทากับ 3X 80

นักเรียนหญิงสอบได 80% =

12𝑋𝑋

× 3X = 100 60

นักเรียนชายสอบได 60% =

100

×X

5 3𝑋𝑋

=

5

3𝑋𝑋

=

ดังนั้น คำนวณเปอรเซ็นตของนักเรียนที่สอบได เทากับ

3𝑋𝑋

นักเรียนหญิงและชายที่สอบไดรวมเปน =

12𝑋𝑋 5

+

นักเรียนในโรงเรียน มีทั้งหมด = X + 3X = 4X

5

72) 20% ของ 40 เปน 4% ของจำนวนอะไร ก. 100 ตอบ ขอ ข.

ข. 200

4𝑋𝑋

15𝑋𝑋 5

× 100= 75%

ค. 300

เริ่มจากหาคา 20% ของ 40 จะได

20

100

× 40 = 8

ให X แทนจำนวนทีโ่ จทยตองการ ซึ่งมี 8 เปน 4% ของเลขจำนวนนั้น จะได

4

100

×X = 8 X = 8 ×

= 3X

100 4

= 200

ง.400


74

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

73) ดาวิกาไดรับเงินเดือน 16,000 บาท อารยาไดรับเงินเดือน 24,000 บาท อารยาไดรับเงินเดือนสูง กวาดาวิการอยละเทาไร ก. 30

ข. 40

ค. 50

ง. 60

ตอบ ขอ ข. แนวคิด โจทยถามวา อารยาไดรบั เงินเดือนสูงกวาดาวิกาเทาไร ใหเอาผลตางมาเทียบรอยละ กับเงินเดือนของดาวิกา อารยาไดเงินเดือนมากกวาดาวิกา = 24,000 – 16,000 = 8,000 บาท คิดเปนรอยละ จะได

8,000

16,000

× 100 = 50

74) ทีมฟุตบอลสโมสรไทยทีมหนึ่งแขงขันชนะ 60 ครั้ง ในจำนวนแขงขัน 75 ครั้ง หากยังเหลือการ แขงขันอีก 20 ครั้ง ทีมนี้จะตองชนะอีกกี่ครั้งจึงจะชนะ 80% ของการแขงขันทั้งหมด ก. 10

ข. 12

ค. 14

ง. 16

ตอบ ขอ ง. จากโจทย ทราบจำนวนการแขงขันทั้งหมด = 75 + 20 = 95 ครั้ง ให x แทนจำนวนครั้งที่ตองชนะ ถาหากจะชนะ 80% ของการแขงขันทั้งหมด แทนคาเหมือนหาเปอรเซ็นต โดยทราบเปอรเซ็นตที่ตอ งการแลว 𝑥𝑥

จะได ยายขางของสมการเปน

95

× 100 x

= 80 =

80 ×95

= 76 ครั้ง

100

ดังนั้น ตองชนะทั้งหมด 76 ครั้ง ซึ่งตอนนี้ชนะไปแลว 60 ครั้ง ทีมตองแขงชนะอีก เทากับ 76 – 60 = 16 ครั้ง 75) นักเรียนอนุบาลหองหนึ่งมีนักเรียนหญิงเปน 3 เทาของนักเรียนชาย นักเรียนหญิงเปนโรคติดเชื้อ ทางเดินหายใจ (RSV) 18% และนักเรียนชายเปนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (RSV) 22% จงหาวามี นักเรียนทั้งหมดที่เปนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (RSV) กี่เปอรเซ็นต ก. 11%

ข. 15%

ค. 19%

ง. 25%

ตอบ ขอ ค. สมมุติให มีนักเรียนชาย 100 คน ดังนั้น นักเรียนหญิงจะมี 3 × 100 = 300 คน และจะมีนักเรียนทั้งหมด = 100 + 300 = 400 คน นักเรียนหญิงเปนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (RSV) 18%

=

18

100

× 300 = 54 คน


75

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

นักเรียนชายเปนโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ (RSV) 22%

=

แสดงวามีนักเรียนที่เปนโรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจ (RSV) 22% = นำมาหาเปอรเซ็นตเมือ่ เทียบกับนักเรียนทั้งหมด

จะได

22

100

× 100 = 22 คน

54 + 22 = 76 คน

76

=

400

× 100 = 19%

76) นายศิริชัยไดรับเงินเดือนเดือนละ 11,500 บาท เพราะถูกหักเขากองทุกประกันสังคม ถาอัตรา เงินเดือนของนายศิริชัยคือ 12,000 บาท คาประกันสังคมคิดเปนกี่เปอรเซ็นต ก. 1.55%

ข. 2.75%

ค. 4.17%

ง. 5.21%

ตอบ ขอ ค. จากโจทยทราบเงินเดือนของศิริชัยเทากับ 12,000 บาท แตไดรับจริง 11,500 บาท แสดงวา ถูกหักเปนเงินประกันสังคม = 12,000 – 11,500 = 500 บาท หาเปอรเซ็นตคาประกันสังคมเมื่อเทียบเงินเดือน จะได =

500

12,000

× 100

= 4.17 %

77) รานเบเกอรี่ฝรั่งเศสชื่อดังแหงหนึ่ง ขายครัวซองราคาชิ้นละ 55 บาท ไดกำไร 40% ถารานตองการ กำไรจากครัวซอง 1,100 บาท รานเบเกอรี่แหงนี้จะตองขายครัวซองทั้งหมดกี่ชิ้น ก. 35 ชิ้น

ข. 50 ชิ้น

ค. 55 ชิ้น

ตอบ ขอ ข. ครัวซองชิ้นละ 55 บาท ไดกำไร 40% = ตองการกำไรจากครัวซอง 1,100 บาท ดังนั้น ตองขายครัวซองใหได =

1,100 22

40

100

ง. 60 ชิ้น

× 55 = 22 บาท

= 50 ชิ้น

78) ในป 2563 เศรษฐกิจซบเซา หางสรรพสินคาชื่อดังแหงหนึ่งปรับลดราคาสินคาลง 30% ถาในป ตอไปหางสรรพสินคาดังกลาวตองการปรับราคาสินคาใหมีราคาเทาเดิม จะตองปรับราคาสินคา เพิ่มขึ้นประมาณกี่เปอรเซ็นต ก. 23%

ข. 25%

ค. 30%

ง. 43%

ตอบ ขอ ง. สมมุตใหเริ่มตนสินคามีราคา 100 บาท 30

ปรับลดราคาลง 30% แสดงวา สินคาจะเหลือราคา = 100 – ( 100 × 100) = 70 บาท ถาปตอไปตองการเพิ่มราคาสินคากลับเปน 100 บาท แสดงวาตองเพิ่มอีก 30 บาท


76

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

คิดเปอรเซ็นตที่เพิ่มขึ้น โดยเทียบกับราคาสินคาที่ปรับลดแลว คือ 70 บาท จะได =

30 70

× 100 = 42.86% หรือประมาณ 43%

79) ชะเอมไดเงินเดือน 8,000 บาท ชาตรีไดเงินเดือน 11,200 บาท ชาตรีไดเงินเดือนสูงกวาชะเอม รอยละเทาไร ก. 20

ข. 30

ค. 40

ง. 60

ตอบ ขอ ค. หาสวนตางของเงินเดือนของชาตรีและชะเอม จะได 11,200 – 8,000 = 3,200 นำมาคิดเปนรอยละ จะได

3,200

8,000

× 100 = 40

80) ขายของไปไดกำไร X% ถาขายไปเปนเงิน Y บาท จงหาตนทุนของการขายนี้ ก.

𝑋𝑋+𝑌𝑌

100+ 𝑋𝑋

บาท

ข.

100𝑋𝑋

บาท 100+𝑌𝑌

ค.

100+ 𝑋𝑋 𝑋𝑋+𝑌𝑌

บาท

ง.

100𝑌𝑌

100+𝑋𝑋

บาท

ตอบ ขอ ง. จากโจทย ขายของไปไดกำไร X% หมายถึง ตนทุน 100 บาท ขายไป 100 + X บาท นำไปเทียบบัญญัติไตรยางค จะได ขายไป 100 + X บาท โดยมีตนทุน 100 บาท ถาขายไป

Y

บาท

จะมีตน ทุน =

100𝑌𝑌

100+𝑋𝑋

81) ขายสินคาชิ้นหนึ่งในราคา 450 บาท ซึ่งถาขายในราคานี้จะไดกำไร 50% แตถาขาย 360 บาท จะไดกำไรหรือขาดทุนรอยละเทาไร ก. รอยละ 20

ข. รอยละ 30

ค. รอยละ40

ง. รอยละ 50

ตอบ ขอ ก. ถาขายสินคา 150 บาท ราคาทุนจะเทากับ 100 บาท ถาขายสินคา 450 บาท ราคาทุนจะเทากับ =

(450 ×100) 150

= 300 บาท

ถาขายสินคานี้ในราคา 360 บาท แสดงวา ไดกำไร = 360 -300 = 60 บาท ซึ่งคำนวณกำไรเปนรอยละ จะได =

60

× 100 = 20

300


77

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

82) ขาวฟางซื้อถุงกระดาษมา 32 โหล ราคาใบละ 12.50 บาท นำไปขายตอใบละ 20 บาท ถาขาวฟาง ขายถุงกระดาษไดหมด จะไดกำไรเปนเงินกี่บาท ก. 1,980 บาท

ข. 2,880 บาท

ค. 3,200 บาท

ง. 3,520 บาท

ตอบ ขอ ข. เนือ่ งจาก 1 โหล เทากับ 12 ใบ ดังนั้น ซื้อถุงกระดาษมาเปนเงิน = 32 × 12 × 12.50 = 4,800 บาท นำไปขายไดเงินทั้งหมด = 32 × 12 × 20

= 7,680 บาท

จะไดกำไร = 7,680 – 4,800 = 2,880 บาท 83) ลูกเกดเปนแมคาขายมะมวง ถาลูกเกดซื้อมะมวงมา 50 กิโลกรัม เปนเงิน 700 บาท เปนมะมวง พันธุเขียวเสวย 18 กิโลกรัม ขายไปกิโลกรัมละ 20 บาท ที่เหลือเปนมะมวงพันธุน้ำดอกไม ขายไปใน ราคากิโลกรัมละ 15 บาท ลูกเกดจะไดกำไรหรือขาดทุนกี่เปอรเซ็นต ก. ขาดทุน 10%

ข. ขาดทุน 20%

ค. กำไร 10%

ง. กำไร 20%

ตอบ ขอ ง. จากโจทยทราบเงินตนที่ใชซื้อมะมวง เทากับ 700 บาท ซื้อมะมวง 50 กิโลกรัม เปนพันธุเขียวเสวย 18 กิโลกรัม ดังนั้นเปนพันธุน้ำดอกไม = 50 – 18 = 32 กิโลกรัม ขายมะมวงได = (18 × 20) + (32 × 15) = 360 + 480 = 840 บาท ดังนั้น ขายไดมากกวาตนทุน แสดงวาไดกำไร = 840 – 700 = 140 บาท คิดเปนเปอรเซ็นต จะได

140 700

× 100 = 20%

84) สารละลายชนิ ดหนึ่ ง ปริ ม าณ 20 ลิ ต ร มี แอลกอฮอล 55% ส ว นที ่ เหลื อ เป นน้ำ ถ า ต อ งการให สารละลายนี้มีแอลกอฮอล 25% ตองเติมน้ำลงไปอีกกี่ลิตร ก. 20 ลิตร ตอบ ขอ ข.

ข. 24 ลิตร

ค. 28 ลิตร

การหาปริมาณของสารผสมไดจากสูตร C1V1 = C2V2 C1 คือ ความเขมขนเริ่มตน

V1 คือ ปริมาณเริ่มตน

C2 คือ ความเขนขนหลังผสม

V2 คือ ปริมาณหลังผสม

แทนคา จะได 55% × 20 ลิตร = 25% × V2

ง. 30 ลิตร


78

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

V2 =

55 ×20 25

= 44 ลิตร

หาปริมาณน้ำที่ตอ งเติม โดยไปลบกับปริมาณที่มีอยู จะได = 44 – 20 = 24 ลิตร 85) สารละลายสองชนิด ชนิดแรกมีน้ำ 20% ชนิดที่สองมีน้ำ 50% นำสารละลายทั้งสองมาผสมกันเปน สารละลายใหมมีปริมาณ 100 มิลลิลติ ร และมีน้ำผสมอยู 44% อยากทราบวาตองใชสารละลายชนิด ที่สองปริมาณเทาใด ก. 65 ลิตร

ข. 70 ลิตร

ค. 80 ลิตร

ง. 85 ลิตร

ตอบ ขอ ค. ให x แทนปริมาณของสารละลายชนิดแรก และ y แทนปริมาณของสารละลายชนิดที่สอง จากโจทยทราบวา เมื่อนำสารละลายมาผสมกันจะไดปริมาณเทากับ 100 มิลลิลิตร เขียนเปนสมการ จะได

x + y = 100

(1)

การหาปริมาณของสารผสมจากสารละลายหลายตัว ไดจากสูตร C1V1 + C2V2 + … = CรวมVรวม C คือความเขมขน (ในโจทยขอนี้คือเปอรเซ็นตของน้ำ) V คือปริมาณของสารละลาย เขียนเปนสมการ จะได

20x + 50y = 44 × 100

นำ 5 ไปหารทั้งสองขาง จะได

4x + 10y =

44 ×100 5

4x + 10y = 880

(2)

x + y = 100

(1)

นำสมการ (1) มาเปรียบเทียบกับ (2)

พยายามทำใหคา x หรือ y ของทั้งสองสมการเทากัน เพื่อใหนำสองสมการมาลบกันได นำ 4 ไปคูณทั้งสองขางในสมการ (1) จะได 4x + 4y = 400

(3)

นำสมการ (2) – (3) จะได (4x + 10y) – (4x + 4y) = 880 – 400 4x + 10y – 4x -4y

= 480

6y

= 480

y

= 80 มิลลิลติ ร

86) น้ำเกลือ 1,000 ซีซี มีความเขมขน 7% จะตองเติมน้ำกี่ซีซีจึงจะทำใหน้ำเกลือมีความเขมขนลดลง เหลือ 4% ก. 750 ซีซี

ข. 800 ซีซี

ค. 850 ซีซี

ง. 900 ซีซี


79

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ก.

การหาปริมาณของสารผสมไดจากสูตร C1V1 = C2V2 C1 คือ ความเขมขนเริ่มตน

V1 คือ ปริมาณเริ่มตน

C2 คือ ความเขนขนหลังผสม

V2 คือ ปริมาณหลังผสม

แทนคา จะได

1,000 × 7 = 4 × V2 V2 =

1,000 ×7 4

= 1,750 ซีซี

ดังนั้น จะตองเติมน้ำเขาไปอีก = 1,750 – 1,000 = 750 ซีซี ถึงจะไดสารผสมที่มีความเขมขน 4% 87) เหลาผสมปริมาณ 15 ลิตร มีเหลาแท 40% ที่เหลือเปนน้ำ ถาเติมน้ำลงไป 9 ลิตร เหลาที่ผสมใหม จะมีเหลาแทอยูกี่เปอรเซ็นต ก. 20% ตอบ ขอ ข.

ข. 25%

ค. 30%

ง. 35%

การหาปริมาณของสารผสมไดจากสูตร C1V1 = C2V2 C1 คือ ความเขมขนเริ่มตน

V1 คือ ปริมาณเริ่มตน

C2 คือ ความเขนขนหลังผสม

V2 คือ ปริมาณหลังผสม

แทนคา จะได

15 × 40 = C2 × (15 + 9) C2 =

15 ×40 24

= 25 %

88) รถไฟสองขบวนแลนไปทางเดียวกันจะผานพนกันชาหรือเร็วขึ้นอยูกับอะไรมากที่สุด ก) อัตราความเร็วของทั้งสองขบวน ข) ความยาวของทั้งสองขบวน ค) ความแตกตางของอัตราความเร็วของทั้งสองขบวน ง.) ความแตกตองของความยาวของทั้งสอบขบวน ตอบ ขอ ค. ถารถไฟทั้งสองขบวนแลนไปในทางเดียวกัน จะพนผานกันชาหรือเร็ว ขึ้นอยูกับความแตกตาง ของอัตราความเร็วของเร็วไฟทั้งสองขบวน ถาทั้งสองขบวนวิ่งดวยอัตราเร็วที่ตางกันมาก ตองใชเวลานานกวา จะตามทันกัน


80

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

89) ใบเฟรนเดินทางชวงแรกโดยรถดวยความเร็ว 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง ชวงที่สองเดินทางโดยเรือดวย ความเร็ว 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง ถาใบเฟรนเดินทางเปนระยะทางทั้งหมด 420 กิโลเมตร ใชเวลา ทั้งหมด 6 ชั่วโมง อยากทราบวาผลตางระยะทางของใบเฟรนที่เดินทางโดยรถและเรือเปนเทาใด ก. 40 กิโลเมตร

ข. 50 กิโลเมตร

ค. 60 กิโลเมตร

ง. 70 กิโลเมตร

ตอบ ขอ ค. ให x แทนระยะทางที่ใบเฟรนเดินทางโดยรถ ดังนั้น ระยะทางที่เดินทางโดยเรือ จะเทากับ 420 – x กิโลเมตร จากสูตร

ระยะทาง

เวลา =

ความเร็ว 𝑥𝑥

เวลาที่ใชเดินทางโดยรถ =

90

420−𝑥𝑥

เวลาที่ใชเดินทางโดยเรือ =

60

จากโจทยทราบวา ใบเฟรนใชเวลาในการเดินทางทั้งหมด 6 ชัว่ โมง เขียนเปนสมการ จะได

𝑥𝑥

90

+

420−𝑥𝑥 60

= 6

หา ค.ร.น ของตัวสวน 90 และ 60 จะได 180 นำ 180 ไปคูณทั้งสองขางของสมการ 𝑥𝑥

[ 420−𝑥𝑥 ) × 180] = 60

( 90 × 180) + (

2x + (420 × 3) – 3x

6 × 180

= 1,080

2x + 1,260 -3x = 1,080 x

= 1,260 – 1,080

x

= 180 กิโลเมตร

แสดงวา ใบเฟรนเดินทางโดยรถ 180 กิโลเมตร และเดินทางโดยเรือ = 420 – 180 = 240 กิโลเมตร ซึ่งผลตางระหวางเดินทางดวยรถและเรือ เทากับ 240 – 180 = 60 กิโลเมตร 90) เรื อ ลำหนึ ่ ง แล น ไปในทะเลด ว ยความเร็ ว 30 กิ โ ลเมตร/ชั ่ ว โมง และแล น กลั บ ด ว ยความเร็ ว 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง จงหาความเร็วเฉลี่ยในการเดินทางครั้งนี้ ก. 37.5 กม./ชม.

ข. 40 กม./ชม.

ค. 40.5 กม./ชม.

ตอบ ขอ ก. ให A แทนความเร็วขาไป และ B แทนความเร็วขากลับ

ง. 42.5 กม./ชม.


81

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 2𝐴𝐴𝐴𝐴 จากสูตร ความเร็วเฉลี่ย = 𝐴𝐴+𝐵𝐵

หมายเหตุ : สามารถใชสตู รนี้ ในกรณีที่ความเร็วที่นำมาเปรียบเทียบกันนั้นมีระยะทางเทากัน แทนคา จะได ความเร็วเฉลี่ย

2×30×50

=

=

30+50

3,000 80

= 37.5 กม./ชม.

91) เปรี้ยวและหวานอยู ห างกั น 900 กม. ทั้งสองขับรถสวนกั นดว ยความเร็ว 80 และ100 กม./ชม. ตามลำดับ อยากทราบวาเขาทั้งสองจะตองใชเวลาเทาไรถึงจะพบกัน ก. 4 ชัว่ โมง ตอบ ขอ ข.

ข. 5 ชัว่ โมง จากสูตร

ความเร็ว =

ในกรณีสวนกัน ใหเอาความเร็วมาบวกกัน จะได

ค. 6 ชัว่ โมง

ระยะทาง เวลา

เวลา =

ง. 7 ชั่วโมง

แตเราตองการหาเวลาที่จะพบกัน

ระยะทาง ความเร็ว

แทนคาจากโจทย จะไดเวลาที่พบกัน =

900

80+100

=

900

180

= 5 ชัว่ โมง

92) เปกกับนุช บานอยูหางกัน 9 กิโลเมตร เขาทั้งสองเดินทางไปเซ็นทรัลในทิศทางและเวลาเดียวกัน ดวยความเร็ว 3 และ 6 กิโลเมตรตอชั่วโมง ตามลำดับ อยากทราบวา เปกกับนุชจะใชเวลานาน เทาไรถึงจะเดินไปทันกัน ก. 3 ชัว่ โมง ตอบ ขอ ก.

จากสูตร

ข. 4 ชั่วโมง ความเร็ว =

ระยะทาง เวลา

ค. 5 ชัว่ โมง

ง. 6 ชั่วโมง

แตเราตองการหาเวลาที่จะพบกัน

ในกรณีเดินทางไปในทิศทางเดียวกัน ใหเอาความเร็วมาลบกัน จะได

เวลา =

ระยะทาง ความเร็ว

แทนคาจากโจทย จะไดเวลาที่พบกัน =

9

6−3

=

9

3

= 3 ชัว่ โมง

93) ปอมแปมวิ่งแขงขัน 200 เมตร ใชระยะเวลาทั้งสิ้น 25.50 วินาที ปอมแปมวิ่งดวยความเร็วเทาไร ก. 25.20 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ข. 26.65 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ค. 28.24 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ง. 29.62 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ตอบ ขอ ค. เริ่มจากเปลี่ยนหนวยใหตรงกับที่โจทยตองการ ในที่นี้ตองการหนวยเปนกิโลเมตร


82

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 200 ดังนั้น 200 เมตร เทากับ 1000 กิโลเมตร (1,000 เมตร

เทากับ 1 กิโลเมตร)

ในทีนตี้ องการหนวยเปนชั่วโมง ดังนั้น 25.50 วินาที =

25.50

ชั่วโมง ( 60 วินาที เทากับ 1 นาที และ 60 นาที เทากับ 1 ชั่วโมง)

60 ×60

จากสูตร

แทนคาลงไป จะได

ระยะทาง

ความเร็ว =

เวลา 200

ความเร็ว =

1000

200

=

1000

25.50

÷ ×

60 ×60

60 ×60 25.50

= 28.24 กิโลเมตร/ชั่วโมง 94) รถวิ่งจากกรุงเทพไปหัวหิน ในอัตราเร็ว 120 กิโลเมตรตอชั่วโมง จะถึงเร็วกวา 100 กิโลเมตร ตอชั่วโมง เปนเวลา 20 นาที จงหาวาระยะทางจากกรุงเทพถึงหัวหินยาวเทาไร ก. 170 กิโลเมตร

ข. 175 กิโลเมตร

ค. 180 กิโลเมตร

ง. 200 กิโลเมตร

ตอบ ขอ ง. จากอัตราเร็ว 120 กิโลเมตรตอชั่วโมง รถวิ่ง 120 กิโลเมตร ใชเวลา 60 นาที ถารถวิ่ง

1 กิโลเมตร ใชเวลา =

60

120

=

1

นาที

=

3

นาที

2

จากอัตราเร็ว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง รถวิ่ง 100 กิโลเมตร ใชเวลา 60 นาที ถารถวิ่ง

1 กิโลเมตร ใชเวลา =

ดังนั้น เวลาตางกัน ถาเวลาตางกัน

=

3 5

-

1 2

=

60

100

6−5 10

=

1

5

10

นาที ไดระยะทาง 1 กิโลเมต

1

20 นาที จะไดระยะทาง = 20 ÷ 10 = 20 × 10 = 200 กิโลเมตร

95) เอาอะไรไปคูณกับจำนวนเต็ม ผลลัพธจะนอยลงกวาเดิม ก. เศษสวนแท

ข. เศษสวนเกิน

ค. เศษสวนเต็ม

ง. เศษสวนจำนวนคละ


83

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ก. เนื่องจากเศษสวนแท หมายถึง เศษสวนที่มีตัวเศษนอยกวาตัวสวน เชน จำนวนเต็ม จะไดผลลัพธที่นอยลงเสมอ หมายเหตุ เศษสวนเกิน ตัวสวนจะมากกวาเศษ เชน

3 2

1 2

เศษสวนจำนวนคละ เชน 3

96) เลขในขอใดเมื่อถอดกรณ (รากที่สอง) แลวจะไดผลลัพธมากกวาเดิม ก. เลขจำนวนเต็มบวก

ข. เลขทศนิยม

ค. เลขคี่

ซึ่งเมื่อนำไปคูณกับ 1 6

ง. เลขคี่

ตอบ ขอ ข. รากที่สองของเลขทศนิยม จะไดผลลัพธที่มากขึ้นเสมอ เชน เลขทศนิยมสองตำแหนง ถอดกรณแลวจะไดเลขทศนิยมหนึ่งตำแหนง ซึ่งมีคามากขึ้น ตัวอยางเชน √0.16 = 0.4 ซึ่ง 0.4 มีคา มากกวา 0.16 97) ผลคูณของ 420 กับ 152 มีคาตรงกับขอใด ก. 640 + 220 + 61,000

ข. 64+ 2,200 + 61,000

ค. 640+ 2,200 + 61,000

ง. 640 + 22,000 + 40,000

ตอบ ขอ ค. เนื่องจาก 420 × 152 = 63,840 ดังนั้น ตองหาผลรวมในตัวเลือกที่ตรงกัน ไดแก ขอ ค. 640+ 2,200 + 61,000= 63,840 98) ให Q = 3, Y= 5 , Z= Q + Y แลว ขอใดมีคาเทากับ 2 ก. Q + Q -Y

ข. Q + Z – Y

ค. Q + Y- Z

ง. Y + Y – Z

ตอบ ขอ ง. เริ่มจากหาคา Z จะได Z = 3+ 5 = 8 แลวแทนคาลงในตัวเลือกทีละขอ ก. Q + Q -Y

3+3–5 = 1

ข. Q + Z – Y

3+8–5 = 6

ค. Q + Y- Z

3+5–8 = 0

ง. Y + Y – Z

5 + 5 –8 = 2 𝟒𝟒

𝟏𝟏

99) จงหาจำนวนจำนวนหนึ่ง ถา 𝟓𝟓 ของจำนวนนั้นลบดวย 7 เทากับ 𝟐𝟐 ของผลบวกของจำนวนดังกลาว กับ 5

ก. 35

ข. 40

ตอบ ขอ ข. ให x แทนจำนวนที่ตองการ

ค. 42 จากโจทยสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้

ง. 55


84

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 4 𝟏𝟏 ( X – 7) = (X + 5) 5 𝟐𝟐 4𝑥𝑥−35

𝑋𝑋+10

=

5

2

ยายตัวสวนไปคูณคนละฝงของสมการ

(4x – 35) × 2 = (x + 10) × 5 8x – 70

= 5x + 50

8x – 5x

= 50 + 70

3x

= 120

x

=

120 3

= 40

100) สี่ในสิบของผลบวกระหวางจำนวนหนึ่งกับ 90 เทากับ 160 จำนวนนั้นคือขอใด ก. 270 ตอบ ขอ ค.

ข. 285

ค. 310

ง. 360

ให X แทนจำนวนที่โจทยตองการ เขียนเปนสมการจะได 4

(X + 90) = 160

10

X + 90

= 160 ×

X + 90

= 400

10 4

X = 400 – 90 = 310 101) คาของ [((-2)2)3 ÷ 2-2]-3 ÷[2-2 ÷3-1]2 มีคาตรงกับขอใด ก. 2-12 ×3

ข. 2-20 ×32

ค. 2-22 ×33

ง. 2-25 ×32

ตอบ ขอ ค. หลักการคือ การหารเลขยกกำลังติดลบ ใหเปลี่ยนเปนคูณแลวเครื่องหมายติดลบจะหายไป - การยกกำลังของเลขยกกำลัง ใหนำเลขยกกำลังคูณกัน - ถาเลขยกกำลังคูณกัน และมีฐานเหมือนกัน ใหนำเลขยกกำลังมาบวกกัน - ถาเลขยกกำลังหารกัน และมีฐานเหมือนกัน ใหนำเลขยกกำลังมาลบกัน จากโจทย [((-2)2)3 ÷ 2-2]-3 ÷[2-2 ÷3-1]2 = (43 × 22)-3 ÷[2-2 ÷3-1]2 = ((22 ) 3 × 22)-3 ÷ (2-2(2) ÷3-1(2))


85

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

= (26 × 22)-3 ÷ (2-4 ÷3-2) = (26(-3) × 22(-3)) ÷ (2-4 ÷3-2) = (2-18 × 2-6) ÷ (2-4 ÷3-2) = (2-18 -6 ) ÷ (2-4 ÷3-2) = 2-24 ×24 ×32 = 2-24+4 ×32 = 2-20 ×32

𝑝𝑝

102) ถา 𝑚𝑚 เปนเศษสวนอยางต่ำของ ก. 1

45 63

อยากทราบวา m – p มีคาเทากับขอใด

ข. 2

ค. 3

ง. 4

ตอบ ขอ ข. การหาเศษสวนอยางต่ำ สามารถใชหลักการเดียวกับการหา ห.ร.ม. จนเหลือตัวเลขสุดทายที่ ไมสามารถหาเลขใดมาหารไดแลว จะได

ดังนั้น

𝑝𝑝

𝑚𝑚

3

45 , 63

3

15

21

5

7

=

5 7

โจทยตองการหา m – p = 7 – 5 = 2

103) จงหาคาของ 5.76 ÷ 8 วามีคาเปนกี่เทาของ 0.54 ÷ 9 ก. 8

ข. 10

ค. 12

ง. 15

หาคาของ 0.54 ÷ 9 = 0.06

ตอบ ขอ ค. หาคาของ 5.76 ÷ 8 = 0.72

0.72

หาจำนวนเทา โดยนำผลลัพธทั้งสองมาหารกัน จะได = 0.06 = 12 เทา 5

125

6

36

104) จงหาคาของ 64x3 + 27y2 เมื่อกำหนดให �7�4x = 343และ �16�3y = 256 ก. 25

ข. 32

ค. 39

ตอบ ขอ ค. หาคา x

จาก

5

�7�4x =

125 343

ง. 45


86

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 5 5 �7�4x = �7�3

4x = 3

3

x = หาคา y

4

6

36

�16�3y =

จาก

256

6

6

�16�3y = �16�2 3y = 2

2

y =

3

3

2

แทนคา x และ y ลงไป จะได 64x3 + 27y2 = 64�4�3 + 27 �3�2 27

4

= 64�64� + 27 �9� =

27 + 12 = 39

105) จงหาคาของ 5x2 + 15x + 16 เมื่อกำหนดให ก . 25

ข. 31

ตอบ ขอ ค.

จากโจทย

1

𝑥𝑥 2

+ 3𝑥𝑥−4

𝑥𝑥 2

1

+ 3𝑥𝑥−4

= 5

ค. 37

ง. 42

= 5

1 = 5 × (𝑥𝑥 2 + 3𝑥𝑥 − 4)

จะได

1 = 5x2 + 15x – 20

0 = 5x2 + 15x – 20 – 1 0 = 5x2 + 15x – 21 โจทยตองการหา 5x2 + 15x + 16 ดังนัน้ ตองบวกเพิ่มไปดานละ = 21 + 16 = 37 จะได

0 +37

= 5x2 + 15x – 21 + 37

37 = 5x2 + 15x + 16 คำตอบที่โจทยตองการคือ 37


87

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

106) เลข 3 จำนวนเรียงกันรวมกันได 57 ผลคูณของเลขสองจำนวนหลัง จะมีคาเทาไร ก. 250

ข. 380

ค. 420

ง. 516

ตอบ ขอ ข. ให X แทนเลขจำนวนแรก ดังนั้น เลขถัดไป คือ X +1 , X + 2 จากโจทยทราบผลรวมของเลขทั้ง 3 ได 57 นำไปเขียนเปนสมการ จะได

X + X +1 +X +2 = 57 3X + 3 = 57 3X = 57- 3 X =

54

= 18

3

ดังนัน้ เลข 3 ตัว ดังกลาว คือ 18, 19 , 20 เพราะฉะนั้น ผลคูณของเลขสองจำนวนหลัง= 19 × 20 = 380 107) เลขจำนวนใดที่นอยที่สุดที่หารดวย 14, 21 และ 35 แลวเหลือเศษ 5 เทากัน ก. 270

ข. 275

ค. 280

14

ตอบ ขอ ง. เห็นวา ตัวหารทั้งหมดนั้น หารดวย 7 ลงตัว ( 7 = 2 , เลขในขอตัวเลือกวามีเลขที่หารดวย 7 แลวเหลือเศษ 5 หรือไม ก. ข. ค. ง.

21 7

=3,

35 7

ง. 285 =5) เพราะฉะนั้น ลองหา

270 หาร 7 จะเหลือเศษ 4 275 หาร 7 จะเหลือเศษ 2 280 หาร 7 ไดลงตัว 285 หาร 7 จะเหลือเศษ 5

108) รถประจำทาง 4 คัน ออกจากจุดปลอยรถ โดยใหแตละคันออกทุก 2, 3 , 5 และ 6 นาที ตามลำดับ ถาใหรถประจำทางทุกคันออกพรอมกันครั้งแรกเมื่อเวลา 15.00 น. จงหาวา รถประจำทางทั้งหมด จะออกพรอมกันอีกครั้งเมื่อเวลาใด ก. 15.30 น.

ข. 16.00 น.

ตอบ ขอ ก. ใหหลักการเดียวกับการหา ค.ร.น. จะได 2

2, 3 , 5, 6 3

1 3

5 3

ค. 16.30 น.

ง. 17.00 น.


88

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

1

1 5 1

จะไดเวลาที่รถทุกคันออกพรอมกันอีกครัง้ = 2× 3×1×1×5×1 = 30 นาที ดังนั้น รถทุกคันจะออกพรอมกันเมื่อเวลา 15.30 น. 109) มี ร ะฆั ง 3 ใบ ใบที ่ 1 ตี ท ุ ก 12 นาที ใบที ่ 2 ตี ท ุ ก 16 นาที และใบที่ 3 ตี ท ุ ก 24 นาที อยากทราบวา ระฆังทั้ง 3 ใบ จะตีพรอมกันอีกกี่นาที ก. 48 นาที ตอบ ขอ ก.

ข. 50 นาที

ค. 60 นาที

ง.72 นาที

หาเวลาที่จะตีระฆังพรอมกันอีกครั้ง โดยใชหลักการหา ค.ร.น. จะได 2

12

16

24

2

6

8

12

2

3

4

6

3

3

2

3

1

2

1

ระฆังทั้ง 3 ใบ จะตีพรอมกันอีก = 2 ×2×2×3×1×2×1 = 48 นาที 110) ห.ร.ม. ของเลข 2 จำนวนชุดหนึ่ง เปน 15 และมี ค.ร.น. เปน 4 เทาของ ห.ร.ม. ถาเลขจำนวนแรก เปน 20 จงหาเลขจำนวนที่สอง ก. 35

ข. 40

ตอบ ขอ ค.

ค. 45

ง. 60

จากโจทย ห.ร.ม. = 15 และค.ร.น = 4 × 15 = 60

แทนคาลงในสูตรหาจำนวนที่โจทยตองการ = =

ห.ร.ม.×ค.ร.น. จำนวนที่โจทยใหมา 15×60 20

= 45

111) ทอนไม 4 ทอน ยาว 32, 40, 48 และ 60 เมตร ตองการตัดแบงเปนเสนสั้นๆเสนละเทาๆกัน จะได ทอนไมเสนยาวทื่สุดเสนละเทาไร ก. 4 เมตร

ข. 6 เมตร

ตอบ ขอ ก. ใชหลักการ หา ห.ร.ม. จะได

ค. 8 เมตร

ง. 10 เมตร


89

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

2 32 , 40 , 48 , 60 2 16 20 24 30 8 10 12 15 จะได ห.ร.ม. เทากับ 2 × 2 = 4 ดังนั้น จะไดทอนไมยาวที่สดุ เสนละ 4 เมตร 112) กำหนดผลคูณของ a กับ 195 เทากับ 132 × 240 และ 13 เปน ห.ร.ม. ของ a กับ 195 คาของ a เทากับเทาใด ก. 174

ข. 185

ค. 208

ง. 215

ตอบ ขอ ค. จากสูตร จำนวนที่หนึ่ง × จำนวนที่สอง = ห.ร.ม. × ค.ร.น. จากโจทย จำนวนที่หนึ่ง คือ a จำนวนที่สอง คือ 195 และห.ร.ม. ของ a กับ 195 คือ 13 แทนคา จะได a × 195 = 13 × ค.ร.น. ค.ร.น. = จากโจทย ทราบวา a × 195 = 132 × 240

𝑎𝑎×195 13

= 15a

นำมาสรางเปนสมการ จะได

132 × 240 = 13 × 15a a =

132 ×240 13×15

= 208

113) ผลรวมของ ค.ร.น และ ห.ร.ม. ของ 24, 48 และ 60 มีคาตรงกับขอใด ก. 480

ข. 492

ค. 512

ตอบ ขอ ข. นำเลขที่โจทยกำหนดมาหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. จะได 2 24 , 48 , 60 2 12

24

30

3

6

12

15

2

4

5

ห.ร.ม. เทากับ 2 × 2 × 3 = 12 และ ค.ร.น. เทากับ 2 × 2 × 3 × 2 × 4 × 5 = 480 ดังนั้น ผลรวมของ ค.ร.น. และ ห.ร.ม. เทากับ 12 + 480 = 492

ง. 580


90

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

114) สุดาแบงขวดแกวสามขนาดลงในลัง ใหแตละลังมีจำนวนขวดเทาๆกัน และมากที่สุด สุดาจะแบง ขวดแกวไดกี่ลัง ถามีขวดแกว ขนาดใหญ 15 ใบ ขนาดกลาง 45 ใบ และขนาดเล็ก 60 ใบ ก. 6 ลัง

ข. 8 ลัง

ค. 10 ลัง

ง. 12 ลัง

ตอบ ขอ ข. จากโจทย แบงขวดโดยใหแตละลังมีจำนวนขวดเทาๆกัน และมากที่สุด แสดงวาตองหา ห.ร.ม. ของจำนวนขวดแกวทัง้ สามขนาด จะได 5

15 , 45 , 60

3

3

9

12

1

3

4

ในแตละลัง จะมีจำนวนขวดแกวไดมากทีส่ ุด เทากับ 5 × 3 = 15 ใบ ดังนั้น ขวดแกวขนาดใหญ แบงได

15

= 1 ลัง

ขวดแกวขนาดใหญ แบงได

45

= 3 ลัง

ขวดแกวขนาดใหญ แบงได

60

= 4 ลัง

15

15 15

สุดาจะแบงขวดแกวไดทั้งหมด เทากับ 1 + 3 + 4 = 8 ลัง 115) นาิกาสามเรือน ตั้งปลุกทุกๆ 2, 6 และ 8 ชั่วโมง อยากทราบวาอีกกี่ชั่วโมง นาิกาทั้งสามเรือน จะปลุกพรอมกันอีกครั้ง ก. 10 ชั่วโมง

ข. 12 ชัว่ โมง

ค. 18 ชั่วโมง

ตอบ ขอ ง. จากโจทย หาชัว่ โมงที่นาิกาจะดังพรอมกัน โดยการหา ค.ร.น. 2

2 , 6 , 8 1

3

4

จะได ค.ร.น. เทากับ 2× 1 × 3 × 4 = 24 ดังนั้น อีก 24 ชั่วโมง นาิกาทั้งสามเรือนจะปลุกพรอมกันอีกครัง้

ง. 24 ชัว่ โมง


91

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 𝟏𝟏 116) เลี้ยงสัตว ไว 3 ชนิด มีเปด 𝟑𝟑 ของสัตวทั้งหมด

อยากทราบวามีสตั วทั้งหมดกีต่ ัว

ก. 45 ตัว ตอบ ขอ ก.

𝟐𝟐

มีไก 𝟑𝟑 ของที่เหลือ นอกนั้นเปนหาน 10 ตัว

ข. 50 ตัว

ค. 55 ตัว

ง. 60 ตัว

ใหจำนวนสัตวทั้งหมด เทากับ 1 สวน

ดังนั้น มีเปด

1 3

สวน และมีไกคิดเปน 4

1

2

ของที่เหลือ จะได 3 4+3

เพราะฉะนั้น จะมีหาน = 1- ( 9 + 3 ) = 1- � จากโจทยทราบวามีหาน 10 ตัว

แทนคาจะได

9

2 9

2

1

2

2

× ( 1– 3 ) = 3 × 3 = 3

�=1-

7 9

2

=

9

สวน = 10

ของทั้งหมด

4 9

9

1 สวน = 10 × 2 = 45 ตัว

117) ลุงดำเลี้ยงวัวเนื้อไวเพื่อจำหนายในเวลา 1 ป โดยวัวจะขยายพันธุเพิ่มขึ้นเทาตัวทุกๆ 3 เดือน และ ทุกๆ 3 เดือน จะขายวัวไปครั้งละ 16 ตัว ซึ่งจะขายหมดพอดีในการขายครั้งสุดทาย จงหาวาลุงดำ เลี้ยงวัวเนื้อครั้งแรกกี่ตัว ก. 10 ตัว

ข. 12 ตัว

ค. 15 ตัว

ง. 18 ตัว

ตอบ ขอ ค. สมมุติให x แทนจำนวนวัวเนื้อที่ลุงดำเลี้ยงในครั้งแรก และใน 1 ป มี 12 เดือน ทุกๆ 3 เดือน จะมีการขยายพันธุและการขาย แสดงวามีการขยายพันธุเพิ่มและการขาย ทั้งหมด = ครั้งที่ 1

3 เดือนแรก จะมีววั เนื้อ 2 เทา = 2x และขายวัวไป 16 ตัว

ครั้งที่ 2

= 4 ครั้ง

= 2x – 16

= 4x – 32 – 16 = 4x – 48

3 เดือนถัดมา จะมีววั เนื้อ 2 เทา = 2(4x – 48) = 8x - 96 และขายวัวไป 16 ตัว

ครั้งที่ 4

3

3 เดือนถัดมา จะมีววั เนื้อ 2 เทา = 2(2x – 16) = 4x - 32 และขายวัวไป 16 ตัว

ครั้งที่ 3

12

= 8x – 96 – 16 = 8x – 112

3 เดือนสุดทาย จะมีวัวเนื้อ 2 เทา = 2(8x – 112) = 16x - 224 และขายวัวไป 16 ตัว

= 16x – 224 – 16 = 16x – 240

จากโจทยทราบวา ลุงดำจะขายวัวเนื้อหมดพอดีในการขายครั้งสุดทาย เขียนเปนสมการไดดังนี้


92

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

16x – 240 = 0 16x = 240 240

X =

= 15 ตัว

16

118) วัว เปด ไก อยางละเทาๆกัน นับขารวมกันได 160 ขา จะมีวัวอยูกี่ตัว ก. 16 ตัว ตอบ ขอ ค.

ข. 18 ตัว

ค. 20 ตัว

ง. 25 ตัว

ขาสัตวทั้งหมด

จากสูตร จำนวนสัตวแตละชนิด =

ผลบวกของจำนวนขาสัตวอยางละ 1 ตัว

หมายเหตุ : สูตรนี้จะใชในกรณีที่มีจำนวนสัตวอยางละเทาๆกัน จากโจทย ทราบขาสัตวทั้งหมด = 160 ขา

วัวมี 4 ขา เปดและไกมี 2 ขา ดังนั้น ผลบวกของจำนวนขาสัตวอยางละ 1 ตัว = 4+2+2= 8 ขา แทนคาลงในสูตร จะได

จำนวนสัตวแตละชนิด =

160 8

= 20 ตัว

119) ชาลีเลี้ยงนกกับกระตายไวในบาน ถานับหัวของนกกับกระตายรวมกันจะเปน 25 หัว แตถานับขา รวมกันจะมีอยู 78 ขา อยากทราบวาชาลีเลี้ยงกระตายไวกี่ตวั ก. 14 ตัว

ข. 17 ตัว

ค. 20 ตัว

ง. 23 ตัว

ตอบ ขอ ก. ให x แทนจำนวนนก และ y แทนจำนวนกระตาย จากโจทย หัวของนกกับกระตายรวมกันจะเปน 25 หัว เขียนเปนสมการ จะได

x + y = 25

(1)

จากโจทย ขารวมกันจะมีอยู 78 ขา (นกมีสองขา กระตายมีสี่ขา) เขียนเปนสมการ จะได

2x + 4y = 78

(2)

คูณ 2 เขาไปในสมการ (1) ได

2x + 2y = 50

(3)

นำสมการ (3) ลบดวย (1) จะได

2y = 78 – 50 2y = 28 y = 14

ดังนั้น ชาลีเลี้ยงกระตายทั้งหมด 14 ตัว


93

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

120) นกกระจอกเทศมีมากกวายีราฟ 2 ตัว ยีราฟมีมากกวามา 3 ตัว มามีมากกวาเสือดาว 4 ตัว และ เสือดาวมีมากกวาปลาคารฟ 5 ตัว ถาทั้งหมดมี 80 ตัว จะมีขาทั้งหมดกี่ขา ก. 182 ขา

ข. 195 ขา

ค. 204 ขา

ง. 224 ขา

ตอบ ขอ ง. ให x แทนจำนวนปลาคารฟ ดังนั้น จะมีเสือดาว x + 5 ตัว มีมา X + 5 + 4 = x + 9 ตัว มียรี าฟ X + 5 + 4 + 3 = x + 12 ตัว และ มีนกกระจอกเทศ X + 5 + 4 + 3 + 2 = x + 14 ตัว จากโจทย ทราบวาทั้งหมดมี 80 ตัว นำมาเขียนเปนสมการ ไดดังนี้ x + ( x + 5) + ( x + 9 )+ (x + 12) + ( x + 14) = 80 5x + 40 = 80 5x = 80 - 40 x

=

ดังนั้น มีปลาคารฟ 8 ตัว ซึง่ ไมมีขา

40

= 8

5

มีเสือดาว = 8 + 5 = 13 ตัว

มีขาทั้งหมด = 13 × 4 = 52 ขา

มีมา

= 13 + 4 = 17 ตัว

มีขาทั้งหมด = 17 × 4 = 68 ขา

มียรี าฟ

= 17 + 3 = 20 ตัว

มีขาทั้งหมด = 20 × 4 = 80 ขา

มีนกกระจอกเทศ = 20 + 2 = 22 ตัว มีขาทั้งหมด = 22 × 2 = 44 ขา รวมแลว มีขาทั้งหมด = 52 + 68 + 80 + 44 = 244 ขา 121) ตาชั่งเครื่องหนึ่งจะชั่งน้ำหนักไดนอยกวา 0.1 ของน้ำหนักจริงๆเสมอ ถาของสิ่งหนึ่งชั่งได 45 ก.ก. น้ำหนักจริงจะเปนเทาไร ก. 47

ข. 50

ค. 55

ง. 60 1

ตอบ ขอ ข. ตาชั่งเครือ่ งหนึ่งจะชั่งน้ำหนักไดนอยกวา 0.1 ดังนั้นน้ำหนักจะลดลง 10 ของน้ำหนักจริงเสมอ ให X แทนน้ำหนักจริงของสิ่งของ แทนคาจะได X = 55 + 45 = X -

1

X

10

𝑋𝑋

10

=

10𝑋𝑋−𝑋𝑋 10

=

9𝑋𝑋 10


94

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 10 X = 45 × 9 = 50

122) ปามาลีใชเวลาทำการชิ้นหนึ่ง 50 วัน ปาสุนียใชเวลาทำงานเดียวกันกับปามาลี ใชเวลา 25 วัน หากปามาลีและปาสุนียชวยกันทำงานจะใชเวลากี่วันจึงแลวเสร็จ ก. 16.67 วัน

ข. 20 วัน

ค. 23.33 วัน

ตอบ ขอ ก. สามารถใชสูตร การทำงานรวมกัน =

ง. 25 วัน

𝐴𝐴𝐴𝐴

𝐴𝐴+𝐵𝐵

A แทนระยะเวลาที่ปามาลีใชทำงาน B แทนระยะเวลาที่ปาสุนียใชทำงาน แทนคาจะได การทำงานรวมกัน =

50 ×25

50+25

=

50 ×25 75

= 16.67 วัน

123) ร า นอาหารตามสั ่ ง แห ง หนึ ่ ง มี พ นั ก งาน 4 คน พนั ก งานทั ้ ง 4 คน สามารถทำข า วกล อ งได 360 กลอง ถาตองการขาวกลอง 4,500 กลองตอวัน จะตองจางพนักงานเพิ่มอีกกี่คน ก. 35 คน

ข. 46 คน

ค. 48 คน

ง. 50 คน

ตอบ ขอ ข. เนื่องจาก พนักงาน 4 คน ทำขาวกลองได 360 กลอง ถามีพนักงาน X คน จะทำขาวกลองได 4,500 กลอง นำมาเขียนเปนสัดสวน จะได

4

360

=

𝑋𝑋

4,500

4 × 4,500 = 360X X

=

4×4,500 360

= 50 คน

เพราะฉะนั้น ตองจางพนักงานเพิ่ม เทากับ 50 – 4 = 46 คน 124) ชาง 9 คน ใชเวลาทำสระวายน้ำเสร็จภายใน 25 วัน ถามีชาง 15 คน ชวยกันทำสระวายน้ำ จะใช เวลากี่วัน ก. 9 วัน

ข. 10 วัน

ค. 15 วัน

ตอบ ขอ ค. ใชวิธีเทียบบัญญัติไตรยางศสวนกลับ ชาง 9 คน ใชเวลาสรางสระวายน้ำ 25 วัน ชาง 15 คน ใชเวลาสรางสระวายน้ำ =

25 ×9 15

= 15 วัน

ง. 20 วัน


95

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

125) ปจจุบันเวียรมีอายุเปน 3 เทาของเบลลา แตในเวลาอีก 10 ปขางหนา เวียรจะมีอายุเปน 2 เทาของ เบลลา อยากทราบวาปจจุบันเบลลาอายุเทาไร ก. 10 ป

ข. 15 ป

ค. 20 ป

ง. 25 ป

ตอบ ขอ ก. ให X แทนอายุของเบลลาในปจจุบัน สิบปตอมา เบลลาจะอายุ = X + 10 โจทยบอกวาเวียรจะอายุเปน 2 เทาของเบลลา ดังนั้น เวียรจะอายุ = 2 × (X + 10) ปจจุบันเวียรอายุเปน 3 เทาของเบลลา ดังนั้น เวียรจะอายุ = 3X สิบปตอมา เวียรอายุ = 3X+10 นำอายุของเวียรสิบปตอมา มาเขียนเปนสมการ จะได 3X + 10 = 2 × (X + 10) 3X + 10 = 2X + 20 3X – 2X = 20 – 10 X

= 10

แสดงวา ปจจุบัน เบลลาอายุ 10 ป

126) เมื่อ 8 ปกอน วินอายุมากกวาไบรท 3 ป ปจจุบันไบรทอายุเปน 2 เทาของมิว อีก 7 ปขางหนา มิวอายุครบเบญจเพส อยากทราบวา ปจจุบันวินอายุเทาไร ก. 24 ป

ข. 28 ป

ค. 32 ป

ง. 39 ป

ตอบ ขอ ง. จากโจทยทราบวา อีก 7 ปขางหนา มิวอายุครบเบญจเพส (เบญจเพส คือ อายุ 25 ป) แสดงวา ปจจุบัน มิวอายุ = 25 – 7 = 18 ป ปจจุบันไบรทอายุเปน 2 เทาของมิว ดังนั้น ไบรทอายุ = 18 × 2 = 36 ป เมื่อ 8 ปกอน วินอายุมากกวาไบรท 3 ป ปจจุบันอายุของวินก็จะตองมากกวาไบรท 3 ป ดังนั้น วินอายุ = 36 + 3 = 39 ป 127) รัศมีแขนำเงินไปฝากธนาคาร 24,000 บาท และเมื่อฝากธนาคารไดครึ่งป รัศมีแขจะไปถอนเงิน ออกมา หากธนาคารคิดดอกเบี้ยใหรอยละ 3.5 บาท รัศมีแขจะไดดอกเบี้ยเทาไร ก. 290 บาท ตอบ ขอ ค.

ข. 360 บาท

ค. 420 บาท

สูตรลัดในการหาดอกเบี้ย มีดงั นี้ ดอกเบี้ย = เงินตน × จำนวนป × = 24,000 ×

6

× 12

3.5

อัตราดอกเบี้ย

100

100

= 420 บาท

ง. 450 บาท


96

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

128) ทวีทรัพยกูเงินมาก 47,000 บาท เสียดอกเบี้ยรอยละ 12 ตอป กูเงินเปนเวลา 10 เดือน ทวีทรัพย จะเสียดอกเบี้ยรวมเงินตนเปนเทาไร ก. 51,700 บาท ตอบ ขอ ก.

ข. 52,000 บาท

ค. 52,400 บาท

ง. 53,500 บาท

สูตรลัดในการหาดอกเบี้ย มีดงั นี้ ดอกเบี้ย = เงินตน × จำนวนป × = 47,000 ×

10

× 12

= 4,700 บาท

อัตราดอกเบี้ย

12

100

100

ดังนั้น จะเสียดอกเบี้ยรวมเงินตน = 47,000 + 4,700 = 51,700 บาท 129) นำเงินไปฝากธนาคารจำนวน 600,000 บาท ธนาคารใหดอกเบีย้ 5% ตอป เมื่อฝากเงินได 100 วัน จึงทำการปดบัญชี แลวถอนเงินออกทั้งหมด อยากทราบวา ถาธนาคารคิดดอกเบี้ยเปนรายวัน จะไดรับเงินทั้งหมดเทาไร ก. 607,200.18 บาท ตอบ ขอ ง.

ข. 608,009.18 บาท

ค. 608,010.18 บาท ง. 608,219.18 บาท

จากที่ ธนาคารใหดอกเบี้ย 5% ตอป และ ใน 1 ป มี 365 วัน ใน 1 ป จะไดรับดอกเบี้ย เทากับ

5

100

× 600,000 = 30,000 บาท

แสดงวา ใน 1 วัน จะไดดอกเบี้ย เทากับ

30,000

ถาใน 100 วัน จะไดดอกเบี้ย เทากับ

30,000

365

365

บาท × 100 = 8,219.18 บาท

ดังนั้น จะไดรบั เงินทั้งหมด = 600,000 + 8,219.18 = 608,219.18 บาท 130) โอปอฝากเงินกับธนาคารแบบฝากประจำ จำนวน 1,200,000 บาท ธนาคารใหดอกเบี้ย 4% ตอป และจายดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน อยากทราบวาเมื่อครบป ถาโอปอถอนเงินทั้งหมดจะไดเงินกี่บาท ก. 1,212,116.55 บาท

ข. 1,248,724.81 บาท

ค. 1,268,483.54 บาท

ง. 1,344,973.24 บาท

ตอบ ขอ ข. ในกรณีที่โจทยถามเงินทั้งหมดที่ได ถาไดดอกเบี้ยทบตน (หมายถึง มีดอกเบี้ยหลายๆงวด) สามารถใชสตู ร

S = P (1 + r)n


97

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

S คือ เงินที่ไดทงั้ หมด (เงินตน + ดอกเบี้ยทบตน) นี่คือสิ่งที่โจทยตองการหา!!!!! P คือ เงินตน จากโจทย เทากับ 1,200,000 บาท r คือ อัตราดอกเบี้ยตองวด จากโจทย ธนาคารใหดอกเบี้ย 4% ตอป และจายดอกเบี้ยทุกๆ 3 เดือน ( 1 ป มี 12 เดือน จายทุก 3 เดือน ดังนั้น 1 ป จาย 4 ครั้ง 4% จาย 4 ครั้ง ดังนั้นจายครั้งละ 1%) แสดงวา ทุกๆ 3 เดือนหรือ 1 งวดนั้น จะจายดอกเบี้ย 1% = n คือ จำนวนงวดที่คิดดอกเบี้ยทบตน แทนคาลงไป จะได S = 1,200,000 (1 + 0.01)4 = 1,200,000 (1.01)4

1

100

= 0.01

= 1,248,724.81 บาท

131) เดวิดมีเหรียญสิบบาทจำนวน 35 เหรียญ เหรียญหาบาทจำนวน 48 เหรียญ ที่เหลือเปนเหรียญ หนึ่งบาท เดวิดมีเงินทั้งหมด 850 บาท อยากทราบวามีจำนวนของเหรียญหาบาทนอยกวาเหรียญหนึ่ง บาทอยูกี่เหรียญ ก. 212 เหรียญ

ข. 220 เหรียญ

ค. 225 เหรียญ

ง. 230 เหรียญ

ตอบ ขอ ก. มีเหรียญสิบบาท จำนวน 35 เหรียญ คิดเปนเงิน = 10 × 35 = 350 บาท เหรียญหาบาท จำนวน 48 เหรียญ คิดเปนเงิน = 5 × 48 = 240 บาท มีเงินทั้งหมด 850 บาท ดังนั้นเหรียญที่เหลือที่เปนเหรียญบาท = 850 – (350 +240) = 260 บาท เพราะฉะนั้น จะมีจำนวนเหรียญหานอยกวาเหรียญบาท = 260 – 48 = 212 เหรียญ 132) แตงกวามีเหรียญบาทและเหรียญหาบาทรวมกันทั้งหมด 30 เหรียญ คิดเปนเงิน 70 บาท จงหา ผลตางของจำนวนเหรียญทั้งสองเปนเทาไร ก. 7 เหรียญ

ข. 9 เหรียญ

ค. 10 เหรียญ

ตอบ ขอ ค. สมมุติใหมีเหรียญบาท x เหรียญ จะมีเหรียญหาบาท 30 – x เหรียญ ซึ่งจะเปนมูลคา เทากับ 5 × (30 – x) บาท จากโจทย ทราบวาแตงกวามีเงินทั้งหมด 70 บาท นำมาเขียนเปนสมการเพื่อหาคำตอบ ไดดงั นี้ x + 5( 30 – x) = 70 x + 150 – 5x = 70 x – 5x = 70 - 150

ง. 15 เหรียญ


98

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

- 4x = - 80 x =

−80 −4

= 20

ดังนั้น มีเหรียญบาท 20 เหรียญ และมีเหรียญหาบาท = 30 – 20 = 10 เหรียญ ผลตางของจำนวนเหรียญทั้งสอง = 20 – 10 = 10 เหรียญ 133) ปกปองเก็บเงินใสกระปุก ในกระปุกมีแบงคหาสิบบาทอยูจำนวนหนึ่ง มีแบงคยี่สิบบาทเปนครึ่งหนึ่ง ของแบงคหาสิบบาท ถามีเงินรวมกันไมถึง 6,000 บาท จะมีแบงคหาสิบบาทไดมากที่สุดกี่ใบ ก. 100 ใบ

ข. 110 ใบ

ค. 115 ใบ

ง. 120 ใบ

ตอบ ขอ ก. สมมุติใหมีแบงคหาสิบบาทอยู x ใบ จะมีมูลคาเทากับ 50x บาท จะมีแบงคยี่สิบบาทอยู

𝑥𝑥

2

𝑥𝑥

ใบ จะมีมูลคาเทากับ 20 × 2 = 10x บาท

จากโจทยทราบวา เงินมีมูลคารวมกันไมถึง 6,000 บาท นำมาเขียนเปนอสมการเพื่อหาคำตอบ ไดดังนี้ 50x + 10x < 6,000 60x < 6,000 x <

6,000 60

x < 100

ดังนั้น จะมีแบงคหาสิบบาทไดมากที่สุด 100 ใบ 134) ในการสอบแขงขันวิทยาศาสตร ลิซาทำได 6 ขอในเวลา 15 นาที เจนนี่ทำได 9 ขอในเวลา 12นาที และเจนนี่ทำเสร็จกอนเวลากำหนด 35 นาที สวนลิซาทำเสร็จทันเวลาพอดี จงหาวามีขอสอบ ทั้งหมดกี่ขอ ก. 25 ขอ

ข. 30 ขอ

ค. 40 ขอ

ตอบ ขอ ข. สมมุตใิ หมีขอสอบทั้งหมด X ขอ จากโจทย ลิซาทำได 6 ขอในเวลา 15 นาที เจนนี่ทำได 9 ขอในเวลา 12 นาที จะได ลิซา ทำขอสอบ 1 ขอ ใชเวลา =

15 6

=

5 2

ง. 45 ขอ


99

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

และ เจนนี่ ทำขอสอบ 1 ขอ ใชเวลา = จากโจทย

12 9

4

=3

เจนนี่ทำเสร็จกอนเวลากำหนด 35 นาที และลิซาทำเสร็จทันเวลาพอดี เขียนเปนสมการ 5

จะได 5

นำ 6 คูณเขาไปทั้งสองขาง

5

X 2

(2X -

4 3

x 2 4 3

=

4 3

X + 35

X = 35

X) × 6 = 35 × 6

15x – 8X = 210 7X = 210 X

=

210 7

= 30 ขอ

135) นักกีฬาเทนนิสกลุมหนึ่งซื้อลูกเทนนิสใหมมาทั้งหมด 1,500 ลูก โดยที่ในแตละวัน นักกีฬาเทนนิส 𝟏𝟏

กลุมนี้จะนำลูกเทนนิสออกมาใชงาน 𝟓𝟓 ของลูกเทนนิสใหมที่เหลืออยูทุกๆวัน อยากทราบวาภายใน 3 วัน จะมีลูกเทนนิสถูกนำไปใชทั้งหมดกี่ลูก

ก. 732 ลูก

ข. 750 ลูก

ค. 780 ลูก

ง. 820 ลูก

1

ตอบ ขอ ก. จากโจทยมีลูกเทนนิสใหม 1,800 ลูก นำออกมาใช 6 ของลูกเทนนิสใหมที่เหลืออยูทุกๆวัน วันที่ 1 นำมาใช = วันที่ 2 นำมาใช = วันที่ 3 นำมาใช =

1

× 1,500 = 300 ลูก แสดงวาจะเหลือ = 1,500 – 300 = 1,200 ลูก

5 1

× 960 = 192 ลูก แสดงวาจะเหลือ = 960 – 192 = 768 ลูก

5 1 5

× 1,200 = 240 ลูก แสดงวาจะเหลือ = 1,200 – 240 = 960 ลูก

หาจำนวนลูกเทนนิสที่ถูกนำไปใช = 1,500 – 768 = 732 ลูก 136) ถุงใบหนึ่งมีลูกแกวสีแดงอยู 12 ลูก มีลกู แกวสีน้ำเงินอยูจำนวนหนึ่ง ขนาดของลูกแกวเทาๆกัน ทุกลูก ความนาจะเปนของการหยิบลูกแกว 1 ครั้ง 1 ลูก แลวไดสีน้ำเงิน คือ สีน้ำเงินกี่ลูก ก. 8 ลูก ตอบ ขอ ก.

ข. 10 ลูก ให X แทนจำนวนลูกแกวสีน้ำเงิน

ค. 12 ลูก

𝟐𝟐 𝟓𝟓

จงหาวามีลูกแกว

ง. 15 ลูก


100

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

จำนวนผลลัพธทอี่ าจจะเกิดขึ้นได คือ จำนวนลูกบอลทั้งหมด = X + 12 จากสูตร

ความนาจะเปนของเหตุการณ =

จำนวนผลลัพธของเหตุการณ จำนวนผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได 2

แทนคา จะได

𝑋𝑋

=

5

2 (X + 12)

𝑋𝑋+12

= 5X

2X +24

=

5X

5X - 2X = 24 3X

= 24

X

=

24 3

= 8

137) รานของฝากแหงหนึ่งมีลานจอดรถ ซึ่งมีรถจอดอยู 120 คัน เปนรถกระบะ 30 คัน รถตู 25 คัน ที่เหลือเปนรถเกง รถทุกคันมีโอกาสที่จะขับออกจากลานจอดรถเทากัน จงหาความนาจะเปนที่รถ คันแรกที่ขับออกจากลานจอดรถเปนรถเกง 11

12

ข. 23

ก. 20

13

ค. 24

ง.

11 25

ตอบ ขอ ค. จากโจทยทราบวามีรถจอดอยูทั้งหมด 120 คัน เปนรถกระบะ 30 คัน รถตู 25 คัน ดังนั้น มีรถเกง = 120 -30 – 25 = 65 คัน จากสูตร

ความนาจะเปนของเหตุการณ =

แทนคา จะได ความนาจะเปนของเหตุการณ =

จำนวนผลลัพธของเหตุการณ จำนวนผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นได 65

120

= 𝟐𝟐

13 24

138) นางวันทองซื้อที่ดินมาในราคาไรละ 6,000 บาท ขายไป 𝟑𝟑 ของจำนวนที่ดินที่ซื้อมาในราคาไรละ

7,500 บาท ตอมาขายที่เหลือไปไรละ 6,600 บาท ปรากฎวาไดเงินทั้งสิ้น 108,000 บาท จงหาวา นางวันทองซื้อที่ดินมาจำนวนทั้งหมดกี่ไร

ก. 10 ไร ตอบ ขอ ข. 1

ข. 15 ไร

ค. 18 ไร

ง. 20 ไร 2

ให X แทนจำนวนที่ดินที่นางวันทองซื้อมา ขายไป X ไร ไรละ 7,500 บาท 3

และที่เหลือ 3X ขายไปไรละ 6,600 บาท ไดเงินทั้งหมด 108,000 บาท นำมาเขียนเปนสมการ


101

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 2𝑋𝑋 𝑋𝑋 จะได ( 3 × 7,500) + ( 3 × 6,600)

= 108,000

(2X × 2,500) + (X × 2,200) = 108,000 5,000X + 2,200X = 108,000 7,200X

= 108,000

X

=

108,000

= 15 ไร

7,200

139) A มีเงินเปนสองเทาของ B และ B มีเงินเปน 3 ใน 4 เทาของ C และ D มีเงิน 500 บาท ซึ่งนอยกวา C 80 บาท จงหาวา A มีเงินเทาไร ก. 630 บาท

ข. 740 บาท

ค. 870 บาท

ง. 990 บาท

ตอบ ขอ ค. นำสิ่งที่ทราบจากโจทยมาเขียนแจกแจง ไดดังนี้ A มีเงินเปนสี่เทาของ B

A = 2B

B มีเงินเปน 3 ใน 4 เทาของ C

B =

D มีเงิน 500 บาท ซึ่งนอยกวา C 80 บาท

C = 500 + 80 = 580 บาท

3

แทนคาลงใน

B =

และ

A = 2B

C 4

3

=

4

C

× 580 = 435

บาท

2 × 435 = 870

บาท

4

=

3

140) ธีระเดชเปดน้ำใสถัง ซึ่งมีทอสำหรับเปดน้ำเขา 2 ทอ โดยทอที่ 1 เปดน้ำเขาถังไดเต็มถังในเวลา 9 นาที ทอที่ 2 เปดน้ำเขาถังไดเต็มถังในเวลา 12 นาที ถาเปด 2 ทอพรอมกัน ในขณะเดียวกันก็ ปลอยน้ำออกจากถังในอัตรา 2 ลิตรตอนาที น้ำจะเต็มถังในเวลา 6 นาที ถังใบนี้บรรจุน้ำไดกี่ลิตร ก. 55 ลิตร ตอบ ขอ ค.

ข. 60 ลิตร

ให X ลิตร แทนความจุของถังน้ำ

ใน 1 นาที ทอที่ 1 น้ำจะเขา เทากับ 2 ลิตร

ค. 72 ลิตร

𝑋𝑋

ลิตร ทอที่ 2 น้ำจะเขา เทากับ 9

น้ำจะเต็มถัง X ลิตร ใน 6 นาที นำมาเขียนเปนสมการ จะได

𝑋𝑋

𝑋𝑋

( + - 2) ×6 = X 9 12

6𝑋𝑋 9

6𝑋𝑋

+ 12 – 12 = X

ง. 80 ลิตร 𝑋𝑋

12

ลิตร และปลอยน้ำออก


102

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 2𝑋𝑋 𝑋𝑋 + 2 – 12 3 12𝑋𝑋 6𝑋𝑋 นำ 6 คูณเขาทั้งสมการ จะได + 2 - 72 3

= X = 6X

4X + 3X- 72 = 6X 7X – 6X = 72 X = 72

141) ความสู งเฉลี่ ยของนายทหาร 6 คน เท า กั บ 161 เซนติ เมตร ถ า ความสูง ของคนทั ้ง หมด คื อ 163 160 155 X 150 168 เซนติเมตร จงหาคาของ X วามีคาเทาไร ก. 158

ข. 165

ตอบ ขอ ค.

จากสูตร คาเฉลี่ย = แทนคาจะได

161

ค. 170 ผลรวมของขอมูลทุกจำนวน จำนวนขอมูล

=

163+160+155+𝑋𝑋+150+168

6 × 161 = 796 + X 966 X

ง. 172

6

= X + 796 = 966 - 796 = 170

142) จงหาคาเฉลี่ยของคะแนนวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนทั้ง 6 คน ดังนี้ 80 75 77 56 65 90 74 ก. 77.15

ข. 86.17

ค. 90.15

ง. 94.16

ตอบ ขอ ข. นำคะแนนของทุกคนมารวมกัน แลวหารดวยจำนวนนักเรียนทั้งหมด จะได คาเฉลี่ย =

80+75+77+56+65+90+74 6

= 86.17

143) ขอใดเปนฐานนิยมของขอมูลตอไปนี้ 7, 5, 2, 2, 5, 5, 7 ,4, 2, 3, 2, 4 ก. 2

ข. 4

ค. 5

ตอบ ขอ ก. นำตัวเลขที่โจทยใหมาจัดเรียง จะได 2, 2, 2, 2, 3, 4, 4, 5, 5, 5, 7, 7 ตัวเลข 2 มีจำนวนมากที่สุด คือ 4 ตัว จึงเปนคาฐานนิยม

ง. 7


103

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

144) จงหาคามัธยฐานของขอมูล ดังตอไปนี้ 11 7 4 5 2 8 9 ก. 4

ข. 5

ค. 7

ง. 11

ตอบ ขอ 8. เริ่มจากเรียงเลขจากนอยไปหามาก จะได 2 4 5 7 8 9 11 มีตัวเลขขอมูลอยู 7 ตัว จำนวนเปนเลขคี่ ดังนั้น เลขมัธยฐาน คือ คาที่อยูต รงกลาง นั่นคือ 7 145) จงหาคามัธยฐานของขอมูล ดังตอไปนี้ 6 1 2 3 10 8 4 9 ก. 2

ข. 4

ค. 5

ง. 7

ตอบ ขอ เริ่มจากเรียงเลขจากนอยไปหามาก จะได 1 2 3 4 6 8 9 10 มีตัวเลขขอมูลอยู 8 ตัว จำนวนเปนเลขคู ดังนั้น เลขมัธยฐาน คือ ผลรวมของเลขสองตัวตรงกลาง หารสอง จะได =

4+6 2

= 5

146) ในการสำรวจผูที่ชอบดื่มกาแฟทุกคนจำนวน 100 คน พบวามีผูที่ชอบดื่มเฉพาะกาแฟสตาบัค 35 คน และคนที่ชอบดื่มเฉพาะกาแฟอเมซอน 42 คน อยากทราบวาผูที่ชอบดื่มกาแฟทั้งสองแบรนด มีกี่คน ก. 15 คน ข. 20 คน ค. 23 คน ง. 26 คน ตอบ ขอ ค. จากโจทย ให X แทนผูที่ชอบดืม่ กาแฟทั้งสองแบรนด วาดแผนภาพเวนออยเลอร ไดดังนี้ สตาบัค 35

อเมซอน X

42

U = 100 จะได

100 = 35 + X + 42 X

= 100 – 35 - 42 = 23

147) หมูบานเกษตรกรรมแหงหนึ่งมี 580 ครอบครัว มีครอบครัวที่ทำไรสับปะรด 250 ครอบครัว ปลูกขาว 180 ครอบครัว มีครอบครัวที่ทำทั้งไรสับปะรดและปลูกขาว 60 ครอบครัว อยากทราบ วามีครอบครัวที่ไมไดทำไรสับปะรดหรือปลูกขาวทั้งหมดกี่ครอบครัว ก. 180 ครอบครัว

ข. 210 ครอบครัว

ตอบ ขอ ข. จากโจทย มีทั้งหมด 580 ครอบครัว

ค. 230 ครอบครัว

ง. 250 ครอบครัว


104

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

มีครอบครัวที่ทำทัง้ ไรสับปะรดและปลูกขาว 60 ครอบครัว มีครอบครัวทีท่ ำไรสับปะรด 250 ครอบครัว ดังนั้น ครอบครัวที่ทำไรสับปะรดอยางเดียว จะเทากับ 250 – 60 = 190 ครอบครัว มีครอบครัวที่ปลูกขาว 180 ครอบครัว ดังนั้น ครอบครัวที่ปลูกขาวอยางเดียว จะเทากับ 180 – 60 = 120 ครอบครัว ลองวาดแผนภาพเวนออยเลอร เพื่อหาคำตอบ จะได U = 580

250 – 60 = 190

60

180 – 60 = 120

ดังนั้น มีครอบครัวที่ไมไดทำไรสับปะรดหรือปลูกขาวจะเทากับ 580 – (190 +60 + 120) = 580 – 370 = 210 ครอบครัว 148) จากการสำรวจนักทองเที่ยวจำนวน 200 คน มีคนที่ชอบเที่ยวทะเล 105 คน มีคนที่ชอบเที่ยวภูเขา 112 คน และมีคนที่ชอบเที่ยวทั้งทะเลและภูเขา 50 คน นอกเหนือจากนั้นเปนผูที่ชอบเดินเที่ยว หางสรรพสินคา จงหาวามีผูที่ชอบเดินเที่ยวหางสรรพสินคากี่คน ก. 12 คน

ข. 21 คน

ค. 25 คน

ง. 33 คน

ตอบ ง. จากโจทย มีนักทองเที่ยวทั้งหมด 200 คน มีคนที่ชอบเที่ยวทั้งทะเลและภูเขา 50 คน มีคนที่ชอบเทีย่ วทะเล 105 คน ดังนั้น มีคนทีช่ อบเที่ยวทะเลอยางเดียว = 105 – 50 = 55 คน มีคนที่ชอบเที่ยวภูเขา 112 คน ดังนั้น มีคนทีช่ อบเที่ยวแตภูเขาอยางเดียว = 112- 50 = 62 คน ลองวาดแผนภาพเวนออยเลอร เพื่อหาคำตอบ จะได


105

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ U = 200

105 – 50 = 55

50

112 – 50 = 62

ดังนั้น มีนักทองเที่ยวทีช่ อบเดินหางสรรพสินคา = 200 – (55+ 50+ 62) = 200 – 167 = 33 คน 149) กราฟเสนตรง 6x – 3y – 3 = 0 ขนานกับกราฟของสมการในขอใด ก. y = -x+ 4

ข. y = 2x +3

ค. y = 5x - 2

ง. y = x + 5

ตอบ ขอ ข.

จากโจทย 6x – 3y – 3 = 0

นำมาจัดรูปใหม จะได

6x – 3 = 3y y =

6𝑥𝑥−3 3

y = 2x – 1 จากสมการนี้ ทำใหทราบคาความชัน ซึ่งคือคาที่อยู หนา x เพราะฉะนั้น ความชันของกราฟเสนตรง เทากับ 2 ลองหาในขอตัวเลือกวามีขอไหนมีความชัน เทากันบาง เพราะถาความชันเทากัน แสดงวา เสนกราฟทั้งสองจะขนานกัน ซึ่งในที่นี้จะมีขอ ข. y = 2x +3 ซึ่งมีความชันเปน 2 เทากัน 150) ถากราฟของสมการเสนตรง 4x – 3y + 3k = 0 ผานจุด ( -3, 1) แลวเสนตรงจะตัดแกน Y ที่จุดใด ก. (0 , 2)

ข. (0 , -2)

ค. (0 , 5)

ตอบ ขอ ค. จากโจทย กราฟของสมการเสนตรง 4x – 3y + 3k = 0 ผานจุด ( -3, 1) ลองแทนคาลงไปในสมการ ( -3, 1) ก็คือคา (x ,y) จะได 4(-3) – 3 (1) + 3k = 0 -12 -3 + 3k = 0 3k = 12 +3

ง. (0 , -5)


106

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 15 K = 3 =5

หาจุดตัดแกน Y โดยแทนคา x = 0 จะได

4(0) – 3y + 3(5) = 0 - 3y + 15 = 0 3y = 15 y =

15 3

=5

ดังนั้น จุดตัดแกน Y คือ (0 , 5) 151) ตัวเลือกในขอใดเปนจุดบนเสนตรง 2x – 4y = 10 ก. (0 , -2)

ข. (5 , 0)

ค. (7 , -1)

ง. (6 , -2)

ตอบ ขอ ข. ลองแทนคา x และ y ลงใน สมการ 2x – 4y = 10 แลวถาแทนคาไดตรง แสดงวา ตัวเลือก ในขอนั้นเปนคำตอบที่ถูกตอง ในที่นี้ลองแทนคา ขอ ข. จะได 2(5) – 4(0) = 10 – 0 = 10 ตรงกับสมการที่ โจทยใหมา จึงตอบขอ ข. 152) ตัวเลือกในขอใดไมใชกราฟเสนตรง ก. y(2x – 2) = 5

ข. 3(x -3 ) = 2y

ค. 3x = 2y

ง. 2x + 5 = 3y

ตอบ ขอ ก. กราฟเสนตรง จะสามารถจัดเรียงสมการใหอยูใ นรูป Ax + By + C = 0 ได ลองนำสมการ แตละขอมาจัดเรียง จะได ก. y(2x – 2) = 5

2xy – 2y – 5 = 0

ขอนี้ไมใชกราฟเสนตรง

ข. 3(x -3 ) = 2y

3x – 9 = 2y

3x – 2y – 9 = 0

ขอนี้เปนกราฟเสนตรง

ค. 3x = 2y

3x – 2y – 0 = 0

ขอนี้เปนกราฟเสนตรง

ง. 2x + 5 = 3y

2x – 3y +5 = 0

ขอนี้เปนกราฟเสนตรง

153) เสนตรงขอใดผานจุด (-2 , 2) ก. x – y +2 = 0

ข. 3x + y +1 = 0

ค. 3x + 2y + 2 = 0

ตอบ ขอ ค. ลองแทนคา (-2 , 2) ลงใน x y ในตัวเลือกแตละขอ

ง. 2x + 2y -3 =0


107

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ก. x – y +2 = 0

-2 – 2 + 2 = -2

ข. 3x + y +1 = 0

3(-2) + 2 +1 = -6 +2 +1 =-3

ค. 3x + 2y + 2 = 0

3(-2) +2(2) +2 = -6 +4 +2 = 0

ง. 2x + 2y -3 =0

2(-2) + 2(2) -3 = -4 +4 -3 = -3

ตอบขอนี้

154) คูอันดับขอใดอยูบนเสนตรงเดียวกัน ก. (2 ,-3), (1, 3), (-3, 4)

ข. (-6 ,3), (-2 ,5), (1, 4)

ค. (5 ,-2), (-1 ,2), (0 ,4)

ง. (0, 5), (-1 ,4), (1 ,6)

ตอบ ขอ ง. ดูความสัมพันธของแตละคูอันดับของแตละตัวเลือก จะพบวา ขอ ก ข ค คูอันดับไมมีความ สอดคลองกัน ในขณะที่ขอ ง. (0, 5), (-1 ,4), (1 ,6) นำมาจัดเรียงใหมเปน (-1 ,4), (0, 5), (1 ,6) จะเห็นวา -1 ตางจาก 4 อยู 5 0 ตางจาก 5 อยู 5 และ 1 ตางจาก 6 อยู 5 ซึ่งมีความสอดคลองกัน 155) ตัวเลือกในขอใดตอไปนี้ ไมมี 2 และ 7 เปนตัวประกอบ ก. 238

ข. 336

ค. 372

ง. 462

ตอบ ขอ ค. จะเห็นวาทุกตัวเลือกหาร 2 ไดลงตัวทั้งหมด ดังนั้น ตองนำ 7 ไปหารเลขแตละตัวเลือกก็จะได คำตอบ ในที่นี้มีเพียงขอ ค. ที่หารดวย 7 ไมลงตัว 156) กำหนดใหจำนวนนับมีคาระหวาง 10 – 130 อยากทราบวามีจำนวนนับที่มี 13 เปนตัวประกอบ ทั้งสิ้นกี่จำนวน ก. 6 จำนวน

ข. 8 จำนวน

ค. 10 จำนวน

ง. 12 จำนวน

ตอบ ขอ ค. จำนวนนับมีคาระหวาง 10 – 130 จำนวนที่มี 13 เปนตัวประกอบ คือ จำนวนที่หารดวย 13 ลงตัว เริ่มจาก 13 , 13 × 2 = 26, 13 × 3 = 39, 13 × 4 = 52, 13 × 5 = 65, 13 × 6 = 78, 13 × 7 = 91, 13 ×8 = 104 , 13× 9= 117, 13 ×10 =130 157) มานี แ บ ง ขนมให น อ ง 3 คน คนแรกได

𝟏𝟏 𝟑𝟑

ของขนมที ่ ม ี อ ยู คนที ่ ส องได

คนที่สามไดขนม 10 ชิ้น อยากทราบวาเดิมมานีมีขนมกี่ชิ้น ก. 18 ชิ้น

ข. 20 ชิ้น

ค. 26 ชิ้น 1

ตอบ ขอ ง. ใหมานีมีขนมเปน 1 สวน นองคนแรกได 3 ของขนมที่มีอยู 1

จะเหลือขนมหลังจากแบงนองคนแรก = 1 - 3 =

2 3

𝟏𝟏 𝟐𝟐

ของขนมที ่ เหลื อ ง. 30 ชิ้น


108

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 1 2 2 1 นองคนที่สองจะไดขนม = 2 × 3 = 6 = 3 2

1

สุดทาย จะเหลือขนมใหนองคนที่สาม = 3 นองคนที่สามไดขนม คิดเปน

1 3

3

1

=3

สวนของขนมทั้งหมด เทากับ 10 ชิ้น

ดังนั้น 1 สวน

จะเทากับ = 10 ÷

158) จงเติมเลขที่หายไป 3

1 3

3

= 10 × 1 = 30 ชิ้น

4

10

7

12

9

15 11

3

4

4

5

5

ก. 2

ข. 3

6

ค. 4

ง. 5

ตอบ ขอ ข. เนื่องจากเปนอนุกรมภาพสัมพันธ โดยแตละชุดมีความสัมพันธคลายกัน 3

10

ชุดที่ 1 ชุดที่ 3

33

4

12

7

15 11

9

+ 44 = 7 แลว 10 – 7 4= 3 5

5

6

5 + 6 = 11 แลว 15 -11 = 4

ดังนั้น ในชุดที่ 2 4 + 5 = 9 แลว 12 – 9 = 3 คำตอบคือ 3 159) จงเติมเลขที่หายไป

7

ก. 25

36

49

6

12

7

1

8

ข. 48

9

-4

ค. 64

2

ง. 144


109

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ง. ดูความสัมพันธของตัวเลข เริ่มจากในชองสี่เหลี่ยม ถาเอาเลขมาลบกัน จะไดคำตอบเทากับ ตัวเลขที่อยูในชองสามเหลี่ยม ไดแก 7 – 1 = 6 8- (-4) = 12 (เครื่องหมายลบเจอกันจะกลายเปนการบวก จะได 8 + 4 = 12) และ 9 – 2 = 7 หลังจากนั้นนำเลขในชองสามเหลี่ยมมายกกำลังสอง จะไดเปนตัว เลขที่อยูในชองรูปหัวใจ ไดแก 62 = 36 72 = 49 ดังนั้น 122 = 144 160)

𝟓𝟓. 𝟏𝟏𝟒𝟒̇𝟐𝟐̇ เขียนใหอยูในรูปเศษสวนไดตรงตามขอใด 47

141

ก. 5(900)

ข. 5(330)

47

144

ค. 5(330)

ง. 5(990)

ตอบ ขอ ค. จากโจทย 5.14̇ 2̇ นำมาเขียนเปนเศษสวน โดยแยกจำนวนเต็ม คือ 5 ออกมา หลังจากนั้น นำเลขหลังจุดทศนิยมทั้งหมดลบดวยเลขที่ไมซ้ำ คือ 1 หารดวยตัวสวน ซึ่งเลข 9 จะแทนเลขที่ซ้ำ สวน 0 จะแทนเลขที่ไมซ้ำ ในที่นี้ สวนจะเทากับ 990 ดังนั้น จะได 161)

𝟒𝟒𝟒𝟒

𝟗𝟗𝟗𝟗𝟗𝟗

ก.

142−1 5.14̇ 2̇ = 5( ) 990

เขียนในอยูในรูปทศนิยมซ้ำไดตรงตามขอใด

0. 0̇ 4̇ 9̇

ข.

ตอบ ข อ ง. จากโจทย สวน 0 จะแทนเลขที่ไมซ้ำ

49

990

0.49̇

ค.

141

47

= 5(990) = 5(330)

0. 4̇ 9̇

ง. 0.04̇ 9̇

จะเห็ น ว า ตั ว ส ว นมี เ ลข 9 และเลข 0 ซึ ่ ง เลข 9 จะแทนเลขที ่ ซ้ ำ

จะได

49

990

= 0.049494949…. = 0.04̇ 9̇

162) ถา 4 * 6 = 20 และ 5 * 7 = 24 แลว 3 * 8 มีคาเทาใด ก. 22

ข. 26

ค. 28

ง. 30

ตอบ ขอ ก. จากโจทยเครื่องหมาย * เปนเครื่องหมายตัวดำเนินการทางคณิตศาสตรเราตองหาความสัมพันธ ของเลขตัวหนาและตัวหลังวาทำอยางไรถึงจะไดผลลัพธตามที่กลาวมา โดยในที่นี้ความสัมพันธ (Operation) คือ (เลขตัวหนา + เลขตัวหลัง) × 2 4 * 6 = 20

(4 +6 ) × 2 = 20

5 * 7 = 24

(5 + 7 ) × 2 = 24

ดังนั้น 3 * 8

(3 + 8 ) × 2 = 22

163) ถา 3 * 7 = 16 และ 6 * 9 = 45 แลว 5 * 7 มีคาเทาใด ก. 32

ข. 36

ค. 40

ง. 42

ตอบ ขอ ค. จากโจทย ความสัมพันธ (Operation) คือ เลขตัวหนายกกำลังสอง + เลขตัวหลัง


110

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

32 + 7 = 16

3 * 7 = 16 6 * 9 = 45

62 + 9 = 45

ดังนั้น 5 * 7

52 + 7 = 32

164) ถา 4 * 5 = 22 และ 3 * 8 = 25 แลว 6 * 9 มีคาเทาใด ก. 18

ข. 21

ค. 31

ง. 36

ตอบ ขอ ง. จากโจทย ความสัมพันธ (Operation) คือ (เลขตัวหนา × 3) + (เลขตัวหลัง × 2) 4 * 5 = 22

(4 × 3) + (5 × 2) = 22

3 * 8 = 25

(3 × 3) + (8 × 2) = 25

ดังนั้น 6 * 9

(6 × 3) + (9 × 2) = 36

165) ถา 8 * 4 = 20 และ 9 * 3 = 30 แลว 13 * 6 มีคาเทาใด ก. 25

ข. 35

ค. 40

ง. 45

ตอบ ขอ ข. จากโจทย ความสัมพันธ (Operation) คือ (เลขตัวหนา – เลขตัวหลัง) × 5 8 * 4 = 20

(8 – 4) × 5 = 20

9 * 3 = 30

(9 – 3) × 5 = 60

ดังนั้น 13 * 6

(13 – 6) × 5 = 35

166) ถา 5 * 2 = 22 และ 3 * 6 = 38 แลว 8 * 5 มีคาเทาใด ก. 52

ข. 64

ค. 82

ง. 90

ตอบ ขอ ค. จากโจทย ความสัมพันธ (Operation) คือ (เลขตัวหนา × เลขตัวหลัง × 2 ) + 2 5 * 2 = 22

(5 × 2 × 2 ) + 2 = 22

3 * 6 = 38

(3 × 6 × 2 ) + 2 = 38

ดังนั้น 8 * 5

(8 × 5 × 2 ) + 2 = 82

167) ถา 1 * 3 = 9 และ 4 * 2 = 19 แลว 6 * 3 มีคาเทาใด ก. 39

ข. 44

ค. 49

ง. 54


111

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ข. จากโจทย ความสัมพันธ (Operation) คือ (เลขตัวหนายกกำลังสอง+ เลขตัวหลังยกกำลังสอง) - 1 1*3= 9

(12 + 32) - 1 = 9

4 * 2 = 19

(42 + 22) - 1 = 19

ดังนั้น 6 * 3

(62 + 32) - 1 = 44

ทบทวนคาตรีโกณมิติที่ใชในการคำนวณที่ตองจำไปสอบ θ sin θ

0° 0

cos θ

30° 1 2 √3 2

1

cosec θ =

sin θ

cos θ

sin2 θ + cos2 θ = 1

√2 1

√3 2 1 2

√2

1

sec θ =

sin θ

60°

1

tan θ =

1

45°

cot θ=

cos θ

sec2 θ - tan2 θ = 1

90° 1 0

1

= tan θ

cos θ sin θ

cosec2 θ - cot2 θ = 1

𝟗𝟗

168) ถา tan 𝛉𝛉 + cot 𝛉𝛉 = 𝟏𝟏𝟏𝟏 จงหาคาของ cosec 𝛉𝛉 · sec 𝛉𝛉 ก.

2

ข.

3

ตอบ ขอ ง.

จาก

cosec θ = จะได

1

sin θ

tan θ =

cosec θ · sec θ = = = =

√3 2

ค.

sin θ

cos θ

sec θ = 1

sin θ 1

1

cos θ

√3

cot θ=

1

sin θ·cos θ

𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠2 θ+ 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐 2 θ 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠2 θ

sin θ· cos θ

+

9

sin2 θ + cos2 θ = 1

· cos θ

sin θ· cos θ

9

𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐 2 θ

sin θ· cos θ

1

= tan θ

ง. 16 cos θ sin θ


112

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ sin θ cos θ = cos θ + sin θ

= tan θ + cot θ

9

จะเห็นวา cosec θ · sec θ = tan θ + cot θ ดังนั้น ขอนี้คำตอบคือ 16 𝟐𝟐 𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄° 𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔°

169) จงหาคาของ ก.

𝟔𝟔 𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄° 𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔°

1

ข. 1

3

ตอบ ขอ ข. จาก

𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐30° =

𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠60°

2 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐30° 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠60°

แทนคาลงไป จะได

𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝟐𝟐 𝟒𝟒𝟒𝟒°

ข.

ตอบ ขอ ก. จาก

𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠60°

แทนคาลงไป จะได

3

= √2

, 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐60° =

√3 2 1

√3

×2

2

𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠2 60° 𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡2 30°

1

√2

=

𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐 2 45°

1 2 � √3

�

1 2 � � √2

√3

ตอบ ขอ ง. จาก 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐60° = 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐45°

และ

=

𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠30° =

1

2

√3

= sin 60° cos 45° sin 45° 1

cos 30°

= =

1

√3 2

1 √2 1 √2

1

√3 2

2

=

√3

= 1 =

2

√3

3

2 3

=

2

√3 2

และ 𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡30° =

2 √3 � 2

และ 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠30° =

=

ค.

√3

ข.

2

ง. 3

2

1

, 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐45° =

1

1

1

171) จงหาคาของ 𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄° + 𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄𝒄° - 𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔° ก.

√3

6× ×

𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝒔𝟐𝟐 𝟔𝟔𝟔𝟔° 𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝟐𝟐 𝟑𝟑𝟑𝟑°

1 2

3

= √2

=

6 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐60° 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠30°

170) จงหาคาของ ก.

√3 , 2

2

ค.

ค.

=

1 2

3 2

2

×3

= 1

ง. √2

sin 30°

1 1 2 √3 = ÷ = 2× 3 2 2 √ cos 30° 3 1 × 4 3 1 2

√3 4

=

1 4

×

2 1

=

1 2

ง. 1

=

1

√3


113

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

แทนคาลงไป จะได 172) จงหาคาของ ก.

√3 2

𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐60° + 𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐𝑐45° - 𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠𝑠30° =

𝐬𝐬𝐬𝐬𝐬𝐬 𝟔𝟔𝟔𝟔°

𝐜𝐜𝐜𝐜𝐜𝐜 𝟑𝟑𝟑𝟑°

+ 6 cos60° - 2 tan45°

3

ตอบ ขอ ค. จาก sin 60° = √2 , cos60° =

แทนคาลงไป จะได

1

cot 30°

cos 30°

=

และ tan45° =

2

sin 60°

sin 30°

2

sin 45°

=

cos 45°

1 2

÷ 2 √3 2

+ 6 cos60° - 2 tan45° = cot 30°

√3

=

1

ง.

2

√3

=

√3 3

1

1

1+6−4

3

แทนคาลงไป จะได

X 2

=

X

=

√3 2

√2 2

×

1

)+3–2

√3 2

3

=

2

2 2

sin 30°

cos 30°

x cos45º = sin60º tan30º 1

=1

√3

=

ตอบ ขอ ก. จาก cos45º = √2 , sin60º = √2 และ tan30° =

√2

+3–2

2

ค.

√2

1

1

1

ข.

1

+ (6 × 2 ) – (2 × 1)

=

173) จาก x cos45º = sin60º tan30º จงหาคาของ x √2 2

× 2 = √3

2

√2

= ( √2 ×

ก.

= 1

√3

3

ค.

3

2

+ 1 -

√3

2

ข.

2

1

3

ง. √3

1

2

= 2 ÷ √2 = 2 × √3 =

1

√3

174) จาก (cot30º)3x+2 - 4 sin60º = (tan30º)-3X จงหาคาของ x

ก.

1 2

ข. cos 30°

ตอบ ขอ ข. จาก cot30º = sin 30° =

1 3

ค. √3 2

1 2

3

√2 3

= √2 × 2 = √3 , sin60º =

2

√3 2

ง. √3

1

√3


114

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

และ tan30° =

sin 30°

cos 30°

=

1 2 √3

1

2

= 2 × √3 =

2

1

√3

(cot30º)3x+2 - 4 sin60º = (tan30º)-3X

จากโจทย

√3

1

(√3)3x+2 - 4 ( 2 ) = (√3)-3X

แทนคาลงไป จะได

เลขยกกำลัง ยกกำลังอีกทีให เอาเลขชี้กำลังคูณกัน

−1

(√3)3x+2 - 2( √3 ) = (√3 )-3X −1

(√3)3x+2 - (√3 )-3X = 2( √3 )

เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังบวกกัน แสดงวา มีการคูณกัน โดยมีฐาน ของเลขยกกำลังเหมือนกัน

(√3)3x+2 - (√3)3x = 2( √3 )

[ (√3)3x × (√3)+2 ] - (√3)3x = 2( √3 )

3 (√3)3x - (√3)3x = 2( √3 ) 2 (√3)3x

ดังนัน้ 3X = 1

175) จงหาคาของ 𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕° ก.

1+√3 3

ตอบ ขอ ง. จาก tan30° = tan45° = tan60° = แทนคาลงไป จะได

= 2( √3 ) 1

X =

3

+ 𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕° - 𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕𝒕°

ข.

−1+√3

sin 30°

cos 30°

sin 45°

cos 45°

sin 60°

cos 60°

2

1

ค. 1

3

2

= 2 ÷ √2 = 2 × √3 = =

1

÷ 2 3

1

√2

1

=1

1

ง.

√3

−2+√3 √3

√3

3

= √2 ÷ 2 = √2 × 2 = √3

𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡30° + 𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡45° - 𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡𝑡60° =

(นำ √3 ไปคูณตัวเศษทั้งหมด)

2+√3

=

1

√3

+ 1-

1+√3−3 √3

√3

=

−2+√3 √3


115

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

เทคนิคการทำขอสอบสรุปความสัญลักษณ

- ตองรูจ ักเครื่องหมายทางคณิตศาสตร ไดแก > คือ มากกวา = คือ เทากับ - ถาเจอเครื่องหมาย ถาเจอเครื่องหมาย

< คือ นอยกวา ≠ คือ ไมเทากับ ≯

≥ คือ มากกวาหรือเทากับ ≯ คือ ไม่มากกว่า

≤ คือ นอยกวาหรือเทากับ ≮ คือ ไม่นอ้ ยกว่า

คือ ไม่มากกว่า ให้เปลี่ยนเป็ นเครื่องหมาย ≤ คือ นอยกวาหรือเทากับ คือ ไม่นอ้ ยกว่า ให้เปลี่ยนเป็ นเครื่องหมาย ≥ คือ มากกวาหรือเทากับ

- ในการตอบ จะมีตวั เลือกดังนี้ ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงื่อนไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชัด - พิจารณาทีละขอสรุป ถาคิดไมออกใหลองสมมติเปนตัวเลข แลวตอบ ตัวเลือกที่ตองตอบ ขอสรุปที่ 1 ขอสรุปที่ 2 ก. จริง จริง ข. ไมจริง ไมจริง ค. ไมแนชัด ไมแนชัด ง. ตอบไมเหมือนขอสรุปที่ 2 ตอบไมเหมือนขอสรุปที่ 1 จงใชสัญลักษณตอไปนี้ตอบคำถามขอ 176 -178 เงื่อนไข A < B

C < D

(ทุกคาเปนจำนวนเต็มและมีคามากกวาศูนย)

D > M = N > O โดยใชตวั เลือกตอไปนี้ในการตอบคำถาม ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงื่อนไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชัด


116

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

176) จากเงื่อนไขที่กำหนด

ขอสรุปที่ 1 B > D

ขอสรุปที่ 2 D < O

ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข B ≯ C < D เปลี่ยนเครื่องหมายจะได B ≤ C < D เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา B > D ไมจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข D > M = N > O ดั้งนั้น D > O เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา D < O ไมจริง 177) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 A = M

ขอสรุปที่ 2 C > N

ตอบ ขอ ค. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข A < D > M เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A = M ไมแนชัด ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข C < D > M = N เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา C > N ไมแนชัด 178) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 C > A

ขอสรุปที่ 2 M ≠ O

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข A < B ≯ C เปลี่ยนเครื่องหมายจะได A < B ≤ C เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา C > A เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข M = N > O ดังนั้น M > O เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา M ≠ O เปนจริง จงใชสัญลักษณตอไปนี้ตอบคำถามขอ 179 -181 เงื่อนไข H

E > R = O

(ทุกคาเปนจำนวนเต็มและมีคามากกวาศูนย)

O < K = A ≯ Y โดยใชตวั เลือกตอไปนี้ในการตอบคำถาม ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงื่อนไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชัด 179) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 H = R

ขอสรุปที่ 2 O = Y


117

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข H ≮ E > R เปลี่ยนเครื่องหมายจะได H≥ E > R เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา H = R ไมจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข O < K = A ≯ Y เปลี่ยนเครื่องหมายจะได O < K = A ≤ Y เพราะฉะนั้น ขอสรุป ที่วา O = Y ไมจริง 180) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 E > K

ขอสรุปที่ 2 A > O

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข E > R = O < K เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา E > K ไมแนชัด ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข O < K = A เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A > O เปนจริง 181) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 H > R

ขอสรุปที่ 2 Y = K

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข H ≮ E >R เปลี่ยนเครื่องหมายจะได H ≥ E > R เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา H > R เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข K = A ≯ Y เปลี่ยนเครื่องหมายจะได K = A ≤ Y เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา Y = K ไมแนชัด จงใชสัญลักษณตอไปนี้ตอบคำถามขอ 182 -184 เงื่อนไข A > B ≥ C < D

(ทุกคาเปนจำนวนเต็มและมีคามากกวาศูนย)

E < F = G ≤ H โดยใชตวั เลือกตอไปนี้ในการตอบคำถาม ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงื่อนไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชัด 182) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 A > C

ขอสรุปที่ 2 E < H


118

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข A > B ≥ C เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A > C เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข E < F = G ≤ H เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา E < H เปนจริง 183) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 D < B

ขอสรุปที่ 2 H = F

ตอบ ขอ ค. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข B ≥ C < D เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา D < B ไมแนชัด ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข F = G ≤ H เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A > O ไมแนชัด 184) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 A < D

ขอสรุปที่ 2 G > E

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข A > B ≥ C < D เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A < D ไมแนชัด ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข E < F = G เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา G > E เปนจริง จงใชสัญลักษณตอไปนี้ตอบคำถามขอ 185 -190 เงื่อนไข A = B + C < D ≯ E

(ทุกคาเปนจำนวนเต็มและมีคามากกวาศูนย)

R > D = T ≮ 2B > V โดยใชตวั เลือกตอไปนี้ในการตอบคำถาม ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงือ่ นไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชัด 185) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 E > A

ขอสรุปที่ 2 T < R

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข A = B + C < D ≯ E เปลี่ยนเครื่องหมายจะได A = B + C < D ≤ E เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา E > A เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข R > D = T เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา T < R เปนจริง


119

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

186) จากเงื่อนไขที่กำหนด

ขอสรุปที่ 1 R > E

ขอสรุปที่ 2 V < T

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข D ≯ E เปลี่ยนเครื่องหมายจะได D ≤ E และเงื่อนไข R > D นำมาเขียนเรียงใหมจะ ได R > D ≤ E เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา R > E ไมแนชัด ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข T ≮ 2B > V เปลี่ยนเครื่องหมายจะได T ≥ 2B > V เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา V < T เปนจริง 187) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 T < A

ขอสรุปที่ 2 V > D

ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข A = B + C < D และเงื่อนไข D = T ดังนั้น T > A เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา T < A ไมจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข D = T ≮ 2B > V เปลี่ยนเครื่องหมายจะได D = T ≥ 2B > V ดังนั้น D > V เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา V > D ไมจริง 188) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 B < T

ขอสรุปที่ 2 R ≠ V

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข T ≮ 2B เปลี่ยนเครื่องหมายจะได T ≥ 2B ดังนั้น

𝑇𝑇 2

≥ B เพราะฉะนั้น ขอสรุป

ที่วา B < T เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข R > D = T ≮ 2B > V เปลี่ยนเครื่องหมายจะได R > D ≥ 2B > V เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา R ≠ V เปนจริง 189) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 T = E

ขอสรุปที่ 2 A > V

ตอบ ขอ ค. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข D ≯ E เปลี่ยนเครื่องหมายจะได D ≤ E และเงื่อนไข D = T นำมาเขียงเรียงใหม จะได D = T ≤ E ดังนัน้ T ≤ E เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา T = E ไมแนชดั ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข A = B + C จะไดเปน B = A - C สมการที่ 1


120

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 𝑉𝑉 และเงื่อนไข 2B > V จะไดเปน B > 2

นำสมการที่ 1 และ 2 มาเขียนรวมกัน จะได

A–C >

เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A > V ไมแนชัด

สมการที่ 2 𝑉𝑉 2

A >

𝑉𝑉 2

+C

190) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 B < V

ขอสรุปที่ 2 A > C

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้

𝑉𝑉

ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 2B > V จะไดเปน B > 2 เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา B < V ไมแนชัด เนื่องจาก B อาจจะมากกวา V ได ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข A = B + C ถาสมมุตใิ ห B มีคาต่ำสุดที่สามารถเปนไปได คือ 1 คาของ A จะ มากกวา C เสมอ เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A > C เปนจริง จงใชสัญลักษณตอไปนี้ตอบคำถามขอ 191 -195 เงื่อนไข 3A > 2B ≮ C = ( D + E )

(ทุกคาเปนจำนวนเต็มและมีคามากกวาศูนย)

C = 2G ≯ H < I โดยใชตวั เลือกตอไปนี้ในการตอบคำถาม ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงื่อนไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชัด 191) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 G > B

ขอสรุปที่ 2 I < C

ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 2B ≮ C เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 2B ≥ C และเงื่อนไข C =2G จะไดเปน 2B ≥2G เพราะฉะนั้น B ≥ G ขอสรุปที่วา G > B ไมจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข C = 2G ≯ H < I เปลี่ยนเครื่องหมายจะได C = 2G ≤ H < I จะได C < I เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา I < C ไมจริง 192) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 3A ≠ 2G

ขอสรุปที่ 2 I > G


121

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 3A > 2B ≮ C เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 3A > 2B ≥ C และเงื่อนไข C =2G จะได เปน 3A > 2G เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 3A ≠ 2G เปนจริง 𝐼𝐼

ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข 2G ≯ H < I เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 2G ≤ H < I จะได G < 2 เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา I > G เปนจริง 193) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 D < C

ขอสรุปที่ 2 G > H

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข C = ( D + E ) ถาสมมุติให E มีคาต่ำสุดที่สามารถเปนไปได คือ 1 คาของ C จะ มากกวา D เสมอ เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา D < C เปนจริง 𝐻𝐻

ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข 2G ≯ H เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 2G ≤ H จะได G ≤ 2 คาของ H จะ มากกวา G เสมอ

เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา G > H ไมจริง

194) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 B < D

ขอสรุปที่ 2 A > 2E

ตอบ ขอ ค. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 2B ≮C = (D + E) เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 2B ≥ C =(D + E) จะได 2B ≥ (D+ E) เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา B < D ไมแนชัด เนื่องจาก B จะนอยกวาหรือมากกวา D ก็ได ขึ้นกับคาของ E ดวย ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข 3A >2B ≮ C = (D + E) เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 3A >2B ≥ C = (D + E) จะได 3A > (D + E) ลองคูณดวย 2 เขาไปทั้งสองขาง จะได 6A > (2D + 2E) เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา A > 2E ไมแนชัด เนื่องจาก 2E จะนอยกวาหรือมากกวา A ก็ได ขึ้นกับคาของ D ดวย 195) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 2G > D

ขอสรุปที่ 2 D ≠ H

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข C = (D + E) และเงื่อนไข C = 2G จะไดเปน (D + E) = 2G ถาสมมุตใิ ห E มีคา ต่ำสุดที่สามารถเปนไปได คือ 1 คาของ 2G จะมากกวา D เสมอ เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 2G > D เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข C = 2G ≯ H เปลี่ยนเครื่องหมายจะได C = 2G ≤ H จะได C ≤ H และเงื่อนไข


122

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

C = (D + E) นำมาเขียนรวมกัน จะได (D + E) ≤ H ลองสมมุตใิ ห D และ H เปน 1 เหมือนกันแลวลองแทน คาดู จะเปน (1 + E) ≤ 1 (คา E ตองมีคาตั้ง 1 ขึ้น) ปรากฎวาไมถูกตอง เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา D ≠ H เปนจริง จงใชสัญลักษณตอไปนี้ตอบคำถามขอ 196 -200 เงื่อนไข P + Q 3V > T

R = S < 𝑊𝑊

5

𝑇𝑇 2

X =

𝑈𝑈 3

(ทุกคาเปนจำนวนเต็มและมีคามากกวาศูนย)

𝑌𝑌 2

โดยใชตวั เลือกตอไปนี้ในการตอบคำถาม ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงื่อนไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชดั 196) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 3R > U

ขอสรุปที่ 2 2T < Y

ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ 𝑇𝑇

ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข R = S <

2

𝑈𝑈 3

3R ≤ U เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 3R > U ไมจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข T ≮ 𝑌𝑌

𝑊𝑊 5

≮X=

𝑌𝑌 2

𝑈𝑈

เปลี่ยนเครื่องหมายจะได R ≤ 3 นำ 3 คูณทั้งสองขาง จะได เปลี่ยนเครื่องหมายจะได T ≥

𝑊𝑊 5

𝑌𝑌

≥ X = 2 ตัดตัวที่ไม

ตองการออก จะได T ≥ 2 นำ 2คูณทั้งสองขาง จะได 2T ≥ Y เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 2T < Y ไมจริง 197) จากเงื่อนไขที่กำหนด

ขอสรุปที่ 1 S < Y

ขอสรุปที่ 2 X > 2R

ตอบ ขอ ค. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข S < เปลี่ยนเครื่องหมายจะได T ≥ จะได 2S < T ≥

𝑌𝑌 2

𝑇𝑇

2 𝑊𝑊 5

นำ 2 คูณทั้งสองขาง จะได 2S < T และเงื่อนไข T 𝑌𝑌

≥ X = 2 ตัดตัวที่ไมตองการออก จะได T ≥

𝑌𝑌 2

𝑊𝑊 5

X =

𝑌𝑌 2

นำมาเขียนเรียงตอกัน

เครื่องหมายไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา S < Y ไมแนชัด


123

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 𝑇𝑇 𝑇𝑇 ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข R = S < 2 จะได R < 2 นำ 2 คูณทั้งสองขาง จะได 2R < T และเงื่อนไข 𝑊𝑊 𝑊𝑊 T ≮ 5 ≮ X เปลี่ยนเครื่องหมายจะได T ≥ 5 ≥ X ตัดตัวที่ไมตองการออก จะได T ≥ X นำมาเขียน

เรียงตอกัน จะได 2R < T ≥ X เครื่องหมายไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา X > 2R ไมแนชัด

198) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 3W > 2Y

ขอสรุปที่ 2 T < U

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข จะได

𝑊𝑊 5

𝑌𝑌 2

𝑊𝑊 5

≮X

=

𝑌𝑌 2

เปลี่ยนเครื่องหมายจะได

𝑊𝑊 5

≥X=

𝑌𝑌 2

ตัดตัวที่ไมตองการออก

นำสวนสลับกันคูณทั้งสองขาง จะได 2W ≥ 5Y ขอสรุปกลาวถึง 3W และ 2Y ลองนำไป

เติมตอ จะได 3W > 2W ≥ 5Y > 2Y จะเห็นวามีความสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปทีว่ า 3W > 2Y เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข

𝑇𝑇 2

𝑈𝑈 3

𝑇𝑇

𝑈𝑈

เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 2 ≤ 3 นำสวนสลับกันคูณทั้งสองขาง จะได

3T ≤ 2U ขอสรุปกลาวถึงT และ U ลองนำไปเติมตอ จะได T < 3T ≤ 2U < Uจะเห็นวามีความสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา T < U เปนจริง 199) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 P < S

ขอสรุปที่ 2 V > 2X

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข P+ Q ≯ R = S เปลี่ยนเครื่องหมายจะได P +Q ≤ R = S ตัดตัวที่ไมตองการออก จะได P +Q ≤ S เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา P < S เปนจริง เนื่องจาก Q มีคา เริ่มจาก 1 ถานำไปบวก กับ P ทำให S มีคา มากกวา P เสมอ ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข 3V > T ≮

𝑊𝑊 5

≮ X เปลี่ยนเครื่องหมายจะได 3V > T ≥ 𝑋𝑋

𝑊𝑊 5

≥ X ตัดตัวทีไ่ ม

ตองการออก จะได 3V > X นำ 3 หารทั้งสองขาง จะได V > 3 ขอสรุปกลาววา V > 2X ลองนำไปเติม 𝑋𝑋

ตอ จะได 2X < V > 3 จะเห็นวาไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา V > 2X ไมแนชัด

200) จากเงื่อนไขที่กำหนดฃ

ขอสรุปที่ 1 3V < 2P

ขอสรุปที่ 2 Q > W


124

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ค. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข P + Q ≯ R = S < ตองการออก จะได P +Q <

𝑇𝑇

𝑇𝑇

เปลี่ยนเครื่องหมายจะได P +Q ≤ R = S <

2

เติมตอ จะได 2P + 2Q < T < 3V เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 3V < 2P เปนจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข P + Q ≯ R = S < เปลี่ยนเครื่องหมายจะได T ≥

𝑇𝑇

𝑊𝑊 5

ตัดตัวที่ไม

𝑇𝑇

ตัดตัวที่

2

นำ 2 คูณทั้งสองขาง จะได 2P + 2Q < T และเงื่อนไข 3V > T ลองนำไป

2

ไมตองการออก จะได P +Q <

𝑇𝑇

𝑇𝑇 2

เปลี่ยนเครื่องหมายจะได P +Q ≤ R = S <

นำ 2 คูณทั้งสองขาง จะได 2P + 2Q < T และเงื่อนไข T 2 นำ 5 คูณทั้งสองขาง จะได 5T ≥ W

2

ลองนำไปเติมตอ จะได

𝑊𝑊 5

2P + 2Q < T< 5T ≥ W จะเห็นวาไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา Q > W ไมแนชัด จงใชสัญลักษณตอไปนี้ตอบคำถามขอ 201 -205 เงื่อนไข 2L =

𝑀𝑀 2

𝑄𝑄

>N

O ≥ P

(ทุกคาเปนจำนวนเต็มและมีคามากกวาศูนย)

O < 3 ≥ 5R = S

โดยใชตวั เลือกตอไปนี้ในการตอบคำถาม ก. ขอสรุปทั้งสองเปนจริงตามเงื่อนไข ข. ขอสรุปทั้งสองไมเปนจริงตามเงื่อนไข ค. ขอสรุปทั้งสองไมแนชัด ง. ขอสรุปทั้งสองมีขอสรุปใดขอสรุปหนึ่ง ถูกตองเปนจริงหรือไมจริงหรือไมแนชัด 201) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 M > O

ขอสรุปที่ 2 P < Q

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 𝑀𝑀 2

𝑀𝑀 2

> N ≮ O เปลี่ยนเครื่องหมายจะได

𝑀𝑀 2

> N ≥ O ตัดตัวที่ไมตอ งการออก จะได

> O นำ 2คูณทั้งสองขาง จะได M > 2O เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา M > O เปนจริง 𝑄𝑄

𝑄𝑄

ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข O ≥ P และเงื่อนไข O < 3 นำมาเรียงกัน จะได 3 > O ≥ P ตัดตัวที่ไม 𝑄𝑄

ตองการออก จะได 3 > P นำ 3 คูณทั้งสองขาง จะได Q > 3P ขอสรุปกลาวถึง P นำไปเขียนตอกัน จะได

Q > 3P > P เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา P < Q เปนจริง 202) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 L > N

ขอสรุปที่ 2 2S < R


125

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ 𝑀𝑀

ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 2L =

2

> N ตัดตัวที่ไมตองการออก จะได 2L > N ขอสรุปกลาวถึง L นำไป

เขียนตอกัน จะได L < 2L > N เครื่องหมายไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา L > N ไมแนชัด (ลองสมมุติให L เปน 1 N เปน 3 แทนคาลงใน 2L > N จะได 2(1) > 3 แสดงวา N > L ก็ได) ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข 5R = S ขอสรุปกลาวถึง 2S และ R นำมาเขียนเรียงตอกัน จะได R < 5R = S < 2S เครื่องหมายไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 2S < R ไมจริง 203) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 3L < N

ขอสรุปที่ 2 2R > 3Q

ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ 𝑀𝑀

ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 2L =

2

> N ตัดตัวที่ไมตองการออก จะได 2L > N ขอสรุปกลาวถึง 3L ลอง

นำไปเติมตอ จะได 3L > 2L > N เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 3L < N ไมจริง 𝑄𝑄

≥ 5R นำ 3 คูณทั้งสองขาง จะได Q ≥ 5R ขอสรุปกลาวถึง 2R และ 3Q ลอง นำไปเติมตอ จะได 3Q > Q ≥ 5R > 2R เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 2R >3Q ไมจริง ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข

3

204) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 2Q < 3M

ขอสรุปที่ 2 3O > 2R

ตอบ ขอ ค. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 𝑀𝑀 2

𝑀𝑀 2 𝑄𝑄

> N ≮ O เปลี่ยนเครื่องหมายจะได

> O และเงื่อนไข O < 3 นำมาเขียนเรียงตอกัน จะได

𝑀𝑀 2

𝑀𝑀 2

> N ≥ O ตัดตัวที่ไมตองการออก จะได 𝑄𝑄

> O < 3 นำ 6 คูณทั้งหมด จะได

3M > 6O < 2Q จะเห็นวาไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 2Q < 3M ไมแนชัด 𝑄𝑄

ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข O < 3 ≥ 5R นำ 3 คูณทั้งหมด จะได 3O < Q ≥ 15R ขอสรุปกลาวถึง 3O

และ 2R ลองนำไปเติมตอ จะได 3O < Q ≥ 15R >2R จะเห็นวาไมสอดคลองกัน เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 3O > 2R ไมแนชัด 205) จากเงื่อนไขที่กำหนด ขอสรุปที่ 1 4L – 5R = M - S

ขอสรุปที่ 2 4Q > S

ตอบ ขอ ก. พิจารณาทีละขอสรุป ดังนี้ ขอสรุปที่ 1 จากเงื่อนไข 2L =

𝑀𝑀 2

นำ 2 คูณทั้งสองขาง จะได 4L = M และจากเงื่อนไข 5R = S


126

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 4L – 5R = M - S เปนจริง 𝑄𝑄

𝑄𝑄

≥ 5R = S ตัดตัวทีไ่ มตองการออก จะได 3 ≥ S นำ 3 คูณทั้งสองขาง จะได 3 Q ≥ 3S ขอสรุปกลาวถึง 4Q และ S ลองนำไปเติมตอ จะได 4Q > Q ≥ 3S > S ขอสรุปที่ 2 จากเงื่อนไข

เพราะฉะนั้น ขอสรุปที่วา 4Q > S เปนจริง

จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคำถามขอ 206 - 210 มูลคาสินคาเกษตรกรรมที่สงออกที่สำคัญของประเทศไทย (มูลคา : ลานบาท) ป ยางพารา ขาว มันสำปะหลัง ไกแปรรูป 2552 87,460 99,566 53,274 36,116 2553 77,328 100,480 60,224 41,760 2554 74,539 111,853 67,989 44,578 2555 75,985 90,545 65,892 32,184 2556 82,211 100,002 70,563 45,350 2557 95,385 121,335 75,626 60,190 2558 108,324 122,747 84,249 65,223 2559 97,525 104,490 85,337 60,559 2560 120,141 128,542 90,342 56,388 2561 110,250 130,288 80,174 75,234 206) ระหวางป 2554 – 2557 มูลคาการสงออกไกแปรรูปเพิ่มขึ้นประมาณรอยละเทาใด ก. 25

ข. 35

ผลไมสด 25,499 24,390 32,842 21,565 43,255 46,005 54,216 62,532 81,577 82,190

ค. 50

ง. 65

ตอบ ขอ ข. ระหวางป 2554 – 2557 มูลคาการสงออกไกแปรรูปเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ =

(มูลคาสงออกป 2557 − มูลคาสงออกป 2554) มูลคาสงออกป 2554

(60,190 − 44,578)

=

44,578

× 100

× 100 = 35.02 %

207) ในป 2558 อัตราสวนมูลคาสงออกของ ยางพารา : ขาว : มันสำปะหลัง เปนเทาใด ก. 3 : 5 : 1

ข. 2 : 3 : 1

ค. 5 : 6 : 4

ตอบ ขอ ค. ในป 2558 อัตราสวนมูลคาสงออกของ ยางพารา : ขาว : มันสำปะหลัง = 108,324 : 122,747 : 84,249 (ถาเลขเยอะๆใหปดเปนเลขกลม) =

100 : 120 : 80

ง. 4 : 5 : 1


127

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

=

5 : 6 : 4

208) ในระหวางป 2559 – 2561 มูลคาสินคาสงออกชนิดใดที่มีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่มากที่สุด ก. ขาว

ข. ยางพารา

ค. ไกแปรรูป

ง. ผลไมสด

ตอบ ขอ ง. อัตราการเปลี่ยนแปลงนั้นหมายรวมถึง อัตราเพิ่มขึ้น มีคาเปน + อัตราลดลง มีคา เปน – ใหดูที่คาตัวเลข ไมตองดูเครื่องหมาย ถาคาตัวเลขสูง แสดงวามีอัตราการเปลี่ยนแปลงสูง (มูลคาสงออกป 2561 − มูลคาสงออกป 2559)

จาก อัตราการเปลี่ยนแปลง =

มูลคาสงออกป 2559

× 100

เพื่อความรวดเร็วในการทำโจทยนี้ ใหใชคา ประมาณแทนลงไปในสูตร จะได ยางพารา

=

110−97

× 100 =

1300

= 13%

ขาว

=

130−104

× 100 =

2600

= 25%

80 −85

× 100 =

−500

= - 5%

97

104

มันสำปะหลัง = ไกแปรรูป ผลไมสด

= =

85

75 −60 60

82 −62 62

97

104

× 100 =

× 100 =

85

1500

2000 62

60

= 25%

= 32%

ดังนั้น ผลไมสดมีอัตราเปลี่ยนแปลงมากที่สุด 209) ระหวางป 2552 – 2557 มูลคาสินคาสงออกประเภทมันสำปะหลังมีมูลคาเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยประมาณ เทาใด ก. 4,470 ลานบาท

ข. 5,150 ลานบาท

ค. 5,480 ลานบาท

ง. 6,360 ลานบาท

ตอบ ขอ ก. การหามูลคาสินคาโดยเฉลี่ยระหวางป ใหนำสวนตางหารดวยจำนวนป ดังนี้ ระหวางป 2552 – 2557 มูลคาสินคาสงออกประเภทมันสำปะหลังมีมูลคาเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย =

(มูลคาสงออกป 2557 − มูลคาสงออกป 2552)

=

(75,626 − 53,274)

2557−2552

5

= 4,470 ลานบาท


128

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

210) จากขอมูลขางตนขอใดกลาวถูกตอง

ก. ระหวางป 2554 - 2556 มูลคาการสงออกของผลไมสดเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 45 ข. มูลคาการสงออกของยางพาราในป 2555 ลดลงจากป 2554 คิดเปนรอยละ 22 ค. ระหวางป 2553 - 2555 มูลคาการสงออกของขาวลดลงประมาณรอยละ 10 ง. สัดสวนการสงออกของขาวตอไกแปรรูปในป 2556 คิดเปน 3 : 2 ตอบ ขอ ค. พิจารณาในแตละตัวเลือก จะได ก. ระหวางป 2554 - 2556 มูลคาการสงออกของผลไมสดเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ =

(มูลคาสงออกป 2556 − มูลคาสงออกป 2554)

=

(43,255− 32,842)

มูลคาสงออกป 2554

32,842)

× 100

× 100 = 31.71 ดังนัน้ ขอนี้ผิด

ข. มูลคาการสงออกของยางพาราในป 2555 ลดลงจากป 2552 คิดเปนรอยละ =

(มูลคาสงออกป 2555 − มูลคาสงออกป 2552)

=

(75,985− 87,460)

มูลคาสงออกป 2552

87,460

× 100

× 100 = - 13.12 ดังนั้น ขอนี้ผิด

ค. ระหวางป 2553 - 2555 มูลคาการสงออกของขาวลดลงประมาณรอยละ =

(มูลคาสงออกป 2555 − มูลคาสงออกป 2553)

=

(90,545 − 100,480)

มูลคาสงออกป 2553

100,480

× 100

× 100 = - 9.8 ดังนั้น ขอนี้ถูกตอง

ง. สัดสวนการสงออกของขาวตอไกแปรรูปในป 2556 เขียนไดเปน ขาว

:

ไกแปรรูป

100,002

:

45,350

ทำเปนเลขกลมๆแลวมาหารกัน จะได

ขาว ไก

=

100 45

จะไดสัดสวนประมาณ 2 : 1 ขอนิ้ผิด


129

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคำถามขอ 211 – 215

การจำหนายรถมอเตอรไซตในโชวรูมใหญแหงหนึ่งระหวางเดือนสิงหาคม - ธันวาคม 2562 (หนวย : คัน) ยี่หอรถมอเตอรไซต เดือน ฮอนดา ยามาฮา ซูซูกิ คาวาซากิ เวสปา สิงหาคม 125 101 89 10 25 กันยายน 98 77 59 27 33 ตุลาคม 112 85 101 64 54 พฤศจิกายน 96 106 86 39 8 ธันวาคม 139 115 32 74 23 211) ยอดจำหนายรถมอเตอรไซตของเดือนตุลาคมมากกวาเดือนพฤศจิกายนคิดเปนรอยละเทาใด ก. 12

ข. 24

ค. 35

ง. 44

ตอบ ขอ ข. ยอดจำหนายมอเตอรไซตทั้งหมดในเดือนตุลาคม = 112+ 85 +101 + 64+ 54 = 416 ยอดจำหนายมอเตอรไซตทั้งหมดในเดือนพฤศจิกายน = 96+ 106 +86 + 39+ 8 = 335 ดังนั้น ยอดจำหนายรถมอเตอรไซตของเดือนตุลาคมมากกวาเดือนพฤศจิกายนคิดเปนรอยละ =

416−335 335

× 100 = 24.17

212) รถมอเตอรไซตทจี่ ำหนายมากเปนอันดับที่ 3 มียอดจำหนายโดยเฉลี่ยเปนกี่คันตอเดือน ก. 73 คัน

ข. 85 คัน

ค. 90 คัน

ง. 99 คัน

ตอบ ขอ ก. หาผลรวมยอดขายของรถแตละยี่หอ จะได ฮอนดา = 125 + 98+ 112+ 96+ 139 = 570 ยามาฮา = 101 +77 + 85 + 106 + 115 = 484 ซูซูกิ

= 89 + 59 + 101 + 86 + 32 = 367

คาวาซากิ = 10 + 27 + 64 + 39 + 74 = 214 เวสปา

= 25 + 33 + 54 + 8 + 23 = 143

ดังนั้น รถมอเตอรไซตที่จำหนายมากเปนอันดับที่ 3 คือ ซูซูกิ นำมาคำนวณวาภายในเดือนสิงหาคม ถึง เดือนธันวาคม (ทั้งหมด 5 เดือน) มียอดขายเฉลีย่ เดือนละ =

367 5

= 73.4 คัน


130

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

213) ระหวางเดือนสิงหาคม ถึงเดือนธันวาคม ยอดจำหนายของฮอนดามีจำนวนมากกวาอันดับที่ 2 กี่คัน ก. 58 คัน

ข. 62 คัน

ค. 74 คัน

ง. 86 คัน

ตอบ ขอ ง. ยอดจำนวนของฮอนดา = 570 คัน และยอดจำหนายของอันดับที่ 2 คือ ยามาฮา = 484 คัน ดังนั้น ผลตางจะเทากับ 570 – 484 = 86 คัน 214) ถาโดยเฉลี่ยเวสปาจำหนายคันละ 80,000 บาท อยากทราบวา มูลคาการจำหนายเดือนกันยายน มากกวาเดือนธันวาคมกี่บาท ก. 6 แสนบาท

ข. 7 แสนบาท

ค. 8 แสนบาท

ง. 9 แสนบาท

ตอบ ค. ผลตางยอดขายเวสปาเดือนกันยายนและธันวาคม = 33 – 23 = 10 คัน เวสปาราคาโดยเฉลี่ยคันละ 80,000 บาท ดังนั้น ยอดขายเดือนกันยายนมากกวาเดือนธันวาคม = 10 × 80,000 = 800,000 บาท 215) จากตารางขางตนขอใดกลาวไดถกู ตอง ก. ระหวางเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม การจำหนายรถมอเตอรไซตทั้งหมดไดนอยกวา 1,500 คัน ข. ระหวางเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม การจำหนายรถมอเตอรไซตโดยเฉลี่ยประมาณ 355 คันตอเดือน ค. ระหวางเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม มูลคาการจำหนายคาวาซากิมากกวาซูซูกิ ง. หากเรียงลำดับยอดขายจากนอยไปหามาก ไดแก คาวาซากิ เวสปา ซูซูกิ ยามาฮา ฮอนดา ตอบ ขอ ข. พิจารณาทีละตัวเลือก จะได ก. นำยอดจำหนายทุกยี่หอมารวมกัน= 570 + 484 + 367 + 214 +143 = 1,778 คัน ดังนั้น ขอนี้ผิด ข. นำยอดขายมอเตอรไซตทั้งหมด หารดวยจำนวนเดือน คือ 5 เดือน จะได = คันตอเดือน ดังนั้น ขอนี้ถูกตอง

1,778 5

= 355.6

ค. มูลคาการขายคาวาซากินอยกวาซูซูกิ ขอนี้ผิด ง. ถาเรียงลำดับยอดขายจากนอยไปหามากที่ถูกตอง คือ เวสปา คาวาซากิ ซูซูกิ ยามาฮา ฮอนดา


131

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคำถามขอ 216 – 220

อัตราการใชพาราควอตในภาคตางๆของประเทศไทย ภาค

2558 120,892 135,841 156,352 248,966 ?

เหนือ กลาง ใต ตะวันออกเฉียงเหนือ รวม

2559 132,482 159,233 148,662 250,858 ?

(หนวย : ตัน) ป พ.ศ. 2560 125,852 145,784 162,879 260,985 ?

2561 100,513 129,852 173,772 271,964 ?

2562 112,336 135,269 166,877 250,875 ?

216) ปริมาณการใชพาราควอตของภาคใต ในป 2560 เปนอยางไร ก. คิดเปนรอยละ 32 ของปริมาณการใชพาราควอตทั้งหมดในปเดียวกัน ข. มากกวาป 2559 อยู 15 เปอรเซ็นต ค. นอยกวาป 2561 ประมาณ 20 พันตัน ง. คิดเปนรอยละ 62 ของปริมาณการใชพาราควอตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปเดียวกัน ตอบ ขอ ง. พิจารณาทีละตัวเลือก จะได ก. หาปริมาณการใชพาราควอตทั้งหมด ในป 2560 จะได = 125,852 + 145,784 +162,879 + 260,985 = 695,500 ตัน ดังนั้น ปริมาณการใชพาราควอตของภาคใต ในป 2560 คิดเปนรอยละ =

162,879

695,500

× 100 = 23.41

(สมมุติใหเปนเลขกลมๆ จะได =

162 695

× 100 จะไดประมาณ 23 ดังนั้น ขอนี้ผิด)

ข. ปริมาณการใชพาราควอตของภาคใต ในป 2560 มากกวาป 2559 คิดเปนเปอรเซ็นต =

ปริมาณการใชในป 2560− ปริมาณการใชในป 2559

=

162,879 − 148,662

ปริมาณการใชในป 2559

148,662

× 100

× 100


132

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 162−148 (สมมุติใหเปนเลขกลมๆ จะได = 148 × 100

จะไดประมาณ 9 % ดังนั้น ขอนี้ผิด)

ค. ปริมาณการใชพาราควอตของภาคใตในป 2561 มากกวาป 2560 = 173,772 - 162,879 (สมมุติใหเปนเลขกลมๆ จะได = 173,000 - 162,000 จะไดประมาณ 11,000 ตัน ซึ่งเทากับ 11 พันตัน ดังนั้น ขอนี้ผิด

ง. ในป2560 มีปริมาณการใชพาราควอตของภาคใต เทากับ 162,879 ตันและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เทากับ 260,985 ตัน ในการหาคำตอบขอนี้ ใหนำเลขดังกลาว (สมมุติใหเปนเลขกลมๆ) มาหารกัน 162

และคูณดวย 100 จะได = 260 × 100 จะไดประมาณ 62 ดังนั้น ขอนี้ถูกตอง

217) ในป 2558 อั ต ราการใช พ าราควอตของภาคเหนื อ คิ ด เป น ร อ ยละเท า ใดของปริ ม าณการใช พาราควอตทั้งหมด ก. 18

ข. 25

ค. 32

ง. 40

ตอบ ขอ ก. ในป 2558 อัตราการใชพาราควอตของภาคเหนือ = 120,892 ตัน ปริมาณการใชพาราควอตทั้งหมดในป 2558 = 120,892 + 135,841+ 156,352 + 248,966 = 662,051 ตัน หาอัตราการใชพาราควอตของภาคเหนือ จะได =

120,892

662,051

× 100 = 18

(ลองสมมุติเปนเลขกลมๆ เผื่อความรวดเร็วในการทำขอสอบ จะได = 120+ 135+ 156 + 246 = 657 120

และหาอัตราการใชพาราควอตของภาคเหนือ จะได =

657

× 100 = 18)

218) ปริ ม าณการใช พ าราควอตของภาคกลางและภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ในป ใ ดที ่ มี อ ั ต ราส ว น เทากับ 1 : 2 ก. 2559

ข. 2560

ค. 2561

ง. 2562

ตอบ ขอ ค. นำปริมาณการใชพาราควอตของภาคตะวันออกเฉียงเหนือหารดวยของภาคกลาง ถาไดเทากับ 2 แสดงวาเปนคำตอบของขอนี้ ป 2559

=

250

= 1.57

ป 2560

=

260

= 1.79

159

145


133

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 271 ป 2561 = 129 = 2.10 (ขอนี้ใกลเคียงที่สุด)

ป 2562

=

250 135

= 1.85

219) เมื่อเปรียบเทียบปริมาณพาราควอตที่ใชทงั้ หมดในป 2561 กับป 2562 เปนอยางไร ก. ป 2561 ใชมากกวา 5 พันตัน

ข. ป 2561 ใชมากกวา 10 พันตัน

ค. ป 2561 ใชมากกวา 5%

ง. ป 2561 ใชมากกวา 10%

ตอบ ขอ ข. นำเลขสามตัวหนามาคำนวณ เผื่อความรวดเร็วในการทำขอสอบ จะได ปริมาณพาราควอตที่ใชทั้งหมดในป 2561 = 100 + 129 + 173 + 271 = 673 ปริมาณพาราควอตที่ใชทั้งหมดในป 2562 = 112 + 135 + 166 + 250 = 663 จะเห็นวา ผลตาง = 673,000 – 663,000 = 10,000 ตัน ซึ่งเทากับ 10 พันตัน 220) ในป 2559 อัตราการเพิ่มของการใชพาราควอตของภาคใดเพิ่มจากป 2558 มากที่สุด ก. ภาคเหนือ ตอบ ขอ ข.

ข. ภาคกลาง

ค. ภาคใต

ง. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

หาอัตราการเพิ่มของแตละภาค จะได ภาคเหนือ

สวนตาง = 132 – 120 = 12 อัตราการเพิ่ม =

12

120

× 100 = 10 %

ภาคกลาง สวนตาง = 159 – 135 = 24 อัตราการเพิ่ม = ภาคใต

24

135

× 100 = 18 %

สวนตาง = 148 – 156 = - 8 อัตราการเพิ่ม =

−8

156

× 100 = - 5 % (คาติดลบ แสดงวา ปริมาณลดลง)

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพิ่มขึ้น = 250 – 248 = 2 อัตราการเพิม่ =

2

248

× 100 = 0.8 %

ดังนั้น ภาคกลางมีอตั ราการเพิม่ มากที่สุด


134

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคำถามขอ 221 – 225

จากการสำรวจพนักงานออฟฟศวาใชแอปพลิเคชันใดในการดูหนังออนไลน HOOQ

5% Line TV 10% Viu

40% Netflix

12% AIS Play

30% iFlix

221) มีผูที่ใชแอปพลิเคชัน HOOQ เปนกี่เทาของพนักงานที่ถูกสำรวจทั้งหมด ก. 0.03

ข. 0.05

ตอบ ขอ ก.

ค. 0.10

ง. 0.12

จากแผนภูมิวงกลม หา % ของผูที่ใชแอปพลิเคชัน HOOQ จะได = 100 – 40 – 30 – 12 – 10 – 5 = 3% 3

ดังนั้น ผูที่ใชแอปพลิเคชัน HOOQ = 3% = = 0.03 เทาของพนักงานที่ถูกสำรวจทั้งหมด 100

222) ถาพนักงานที่ถูกสำรวจมีทั้งหมด 500 คน จงหาวามีจำนวนผูที่ใชแอปพลิเคชัน Netflix มากกวา แอปพลิเคชัน AIS Play กี่คน ก. 120 คน

ข. 130 คน

ค. 140 คน

ง. 150 คน

ตอบ ขอ ค. สวนตางของจำนวนผูที่ใชแอปพลิเคชัน Netflix มากกวา AIS Play = 40 – 12 = 28% จากโจทย ทราบจำนวนพนักงานทั้งหมด เทากับ 500 คน ดังนั้น จำนวนผูที่ใชแอปพลิเคชัน Netflix มากกวาแอปพลิเคชัน AIS Play =

28

100

× 500 = 140 คน

223) ถามีผูที่ใชแอปพลิเคชัน iFlix มากกวาแอปพลิเคชัน Viu อยู 75 คน จะมีพนักงานผูถูกสำรวจ ทั้งหมดกี่คน ก. 270 คน

ข. 375 คน

ค. 420 คน

ตอบ ขอ ข. สวนตางของจำนวนผูที่ใชแอปพลิเคชัน iFlix มากกวา Viu = 30 – 10 = 20%

ง. 475 คน


135

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

เทียบบัญญัติยางค ไดดังนี้ สวนตาง

20 คน จากจำนวนพนักงานทั้งหมด 100 คน

ถาสวนตาง 75 คน จากจำนวนพนักงานทั้งหมด =

75 ×100 20

= 375 คน

224) จากแผนภูมิรูปวงกลม สวนของผูที่ใชแอปพลิเคชัน iFlix ทำมุมกี่องศา ก. 108 องศา

ข. 112 องศา

ค. 120 องศา

ง. 136 องศา

ตอบ ขอ ก. สวนของผูที่ใชแอปพลิเคชัน iFlix เทากับ 30% ของวงกลม ภายในวงกลมทั้งหมด เทากับ 360 องศา 30

ดังนั้น สวนของผูที่ใชแอปพลิเคชัน iFlix =

100

× 360 = 108 องศา

225) จงหาวามีผูใชแอปพลิเคชัน iFlix เปนกี่เทาของผูที่ใชแอปพลิเคชัน AIS Play ก. 0.5

ข. 1.5

ค. 2

ง. 2.5

ตอบ ขอ ง. นำจำนวนเปอรเซ็นตผูใชแอปพลิเคชัน iFlix หารดวยจำนวนผูที่ใชแอปพลิเคชัน AIS Play 30

จะได = 12 = 2.5 เทา

จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคำถามขอ 226 – 230 จากการสำรวจปริมาณนมผงเด็ก 3 ยี่หอ ไดแก A , B , C ที่มีการจำหนายในชวงเดือนเมษายน ถึงเดือน สิงหาคม 2562 ไดผลดังแสดงในกราฟแทงตอไปนี้ (หนวยเปนลานกิโลกรัม) 35 30

30

25

25

20 15

20

18

21

22

30

25

24

22

18

16

10

32

30

10

5 0

เมษายน

พฤษภาคม

มิถนุ ายน A

B

กรกฎาคม C

สิงหาคม


136

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

226) อัตราสวนการจำหนายนมผงยี่หอ C และยี่หอ A ในเดือนใด มีคาเทากับ 1 : 3 ก. พฤษภาคม

ข. มิถุนายน

ค. กรกฎาคม

ง. สิงหาคม

ตอบ ขอ ค. นำปริมาณการจำหนายนมผง A หารดวยนมผง C ถาได 3 ใหตอบเดือนนั้น จะได เมษายน

=

18

= 1.13

พฤษภาคม

=

20

= 0.95

มิถุนายน

=

22

= 1.22

กรกฏาคม

=

30

= 3

สิงหาคม

=

32

= 1.45

16

21

18

10

22

ตอบขอนี้

227) ในเดือนเมษายน อัตราการจำหนายนมผงยี่หอ C คิดเปนรอยละเทาใดของการจำหนายนมผงยี่หอ C ทั้งหมดตั้งแตเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม ก. 18

ข. 22

ค. 26

ง. 34

ตอบ ขอ ก. หายอดขายรวมของนมผง C = 16 + 21 + 18 + 10 + 22 = 87 ลานกิโลกรัม 16

ดังนั้น อัตราการจำหนายนมผงยี่หอ C คิดเปนรอยละ = 87 × 100 = 18.39

228) ในเดือนกรฏาคม อัตราการเพิ่มของการจำหนายนมผงยี่หอใดเพิ่มจากเดือนมิถุนายน มากที่สุด ก. ยี่หอ A ตอบ ขอ ก.

ข. ยี่หอ B

ค. ยี่หอ C

ง. ยีห่ อ A และ B

ยีห่ อ A สวนตางของเดือนก.ค. กับเดือน มิ.ย. = 30 – 22 = 8 จะได อัตราการเพิม่ =

8

22

× 100 = 36.36%

ยี่หอ B สวนตางของเดือนก.ค. กับเดือน มิ.ย. = 25 – 24 = 1 จะได อัตราการเพิ่ม =

1

24

× 100 = 4.16%

ยี่หอ C สวนตางของเดือนก.ค. กับเดือน มิ.ย. = 10 – 18 = -8 จะได อัตราการเพิ่ม =

−8 18

× 100 = - 44.44% (ยอดขายลดลง)


137

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ดังนั้น ยีห่ อ A มีอตั ราการเพิ่มของการจำหนายไดมากทีส่ ุด 229) ตั้งแตเดือนเมษายนถึงเดือนสิงหาคม นมผงยี่หอใดขายไดมากที่สดุ ก. ยี่หอ A

ข. ยี่หอ B

ค. ยี่หอ C

ง. ยี่หอ A และ B

ตอบ ขอ ข. หายอดขายรวมของนมผงแตละยีห่ อ จะได ยอดขายรวมของนมผง A = 18 + 20 + 22 + 30 + 32 = 122 ลานกิโลกรัม ยอดขายรวมของนมผง B = 25 + 30 + 24 + 25 + 30 = 134 ลานกิโลกรัม ยอดขายรวมของนมผง C = 16 + 21 + 18 + 10 + 22 = 87 ลานกิโลกรัม ดังนั้น นมผงยี่หอ B ขายไดมากทีส่ ุด 230) ยอดจำหนายนมผงยี่หอ B คิดเปนรอยละเทาใดของการจำหนายนมทั้งหมดในเดือนเมษายนถึง เดือนสิงหาคม ก. 15

ข. 27

ค. 31

ง. 39

ตอบ ขอ ง. หายอดขายรวมของนมผงทั้ง 3 ยี่หอ = 122 + 134 + 87 = 343 ลานกิโลกรัม และยอดขายรวมของนมผง B = 25 + 30 + 24 + 25 + 30 = 134 ลานกิโลกรัม ดังนั้น ยอดขายของนมผงยี่หอ B คิดเปนรอยละ =

134 343

× 100 = 39

จงใชขอมูลตอไปนี้ตอบคำถามขอ 231 – 235 ตารางแสดงจำนวนผูมาขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรมตามจังหวัดตางๆ หนวย : คน จังหวัด

พ.ศ.

2557

2558

2559

2560

รวม

ภูเก็ต 1,342 1,165 ? 1,086 5,084 กระบี่ 964 1,152 829 1,202 ? ชลบุรี 1,655 ? 1,038 1,503 5,493 กาญจนบุรี 1,257 1,033 1,185 ? 4,407 เชียงราย 884 752 509 743 ? รวม 6,102 5,399 5,052 5,466 22,019 231) ในป 2559 จำนวนผูมาขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต คิดเปนรอยละเทาใด ของผูมาขอใบอนุญาตทั้งหมด ก. 25

ข. 30

ค. 35

ง. 40


138

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ข. หาตัวเลขที่หายไปในตารางของจังหวัดภูเก็ต ป 2559 จะได = 5,052 – 829 – 1,038 – 1,185 – 509 = 1,491 หรืออีกวิธีหนึ่ง จะได = 5,084 – 1,342 – 1,165 – 1,086 = 1,491 1,491

ดังนั้น จำนวนผูขอใบอนุญาตในภูเก็ต = × 100 = 30 5,052

232) จำนวนผู  ม าขอใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การโรงแรมในจั ง หวั ด ชลบุ ร ี ร วมกั บ จั ง หวั ด กาญจนบุ รี ในป 2558 มีจำนวนเทาใด ก. 2150 คน

ข. 2,215 คน

ค. 2,330 คน

ง. 2,456 คน

ตอบ ขอ ค. หาตัวเลขที่หายไปในตารางของจังหวัดชลบุรี ป 2558 จะได = 5,399 – 1,165 – 1,152 – 1,033 – 752 = 1,297 หรืออีกวิธีหนึ่ง จะได = 5,493 – 1,655 – 1,038 – 1,503 = 1,297 โจทยถาม จำนวนผูมาขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรมในจังหวัดชลบุรีรวมกับจังหวัดกาญจนบุรี จะได = 1,297 + 1,033 = 2,330 คน 233) ตั้งแตป 2557 – 2560 มีมาขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรมของจังหวัดกระบี่แตกตา งจาก จังหวัดเชียงรายอยางไร ก. นอยกวา 1,259 คน

ข. มากกวา 1,342 คน

ค. มากกวา 1,259 คน

ง. มากกวา 1,342 คน

ตอบ ขอ ค. จากตาราง ในป 2557 – 2560 มีผูมาขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรม จังหวัดกระบี่

ทั้งหมด = 964 + 1,152 + 829 + 1,202 = 4,147 คน

จังหวัดเชียงราย ทั้งหมด = 884 + 752 + 509 + 743 = 2,888 คน ดังนั้น มีจำนวนผูม าขอใบอนุญาตของจังหวัดกระบี่มากกวาของจังหวัดเชียงราย = 4,147 – 2,888 = 1,259 คน 234) จำนวนผูมาขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรมในจังหวัดกาญจนบุรี ป พ.ศ. 2557 ตางจากป พ.ศ.2560 อยูเทาใด ก. 325 คน

ข. 340 คน

ค. 352 คน

ง. 416 คน

ตอบ ขอ ก. หาจำนวนผูมาขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงแรมในจังหวัดกาญจนบุรี ป พ.ศ. 2560


139

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

= 4,407 – 1,257 – 1,033 -1,185 = 932 คน ดังนั้น จำนวนผูมาขอใบอนุญาตในจังหวัดกาญจนบุรี ป พ.ศ. 2557 ตางจากป พ.ศ.2560 = 1,257 – 932 = 325 คน 235) อัตราสวนของผูมาขอใบอนุญาตจังหวัดเชียงรายและจังหวัดภูเก็ต ในป พ.ศ.ใด มีคาเทากับ 1 : 3 ก. ป 2557

ข. ป 2558

ค. ป 2559

ง. ป 2560

ตอบ ขอ ค. นำจำนวนผูขอใบอนุญาตจังหวัดภูเก็ตหารดวยเชียงราย ถาได 3 ใหตอบปนั้น จะได ป 2557 =

1,342

= 1.52

ป 2558 =

1,165

= 1.54

ป 2559 =

1,491

= 2.93

ป 2560 =

1,086

= 1.46

การวิเคราะหขอมูลเพียงพอ

884 752

509

743

ตอบขอนี้

ใหพิจารณาการตอบคำถามโดยยึดหลักเกณฑดังนี้ ตอบ ก. หากคาในสดมภ (1)

มากกวา คาในสดมภ (2)

ตอบ ข. หากคาในสดมภ (1)

นอยกวา คาในสดมภ (2)

ตอบ ค. หากคาในสดมภ (1)

เทากับ

คาในสดมภ (2)

ตอบ ง. หากไมสามารถสรุปไดวา คาในสดมภ (1) และสดมภ (2) มีคามากกวากัน 236)

ตอบ ขอ ก.

สดมภ (1) 40

จากสดมภ (3) หาคา P

สดมภ (2) 2P 3P + 9 = 63 3P = 63 – 9 3P = 54

สดมภ (3) 3P + 9 = 63


140

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ 54 P = 3

เพราะฉะนั้น ใน สดมภ (2)

ดังนั้น คาในสดมภ (1)

= 18

2P = 18 × 2 = 36

มากกวา คาในสดมภ (2)

237) สดมภ (1) 30%

สดมภ (2) ถาใชแอลกอฮอลเจลไปแลว 170 ml จะเหลือแอลกอฮอลเจล กี่เปอรเซ็นต

ตอบ ขอ ข.

สดมภ (3) แอลกอฮอลเจลขวดใหญ ขนาด 250 ml

จากสดมภ (3) นำมาหาคำตอบของสดมภ (2) มีแอลกอฮอลเจลเหลือ = 250 – 170 = 80 ml เพราะฉะนั้น มีแอลกอฮอลเจลเหลืออยู = ดังนั้น คาในสดมภ (1)

80

250

× 100 = 32 %

นอยกวา คาในสดมภ (2)

238) สดมภ (1)

ตอบ ขอ ง.

สดมภ (2)

𝑅𝑅 3

𝑆𝑆 5

สดมภ (3) R หารดวย 3 ลงตัว S หารดวย 5 ลงตัว R และ S เปนเลขจำนวนเต็มบวก

จากสดมภ (3) R หารดวย 3 ลงตัว , S หารดวย 5 ลงตัว , R และ S เปนเลขจำนวนเต็มบวก แสดงวา R และ S มีไดหลายคา ซึ่งไมสามารถระบุไดชัดวา จะทำให สดมภ (1) มากกวา หรือนอยกวา หรือเทากับ สดมภ (2) 239) สดมภ (1) 4X + 6

สดมภ (2) X + 3Y

ตอบ ขอ ค. จากสดมภ (3)

5<X<7

จะได X = 6

สดมภ (3) 5<X<7 7<Y<9 X และ Y เปนเลขจำนวนเต็มบวก


141

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

และ

7<Y<9

จะได Y = 8

แทนคาลงใน สดมภ (1) จะได 4X + 6 = (4 × 6) + 6 = 24 + 6 = 30 แทนคาลงใน สดมภ (2) จะได X + 3Y = 6 + (3 × 8) = 6 + 24 = 30 ดังนั้น คาในสดมภ (1)

เทากับ คาในสดมภ (2)

240) สดมภ (1) ตอบ ขอ ข.

สดมภ (2) 11 - b

12𝑎𝑎 5

จากสดมภ (3)

สดมภ (3) 4a + 3b = 14 2a – b = 12

4a + 3b = 14

เปนสมการที่ 1

2a – b = 12

เปนสมการที่ 2

คูณ 3 เขาไปในสมการที่ 2 จะได

6a – 3b = 36

เปนสมการที่ 3

นำสมการที่ 1 + สมการที่ 3 จะได

4a + 3b + 6a – 3b = 14 + 36 10a = 50 a =

แทนคา a = 5 ลงในสมการที่ 2 จะได

2(5) – b = 12

50 10

=5

10 - b = 12 b = 10 – 12 = -2 แทนคา a = 5 ลงใน สดมภ (1) จะได แทนคา b = - 2 ลงใน สดมภ (2) จะได ดังนั้น คาในสดมภ (1)

12𝑎𝑎 5

=

12 ×5 5

= 12

11 – b = 11 – (-2) = 11 + 2 = 13 นอยกวา คาในสดมภ (2)

241) สดมภ (1) 𝑎𝑎𝑎𝑎 + 𝑏𝑏 𝑏𝑏

สดมภ (2) (a + 1)b

สดมภ (3) b=1


142

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ค. จากสดมภ (3) b = 1 แทนคาลงใน สดมภ (1)

ab+b b

=

a(1) +1 1

=a+1

จากสดมภ (3) b = 1 แทนคาลงใน สดมภ (2) (a + 1)b = ( a + 1) (1) = a + 1 เทากับ คาในสดมภ (2)

ดังนั้น คาในสดมภ (1) 242)

ตอบ ขอ ข.

สดมภ (1) X2 + Y 2

จากสดมภ (2)

สดมภ (2) (X + Y)2

สดมภ (3) X > 1 , Y >1

(X + Y)2 = (X + Y) (X + Y) = X2 + 2XY + Y2

จากสดมภ (3) เพราะฉะนั้น

X > 1 , Y >1 แสดงวา 2XY ไมเทากับ 0 X2 + 2XY + Y2 ตองมากกวา X2 + Y2

ดังนั้น คาในสดมภ (1)

นอยกวา คาในสดมภ (2)

243) สดมภ (1) 3b

สดมภ (2) 1 คาเฉลี่ยของ b , 2b , 2b และ 5b

ตอบ ขอ ก.

1

สดมภ (3) B>0

จากสดมภ (2) หาคาเฉลี่ยของ b , 2b , 2b และ 5b (นำทั้งหมดบวกกันและหารดวย 4) 1

จะได = (b + b + 2b + 5b) ÷ 4 2 = 8.5b ÷ 4

= 2.13b ดังนั้น คาในสดมภ (1)

มากกวา คาในสดมภ (2)


143

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

244)

สดมภ (1) 3 เทาของเงิน 105 บาท ตอบ ขอ ค.

สดมภ (2) 3 ใน 4 ของเงินกองกลาง

จากสดมภ (1) 3 เทาของเงิน 105 บาท

สดมภ (3) มีเงินกองกลาง 420 บาท

= 3 × 105 = 315 บาท

จากสดมภ (2) 3 ใน 4 ของเงิน 420 บาท =

3 4

× 420 = 315 บาท

เทากับ คาในสดมภ (2)

ดังนั้น คาในสดมภ (1) 245)

สดมภ (1) สดมภ (2) ความยาวเสนรอบรูปของสี่เหลี่ยม ความยาวเสนรอบรูปของ ดานเทาที่มีความยาวดานละ a สามเหลี่ยมดานเทาที่มีความยาว ดานละ b ตอบ ขอ ข.

สดมภ (3) 𝑏𝑏 a=3

จากสดมภ (1) ความยาวเสนรอบรูปของสี่เหลี่ยมดานเทาที่มีความยาวดานละ a

= 4a

จากสดมภ (2) ความยาวเสนรอบรูปของสามเหลี่ยมดานเทาที่มีความยาวดานละ b = 3b จากสดมภ (3)

a =

𝑏𝑏 3

3a = b คูณดวย 3 ทั้งสองขางจะได

9a = 3b

ดังนั้น คาในสดมภ (1)

ซึ่ง 9a นั้นมากกวา 4a

นอยกวา คาในสดมภ (2)

246) เถาแกเฮงเปนเจาของที่ดิน 3 ที่ ดังตอไปนี้ - ที่ดินขางวัด 1,000 ตารางวา - ที่ดินสำหรับทำไรปลูกสับปะรด จำนวน 5 ไร - ที่ตรงขางทางรถไฟสำหรับเปดเปนตลาดนัด จำนวน 5,000 ตารางเมตร จากขอความขางตน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง ก. ที่ดินขางวัดมีขนาดใหญที่สุด


144

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ข. ทีด่ ินสำหรับทำไรปลูกสับปะรด มีขนาดนอยกวา 10 งาน ค. ที่ตรงขางทางรถไฟสำหรับเปดเปนตลาดนัด มีขนาดเทากับ 1,250 ตารางวา ง. เรียงลำดับขนาดที่ดินจากนอยไปมาก ไดแก ทีด่ ินปลูกสับปะรด ทีด่ ินขางวัด ที่ดินขางทางรถไฟ ตอบ ขอ ค.

ทบทวนความรู ดังนี้

1 ไร เทากับ 4 งาน 1 งาน เทากับ 100 ตารางวา 1 ตารางวา เทากับ 4 ตารางเมตร **** หลักการในการทำโจทยเปรียบที่มีหนวยตางกัน ใหทำใหอยุในหนวยเดียวกันกอน *** ดังนั้น

1 ไร เทากับ 400 ตารางวา และเทากับ 1,600 ตารางเมตร

เพราะฉะนั้นที่ดินสำหรับทำไรปลูกสับปะรด จำนวน 5 ไร เทากับ 5 × 1,600 = 8,000 ตารางเมตร และ ที่ดินขางวัด 1,000 ตารางวา เทากับ 4,000 ตารางเมตร เรียงลำดับขนาดที่ดินจากนอยไปมาก ไดแก ที่ดิน ขางวัด ที่ดินขางทางรถไฟ ที่ดินปลูกสับปะรด ดังนั้น ขอ ก. และ ง. ไมถูกตอง จากหนวย

1 ไร

เทากับ 4 งาน

ที่ดินสำหรับทำไรปลูกสับปะรด จำนวน 5 ไร เทากับ 5 × 4 = 20 งาน ดังนั้น ขอ ข. ทีด่ ินสำหรับทำไรปลูกสับปะรด มีขนาดนอยกวา 10 งาน ขอนี้ไมถูกตอง จากหนวย 4 ตารางเมตร

เทากับ 1 ตารางวา

ทีต่ รงขางทางรถไฟ 5,000 ตารางเมตร เทากับ แสดงวา ขอ ค. เปนคำตอบทีถ่ ูกตอง

5,000 4

= 1,250 ตารางวา

247) ของเหลว 4 ชนิด ดังตอไปนี้มี - น้ำในฝาย 500,000 ลูกบาศกเซนติเมตร - น้ำประปา 1,500 ลิตร

- น้ำคลอง 2 ลูกบาศกเมตร - น้ำดื่ม 1 ลานมิลลิลิตร

ของเหลวชนิดใดมีปริมาณมากที่สดุ ก. น้ำในฝาย

ข. น้ำคลอง

ค. น้ำประปา

ง. น้ำดื่ม

ตอบ ขอ ข. ทบทวนความรู ดังนี้ 1 ลิตร = 1,000 มิลลิลติ ร 1 ลิตร = 1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร 1,000 ลิตร = 1 ลูกบาศกเมตร ทำใหอยูในหนวยเดียวกัน ในที่นี้เลือกทำใหอยูในหนวย ลิตร


145

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

- น้ำในฝาย 500,000 ลูกบาศกเซนติเมตร จาก

1,000 ลูกบาศกเซนติเมตร =

1 ลิตร

500,000 ลูกบาศกเซนติเมตร =

500,000

- น้ำคลอง 2 ลูกบาศกเมตร จาก

1,000

= 500 ลิตร

1 ลูกบาศกเมตร = 1,000 ลิตร 2 ลูกบาศกเมตร = 2,000 ลิตร

- น้ำประปา 1,500 ลิตร - น้ำดื่ม 1 ลานมิลลิลติ ร จาก

1,000 มิลลิลิตร = 1 ลิตร 1,000,000 มิลลิลิตร = 1,000 ลิตร ดังนั้น น้ำคลองมีปริมาณมากที่สุด

248) X – 4 > 5 + ก. X > -3 ตอบ ขอ ง.

𝑿𝑿 𝟐𝟐

คำตอบของอสมการตรงกับขอใด ข. X > -6

ค. X > 9

ง. X > 18

การแกอสมการ ทำในลักษณะเดียวกันกับการแกสมการ

จากโจทย

X–4 > 5+

𝑋𝑋 2

10+ 𝑋𝑋

X–4 >

2

2(X – 4) > 10 + X 2X - 8 > 10 + X 2X - X > 10 + 8 X > 18 249) (X + 4) (X – 3) < (X – 2) (X – 5) คำตอบของอสมการตรงกับขอใด ก. X <

3 4

ข. X <

5 4

ค. X <

9

4

ง. X <

11 4


146

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ ค. จากโจทย

(X + 4) (X – 3) < (X – 2) (X – 5) X2 + X – 12 < X2 – 7X + 10 X2 - X2 + X + 7X < 10 + 12 8X < 22 X <

22

X <

11

8 4

250) คำตอบของ 4X – 2 < 3X + 6 ≤ 2X + 9 มีคาเทากับขอใด ก. -8 < X ≤ 3

ข. -3 < X ≤ 8

ค. -2 < X ≤ 6

ง. -6 < X ≤ 2

ตอบ ขอ ก. จากโจทย 4X – 2 < 3X + 6 ≤ 2X + 9 แยกหาคำตอบทีละอสมการ จะได

4X – 2 < 3X + 6 4X - 3X < 6 + 2 X

และจะได

< 8

หรือเขียนเปน X > -8

3X + 6 ≤ 2X + 9 3X - 2X ≤ 9 - 6 X ≤ 3

นำมาเขียนรวมกัน จะได

-8 < X ≤ 3


147

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

การคิดวิเคราะหเชิงภาษา 251. ขอใดคือความหมายของ “การสื่อสาร” ก. เรื่องราวที่มีความหมาย หรือสิ่งตาง ๆ ที่อาจอยูในรูปของขอมูล ความรู ความคิด ความตองการ อารมณ ฯลฯ ซึ่งถายทอดจากผูสงสารไปยังผูรับสารใหไดรับรู และแสดงออกมาโดยอาศัยภาษา หรื อ สั ญ ลั ก ษณ ใ ดๆ ที ่ ส ามารถทำให เ กิ ด การรั บ รู  ร  ว มกั น ได เช น ข อ ความที ่ พ ู ด ข อ ความ ที่เขียน บทเพลงที่รอง รูปที่วาด เรื่องราวที่อาน ทาทางที่สื่อความหมาย เปนตน ข. สิ่งที่เปนพาหนะของสาร ทำหนาที่นำสารจากผูสงสารไปยังผูรับสาร ผูสงสารตองอาศัยสื่อหรือ ชองทางทำหนาที่นำสารไปสูผูรับสาร ค. กระบวนการถายทอดขาวสาร ขอมูล ความรู ประสบการณ ความรูสึก ความคิดเห็น ความตองการ จากผูสงสารโดยผานสื่อตาง ๆ ที่อาจเปนการพูด การเขียน สัญลักษณอื่นใด การแสดงหรือการ จัดกิจกรรมตาง ๆ ไปยังผูรับสาร ซึ่งอาจจะใชกระบวนการสื่อสารที่แตกตางกันไปตามความ เหมาะสม หรือความจำเปนของตนเองและคูสื่อสาร โดยมีวัตถุประสงคใหเกิดการรับรูรวมกันและ มีปฏิกิริยาตอบสนองตอกัน บริบททางการสื่อสารที่เหมาะสมเปน ปจจัยสำคัญที่จะชวยให การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล ง. การรวบรวมเนื้อหาของสาร แลวนำมาเรียบเรียงใหเปนไปอยางมีระบบ เพื่อใหไดใจความตาม เนื้อหา ที่ตองการดวยการเลือก ใชรหัสสารที่เหมาะสม ตอบ ค. กระบวนการถายทอดขาวสาร ขอมูล ความรู ประสบการณ ความรูสึก ความคิดเห็น ความตองการ จากผูสงสารโดยผานสื่อตางๆที่อาจเปนการพูด การเขียน สัญลักษณอื่นใด การแสดงหรือการจัดกิจกรรมตาง ๆ ไปยังผูรับสาร ซึ่งอาจจะใชกระบวนการสื่อสารที่แตกตางกันไปตามความเหมาะสม หรือความจำเปนของ ตนเองและคูสื่อสาร โดยมีวัตถุประสงคใหเกิดการรับรูรวมกันและมีปฏิกิริยาตอบสนองตอกัน บริบททางการ สื่อสารที่เหมาะสมเปนปจจัยสำคัญที่จะชวยใหการสื่อสารสัมฤทธิ์ผล 252. ขอใดคือความหมายของ “สาร” ก. เรื่องราวที่มีความหมาย หรือสิ่งตาง ๆ ที่อาจอยูในรูปของขอมูล ความรู ความคิด ความตองการ อารมณ ฯลฯ ซึ่งถายทอดจากผูสงสารไปยังผูรับสารใหไดรับรู และแสดงออกมาโดยอาศัยภาษา หรื อ สั ญ ลั ก ษณ ใ ดๆ ที ่ ส ามารถทำให เ กิ ด การรั บ รู  ร  ว มกั น ได เช น ข อ ความที ่ พ ู ด ข อ ความ ที่เขียน บทเพลงที่รอง รูปที่วาด เรื่องราวที่อาน ทาทางที่สื่อความหมาย เปนตน ข. สิ่งที่เปนพาหนะของสาร ทำหนาที่นำสารจากผูสงสารไปยังผูรับสาร ผูสงสารตองอาศัยสื่อหรือ ชองทางทำหนาที่นำสารไปสูผูรับสาร ค. กระบวนการถายทอดขาวสาร ขอมูล ความรู ประสบการณ ความรูสึก ความคิดเห็น ความตองการ จากผูสงสารโดยผานสื่อตาง ๆ ที่อาจเปนการพูด การเขียน สัญลักษณอื่นใด การแสดงหรือการ จัดกิจกรรมตาง ๆ ไปยังผูรับสาร ซึ่งอาจจะใชกระบวนการสื่อสารที่แตกตางกันไปตามความ เหมาะสม หรือความจำเปนของตนเองและคูสื่อสาร โดยมีวัตถุประสงคใหเกิดการรับรูรวมกันและ มีปฏิกิริยาตอบสนองตอกัน บริบททางการสื่อสารที่เหมาะสมเปน ปจจัยสำคัญที่จะชวยให การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล


148

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ง. การรวบรวมเนื้อหาของสาร แลวนำมาเรียบเรียงใหเปนไปอยางมีระบบ เพื่อใหไดใจความตาม เนื้อหา ที่ตองการดวยการเลือก ใชรหัสสารที่เหมาะสม ตอบ ก. เรื่องราวที่มีความหมาย หรือสิ่งตาง ๆ ที่อาจอยูในรูปของขอมูล ความรู ความคิด ความตองการ อารมณ ฯลฯ ซึ ่ ง ถ า ยทอดจากผู  ส  ง สารไปยั ง ผู  ร ั บ สารให ไ ด ร ั บรู  และแสดงออกมาโดยอาศั ย ภาษาหรื อ สัญลักษณใดๆ ที่สามารถทำใหเกิดการรับรูรวมกันได เชน ขอความที่พูด ขอความที่เขียน บทเพลงที่รอง รูปที่วาด เรื่องราวที่อาน ทาทางที่สื่อความหมาย เปนตน 253. ขอใดคือความหมายของ “การจัดสาร” ก. เรื่องราวที่มีความหมาย หรือสิ่งตาง ๆ ที่อาจอยูในรูปของขอมูล ความรู ความคิด ความตองการ อารมณ ฯลฯ ซึ่งถายทอดจากผูสงสารไปยังผูรับสารใหไดรับรู และแสดงออกมาโดยอาศัยภาษา หรื อ สั ญ ลั ก ษณ ใ ดๆ ที ่ ส ามารถทำให เ กิ ด การรั บ รู  ร  ว มกั น ได เช น ข อ ความที ่ พ ู ด ข อ ความ ที่เขียน บทเพลงที่รอง รูปที่วาด เรื่องราวที่อาน ทาทางที่สื่อความหมาย เปนตน ข. สิ่งที่เปนพาหนะของสาร ทำหนาที่นำสารจากผูสงสารไปยังผูรับสาร ผูสงสารตองอาศัยสื่อหรือ ชองทางทำหนาที่นำสารไปสูผูรับสาร ค. กระบวนการถายทอดขาวสาร ขอมูล ความรู ประสบการณ ความรูสึก ความคิดเห็น ความตองการ จากผูสงสารโดยผานสื่อตาง ๆ ที่อาจเปนการพูด การเขียน สัญลักษณอื่นใด การแสดงหรือการ จัดกิจกรรมตาง ๆ ไปยังผูรับสาร ซึ่งอาจจะใชกระบวนการสื่อสารที่แตกตางกันไปตามความ เหมาะสม หรือความจำเปนของตนเองและคูสื่อสาร โดยมีวัตถุประสงคใหเกิดการรับรูรวมกันและ มีปฏิกิริยาตอบสนองตอกัน บริบททางการสื่อสารที่เหมาะสมเปน ปจจัยสำคัญที่จะชวยให การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล ง. การรวบรวมเนื้อหาของสาร แลวนำมาเรียบเรียงใหเปนไปอยางมีระบบ เพื่อใหไดใจความตาม เนื้อหา ที่ตองการดวยการเลือก ใชรหัสสารที่เหมาะสม ตอบ ง. การรวบรวมเนื้อหาของสาร แลวนำมาเรียบเรียงใหเปนไปอยางมีระบบ เพื่อใหไดใจความตาม เนื้อหา ที่ตองการดวยการเลือก ใชรหัสสารที่เหมาะสม 254. ขอใดคือความหมายของ “สื่อหรือชองทาง” ก. เรื่องราวที่มีความหมาย หรือสิ่งตาง ๆ ที่อาจอยูในรูปของขอมูล ความรู ความคิด ความตองการ อารมณ ฯลฯ ซึ่งถายทอดจากผูสงสารไปยังผูรับสารใหไดรับรู และแสดงออกมาโดยอาศัยภาษา หรื อ สั ญ ลั ก ษณ ใ ดๆ ที ่ ส ามารถทำให เ กิ ด การรั บ รู  ร  ว มกั น ได เช น ข อ ความที ่ พ ู ด ข อ ความ ที่เขียน บทเพลงที่รอง รูปที่วาด เรื่องราวที่อาน ทาทางที่สื่อความหมาย เปนตน ข. สิ่งที่เปนพาหนะของสาร ทำหนาที่นำสารจากผูสงสารไปยังผูรับสาร ผูสงสารตองอาศัยสื่อหรือ ชองทางทำหนาที่นำสารไปสูผูรับสาร ค. กระบวนการถายทอดขาวสาร ขอมูล ความรู ประสบการณ ความรูสึก ความคิดเห็น ความตองการ จากผูสงสารโดยผานสื่อตาง ๆ ที่อาจเปนการพูด การเขียน สัญลักษณอื่นใด การแสดงหรือการ จัดกิจกรรมตาง ๆ ไปยังผูรับสาร ซึ่งอาจจะใชกระบวนการสื่อสารที่แตกตางกันไปตามความ เหมาะสม หรือความจำเปนของตนเองและคูสื่อสาร โดยมีวัตถุประสงคใหเกิดการรับรูรวมกันและ


149

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

มีปฏิกิริยาตอบสนองตอกัน บริบททางการสื่อสารที่เหมาะสมเปน ปจจัยสำคัญที่จะชวยให การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล ง. การรวบรวมเนื้อหาของสาร แลวนำมาเรียบเรียงใหเปนไปอยางมีระบบ เพื่อใหไดใจความตาม เนื้อหา ที่ตองการดวยการเลือก ใชรหัสสารที่เหมาะสม ตอบ ข. สิ่งที่เปนพาหนะของสาร ทำหนาที่นำสารจากผูสงสารไปยังผูรับสาร ผูสงสารตองอาศัยสื่อหรือ ชองทางทำหนาที่นำสารไปสูผูรับสาร 255. ขอใดคือความหมายของ “รหัสสาร” ก. ภาษา สัญลักษณ หรือสัญญาณที่มนุษยใชเพื่อแสดงออกแทนความรู ความคิด อารมณ หรือ ความรูสึกตาง ๆ ข. บรรดาความรู ความคิดและประสบการณที่ผูสงสารตองการจะถายทอดเพื่อการรับรูรวมกัน แลกเปลี่ยนเพื่อความเขาใจรวมกันหรือโตตอบกัน ค. บุคคล กลุมบุคคล หรือมวลชนที่รับเรื่องราวขาวสาร จากผูสงสาร และแสดงปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) ต อ ผู  ส  ง สาร หรื อ ส ง สารต อ ไปถึ ง ผู  ร ั บ สารคนอื ่ น ๆ ตามจุ ด มุ  ง หมายของ ผูสงสาร เชน ผูเขารวมประชุม ผูฟงรายการวิทยุ กลุมผูฟงการอภิปราย ผูอานบทความจาก หนังสือพิมพ เปนตน ง. ไมมีขอใดกลาวถูก ตอบ ก. ภาษา สัญลักษณ หรือสัญญาณที่มนุษยใชเพื่อแสดงออกแทนความรู ความคิด อารมณ หรือ ความรูสึกตาง ๆ 256. ขอใดคือความหมายของ “เนื้อหาของสาร” ก. ภาษา สัญลักษณ หรือสัญญาณที่มนุษยใชเพื่อแสดงออกแทนความรู ความคิด อารมณ หรือ ความรูสึกตาง ๆ ข. บรรดาความรู ความคิดและประสบการณที่ผูสงสารตองการจะถายทอดเพื่อการรับรูรวมกัน แลกเปลี่ยนเพื่อความเขาใจรวมกันหรือโตตอบกัน ค. บุคคล กลุมบุคคล หรือมวลชนที่รับเรื่องราวขาวสาร จากผูสงสาร และแสดงปฏิกิริยาตอบกลับ (Feedback) ต อ ผู  ส  ง สาร หรื อ ส ง สารต อ ไปถึ ง ผู  ร ั บ สารคนอื ่ น ๆ ตามจุ ด มุ  ง หมายของ ผูสงสาร เชน ผูเขารวมประชุม ผูฟงรายการวิทยุ กลุมผูฟงการอภิปราย ผูอานบทความจาก หนังสือพิมพ เปนตน ง. ไมมีขอใดกลาวถูก ตอบ ข. บรรดาความรู ความคิดและประสบการณที่ผูสงสารตองการจะถายทอดเพื่อการรับรูรวมกัน แลกเปลี่ยนเพื่อความเขาใจรวมกันหรือโตตอบกัน 257. ขอใดคือกลาวถูกเกี่ยวกับความสำคัญของการสื่อสาร ก. การสื่อสารเปนปจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษยทุกเพศ ทุกวัย ไมมีใครที่จะดำรงชีวิตได โดยปราศจากการสื่อสาร ทุกสาขาอาชีพก็ตองใชการสื่อสารในการปฏิบัติงาน การทำธุรกิจตาง ๆ


150

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

โดยเฉพาะสังคมมนุษยที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตลอดเวลา พัฒนาการทางสังคมจึงดำเนิน ไปพรอม ๆ กับพัฒนาการทางการสื่อสาร ข. การสื่อสารกอใหเกิดการประสานสัมพันธกันระหวางบุคคลและสังคม ชวยเสริมสรางความเขาใจ อั น ดี ร ะหว า งคนในสั ง คม ช ว ยสื บ ทอดวั ฒ นธรรมประเพณี สะท อ นให เ ห็ น ภาพความ เจริญรุงเรือง วิถีชีวิตของผูคน ชวยธำรงสังคมใหอยูรวมกันเปนปกติสุขและอยูรวมกันอยางสันติ ค. การสื่อสารเปนปจจัยสำคัญในการพัฒนาความเจริญกาวหนาทั้งตัวบุคคลและสังคม การพัฒนาทาง สังคมในดานคุณธรรม จริยธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฯลฯ รวมทั้งศาสตรในการสื่อสาร จำเปนตองพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง การสื่อสารเปนเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษยและ พัฒนาความเจริญกาวหนาในดานตางๆ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 258. ขอใดคือองคประกอบของการสื่อสาร ก. ผูสงสาร (sender) หรือ แหลงสาร (source) และผูรับสาร (receiver) ข. สาร (message) ค. สื่อ หรือชองทาง (media or channel) ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 259. ขอใดกลาวถูกเกี่ยวกับหลักสำคัญในการสื่อสาร ก. ผูที่จะสื่อสารใหไดผลและเกิดประโยชน จะตองทำความเขาใจเรื่ององคประกอบในการสื่อสาร และ ปจจัยทางจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับระบบการรับรู การคิด การเรียนรู การจำ ซึ่งมีผลตอประสิทธิภาพ ในการสื่อสาร ข. ผูที่จะสื่อสารตองคำนึงถึงบริบทในการสื่อสาร บริบทในการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่อยูแวดลอมที่มี สวนในการกำหนดรูความหมายหรือความเขาใจในการสื่อสาร ค. คำนึงถึงกรอบแหงการอางอิง (frame of reference) มนุษยทุกคนจะมีพื้นความรูทักษะ เจตคติ คานิยม สังคม ประสบการณ ฯลฯ เรียกวาภูมิหลังแตกตางกัน ถาคูสื่อสารใดมีกรอบแหงการอางอิง คลายกัน ใกลเคียงกัน จะทำใหการสื่อสารงายขึ้น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ หลักสำคัญในการสื่อสาร มีดังนี้ 1. ผูที่จะสื่อสารใหไดผลและเกิดประโยชน จะตองทำความเขาใจเรื่ององคประกอบในการสื่อสาร และปจจัย ทางจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับระบบการรับรู การคิด การเรียนรู การจำ ซึ่งมีผลตอประสิทธิภาพ ในการสื่อสาร 2. ผูที่จะสื่อสารตองคำนึงถึงบริบทในการสื่อสาร บริบทในการสื่อสาร หมายถึง สิ่งที่อยูแวดลอมที่มีสวนในการ กำหนดรูความหมายหรือความเขาใจในการสื่อสาร


151

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

3. คำนึงถึงกรอบแหงการอางอิง (frame of reference) มนุษยทุกคนจะมีพื้นความรูทักษะ เจตคติ คานิยม สังคม ประสบการณ ฯลฯ เรียกวาภูมิหลังแตกตางกัน ถาคูสื่อสารใดมีกรอบแหงการอางอิงคลายกัน ใกล เคียงกัน จะทำใหการสื่อสารงายขึ้น 4. การสื่อสารจะมีประสิทธิผล เมื่อผูสงสารสงสารอยางมีวัตถุประสงคชัดเจน ผานสื่อหรือชองทางที่เหมาะสม ถึงผูรับสารที่มีทักษะในการสื่อสารและมีวัตถุประสงคสอดคลองกัน 5. ผูสงสารและผูรับสาร ควรเตรียมตัวและเตรียมการลวงหนา เพราะจะทำใหการสื่อสารราบรื่น สะดวก รวดเร็ ว เป น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค แ ละสามารถแก ไ ขได ท ั น ท ว งที หากจะเกิ ด อุ ป สรรค ท ี ่ จ ุ ด ใดจุ ด หนึ ่ ง 6. คำนึงถึงการใชทักษะ เพราะภาษาเปนสัญลักษณที่มนุษยตกลงใชรวมกันในการสื่อความหมาย ซึ่งถือไดวา เปนหัวใจในการสื่อสาร คูสื่อสารตองศึกษาเรื่องการใชภาษา และสามารถใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล เนื้อหาของสาร และชองทางหรือสื่อ ที่ใชในการสื่อสาร 7. คำนึงถึงปฏิกิริยาตอบกลับตลอดเวลา ถือเปนการประเมินผลการสื่อสาร ที่จะทำใหคูสื่อสารรับรูผลของการ สื่อสารวาประสบผลดีตรงตามวัตถุหรือไม ควรปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือแกไขขอบกพรองใด เพื่อที่จะทำให การสื่อสารเกิดผลตามที่ตองการ 260. ขอใดคือวัตถุประสงคของการสื่อสาร ก. เพื ่ อ แจ ง ให ท ราบ (inform) ในการทำการสื ่ อ สาร ผู ท ำการสื ่ อ สารควรมี ค วามต อ งการที ่ จ ะ บอกกลาวหรือชี้แจงขาวสาร เรื่องราว เหตุการณ หรือสิ่งอื่นใดใหผูรับสารไดรับทราบ ข. เพื่อสอนหรือใหการศึกษา (teach or education) ผูทำการสื่อสารอาจมีวัตถุประสงคเพื่ อจะ ถายทอดวิชาความรู หรือเรื่องราวเชิงวิชาการ เพื่อใหผูรับสารไดมีโอกาสพัฒนาความรูใหเพิ่มพูน ยิ่งขึ้น ค. เพื ่ อ สร า งความพอใจหรื อ ให ค วามบั น เทิ ง (please of entertain) ผู  ท ำการสื ่ อ สารอาจใช วัตถุประสงคในการสื่อสารเพื่อสรางความพอใจ หรือใหความบันเทิงแกผูรับสาร โดยอาศัยสารที่ ตนเองสงออกไป ไมวาจะอยูในรูปของการพูด การเขียน หรือการแสดงกิริยาตาง ๆ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ วัตถุประสงคของการสื่อสาร มีดังนี้ 1. เพื่อแจงใหทราบ (inform) ในการทำการสื่อสาร ผูทำการสื่อสารควรมีความตองการที่จะบอกกลาวหรือ ชี้แจงขาวสาร เรื่องราว เหตุการณ หรือสิ่งอื่นใดใหผูรับสารไดรับทราบ 2. เพื่อสอนหรือใหการศึกษา (teach or education) ผูทำการสื่อสารอาจมีวัตถุประสงคเพื่อจะ ถายทอดวิชา ความรู หรือเรื่องราวเชิงวิชาการ เพื่อใหผูรับสารไดมีโอกาสพัฒนาความรูใหเพิ่มพูนยิ่งขึ้น 3. เพื่อสรางความพอใจหรือใหความบันเทิง (please of entertain) ผูทำการสื่อสารอาจใชวัตถุประสงค ในการสื่อสารเพื่อสรางความพอใจ หรือใหความบันเทิงแกผูรับสาร โดยอาศัยสารที่ตนเองสงออกไป ไมวาจะอยู ในรูปของการพูด การเขียน หรือการแสดงกิริยาตาง ๆ


152

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

4. เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ (Propose or persuade) ผูทำการสื่อสารอาจใชวัตถุประสงคใน การสื่อสารเพื่อให ขอเสนอแนะ หรือชักจูงใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่งตอผูรับสาร และอาจชักจูงใจใหผูรับสารมีความคิดคลอยตาม หรือ ยอมปฏิบัติตามการเสนอแนะของตน 5. เพื่อเรียนรู (learn) วัตถุประสงคนี้มีความเกี่ยวของโดยตรงกับผูรับสาร การแสวงหาความรูของผูรับสาร โดย อาศัยลักษณะของสาร ในกรณีนี้มักจะเปนสารที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับวิชาความรูเปนการหาความรูเพิ่มเติม และเปนการทำความเขาใจกับเนื้อหาของสารที่ผูทำการสื่อสารถายทอดมาถึงตน 6. เพื่อกระทำหรือตัดสินใจ (dispose or decide) ในการดำเนินชีวิตของคนเรามี สิ่งหนึ่งที่ตองกระทำ อยูเสมอก็คือ การตัดสินใจกระทำการอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งการตัดสินใจนั้นอาจไดรับการเสนอแนะ หรือ ชั ก จู ง ใจให กระทำอยางนั ้น อย างนี ้ จากบุค คลอื ่ นอยู เสมอ ทางเลื อ กในการตัด สิ นใจของเราจึ ง ขึ้ นอยูกับ ขอเสนอแนะนั้น 261. ขอใดคือการสื่อสารภายในตัวบุคคล (intrapersonal communication) ก. การพูดกับตัวเอง การคิดคำนึงเรื่องตาง ๆ ข. การรองเพลงฟงเอง ค. การคิดถึงงานที่จะทำ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 262. ขอใดคือการสื่อสารระหวางบุคคล (interpersonal communication) ก. การพูดคุยระหวางบุคคล 2 คนขึ้นไป ข. การเขียนจดหมาย การโทรศัพท ค. การประชุมกลุมยอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 263. ขอใดคือการสื่อสารกลุมใหญ (large group communication) ก. การอภิปรายในหอประชุม ข. การพูดหาเรื่องเลือกตั้ง การปราศรัยในงานสังคม ค. การกลาวปาฐกถาในหอประชุม/การบรรยายทางวิชาการ ณ ศูนยเรียนรวม ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 264. ขอใดคือการสื่อสารในองคกร (organizational communication) ก. การสื่อสารในบริษัท ข. การสื่อสารในหนวยงาน ราชการ ค. การสื่อสารในโรงงาน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 265. ขอใดคือการสื่อสารแบบเผชิญหนา (face to face communication) ก. การสนทนาตอหนากัน ข. การประชุมสัมมนา/การประชุมกลุมยอย ค. การสัมภาษณเฉพาะหนา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 266. ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเกี่ยวกับความหมายของ “ อุปสรรคในการสื่อสาร ” ก. สิ่งที่ทำใหการสื่อสารไมบรรลุตามวัตถุประสงคของผูสื่อสาร และผูรับสาร


153

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ 267.

ตอบ 268.

ตอบ 269.

ตอบ 270.

ตอบ 271.

ตอบ 272.

ข. สิ่งที่สื่อออกมาแลว ไมเขาใจกัน ค. ปญหาในการสงสาร ง. ขั้นตอนการสงสารมีความยุงยากซับซอนมากเกินไป ก. สิ่งที่ทำใหการสื่อสารไมบรรลุตามวัตถุประสงคของผูสื่อสาร และผูรับสาร ขอใดมิใชอุปสรรคที่เกิดจากผูสงสาร ก. ผูสงสารขาดความรูความเขาใจและขอมูลเกี่ยวกับสารที่ตองการจะสื่อ ข. ผูสงสารใชวิธีการถายทอดและการนำเสนอที่ไมเหมาะสม ค. ผูสงสารไมมีบุคลิกภาพที่ไมดี และไมเหมาะสม ง. สารไมเหมาะสมกับผูรับสาร อาจยากหรืองายเกินไป ง. สารไมเหมาะสมกับผูรับสาร อาจยากหรืองายเกินไป (เปนอุปสรรคที่เกิดจากสาร) ขอใดมิใชอุปสรรคที่เกิดจากสาร ก. สารขาดการจัดลำดับที่ดี สลับซับซอน ขาดความชัดเจน ข. การใชสื่อไมเหมาะสมกับสารที่ตองการนำเสนอ ค. สารมีรูปแบบแปลกใหมยากตอความเขาใจ ง. สารที่ใชภาษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน ข. การใชสื่อไมเหมาะสมกับสารที่ตองการนำเสนอ (เปนอุปสรรคที่เกิดจากสื่อ) ขอใดมิใชอุปสรรคที่เกิดจากสื่อ ก. การใชสื่อไมเหมาะสมกับสารที่ตองการนำเสนอ ข. การใชสื่อที่ไมมีประสิทธิภาพที่ดี ค. ขาดความรูในสารที่จะรับ ง. การใชภาษาที่ไมเหมาะสมกับระดับของการสื่อสาร ค. ขาดความรูในสารที่จะรับ (เปนอุปสรรคที่เกิดจากผูรับสาร) ขอใดมิใชอุปสรรคที่เกิดจากผูรับสาร ก. ขาดความพรอมที่จะรับสาร ข. สารที่ใชภาษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน ค. ผูรับสารมีทัศนคติที่ไมดีตอผูสงสาร ง. ผูรับสารมีความคาดหวังในการสื่อสารสูงเกินไป ข. สารที่ใชภาษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน (เปนอุปสรรคที่เกิดจากสาร) ขอใดคือการสื่อสารเชิงอวัจนภาษา (non-verbal communication) ก. การพูด ข. การบรรยาย ค. การเขียนจดหมาย ง. การสื่อสารโดยไมใชถอยคำ ง. การสื่อสารโดยไมใชถอยคำ ขอใดคือการสื่อสารเชิงวัจนภาษา (verbal communication) ก. การพูด ข. การบรรยาย


154

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ค. การเขียนจดหมาย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 273. ขอใดคือความหมายของการอาน ก. การรับรูความหมายจากถอยคำที่ตีพิมพจากสิ่งพิมพชนิดตาง ๆ เพื่อรับรูวาผูสงสารคิดอะไรและ พูดอะไร ข. การกำหนดความหมายใหสัญลักษณที่เปนลายลักษณอักษร ค. การเขาใจขอความที่อานซึ่งตองอาศัยทักษะการอานบางประการ ง. การประมวลความคิดจากเนื้อหาตาง ๆ ในขอเขียน รับความเขาใจโดยเชื่อมโยงจากสิ่งที่อาน ทั้งหมด ทำใหเกิดความเขาใจในสารที่นำเสนอ ตอบ ก. การรับรูความหมายจากถอยคำที่ตีพิมพจากสิ่งพิมพชนิดตาง ๆ เพื่อรับรูวาผูสงสารคิดอะไรและ พูดอะไร 274. ขอใดคือความหมายของการตีความ ก. การรับรูความหมายจากถอยคำที่ตีพิมพจากสิ่งพิมพชนิดตาง ๆ เพื่อรับรูวาผูสงสารคิดอะไรและ พูดอะไร ข. การกำหนดความหมายใหสัญลักษณที่เปนลายลักษณอักษร ค. การเขาใจขอความที่อานซึ่งตองอาศัยทักษะการอานบางประการ ง. การประมวลความคิดจากเนื้อหาตาง ๆ ในขอเขียน รับความเขาใจโดยเชื่อมโยงจากสิ่งที่อาน ทั้งหมด ทำใหเกิดความเขาใจในสารที่นำเสนอ ตอบ ง. การประมวลความคิดจากเนื้อหาตาง ๆ ในขอเขียน รับความเขาใจโดยเชื่อมโยงจากสิ่งที่อาน ทั้งหมด ทำใหเกิดความเขาใจในสารที่นำเสนอ 275. ขอใดคือความหมายของความเขาใจทางภาษา ก. การรับรูความหมายจากถอยคำที่ตีพิมพจากสิ่งพิมพชนิดตาง ๆ เพื่อรับรูวาผูสงสารคิดอะไรและ พูดอะไร ข. การกำหนดความหมายใหสัญลักษณที่เปนลายลักษณอักษร ค. การเขาใจขอความที่อานซึ่งตองอาศัยทักษะการอานบางประการ ง. การประมวลความคิดจากเนื้อหาตาง ๆ ในขอเขียน รับความเขาใจโดยเชื่อมโยงจากสิ่งที่อาน ทั้งหมด ทำใหเกิดความเขาใจในสารที่นำเสนอ ตอบ ค. การเขาใจขอความที่อานซึ่งตองอาศัยทักษะการอานบางประการ 276. ขอใดคือความหมายของการประสานความหมาย ก. การรับรูความหมายจากถอยคำที่ตีพิมพจากสิ่งพิมพชนิดตาง ๆ เพื่อรับรูวาผูสงสารคิดอะไรและ พูดอะไร ข. การกำหนดความหมายใหสัญลักษณที่เปนลายลักษณอักษร ค. การเขาใจขอความที่อานซึ่งตองอาศัยทักษะการอานบางประการ


155

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ 277.

ตอบ 278.

ตอบ 279.

ตอบ 280.

ตอบ 281.

ง. การประมวลความคิดจากเนื้อหาตาง ๆ ในขอเขียน รับความเขาใจโดยเชื่อมโยงจากสิ่งที่อาน ทั้งหมด ทำใหเกิดความเขาใจในสารที่นำเสนอ ข. การกำหนดความหมายใหสัญลักษณที่เปนลายลักษณอักษร ขอใดคือลักษณะของนักอานที่ดี ก. มีความตั้งใจ หรือมีสมาธิแนวแนในการอาน ข. มีความอดทน หมายถึง สามารถอานหนังสือไดในระยะเวลานานโดยไมเบื่อ ค. อานไดเร็วและเขาใจความหมายของคำ ง. ถูกทุกขอ ง. ถูกทุกขอ ขอใดคือการอานเพื่อหาคำตอบ ก. การอานกฎ ระเบียบ คำแนะนำ ตำรา หนังสืออางอิง ฯลฯ ข. การอานหนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร เอกสารโฆษณา และประชาสัมพันธ ค. การอานเอกสาร วารสาร หนังสืออื่น ๆ เพื่อสิ่งที่ตองการรูและนำมาประมวลสารเขาดวยกัน ง. ถูกทุกขอ ก. การอานกฎ ระเบียบ คำแนะนำ ตำรา หนังสืออางอิง ฯลฯ ขอใดคือการอานเพื่อประมวลสาร ก. การอานกฎ ระเบียบ คำแนะนำ ตำรา หนังสืออางอิง ฯลฯ ข. การอานหนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร เอกสารโฆษณา และประชาสัมพันธ ค. การอานเอกสาร วารสาร หนังสืออื่น ๆ เพื่อสิ่งที่ตองการรูและนำมาประมวลสารเขาดวยกัน ง. ถูกทุกขอ ค. การอานเอกสาร วารสาร หนังสืออื่น ๆ เพื่อสิ่งที่ตองการรูและนำมาประมวลสารเขาดวยกัน ขอใดคือการอานเพื่อรูขาวสารและขอมูล ก. การอานกฎ ระเบียบ คำแนะนำ ตำรา หนังสืออางอิง ฯลฯ ข. การอานหนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร เอกสารโฆษณา และประชาสัมพันธ ค. การอานเอกสาร วารสาร หนังสืออื่น ๆ เพื่อสิ่งที่ตองการรูและนำมาประมวลสารเขาดวยกัน ง. ถูกทุกขอ ข. การอานหนังสือพิมพ นิตยสาร วารสาร เอกสารโฆษณา และประชาสัมพันธ ขอใดคือองคประกอบของการอาน ก. การเขาใจความหมายของคำผูอานตองมีความเขาใจในความหมายที่ถูกตองของคำศัพททุกคำ ข. การเขาใจความหมายของกลุมคำความหมายของกลุมคำนั้นจะชวยทำใหผูอานเขาใจความหมาย ของเนื้อความอยางตอเนื่อง ค. การเข า ใจประโยค หมายถึ ง การนำความหมายของกลุ  ม คำแต ล ะกลุ  ม มาสั ม พั น ธ ก ั น จนได ความหมายเปนประโยค ง. ถูกทุกขอ


156

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ 282. ขอใดคือประโยชนของการอาน ก. ทำใหมนุษยเกิดความรู ทักษะตาง ๆ ตลอดจนความกาวหนาทางวิชาชีพ ข. ทำใหมนุษยเกิดความคิดสรางสรรค ความเพลิดเพลินบันเทิงใจและเกิดความบันดาลใจ ค. ทำใหมนุษยทันตอเหตุการณความเคลื่อนไหวตาง ๆ ของโลก ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 283. ขอใดคือความหมายของการอานจับใจความสำคัญ ก. การอานเอกสาร วารสาร หนังสืออื่น ๆ เพื่อสิ่งที่ตองการรูและนำมาประมวลสารเขาดวยกัน ข. การอานไดเร็วและเขาใจความหมายของคำ ค. การอานเพื่อจับใจความหรือขอคิด ความคิดสำคัญหลักของขอความ หรือเรื่องที่อาน เปนขอความ ที่คลุมขอความอื่น ๆ ในยอหนาหนึ่ง ๆ ไวทั้งหมด ง. ถูกทุกขอ ตอบ ค. การอานเพื่อจับใจความหรือขอคิด ความคิดสำคัญหลักของขอความ หรือเรื่องทีอ่ าน เปนขอความ ที่คลุมขอความอื่น ๆ ในยอหนาหนึ่ง ๆ ไวทั้งหมด 284. ขอใดคือหลักของการจับใจความสำคัญ ก. ตั้งจุดมุงหมายในการอานใหชัดเจน ข. อานเรื่องราวอยางคราวๆ พอเขาใจ และเก็บใจความสำคัญของแตละยอหนา ค. เมื่ออานจบใหตั้งคำถามตนเองวา เรื่องที่อาน มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร อยางไร ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 285. ขอใดคือวิธีของการจับใจความสำคัญ ก. พิจารณาทีละยอหนา หาประโยคใจความสำคัญของแตละยอหนา ข. ตัดสวนที่เปนรายละเอียดออกได เชน ตัวอยาง สำนวนโวหาร อุปมาอุปไมย(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคำถามหรือคำพูดของผูเขียนซึ่งเปนสวนขยายใจความสำคัญ ค. สรุปใจความสำคัญดวยสำนวนภาษาของตนเอง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 286. ขอใดคือความหมายของการอานสรุปความ ก. การรวบรวมนำใจความสำคัญของเรื่อง มาเรียบเรียงใหมแบบสั้นๆ โดยใชสำนวนภาษาของตนเอง โดยคลอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด สรุปขอความที่อา นใหตรงกับจุดมุงหมายของเนื้อเรื่องที่ทำใหผูอาน เขาใจ ข. การเขาใจประโยค หมายถึงการนำความหมายของกลุมคำแตละกลุมมาสัมพันธกัน จนได ความหมายเปนประโยค


157

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ค. การประมวลความคิดจากเนื้อหาตาง ๆ ในขอเขียน รับความเขาใจโดยเชื่อมโยงจากสิ่งทีอ่ าน ทั้งหมด ทำใหเกิดความเขาใจในสารที่นำเสนอ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. การรวบรวมนำใจความสำคัญของเรื่อง มาเรียบเรียงใหมแบบสั้นๆ โดยใชสำนวนภาษาของตนเอง โดยคลอบคลุ ม เนื ้ อ หาทั้ ง หมด สรุ ป ข อ ความที ่ อ  า นให ต รงกั บ จุ ด มุ  ง หมายของเนื ้ อ เรื ่ อ งที ่ ท ำให ผ ู  อ  า น เขาใจ 287. ขอใดคือวิธีการอานสรุปความ ก. อานรอบแรกดูชื่อเรื่องกอน แลวอานโดยมีคำถามในใจวา ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร ขอความใดสำคัญใหขีดเสนใตไว ข. สรุปใจความสำคัญเพียงใจความเดียวของแตละยอหนาไว ค. นำใจความสำคัญที่รวบรวมไวมาเขียนเรียบเรียงใหมอยางละเอียดและสละสลวยโดยใชสำนวนของ ตนเอง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 288. ขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด ไทย : ลาว ก. รัสเซีย : เยอรมัน ข. อารเจนตินา : อุรุกวัย ค. บราซิล : ไนจีเรีย ง. เอกวาดอร : ยูกันดา ตอบ ข. อารเจนตินา : อุรุกวัย (ประเทศไทยและลาว อยูในทวีปเอเชียเหมือนกัน สวนประเทศอารเจนตินา และอุรุกวัยอยูในทวีปอเมริกาใตเหมือนกัน) 289. ขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด สิงโต : ไฮยีนา ก. เสือ : จระเข ข. ชาง : มา ค. วัว : ควาย ง. แรด : มาลาย ตอบ ก. เสือ : จระเข (สิงโต ไฮยีนา เสือ และจระเข เปนสัตวกินเนื้อเหมือนกัน) 290. จงเรียงประโยคดังตอไปนี้ 1. โดยพบไดทั้งหนองน้ำ แมน้ำ และทะเลสาบ 2. ฮิปโปโปเตมัสกระจายพันธในทวีปอเมริกา 3. แมจะเปนสัตวบกแตฮิปโปโปเตมัสมักจะอาศัยอยูในถ้ำเวลากลางวัน 4. ตั้งแตตอนใตของสะฮาราลงไป ก. 2,1,3,4 ข. 2,4,3,1 ค. 3,1,2,4 ง. 3,4,2,1 ตอบ ข. 2,4,3,1 291. ถึงอยางไรก็ตองดำเนินการตามนั้น อยาใหเขามา........ผมก็แลวกัน ก. วุนวาย ข. อวดดี ค. วางมาด ง. ถอนหงอก ตอบ ง. ถอนหงอก 292. สมัยกอนคนโบราณใชออยแทน........เพื่อเพิ่มความหวานใหกับอาหาร ก. กะทิ ข. มะนาว ค. น้ำตาล ง. ระกำ ตอบ ค. น้ำตาล


158

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

293. สำนวนไทยในขอใดมีความหมายวา “ไมยอมเสียเปรียบกัน” ก. เกลียดตัวกินไข เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง ข. เกลือเปนหนอน ค. เกลือจิ้มเกลือ ง. แกงจืดจึงรูคุณเกลือ ตอบ ค. เกลือจิ้มเกลือ 294. สำนวนไทยในขอใดมีความหมายวา “เกลียดตัวเขาแตอยากไดผลประโยชนจากเขา” ก. เกลียดตัวกินไข เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง ข. เกลือเปนหนอน ค. เกลือจิ้มเกลือ ง. แกงจืดจึงรูคุณเกลือ ตอบ ก. เกลียดตัวกินไข เกลียดปลาไหลกินน้ำแกง 295. สำนวนไทยในขอใดมีความหมายวา “ มองขามของดีที่อยูใกลตัวซึ่งจะเปนประโยชนแก ต น กลับไปแสวงหาสิ่งอื่นที่ดอยกวา” ก. ไกเเกเเมปลาชอน ข. ใกลเกลือกินดาง ค. ไกไดพลอย ง. ไกลปนเที่ยง ตอบ ข. ใกลเกลือกินดาง 296. สำนวนไทยในขอใดมีความหมายวา “ไดสิ่งที่มีคาแตไมรูคุณคา จึงไมเกิดประโยชนแตอยางใด” ก. ไกเเกเเมปลาชอน ข. ใกลเกลือกินดาง ค. ไกไดพลอย ง. ไกลปนเที่ยง ตอบ ค. ไกไดพลอย 297. เมื่อป พ.ศ. 2563 เกิดการ......ของโรคไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 ทำใหมีผูติดเชื้อและเสียชีวิต ทั่วโลกเปนจำนวนมาก ก. กระจายตัว ข. กลายพันธ ค. แพรระบาด ง. ฟกตัว ตอบ ค. แพรระบาด 298. เขาใหการ.......จนไมสามารถสรุปเรื่องราวไดเลย ก. ยอนแยน ข. วกวน ค. เรื่อยเปอย ง. โยกเย ตอบ ข. วกวน 299. ผูวากรุงเทพมหานครมี........ใหปดหางสรรพสินคาเพื่อปองกันการ......ของโรคไวรัสโคโรนา หรือ โควิด19 ก. มาตรการ / กระจายตัว ข. มาตรการ / แพรระบาด ค. คำสั่ง / แพรระบาด ง. คำสั่ง / รวมตัว ตอบ ค. คำสั่ง / แพรระบาด 300. มีการ........วาโรคไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 มี.........มาจากเมืองอูฮั่น ประเทศจีน ก. คาดเดา / ตนกำเนิด ข. สันนิษฐาน / ตนกำเนิด ค. คาดการณ / จุดเริ่มตน ง. สันนิษฐาน / แหลงที่มา ตอบ ข. สันนิษฐาน / ตนกำเนิด


159

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

301. ขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด นก : หนอน ก. หมู : งู ข. กุง : ปู ค. ลา : มา ง. แมว : หนู ตอบ ง. แมว : หนู (เพราะสัตวลำดับที่ 2 เปนอาหารของสัตวลำดับแรกเหมือนกัน) 302. ขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด ทอด : จี่ ก. ทุบ : คอน ข. รอง : ฆอง ค. ตม : ผัด ง. กวน : คนใหเขากัน ตอบ ง. กวน : คนใหเขากัน (เพราะเปนกริยาที่แสดงผลอยางเดียวกัน) 303. ขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด ฟารอง : ฟาแลบ ก. คอมพิวเตอร : โทรเลข ข. ไฟไหม : น้ำทวม ค. โทรศัพท : ไฟฉาย ง. ลมพัด : หนาหนาว ตอบ ค. โทรศัพท : ไฟฉาย (เพราะสิ่งแรกคือมีลักษณะเปนเสียง สิ่งที่ตามมาคือมีลักษณะเปนแสง) 304. ขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด แขงกอลฟ : แขงโตวาที ก. หนากาก : อนามัย ข. โบวลิ่ง : เลนเกมส ค. เรือใบ : รถมา ง. แขงมา : แขงฟุตบอล ตอบ ง. แขงมา : แขงฟุตบอล (เพราะเปนการแขงขันเหมือนกัน) 305. ขอใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด ขลุย : แคน ก. ระนาด : ฆอง ข. เกราะ : จะเข ค. กระจับป : โกรง ง. กรับคู : ซอดวง ตอบ ก. ระนาด : ฆอง (ขลุ น กั บแคนเปน เครื่ องดนตรีประเภทเปา เหมือ นกั น ส ว นระนาดกั บฆอ งเปน เครื่องดนตรีประเภทตีเหมือนกัน) 306. แพทยเปนบุคคลที่สามารถ...........ผูปวยได ก. ดูแล ข. พัฒนา ค. รักษา ง. บำรุง ตอบ ค. รักษา 307. สิ่งที่เรายึดถือเปนแนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิตเรียกวา.......... ก. วิสัยทัศน ข. ภารกิจ ค. คติ ง. เปาหมาย ตอบ ค. คติ 308. เขาไมใหเธอ......เงินงายๆหรอก เธอก็รูดีอยูแกใจ ก. ขอ ข. ให ค. รับ ง. ยืม ตอบ ง. ยืม 309. สุดยอดเลยครับคุณตาอายุขนาดนี้แลว แตยังเดิน...........อยูเลยครับ ก. กระเสาะกระแสะ ข. กระเลวกระลาด ค. กระฉับกระเฉง ง. กระชุมกระชวย ตอบ ค. กระฉับกระเฉง 310. วินัยจอดรถในที่หามจอดทำใหกีดขวาง..........ของรถที่สัญจรไปมา ก. การเดินทาง ข. การจราจร ค. การเคลื่อนตัว ง. การวิ่ง ตอบ ข. การจราจร 311. พนักงานตำรวจนัด...........สมหมายซึ่งเปนผูเสียหายในคดีนี้เพื่อใหไดขอมูลเพิ่มเติม ก. ตัดสิน ข. สอบปากคำ ค. พิจารณา ง. แจงผล ตอบ ข. สอบปากคำ


160

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

312. การแสดงผาดโผนตองใช............เฉพาะตัว ก. ความสามารถ ข. ความรู ค. ความแข็งแกรง ง. ความแนนอน ตอบ ก. ความสามารถ 313. มนุษยเราตองมีความ.........ตอสิ่งยั่วยุทั้งหลาย ก. อดออม ข. อดยาก ค. อดกลั้น ง. ตอสู ตอบ ค. อดกลั้น 314. ประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากโรคไวรัสโคโรนาจะไดรับ..........จากรัฐบาล ก. เกื้อหนุน ข. เยียวยา ค. สนับสนุน ง. รักษา ตอบ ข. เยียวยา 315. ผูที่ไมยอมเชื่อฟงผูอื่น ยอมไมมีใครอยาก............ความคิดเห็นดวย ก. ยอมรับ ข. สรุป ค. แสดง ง. สารภาพ ตอบ ค. แสดง 316. ผม.............ใหคุณทำงานนี้มากเพราะผมเชื่อมั่นในความสามารถของคุณ ก. ตั้งใจ ข. มุงมุน ค. เชื่อมั่น ง. วางใจ ตอบ ง. วางใจ 317. รุนพี่ที่โรงเรียนมันจะพยายาม.................ใหรุนนองทำตาม ก. สั่งการ ข. วากลาว ค. เกลี้ยกลอม ง. เปาหู ตอบ ค. เกลี้ยกลอม 318. เกษตรกรไทยไมควรที่จะ..........กับปญหาตาง ๆ ก. ไหวหวั่น ข. วางใจ ค. หวาดหวั่น ง. ยอมรับ ตอบ ค. หวาดหวั่น 319. แถวบานเธอไมคอยมีคนอยูเลย รูสึก.........บางไหม ก. หดหู ข. วังเวง ค. อลหมาน ง. งงงวย ตอบ ข. วังเวง 320. พรุงนี้ตองตื่นเชาไปทำงานเธอควรจะ...........ไดแลว ก. เลิกเลน ข. เขานอน ค. กลับบาน ง. พักผอน ตอบ ข. เขานอน 321. ประเพณีรับบัว เปนประเพณีของภาคใด ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคใต ตอบ ก. ภาคกลาง 322. ประเพณีขึ้นธาตุเดือนเกา เปนประเพณีของภาคใด ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคใต ตอบ ข. ภาคเหนือ 323. ประเพณีทอดผาปาแถว เปนประเพณีของภาคใด ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคใต ตอบ ข. ภาคเหนือ 324. ประเพณีลอยเรือชาวเล เปนประเพณีของภาคใด ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคใต ตอบ ง. ภาคใต


161

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

325. ประเพณีอุมพระดำน้ำ เปนประเพณีของภาคใด ก. ภาคกลาง ข. ภาคเหนือ ค. ภาคตะวันตก ง. ภาคใต ตอบ ก. ภาคกลาง 326. ขอใดคือประเภทของศิลปะ ก. วิจิตรศิลป ข. ประยุกตศิลป ค. นาฎศิลป ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข 327. ขอใดคือแขนงของวิจิตรศิลป ก. จิตรกรรม ข. พาณิชยศิลป ค. อุตสาหกรรมศิลป ง. มัณฑนศิลป ตอบ ก. จิตรกรรม 328. ขอใดคือแขนงของประยุกตศิลป ก. ประติมากรรม ข. วรรณกรรม ค. ศิลปหัตถกรรม ง. สถาปตยกรรม ตอบ ค. ศิลปหัตถกรรม 329. ขอใดคือทฤษฎีการสรางงานศิลปะ ก. นิยมการเลียนแบบ ข. นิยมสรางรูปทรงที่สวยงาม ค. นิยมแสดงอารมณ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 330. ขอใดคือความหมายของศิลปกรรม ก. เปนวิชาที่วาดวยความรูพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ รวมทั้งหลักเกณฑการสรางสรรค และคุณคา ของศิลปะ ทำใหผูศึกษาเขาใจ ประทับใจในศิลปะ แลวนำความรูไปประยุกตใชใหเปนประโยชนใน ชีวิตประจำวันของตนเองและสังคม ข. ผลงานของมนุษยที่สรางสรรคขึ้นเพื่อความงามและความพึงพอใจของมนุษย ค. ความงามที่เกิดจากการสรางสรรคจากความคิด สติปญญา ของมนุษยเทานั้น ง. ความงามที่แสดงออกใหเห็นรูปราง รูปทรง ปริมาตร บริเวณวาง ความสะดวกในการใชสอย ตอบ ก. เปนวิชาที่วาดวยความรูพื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับศิลปะ รวมทั้งหลักเกณฑการสรางสรรค และคุณคา ของศิ ล ปะ ทำให ผ ู  ศ ึ ก ษาเข า ใจ ประทั บ ใจในศิ ล ปะ แล ว นำความรู  ไ ปประยุ ก ต ใ ช ใ ห เ ป น ประโยชน ใ น ชีวิตประจำวันของตนเองและสังคม 331. ขอใดสะกดถูกตอง ก. กิจจะลักษณะ ข. รังสรร ค. คึ่นฉาย ง. ฝกไฝ ตอบ ก. กิจจะลักษณะ (ที่ถูกคือ รังสรรค ขึ้นฉาย ฝกใฝ) 332. ขอใดสะกดถูกตอง ก. งึมงัม ข. สันนิษฐาน ค. ปะปา ง. ขันเชนาะ ตอบ ข. สันนิษฐาน (ที่ถูกคือ งึมงำ ประปา ขันชะเนาะ) 333. ขอใดสะกดถูกตอง ก. ซะหริ่ม ข. ปราชญเปรื่อง ค. สับปบ ง. คำนวณ ตอบ ง. คำนวณ (ที่ถูกคือ ซาหริ่ม ปราดเปรื่อง สับปลับ)


162

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

334. ขอใดสะกดถูกตอง ก. ทนทายาด ข. ขาดดุลย ตอบ ก. ทนทายาด (ที่ถูกคือ ขาดดุล เลือดกบปาก คทา) 335. ขอใดสะกดถูกตอง ก. เจดียสถาน ข. เจตจำนงค ตอบ ก. เจดียสถาน (ที่ถูกคือ เจตจำนง เจตนารมณ กเฬวราก) 336. ขอใดสะกดถูกตอง ก. คริสตกาล ข. คริสตศักราช ตอบ ค. ใจไมไสระกำ (ที่ถูกคือ คริสตกาล คริสตศักราช งูสวัด) 337. ขอใดสะกดถูกตอง ก. ดาดดื่น ข. ฟนเฟอน ตอบ ข. ฟนเฟอน (ที่ถูกคือ ดาษดื่น วารดิถี กะพง)

ค. เลือดกลบปาก

ง. คฑา

ค. เจตนารมย

ง. กเรวราก

ค. ใจไมไสระกำ

ง. งูสหวัด

ค. วาระดิถี

ง. กระพง

338. ขอใดสะกดถูกตอง ก. ขะมักเขมน ข. จตุรัส ค. เลิกลา ง. รางลา ตอบ ก. ขะมักเขมน (ที่ถูกคือ จัตุรัส เลิกรา รางรา) 339. ขอใดสะกดถูกตอง ก. พแนง ข. ถั่วพลู ค. จาระเม็ด ง. เทาความ ตอบ ง. เทาความ (ที่ถูกคือ พะแนง ถั่วพู จะละเม็ด) 340. ขอใดสะกดถูกตอง ก. ผลัดเปลี่ยน ข. ผลัดวันประกันพรุง ค. พัสดี ง. พัศดุ ตอบ ก. ผลัดเปลี่ยน (ที่ถูกคือ ผัดวันประกันพรุง พัศดี พัสดุ) 341. นี่คือกติกาของการแขงขัน คำที่ขีดเสนใตมีความหมายตามขอใด ก. ขอยอมรับ ข. ขอหาม ค. ขอตกลง ง. ขออาง ตอบ ค. ขอตกลง 342. นายกรัฐมนตรีออกมาตราการฉุกเฉินในการปองกันโรคไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 คำที่ขีดเสนใต มีความหมายตามขอใด ก. คำอธิบาย ข. คำรอง ค. แนวทางดำเนินการ ง. ตักเตือน ตอบ ค. แนวทางดำเนินการ 343. ผูนำที่ดีควรมีวิสัยทัศนกวางไกลในการบริหารประเทศ คำที่ขีดเสนใตมีความหมายตามขอใด ก. การตั้งเปาหมาย ข. วิธีการไปใหถึงเปาหมาย ค. เปาหมาย ง. ผลลัพธที่ดี ตอบ ก. การตั้งเปาหมาย 344. ถาเคาเปดโปงความลับของเรา เราจะพังกันหมด ดังนั้นเราควรที่จะตัดไฟแตตนลมเสียกอน คำที่ขีดเสนใตมีความหมายตามขอใด ก. เอาดับมาดับไฟ ข. ตัดเรื่องรายแรงทิ้ง ค. กำจัดผูที่จะเปดโปงความลับ ง. ปองกันเหตุรายแรง ตอบ ค. กำจัดผูที่จะเปดโปงความลับ


163

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

345. บานที่ดู.................ที่สุดในละแวกนั้นคือบานของกำนัน ก. อางวาง ข. แปลก ค. ใหญโต ง. พยายาม ตอบ ค. ใหญโต 346. “ไวรั ส โคโรน า หรื อ โควิ ด 19 เป น โรคติ ด ต อ ที ่ ม ี ต  น กำเนิ ด มาจากเมื ่ อ งอู  ฮ ั ่ น ประเทศจี น ” ขอความขางตนสามารถตีความไดวาอยางไร ก. ไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 เปนโรคติดตออันตราย ข. ไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 เปนโรคที่มีการแพรระบาด ค. ไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 เปนโรคที่มีการเริ่มตนการแพรระบาดจากประเทศจีน ง. ไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 เปนโรคที่ทำใหมีผูเสียชีวิตเปนจำนวนมาก ตอบ ค. ไวรัสโคโรนา หรือโควิด 19 เปนโรคที่มีการเริ่มตนการแพรระบาดจากประเทศจีน 347. “หากเรารักประเทศชาติ รักคนในครอบครัวจริง ๆ เราควรที่จะรวมมือกันอยูบาน เพื่อหยุด การแพรกระจายของเชื้อไวรัสโคโรนา” ขอความขางตนมีผูเขียนมีจุดมุงหมายอยางไร ก. มุงมั่น ข. รอนใจ ค. โนมนาว ง. ตักเตือน ตอบ ค. โนมนาว 348. “ วิกฤติในครั้งนี้คนไทยเราจะตองผานมันไปได เพราะคนไทยไมแพชาติใดในโลก” ขอความ ขางตนมีผูเขียนมีจุดมุงหมายอยางไร ก. หลอกลอ ข. ปลุกใจ ค. โนมนาว ง. ตักเตือน ตอบ ข. ปลุกใจ 349. “ เราทำงานเพื่อคุณ คุณอยูบานเพื่อเรา ” ” ขอความขางตนมีผูเขียนมีจุดมุงหมายอยางไร ก. หลอกลอ ข. ปลุกใจ ค. โนมนาว ง. ตักเตือน ตอบ ค. โนมนาว 350. อย า งไรก็ ต ามวั น มาฆบู ช าถื อ เป น วั น สำคั ญ ที ่ ก ำหนดให ก ั บ วั น หยุ ด ของรั ฐ เพี ย งแต ใ น ประเทศไทยเทานั้น สวนในตางประเทศที่นับถือพุทธศาสนาเชนกัน ยังไมไดมีการกำหนดวันหยุด ขอความขางตนตีความไดวาอยางไร ก. ประเทศไทยมีศาสนาพุทธเปนศาสนาหลักของชาติ ข. ในตางประเทศศาสนาพุทธไมคอยมีความสำคัญ ค. มีเพียงประเทศไทยที่กำหนดวันมาฆบูชาเปนวันหยุด ง. ถูกทุกขอ ตอบ ค. มีเพียงประเทศไทยที่กำหนดวันมาฆบูชาเปนวันหยุด วิชาความรูและลักษณะการเปนขาราชการที่ดี พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไขเพิ่มเติม 351. ขอใดคือประเภทของการจัดระเบียบบริหารราชการแผนดิน ก. ระเบียบบริหารราชการสวนกลาง ข. ระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค ค. ระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 4) 352. ขอใดมิใชการจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง ก. สำนักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวง ค. กรม ง. กรุงเทพมหานคร ตอบ ง. กรุงเทพมหานคร (มาตรา 7 กรุงเทพฯเปนองคกรปกครองสวนทองถิ่นรูปแบบพิเศษ)


164

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

353. สำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเปนอะไร ก. กระทรวง ข. องคกรอิสระ ค. กรม ง. ทบวง ตอบ ก. กระทรวง (มาตรา 7) 354. การจัดตั้ง การรวม หรือการโอนราชการสวนกลาง จะตองตราเปนกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกำหนด ง. กฏกระทรวง ตอบ ก. พระราชบัญญัติ (มาตรา 8 ) 355. การรวมหรือการโอนสวนราชการ กรณีที่ไมมีการกำหนดตำแหนงหรืออัตราขาราชการหรือลูกจาง เพิ่มขึ้นตองตราเปนกฏหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกำหนด ง. กฏกระทรวง ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกา (มาตรา 8 ทวิ) 356. หนวยงานใดเปนผูมีอำนาจตรวจสอบดูแลมิใหมีการกำหนดตำแหนงหรืออัตราของขาราชการหรือ ลูกจางของสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหม หรือที่ถูกรวมโอนไป เพิ่มขึ้นจนกวาจะครบกำหนด 3 ป นับแตวันที่พระราชกฤษฎีกามีผลบังคับใช ก. สำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน สำนักงานปลัดกระทรวง ข. สำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน สำนักงบประมาณ ค. สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี ง. สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานปลัดกระทรวง ตอบ ข. สำนักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน และสำนักงบประมาณ (มาตรา 8 ทวิ) 357. การเปลี่ยนชื่อราชการสวนกลาง ตองตราเปนกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกำหนด ง. กฏกระทรวง ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกา (มาตรา 8 ตรี) 358. การยุบราชการสวนกลาง ตองตราเปนกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกำหนด ง. กฏกระทรวง ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกา (มาตรา 8 จัตวา) 359. กรณีมีการยุบสวนราชการสวนกลางใด และสวนราชการอื่นประสงคจะรับโอนขาราชการที่ถูกยุบ โอนใหไปสังกัดตนนั้นจะกระทำได แตตองกระทำภายในกี่วันนับแตพระราชกฤษฎีกามีผลบังคับใช ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ข. 30 วัน (มาตรา 8 จัตวา) 360. ในการแบงสวนราชการภายในสำนักงานรัฐมนตรี กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมี ฐานะเปนกรม ตองตราเปนกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. พระราชกำหนด ง. กฏกระทรวง ตอบ ง. กฎกระทรวง (มาตรา 8 ฉ)


165

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

361. ใครเปนผูมีอำนาจออกกฏกระทรวงในการแบงสวนราชการภายในสำนักงานรัฐมนตรี กรม หรือ สวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด ค. ปลัดกระทรวง ง. อธิบดี ตอบ ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด (มาตรา 8 ฉ) 362. ใครคือผูบังคับบัญชาสูงสุดของสำนักนายกรัฐมนตรี ก. นายกรัฐมนตรี ข. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวง ง. อธิบดี ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 10) 363. ใครคือผูชวยเหลือนายกรัฐมนตรีในการเปนผูชวยสั่งและปฏิบัติราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี ก. รองนายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวง ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข (มาตรา 10) 364. ขอใดกลาวถูกกรณีระหวางที่คณะรัฐมนตรีตองอยูในตำแหนงเพื่อปฏิบัติหนาที่ตอไปจนกวา คณะรั ฐ มนตรี ที ่ ตั ้ง ขึ ้นใหม จะเขา รั บหน าที่ เพราะนายกรัฐ มนตรีต าย ขาดคุ ณ สมบั ติ ต อ งคำ พิพากษาใหจำคุกสภาผูแทนราษฎรมีมติไมไววางใจ ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยวาความเปนรัฐมนตรี ของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภามีมติใหถอดถอนจากตำแหนง ก. ให ค ณะรั ฐ มนตรี ม อบหมายให ร องนายกรั ฐ มนตรี ค นใดคนหนึ ่ ง เป น ผู  ป ฏิ บ ั ต ิ ห น า ที ่ แ ทน นายกรัฐมนตรี ข. กรณีถาไมมีผูดำรงตำแหนงรองนายกรัฐมนตรีหรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใหคณะรัฐมนตรี มอบหมายใหรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเปนผูปฏิบัติหนาที่แทน ค. ใหรัฐมนตรีที่มีอาวุโสสูงสุดเปนผูรักษาราชการแทนตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข (มาตรา 10) 365. ขอใดคืออำนาจหนาที่ของนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาล ก. กำกับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผนดิน เพื่อการนี้จะสั่งใหราชการสวนกลาง ราชการสวน ภูมิภาค และสวนราชการซึ่งมีหนาที่ควบคุมราชการสวนทองถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทำ รายงานเกีย่ วกับการปฏิบัติราชการ ในกรณีจำเปนจะยับยั้งการปฏิบัติราชการใด ๆ ที่ขัดตอนโยบาย หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ไดและมีอำนาจสั่งสอบสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของ ราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการสวนทองถิ่น ข. มอบหมายใหรองนายกรัฐมนตรีกำกับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลาย กระทรวงหรือทบวง ค. บังคับบัญชาขาราชการฝายบริหารทุกตำแหนงซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และสวนราชการที่ เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเปนกรม ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 11 นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาลมีอำนาจหนาที่ ดังนี้ 1. กำกับโดยทั่วไปซึ่งการบริหารราชการแผนดิน เพื่อการนี้จะสั่งใหราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และสวนราชการซึ่งมีหนาที่ควบคุมราชการสวนทองถิ่น ชี้แจง แสดงความคิดเห็น ทำรายงานเกี่ยวกับการ


166

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ปฏิบัติราชการ ในกรณีจำเปนจะยับยั้งการปฏิบัติราชการใด ๆ ที่ขัดตอนโยบายหรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได และมีอำนาจสั่งสอบสวนขอเท็จจริงเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการของราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการสวนทองถิ่น 2. มอบหมายใหรองนายกรัฐมนตรีกำกับการบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือหลายกระทรวง หรือทบวง 3. บังคับบัญชาขาราชการฝายบริหารทุกตำแหนงซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และสวนราชการที่เรียกชื่อ อยางอื่นที่มีฐานะเปนกรม 4. สั่งใหขาราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมาปฏิบัติราชการสำนักนายกรัฐมนตรี โดยจะใหขาดจาก อัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิมหรือไมก็ได ในกรณีที่ใหขาดจากอัตราเงินเดือนทางสังกัดเดิม ใหไดรับเงินเดือนใน สำนักนายกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไมสูงกวาเดิม 5. แตงตั้งขาราชการซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหนงของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึ่ง โดย ใหไดรับเงินเดือนจากกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเชนวานี้ใหขาราชการซึ่งไดรับแตงตั้งมีฐานะเสมือนเปน ขาราชการสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมาดำรงตำแหนงนั้นทุกประการ แตถาเปนการแตงตั้งขาราชการ ตั้งแตตำแหนงอธิบดีหรือเทียบเทาขึ้นไปตองไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี 6. แตงตั้งผูทรงคุณวุฒิเปนประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษา หรือคณะที่ปรึกษาของนายกรัฐมนตรี หรือเปน คณะกรรมการเพื่อปฏิบัติราชการใด ๆ และกำหนดอัตราเบี้ยประชุมหรือคาตอบแทนใหแกผูซึ่งไดรับแตงตั้ง 7. แตงตัง้ ขาราชการการเมืองใหปฏิบัติราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี 8. วางระเบียบปฏิบัติราชการ เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินเปนไปโดยรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เทาที่ไม ขัดหรือแยงกับพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น 9. ดำเนินการอื่น ๆ ในการปฏิบัตติ ามนโยบาย 366. ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีเปนผูบังคับบัญชาสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม แต มิ ไ ด ส ั ง กั ด สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ห รื อ ทบวง นายกรั ฐ มนตรี ส ามารถมอบหมายให ใ ครเป น ผูปฏิบัติราชการแทนได ก. รองนายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ค. อธิบดี ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข (มาตรา 12) 367. เลขาธิการนายกรัฐมนตรีและรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เปนขาราชการประเภทใด ก. ขาราชการการเมือง ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ ค. ขาราชการพิเศษ ง. ขาราชการในพระองค ตอบ ก. ขาราชการการเมือง (มาตรา 13) 368. ผูชวยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เปนขาราชการประเภทใด ก. ขาราชการการเมือง ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ ค. ขาราชการพิเศษ ง. ขาราชการในพระองค ตอบ ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ (มาตรา 14) 369. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และผูชวยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เปน ขาราชการประเภทใด ก. ขาราชการการเมือง ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ ค. ขาราชการพิเศษ ง. ขาราชการในพระองค ตอบ ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ (มาตรา 14)


167

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

370. ขอใดคืออำนาจหนาที่ของปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ก. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในสำนักนายกรัฐมนตรี กำหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติ ราชการของสำนักนายกรัฐมนตรี และลำดับความสำคัญของแผนการปฏิบัติราชการประจำปของ สวนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีใหเปนไปตามนโยบายที่นายกรัฐมนตรีกำหนดรวมทั้งกำกับ เรงรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี ข. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการของสวนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรีรองจากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสานักนายกรัฐมนตรี ยกเวนขาราชการของสวนราชการซึ่ง หัวหนาสวนราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี ค. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในการปฏิบัติ ราชการของสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 16) 371. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี รองปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี และผูชวยปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปน ขาราชการประเภทใด ก. ขาราชการการเมือง ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ ค. ขาราชการพิเศษ ง. ขาราชการในพระองค ตอบ ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ (มาตรา 16) 372. ในกรณีที่สำนักนายกรัฐมนตรีมีทบวงอยูในสังกัดและยังไมสมควรจัดตั้งสำนักงานปลัดทบวงนั้น ใครจะเปนผูทำหนาที่สำนักงานปลัดทบวงแทน ก. สำนักนายกรัฐมนตรี ข. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ค. สำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ง. สำนักงานเลขาธิการผูแทนราษฎร ตอบ ข. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (มาตรา 17) 373. ขอใดคือการจัดระเบียบราชการของกระทรวง ก. สำนักงานรัฐมนตรี ข. สำนักงานปลัดกระทรวง ค. กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่น เวนแตบางกระทรวงเห็นวาไมมีความจำเปนจะไมแยก สวนราชการตั้งขึ้นเปนกรม ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 18) 374. ใครเปนผูบังคับบัญชาสูงสุดของกระทรวง ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด ค. ปลัดกระทรวง ง. อธิบดี ตอบ ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด (มาตรา 20) 375. ขอใดคืออำนาจหนาที่ของปลัดกระทรวง ก. รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง แปลงนโยบายเปนแนวทางและแผนการปฏิ บัติ ราชการ กำกั บการทำงานของส ว นราชการในกระทรวงให เกิ ด ผลสั ม ฤทธิ ์ และประสานการ ปฏิบัติงานของสวนราชการในกระทรวงใหมีเอกภาพสอดคลองกัน รวมทั้งเรงรัดติดตาม และ ประเมินผลการปฏิบัติราชการของสวนราชการในกระทรวง ข. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการของสวนราชการในกระทรวงรองจากรัฐมนตรี


168

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ 376.

ตอบ 377.

ตอบ 378. ตอบ 379. ตอบ 380. ตอบ 381.

ตอบ 382. ตอบ 383.

ค. เปนผูบังคับบัญชาขาราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ สำนักงานปลัดกระทรวง ง. ถูกทุกขอ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 21) หัวหนากลุมภารกิจ ซึ่งมีอำนาจหนาที่รับผิดชอบราชการและบังคับบัญชาขาราชการของสวน ราชการในกลุมภารกิจนั้น จะตองเปนผูที่ดำรงตำแหนงไมต่ำกวาระดับใด ก. ปลัดกระทรวง ข. รองปลัดกระทรวง ค. อธิบดี ง. รองอธิบดี ค. อธิบดี (มาตรา 21) กรณีที่กระทรวงใดมีภารกิจเพิ่มขึ้น และมีความจำเปนอยางยิ่งตองมีรองปลัดกระทรวงมากกวาที่ กำหนดไวใครเปนผูมีอำนาจอนุมัติ ก. สำนักนายกรัฐมนตรี ข. คณะกรรมการขาราชการพลเรือน ค. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ง. ถูกทั้งขอ ข และค ง. ถูกทั้งขอ ข และค (มาตรา 21) เลขานุการรัฐมนตรี และผูชวยเลขานุการรัฐมนตรี เปนขาราชการประเภทใด ก. ขาราชการการเมือง ข. ขาราชการพลเรือนสามัญ ค. ขาราชการพิเศษ ง. ขาราชการในพระองค ก. ขาราชการการเมือง (มาตรา 22) ใครคือผูบังคับบัญชาสูงสุดของกรม ก. อธิบดี ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรี ง. ผูวาการกรม ก. อธิบดี (มาตรา 32) การมอบอำนาจจะตองกระทำโดยวิธีการใด ก. มอบดวยวาจา ข. มอบดวยคำสั่ง ค. ทำเปนหนังสือ ง. ออกเปนพระราชบัญญัติ ค. ทำเปนหนังสือ (มาตรา 39) ในการมอบอำนาจนั้นจะตองคำนึงถึงหลักในขอใดเปนสำคัญ ก. การอำนวยความสะดวกแกประชาชน ความรวดเร็วในการปฏิบัติราชการ ข. การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตำแหนงของผูรับมอบอำนาจ ค. ผูรับมอบอำนาจตองปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบอำนาจตามวัตถุประสงคของการมอบอำนาจ ง. ถูกทุกขอ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 40) ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไมอาจปฏิบัติราชการไดใครจะเปนผูรักษาราชการแทนในลำดับแรก ก. รองนายกรัฐมนตรี ข. ประธานสภาผูแทนราษฎร ค. รัฐมนตรีซึ่งมีอาวุโสสูงสุด ง. ประธานสมาชิกวุฒิสภา ก. รองนายกรัฐมนตรี (มาตรา 41) ในกรณีที่นายกรัฐมนตรีไมอาจปฏิบัติราชการไดและไมมีผูดำรงตำแหนงรองนายกรัฐมนตรีหรือมี แตไมอาจปฏิบัติราชการไดใครจะเปนผูรักษาราชการแทน ก. รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ข. ประธานสภาผูแทนราษฎร


169

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ 384.

ตอบ 385.

ตอบ 386.

ตอบ 387.

ตอบ 388.

ตอบ 389.

ตอบ 390.

ค. รัฐมนตรีซึ่งมีอาวุโสสูงสุด ง. ประธานสมาชิกวุฒิสภา ก. รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย (มาตรา 41) ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงหรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการไดใครจะเปน ผูรักษาราชการแทนในลำดับแรก ก. อธิบดี ข. ปลัดกระทรวง ค. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง ง. รัฐมนตรีที่มีอาวุโสสูงสุด ค. รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวง (มาตรา 42) ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงและรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงหรือมีแต ไมอาจปฏิบัติราชการได ใครจะเปนผูรักษาราชการแทน ก. รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ข. ประธานสภาผูแทนราษฎร ค. รัฐมนตรีซึ่งมีอาวุโสสูงสุด ง. ประธานสมาชิกวุฒิสภา ก. รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย (มาตรา 42) ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใครจะเปน ผูรักษาราชการแทน ก. รองเลขานุการรัฐมนตรี ข. ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวง ง. อธิบดี ข. ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรี (มาตรา 43) ในกรณี ท ี ่ ไม ม ี ผู  ด ำรงตำแหน ง เลขานุ การรั ฐมนตรี หรื อ มี แต ไม อ าจปฏิ บั ต ิ ราชการได และมี ผูช วยเลขานุการรัฐมนตรีหลายคน ใครจะเปนผูรักษาราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรี ก. รองเลขานุการรัฐมนตรี ข. ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรี ค. ปลัดกระทรวง ง. ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรีที่ไดรับมอบหมายจากรัฐมนตรีวาการกระทรวง ง. ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรีที่ไดรับมอบหมายจากรัฐมนตรีวาการกระทรวง (มาตรา 43) ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงเลขานุการรัฐมนตรี ผูชวยเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแตไมอาจปฏิบัติ ราชการได ใครจะเปนผูรักษาราชการแทนเลขานุการรัฐมนตรี ก. รองเลขานุการรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวง ค. ปลัดกระทรวง ง. ขาราชการในกระทรวงที่ไดรบั การแตงตั้งจากรัฐมนตรีวาการกระทรวง ง. ขาราชการในกระทรวงที่ไดรับการแตงตั้งจากรัฐมนตรีวาการกระทรวง (มาตรา 43) ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงปลัดกระทรวง หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใครจะเปนผูรักษา ราชการแทนปลัดกระทรวงในลำดับแรก ก. ผูชวยปลัดกระทรวง ข. รองปลัดกระทรวง ค. รองปลัดกระทรวงซึ่งคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ง. อธิบดี ข. รองปลัดกระทรวง (มาตรา 44) ในกรณี ท ี่ ไมม ีผู ดำรงตำแหน งปลั ดกระทรวง และรองปลั ดกระทรวง หรื อ มี แต ไม อาจปฏิบัติ ราชการได ใครสามารถเปนผูรักษาราชการแทนปลัดกระทรวงได


170

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ก. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาปลัดกระทรวงหรือเทียบเทาซึ่งรัฐมนตรีวาการ กระทรวงแตงตั้ง ข. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาปลัดกระทรวงหรือเทียบเทาซึ่งคณะรัฐมนตรี แตงตั้ง ค. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีหรือเทียบเทาซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง แตงตั้ง ง. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีหรือเทียบเทาซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง ตอบ ค. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาอธิบดีหรือเทียบเทาซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง แตงตั้ง (มาตรา 44) 391. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงรองปลัดกระทรวง หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใครสามารถเปน ผูรักษาราชการแทน ก. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาผูอำนวยการกองหรือเทียบเทาซึ่งปลัดกระทรวง แตงตั้ง ข. ข า ราชการในกระทรวงซึ ่ ง ดำรงตำแหน ง ไม ต่ ำ กว า ผู  อ ำนวยการกลุ  ม งานหรื อ เที ย บเท า ซึ่ ง ปลัดกระทรวงแตงตั้ง ค. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาผูอำนวยการกองหรือเทียบเทาซึ่งรัฐมนตรีฯ แตงตั้ง ง. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาผูอำนวยการกลุมงานหรือเทียบเทาซึ่งรัฐมนตรีฯ แตงตั้ง ตอบ ก. ขาราชการในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหนงไมต่ำกวาผูอำนวยการกองหรือเทียบเทาซึ่งปลัดกระทรวง แตงตั้ง (มาตรา 44) 392. ในกรณี ท ี ่ ไ ม ม ี ผ ู  ด ำรงตำแหน ง อธิ บ ดี หรื อ มี แ ต ไ ม อ าจปฏิ บ ั ต ิ ร าชการได ใ ครจะเป น ผู  ร ั ก ษา ราชการแทนในลำดับแรก ก. ผูชวยอธิบดี ข. รองอธิบดี ค. ขาราชการแตงตั้งตำแหนงหัวหนากองหรือเทียบเทาซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง ง. ปลัดกระทรวง ตอบ ข. รองอธิบดี (มาตรา 46) 393. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงอธิบดี หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได และมีรองอธิบดีหลายคน ใครจะเปนผูรักษาราชการแทนอธิบดี ก. รองอธิบดีคนใดคนหนึ่งซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง ข. ผูชวยอธิบดีคนใดคนหนึ่งซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง ค. ขาราชการตั้งแตตำแหนงหัวหนากองหรือเทียบเทาซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. รองอธิบดีคนใดคนหนึ่งซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง (มาตรา 46) 394. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงอธิบดี และรองอธิบดี หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการไดใครจะเปน ผูรักษาราชการแทน ก. ผูชวยอธิบดีคนใดคนหนึ่งซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง ข. ขาราชการตั้งแตตำแหนงหัวหนากองหรือเทียบเทาซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง


171

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ค. ขาราชการในกรมซึ่งดำรงตำแหนงเทียบเทารองอธิบดีซึ่งปลัดกระทรวงแตงตั้ง ง. ถูกทั้งขอ ข และค ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ข และค (มาตรา 46) 395. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงรองอธิบดี หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใครจะเปนผูรักษา ราชการแทน ก. ขาราชการในกรมซึ่งดำรงตำแหนงเทียบเทารองอธิบดีซึ่งอธิบดีแตงตั้ง ข. ขาราชการตั้งแตตำแหนงหัวหนากองหรือเทียบเทาซึ่งอธิบดีแตงตั้ง ค. ขาราชการตั้งแตตำแหนงหัวหนากลุมงานหรือเทียบเทาซึ่งอธิบดีแตงตั้ง ง. ถูกทั้งขอ ข และค ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ข และค (มาตรา 46) 396. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงเลขานุการกรม หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใครจะเปนผูรักษา ราชการแทน ก. ขาราชการในกรมซึ่งดำรงตำแหนงเทียบเทารองอธิบดีซึ่งอธิบดีแตงตั้ง ข. ขาราชการตั้งแตตำแหนงหัวหนากองหรือเทียบเทาซึ่งอธิบดีแตงตั้ง ค. ขาราชการตั้งแตตำแหนงหัวหนากลุมงานหรือเทียบเทาซึ่งอธิบดีแตงตั้ง ง. ถูกทั้งขอ ข และค ตอบ ข. ขาราชการตั้งแตตำแหนงหัวหนากองหรือเทียบเทาซึ่งอธิบดีแตงตั้ง (มาตรา 47) 397. ขอใดคือความหมายของ “หัวหนาคณะผูแทน” ก. ขาราชการสังกัดกระทรวงการตางประเทศซึ่งไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทนตาม ระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ข. ขาราชการสังกัดกระทรวงมหาดไทยซึ่งไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทนตาม ระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ค. ขาราชการสังกัดกระทรวงกลาโหมซึ่งไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทนตามระเบียบ พิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ง. ขาราชการสังกัดหนวยงานใดก็ไดซึ่งไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทนตามระเบียบ พิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล ตอบ ก. ขาราชการสังกัดกระทรวงการตางประเทศซึ่งไดรับแตงตั้งใหดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทนตาม ระเบียบพิธีการทูต หรือระเบียบพิธีการกงสุล (มาตรา 50/1) 398. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงหัวหนาคณะผูแทน หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใครจะเปน ผูรักษาราชการแทน ก. ผูชวยหัวหนาคณะผูแทน ข. รองหัวหนาคณะผูแทน ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ง. ปลัดกระทรวงการตางประเทศ ตอบ ข. รองหัวหนาคณะผูแทน (มาตรา 50/3) 399. ขอใดคืออำนาจหนาที่ของหัวหนาคณะผูแทน ก. บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ข. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรี สั่งการในฐานะหัวหนารัฐบาล ค. บังคับบัญชาบุคคลในคณะผูแทนและขาราชการฝายพลเรือนที่มิใชบุคคลในคณะผูแทนซึ่งประจำ อยู  ใ นประเทศที ่ ต นมีอ ำนาจหน า ที ่ เพื ่ อ ให ก ารปฏิ บั ต ิร าชการเป นไปตามกฎหมาย ระเบี ย บ


172

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของ นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนารัฐบาล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 50/4 หัวหนาคณะผูแทนมีอำนาจและหนาที่ ดังนี้ 1. บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ 2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมาย หรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการใน ฐานะหัวหนารัฐบาล 3. บังคับบัญชาบุคคลในคณะผูแทนและขาราชการฝายพลเรือนที่มิใชบุคคลในคณะผูแทนซึ่งประจำอยูใน ประเทศที่ตนมีอำนาจหนาที่ เพื่อใหการปฏิบัติราชการเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของ กระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหนาทีไสรัฐบาล 4. รายงานขอเท็จจริงและความเห็นเกี่ยวกับผลการปฏิบัติราชการของบุคคลตาม (3) เพื่อประกอบการ พิจารณาของผูบังคับบัญชาของสวนราชการตนสังกัดเกี่ยวกับการแตงตั้งและการเลื่อนขั้นเงินเดือน 400. ในกรณีที่กระทรวง ทบวง กรม ประสงคจะมอบอำนาจหรือมีคำสั่งใดที่เกี่ยวของไปยังหัวหนา คณะผูแทนนั้นจะตองแจงผานหนวยงานใด ก. สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. กระทรวงมหาดไทย ง. กระทรวงการตางประเทศ ตอบ ง. กระทรวงการตางประเทศ (มาตรา 50/6) 401. การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด จะตองกระทำเปนกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. กฎกระทรวง ง. ขอบังคับ ตอบ ก. พระราชบัญญัติ (มาตรา 52) 402. ขอใดคืออำนาจของจังหวัด ก. นำภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ข. ดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอ ยและ เปนธรรมในสังคม ค. จัดใหมีการคุมครอง ปองกัน สงเสริม และชวยเหลือประชาชนและชุมชนที่ดอยโอกาส เพื่อใหไดรับ ความเปนธรรมทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมในการดำรงชีวิตอยางพอเพียง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 52/1 ใหจังหวัดมีอำนาจภายในเขตจังหวัด ดังตอไปนี้ 1. นำภารกิจของรัฐและนโยบายของรัฐบาลไปปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธิ์ 2. ดูแลใหมีการปฏิบัติและบังคับการใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อใหเกิดความสงบเรียบรอยและเปนธรรมใน สังคม 3. จัดใหมีการคุมครอง ปองกัน สงเสริม และชวยเหลือประชาชนและชุมชนที่ดอยโอกาส เพื่อใหไดรับความ เปนธรรม ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคมในการดำรงชีวิตอยางพอเพียง 4. จัดใหมีการบริการภาครัฐเพื่อใหประชาชนสามารถเขาถึงไดอยางเสมอหนา รวดเร็วและมีคุณภาพ


173

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

5. จัดใหมีการสงเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นเพื่อใหสามารถดำเนินการตามอำนาจ และหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และใหมีขีดความสามารถพรอมที่จะดำเนินการตามภารกิจที่ไดรับ การถายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม 6. ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหนวยงานอื่นของรัฐมอบหมาย หรือที่มี กฎหมายกำหนด 403. ใครคือประธานคณะกรมการจังหวัด ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. ปลัดจังหวัด ค. หัวหนาสำนักงานจังหวัด ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ตอบ ก. ผูวาราชการจังหวัด (มาตรา 53) 404. ใครคือเลขานุการคณะกรมการจังหวัด ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. ปลัดจังหวัด ค. หัวหนาสำนักงานจังหวัด ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ตอบ ค. หัวหนาสำนักงานจังหวัด (มาตรา 53) 405. ใครบางที่มีสวนรวมในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ก. หัวหนาสวนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยูในจังหวัดไมวาจะเปนราชการบริหารสวนภูมภิ าคหรือ ราชการบริหารสวนกลาง ข. ผูบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้งหมดในจังหวัด ค. ผูแทนภาคประชาสังคม และผูแทนภาคธุรกิจเอกชน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 53/1) 406. ผูวาราชการจังหวัด รองผูวาราชการจังหวัด และผูชวยผูวาราชการจังหวัดสังกัดหนวยงานใด ก. สำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ข. กระทรวงมหาดไทย ค. กรมการปกครอง ง. กระทรวงกลาโหม ตอบ ข. กระทรวงมหาดไทย (มาตรา 54) 407. ขอใดคือความหมายของ “ ก.ธ.จ.” ก. คณะกรรมการธำรงธรรมจังหวัด ข. คณะอำนวยการความเปนธรรมจังหวัด ค. คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด ง. คณะอำนวยการธรรมาภิบาลจังหวัด ตอบ ค. คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (มาตรา 55/1) 408. ใครคือประธานคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด ก. ผูวาราชการจังหวัด ข. ผูตรวจการแผนดิน ค. ผูตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี ง. ผูตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ตอบ ค. ผูตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี (มาตรา 55/1) 409. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตำแหนงผูวาราชการจังหวัด รองผูวาราชการจังหวัด ผูชวยผูวาราชการ จังหวัด หรือมีแตไมอาจปฏิบัติราชการได ใครจะเปนผูรักษาราชการแทนผูวาราชการจังหวัดใน ลำดับถัดไป ก. หัวหนาสวนราชการประจำจังหวัดซึ่งมีอาวุโสสูงสุด ข. ปลัดจังหวัด ค. หัวหนาสำนักงานจังหวัด ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ตอบ ข. ปลัดจังหวัด (มาตรา 56) ลำดับการรักษาราชการแทนคือ รองผูวาฯ >> ผูชวยผูวา ฯ (ปจจุบันใน ขอเท็จจริงไมมีตำแหนงนี้) >> ปลัดจังหวัด >> หัวหนาสวนราชการประจำจังหวัดซึ่งมีอาวุโสสูงสุด


174

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

410. ขอใดคืออำนาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัด ก. บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด ข. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรี สั่งการในฐานะหัวหนารัฐบาล ค. บริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของผูตรวจราชการกระทรวงในเมื่อไมขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของ นายกรัฐมนตรี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 57 ผูวาราชการจังหวัดมีอำนาจและหนาที่ดังนี้ 1. บริหารราชการตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ และตามแผนพัฒนาจังหวัด 2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการใน ฐานะหัวหนารัฐบาล 3. บริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของผูตรวจราชการกระทรวงในเมื่อไมขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี 4. กำกับดูแลการปฏิบัติราชการอันมิใชราชการสวนภูมิภาคของขาราชการซึ่งประจำอยูในจังหวัดนั้น ยกเวน ขาราชการทหาร ขาราชการฝายตุลาการ ขาราชการฝายอัยการ ขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ขาราชการ ในสำนักงานตรวจเงินแผนดินและขาราชการครู ใหปฏิบัติราชการใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี หรือยับยั้ง การกระทำใด ๆ ของขาราชการ ในจังหวัดที่ขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรมมติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรีไวชั่วคราวแลวรายงานกระทรวง ทบวง กรม ที่เกี่ยวของ 5. ประสานงานและรวมมือกับขาราชการทหาร ขาราชการฝายตุลาการ ขาราชการฝายอัยการ ขาราชการ พลเรือนในมหาวิทยาลัย ขาราชการในสำนักงานตรวจเงินแผนดินและขาราชการครู ผูตรวจราชการและ หัวหนาสวนราชการในระดับเขตหรือภาค ในการพัฒนาจังหวัดหรือปองปดภัยพิบัติสาธารณะ 6. เสนองบประมาณตอกระทรวงที่เกี่ยวของ หรือเสนอขอจัดตั้งงบประมาณตอสำนักงบประมาณตามมาตรา 52 วรรคสาม และรายงานใหกระทรวงมหาดไทยทราบ 7. กำกับดูแลการบริหารราชการสวนทองถิ่นตามกฎหมาย 8. กำกับการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานองคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในการนี้ใหมีอำนาจทำรายงานหรือ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานขององคการของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจตอรัฐมนตรีเจาสังกัดองคการ ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ 9. บรรจุ แต ง ตั ้ ง ให บ ำเหน็ จ และลงโทษข า ราชการส ว นภู ม ิ ภ าคในจั ง หวั ด ตามกฎหมาย และตามที่ ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมาย 411. การยกเวน จำกัด หรือตัดทอน อำนาจหนาที่ของผูวาราชการจังหวัดในการบริหารราชการใน จังหวัด หรือใหขาราชการของสวนราชการใดมีอำนาจหนาที่ในการบริหารราชการสวนภูมิภาค เชนเดียวกับผูวาราชการจังหวัด จะตองกระทำเปนกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศกระทรวง ตอบ ก. พระราชบัญญัติ (มาตรา 58)


175

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

412. ใครคือผูบังคับบัญชาขาราชการในสำนักงานจังหวัด ก. ปลัดจังหวัด ข. หัวหนาสำนักงานจังหวัด ค. รองผูวาราชการจังหวัด ง. ประธานสภาจังหวัด ตอบ ข. หัวหนาสำนักงานจังหวัด (มาตรา 60) 413. การตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอำเภอ จะตองกระทำเปนกฎหมายใด ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา ค. กฎกระทรวง ง. ประกาศกระทรวง ตอบ ข. พระราชกฤษฎีกา (มาตรา 61) 414. คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทของอำเภอ สามารถไกลเกลี่ยขอพิพาท ทางแพงที่ไมเกี่ยวกับที่ดินมรดกไดในทุนทรัพยไมเกินจำนวนเทาใด ก. 100,000 บาท ข. 200,000 บาท ค. 500,000 บาท ง. 1,000,000 บาท ตอบ ข. 200,000 บาท (มาตรา 61/2) 415. ใครเปนผูจัดทำบัญชีรายชื่อบุคคลที่จะทำหนาที่เปนคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอม ขอพิพาทของอำเภอ ก. นายอำเภอ ข. ปลัดอำเภอหัวหนาศูนยดำรงธรรมอำเภอ ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. ยุติธรรมอำเภอ ตอบ ก. นายอำเภอ (มาตรา 61/2 โดยความเห็นชอบของกรมการจังหวัด) 416. บุคคลใดสามารถทำหนาที่เปนประธานคณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาท ก. นายอำเภอ ข. ปลัดอำเภอที่ไดรับมอบหมาย ค. พนักงานอัยการประจำจังหวัด ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 61/2 โดยความเห็นชอบของกรมการจังหวัด) 417. ขอใดกลาวถูกตองกรณีคูพิพาททั้งสองฝายตกลงกันได ก. คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทสั่งจำหนายขอพิพาท ข. คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทเสนอเรื่องใหนายอำเภอชี้ขาด ค. คณะบุ ค คลผู ทำหน าที ่ไ กล เกลี่ ยและประนอมข อพิ พาทจั ดให มี การทำสั ญญาประนีประนอม ยอมความ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ค. คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทจัดใหมีการทำสัญญาประนีประนอมยอม ความ (มาตรา 61/2) 418. ขอใดกลาวถูกตองกรณีคูพิพาททั้งสองฝายไมสามารถตกลงกันได ก. คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทสั่งจำหนายขอพิพาท ข. คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทเสนอเรื่องใหนายอำเภอชี้ขาด ค. คณะบุ ค คลผู ทำหน าที ่ไ กล เกลี่ ยและประนอมข อพิ พาทจั ดให มี การทำสั ญญาประนีประนอม ยอมความ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. คณะบุคคลผูทำหนาที่ไกลเกลี่ยและประนอมขอพิพาทสั่งจำหนายขอพิพาท (มาตรา 61/2)


176

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

419. ข อ ตกลงที ่ จ ั ด ทำขึ ้ น ของคณะบุ ค คลผู  ท ำหน า ที ่ ไ กล เ กลี ่ ย และประนอมข อ พิ พ าท ให ม ี ผ ล เชนเดียวกับกฎหมายใด ก. คำสั่ง ข. กฏหมายแพงและพาณิชย ค. กฎกระทรวง ง. คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายวาดวยอนุญาโตตุลาการ ตอบ ง. คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการตามกฎหมายวาดวยอนุญาโตตุลาการ (มาตรา 61/2) 420. ในกรณีที่คูพิพาทฝายใดฝายหนึ ่งไมปฏิ บัติ ตามสัญญาประนีประนอมยอมความ คูพิพาทอี ก ฝายหนึ่งสามารถดำเนินการอยางไรได ก. ฟองคดีตอศาลปกครอง ข. ยื่นคำรองตอพนักงานอัยการ ค. แจงความดำเนินคดี ง. รองทุกขตอศูนยดำรงธรรมอำเภอ ตอบ ข. ยื่นคำรองตอพนักงานอัยการ (มาตรา 61/2 และใหพนักงานอัยการดำเนินการยื่นคำรองตอศาลที่มี เขตอำนาจเพื่อใหออกคำบังคับใหตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกลาวโดยใหนำกฎหมายวาดวย อนุญาโตตุลาการมาใชบังคับโดยอนุโลม 421. ความผิดตามขอใดที่นายอำเภอหรือปลัดอำเภอไมสามารถไกลเกลี่ยได ก. ความผิดฐานลักทรัพย ข. ความผิดฐานยักยอกทรัพย ค. ความผิดฐานฉอโกง ง. ความผิดฐานบุกรุก ตอบ ก. ความผิดฐานลักทรัพย ( เพราะลักทรัพยเปนความผิดทางอาญาที่ยอมความไมได) มาตรา 61/3 บรรดาความผิดทีม่ ีโทษทางอาญาที่เกิดขึ้นในเขตอำเภอใดหากเปนความผิดอันยอมความได และ มิใชเปนความผิดเกี่ยวกับเพศ ถาผูเสียหายและผูถูกกลาวหายินยอม หรือแสดงความจำนง ใหนายอำเภอของ อำเภอนั้นหรือปลัดอำเภอที่นายอำเภอดังกลาวมอบหมายเปนผูไกลเกลี่ยตามควรแกกรณี และเมื่อผูเสียหาย และผูถูกกลาวหายินยอมเปนหนังสือตามที่ไกลเกลี่ยและปฏิบัติตามคำไกลเกลี่ยดังกลาวแลว ใหคดีอาญาเปน อันเลิกกันตามประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความอาญา 422. นายอำเภอสังกัดหนวยงานใด ก. กระทรวงมหาดไทย ข. กระทรวงกลาโหม ค. สำนักนายกรัฐมนตรี ง. องคปกครองสวนทองถิ่น ตอบ ก. กระทรวงมหาดไทย (มาตรา 62) 423. ในกรณีที่ไมมีผูดำรงตาแหนงนายอำเภอ ใครเปนผูมีอำนาจแตงตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหนาสวน ราชการประจำอำเภอผูมีอาวุโส ตามระเบียบแบบแผนของทางราชการเปนผูรักษาราชการแทน ก. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ข. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. ปลัดจังหวัด ตอบ ค. ผูวาราชการจังหวัด (มาตรา 67) 424. ขอใดคืออำนาจหนาที่ของนายอำเภอ ก. บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถากฎหมายใดมิไดบัญญัติวา การปฏิบัติตามกฎหมายนั้นเปนหนาที่ของผูใดโดยเฉพาะ ใหเปนหนาที่ของนายอำเภอที่จะตอง รักษาการใหเปนไปตามกฎหมายนั้นดวย ข. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรี สั่งการในฐานะหัวหนารัฐบาล


177

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ค. บริหารราชการตามคำแนะนำและคำชี้แจงของผูวาราชการจังหวัดและผูมีหนาที่ตรวจการอื่น ซึ่งคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย ในเมื่อ ไมขัดตอกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของนายกรัฐมนตรี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 65 นายอำเภอมีอำนาจและหนาที่ดังนี้ 1. บริหารราชการตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนของทางราชการ ถากฎหมายใดมิไดบัญญัติวาการปฏิบัติ ตามกฎหมายนั้นเปนหนาที่ของผูใดโดยเฉพาะ ใหเปนหนาที่ของนายอำเภอที่จะตองรักษาการใหเปนไปตาม กฎหมายนั้นดวย 2. บริหารราชการตามที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรือตามที่นายกรัฐมนตรีสั่งการใน ฐานะหัวหนารัฐบาล 3. บริ ห ารราชการตามคำแนะนำและคำชี ้ แ จงของผู  ว  า ราชการจั ง หวั ด และผู  ม ี ห น า ที ่ ต รวจการอื ่ น ซึ่ ง คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผูวาราชการจังหวัดมอบหมาย ในเมื่อไมขัดตอ กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี หรือการสั่งการของ นายกรัฐมนตรี 4. ควบคุมดูแลการบริหารราชการสวนทองถิ่นในอำเภอตามกฎหมาย 425. ขอใดคือการจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น ก. องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และราชการสวนทองถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมาย กำหนด ข. องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล จังหวัด และราชการสวนทองถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนด ค. อำเภอ เทศบาล สุขาภิบาล และราชการสวนทองถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนด ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล และราชการสวนทองถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมาย กำหนด (มาตรา 70) 426. ขอใดคือความหมายของ “ ก.พ.ร. ” ก. คณะกรรมการพัฒนาระบบคุณธรรม ข. คณะกรรมการพัฒนาระบบขาราชการ ค. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ง. คณะกรรมพิทักษระบบคุณธรรม ตอบ ค. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (มาตรา 71/1) 427. ใครคือประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ก. นายกรัฐมนตรี ข. รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ค. เลขาธิการก.พ.ร. ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข มาตรา 71/1 คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ประกอบไปดวยนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่ นายกรั ฐ มนตรี ม อบหมายเป น ประธาน รั ฐ มนตรี หนึ ่ ง คนที ่ นายกรั ฐ มนตรี ก ำหนดเป นรองประธาน ผู  ซึ่ง คณะกรรมการการกระจายอำนาจให แก อ งค ก รปกครองส ว นท อ งถิ ่ นมอบหมายหนึ ่ ง คน และกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิไมเกิน สิ บคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั ้งจากผูม ีความรูความเชี่ยวชาญในทางดานนิติศ าสตร เศรษฐศาสตร รัฐศาสตร การบริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง จิตวิทยาองคการ และสังคมวิทยา อยางนอยดานละหนึ่งคน ในกรณีที่มีความจำเปนเพื่อใหการปฏิบัติงานบรรลุผล คณะรัฐมนตรีจะกำหนดให


178

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

กรรมการผูทรงคุณวุฒิไมนอยกวาสามคนแตไมเกินหาคนตองทำงานเต็มเวลาก็ได โดยมีเลขาธิการ ก.พ.ร. เปน กรรมการและเลขานุการโดยตำแหนง ซึ่งการแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ใหคณะรัฐมนตรีพิจารณาจาก รายชื่อบุคคลที่ไดรับการเสนอโดยวิธีการสรรหา ทั้งนี้ตามหลักเกณฑและวิธีการสรรหาที่คณะรัฐมนตรีกำหนด 428. บุคคลใดไมสามารถเปนกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการได ก. นายบอยเคยเปนนายกองคการบริหารสวนจังหวัดแตปจจุบันไดลาออกแลว ข. นายเกาลัดเคยไดรับโทษจำคุกในกรณีขับรถโดยประมาทเปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ค. นางหมวยเคยลาออกจากราชการ ง. นายทองเอกเคยถูกปลดออกจากราชการเพราะเหตุทุจริต ตอบ ง. นายทองเอกเคยถูกปลดออกจากราชการเพราะเหตุทุจริต (มาตรา 71/2) 429. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สังกัดหนวยงานใด ก. กระทรวงมหาดไทย ข. ก.พ. ค. สำนักนายกรัฐมนตรี ง. สถาบันพระปกเกลา ตอบ ค. สำนักนายกรัฐมนตรี (มาตรา 71/9) 430. ใครเปนผูรักษาการตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไข เพิ่มเติม ก. นายกรัฐมนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค.ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 18) พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แกไขเพิ่มเติม 431. ขอใดคือเปาหมายของการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ก. เกิดประโยชนสุขของประชาชน ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจภาครัฐ ค. ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเปน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 6 สำคัญมากออกประจำ) มาตรา 6 การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ไดแก 1. เกิดประโยชนสุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจภาครัฐ 3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ 4. ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเปน 5. มีการปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ 6. ประชาชนไดรับการอำนวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการ 7. มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสม่ำเสมอ 432. ขอใดคือความหมายของ “ การบริหารราชการเพื่อประโยชนสุขของประชาชน ” ก. การบริหารประเทศใหประชาชนอยูดีกินดี ข. การบริหารราชการ เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชน ค. การปฏิ บั ต ิ ร าชการที ่ ม ี เป า หมายเพื ่ อ ให เกิ ด ความผาสุ ก และความเป นอยู  ท ี ่ ด ี ข องประชาชน ความสงบและปลอดภัยของสังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชนสูงสุดของประเทศ ง. กิจกรรมที่รัฐบาลเปนผูดำเนินการ เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนและพัฒนาประเทศ ตอบ ค. การปฏิ บั ต ิ ร าชการที ่ ม ี เป า หมายเพื ่ อ ให เกิ ด ความผาสุ ก และความเป นอยู  ท ี ่ ด ี ข องประชาชน ความสงบและปลอดภัยของสังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชนสูงสุดของประเทศ (มาตรา 7)


179

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

433. การกำหนดภารกิจของรัฐและสวนราชการตองสอดคลองกับขอใด ก. แนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา ข. แนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แถลงตอรัฐสภา ค. แนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอประชาชน ง. แนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรที่แถลงตอประชาชน ตอบ ก. แนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา (มาตรา 8 ) 434. สวนราชการตองจัดใหมีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติราชการ ตามหลักเกณฑ ซึ่งตองสอดคลองกับมาตรฐานที่ใครเปนผูกำหนด ก. ก.พ.ร. ข. ก.พ. ค. นายกรัฐมนตรี ง. ผูบังคับบัญชาของหนวย ตอบ ก. ก.พ.ร. (มาตรา 9) 435. ใครเปนผูกำหนดมาตรการกำกับการปฏิบัติราชการเพื่อประโยชนในการปฏิบัติราชการใหเกิด ผลสัมฤทธิ์ ก. ก.พ.ร. ข. ก.พ. ค. นายกรัฐมนตรี ง. ผูบังคับบัญชาของหนวย ตอบ ก. ก.พ.ร. (มาตรา 12) 436. ปจจุบันในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการของสวนราชการนั้น จะตองจัดทำเปนแผนกี่ป ก. 3 ป ข. 4 ป ค. 5 ป ง. 10 ป ตอบ ค. 5 ป (มาตรา 4 พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562) 437. ในการจัดทำบัญชีตนทุนในงานบริการสาธารณะของสวนราชการนั้น ใครเปนผูกำหนดหลักเกณฑ ก. ก.พ.ร. ข. สำนักงบประมาณ ค. กรมบัญชีกลาง ง. กระทรวงการคลัง ตอบ ค. กรมบัญชีกลาง (มาตรา 21) 438. ในกรณี ท ี ่ ร ายจ า ยต อ หน ว ยของงานบริ ก ารสาธารณะใดของส ว นราชการใดสู ง กว า รายจ า ย ตอหนวยของงานบริการสาธารณะปะเภทและคุณภาพเดียวกันหรือคลายคลึงกับของสวนราชการ อื่น สวนราชการนั้นจะตองจัดทำแผนการลดรายจายตอหนวยของงานบริการสาธารณะ เสนอใคร ก. ก.พ.ร. ข. สำนักงบประมาณ ค. กรมบัญชีกลาง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 21) 439. ใครเปนผูประเมินความคุมคาในการปฏิบัติภารกิจของรัฐที่สวนราชการดำเนินการอยูเพื่อรายงาน คณะรัฐมนตรี ก. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และสำนักงบประมาณ ข. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และก.พ.ร. ค. สำนักงบประมาณ และก.พ.ร. ง. ไมมีขอใดกลาวถูก ตอบ ก. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและสำนักงบประมาณ(มาตรา 22) 440. โดยปกติแลวในการปฏิบัติภารกิจของสวนราชการในกรณีที่จะตองไดรับการเห็นชอบดวยกันจาก สวนราชการ เชน การอนุญาต อนุมติ ใหสวนราชการที่มีอำนาจพิจารณาแจงผลใหทราบภายใน กี่วันนับแตไดรับคำขอ


180

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 90 วัน ตอบ ข. 15 วัน (มาตรา 24) 441. การสั่งราชการ สามารถสั่งดวยวาจา ไดหรือไม ก. ได แตใหผูรับคำสั่งนั้นบันทึกคำสั่งดวยวาจาไวเปนลายลักษณอักษร ข. ได แตตองมีพยานยืนยันคำสั่งดวยวาจาอยางนอย 2 คน ขึ้นไป ค. ไมได การสั่งราชการตองสั่งเปนลายลักษณอักษรเทานั้น ง. ถูกทั้ง ก และข ตอบ ก. ได แตใหผูรับคำสั่งนั้นบันทึกคำสั่งดวยวาจาไวเปนลายลักษณอักษร (มาตรา 26) 442. ใครคื อ ผู  จัด ใหมี แพลตฟอร มดิจิ ทั ลกลางเพื่ อ ใหส วนราชการใชใ นการบริ การประชาชนและ การติดตอประสานงานระหวางกัน ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด ค. ก.พ.ร. ง. สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ตอบ ง. สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (มาตรา 10 พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง ที่ดี ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562) 443. ใครเปนผูมีอำนาจจัดใหสวนราชการภายในกระทรวงที่รับผิดชอบปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริการ ประชาชนรวมกันจัดตั้งศูนยบริการรวม เพื่ออำนวยความสะดวกแกประชาชน ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ. ตอบ ก. ปลัดกระทรวง (มาตรา 30) 444. ในกรณี ท ี ่ ม ี ก ารยุ บ เลิ ก โอน หรื อ รวมส ว นราชการใดทั ้ ง หมดหรื อ บางส ว น ห า มมิ ใ ห จ ั ด ตั้ ง สวนราชการที่มีภารกิจหรืออำนาจหนาที่ที่มีลักษณะเดียวกันหรือคลายคลึงกันกับสวนราชการ ดังกลาวขึ้นอีก เวนแตมีเหตุผลและความจำเปนเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของ ประเทศ หรือรักษาผลประโยชนสวนรวมของประชาชน โดยจะตองไดรับความเห็นชอบจากใคร ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด ค. ก.พ.ร. ง. ก.พ. ตอบ ค. ก.พ.ร. (มาตรา 8 พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมือง ที่ดี ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562) 445. กรณี ท ี ่ ส  ว นราชการที ่ ไ ด ร ั บ การเสนอแนะไม เ ห็ น ชอบด ว ยกั บ คำเสนอแนะของสำนั ก งาน คณะกรรมการกฤษฎีกา สามารถดำเนินการไดอยางไร ก. เสนอเรื่องตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาวินิจฉัย ข. เสนอเรื่องตอนายกรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาวินิจฉัย ค. เสนอเรื่องตออัยการสูงสุดเพื่อพิจารณาวินิจฉัย ง. เสนอเรื่องตอศาลปกครองสูงสุดเพื่อพิจารณาวินิจฉัย ตอบ ก. เสนอเรื่องตอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาวินิจฉัย (มาตรา 36) 446. เมื่อสวนราชการใดไดรับการติดตอสอบถามเปนหนังสือจากประชาชนหรือจากสวนราชการ ดวยกันเกี่ยวกับงานที่อยูในอำนาจหนาที่ สวนราชการนั้นตองตอบคำถามหรือแจงการดำเนินการ ใหทราบภายในกี่วัน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน ตอบ ข. 15 วัน (มาตรา 38)


181

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

447. ใครเป น ผู  ม ี ห น า ที่ จ ั ด ให ม ี ร ะบบเครื อ ข า ยสารสนเทศกลางขึ ้ น เพื ่ อ อำนวยความสะดวกและ ความรวดเร็วแกประชาชนในการติดตอกับสวนราชการทุกแหง ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด ค. ก.พ.ร. ง. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตอบ ง. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (มาตรา 40) 448. ในกรณี ท ี ่ ไ ด ร ั บ การร อ งเรี ย นหรื อ เสนอแนะจากข า ราชการหรื อ ส ว นราชการอื ่ น ในเรื ่ อ งใด ส ว นราชการที ่ อ อกกฎ ระเบี ย บ ข อ บั ง คั บ หรื อ ประกาศนั ้ น จะต อ งพิ จารณา และชี ้ แ จงให ผูรองเรียนหรือเสนอแนะทราบภายในกี่วัน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน ตอบ ข. 15 วัน (มาตรา 42) 449. ในกรณีที่สวนราชการใดดำเนินการใหบริการที่มีคุณภาพและเปนไปตามเปาหมายที่กำหนดรวมทั้ง เปนที่พึงพอใจแกประชาชน ก.พ.ร. สามารถดำเนินการอยางไรไดบาง ก. เสนอคณะะรัฐมนตรีจดั สรรเงินเพิ่มพิเศษเปนบำเหน็จความชอบแกสวนราชการ ข. นำเงินไปใชในการปรับปรุงการปฏิบตั ิงานของสวนราชการ ค. จัดสรรเปนรางวัลใหขาราชการในสังกัด ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 48) 450. ใครเปนผูรักษาการตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และที่แกไขเพิ่มเติม ก. ปลัดกระทรวง มหาดไทย ข. รัฐมนตรีเจาสังกัด ค. ก.พ.ร. ง. นายกรัฐมนตรี ตอบ ง. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 5) พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 และที่แกไขเพิ่มเติม 451. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 มิใหใชบังคับกับหนวยงานใด ก. รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ข. องคกรที่ใชอำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ ค. การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี้มิใหใชบังคับแก (1) รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี (2) องคกรที่ใชอำนาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ (3) การพิจารณาของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงานทางนโยบายโดยตรง (4) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดำเนินงานของเจาหนาที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับ คดี และการวางทรัพย (5) การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขและการสั่งการตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกา (6) การดำเนินงานเกีย่ วกับนโยบายการตางประเทศ (7) การดำเนินงานเกี่ยวกับราชการทหารหรือเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ทางยุทธการรวมกับทหารในการปองกัน และรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ


182

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

(8) การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา (9) การดำเนินกิจการขององคการทางศาสนา การยกเวนไมใหนำบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัตินี้มาใชบังคับแกการดำเนินกิจการใดหรือกับหนวยงานใด นอกจากที่กำหนดไวในวรรคหนึ่ง ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกาตามขอเสนอของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติ ราชการทางปกครอง 452. ขอใดคือความหมายของ “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ก. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครอง ข. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึง การดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ค. การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลในอันที่ จะกอเปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ ง. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือ บทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเปนการทั่วไป โดยไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดหรือบุคคลใดเปนการ เฉพาะ ตอบ ข. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึง การดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 5) 453. ขอใดคือความหมายของ “การพิจารณาทางปกครอง” ก. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครอง ข. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึง การดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ค. การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลในอันที่ จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ ง. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือ บทบั ญ ญั ต ิ อื ่น ที่ มี ผ ลบั ง คั บเป น การทั่ วไป โดยไม มุ ง หมายให ใชบัง คับแก กรณีใดหรือ บุคคลใด เปนการเฉพาะ ตอบ ก. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครอง (มาตรา 5) 454. ขอใดคือความหมายของ “กฎ” ก. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครอง ข. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึง การดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ค. การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลในอันที่ จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ


183

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ง. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือ บทบั ญ ญั ต ิ อื ่น ที่ มีผ ลบัง คั บเป น การทั ่ว ไป โดยไม มุ งหมายให ใช บัง คับแก กรณีใดหรือ บุคคลใด เปนการเฉพาะ ตอบ ง. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือ บทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเปนการทั่วไป โดยไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณีใดหรือบุคคลใดเปนการเฉพาะ (มาตรา 5) 455. ขอใดคือความหมายของ “คำสั่งทางปกครอง ” ก. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครอง ข. การเตรียมการและการดำเนินการของเจาหนาที่เพื่อจัดใหมีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึง การดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามพระราชบัญญัตินี้ ค. การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลในอันที่ จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวา จะเปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ การ รับรอง และการรับจดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ ง. พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ขอบัญญัติทองถิ่น ระเบียบ ขอบังคับ หรือ บทบั ญ ญั ติ อ ื่ นที่ มี ผลบั งคับเป น การทั่ วไป โดยไม มุ งหมายใหใ ชบั งคับแกก รณี ใดหรื อบุคคลใด เปนการเฉพาะ ตอบ ค. การใชอำนาจตามกฎหมายของเจาหนาที่ที่มีผลเปนการสรางนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคลในอันที่ จะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของบุคคล ไมวาจะ เปนการถาวรหรือชั่วคราว เชน การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ การรับรอง และการรับ จดทะเบียน แตไมหมายความรวมถึงการออกกฎ (มาตรา 5) 456. ขอใดคือความหมายของ “คณะกรรมการวินิจฉัยขอพิพาท” ก. บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอำนาจหรือไดรับมอบใหใชอำนาจทางปกครองของรัฐใน การดำเนิ น การอย า งหนึ ่ ง อย า งใดตามกฎหมาย ไม ว  า จะเป น การจั ด ตั ้ ง ขึ ้ น ในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไมก็ตาม ข. ผูยื่นคำขอหรือผูคัดคานคำขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครอง และผูซึ่งได เขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผูนั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผล ของคำสั่งทางปกครอง ค. คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองคกรและวิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาด สิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย ง. ไมมีขอใดกลาวถูก ตอบ ค. คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองคกรและวิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาด สิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย 457. ขอใดคือความหมายของ “เจาหนาที่” ก. บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอำนาจหรือไดรับมอบใหใชอำนาจทางปกครองของรัฐใน การดำเนิ น การอย า งหนึ ่ ง อย า งใดตามกฎหมาย ไม ว  า จะเป น การจั ด ตั ้ ง ขึ ้ น ในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไมก็ตาม


184

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ข. ผูยื่นคำขอหรือผูคัดคานคำขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครอง และผูซึ่งได เขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผูนั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผล ของคำสั่งทางปกครอง ค. คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองคกรและวิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาด สิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย ง. ไมมีขอใดกลาวถูก ตอบ ก. บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอำนาจหรือไดรับมอบใหใชอำนาจทางปกครองของรัฐใน การดำเนินการอยางหนึ่งอยางใดตามกฎหมาย ไมวาจะเปนการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือ กิจการอื่นของรัฐหรือไมก็ตาม 458. ขอใดคือความหมายของ “คูกรณี” ก. บุคคล คณะบุคคล หรือนิติบุคคล ซึ่งใชอำนาจหรือไดรับมอบใหใชอำนาจทางปกครองของรัฐใน การดำเนิ น การอย า งหนึ ่ ง อย า งใดตามกฎหมาย ไม ว  า จะเป น การจั ด ตั ้ ง ขึ ้ น ในระบบราชการ รัฐวิสาหกิจหรือกิจการอื่นของรัฐหรือไมก็ตาม ข. ผูยื่นคำขอหรือผูคัดคานคำขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครอง และผูซึ่งได เขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผูนั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผล ของคำสั่งทางปกครอง ค. คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีการจัดองคกรและวิธีพิจารณาสำหรับการวินิจฉัยชี้ขาด สิทธิและหนาที่ตามกฎหมาย ง. ไมมีขอใดกลาวถูก ตอบ ข. ผูยื่นคำขอหรือผูคัดคานคำขอ ผูอยูในบังคับหรือจะอยูในบังคับของคำสั่งทางปกครอง และผูซึ่งได เขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเนื่องจากสิทธิของผูน ั้นจะถูกกระทบกระเทือนจากผลของคำสั่งทาง ปกครอง 459. ใครมิใชคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองโดยตำแหนง ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดกระทรวงกลาโหม ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ตอบ ค. ปลัดกระทรวงกลาโหม 460. ใครเปนผูมีอำนาจแตงตั้งประธานคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ก. นายกรัฐมนตรี ข. รองนายกรัฐมนตรี ค. คณะรัฐมนตรี ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ตอบ ค. คณะรัฐมนตรี 461. คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีผูทรงคุณวุฒิจำนวนกี่คน ก. ไมนอยกวาสามแตไมเกินหา ข. ไมนอยกวาหาแตไมเกินเจ็ด ค. ไมนอยกวาสามแตไมเกินเจ็ด ง. ไมนอยกวาหาแตไมเกินเกา ตอบ ง. ไมนอยกวาหาแตไมเกินเกา 462. ประธานคณะกรรมการและผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองจะตอง เปนผูมีความเชี่ยวชาญทางดานใด ก. นิติศาสตร ข. รัฐประศาสนศาสตร รัฐศาสตร สังคมศาสตร ค. การบริหารราชการแผนดิน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ


185

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

463. ใครคือเลขานุการในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ก. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ข. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา ค. ขาราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ไดรับการแตงตั้งจากเลขาธิการคณะกรรมการ กฤษฎีกา ง. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ตอบ ค. ขาราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่ไดรับการแตงตั้งจากเลขาธิการคณะกรรมการ กฤษฎีกา มาตรา 7 ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกวา “คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ่ง ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขาธิการคณะรัฐ มนตรี เลขาธิ ก ารคณะกรรมการข า ราชการพลเรื อ น เลขาธิ ก ารคณะกรรมการกฤษฎี ก า และผู ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ อี ก ไมนอยกวาหาคนแตไมเกินเกาคนเปนกรรมการ ใหคณะรัฐมนตรีแตงตั้งประธานกรรมการและกรรมการ ผู ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ โดยแต ง ตั ้ ง จากผู ซ ึ ่ ง มี ค วามเชี ่ ย วชาญในทางนิ ต ิ ศ าสตร รั ฐ ประศาสนศาสตร รั ฐ ศาสตร สังคมศาสตร หรือการบริหารราชการแผนดิน แตผูนั้นตองไมเปนผูดำรงตำแหนงทางการเมือง ใหเลขาธิการ คณะกรรมการกฤษฎี ก าแต ง ตั ้ ง ข า ราชการของสำนั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าเป น เลขานุ ก ารและ ผูชวยเลขานุการ 464. ประธานคณะกรรมการและผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีวาระ การดำรงตำแหนงคราวละกี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ข. 3 ป (มาตรา 8) 465. หน ว ยงานใดเป น ผู  ท ำหน า ที ่ เป นสำนั ก งานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการวิ ธี ปฏิ บ ั ต ิ ร าชการ ทางปกครอง ก. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ข. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ค. สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. สำนักงาน ก.พ. ตอบ ก. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (มาตรา 10) 466. ขอใดคืออำนาจหนาที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ก. สอดส อ งดู แ ลและให ค ำแนะนำเกี ่ ย วกั บ การดำเนิ น งานของเจ า หน า ที ่ ใ นการปฏิ บ ั ต ิ ต าม พระราชบัญญัตินี้ ข. ใหคำปรึกษาแกเจาหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่บุคคลดังกลาวรองขอ ทั้งนี้ตามหลักเกณฑที่คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกำหนด ค. มีหนังสือเรียกใหเจาหนาที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 11 คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมีอำนาจหนาที่ ดังตอไปนี้ 1. สอดสองดูแลและใหคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงานของเจาหนาที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ 2. ใหคำปรึกษาแกเจาหนาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ตามที่บุคคลดังกลาวรองขอ ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑที่คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองกำหนด 3. มีหนังสือเรียกใหเจาหนาที่หรือบุคคลอื่นใดมาชี้แจงหรือแสดงความเห็นประกอบการพิจารณาได 4. เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้


186

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

5. จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเปนครั้งคราวตามความเหมาะสม แตอยางนอยปละหนึ่งครั้ง เพื่อพัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติราชการทางปกครองใหเปนไปโดยมีความเปน ธรรมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 6. เรื่องอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมาย 467. กรณีใดบางที่เจาหนาที่ไมสามารถทำการพิจารณาทางปกครองได ก. เปนคูก รณีเอง ข. เปนคูห มั้นหรือคูสมรสของคูกรณี ค. เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นองหรือลูกพี่ลูกนอง นับไดเพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียงสองชั้น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 13 เจาหนาที่ดังตอไปนี้จะทำการพิจารณาทางปกครองไมได 1. เปนคูกรณีเอง 2. เปนคูหมั้นหรือคูสมรสของคูกรณี 3. เปนญาติของคูกรณี คือ เปนบุพการีหรือผูสืบสันดานไมวาชั้นใด ๆ หรือเปนพี่นองหรือลูกพี่ลูกนองนับได เพียงภายในสามชั้น หรือเปนญาติเกี่ยวพันทางแตงงานนับไดเพียงสองชั้น 4. เปนหรือเคยเปนผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูพิทักษหรือผูแทนหรือตัวแทนของคูกรณี 5. เปนเจาหนี้หรือลูกหนี้ หรือเปนนายจางของคูกรณี 6. กรณีอนื่ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 468. เมื่อเกิดกรณีคัดคานเจาหนาที่ ที่มีอำนาจพิจารณาทางปกครอง เจาหนาที่ผูถูกคัดคานนั้นจะตอง ดำเนินการอยางไร ก. หยุดการพิจารณาเรื่องนั้นไวกอน ข. แจงใหผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ ค. ลาออกจากการเปนผูพิจารณาทางปกครอง ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข (มาตรา 14 ตองหยุดการพิจารณาเรือ่ งนั้นไวกอนและแจงใหผูบังคับบัญชาเหนือ ตนขึ้นไปชั้นหนึ่งทราบ) 469. กรณี ท ี ่ ป ระชุ มเห็ นควรวา กรรมการผู ถู กคั ดค านสามารถปฏิ บัต ิห น าที่ ต อ ไปได จะต อ งอาศัย คะแนนเสียงความเห็นชอบจำนวนไมนอยกวาเทาใดของกรรมการที่ไมถูกคัดคาน ก. 2 ใน 3 ข. 3 ใน 5 ค. กึ่งหนึ่ง ง. ครึ่งหนึ่ง ตอบ ก. 2 ใน 3 (มาตรา 15 และตองลงคะแนนแบบลับ) 470. กรณีใดบางที่เปนเหตุแหงความจำเปนที่กรรมการผูพิจารณาทางปกครอง อาจสามารถพิจารณา ตอไปไดแมจะเปนผูถูกคัดคาน ก. กรณีที่มีความจำเปนเรงดวน หากปลอยใหลาชาไปจะเสียหายตอประโยชนสาธารณะ ข. กรณีสิทธิของบุคคลจะเสียหายโดยไมมีทางแกไขได ค. กรณีไมมีเจาหนาที่อื่นปฏิบัติหนาที่แทนผูนั้นได ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 18) 471. ผูใดตอไปนี้เปนสามารถกระทำการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองได


187

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ก. ผูซึ่งบรรลุนิติภาวะ ข. ผูซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกำหนดใหมีความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได แมผูนั้นจะยัง ไมบรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ค. นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา 21 โดยผูแ ทนหรือตัวแทน แลวแตกรณี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 22 ผูม ีความสามารถกระทำการในกระบวนการพิจารณาทางปกครองไดจะตองเปน 1. ผูซึ่งบรรลุนิติภาวะ 2. ผูซึ่งมีบทกฎหมายเฉพาะกำหนดใหมีความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติ ภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 3. นิติบุคคลหรือคณะบุคคลตามมาตรา 21 โดยผูแ ทนหรือตัวแทน แลวแตกรณี 4. ผูซึ่งมีประกาศของนายกรัฐมนตรีหรือผูซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายในราชกิจจานุเบกษากำหนดให มี ความสามารถกระทำการในเรื่องที่กำหนดได แมผูนั้นจะยังไมบรรลุนิติภาวะหรือความสามารถถูกจำกัดตาม ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 472. การยื่นคำขอในลักษณะตัวแทนรวมจะตองมีผูลงชื่อรวมกันจำนวนเกินกวากี่คน ก. 15 คน ข. 25 คน ค. 35 คน ง. 50 คน ตอบ ง. 50 คน มาตรา 25 ในกรณีที่มีการยื่นคำขอโดยมีผูลงชื่อรวมกันเกินหาสิบคนหรือมีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคำขอที่มี ขอความอยางเดียวกันหรือทำนองเดียวกัน ถาในคำขอมีการระบุใหบุคคลใดเปนตัวแทนของบุคคลดังกลาวหรือ มีขอความเปนปริยายใหเขาใจไดเชนนั้น ใหถือวาผูที่ถูกระบุชื่อดังกลาวเปนตัวแทนรวมของคูกรณีเหลานั้นใน กรณีที่มีคูกรณีเกินหาสิบคนยื่นคำขอใหมีคำสั่งทางปกครองในเรื่องเดียวกัน โดยไมมีการกำหนดใหบุคคลใด เปนตัวแทนรวมของตนตามวรรคหนึ่ง ใหเจาหนาที่ในเรื่องนั้นแตงตั้งบุคคลที่คูกรณีฝายขางมากเห็นชอบเปน ตัวแทนรวมของบุคคลดังกลาว 473. คูกรณีตองการจะบอกเลิกการใหตัวแทนรวมดำเนินการแทนตนจะตองใชวิธีการใด ก. กลาวดวยวาจา ข. ทำเปนหนังสือ ค. ทำเปนคำสั่ง ง. ทำเปนประกาศ ตอบ ข. ทำเปนหนังสือ (มาตรา 25 ทำเปนหนังสือและแจงเจาหนาที่ทราบ) 474. โดยปกติแลวเอกสารที่จะยื่นใหเจาหนาที่พิจารณาทางปกครองจะตองเปนเอกสารภาษาใด ก. ภาษาไทย ข. ภาษาอังกฤษ ค. ภาษาตางประเทศ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. ภาษาไทย มาตรา 26 เอกสารที่ยื่นตอเจาหนาที่ใหจัดทำเปนภาษาไทย ถาเปนเอกสารที่ทำขึ้นเปนภาษาตางประเทศ ให คูกรณีจัดทำคำแปลเปนภาษาไทยที่มีการรับรองความถูกตองมาใหภายในระยะเวลาที่เจาหนาที่กำหนด ใน กรณีนี้ใหถือวาเอกสารดังกลาวไดยื่นตอเจาหนาที่ในวันที่เจาหนาที่ไดรับคำแปลนั้น เวนแตเจาหนาที่จะยอมรับ เอกสารที ่ ท ำขึ ้ น เป น ภาษาต า งประเทศ และในกรณี น ี ้ ใ ห ถ ื อ ว า วั น ที ่ ไ ด ย ื ่ น เอกสารฉบั บ ที ่ ท ำขึ ้ น เป น ภาษาตางประเทศเปนวันที่เจาหนาที่ไดรับเอกสารดังกลาว 475. โดยปกติแลวเมื่อเจาหนาที่ผูรับคำขอ ไดรับคำขอจากผูยื่น หากมีเอกสารใดไมครบถวน เจาหนาที่ ผูรับคำขอจะตองแจงใหผูยื่นคำขอทราบภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับคำขอเพื่อสงเอกสารเพิ่มเติม ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 14 วัน ตอบ ค. 7 วัน (มาตรา 27)


188

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

476. เจาหนาที่ ที่ตองพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นวาจำเปนแกการพิสูจนขอเท็จจริง สามารถ ดำเนินการอยางไรไดบาง ก. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอยางที่เกี่ยวของ ข. รับฟงพยานหลักฐาน คำชี้แจง หรือความเห็นของคูกรณีหรือของพยานบุคคลหรือพยานผูเชี่ยวชาญ ที่คูกรณีกลาวอาง เวนแตเจาหนาที่เห็นวาเปนการกลาวอางที่ไมจำเปนฟุม เฟอยหรือเพื่อประวิงเวลา ค. ขอขอเท็จจริงหรือความเห็นจากคูกรณี พยานบุคคล หรือพยานผูเชี่ยวชาญ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 29 เจาหนาที่ตองพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นวาจำเปนแกการพิสูจนขอเท็จจริง ในการนี้ ให รวมถึงการดำเนินการดังตอไปนี้ 1. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอยางที่เกี่ยวของ 2. รับฟงพยานหลักฐาน คำชี้แจง หรือความเห็นของคูกรณีหรือของพยานบุคคลหรือพยานผูเชี่ยวชาญที่คูกรณี กลาวอาง เวนแตเจาหนาที่เห็นวาเปนการกลาวอางที่ไมจำเปนฟุมเฟอยหรือเพื่อประวิงเวลา 3. ขอขอเท็จจริงหรือความเห็นจากคูกรณี พยานบุคคล หรือพยานผูเชี่ยวชาญ 4. ขอใหผูครอบครองเอกสารสงเอกสารที่เกี่ยวของ 5. ออกไปตรวจสถานที่ 477. ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ตองใหคูกรณีมีโอกาสที่จะได ทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตน ยกเวน ขอใดตอไปนี้ ก. เมื่อมีความจำเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกผูหนึ่ง ผูใดหรือจะกระทบตอประโยชนสาธารณะ ข. เมื ่ อ จะมี ผ ลทำให ร ะยะเวลาที ่ ก ฎหมายหรื อ กฎกำหนดไว ใ นการทำคำสั ่ ง ทางปกครองต อ ง ลาชาออกไป ค. เมื่อเปนขอเท็จจริงที่คูกรณีนั้นเองไดใหไวในคำขอ คำใหการหรือคำแถลง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 30 ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ตองใหคูกรณีมีโอกาสที่จะได ทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอและมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตนความในวรรคหนึ่งมิใหนำ มาใชบังคับ ในกรณีดังตอไปนี้ เวนแตเจาหนาที่จะเห็นสมควรปฏิบัติเปนอยางอื่น 1. เมื่อมีความจำเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกผูหนึ่งผูใดหรือจะ กระทบตอประโยชนสาธารณะ 2. เมื่อจะมีผลทำใหระยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกำหนดไวในการทำคำสั่งทางปกครองตองลาชาออกไป 3. เมื่อเปนขอเท็จจริงที่คูกรณีนั้นเองไดใหไวในคำขอ คำใหการหรือคำแถลง 4. เมื่อโดยสภาพเห็นไดชัดในตัววาการใหโอกาสดังกลาวไมอาจกระทำได 5. เมื่อเปนมาตรการบังคับทางปกครอง 6. กรณีอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 478. กรณีใดที่เจาหนาที่อาจไมอนุญาตใหตรวจดูเอกสารหรือพยานหลักฐาน ก. กรณีที่มีความยุงยากเกินความจำเปน ข. กรณีที่มีความซับซอน ค. กรณีเปนเรื่องลับ ง. กรณีเปนเรื่องเดิม


189

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ค. กรณีเปนเรื่องลับ (มาตรา 32) 479. คำสัง่ ทางปกครองสามารถกระทำไดในรูปแบบใด ก. วาจา ข. หนังสือ ค. การสื่อความหมายในรูปแบบอื่น แตตองมีขอความหรือความหมายทีช่ ดั เจนเพียงพอที่จะเขาใจได ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 34) 480. กรณีที่เจาที่ผูทำคำสั่งทางปกครองมีคำสั่งดวยวาจา ผูรับคำสั่งนั้นสามารถที่จะรองขอคำสั่งทาง ปกครองเปนหนังสือไดภายในกี่วัน นับแตวันที่เจาหนาที่มีคำสั่งดังกลาว ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 14 วัน ตอบ ค. 7 วัน (มาตรา 35) 481. คำสั่งทางปกครองที่ทำเปนหนังสืออยางนอยตองระบุรายละเอียดขอใดบาง ก. วัน เดือน และป ที่ทำคำสั่ง ข. ชื่อและตำแหนงของเจาหนาที่ผูทำคำสั่ง ค. ลายมือชื่อของเจาหนาที่ผูทำคำสั่งนั้น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 36) 482. คำสั่งทางปกครองที่ทำเปนหนังสือและการยืนยันคำสั่งทางปกครองเปนหนังสืออยางนอยตองจัด ใหมีเหตุผลตามขอใดบาง ก. ขอเท็จจริงอันเปนสาระสำคัญ ข. ขอกฎหมายที่อางอิง ค. ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 37) 483. ในการออกคำสั่งทางปกครองเปนหนังสือในเรื่องใด หากมิไดมีกฎหมายหรือกฎกำหนดระยะเวลา ในการออกคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้นไว เจาหนาที่ตองออกคำสั่งทางปกครองนั้นใหแลวเสร็จ ภายในกี่วันนับแตวันที่เจาหนาที่ไดรับคำขอและเอกสารถูกตองครบถวน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน ตอบ ค. 30 วัน (มาตรา 39/1) 484. กรณีคำสั่งทางปกครองที่อาจอุทธรณหรือโตแยง ที่ไมไดกำหนดระยะเวลาอุทธรณ หรือที่ไมมี การแจง และระยะเวลาดังกลาวมีระยะเวลาสั้นกวาหนึ่งป จะสามารถขยายระยะเวลาอุทธรณได เทาใดนับแตวันที่ไดรับคำสั่งทางปกครอง ก. 45 วัน ข. 90 วัน ค. 1 ป ง. 3 ป ตอบ ค. 1 ป (มาตรา 40) 485. ในกรณีที่คำสั่งทางปกครองใดไมไดออกโดยรัฐมนตรี และไมมีกฎหมายกำหนดขั้นตอนอุทธรณ ภายในฝายปกครองไวเปนการเฉพาะ คูกรณีสามารถอุทธรณคำสั่งทางปกครองนั้นได ภายในกี่วัน นับแตวันที่ตนไดรับแจงคำสั่งดังกลาว ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน ตอบ ข. 15 วัน (มาตรา 44) 486. การทำคำอุทธรณสามารถกระทำไดโดยวิธีใดบาง ก. วาจา ข. หนังสือ ค. การสื่อความหมายในรูปแบบอื่น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ข. หนังสือ (มาตรา 44)


190

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

487. โดยปกติแลวเจาหนาที่ ที่ไดรับคำอุทธรณจะตองพิจารณาคำอุทธรณใหแลวเสร็จภายในกี่วัน นับแตวันที่ไดรับอุทธรณ ก. ไมเกิน 7 วัน ข. ไมเกิน 15 วัน ค. ไมเกิน 30 วัน ง. ไมเกิน 45 วัน ตอบ ค. ไมเกิน 30 วัน (มาตรา 45) 488. กรณีที่เจาหนาที่ผูรับคำอุทธรณไมเห็นดวยกับคำอุทธรณ และไดรายงานความเห็นพรอมเหตุผล ไปยังผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณแลว ผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณจะตองพิจารณาคำอุทรณ นั้นใหแลวเสร็จภายในกี่วันนับแตวันที่ตนไดรับรายงาน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน ตอบ ค. 30 วัน (มาตรา 45) 489. กรณีผูมีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณ ไมอาจพิจารณาคำอุทธรณใหแลวเสร็จภายในระยะเวลา ดั ง กล า ว สามารถขยายระยะเวลาพิ จารณาอุท ธรณ อ อกไปได อี กไม เกินกี่ วั นนั บ แตว ั นที่ ครบ กำหนดเวลาดังกลาว ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน ตอบ ค. 30 วัน (มาตรา 45) 490. คำสั่งทางปกครองของบรรดาคณะกรรมการตาง ๆ คูกรณีมีสิทธิโตแยงตอคณะกรรมการวินิจฉัย รองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดภายในกี่วันนับแตวันที่ไดรับแจงคำสั่งนั้น ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ง. 90 วัน (มาตรา 48) 491. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเปนการใหประโยชนตองกระทำภายในกี่วันนับแตไดรู ถึงเหตุที่จะใหเพิกถอนคำสั่งทางปกครองนั้น ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ง. 90 วัน (มาตรา 49) 492. กรณีใดบางที่ผรู ับคำสั่งทางปกครองจะอางความเชื่อโดยสุจริตไมได ก. ผูนั้นไดแสดงขอความอันเปนเท็จหรือปกปดขอความจริงซึ่งควรบอกใหแจง หรือขมขู หรือชักจูงใจ โดยการใหทรัพยสินหรือใหประโยชนอื่นใดที่มชิ อบดวยกฎหมาย ข. ผูนั้นไดใหขอความซึ่งไมถูกตองหรือไมครบถวนในสาระสำคัญ ค. ผูนั้นไดรูถึงความไมชอบดวยกฎหมายของคำสัง่ ทางปกครองในขณะไดรับคำสั่งทางปกครองหรือ การไมรูนั้นเปนไปโดยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 51) 493. คำสั ่ ง ทางปกครองที่ ชอบด วยกฎหมายกรณี ใ ดบา งซึ่ งเป นการให ประโยชน แกผูรั บคำสั่งทาง ปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวน ก. มีกฎหมายกำหนดใหเพิกถอนไดหรือมีขอสงวนสิทธิใหเพิกถอนไดในคำสั่งทางปกครองนั้นเอง ข. คำสั่งทางปกครองนั้นมีขอกำหนดใหผูรับประโยชนตองปฏิบัติ แตไมมีการปฏิบัติภายในเวลาที่ กำหนด ค. ขอเท็จจริงและพฤติการณเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีขอเท็จจริงและพฤติการณเชนนี้ในขณะทำคำสั่ง ทางปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไมทำคำสั่งทางปกครองนั้น และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความ เสียหายตอประโยชนสาธารณะได ง. ถูกทุกขอ


191

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 53 คำสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งไมเปนการใหประโยชนแกผูรับคำสั่งทางปกครองอาจถูก เพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะที่เพิกถอนหรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่ กำหนดได เวนแตเปนกรณีที่คงตองทำคำสั่งทางปกครองที่มีเนื้อหาทำนองเดียวกันนั้นอีก หรือเปนกรณีที่การ เพิกถอนไมอาจกระทำไดเพราะเหตุอื่น ทั้งนี้ ใหคำนึงถึงประโยชนของบุคคลภายนอกประกอบดวย คำสั่งทาง ปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับคำสั่งทางปกครองอาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือ บางสวนโดยใหมีผลตั้งแตขณะที่เพิกถอน หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดไดเฉพาะเมื่อ มีกรณีดังตอไปนี้ 1. มีกฎหมายกำหนดใหเพิกถอนไดหรือมีขอสงวนสิทธิใหเพิกถอนไดในคำสั่งทางปกครองนั้นเอง 2. คำสั่งทางปกครองนั้นมีขอกำหนดใหผูรับประโยชนตองปฏิบัติ แตไมมีการปฏิบัติภายในเวลาที่กำหนด 3. ขอเท็จจริงและพฤติการณเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีขอเท็จจริงและพฤติการณเชนนี้ในขณะทำคำสั่งทาง ปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไมทำคำสั่งทางปกครองนั้น และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความเสียหายตอ ประโยชนสาธารณะได 4. บทกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งหากมีบทกฎหมายเชนนี้ในขณะทำคำสั่งทางปกครองแลวเจาหนาที่คงจะไม ทำคำสั่งทางปกครองนั้น แตการเพิกถอนในกรณีนี้ใหกระทำไดเทาที่ผูรับประโยชนยังไมไดใชประโยชน หรือยัง ไมไดรับประโยชนตามคำสั่งทางปกครองดังกลาว และหากไมเพิกถอนจะกอใหเกิดความเสียหายตอประโยชน สาธารณะได 5. อาจเกิดความเสียหายอยางรายแรงตอประโยชนสาธารณะหรือตอประชาชนอันจำเปนตองปองกันหรือขจัด เหตุดังกลาว ในกรณีที่มีการเพิกถอนคำสั่งทางปกครองเพราะเหตุตามวรรคสอง (3) (4) และ (5) ผูไดรับประโยชนมีสิทธิ ไดรับคาทดแทนความเสียหายอันเกิดจากความเชื่อโดยสุจริตในความคงอยูของคำสั่งทางปกครองได และใหนำ มาตรา 52 มาใชบังคับโดยอนุโลมคำสั่งทางปกครองที่ชอบดวยกฎหมายซึ่งเปนการใหเงินหรือใหทรัพยสินหรือ ใหประโยชนที่อาจแบงแยกได อาจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบางสวนโดยใหมีผลยอนหลังหรือไมมีผลยอนหลัง หรือมีผลในอนาคตไปถึงขณะใดขณะหนึ่งตามที่กำหนดไดในกรณีดังตอไปนี้ (1) มิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของคำสั่งทางปกครอง (2) ผูไดรับประโยชนมิไดปฏิบัติหรือปฏิบัติลาชาในอันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามเงื่อนไขของคำสั่งทาง ปกครองทั้งนี้ ใหนำความในมาตรา 51 มาใชบังคับโดยอนุโลม 494. เจาหนาที่อาจเพิกถอนหรือแกไขเพิ่มเติมคำสั่งทางปกครองที่พนกำหนดอุทธรณไดในกรณีใดบาง ก. มีพยานหลักฐานใหม อันอาจทำใหขอเท็จจริงที่ฟงเปนยุติแลวนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสาระสำคัญ ข. คูกรณีที่แทจริงมิไดเขามาในกระบวนการพิจารณาทางปกครองหรือไดเขามาในกระบวนการ พิจารณาครั้งกอนแลวแตถูกตัดโอกาสโดยไมเปนธรรมในการมีสว นรวมในกระบวนการพิจารณาทาง ปกครอง ค. เจาหนาที่ไมมีอำนาจที่จะทำคำสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น หรือถาคำสั่งทางปกครองไดออกโดย อาศัยขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายใดและตอมาขอเท็จจริงหรือขอกฎหมายนั้นเปลี่ยนแปลงไปใน สาระสำคัญในทางที่จะเปนประโยชนแกคูกรณี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 54)


192

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

495. การยื่นคำขอใหพิจารณาใหมขางตนตองกระทำภายในกี่วันนับแตผูนั้นไดรูถึงเหตุซึ่งอาจขอให พิจารณาใหมได ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ง. 90 วัน (มาตรา 54) 496. กรณีที่เจาหนาที่มีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหผูใดชำระเงิน ถาถึงกำหนดแลวไมมีการชำระโดย ถูกตองครบถวน เจาหนาที่จะตองมีหนังสือเตือนใหผูนั้นชำระภายในระยะเวลาที่กำหนดแตตอง ไมนอ ยกวากี่วัน ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ก. 7 วัน (มาตรา 63/7 ถาไมมีการปฏิบัติตามคำเตือน เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครอง โดยยึดหรืออายัดทรัพยสินของผูนั้นและขายทอดตลาดเพื่อชำระเงินใหครบถวน) 497. กรณีคำสั่งทางปกครองที่กำหนดใหกระทำหรือละเว นกระทำ ถาผูอยูในบังคับของคำสั ่ ง ทาง ปกครองฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม เจาหนาที่อาจใชมาตรการบังคับทางปกครองใดไดบางในการ ดำเนินการ ก. เจาหนาที่เขาดำเนินการดวยตนเองหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นกระทำการแทนโดยผูอยูในบังคับ ของคำสั่งทางปกครองจะตองชดใชคาใชจายและเงินเพิ่มในอัตรารอยละยี่สิบหาตอปของคาใชจาย ดังกลาวแกเจาหนาที่ ข. ใหมีการชำระคาปรับทางปกครองตามจำนวนที่สมควรแกเหตุแตตองไมเกินสองหมื่นบาทตอวัน ค. จับกุมดำเนินคดีและฟองคดีตอพนักงานอัยการ ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข (มาตรา 63/21) 498. กรณีที่บุคคลใดตองทำการอยางหนึ่งอยางใดภายในระยะเวลาที่กำหนดโดยกฎหมายหรือโดยคำสั่ง ของเจาหนาที่ ถาวันสุดทายเปนวันหยุดทำการงานสำหรับเจาหนาที่หรือวันหยุดตามประเพณีของ บุคคลผูร ับคำสั่ง ใหถือวาระยะเวลานั้นสิ้นสุดในวันใด ก. วันหยุดถัดไป ข. วันจันทร ค. วันทำงานที่ถัดจากวันหยุดนั้น ง. วันใดก็ได ตอบ ค. วันทำงานที่ถัดจากวันหยุดนั้น (มาตรา 64) 499. ในกรณีที่ผูใดไมอาจกระทำการอยางหนึ่งอยางใดภายในระยะเวลาที่กำหนดไวในกฎหมายได เพราะมีพฤติการณที่จำเปนอันมิไดเกิดขึ้นจากความผิดของผูนั้น ถาผูนั้นมีคำขอ เจาหนาที่อาจ ขยายระยะเวลาและดำเนินการสวนหนึ่งสวนใดที่ลวงมาแลวเสียใหมก็ได แตตองยื่นคำขอภายใน กี่วันนับแตพฤติการณเชนวานั้นไดสิ้นสุดลง ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ข. 15 วัน (มาตรา 66) 500. การแจงคำสั่งทางปกครอง การนัดพิจารณา หรือการอยางอื่นที่เจาหนาที่ตองแจงใหผูที่เกี่ยวของ ทราบสามารถแจงไดโดยวิธีใด ก. วาจา ข. หนังสือ ค. รูปแบบอื่น ง. ถูกทั้งขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก และข 501. การแจงโดยวิธีสงทางไปรษณียตอบรับภายในประเทศใหถือวาไดรับแจงเมื่อครบกำหนดกี ่วัน นับแตวันสง ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ก. 7 วัน (มาตรา 71)


193

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

502. การแจงโดยวิธสี งทางไปรษณียต างประเทศใหถือวาไดรับแจงเมื่อครบกำหนดกี่วันนับแตวันสง ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 45 วัน ง. 90 วัน ตอบ ข. 15 วัน (มาตรา 71) 503. กรณีที่มีผูรับเกินกวาจำนวนกี่คน เจาหนาที่อาจสามารถแจงใหทราบตั้งแตเริ่มดำเนินการในเรื่อง นั้นวา การแจงตอบุคคลเหลานั้นจะกระทำโดยวิธีปดประกาศไว ณ ที่ทำการของเจาหนาที่และ ที่วาการอำเภอที่ผูรับมีภูมิลำเนาได ก. เกิน 30 คน ข. เกิน 50 คน ค. เกิน 100 คน ง. เกิน 200 คน ตอบ ข. เกิน 50 คน (มาตรา 72 และถือวาไดรับแจงเมื่อลวงพนระยะเวลาสิบหาวันนับแตวันที่ไดแจงโดยวิธี ดังกลาว) 504. กรณีใดบางที่สามารถใชวิธีการแจงโดยการประกาศในหนังสือพิมพซึ่งแพรหลายในทองถิ่นนั้น ก. กรณีที่ไมรูตัวผูรับ ข. กรณีรูตัวแตไมรูภูมิลำเนาผูรับ ค. กรณีรูตัวและภูมิลำเนาแตมีผูรับเกินหนึ่งรอยคน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 73) 505. ใครเปนผูรักษาการณตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 ก. นายกรัฐมนตรี ข. ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ค. ประธานศาลปกครองสูงสุด ง. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 5) ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 ในสวนของความผิดตอตำแหนงหนาที่ราชการ 506. ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ซื้อ ทำ จัดการหรือรักษาทรัพยใดเบียดบังทรัพยนั้นเปนของตน หรือ เปนของผูอื่นโดยทุจริต หรือโดยทุจริตยอมใหผอู ื่นเอาทรัพยนั้นเสีย ตองระวางโทษประการใด ก. จำคุกตั้งแตหาปถึงยี่สบิ ป หรือจำคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท ข. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ค. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสามหมื่นบาท ง. จำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตอบ ก. จำคุกตั้งแตหาปถึงยี่สบิ ป หรือจำคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท (ม.147) 507. ผูใดเปนเจาพนักงาน ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ เพื่อใหเกิดความเสียหายแก ผูหนึ่งผูใด หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยทุจริต ตองระวางโทษประการใด ก. จำคุกตั้งแตหาปถึงยี่สบิ ป หรือจำคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท ข. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ค. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสามหมื่นบาท ง. จำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตอบ ข. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท (ม.157 ออกบอย) 508. ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ทำเอกสาร กรอกขอความลงในเอกสารหรือดูแลรักษาเอกสาร กระทำการปลอมเอกสารโดยอาศัยโอกาสที่ตนมีหนาที่นั้น ตองระวางโทษประการใด ก. จำคุกตั้งแตหาปถึงยี่สบิ ป หรือจำคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท ข. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ค. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสามหมื่นบาท ง. จำคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองหมื่นบาท ตอบ ง. จำคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองหมื่นบาท (ม.161)


194

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

509. ผูใดเปนเจาพนักงาน รูหรืออาจรูความลับในราชการ กระทำโดยประการใดๆ อันมิชอบดวยหนาที่ ใหผูอื่นลวงรูความลับนั้น ตองระวางโทษประการใด ก. จำคุกตั้งแตหาปถึงยี่สบิ ป หรือจำคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท ข. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ค. จำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ง. จำคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองหมื่นบาท ตอบ ค. จำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (ม.164) 510. ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ปฏิบัติการใหเปนไปตามกฎหมายหรือคำสั่ง ซึ่งไดสั่งเพื่อบังคับการ ใหเปนไปตามกฎหมาย ปองกันหรือขัดขวางมิใหการเปนไปตามกฎหมายหรือคำสั่งนั้น ตองระวาง โทษประการใด ก. จำคุกตั้งแตหาปถึงยี่สบิ ป หรือจำคุกตลอดชีวติ และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสี่หมื่นบาท ข. จำคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ค. จำคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ง. จำคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ตอบ ง. จำคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (ม.165) พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 511. หนวยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 หมายถึง ขอใด ก. กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปนกรม ข. ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่น ค. รัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ "เจาหนาที่" หมายความวา ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูปฏิบัติงานประเภทอื่น ไมวาจะเปนการแตงตั้ง ในฐานะเปนกรรมการหรือฐานะอื่นใด "หนวยงานของรัฐ" หมายความวา กระทรวง ทบวง กรม หรือสวนราชการที่เรียกชื่ออยางอื่นและมีฐานะเปน กรม ราชการสวนภูมิภาค ราชการสวนทองถิ่นและรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติหรือพระราช กฤษฎีกา และ ใหหมายความรวมถึงหนวยงานอื่นของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดใหเปนหนวยงานของรัฐ ตามพระราชบัญญัตินี้ดวย 512. กรณีเจาหนาที่ของรัฐไดกระทำละเมิดตอผูเสียในขณะปฏิบัติหนาที่ ผูเสียหายสามารถฟองรอง เรียกคาเสียหายจากใครได ก. หนวยงานรัฐของเจาหนาที่ผูกระทำละเมิด ข. เจาหนาที่ผูกระทำละเมิด ค. ผูสืบสันดานของเจาหนาที่ผูกระทำละเมิด ง. ถูกทั้งขอ ข และค ตอบ ก. หนวยงานรัฐของเจาหนาที่ผูกระทำละเมิด (มาตรา 5) 513. ถาเจาหนาที่ของรัฐไดกระทำละเมิดขณะปฏิบัติหนาที่ และเจาหนาที่รัฐผูนั้นไมไดสังกัดหนวยงาน ของรัฐแหงหนึ่งแหงใด ใครจะตองเปนผูรับผิดชอบในการกระทำละเมิดนั้น


195

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ก. นายกรัฐมนตรี ข. กระทรวงการคลัง ค. กรมบัญชีกลาง ง. ผูตรวจการแผนดิน ตอบ ข. กระทรวงการคลัง มาตรา 5 หนวยงานของรัฐตองรับผิดตอผูเสียหายในผลแหงละเมิดที่เจาหนาที่ของตนไดกระทำในการปฏิบัติ หนาที่ ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองหนวยงานของรัฐดังกลาวไดโดยตรง แตจะฟองเจาหนาที่ไมได ถาการละเมิด เกิดจากเจาหนาที่ซึ่งไมไดสังกัดหนวยงานของรัฐแหงใดใหถือวากระทรวงการคลังเปนหนวยงานของรัฐที่ ตองรับผิด 514. กรณีเจาหนาที่ของรัฐไดกระทำละเมิดตอผูเสียซึ่งไมไดเกิดจากการปฏิบัติหนาที่ ผูเสียหายสามารถ ฟองรองเรียกคาเสียหายจากใครได ก. หนวยงานรัฐของเจาหนาที่ผูกระทำละเมิด ข. เจาหนาที่ผูกระทำละเมิด ค. ผูสืบสันดานของเจาหนาที่ผูกระทำละเมิด ง. ถูกทั้งขอ ข และค ตอบ ข. เจาหนาที่ผูกระทำละเมิด มาตรา 6 ถาการกระทำละเมิดของเจาหนาที่มิใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่เจาหนาที่ตองรับผิดในการนั้น เปนการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผูเสียหายอาจฟองเจาหนาที่ไดโดยตรงแตจะฟองหนวยงานของรัฐไมได 515. ในกรณีที่ศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตอง รับผิดอายุความในการฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดี จะสามารถขยายออกไป ไดเทาใดนับแตวันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด ก. 3 เดือน ข. 6 เดือน ค. 8 เดือน ง. 12 เดือน ตอบ ข. 6 เดือน มาตรา 7 ในคดีที่ผูเสียหายฟองหนวยงานของรัฐ ถาหนวยงานของรัฐเห็นวาเปนเรื่องที่เจาหนาที่ตองรับผิดหรือ ตองรวมรับผิด หรือในคดีที่ผูเสียหายฟองเจาหนาที่ถาเจาหนาที่เห็นวาเปนเรื่องที่หนวยงานของรัฐตองรับผิด หรือตองรวมรับผิด หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ดังกลาวมีสิทธิขอใหศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยูเรียกเจาหนาที่ หรือหนวยงานของรัฐแลวแตกรณีเขามาเปนคูความในคดี ถาศาลพิพากษายกฟองเพราะเหตุที่หนวยงานของรัฐ หรือเจาหนาที่ที่ถูกฟองมิใชผูตองรับผิด ใหขยายอายุความฟองรองผูที่ตองรับผิดซึ่งมิไดถูกเรียกเขามาในคดี ออกไปถึงหกเดือนนับแตวันที่คำพิพากษานั้นถึงที่สุด 516. กรณีใดบางที่หนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาว แกหนวยงานของรัฐได ก. เจาหนาที่ไดกระทำการนั้นไปดวยความจงใจ ข. เจาหนาที่ไดกระทำการนั้นไปดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ค. เจาหนาที่ไดกระทำการนั้นไปดวยความรอบคอบ ง. ถูกทั้ง ขอ ก และข ตอบ ง. ถูกทั้ง ขอ ก และข มาตรา 8 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหายเพื่อการละเมิดของเจาหนาที่ ใหหนวยงานของรัฐมีสิทธิเรียกใหเจาหนาที่ผูทำละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวแกหนวยงานของรัฐได ถาเจาหนาที่ไดกระทำการนั้นไปดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงสิทธิเรียกใหชดใชคาสินไหม ทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีไดเพียงใดใหคำนึงถึงระดับความรายแรงแหงการกระทำและความเปนธรรมในแตละ กรณีเปนเกณฑโดยมิตองใหใชเต็มจำนวนของความเสียหายก็ได ถาการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความ


196

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

บกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดำเนินงานสวนรวม ใหหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวออกดวย ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจาหนาที่หลายคน มิใหนำหลักเรื่องลูกหนี้รวมมาใชบังคับและเจาหนาที่แตละคน ตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนเฉพาะสวนของตนเทานั้น 517. กรณีหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกใหอีกฝาย หนึ่งชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนมีอายุความกี่ป นับแตหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใช คาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 5 ป ตอบ ก. 1 ป มาตรา 9 ถาหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใชคาสินไหมทดแทนแกผูเสียหาย สิทธิที่จะเรียกใหอีกฝายหนึ่ง ชดใชคาสินไหมทดแทนแกตนใหมีกำหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ไดใช คาสินไหมทดแทนนั้นแกผูเสียหาย 518. สิทธิในการเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ กรณีที่เจาหนาที่เปนผูกระทำละเมิดตอ หนวยงานของรัฐเอง สิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนจะมีกำหนดอายุความกี่ป นับตั้งแตเมื่อใด ก. หนึ่งปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสิ นไหม ทดแทน ข. สองปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน ค. สามปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหม ทดแทน ง. สามปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิด ตอบ ข. สองปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน มาตรา 10 ในกรณีที่เจาหนาที่เปนผูกระทำละเมิดตอหนวยงานของรัฐไมวาจะเปนหนวยงานของรัฐที่ผูนั้นอยู ในสังกัดหรือไม ถาเปนการกระทำในการปฏิบัติหนาที่การเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ใหนำ บทบัญญัติมาตรา 8 มาใชบังคับโดยอนุโลม แตถามิใชการกระทำในการปฏิบัติหนาที่ใหบังคับตามบทบัญญัติ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย สิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนจากเจาหนาที่ทั้งสองประการตามวรรค หนึ่ง ใหมีกำหนดอายุความสองปนับแตวันที่หนวยงานของรัฐรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่ ผูจะพึงตองใช คาสินไหมทดแทน และกรณีที่หนวยงานของรัฐเห็นวาเจาหนาที่ผูนั้นไมตองรับผิด แตกระทรวงการคลัง ตรวจสอบแลวเห็นวาตองรับผิด ใหสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนนั้นมีกำหนดอายุความหนึ่งปนับแตวันที่ หนวยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง 519. กรณี ห ากผู  เ สี ย หายไม พ อใจในผลการวิ น ิ จ ฉั ย ของหน ว ยงานของรั ฐ สามารถร อ งทุ ก ข ต อ คณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดภายในกี่วัน ก. 30 วัน ข. 60 วัน ค. 90 วัน ง. 120 วัน ตอบ ค. 90 วัน มาตรา 11 ในกรณีที่ผูเสียหายเห็นวา หนวยงานของรัฐตองรับผิดตามมาตรา 5 ผูเสียหายจะยื่นคำขอตอ หนวยงานของรัฐใหพิจารณาชดใชคาสินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดแกตนก็ได ในการนี้หนวยงาน ของรัฐตองออกใบรับคำขอใหไวเปนหลักฐานและพิจารณาคำขอนั้นโดยไมชักชา เมื่อหนวยงานของรัฐมีคำสั่ง เชนใดแลวหากผูเสียหายยังไมพอใจในผลการวินิจฉัยของหนวยงานของรัฐก็ใหมีสิทธิรองทุกขตอคณะกรรมการ วินิจฉัยรองทุกขตามกฎหมายวาดวยคณะกรรมการกฤษฎีกาไดภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ตนไดรับแจงผลการ วินิจฉัยใหหนวยงานของรัฐพิจารณาคำขอที่ไดรับตามวรรคหนึ่งใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน หาก เรื่องใดไมอาจพิจารณาไดทันในกำหนดนั้นจะตองรายงานปญหาและอุปสรรคใหรัฐมนตรีเจาสังกัดหรือกำกับ


197

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

หรือควบคุมดูแลหนวยงานของรัฐแหงนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได แตรัฐมนตรีดังกลาว จะพิจารณาอนุมัติใหขยายระยะเวลาใหอีกไดไมเกินหนึ่งรอยแปดสิบวัน 520. ใครเปนผูรักษาการณตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.2539 ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ง. ตุลาการศาลปกครองสูงสุด ตอบ ก. นายกรัฐมนตรี (มาตรา 15) พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 521. มาตรฐานทางจริยธรรม มีความหมายวาอยางไร ก. หลักเกณฑการประพฤติปฏิบัติอยางมีคุณธรรมของเจาหนาที่รัฐ ข. หลักเกณฑการประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎหมายของเจาหนาที่รัฐ ค. หลักเกณฑการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรมของเจาหนาที่รัฐ ง. หลักเกณฑการประพฤติปฏิบัติอยางมีศีลธรรมของเจาหนาที่รัฐ ตอบ ก. หลักเกณฑการประพฤติปฏิบัติอยางมีคุณธรรมของเจาหนาที่รัฐ (มาตรา 5 ) 522. ขอใดคือองคประกอบของมาตรฐานทางจริยธรรม ก. ยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ ข. มุงผลสัมฤทธิ์ของงาน ค. ปฏิบัติหนาที่อยางเปนธรรมและไมเลือกปฏิบัติ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ (มาตรา 5 ) 523. ในกรณีผูบริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ หนวยงานใดจะเปนผูจัดทำประมวลจริยธรรมให ก. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ข. สภารัฐวิสาหกิจแหงประเทศไทย ค. สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ง. คณะกรรมการพัฒนาและสงเสริมองคการมหาชน ตอบ ค. สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (มาตรา 6 ) 524. ใครคือรองประธานคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ก. ผูแทนคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการที่ไดรับมอบหมาย ข. ผูแทนคณะกรรมการขาราชการพลเรือนที่ไดรับมอบหมาย ค. ผูแทนปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีที่ไดรับมอบหมาย ง. ผูแทนปลัดกระทรวงมหาดไทยที่ไดรับมอบหมาย ตอบ ข. ผูแทนคณะกรรมการขาราชการพลเรือนที่ไดรับมอบหมาย (มาตรา 8 ) 525. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม มีกรรมการผูทรงคุณวุฒิ จำนวนไมเกินกี่คน ก. 3 คน ข. 5 คน ค. 7 คน ง. 9 คน ตอบ ข. 5 คน (มาตรา 8 ) 526. ขอใดมิใชคุณสมบัติของกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม ก. มีสัญชาติไทย ข. มีอายุไมต่ำกวา 40 ป ค. ไมเปนบุคคลลมละลาย ง. ไมเปนคนไรความสามารถ ตอบ ข. มีอายุไมต่ำกวา 40 ป (ตองมีอายุไมต่ำกวา 45 ป ตามมาตรา 9) 527. ขอใดมิใชองคกรกลางบริหารงานบุคคล ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562 ก. คณะกรรมการขาราชการพลเรือน ข. คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา


198

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ค. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ ง. คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น ตอบ ค. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ องคกรกลางบริหารงานบุค คล ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ.2562 ประกอบไปด ว ย คณะกรรมการขาราชการพลเรือน คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา คณะกรรมการ ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการขาราชการตำรวจ คณะกรรมการกลางบริหารงาน บุคคลของเจาหนาที่ของรัฐ และคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น 528. ในกรณีขาราชการการเมือง ซึ่งเปนเจาหนาที่รัฐแตไมมีองคกรกลางบริหารงานบุคคล ใครจะเปน ผูรับผิดชอบจัดทำประมวลจริยธรรม ก. คณะรัฐมนตรี ข. นายกรัฐมนตรี ค. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ง.ถูกทุกขอ ตอบ ก. คณะรัฐมนตรี กรณีเจาหนาที่รัฐไมมีองคกรกลางบริหารงานบุคคล ผูรับผิดชอบจัดทำประมวงจริยธรรม มีดังนี้ 1. คณะรัฐมนตรี สำหรับขาราชการการเมือง 2. สภากลาโหม สำหรับขาราชการทหารและขาราชการพลเอนกลาโหม 3. สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สำหรับผูบริหารและพนักงานรัฐวิสาหกิจ 4. คณะกรรมการพัฒนาและสงเสริมองคการมหาชน สำหรับผูบริหาร เจาหนาที่ และผูปฏิบัติงานขององคการ มหาชน และในกรณีใดที่มีปญหาวาผูใดจะเปนผูจัดทำประมวลสำหรับเจาหนาที่รัฐประเภทใด ให ก.ม.จ. เปนผูวินิจฉัย 529. ขอใดคืออำนาจหนาที่ ของ ก.ม.จ. ก. เสนอแนะและใหคำปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตรดานมาตรฐานทางจริยธรรม และ การสงเสริมจริยธรรมภาครัฐตอคณะรัฐมนตรี ข. กำหนดแนวทางหรือมาตรการในการขับเคลื่อน การดำเนินกระบวนการรักษาจริยธรรม รวมทั้ง กลไกและการบังคับใชประมวลจริยธรรมสำหรับเจาหนาที่ของรัฐเพื่อใหองคกรกลางบริหารงาน บุคคล องคกรตามมาตรา 6 วรรคสอง หรือผูบังคับบัญชานำไปใชในกระบวนการบริหารงานบุคคล อยางเปนรูปธรรม ค. กำหนดแนวทางในการสง เสริม และพั ฒนาเพื ่อ เสริมสรางประสิทธิภาพให เจา หนาที ่ข องรั ฐ มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวล จริยธรรม รวมทั้ง เสนอแนะมาตรการในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสรางแรงจูงใจในการ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมแกหนวยงานของรัฐตอคณะรัฐมนตรี ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ มาตรา 13 ก.ม.จ. มีหนาที่และอำนาจ ดังตอไปนี้ (1) เสนอแนะและใหคำปรึกษาเกี่ยวกับนโยบายและยุทธศาสตรดานมาตรฐานทางจริยธรรมและการสงเสริม จริยธรรมภาครัฐตอคณะรัฐมนตรี (2) กำหนดแนวทางหรือมาตรการในการขับเคลื่อน การดำเนินกระบวนการรักษาจริยธรรมรวมทั้งกลไกและ การบังคับใชประมวลจริยธรรมสำหรับเจาหนาที่ของรัฐเพื่อใหองคกรกลางบริหารงานบุคคลองคกรตามมาตรา 6 วรรคสอง หรือผูบังคับบัญชานำไปใชในกระบวนการบริหารงานบุคคลอยางเปนรูปธรรม (3) กำหนดแนวทางในการส ง เสริม และพัฒ นาเพื่ อเสริม สร างประสิ ทธิ ภาพให เจ าหน าที ่ของรัฐมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรมและยึดถือแนวทางปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม รวมทั้งเสนอแนะ


199

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

มาตรการในการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมแกหนวยงาน ของรัฐตอคณะรัฐมนตรี (4) กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม โดยอยางนอยตองใหหนวยงาน ของรัฐจัดใหมีการประเมินความรูความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานทางจริยธรรม และใหมีการประเมินพฤติกรรม ทางจริยธรรมสำหรับเจาหนาที่ของรัฐในหนวยงานนั้น (5) ตรวจสอบรายงานประจำปของหนวยงานของรัฐตามมาตรา 19 (3) และรายงานสรุปผลการดำเนินงาน ดังกลาวเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบอยางนอยปละหนึ่งครั้ง (6) ตีความและวินิจฉัยปญหาที่เกิดจากการใชบังคับพระราชบัญญัตินี้ (7) ปฏิบัติหนาที่อื่นตามที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่คณะรัฐมนตรีมอบหมาย 530. ก.ม.จ. ตองจัดใหมีการทบทวนมาตรฐานทางจริยธรรม ทุกๆ กี่ป ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ง. 5 ป (มาตรา 15)

วิชาภาษาอังกฤษ Conversation Directions: Choose the appropriate expression to complete the dialogue. 531) You are hungry. You say to your boyfriend : ………………… a. What do you think about Italian food? b. Shall we get something to eat? c. Do you want to buy Korean food? d. Why don’t you get me some food? ตอบ ขอ b. จากโจทย ถาคุณหิว คุณจะพูดกับแฟนวาอยางไร ขอที่ถูกตอง คือขอ b. แปลวา เราไปหาอะไร กินกันมั้ย? สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา คุณคิดอยางไรกับอาหารอิตาเลี่ยน?,ขอ c แปลวา คุณ อยากจะซื้ออาหารเกาหลีมั้ย? และขอ d แปลวา ทำไมคุณถึงไมใหอะไรฉันกินบาง? 532) You bought iPad while you visited your friend in Bangkok and it broke the nextweek. You took it back to the Apple store and said : ………………… a. Don’t give this one to me again. b. Please take it away from me. c. Can I have my money back? d. Give me money please.


200

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ c. จากโจทย คุณซื้อไอแพดมาตอนที่ไปหาเพื่อนที่กรุงเทพ แลวสัปดาหตอมาไอแพดใชงานไมได คุณ จึงกลับไปที่รานและพูดวาอยางไร ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. แปลวา ฉันสามารถขอเงินคืนไดมั้ย? สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา อยาใหสิ่งนี้กับฉันอีกครั้ง ,ขอ b แปลวา เอามันไปไกลๆจากฉัน และขอ d แปลวา ไดโปรด เอาเงินมาใหฉัน 533) There is a phone call for your boss but he doesn’t work in the office. You answer the phone and say: ………………… a. My boss isn’t here. Can I take a message? b. No one has ever seen him before. c. I am a secretary. You can talk to me. d. Nobody knows him. ตอบ ขอ a. จากโจทย มีคนโทรศัพทเขามาหาเจานายของคุณ แตเขาไมอยูที่ทำงาน คุณรับสายและพูดวา อยางไร ขอที่ถูกตอง คือ ขอ a. แปลวา เจานายของฉันไมอยูคะ ฝากขอความถึงเขาเอาไวมั้ยคะ สวนขอ อื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ b แปลวา ไมเคยมีใครเห็นเคามากอนคะ ,ขอ c แปลวา ฉันเปนเลขา คุยกับฉันไดเลย และขอ d แปลวา ไมมีใครรูจักเขา 534) You don’t understand about solving equations then you say to your teacher : …… a. I think so. b. Why is it so difficult. c. Please follow me. d. Please show me how to do it again. ตอบ ขอ d. จากโจทย คุณไมเขาใจการแกสมการ คุณจึงพูดกับคุณครูวาอยางไร ขอที่ถูกตองคือ ขอ d. แปลวา ไดโปรดแสดงวิธีทำใหดูอีกครั้ง สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา ฉันเห็นดวย ,ขอ b แปลวา ทำไมมันถึงยากจัง และขอ c แปลวา โปรดทำตามฉัน 535) Your father have just said something which make your mother angry. He apologize to her. He say : ……………… a. What’s wrong with you? b. I don’t care anymore. c. I’m so sorry for what I said. I didn’t mean it.


201

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

d. I’m a fool. Don’t mention it. ตอบ ขอ c. จากโจทย พอของคุณพูดอะไรบางอยางที่ทำใหแมของคุณรูสึกโกรธ เขาขอโทษเธอและพูดกับ เธอวาอยางไร ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. แปลวา ฉันขอโทษสำหรับสิ่งที่ฉันพูดออกไป ฉันไมไดหมายความวา อยางนั้น สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา เกิดอะไรขึ้นกับเธอ ,ขอ b แปลวา ฉันไมสนใจหรอกนะ และขอ d แปลวา ฉันมันคนโง อยาไปกลาวถึงมันเลยนะ 536) The Foodpanda deliveryman has just delivered your food. You pay him and say a. Have a good trip. b. Keep the change. c. Give me a change. d. What a nice guy you are! ตอบ ขอ b. จากโจทย คนสงอาหารของฟูดแพนดาเอาอาหารมาสงใหคุณ คุณจายเงินเคาและพูดวาอยางไร ขอที่ถูกตอง คือ ขอ b. แปลวา เก็บเงินทอนไวนะคะ (เปนการใหทิป) สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา เดินทางดีๆนะ ,ขอ c แปลวา เอาเงินทอนของฉันมา และขอ d แปลวา คุณชางเปนผูชายที่ดีอะไรอยางนี้ 537) You want to invite Nadech to join your birthday party, so you say : ………………… a. Would you like to join my birthday party tonight? b. Have a dinner with me, please. c. How do you feel about your future? d. I want to invite you to see my friends. ตอบ ขอ a. จากโจทย คุณตองการชวนณเดชไปงานวันเกิดของคุณ คุณจึงพูดวาอยางไร ขอที่ถูกตอง คือ a. แปลวา คืนนี้คุณอยากไปงานเลี้ยงวันเกิดของฉันมั้ย สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ b แปลวา เชิญไปทาน อาหารเย็นดวยกันกับฉัน ,ขอ c แปลวา คุณรูสึกอยางไรเกี่ยวกับอนาคตของคุณ และขอ d แปลวา ฉัน อยากจะเชิญคุณไปเจอเพื่อนๆของฉัน 538) Yaya is late for a reunion party. She gives an excuse that she had to take her dog to see the doctor. You say: ………………… a. Thanks for coming. b. I see, You’re always late.


202

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

c. I don’t understand. I don’t have a dog. d. That’s all right. Don’t worry about it. ตอบ ขอ d. จากโจทย ญาญามางานเลี้ยงรวมรุนสาย เธอใหเหตุผลวาพาสุนัขไปหาหมอ และคุณจะพูดวา อยางไร ขอที่ถูกตอง คือ ขอ d. แปลวา ไมเปนไร ไมตองกังวลนะ สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา ขอบคุณที่มางานนะ ,ขอ b แปลวา ฉันเขาใจ คุณมาสายตลอดเลย และขอ c. แปลวา ฉันไมเขาใจหรอก ฉัน ไมไดเลี้ยงสุนัข 539) John : What’s the matter with you, Jane? …………………….. Jane : I feel weak and chilly. I wan to see a doctor. a. Let’s me buy some water for you. b. I’m sorry about that. c. You look not good. d. Please take care yourself. ตอบ ขอ c. จากโจทย จอหน : เกิดอะไรขึ้นกับเธอ เจน? ……… เจน : ฉันรูสึกไมสบาย มีไขหนาวสั่น อยาก ไปหาหมอ ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c แปลวา เธอดูไมคอยโอเคเลย สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา ให ฉันซื้อน้ำใหเธอดื่มเถอะ , ขอ b แปลวา ฉันเสียใจดวยนะ และขอ d. แปลวา ดูแลตัวเองหนอยนะ 540) Rose : That Chicken Green Curry was delicious. _________? Jisoo : Oh, it’s easy to cook.. Do you want me to teach? Rose : Yes, I will. a. How long dose it take b. How do you make it c. What are the ingredients d. Who made this dish ตอบ ขอ b. จากโจทย โรเซ : แกงเขียวหวานจานนี้อรอยมาก ………….? จีซู : โอ! มันทำงายมากเลย อยากใหฉันสอนทำมั้ยละ โรเซ : เอาสิ ขอที่ถูกตอง คือ ขอ b. คุณทำมันอยางไรหรอ สวนขออื่นๆ แปลได ดังนี้ ขอ a แปลวา คุณใชเวลาทำนานมั้ย , ขอ b สวนผสมของมันมีอะไรบาง และขอ d. ใครเปนคนทำจานนี้ 541) Willson : ………………………………….


203

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

Tom : I’m not sure, maybe Catch me if you can or Kingdom. a. What movie do you want to see tonight? b. Do you like to see movies in Netflix? c. Can I go to your room to see a movie? d. I think you like Korean movies.

ตอบ ขอ a. จากโจทย วิลสัน : ………….. ทอม : ไมแนใจอะ อาจจะเรื่อง Catch me if you can หรือไมก็ เรื่อง Kingdom ขอที่ถูกตอง คือ ขอ a. แปลวา คืนนี้เธออยากจะดูหนังเรื่องอะไร สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ b แปลวา คุณชอบดูหนังใน Netflix มั้ย , ขอ c แปลวา ฉันขอไปดูหนังที่หองคุณไดมั้ย และขอ d. แปลวา ฉันคิดวาคุณชอบหนังเกาหลี 542) Alin : What are you doing now? Alan : ………………………………………. a. Please understand my reason. b. I want to run in a marathon. c. I’m so sick of working. d. I eat dessert at After You. ตอบ ขอ d. จากโจทย อลิน : ตอนนี้คุณกำลังทำอะไรอยู อลัน : ………………….. ขอที่ถูกตอง คือ ขอ d. แปลวา ฉันกินของหวานอยูที่รานอาฟเตอรยู สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา ไดโปรดเขาใจเหตุผล ของฉัน , ขอ b แปลวา ฉันอยากไปวิ่งมาราธอน และขอ c. แปลวา ฉันเบื่อที่จะทำงาน 543) Pranee : Do you mind if I borrow your mobile phone? Witoon: ………………………………………….. a. Not at all. b. I don’t know how to thank you. c. I’m sorry, I am using it now. d. Don’t cross the line.


204

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ c. จากโจทย ปราณี : ฉันขอยืมโทรศัพทมือถือของคุณไดมั้ย? วิทูร : ……………………….ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. แปลวา ขอโทษที ฉันกำลังใชมันอยู สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา ไมเลยสักนิด , ขอ b แปลวา ฉันไมรูจะขอบคุณคุณยังไง และขอ d. แปลวา อยามาล้ำเสนนะ 544) Nara : I lost my Power Bank. Aden : ………………………… Nara : I don’t know. a. Can you buy a new one? b. I think it’s too old. c. You can buy it at computer shop. d. Where did you lose it? ตอบ ขอ d. จากโจทย นารา : ฉันทำ Power Bank หาย เอเดน : ………………….. นารา : ฉันไมรูเหมือนกัน ขอที่ถูกตอง คือ ขอ d. แปลวา คุณทำหายที่ไหน? สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a แปลวา คุณซื้ออันใหม ไดมั้ย? , ขอ b แปลวา ฉันคิดวามันเกาไป และขอ c. แปลวา คุณสามารถหาซื้อมันไดที่รานคอมพิวเตอร 545) Ken : Did you hear about bushfire in Chiang Mai? Aum : Yes, ………………………….? Ken : I’m so depressed. a. How do you feel? b. What’s going on? c. What do you think? d. What seems to be the problem? ตอบ ขอ a. จากโจทย เคน : คุณไดขาวเรื่องไฟไหมที่เชียงใหมมั้ย? อั้ม : ใช ฉันเห็นขาวแลวละ ………………. เคน : ฉันรูสึกซืมเศรามาก ขอที่ถูกตอง คือ ขอ a. แปลวา คุณรูสึกยังไง สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ b. แปลวา เกิดอะไรขึ้น? , ขอ c. แปลวา คุณคิดอะไรอยู และขอ d. แปลวา มีปญหาอะไรหรอ 546) Jack : ………………………………………… Minho : I have a Mazda.


205

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

a. Do you have a car? b. What kind of car do you have? c. Is that your car? d. This car is very expensive. ตอบ ขอ b. จากโจทย แจ็ค : ………………… มินโฮ : ฉันมีรถมาสดาคันหนึ่ง ขอที่ถูกตอง คือ ขอ b. แปลวา คุณมีรถอะไรหรอ สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา คุณมีรถยนตมั้ย?, ขอ c. แปลวา คันนี้ใชรถยนต ของ คุณมั้ย และขอ d. แปลวา รถยนตคันนี้มีราคาแพง 547) Dan : I need some flowers for my girlfriend. Florist : …………………….. Dan : That sounds like a good idea. a. I’m sure your girlfriend will love them. b. Do you know what’s kind of flowers she like? c. I recommend red roses for her. d. Where do you want us to deliver them? ตอบ ขอ c. จากโจทย แดน : ฉันตองการซื้อดอกไมไปใหแฟน คนขายดอกไม : ……………… แดน : นั่นดูเปน ความคิดที่ดี ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. แปลวา ฉันขอแนะนำเปนดอกกุหลายสีแดงสำหรับเธอ สวนขออื่นๆ แปล ไดดังนี้ ขอ a. แปลวา ฉันแนใจวาแฟนของคุณตองชอบมันแนนอน , ขอ b. แปลวา คุณทราบมั้ยวาแฟนของ คุณชอบดอกไมแบบไหน และขอ d. แปลวา คุณอยากใหเราสงดอกไมไปที่ไหน 548) Leo : I want to make a deposit, please. Bank clerk : ……………………… Leo : I would like to deposit 4,500 Baht. a. What can I do for you today? b. How much are you depositing? c. What kind of accout do you want? d. Please fill up all these forms.


206

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ b. จากโจทย ลีโอ : ฉันตองการฝากเงิน พนักงานธนาคาร : …………….. ลีโอ : ฉันตองการฝากเงิน จำนวน 4,500 บาท ขอที่ถูกตอง คือ ขอ b. แปลวา คุณตองการฝากเงินเทาไร? สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา วันนี้ฉันจะชวยอะไรคุณไดบาง , ขอ c. แปลวา คุณตองการเปดบัญชีประเภทไหน และขอ d. แปลวา โปรดกรอกแบบฟอรมเหลานี้ 549) Weir : Today you look good beause your dress is so beutiful. Bella: Thank you, ………………………… a. I need to buy a new dress everyday. b. I’m shy, but I love this dress. c. I’m glad you like it. d. You are stubborn. ตอบ ขอ c. จากโจทย เวียร : วันนี้คุณดูดีเพราะชุดที่คุณใสสวยมากเลย เบลลา : ขอบคุณคะ ……………………. ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. แปลวา ฉันดีใจที่คุณชอบชุดนี้นะ สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา ฉัน อยากจะซื้อชุดใหมทุกๆวันเลย , ขอ b. แปลวา ฉันเขินนะ แตฉันชอบชุดนี้มากเลย และขอ d. แปลวา คุณนี่ดื้อ 550) Sunny : I have an itchy rash on my face. Doctor : ………………………, Oh! It looks terrible. I will give you some medicine. a. You need to be hospitalized. b. I hope you feel better soon c. Do you have any allergies? d. Can I have a look? ตอบ ขอ d. จากโจทย ซันนี่ : ฉันมีผื่นคันบนใบหนา หมอ : ………. โอ ผื่นมันดูไมดีเลย เดี๋ยวฉันจะใหยา คุณไปรับประทานนะ ขอที่ถูกตองคือ ขอ d. แปลวา ขอฉันดูผื่นหนอย สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา คุณควรนอนรักษาที่โรงพยาบาล , ขอ b. แปลวา หวังวาอาการของคุณจะดีขึ้นเร็วๆนี้ และขอ c. แปลวา คุณเคยมีประวัติการแพอะไรมากอนมั้ย Directions: Select the most appropriate choice for each item. (551 – 555) A : Good Afternoon, sir. What can I do for you? B : Yes, please.


207

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

A : …………………. 551 ……………………….

B : I would like to buy running shoes. Which is new collection? A : There are new collection. …………………….552 ………………………. B : I’m going to choose this pink. Can I try it on? A : …………. 553 …………… , What size are you? B : I think 38, Oh! A little tight. A : Do you want to try the big one? B : This one is perfect. I will take it. How much does it costs? A : 2,500 baht, please. B : Can you give me a discount? ……………………. 554 ……………………….. A : I’m really sorry. I can’t give you a discount because it’s the new collection. B : Ok. ……………………… 555 ……………………………… A : Certainly, Thank you so much, sir. 551) a. What brand do you want? b. Would you take it? c. May I show you some new things? d. What are you looking for? ตอบ ขอ d. สังเกตจากคำตอบ I would like to buy running shoes. ฉันตองการซื้อรองเทา ดังนั้น ขอที่ ถูกตอง คือ ขอ d. แปลวา คุณกำลังมองหาอะไรอยู? สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา คุณตองการยี่หอ ไหน, ขอ b. แปลวา คุณจะซื้ออันนี้มั้ย และขอ c. แปลวา ใหฉันเอาของใหมมาใหคุณดูมั้ย 552) a. What color do you prefer? b. Do you like this one? c. Today is the last day of promotion. d. We have a special offer for you.


208

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ a. สังเกตจากคำตอบ I’m going to choose this pink. ฉันอยากไดสีชมพู ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ a. แปลวา สีไหนที่คุณชอบ สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ b. แปลวา คุณชอบคูนี้มั้ย, ขอ c. แปลวา วันนี้มี โปรโมชั่นวันสุดทายแลว และขอ d. แปลวา ฉันมีขอเสนอพิเศษมาใหคุณ 553) a. Don’t worry b. Absolutely c. Here you are d. That’s all right ตอบ ขอ b. สังเกตจากคำถามกอนหนา คือ Can I try it on? ฉันขอลองสวมมันไดมั้ย? ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ b. แปลวา แนนอน ลองไดเลยคะ สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา อยากังวลเลย, ขอ c. แปลวา นี่คะ (ยื่นสินคาให) และขอ d. แปลวา ไมเปนไร 554) a. I really like this. b. Here’s the money. c. I don’t have enough money. d. It’s on sale for only 2,000 baht. ตอบ ขอ c. สังเกตจากประโยคดานหนา คือ Can you give me a discount? ลดราคาใหหนอยไดมั้ย ? ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. แปลวา ฉันมีเงินไมพอ สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา ฉันชอบมันมาก เลย, ขอ b. แปลวา นี่คะ (ยื่นเงินให) และขอ d. แปลวา มันลดราคา เหลือสองพันบาท 555) a. I want to have a look first. b. Hold on just a second. c. Thank for your information. d. Do you accept credit card? ตอบ ขอ d. เนื่องจากผูซื้อมีเงินไมพอ และคนขายบอกวาลดราคาใหไมได ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ d. แปลวา คุณรับบัตรเครดิตมั้ย? สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา ฉันขอดูกอน, ขอ b. แปลวา รอสักครู นะ และขอ c. แปลวา ขอบคุณสำหรับขอมูล


209

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

Directions: Select the most appropriate choice for each item. (556 – 560) A : Have you got any plan for the vacation? B : No plan. …………………………. 556 ………………………. A : Would you like to go with me? B : …………. 557 …………………... Where are we going? A : ………………………………… 558 ……………………………………….. B : I think the beach would be nice. A : How about going to Koh tao, Surat Thani? B : Sound good! I love scuba diving so much and I heard that place has wonderful corals. A : Ok. I will reserve the flight tickets now. B : Let’s me help. …………………………. 559 ……………………………… A : That’s great. I can’t wait to see you in Koh tao. B : Me too, ………………….. 560 ………………………….. 556) a. I don’t have anything to do. b. I’m very busy at the moment. c. Do you have enough free time? d. Come with me. ตอบ ขอ a. สังเกตจากประโยคกอนหนา No plan แปลวา ไมมีแพลน ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ a. แปลวา ฉันไมมีอะไรทำเลย สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ b. แปลวา ฉันยุงมากเลยตอนนี้, ขอ c. แปลวา คุณพอจะมี เวลาวางบางมั้ย และขอ d. แปลวา มากับฉันสิ 557) a. I’m not sure. b. We should not do that c. That’s good idea.


210

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

d. Do you like it? ตอบ ขอ c. จากคำถาม Would you like to go with me? แปลวา ไปเที่ยวกับฉันมั้ย ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. แปลวา เปนความคิดที่ดีเลย เพราะมีประโยคตามหลังวา Where are we going? แปลวาเราจะไป ไหนกันดี สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา ฉันไมแนใจอะ, ขอ b. แปลวา เราไมควรจะทำอยางนั้นนะ และขอ d. แปลวา คุณชอบมันมั้ย? 558) a. Do you like to travel? b. Are you interested in seeing mountains or beach? c. I’d really like to swim. d. Where did you spend your last vacation? ตอบ ขอ b. สังเกตจากคำตอบที่วา I think the beach would be nice. แปลวา ฉันคิดวาไปทะเลดีกวา ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ b. แปลวา คุณสนใจที่จะไปภูเขาหรือวาทะเล สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา คุณชอบทองเที่ยวมั้ย, ขอ c. แปลวา ฉันอยากไปวายน้ำมากๆ และขอ d. แปลวา คุณไปเที่ยวที่ไหนใน วันหยุดที่ผานมา 559) a. I want to travel with you. b. Do you travel a lot? c. Thailand has many nice islands. d. I will search for hotel with a nice view. ตอบ ขอ d. จากประโยคกอนหนาที่ A บอกวาจะไปจองตั๋วเครื่องบิน และ B พูดวา Let’s me help. แปลวา ใหฉันชวยคุณนะ ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ d. แปลวา เดี๋ยวฉันจะลองคนหาโรงแรมที่มีวิวสวยๆ สวน ขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา ฉันอยากไปเที่ยวกับคุณ, ขอ b. แปลวา คุณไปทองเที่ยวบอยมั้ย และขอ c. แปลวา ประเทศไทยมีเกาะที่นาเที่ยวมากมายเลย 560) a. You are the best friend. b. thanks for inviting me. c. Let’s relax. d. I’m feeling so sleepy.


211

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ b. ซึ่งแปลวา ขอบคุณที่ชวนฉันนะ ควรจะเปนประโยคจบการสนทนาที่ดีที่สุดในที่นี้ สวนขออื่นๆ แปลไดดังนี้ ขอ a. แปลวา คุณเปนเพื่อนที่ดีที่สุดเลย, ขอ c. แปลวา เรามาผอนคลายกันเถอะ และขอ d. แปลวา ฉันรูสึกงวงมากเลยตอนนี้

Grammar ทบทวนความรู Tense Present Past Future

Simple S + V1 S + V2 S+ will + V1

Continuous S + is, am, are +V.ing S + was, were +V.ing S + will + be +V.ing

Perfect S+ has, have + V3 S+ had + V3 S + will + have +V3

Perfect Continuous S + has, have + been + V.ing S + had + been + V.ing S + will + have +been + V.ing

Active Voice : Subject + Verb + Object ประธานกระทำเอง Passive Voice : Subject + Verb to be + V3 + by + Object ประธานถูกกระทำ If- Clause มี 3 แบบ ไดแก 1. เปนไปไดในปจจุบัน If S + V1 , S + will Verb ไมผัน

หรือ S + will Verb ไมผัน If S + V1

2. เรื่องสมมุติ ในปจจุบัน If S + V2 , S + would V1

หรือ S + would V1 If S + V2

3. เรื่องสมมุติในอดีต If + had V3, S + would have V3

หรือ S + would have V3 If + had V3

คำนามนับไดและคำนามนับไมได คำนามนับได (Countable Nouns) สามารถนับเปนชิ้น อัน คน แทง ฯลฯ และทำใหอยูในรูปพหูพจน ได เชน lion, apple, book, tree, flower คำนามนับไมได (Uncountable Nouns) ไมสามารถนับจำนวนได เชน bread, tea, coffee, water Article a ใชนำหนาคำนามที่ขึ้นตนดวยพยัญชนะ และบอกอัตราความเร็ว น้ำหนัก การเจ็บปวย an นำหนาคำนามที่ขึ้นตนดวย a e i o u


212

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

the ใชนำหนาคำทีช่ ี้เฉพาะเจาะจง นำหนาคำนามที่มีเพียงหนึ่งเดียวในโลก นำหนา adj. ทีบ่ อกลำดับ ที่และขั้นสุด นำหนาเวลา เชน in the morning Preposition at ใชกับจุดเฉพาะเจาะจง เวลาที่เจาะจง เชน at coffee shop, at 9.00 a.m. on ใชกับพื้นที่ผิว และวัน เชน on the floor, on Monday in ใชกับพื้นที่ใหญ ที่วาง ชวงเวลา เชน in Thailand , in the morning Question Tag แบงเปน 2 ประเภท คือ 1. ประเภทคำถามบอกเลา ประโยคแรกเปนประโยคบอกเลา Tag ที่เปนคำถามจะอยูในรูปปฎิเสธเสมอ เปน การถามเพื่อเนนย้ำวาสิ่งที่คิดนั้นเปนเรื่องจริงหรือไม เชน You drink coffee, don’t you? คุณดืม่ กาแฟมั้ย 2. ประเภทคำถามปฏิเสธ ประโยคแรกจะเปนประโยคปฏิเสธ Tag ที่เปนคำถามจะเปนประโยคบอกเลา ใชใน กรณีที่ไมแนใจในสิ่งที่ถามวาเปนจริงหรือไม เชน She isn’t your girlfriend, is she? เธอไมใชแฟนของคุณ ใชมั้ย

Directions: Choose the best answer to fill in the blanks. 561) The secretary ……… the sale manager if she received information from the purchaser. a. was inform

b. would inform

c. will inform

d. will be informed

ตอบ ขอ b. สังเกตประโยคตามหลัง if คำวา received เปนคำกริยาเติม – ed บงบอกวาเปน Verb ชองที่ 2 ตรงตามโครงสราง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 2 S + would V1 If S + V2 ดังนั้น คำตอบควรเปน would ตามดวย verb ชองที่ 1 562) If we arrive in Hua Hin early, we ………….. to the local market in the morning. a. traveling

b. would travel

c. will travel

d. would have travelled

ตอบ ข อ c. สั ง เกตประโยคตามหลั ง if คำว า arrive เป น verb ช อ งที ่ 1 ตรงตามโครงสร า ง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 1 If S + V1 , S + will V1 ดังนั้น คำตอบควรเปน will ตามดวย verb ชองที่ 1


213

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

563) If I had more money, I ………….. to study in Stamford International University. a. would apply

b. would have applied

d. applied

d. will apply

ตอบ ข อ a. สั ง เกตประโยคตามหลั ง if คำว า had เป น Verb ช อ งที่ 2 ตรงตามโครงสร า ง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 2 If S + V2 , S + would V1 เหตุการณยังไมเกิดขึ้นในปจจุบัน ดังนั้น คำตอบควรเปน would ตามดวย verb ชองที่ 1 564) If he had told Anna that he loves her before, she …………….. with another guy. a. won’t be married b. won’t get married c. will be not married d. wouldn’t have got married ตอบ ขอ d. สังเกตประโยคตามหลัง if คำวา had told ซึ่งเปน had + Verb ชองที่ 3 ตรงตามโครงสราง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 3 If + had V3, S + would have V3 ดังนั้น คำตอบควรเป น would haveตามดวย verb ชองที่ 3 คือ got 565) If they had started earlier, they ………… the project on time. a. finished

b. will finish

c. would have finished

d. will have finished

ตอบ ขอ c. สังเกตประโยคตามหลัง if คำวา had started ซึ่งเปน had + Verb ชองที่ 3 ตรงตามโครงสราง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 3 If + had V3, S + would have V3 ดังนั้น คำตอบควรเป น would haveตามดวย verb ชองที่ 3 คือ finished 566) If Pramote did a better assighment, his boss …………. him. a. wouldn’t blame

b. didn’t blame

c. isn’t blame it

d. won’t blame

ตอบ ขอ a. สังเกตประโยคตามหลัง if คำวา did เปน Verb ชองที่ 2 ตรงตามโครงสราง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 2 If S + V2 , S + would V1 เหตุการณยังไมเกิดขึ้นในปจจุบัน ดังนั้น คำตอบควรเปน would ตามดวย verb ชองที่ 1


214

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

567) If I leave home at 6.00 a.m., I ………….. the annual conference on time. a. attend

b. will attend

c. will be attended

d. was attend

ตอบ ข อ b. สั ง เกตประโยคตามหลั ง if คำว า leave เป น verb ช อ งที ่ 1 ตรงตามโครงสร า ง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 1 If S + V1 , S + will V1 ดังนั้น คำตอบควรเปน will ตามดวย verb ชองที่ 1 568) if I had khown before that you come to see me today, I …….. some delicious food for you. a. will prepare

b. prepared

c. had prepared

d. would have prepared

ตอบ ขอ d. สังเกตประโยคตามหลัง if คำวา had known ซึ่งเปน had + Verb ชองที่ 3 ตรงตามโครงสราง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 3 If + had V3, S + would have V3 ดังนั้น คำตอบควรเป น would haveตามดวย verb ชองที่ 3 คือ prepared 569) ……… I decide to work for the government, I will be very happy with permanent income a. Since

b. Because

c. Should

d. Although

ตอบ ขอ c. สังเกตลักษณะประโยคจากโจทย จะคลายกับ If-Clause Sentence แตในตัวเลือกไมมี If ดังนั้น มีเพียงตัวเดียวในตัวเลือกที่สามารถใชแทน If ได คือ Should 570) If he was a handsome boy, he …… a lot of presents and some chocolate on Valentine’s Day. a. will get

b. could get

c. can get

d. has got

ตอบ ข อ b สั ง เกตประโยคตามหลั ง if คำว า was เป น Verb ช อ งที ่ 2 ตรงตามโครงสร า ง If-Clause Sentence ในกรณีที่ 2 If S + V2 , S + would V1 เหตุการณยังไมเกิดขึ้นในปจจุบัน ดังนั้น คำตอบควรเปน would ตามดวย verb ชองที่ 1 แตในตัวเลือกไมมี would เราสามารถใช should แทนได


215

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

571) Students ……………. at the Mathematics test room at least 10 minutes before start. a. must be

b. must being

c. are testing

d. test

ตอบ ขอ a. ตรงตามความหมายของประโยค คือ นักเรียนตองไปถึงหองสอบวิชาคณิตศาตรกอนที่จะเริ่มสอบ อยางนอย 10 นาที 572) I’m so bored. Let’s go to beach today, …………….? a. should we

b. will you

c. don’t you

d. shall we

ตอบ ขอ d. จากโจทยเปนประโยคคำถามแบบ Question Tag ถาเปนประโยคดานหนาเปนประโยคเชิญชวน ที่ขึ้นตนดวย Let’s สวนของ Tag จะใช shall we. 573) This bag is very beautiful but it’s so expensive, ….. a. is it

b. does it

c. isn’t it

d. doesn’t it

ตอบ ขอ b. จากโจทยเปนประโยคคำถามแบบ Question Tag ถาเปนประโยคดานหนาเปนประโยคบอกเลา สวนของ Tag ตองเปนประโยคปฏิเสธ และถาดานหนามี verb to be คือ is ประโยคหลังใหใช is มาทำใหอยู ในรูปปฏิเสธไดเลย จะไดเปน isn’t 574) Nobody went to party during curfew time,…………..? a. do they

b. don’t they

c. did they

d. didn’t they

ตอบ ข อ c. จากโจทย เ ป น ประโยคคำถามแบบ Question Tag คำว า Nobody ทำให ป ระโยคแรกมี ความหมายเปนปฏิเสธ ถาเปนประโยคดานหนาเปนปฏิเสธ สวนของ Tag ตองเปนประโยคบอกเลา และถา ดานหนามี verb ชองที่ 2 คือ went ประโยคหลังใหใช did มาทำใหอยูในรูปปฏิเสธไดเลย 575) Stop talking, ………..? It’s time to present the senior project. a. will you

b. won’t you

c. do you

d. don’t you


216

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ a. จากโจทยเปนประโยคคำถามแบบ Question Tag ที่ประโยคแรกเปนประโยคคำสั่งที่ไ ม ใ ช ประโยคปฏิเสธ Tag ที่ใชจะเปน will you 576) She said she wouldn’t do it again, ……………? a. will she

b. won’t she

c. would she

d. wouldn’t she

ตอบ ขอ c. จากโจทยเปนประโยคคำถามแบบ Question Tag ถาเปนประโยคดานหนาเปนปฏิเสธ สวนของ Tag ตองเปนประโยคบอกเลา ประโยคแรกใช wouldn’t สวน Tag จึงใช would 577) Paula rarely exercises, …………………. She has some health problems. a. isn’t she

b. is she

c. doesn’t she

d. does she

ตอบ ขอ d. จากโจทยเปนประโยคคำถามแบบ Question Tag คำวา rarely แปลวา แทบจะไม ทำให ประโยคแรกมีความหมายเปนปฏิเสธ ถาเปนประโยคดานหนาเปนปฏิเสธ สวนของ Tag ตองเปนประโยคบอก เลา ประโยคแรกใช exercises ซึ่งเปน Verb ในรูป Present simple tense Tag จึงใช Verb to do มาชวย ขอนี้จึงใชเปน does she 578) Everyone read the book before have a Pre-test, ……………..? a. didn’t they

b. doesn’t we

c. doesn’t we

d. don’t you

ตอบ ข อ a. ถ า ประโยคหน า ใช Everyone ประโยค Tag ต อ งใช they และเนื ่ อ งจากประโยคแรกเป น Past tense แปลวา อานหนังสือมากอนที่จะมีการสอบ เพราะฉะนั้น สวน Tag ตองใช Verb to do มาชวย แตประโยคเปน Past tense จึงเปลี่ยนจาก do เปน did 579) I met Jane with her boyfriend in the last Summer vacation, ……….. I went to Chaing Rai. a. what

b. when

c. where

d. which

ตอบ ขอ b. เนื่องจาก when เปน relative pronoun ที่ใชแทนเวลานั้นๆ ในที่นี้แทน the last Summer vacation 580) The old woman ……... is talking with the doctor is my friend’s grandmother. She is very kind.


217

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

a. that

b. whom

c. whose

d. who

ตอบ ขอ d. เนื่องจาก who เปน relative pronoun ที่ใชแทนคนที่ทำหนาที่เปนประธานในที่นี้แทน The old woman 581) This is the hospital …………….. He has ever worked since 2014. a. what

b. who

c. where

d. when

ตอบ ขอ c. เนื่องจาก where เปน relative pronoun ที่ใชแทนสถานที่ ในที่นี้แทน The hospital 582) The cat ………. he bought yesterday is so cute. a. that

b. whose

c. whom

d. there

ตอบ ขอ a. เนื่องจาก that เปน relative pronoun ที่ใชแทนสัตว สิ่งของ ในที่นี้แทน The cat 583) He blemed ………….. for the accident because he drank too much alcohol before drived. a. ourselves

b. himself

c. themselves

d. yourself

ตอบ ขอ b. จากโจทย ประธาน คือ He เฉพาะฉะนั้น relative pronoun ที่แทนตัวของเอาเอง นั่นคือ himself 584) Nichkhun ……………….. cats and hamsters. a. like

b. likes

c. will like

d. liking

ตอบ ขอ b. เนื่องจาก Nichkhun เปนชื่อคนคนเดียว เปนนามเอกพจน เพราะฉะนั้น Verb ตองเติม s คำตอบ ที่ถูกตอง คือ likes 585) We ……………… badminton in the garden every Sunday. a. play

b. plays

c. played

d. playing

ตอบ ขอ a. จากคำวา every Sunday บงบอกใหทราบวาเปน Present simple tense เนื่องจากเปนการ กระทำที่ทำเปนประจำ และประธานของประโยค คือ We แปลวา เรา แสดงวามีสองคน เปนนานพหูพจน ดังนั้น Verb ไมตองเติม s, es หรือเปลี่ยนรูปใดๆ จึงตอบ play 586) “Crash landing on you” …………….. my favorite serie.


218

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

a. was

b. were

c. is

d. are

ตอบ ขอ c. การบอกเลาความชอบจะใช Present simple tense จึงใช Verb to be ไดแก is, am, are และ เนื่องจาก Crash landing on you เปนซีรีสเกาหลีเรื่องหนึ่ง จึงจัดเปนนามเอกพจน ดังนั้น ตองใช is 587) ……………….. money do you have? I think I have not enough money. a. How many

b. How much

c. Have you got

d. How a lot

ตอบ ขอ b. money แปลวา เงิน เปนนามนับไมได เวลาถามจำนวนจึงตองใช How much 588) Vatanika needs ……….. honey in the kitchen to eat with pancakes. a. some

b. a few

c. many

d. a little

ตอบ ขอ a. honey แปลวา น้ำผึ้ง เปนนามนับไมได และในประโยคบอกเลาตองใชคำนำหนาเปน some 589) ………………… books do you have in your house? a. How a lot

b. How much

c. How many

d. How far

ตอบ ขอ c. books แปลวา หนังสือ เปนนามนับได เวลาถามจำนวน ใหใช How many 590) Meya has been studying in America …….. She was ten years old. a. when

b. since

c. so

d. but

ตอบ ขอ b. จากโจทย แปลไดวา เมยาเรียนที่อเมริกา ตั้งแตอายุ 10 ขวบ ตองตอบ since ซึ่งแปลวา ตั้งแต 591) He can’t attend to join the new staffs orientation ……………... he’s sick. a. so

b. and

c. but

d. because

ตอบ ขอ d. จากโจทย แปลไดวา เขาไมไดมารวมงานปฐมนิเทศ ……. เขาปวย จากรูปประโยคมีเหตุและผล ควรเติมคำวา because แปลวา เพราะ 592) I like swimming ……… I am allergic to chlorine in the swimming pool. a. but

b. so

c. because

d. why

ตอบ ขอ a. จากโจทย แปลไดวา ฉันชอบวายน้ำ ……… ฉันแพสารคลอรีนที่ใสในสระวายน้ำ ประโยคทั้งสองมี ความขัดแยงกัน ควรเติมคำวา but ซึ่งแปลวา แต


219

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

593) Araya was born …… 9.15 ….. the morning …… Sunday 24th October 1988. a. in, on, at

b. at, on, on

c. at, in, on

d. on, in, at

ตอบ ขอ c. เวลาเฉพาะเจาะจงจะใช at จากโจทยจะเปน at 9.15 ชวงเวลาจะใช in จากโจทยจะเปน in the morning และวันจะใช on จากโจทยจะเปน on Sunday 594) I can’t wait for next year. I will turn 20 years old ….. 2020. a. at

b. in

c. on

d. by

c. taller

d. tallest

ตอบ ขอ b. ป พ.ศ. ใหใช preposition เปน in 595) Yada is ……………….. than her sister. a. tall

b. more tall

ตอบ ขอ c. เนื่องจากโจทยมีคำวา than แสดงวาเปนการเปรียบเทียบขั้นกวา กรณีที่คำเดิมมีไมเกิน 2 พยางค สามารถเติม – er เพื่อเปลี่ยนใหอยูในรูปการเปรียบเทียบขั้นกวาไดเลย ในที่นี้ tall ก็จะเปน taller 596) He’s the ………. guy I have ever met, accordingly I love him so much. a. nicest

b. nicer

c. more nice

d. most nice

ตอบ ขอ a. จากตัวเลือกที่ใหมา แสดงวา ชองที่เวนไวตองเติม adjective (คำคุณศัพท) และจากโจทย มี the นำหนา แสดงวาเปนการเปรียบเทียบขั้นสุด กรณีที่คำเดิมมีไมเกิน 2 พยางค สามารถเติม –est เพื่อเปลี่ยนให อยูในรูปการเปรียบเทียบขั้นสุดไดเลย ในที่นี้ nice ก็จะเปน nicest 597) Your health is the ………………….. thing. Please take care yourself. a. more important

b. more importantly

c. such important

d. most important

ตอบ ขอ d. จากโจทยมีคำวา the นำหนา แสดงวาเปนการเปรียบเทียบขั้นสุด และคำคุณศัพทที่อยูใน ตัวเลือก คือ important ซึ่งมีมากกวา 2 พยางค ในการเปรียบใหอยูในรูปการเปรียบเทียบขั้นสุด ใหเติมคำ วา most ไปดานหนาคำคุณศัพทนั้น 598) Young-Gu has ……………………… Young-Ohm. a. cars fewer than

b. fewer cars than


220

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

c. less cars than

d. cars less than

ตอบ ขอ b. คำวา less และ fewer แปลวา นอย เหมือนกัน แต less ใชกับนามนับไมได และ fewer ใชกับ นามนับได ในขอนี้ cars เปนนามนับได จึงใช fewer แลวตามดวยคำนาม และตอทายดวย than 599) The concert …………. from 6.30 p.m. until 9.00 p.m. a. start

b. will start

c. starts

d. started

ตอบ ขอ c. จากโจทย ประโยคดังกลาวพูดถึงตารางเวลา ตองใช Present Simple Tense จากประธาน คือ The concert เปนนามเอกพจน ดังนั้น start เติม s 600) Mark and Kim ……………… their honeymoon in Maldives now. a. spend

b. spends

c. is spending

d. are spending

ตอบ ขอ d. จากโจทยมีคำวา now แสดงวาเปน Present Continuous Tense ตองใช Verb to be + V.ing ในที่นี้ ประธาน คือ Mark and Kim เปนนามพหูพจน ตองใช are และตามดวย spending 601) I ………………….. a fever and a cough for three days. a. has had

b. have had

c. had

d. have

ตอบ ขอ b. จากโจทยมีคำวา for แสดงวาเปน Persent Perfect Tense ตองใช Verb to have + V.3 ใน ที่นี้ ประธานคือ I ตองตามดวย have และตามดวย Verb ชองที่ 3 ของ have คือ had 602) Twopee ……………. beer while his friends ………………. board game. a. drinks , plays b. was drinking , was playing c. was drinking , were playing d. drinking , have been playing ตอบ ขอ c. จากโจทย มีคำวา while แปลวา ในขณะที่ แสดงวา เหตุการณกำลังเกิดขึ้นพรอมกัน เพราะฉะนั้น Tense ที่ใชในประโยคแรกและประโยคหลังตองเปน Tense เดียวกัน และกำลังกระทำอยู แบบ Continuous จะเหลือแคขอ b และ c ที่สามารถตอบได แตมาดูที่ประธาน Twopee เปนนามเอกพจน ตองตามดวย was สวน his friends เปนนามพหูพจน ตองตามดวย were 603) Nicole always ……………… to mozart song before bedtime. a. listen

b. listens

c. listening

d. listened


221

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ b. จากโจทยคำวา always เปน adverbs of frequency บงบอกวาทำอยูบอยๆ ตองใช Present Simple Tense ในที่นี้ประธานคือ Nicole เปนนามเอกพจน ดังนั้น listen ตองเติม s 604) We …….. our time at a karaoke bar for several times because we can shout it out. a. spend

b. spent

c. were spending

d. have been spent

ตอบ ขอ d. จากโจทยมีคำวา several times ซึ่งแปลวาหลายๆครั้ง แสดงวาทำมาบอยๆตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบัน และอาจจะทำตอไปอีกเรื่อยๆในอนาคต ตองใช Present Perfect Tense ซึ่งประกอบดวย Subject + have/has + V. 3 ตรงกับคำตอบ คือ have been spent 605) The organizer ……………… process of the engagement ceremony next week. a. will detail

b. details

c. will change

d. changes

ตอบ ขอ a. จากโจทยมีคำวา next week แสดงวาเปน Future Simple Tense เปนเรื่องที่จะเกิด ขึ ้ นใน อนาคต ตองใชคำวา will จะเหลือตัวเลือกที่ตอบได คือ ขอ a และ c แตกตางกันที่ความหมายของคำ detail แปลวาใหรายละเอียด แต change แปลวา เปลี่ยน ถาแปลตรงตัว ผูจัดงานจะ....ขั้นตอนการดำเนินงานหมั้น ในสัปดาหหนา ขอที่ใกลเคียงควรจะเปนคำวา detail 606) When I was little, I ……………. a bicycle around our village every day. a. ride

b. was ride

c. rode

d. ridden

ตอบ ขอ c. จากโจทย มีคำวา was เปน verb ชองที่ 2 แสดงวาเปนอดีต และมีคำวา every day แสดงวาเปน การกระทำสม่ำเสมอในอดีต ตองใช Past Simple Tense ดังนั้นตองตอบเปน verb ชองที่ 2 ของคำวา ride นั่นคือ คำวา rode 607) The government ……………………. about COVID –19 prevention and control in Thailand. a. is criticized

b. criticized

c. is considered

d. considered

ตอบ ขอ a. จากโจทยเปนประโยค Passive voice ประธานเปนผูถูกกระทำ ตามโครงสราง Subject + Verb to be + Verb ชองที่ 3 เหลือขอที่สามารถตอบได คือ ขอ a และ c แตกตางกันที่ความหมาย is criticized แปลวา ถูกวิจารณ แต is considered แปลวา ถูกพิจารณา ดังนั้น คำตอบที่ถูกตองคือ ขอ a. 608) Her notebook …………………. yesterday. a. stole

b. stolen

c. is stolen

d. was stolen


222

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ d. จากโจทยเปนประโยค Passive voice ประธานเปนผูถูกกระทำ ตามโครงสราง Subject + Verb to be + Verb ชองที่ 3 ถาแปลจะไดวา กระเปาของเธอถูกขโมยไปเมื่อวาน คำวา yesterday บงบอกวาเปน อดี ต จึ ง ต อ งใช past tense ต อ งเปลี ่ ย น verb to be เป น was/were แต ป ระธานเป น นามเอกพจน (notebook เครื่องเดียว) ตองใช was ดังนั้น คำตอบ คือ was stolen

Vocabulary 609) What’s a synonym of “necessary”? a. experiment

b. essential

c. extrinsic

d. external

ตอบ ขอ b. เนื่องจากโจทยถามวา ขอใดมีความหมายเหมือนกับคำวา necessary จึงตอบขอ b. essential แปลวา จำเปน สวนขออื่นๆ ขอ a. experiment แปลวา ประสบการณ ขอ c. extrinsic แปลวา ไมสำคัญ และขอ d. external แปลวา ภายนอก 610) Among the following words, which is the odd one out? a. inferior

b. phenomenal

c. supernatural

d. marvelous

ตอบ ขอ a. เนื่องจากโจทยถามวาคำใดมีความหมายตางจากคำอื่น ตอบขอ a. เพราะทุกคำแปลวา มหัศจรรย ยกเวนขอ a. inferior แปลวา ต่ำกวา ดอยกวา 611) Among the following words, which is the odd one out? a. pleasure

b. delight

c. controversy

d. admiration

ตอบ ขอ c. เนื่องจากโจทยถามวาคำใดมีความหมายตางจากคำอื่น ตอบขอ c. เพราะทุกคำแปลวา ความ ชื่นชมยินดี ยกเวนขอ c. controversy แปลวา การโตเถียง 612) Which vocabulary cannot be described Natural environments? a. peaceful

b. luxurious

c. lacking

d. adequate

ตอบ ขอ b. จากโจทยถามวา คำศัพทในขอใดไมสามารถนำมาอธิบายถึงสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติได ตองตอบ ขอ b. luxurious ซึ่งแปลวา หรูหรา สวนขออื่นๆใชอธิบายถึงสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติได ขอ a. peaceful แปลวา ความสงบ ขอ c. lacking แปลวา ขาดแคลน และขอ d. adequate แปลวา เพียงพอ 613) Natalee has no …………………. to exercise, but she needs to diet. a. resistance

b. campaign

c. attractive

d. motivation


223

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ d. จากโจทยแปลไดวา นาตาลีไมมี …………… ที่จะออกกำลังกาย แตเธออยากที่จะลดน้ำหนัก ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ d. motivation สวนขออื่นๆ แปลได ดังนี้ ขอ a. resistance แปลวา แรงตานทาน ขอ b. campaign แปลวา การรณรงค การตอสู และ ขอ c. attractive แปลวา ที่จูงใจ 614) I would like to ….…… you to buy the new iPad. It’s faster and more powerful than the old iPad. a. persuade

b. corrupt

c. disappoint

d. annoy

ตอบ ขอ a. จากโจทยแปลไดวา ฉันตองการ ............ ใหคุณซื้อไอแพดรุนใหม เพราะมันเร็วและมีประสิทธิภาพ ดีกวาไอแพดรุนเกา ดังนั้นขอที่ถูกตอง คือ ขอ a. persuade แปลวา โนมนาว ชักจูงใจ สวนขออื่นๆแปลได ดังนี้ ขอ b.corrupt แปลวา ทำใหเขว ขอ c.disappoint แปลวา ทำใหเสียใจ และขอ d. annoy แปลวา ทำใหรำคาญ 615) The business partnerships should read ……………. carefully, before we work together. a. productions

b. interviews

c. agreements

d. guarantees

ตอบ ขอ c. จากโจทยแปลไดวา หุนสวนทางธุระกิจควรอาน ............ อยางละเอียดรอบคอบ กอนที่เราจะ ทำงานรวมกัน ดังนั้น ขอที่ถูกตอง คือ ขอ c. agreements แปลวา ขอตกลง สวนขออื่นๆนั้น แปลไดดังนี้ ข อ a. productions แปลว า สิ ่ ง ที ่ ผ ลิ ต ขึ้ น ได ข อ b. interviews แปลว า การสั ม ภาษณ และข อ d. guarantees แปลวา การค้ำประกัน 616) Punpun is working against the clock to finish the slide for presentation on time. What is the meaning of “against the clock”? a. To ignore someone or something. b. Do something as fast as possible and try to finish it before deadline. c. To do something too soon without thinking carefully. d. All day and all night without stopping. ตอบ ขอ b. จากโจทยแปลไดวา ปนปนทำสไลดสำหรับนำเสนออยางเรงรีบเพื่อใหทันเวลา ซึ่งตรงกับตัวเลือก ขอ b. ที่บอกวาทำบางอยางอยางรวดเร็วที่สุดเทาที่จะทำไดและเพื่อใหสิ่งเสร็จกอนเวลาที่กำหนดไว 617) Bambam reads books more than 8 hours per day since he want to pass ก . พ . examination. He said to himself “ Where there is a will, there is a way” What is the meaning of “Where there is a will, there is a way”?


224

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

a. Look forward to receiving a positive reply. b. Keep calm and carry on. c. To make unreasonable request. d. If someone really want to do something, they will find a way to doing it until successful. ตอบ ขอ d. จากโจทยแปลไดวา แบมแบมใชเวลาอานหนังสือมากกวาแปดชั่วโมงตอวัน เพราะเขาตองการสอบ ก.พ.ใหผาน เขาบอกกับตัวเองวา “ความพยายามอยูที่ไหน ความสำเร็จอยูที่นั่น” ซึ่งตรงกับคำตอบขอ d. ที่ แปลไดวา ถาคนๆหนึ่งตองการที่จะทำอะไรบางอยาง เขาจะตองหาทางที่จะทำสิ่งนั้นจนสำเร็จ

Reading Directions: Choose the correct answer. (618 – 622) Centella asiatica also known by common names as Gotu Kola (Bi- Bua- Bok) or Pennywort. It is a medicinal plant. Pennywort is an evergreen plant that spreads on the ground. Its leaves are slightly round and have frilled edges. This plant originates in Asia. Centella asiatica is effective in improving treatment for wounds. From the research it can be used in the treatment of photoaging skin, cellulite and stretch marks. It is also a great source of flavonoids that act as antioxidants. The component of Centella asiatica may help prevent and improve aging skin and may help reduce inflammation, then it’s one of the most common ingredients in skin care products. The Pennywort juice can moisturize skin, improve blood circulation and memory. It is also good for acne. The possible side effects of pennywort such as headache, diarrhea, dizziness, increased blood sugar level. Therefore, please be careful with using it. 618) What’s the best title for this passage? a. The Skin Problems. b. The value herbal “Pennywort”. c. Centella asiatica in the skin care products. d. How to make Pennywort juice.


225

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

ตอบ ขอ b. โจทยถามวาขอใดควรใชเปนหัวขอเรื่องของขอความขางตน ซึ่งขอความขางตน จะกลาวถึง ใบบัวบกแบบรวมๆ ทั้งลักษณะของตนและใบ ประโยชนขอดี และผลขางเคียงจากการใชใบบัวบก ไมไดกลาว เจาะจงแคเรื่องปญหาทางผิวหนัง หรือการใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑบำรุงผิว หรือไมไดบอกวิธีการทำน้ำ ใบบัวบก ขอ b. จึงเปนคำตอบที่ถูกตองที่สุด 619) What’s the author’s purpose? a. Caution

b. Recommend

c. Complain

d. Informative

ตอบ ขอ d. Informative แปลวา ใหความรู สวนขออื่นๆ แปลได ดังนี้ ขอ a. แปลวา ตักเตือน ขอ b. แปลวา แนะนำ และขอ c. แปลวา ตอวา 620) You can’t probably see this passage on ……………… a. newspaper b. business report c. health magazine d. on the website about herbal ตอบ ขอ b. จากโจทยถามวา เราจะไมสามารถพบขอความขางตนปรากฎอยูบนอะไร ตองตอบขอ b. รายงาน ทางธุรกิจ นอกนั้นมีโอกาสที่จะพบขอความนี้ได ทั้งในหนังสือพิมพ นิตยสารสุขภาพ และเว็บไซตเรื่องสมุนไพร 621) Why is the Pennywort used to ingredients in skin care products? a. It may help improve aging skin and reduce inflammation. b. It can improve blood circulation and memory. c. It has more side effects for example headache. d. It is a medicinal plant. ตอบ ขอ a. จากโจทยถามวา ทำไมถึงนำใบบัวบกมาใชเปนสวนผสมในผลิตภัณฑบำรุงผิว ตองตอบขอ a. ซึ่ง สามารถหาคำตอบนี้เจอในขอความขางตนในยอหนาที่ 2 ซึ่งแปลวา มันชวยชะลอผิวในดูออนวัยและลดอาการ อักเสบของผิว 622) Which of the following is NOT true according to the passage? a. Gotu Kola helps to improve your memory. b. Gotu Kola can make your blood sugar level higher


226

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

c. Gotu Kola originates in Europe. d. Gotu Kola offers you the beautiful skin. ตอบ ขอ c. จากโจทยถามวาจากขอความขางตน ขอใดไมเปนจริง ตอบ ขอ c. Gotu Kola originates in Asia. สังเกตจากยอหนาแรกของขอความที่วา This plant originates in Asia.

Directions: Choose the correct answer. (623 – 626) Harmony Beauty Co., Ltd. 11/12 Ratchada 19 Bangkok 10130 April 17, 2020 Ms. Dorothy Hanton Sales manager Intelligent Techno Co., Ltd. 23 Mandaluyong road Manila Philippines 1500 Dear Ms. Hanton, We saw from your advertisement at www.businessmanage.co.th on 14 April, 2020 that you are an agent for beauty equipment. We want to place an order for Co2 fractional laser for our new beauty clinic in HuaHin. Accordingly we would like to have a catalogue and a price-list of your whole range of products. In addition, we would like to know your terms of payment, including what kind of discount is available on the Co2 fractional laser we would like to order and we should be grateful if you would send me information about another machines to use in our beauty clinic too. Please send all details to me at the above address. We would greatly appreciate your prompt reply, as we need the Co2 fractional laser urgently because our new beauty clinic will open next month. Yours Sincerely, Jetsadaporn Phondee Senior Accounting Manager.


227

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

623) What kind of this passage? a. Private letter

b. Business letter

c. Employee agreement

d. Sale contract

ตอบ ขอ b. จากโจทยถามวาขอความขางตนจัดเปนประเภทใด ตอบขอ b. Business letter คือ จดหมาย ทางธุรกิจ สวนขออื่นๆ แปลได ดังนี้ ขอ a. Private letter แปลวา จดหมายสวนตัว ขอ c. Employee agreement แปลวา ขอตกลงของพนักงาน และขอ d. Sale contract แปลวา สัญญาซื้อขาย 624) How does the writer know about the goods? a. Receiving a brochure.

b. Direct message from vendor.

c. from business website

d. Reading a newspaper

ตอบ ขอ c. จากโจทยถามวาผูเขียนเห็ นสินคาดังกลาวมาจากที่ ไหน คำตอบคือ ขอ c. มาจากเว็บไซต www.businessmanage.co.th 625) Where dose the writer prefer the vendor to send him the information about the beauty equipment? a. Harmony Beauty Co., Ltd.

B. Our beauty clinic in Hua- Hin.

c. Intelligent Techno Co., Ltd.

D. Manila, Philippines.

ตอบ ขอ a. จากโจทยถามวา ผูเขียนตองการใหผูขายสงรายละเอียดเครื่องมือเสริมความงามไปที ่ ไ หน ตองตอบขอ a. ซึ่งเปนชื่อบริษัทของผูเขียน จากในจดหมายจะถูกเขียนไวดานบนสุดขวามือนั่นเอง 626) Jetsadaporn requests the vendor to send him all details ……………………… a. before next month. b. as soon as possible. c. when the office open. d. when they have Co2 fractional laser. ตอบ ขอ b. จากโจทยถามวา เจษฎาพร ซึ่งเปนผูเขียน ขอใหผูขายสินคาสงรายละเอียดทั้งหมดให ………………. คำตอบคือ ขอ b. ซึ่งแปลวา เร็วที่สุดเทาที่จะเปนไปได


228

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

Directions: Choose the correct answer. (627 – 630) • Wash your hands often with soap and water for at least 20 seconds after you have been in a public area. • Use a hand sanitizer that contains at least 70% alcohol, if soap and water are not available. • Avoid touching your eyes, nose and mouth. • Avoid close contract people who are sick. • Have distance between yourself and other people, because some people without symptoms may be able to spread virus. Stay home as much as possible. • Should wear a cloth face cover when you have to go out in public. • Do not use a facemask. Please keep it for healthcare worker. • Clean touched surfaces including mobile phone, light switches, keyboards, tables or everything you can touch daily.

Do not panic!!! We will pass COVID-19 together. 627) What’s type of this text? a. Entertainment b. Advertisement c. Instruction d. Medical report ตอบ ขอ c. ขอความขางตนเปนการแนะนำวิธีการปฏิบัติตนในชวงการระบาดของโรค COVID-19 จึงตอบขอ c. Instruction ซึ ่ ง แปลว า คำแนะนำ ส ว นข อ อื่ นๆแปลได ดั ง นี ้ ข อ a. Entertainment ให ค วามบันเทิง ขอ b. Advertisement โฆษณา และขอ d. Medical report แปลวา รายงานทางการแพทย 628) What’s a synonym of “symptoms”? a. conditions

b. sickness

c. infection

d. regulation

ตอบ ขอ a. จากโจทย symptoms แปลวา อาการ ซึง่ ตรงกับคำแปลของคำวา conditions สวนขออื่นๆ แปล ได ด ั ง นี ้ ข อ b. sickness แปลว า ความเจ็ บป ว ย และข อ c. infection แปลว า การติ ด เชื ้ อ และข อ d. regulation แปลวา การควบคุม


229

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ

629) Which one is NOT a healthcare worker ? a. Doctor

b. Pharmacist

c. Dentist

d. Detective

ตอบ ขอ d. จากโจทยถามวาขอใดไมใชบุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับสาธารณสุข ตองตอบขอ d. Detective แปลว า นั ก สื บ ส ว นข อ อื ่ น เป น บุ ค ลากรทางการแพทย ท ั ้ ง หมด ข อ a. Doctor แปลว า แพทย ข อ b. Pharmacist แปลวา เภสัชกร และขอ c. Dentist แปลวา ทันตแพทย หมอฟน 630) Which of the following is NOT true according to the passage? a. You should wash your hands every time after contact another person. b. You should wear a facemask if you go to everywhere. c. Some people without symptoms may be able to spread virus. d. Stay at home is the best way to stop COVID-19 spread. ตอบ ขอ b. จากโจทยถามวาจากขอความขางตนขอใดกลาวไมถูกตอง ตอบ ขอ b. ซึ่งแปลวา เราควรใส หนากากอนามัยถาตองการจะไปที่ไหนก็ตาม จริงๆแลวจากบทความบอกวาบุคคลทั่วไปควรใชหนากากผา อยาใชหนากากอนามัย ขอใหสงวนไวใหบุคลากรทางการแพทยใชรักษาผูปวย สวนขออื่นๆ แปลได ดังนี้ ขอ a. แปลวา เราควรลางมือทุกครั้งหลังไดพูดคุยใกลชดิ หรือสัมผัสบุคคลอื่น ขอ c. แปลวา บางรายติดเชื้อแต ไมมีอาการ สามารถที่จะแพรเชื้อไวรัสนี้ใหกับผูอื่นได และขอ d. แปลวา การอยูบานเปนหนทางที่ดีที่สุดที่จะ หยุดการแพรระบาดของโรค COVID-19 นี้

…………………………………………………………………. หมั่นฝกฝน และทบทวน เราตองการสอบผานเพียงครั้งเดียว ขอใหโชคดี สอบผานทุกทาน ป.ฟาง ปลัดอำเภอ


230

เตรียมสอบ ก.พ. 2564 by ป.ฟาง ปลัดอำเภอ เพจ : เตรียมสอบรับราชการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.