คํานํา รายงานเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อจุดประสงคหลักในการออกแบบบรรจุภัณฑสําหรับขาวกลอง ของ กลุมวิสาหกิจชุมชนเกษตรรักษโลก ซึ่งเปนสิ้นคา OTOP ของจังหวัดชัยนาท ทั้งนี้ผูจัดทําไดศึกษาที่มา และปญหาของสินคา รวมถึงตัวบรรจุภัณฑที่เหมาะสมสําหรับบรรจุขาวกลองในรูปแบบตางๆ ซึ่ง ปญหาเหลานี้ตองผานกระบวนการวิเคราะหทั้งสิ้น ทั้งนี้การจัดทําลายงาน และการศึกษาผลิตภัณฑพบปญหาตางๆ มากมาย ซึ่งผูจัดทําไดทํา การแกไข และพยายามปรับปรุงใหเหมาะสมที่สุด สุดทายนี้ตองขอขอบคุณ ผศ. ประชิต ทิณบุตร อาจารยที่ปรึกษาประจําวิชา ARTD 3302 การออกแบบกราฟกบนบรรจุภัณฑที่ใหคําปรึกษาดวยดีตลอดมา
ชนสรณ เวชสิทธิ์ ผูจัดทํา
บทที่ 1 Research การสืบคนขอมูล บรรจุภัณฑ OTOP ขาวกลอง
ภาพที่ 1 ผลิตภัณฑขาวกลอง (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557) ส.1 สืบคน ผลิตภัณฑขาวทิพโอสถ 1.ศึกษาวิเคราะหสินคาและบรรจุภัณฑ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับสินคา ชื่อสินคา : ขาวทิพโอสถ ประเภทสินคา : อาหาร สถานะ : เมล็ดขาวสีน้ําตาล วัสดุหลัก : ขาว ผูผลิต : วิสาหกิจชุมชนเกษตรรักโลก ที่อยู : เลขที่ 86 หมูที่ 5 ถนน ตําบลหนองขุน อําเภอวัดสิงห จังหวัดชัยนาท โทรศัพท : 08 -0848834
Email : yai_chadakorn@hotmail.com ราคา : 170 บาท เทคนิคการบรรจุภัณฑ : ถุงพลาสติก ซีลโดยรอบ 4 ดาน แบบสูญญากาศ ใชเทคนิค/วิธีการ/การบรรจุสินคา บรรจุภัณฑชั้นแรกใชวัสดุ : กระดาษ 300 แกรม บรรจุภัณฑชั้น2ใชวัสดุ : ถุงแวคคั่ม(ถุงสูญญากาศ) บรรจุภัณฑชั้น3ใชวัสดุ ขนาด/มิติ : ถุงพลาสติก กวาง 17.5 สูง 27 ซ.ม. สีของวัสดุบรรจุภัณฑ : พลาสติกใส การขึ้นรูปทรง : ถุงพลาสติก ซีลโดยรอบ 4 ดาน แบบสูญญากาศ วัสดุตกแตง : สติ๊กเกอรฉลากบรรจุภัณฑ ระบบการพิมพที่ใช : สี/จํานวนสีที่พิมพ : 4 สี การออกแบบกราฟก ภาพประกอบ รวงขาว ลวดลาย กราฟกรวงขาว ขอความ โลโกชื่อสินคา ขาวทิพโอสถ Organic โลโกชื่อผูผลิต วิสาหกิจชุมชนเกษตรรักษโลก
การวิเคราะหขอมูลดวยการมอง(Product Visual Analysis ผลิตภัณขาวกลองทิพโอสถ
ภาพที่ 2 : ภาพแสดงโครงสรางและสวนประกอบทางกราฟกของผลิตภัณฑ (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ์) หมายเลข 1 : กราฟฟกรวงขาวใชสีที่ออนเกินไปทําใหมองไมรูเรื่องวาคืออะไร หมายเลข 2 : ชื่อผลิตภัณฑภาษาไทยเปนตัวอักษรสีน้ําตาล โดยใชฟรอน TH Charmonman หมายเลข 3 : organic อยูบนภาพประกอบทําใหภาพประกอบไมชัดเจน หมายเลข 4 : วิธีการหุงขาวอธิบายไมละเอียด ดูแลวไมเขาใจ หมายเลข 5 : ไมมีเลขการจดทะเบียนสินคา หมายเลข 6 : ตรามาตรฐานรับลองการผลิต หมายเลข 7 : ที่อยูและเบอรติดตอของผูผลิต หมายเลข 8 : น้ําหนักสุทธิ/วันที่ผลิต/ราคา/ควรบริโภคกอน ไมไดเขียนกํากับไว หมายเลข 9 : คําโฆษณาสินคาใชสีที่กลืนไปกับสีของภาพประกอบ ทําใหมองเห็นไมชัดเจน
หมายเลข 10 : ภาพประกอบของสินคาไมเหมาะสม หมายเลข 11 : สวนประกอบสินคา 1.จุดบอดทางการมองเห็น - การสื่อสาร ไดแก 1.1 ภาพประกอบยังไมเหมาะสม 1.2 ไมมีผลิตภัณฑ 1.3 วิธีการหุงขาวอธิบายไมละเอียด ดูแลวไมเขาใจ 1.4 ขอมูลสินคาใชสีที่กลืนไปกับภาพประกอบ 1.5 ไมมี วัน/เดือน/ป และราคาสินคา ระบุไวบนบรรจุภัณฑ 2. ความตองการของผูประกอบการ ผูประกอบการมึความตองการใหออกแบบบรรจุภัณฑที่มีความนาสนใจนาดึงดูดผูบริโภคมากขึ้น สามารถนําไปวางขายในหางสรรพสินคาไดโดยใหมีกลิ่นอายของธรรมชาติและการอนุรักษธรรมชาติ ตองการชื่อผลิตภัณที่เปนคําสั้นๆแตมีเอกลักษณ แปลก เห็นแลวเกิดความนาสนใจ
บทที่ 2 สมมติฐาน,สรางสรรค (Resume) บรรจุภัณฑขาวกลอง 1.ขอเสียของบรรจุภัณฑ 1.1 บรรจุภัณฑไมมีความดึงดูด 1.2 โลโกสินคาดูธรรมดาเกินไป 1.3 ภาพประกอบของสินคาไมชัดเจน 2. การออกแบบบรรจุภัณฑใหม 2.1 ชื่อผลิตภัณฑ การคิดชื่อแบรนดใหมสําหรับผลิตภัณฑขาวกลองทิพโอสถ โดยใชชื่อวา Natural อานวา แนทูรอล แปลวา ธรรมชาติ ซึ่งสอดคลองกับผลิตภัณฑของกลองที่ผานการเพาะงอกโดยปราศจาก สารเคมี
ภาพที่ 3 การออกแบบชื่อผลิตภัณขาวกลอง (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
2.2 บรรจุภัณฑ การเปลี่ยนบรรจุภัณฑเพื่อสินคาขาวกลอง โดยเปลี่ยนจากถุงแวคคั่ม เปน ถุงฟรอยด ตั้งได และมีซิบสําหรับ ปด-เปด ซึ่งสะดวกตอผูบริโภคในกาเก็บรักษา
ภาพที่ 4 ภาพบรรจุภัณฑ (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
2.3 ตราสัญลักษณและฉลากสินคา
ภาพที่ 5 ฉลากสินคาดานหนาแบบที่ 1 (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 6 ฉลากสินคาดานหลังแบบที่ 1 (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 7 แบบฉลากสินคาดานหนาแบบที่ 2 (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 8 แบบฉลากสินคาดานหลังแบบที่ 2 (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 9 แบบฉลากสินคาดานหนาแบบที่ 3 (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 10 แบบฉลากสินคาดานหลังแบบที่ 3 (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 11 ภาพบรรจุภัณฑเสมือนจริงที่เสร็จสมบูรณ โดยโปรแกรม Google Sketch up (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
บทที่ 3 สรุปผล Result บรรจุภัณขาวกลอง 1. โลโกสินคา
ภาพที่ 12 โลโกสินคา (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557) 2.ฉลากสินคาสําหรับบรรจุภัณฑ
ภาพที่ 13 ฉลากสินคาดานหนา (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 14 ฉลากสินคาดานหลัง (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557) 3. ภาพสินคาที่เสร็จสมบูรณ
ภาพที่ 15 สินคาที่เสร็จสมบูรณ (ที่มา : ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
ภาพที่ 16 สินคาที่เสร็จสมบูรณ (ที่มา:ชนสรณ เวชสิทธ,2557)
ภาพที่ 17 สินคาที่เสร็จสมบูรณ (ที่มา:ชนสรณ เวชสิทธิ,์ 2557)
สรุปปญหาที่พบ บรรจุภัณฑไมหนาแนน เวลาขนสงอาจจะหกได ดังนั้นเวลาขนสงควรจะระมัดระวังเปนพิเศษ ผลการดําเนินงาน การที่ ไ ด เ รี ย นวิ ช ากราฟ ก บรรจุ ภั ณ ฑ ทํ า ให ตั ว ผมเองได เ รี ย นรู สิ่ ง ที่ ไ ม เ คยรู เ พิ่ ม มากขึ้ น กระบวนการทํางาน การคิดวิเคราะห ถึงจะยากลําบากไปสักนิด แตผมก็ผานมาไดดวยความพยายาม และตองขอขอบคุณ ผศ.ประชิต ทิณบุตร ซึ่งใหคําปรึกษาและคําแนะนําตางๆหรับการออกแบบมา โดยตลอด ทําใหวิธีการดําเนินงานผานพนไปไดดวยดี สิ่งที่ไดรับรูหลังการเรียนวิชากราฟกบนบรรจุภัณฑ 1.ไดรูถึงกระบวนการทํางาน การคิดวิเคราะหขอมูลตางๆ 2. ไดรูการใชเครื่องมือตางๆในโปรแกรมสําหรับการออกแบบเพิ่มมากขึ้น 3. ความตรงตอเวลา