1
สารบัญ ข้อมูลภูมิศาสตร์และภูมิสังคม ประเทศภูฏาน จังหวัดซีรัง (ภาคผนวก หน้า 50-53)
หน้า 1-14
ข้อมูลพื้นฐานชุมชน โครงสร้างชุมชน (ภาคผนวก หน้า 54-55) กลุ่มเลี้ยงผึ้ง
26-29
การดาเนินกิจกรรมตามแผนงานโครงการ ผลผลิตที่ 3 ศูนย์เรียนรู้ชุมชน CLC แผนการจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน รายรับรายจ่ายชุมชน (ภาคผนวก หน้า 56-59) ผลผลิตที่ 4 ผลิตภัณฑ์ OGOP เครื่องดื่มบัวหิมะ ลิปบาล์มน้า้ ผึ้ง กระดาษสาต้นกล้วย (ภาคผนวก หน้า 62-70) การอบรม TOT ผ่านระบบทางไกล (ภาคผนวก หน้า 71-74) ผลผลิตที่ 5 ตลาดชุมชนเพื่อรองรับสินค้าและผลิตภัณฑ์ OGOP กิจกรรมกับองค์กรและชุมชนอื่น ๆ
30-45 32-36
ข้อเสนอแนะส้าหรับการด้าเนินโครงการในระยะต่อไป สิ่งที่ได้รับจากการปฏิบัติงานอาสาสมัคร
43-44 45
ภาคผนวก ข้อมูลสถิติพื้นฐาน จ.ซีรัง รายชื่อและข้อมูลติดต่อ เอกสารรายรับรายจ่ายชุมชน ข้อมูลด้านเกษตรและปศุสัตว์ คู่มือการท้าเครื่องดื่มบัวหิมะ และ ลิปบาล์ม (ภาษาอังกฤษ) บันทึกการสังเกตการณ์การอบรมผ่านระบบทางไกล
46-75 50-53 54-55 56-59 60-61 62-70 71-74
37-40
41-00 43-45
ข้อมูลภูมิศาสตร์และภูมิสังคม
ภูมิประเทศ ประเทศภูฏานเป็นประเทศที่มีขนาดเล็ก มีพื้นที่ประมาณ 38,394 ตารางกิโลเมตร (ขนาดใกล้เคียงกับประเทศ สวิตเซอร์แลนด์) ตั้งอยูท่ างตอนใต้ของธิเบต (ปัจจุบันคือประเทศจีน) เหนือรัฐอัสสัม และภาคตะวันออกของรัฐ สิกขิม ประเทศอินเดีย ภูฏานเป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล ปรากฏภูมิประเทศ 3 ลักษณะ เทือกเขาสูงตอน เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย มีแม่น้าหลายจุดซึ่งสร้างรายได้หลักของประเทศจากการขายไฟฟ้า พลังงานน้้าให้อินเดียและบังคลาเทศ ประกอบด้วย 20 จังหวัด
ภูมิอากาศ 1
ภาคเหนือจนถึงภาคตะวันออกมีอากาศหนาวเย็นในหน้าหนาว (ธันวาคม-มีนาคม) จนถึงหิมะตกในช่วงเดือน มกราคม ทางภาคใต้อบอุ่น เหมาะกับการเพราะปลูกและปศุสัตว์ อุณภูมิใกล้เคียงกับภาคเหนือของประเทศไทย
(ซ้าย) หน้าหนาวบนวัดบนเขาพาโจดิ้ง จ.ทิมพู
(ขวา) หน้าร้อนในฤดูดานา จ.ซีรัง Worldometer s
ประชากร ประชากรรวม 771,608 คน (พ.ศ.2563) คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของประชากรโลก ประชากรในเมืองหลวงคิดเป็น 1 ใน 8 ของประชากรรวม เชื้อสายของเผ่าต่าง ๆ สืบรากเหง้ามาจากทิเบต มองโกล อินเดีย (อัสสัม, เบลกอลตะวันตก) เนปาล ฯลฯ ประชากรร้อยละ 50 ของประเทศมากจากภาคตะวันออก เรียกว่า Sharchoppa (ชาชอปป้า) ประชากรร้อยละ 35 จากภาคใต้มีเชื้อสายเนปาล และนับถือศาสนาฮินดู เรียกว่า Lhotshampa (ลอทซั่มป้า) มากกว่า 100,000 คน ติดค้างอยู่ในค่ายผู้อพยพในชายแดนประเทศเนปาล (ดูประวัติศาสตร์ จ.ซีรัง หน้า X) ภาษา ภาษาประจ้าชาติคือ ภาษา Dzongkha (ซงคา) ใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจ้าวัน และในเอกสารราชการ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในระบบการศึกษา และเป็นภาษารองในข่าว และในการสื่อสารประจ้าวัน มีภาษาถิ่นประมาณ 12 ภาษา ภาษาถิ่นที่โดดเด่นได้แก่ Sharchops (ชาชอป) และ Lhotsham (ลอทซั่ม)
ศาสนา T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
2
ศาสนาประจ้าชาติ ได้แก่ พุทธศาสนามหายาน นิกายตันตระ วัชรยาน มีคนนับถือร้อยละ 84 ศาสนาฮินดู (ภาคใต้) มีคนนับถือร้อยละ 11.4 ศาสนาผี (ไหว้จอมปลูก ต้นไม้ สัตว์ ฯลฯ) มีคนนับถือร้อยละ 0.3 คริสตศาสนาและศาสนาอิสลามไม่ได้รับรองในประเทศภูฏานเนื่องจากประเด็นทางการเมืองบางประการ
World Bank
เศรษฐกิจ ใช้สกุลเงิน Ngultrum หรือ Nu. (งูวตรัม) อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราเท่ากับเงินรูปีของ ประเทศอินเดีย ณ พ.ศ.2564 อยู่ที่ 2.3 งูวตรัม ต่อ 1 THB อาหารหลักคือข้าว ชีส ผัก เนือ้ สัตว์สด เนื้อสัตว์ตากแห้ง ผักดอง สินค้าในการด้ารงชีวิตประจ้าวันและประกอบอาชีพประมาณ ร้อยละ 79 (พ.ศ. 2555) น้าเข้าจากอินเดีย
อื่น ๆ เปลี่ยนระบอบจากปกครองจากสมบูรณายาสิทธิราช มาเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุขเมื่อ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ.2550 โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก เป็นกษัตริย์องค์แรก ชุดประจ้าชาติ คือ Gho (โกะ) ส้าหรับผู้ชาย และ Kira (คีรา่ ) ส้าหรับผู้หญิง การศึกษาฟรีถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ใช้ต้าราเรียนภาษาอังกฤษยกเว้นวิชาภาษาประจ้าชาติ เครื่องแบบนักเรียน ข้าราชการ และพนักงานออฟฟิส ใช้ชุดประจ้าชาติ และผู้ชายต้องสวม Gubneh (กั๊บเน่) ผู้หญิงต้องพาด Raju (ราจู) เพื่อเข้าสถานที่ราชการ เช่น กระทรวง หรือ ศาลาว่าการจังหวัด การเดินทางจากประเทศไทย ระยะทางภาคพื้น 2,900 กิโลเมตร โดยสารทางอากาศ 3 ชม. 15 นาที จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถึงท่าอากาศยานปาโร
Druk Air (Tashi Airlines)
Bhutan Airlines (สายการบินแห่งชาติ)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
3
เขตโอลาค่า จ.ทิมพู เป็นเมืองส่วนต่อขยายแบบรังสิตในกรุงเทพ
อ.คิโคทัง (ถ่ายจากฝั่ง อ.รังทาลิ่ง) จ.ซีรัง เป็นบ้านเรือนผสมแปลงเกษตร
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
4
จังหวัดซีรัง
แผนที่ประเทศภูฏาน
แผนที่จังหวัดซีรัง
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
5
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
6
การเดินทาง จากเมืองหลวงทิมพู ถึง จ.ซีรงั เป็นระยะทาง 167 กม. โดยสารทางรถยนต์ใช้เวลา 4 ชั่วโมง โดยสารทางรถบัส 5 ½ ชม. (ความเร็วบังคับ 30 กม./ชม.) พักทานอาหารกลางวัน 30 นาที และจอดเข้าห้องน้้า 1 นาที ตั๋วรถบัสราคา 267 งูวตรัม (116 บาท) ข้อมูลสถิติของ จ.ซีรัง พ.ศ.2561 พื้นที่ ความสูงเหนือระดับน้้าทะเล ประชากรรวม* - ชาย* - หญิง* อ้าเภอ (Gewog เกวอก) ถนนหลักจากอ้าเภอสู่อ้าเภอ ถนนย่อยเข้าสู่พื้นที่เกษตรกรรม การสื่อสารครอบคลุม ความยากจน หลังคาเรือนรวม พื้นที่/บ้านร้าง (Gungtong กุงตง)
633.610 400 - 3600 32,517 16,878 15,639 12 178.700 356.995 1,176.110 ไม่ระบุ 4,214 366 ที่มา: Bhutan Local Government Portal (ข้อมูลใน QR code) (ภาคผนวก หน้า 50-53) อ้าเภอ (Gewog เกวอก) 1. Serigithang 4. Semjong 7. Patshaling 10. Gosarling
2. 5. 8. 11.
ตร.กม. เมตร คน คน คน อ้าเภอ กม. กม. ร้อยละ ร้อยละ หลัง หลัง
Tsholingkhar Rangthaling Mendrelgang Doongalagang
3. 6. 9. 12.
Bhutan Local Government Portal; Tsirang Dzongkhag *ข้อมูลประชากรจาก เอกสาร Tsirang Dzongkhag at a Glance 2019 ข่าวบ้านร้างใน จ.ซีรัง จากสานักพิมพ์ BBS
Tsirang Toe Phuentenchu Kilkhorthang Barshong
ภูมิประเทศ ประตูเมืองเข้าจังหวัดซีรังมีพื้นที่ติดกับแม่นา้ สายใหญ่ที่มีการลงทุนในธุรกิจไฟฟ้าพลังงานน้้าระหว่างประเทศภูฏานและประเทศอินเดีย เส้นทางหลักไม่คดเคี้ยวมากนักเมื่อเทียบกับพื้นที่ทางเหนือของประเทศ พื้นที่ส่วนมาก เป็นหุบเขา ไม่มีพื้นที่ราบ ในการท้าการเกษตรเกือบทั้งหมดจึงต้องเป็นแบบสวนหรือนาแบบขั้นบันได ความกว้าง ประมาณ 2-5 เมตร บางพื้นที่ในหุบเขาใกล้แม่น้ายังไม่มีถนนเข้าถึง ท้าให้ต้องเดินเท้าประมาณครึ่งวัน ไม่นิยม สร้างบ้านใกล้แม่น้ามากเกินไปเพราะเสี่ยงต่อการโดนน้้าป่าพัดได้ และมีโคลนถล่มบ่อยครั้ง ส่วนมากในหน้าฝน
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
7
เป็นจังหวัดทางผ่านไปสู่ภาคใต้ที่นักเดินทางจะแวะทานข้าว หรือพักค้าง 1 คืน เพื่อมุ่งหน้าไปเมือง Gelephu (เกเลฟู) ซึ่งเมืองหน้าด่านติดชายแดนประเทศอินเดีย เปรียบได้กับ อ.หาดใหญ่ ของประเทศไทย ดูภาคผนวก หน้า xx
ร่องรอยบางส่วนของดินโคลนถล่มเมื่อเดือนกรกฎาคม หลังการเก็บกวาดในเดือนกันยายน 2563 ภูมิอากาศ ในปี พ.ศ.2563 อุณหภูมิต่้าสุดประมาณ 10 องศาเซลเซียส ในเดือนมกราคม และสูงที่สุดประมาณ 30 องศา เซลเซียส ในเดือนกรกฏาคม ฤดูใบไม้ผลิ มีนาคม – พฤษภาคม ฤดูร้อน มิถุยายน – สิงหาคม ฤดูใบไม้ร่วง กันยายน – พฤษจิกายน ฤดูหนาว ธันวาคม – กุมภาพันธ์
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
8
ประชากร ดั้งเดิมซีรังเป็นดินแดนห่างไกล ไม่มีประชากรมากเหมือนแถบทางภาคเหนือ (ที่เป็นที่ตั้งพระราชวัง) ชาวบ้านที่ อาศัยดั้งเดิมเป็นชาวบ้านที่ย้ายถิ่นฐานมาจากประเทศเนปาลเมื่อมากกว่าหนึ่งศตวรรษที่ผ่านมาโดยความ อนุเคราะห์ของพระราชาภูฏานในยุคนั้น ซึ่งทางภาคใต้ยังมีเผ่าอื่น ๆ ที่อพยพมาจากประเทศอื่นด้วย เช่น เผ่า เชอร์ปา มาจากทิเบต นับถือศาสนาพุทธ ในขณะที่เผ่าตามัง มาจากมองโกล ทิเบตเช่นกัน แต่มีศาสนาผสมถือ นับถือทั้งพุทธและฮินดู เช่น ไหว้แบบพุทธแต่แต่งงานแบบฮินดู หรือทางเกเลฟูจะมีเผ่าที่มาจากอินเดีย โดยแต่ ละเผ่าจะมีภาษาและวัฒนธรรมของตัวเอง แต่เวลาติดต่อสื่อสารจะใช้ภาษาลอทซั่มและภาษาซงคาเป็นหลัก
Wikipedia
ภายหลังเหตุการณ์ 90’s Incident (ดูประวัติศาสตร์จังหวัด) ได้มีการน้าประชากรจากฝั่ง ตะวันออกที่ห่างไกล เช่น จ.ทาชิกัง มาตั้งรกรากใหม่ที่ จ.ซีรัง ท้าให้มีประชากรชาวตะวันออก ใน จ.ซีรัง มากขึ้น ท้าให้เกิดวัฒนธรรมผสมมากขึ้นเนื่องจากชาวตะวันออกนับถือศาสนาพุทธ และมีการใช้ภาษาชาชอป ท้าให้เกิด “ลูกครึ่ง” ขึ้นมากมายในยุคต่อมา โดยมีชื่อเล่นภาษาปาก ว่า Cocktail คือครึ่งเนปาลีครึ่ง Drukpa (ดรุปป้า แปลว่า ชาวมังกร หมายถึงชาวภูฏานแท้)
(ซ้าย) ชุดประจาชาติภูฏาน (กลาง) ชุดพื้นเมืองของชาว Sherpa (เชอร์ปา) (ขวา) ชาวบ้านเชื้อสายเนปาล ภาษา ใช้ภาษา Dzongkha (ซงคา) เป็นภาษาราชการและการสือ่ สารประจ้าวัน ส้าหรับคนทีม่ ีเชื้อสายเนปาลีส่วนมาก ใช้ภาษา Lhotshom (ลอทซั่ม) ซึ่งแปลว่า ทางใต้ หากใช้กับคนจะเรียกว่า Lhotshampa (ลอทซั่มป้า) แปลว่า คนจากทางใต้ โดยมีภาษาถิ่นแตกออกไปอีกตามรากเหง้าของบรรพบุรุษ เช่น ครอบครัว Sherpa (เชอร์ปา) หรือ Tamang (ตามัง) จะมีภาษาประจ้าเผ่าของตัวเอง แต่โดยรวมคนที่อาศัยในจังหวัดซีรังจะใช้ภาษาลอทซั่มเป็น หลัก ยกเว้นในสถานที่ราชการหรือโรงเรียน ต้องใช้ภาษาประจ้าชาติคือภาษาซงคา อีกหนึ่งเหตุผลที่ภาษาลอทซั่มไม่ถูกเรียกว่าเป็นภาษาเนปาลีเนื่องจากภาษาเนปาลีแบบที่ใช้ในประเทศเนปาล (Pure Nepali) ได้ถูก พัฒนาไปมากแล้ว แต่ภาษาที่ชาวภูฏานเชื้อสายเนปาลใช้กันเป็นภาษาจากเมื่อศตวรรษที่ผ่านมา เป็นภาษา เนปาลีโบราณ จึงถูกจัดให้เป็นภาษาเก่าที่ “ชาวใต้” ใช้เป็นภาษาถิ่น
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
9
ศาสนา ดั้งเดิมประชาชนส่วนมากนับถือศาสนาฮินดู แต่ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์หลงเหลือเกี่ยวกับวัดฮินดูเก่าใน จ.ซีรัง หลังเหตุการณ์การ 90’s Incident แต่ได้มีการขอสร้างขึ้นใหม่ในภายหลังซึ่งต้องได้รับการอนุญาตจาก รัฐบาลเท่านั้น โดยภายนอกจะเหมือนกันวัดพุทธ แต่ภายในสามารถตั้งเทวรูปและด้าเนินพิธีกรรมแบบฮินดูได้ ตอนนี้ศาสนาหลักคือพุทธศาสนานิกายตันตระวัชรญาณ มีวัด (โชเตน) ตั้งจุดต่าง ๆ ทั่วเมืองจังหวัด และมีการ สร้างสถูปหรือเจดีย์ประจ้าบ้านของตนเองเพื่อไว้อาลัยแด่ผู้ล่วงลับ ซึ่งรูปแบบและขนาดตั้งได้รัรบการอนุมัติจาก ทางรัฐเท่านั้น โดยเจดีย์ส่วนใหญ่จะถูกใช้เป็นที่วนรถ ซึ่งทุกอย่างต้องวนซ้ายไปขวาเท่านั้นเพื่อแสดงความเคารพ ในหนึ่งปี ชาวพุทธและชาวฮินดูจะต้องมีการท้าบุญบ้านใหญ่ 1 ครั้ง (เรียกว่า พูจา) โดยจะเชิญพระมาท้าพิธีและ มีการเลีย้ งอาหาร สุรา ในบริบทของตันตระญาณ สุราพื้นบ้าน (เรียกว่า อาร่า เหมือนเหล้าขาว) ใช้ในการท้าพิธี ทางศาสนาและการดื่มสุราไม่ถือเป็นการผิดศีล แต่ถ้าเป็นพิธีทางฮินดูจะไม่มีสุรา และสุราถือเป็นของต้องห้าม
(ซ้าย) งานบุญประจาปีแบบพุทธ (พูจา)
(ขวา) งานบุญประจาปีแบบฮินดู
ประวัติศาสตร์ ชื่อ Tsirang มีที่มาจากสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่เรียกว่า Tsi-Dzong (ซีซอง) จากการสันนิฐาณ Tsi น่าจะ แปลว่าภาษี และ Dzong แปลว่าเมือง เนื่องจากในบริบทของภูฏานในอดีตผู้คนจะมารวมกันที่ Tsi-Dzong เพื่อ ค้านวณรายการภาษี แต่ชื่ออ้าเภอและหมู่บ้านต่าง ๆ เดิมทีเป็นชื่อภาษาเนปาลี โดยเมื่อประมาณ 4 ปีที่แล้วได้มี การเปลี่ยนชื่ออ้าเภอทั้งหมดภาษาซงคา เช่น Betini (เบติน)ี่ เปลี่ยนชื่อเป็น Patshaling (ปาทซาลิ่ง) ในอดีต จ.ซีรัง ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในจังหวัดที่มีความเจริญมากแห่งหนึ่งในประเทศภูฏานเนื่องจากมีการท้ามา ค้าขายระหว่างชายแดนเกเลฟูกันอย่างคึกคัก และมีอณ ุ หภูมิที่เหมาะสมแก่การเพราะปลูกและอยู่อาศัย ไม่หนาว หรือร้อนจนเกินไป โดยหัวเมืองเดิมอยู่ที่ อ.Mendrelgang (เมนเดรลกัง) ทั้งตลาดและโรงเรียนประจ้าจังหวัดจะ อยู่ที่นั่น (ปัจจุบันเปลี่ยนจาก Mendrelgang Central school เป็นโรงเรียนมัธยมแยกกับโรงเรียนประถม) แต่ หลังจากเหตุการณ์ 90’s Incidents ท้าให้ซีรังกลายเป็นเมืองร้างอยู่นับทศวรรษ จนกระทั่งรัฐบาลมีโครงการ โยกย้ายผู้คนจากภาคตะวันออกของประเทศมาตั้งรกรากใหม่ทางใต้ เพราะภูมิประเทศและภูมิอากาศที่อุดม สมบูรณ์กว่าทางตะวันออก เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยบางส่วนได้รับที่ดินพระราชทาน หรือ T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
10
ซื้อได้ในราคาถูก และภูฏานเองก็ยังต้องการผลผลิตทางการเกษตรและปศุสัตว์จากภายในประเทศมากกว่านี้เพื่อ ลดการน้าเข้าอาหารจากประเทศอินเดีย ท้าให้มีการสร้างเมืองใหม่ โดยย้ายหัวเมืองหลักมาอยู่ที่เมือง Damphu (ดัมพู) โดยมีการสร้างตึกแถวให้เช่าเป็นตลาด มีการสร้างพื้นที่ส้าหรับตลาดผักวันอาทิตย์ รวมทั้งเป็นทีต่ ั้งของ ศาลากลางจังหวัดและโรงเรียนประจ้าจังหวัดทั้งฝ่ายประถมและมัธยม และในปี พ.ศ.2563 ได้มีการสร้างสระว่าย น้้าและปรับปรุงสนามกีฬากลางเพื่อรองรับการเป็นเมืองท่องเที่ยวแห่งใหม่อีกด้วย เหตุการณ์ปี 1990 (90’s Incidents) 90’s Incidents เป็นชื่อที่คนภูฏานใช้เรียกเหตุการณ์นี้ ในระดับนานาชาติในค้าหลักว่า Lhotshampa refugee สืบเนื่องจากการตั้งถิ่นฐานของชาวเนปาลีจ้านวนหนึ่งในภาคใต้ของประเทศภูฏาน ท้าให้เกิดวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ เข้มแข็งขึ้น รวมถึงการแผ่อิทธิพลจากกองทัพอินเดียไปยังดินแดนประเทศเพื่อนบ้าน เช่น สิกขิม, อัสสัม (ซึ่งยังไม่ เป็นของอินเดียในขณะนั้น) ท้าให้มีการก่อตั้งกองก้าลังขึ้นใน อ.เมนเดรลกัง เพื่อต่อรองการใช้อัตลักษณ์ของ ตัวเอง เช่น ปฏิเสธการใส่ชุดโกะและคีร่า และใช้ภาษาของตนเองเป็นภาษาราชการ ซึ่งเป็นผลให้ต่อมาทางการได้ ก้าหนดให้ชุดโกะและคีร่าเป็นชุดประจ้าชาติ และบังคับใช้ในสถานที่ราชการ ท้าให้เกิดการปะทะกันทางด้าน วัฒนธรรมของชาวเนปาลีและชาวภูฏานประมาณปี ค.ศ.1990 หรือ พ.ศ.2533 มีการตอบโต้ที่รุนแรงจากฝั่งชาว เนปาลี เช่น การเผาชุดประจ้าชาติ จากการบอกเล่าของชาวบ้านหลาย ๆ คนคือ การตอบโต้เลยเถิดไปจนถึงการ ลักพาชาวบ้าน (ทั้งภูฏานและเนปาลี) ตามถนนมากักขังหรือบางทีกต็ ัดหัวเสียบเสาในค่ายทหารที่เมนเดรลกังเพื่อ สร้างความหวาดผวาให้ชุมชน เหตุการณ์ลักษณะแผ่ขยายวงไปจนถึงเมืองชายแดนอินเดีย ชื่อ เกเลฟูและส่วนอื่น ๆ ของภาคใต้ ลูกสาวของ คุณครูท่านหนึง่ ที่เคยเรียนในมหาวิทยาลัยที่เกเลฟูเล่าให้ฟังว่า เพื่อนร่วมชั้นหรือแม้แต่เพื่อนร่วมหอพักนักศึกษา ก็ไม่สามรถไว้ใจกันได้ โดยเฉพาะคนที่มีนามสกุลตามวรรณะฮินดูชั้นกลางไปจนถึงชั้นสูง เช่น Gurung (กุรงุ ), Chettri (เชทตรี) เพราะในยุคนั้นมีการปลุกปั่นนักศึกษาให้มาร่วมกลุ่มทหารเพื่อท้างานล้วงข้อมูลฝ่ายตรงข้าม และเป็นนักรบ จนเมื่อสถานการณ์เกินการควบคุม รัชกาลที่ 4 หรือ สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี ซิงเง วังชุก ได้ กรีฑาทัพไปปราบปรามด้วยพระองค์เอง และได้มีกฏหมายมากมายที่สนับสนุนแนวคิดแบบชาตินิยมในเวลา ต่อมา เพื่อความเป็นปึกแผ่นของประเทศ มรดกของเหตุการณ์ 90’s Incidents ที่ยังคงส่งผลกระทบกับชาวบ้านเชื้อสายเนปาลีทั้งรุ่นเก่าและรุน่ ใหม่ใน ปัจจุบันนี้คือ ครอบครัวทุกสายของผู้ร่วมขบวนการในยุคนั้นไม่ได้รบั การรับรองสัญชาติ อาสาสมัครได้พูดคุยกับ เด็กหญิงอายุ 20 ปี บ้านร้านขายทองจากเมลเดลกังที่ยังไม่มีสญ ั ชาติ และเพื่อนนามสกุลเชทตรีบางคนที่เพิ่ง ได้รับพระราชทานสัญชาติหลังจากจบมหาวิทยาลัย ทั้งนี้เป็นเพราะทุกปีพระมหากษัตริยจ์ ะเป็นผู้เลือกให้สัญชาติ ด้วยตนเอง (แต่เพียงผู้เดียว) โดยพิจารณาจากการประกอบคุณงามความดีให้กับประเทศชาติของบุคคลนั้น ๆ แต่ผลกระทบระดับมหรรพภาคที่เป็นที่พูดถึงในระดับนานาชาติ นั่นคือผู้อพยพจ้านวนมาก ที่เกิดในประเทศ ภูฏานและหลายคนได้หนังสือเดินทางสัญชาติภูฏาน ยังติดค้างอยู่ในค่ายผู้อพยพตามจุดต่าง ๆ ทั่วโลก มีทั้งหมด 7 แห่ง หนึ่งในนั้นคือ ค่าย Beldangi camp ในประเทศเนปาล ดูแลโดย UNHCR ซึ่งมีจ้านวนผู้อพยพประมาณ หนึ่งแสนคน และทางการภูฏานยังไม่มีมาตรการใด ๆ ในการจัดการกับประชากรเหล่านี้ T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
11
ที่มา: การบอกเล่าของคนใน อ.เมนเดรลกัง อ.รังทาลิ่ง อดีต ส.ส.พรรค BBP และลูกสาวของนักศึกษาเมืองเกเลฟู ยุค 1990 *ไม่สามารถเปิดเผยชื่อเพื่อความปลอดภัยของผู้ให้ข้อมูล **ข้อมูลอ้างอิงใน QR code: Wikipedia, refwordl.com, Australian Research Council, STAR TV Focus Asia 2000
กลุ่มผู้เรียกร้องการได้กลับสู่ประเทศภูฏาน
สมาชิกสมัชชาแห่งชาติภูฏาน
ค่ายผู้อพยพชาวลอทซั่มในประเทศเนปาล
ชาวภูฏานผู้ถูกเนรเทศ Australian Research Council
Wikipedia
ผู้ลี้ภัยชาวภูฏานใต้ (ลอทซั่ม) ค่ายผู้ลี้ภัยใน เนปาล โดย Focus Asia
refworld
เศรษฐกิจ แหล่งรายได้หลักของชาวบ้านมาจากส้มผลิตภัณฑ์จากสัตว์ปีก และฟาร์มปศุสัตว์อื่น ๆ เช่น หมู และวัว ทั้งวัว เนื้อและวัวนม โดยซีรังเป็นหนึ่งในแหล่งหลักที่ส่งนม เนย ชีส โยเกิร์ต สู่เมืองหลวง เมื่อไม่นานมานี้การท้าเกษตร อินทรีย์ได้รับความนิยมอย่างมากจากสภาพอากาศที่เหมาะสมและได้รับสนับสนุนจากทางภาครัฐ ในหน้าผลไม้ ส้ม ลูกแพร์ และกล้วย ในช่วงล็อกดาวน์ทั้งประเทศในเดือนสิงหาคม 2563 มีการปิดชายแดนอินเดีย ท้าให้ น้าเข้าอาหารจากอินเดียไม่ได้ ท้าให้ จ.ซีรัง ส่งสินค้าทางการเกษตรและปศุสัตว์มากที่สุด ความเป็นอยู่ของอาสาสมัครโดยย่อ เป็นตึก 3 ชั้น ผู้ดูแลตึกท้างานเป็นข้าราชการแผนกวิศวกรรมที่ศาลากลางจังหวัด ชื่อ Tshering Moktan (เชอริ่ง มอกตัน) ตั้งอยู่ริมทางหลวงที่มุ่งหน้าจาก จ.วังดี สู่ จ.ซาร์ปงั (ลงชายแดนใต้ ด่านเกเลฟู) เป็นอพาร์ทเม้นต์ T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
12
2 ห้องนอน 2 ห้องน้้า 1 ห้องครัว และ 1 ห้องรับแขก ซึ่งอาสาสมัครใช้เป็นห้องท้างาน เนื่องจาก Work from home ตั้งแต่เริ่มโครงการ เพราะเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ไม่สะดวกให้อาสาสมัครท้างานที่ศาลากลาง ในการเดินทางจากในเมือง สามารถใช้บริการแท็กซี่ได้ตั้งแต่ 7:00 – 19:30 น. แต่ถ้าเรียกจากหน้า บ้านต้องรอประมาณ 30 นาที เพื่อรอเรียกแท็กซี่ที่จะผ่านหน้าบ้าน ในการเดินในเวลาประมาณ 1 ชม. เนื่องจากบ้านห่างจากตัวเมืองประมาณ 4 กม. (สามารถดูแผนที่ได้จาก QR code)
ตึกนี้ทุกห้องเป็นครอบครัวเดียวกันแทบทั้งหมด
ที่ทางานหลักส่วนมากจะอยู่ในครัว เพราะต้องทดลองทาตัวอย่างผลิตภัณฑ์ตลอดเวลา T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
13
เ พื่ อ น อ า ส า ส มั ค ร F F T รุ่ น ที่ 1 1 รับของขวัญจาก Madam Tashi Pem (ทาชิ เปม) แห่ง RCSC
จากซ้าย: สุรีย์พร (หนิง) ชาติลดา (แจ๋ม) นิสานาท (ไอซ์) มาดามเปม วมัชฌิมาพร (จิ๊บ) บุศราคัม (ติงติง) ปฏิธิน (ฮุย)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
14
ข้อมูลพื้นฐานชุมชน ข้อมูล อ.ปาทซาลิง่
ถึง ตลาดดัมพู 4
ถึง อ.ปาทซาลิ่ง 20
ชื่อดั้งเดิมของ อ.ปาทซาลิ่ง คือ Betini (เบติน)ี่ เป็นภาษาเนปาลี แปลว่า ดินแดนแห่งต้นอ้อย พื้นที่ปฏิบัติงานใน อ.ปาทซาลิ่ง และบ้านอาสาสมัครใน อ.รังทาลิ่ง (เฉพาะพื้นที่บ้านเรียกว่า ดาเจ) ใช้เวลา เดินทางประมาณ 20 นาที ทางรถยนต์ และ 30 นาที ทางรถบัสประจ้าทาง สายซีรัง-เกเลฟู ราคา 30 งูวตรัม โดยจะมีคุณเชอริ่ง เชอร์ปา ประธานกลุ่มน้้าผึ้ง มาคอยรับอยู่ตรงถนนหลวงหน้าบ้าน ในกรณีนั่งแท็กซี่ ถ้ามี ผู้โดยสารคนอื่นร่วมทางอีก 2-3 คน ราคาคนละ 100 งูวตรัม ส่วนราคาเหมาทั้งคันอยู่ที่ 400 งูวตรัม
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
15
โครงสร้างชุมชน ∆ ลาดับการประสานงาน
จ.ซีรัง
อ.ปาทซาลิ่ง
ชาบี้ กุมาร์ ไร นายอ้าเภอปาทซาลิ่ง GUP (กับ) ดาโช่ เปม่า ผู้ว่าราชการจังหวัดซีรัง Dzongdag (ซองดา)
อัมเบอร์ บาฮาดูร์ กุรุง เจ้าพนักงานสัตวบาลปฏิบัติงาน อ.ปาทซาลิ่ง
ไอต้า บาฮาดูร์ บุเจล เจ้าพนักงานสัตวบาลปฏิบัติงาน อ.ปาทซาลิ่ง
ดาโช่ เปม่า ผู้ว่าราชการจังหวัดซีรัง Dzongdag (ซองดา)
เชอริ่ง วังดี เชอรป์ า ประธานกลุ่มเลี้ยงผึ้ง ภาคผนวก หน้า 54-55
มิกม่า วังดี เชอร์ปา สมาชิกกลุ่มเลีย้ งผึ้ง, ภรรยาประธานกลุ่ม
นัมเกย์ ดอร์จี รองผู้วา่ ฯ Dzonggrab (ซองกรับ)
ดาโช่ เปม่า ผู้ว่าราชการจังหวัดซีรัง Dzongdag (ซองดา) เกม เชอริ่ง หัวหน้าปศุสัตว์ จ.ซีรัง DLO
จิ๊กมี่ เทนซิน จนท.ปศุสัตว์ปฏิบัติงาน จ.ซีรัง LPO
ชา บาดูร์ กุรุง เลขานุการกลุ่มเลี้ยงผึ้ง
ติ๊ก้า ไร เหรัญญิกกลุ่มเลี้ยงผึ้ง
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
16
การประชุมครั้งสุดท้าย ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ เจ้าหน้าที่จากศาลากลางจังหวัดซีรัง และสมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้ง
8 ตุลาคม 2563
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
17
พบนายอาเภอ อ.ปาทซาลิ่ง ครั้งแรก ร่วมกับทีมปศุสัตว์ และเกษตรจังหวัด - ม.ค.63
บอกลาทีมปศุสัตว์ก่อน เดินทางไปทิมพูเพื่อเตรียม กลับประเทศไทย - ต.ค.63
อาสาสมัครประธานกลุ่ม เลี้ยงผึ้งในการลงชุมชน เพื่อนเก็บข้อมูลรายรับ รายจ่าย - ก.พ.63
ลงพื้นที่ร่วมกับเหรัญญิก (เสื้อเขียว) และเลขานุการ (เสื้อแดง) กลุ่มเลี้ยงผึ้ง - มี.ค.63
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
18
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25. 26. 27. 28. 29. 30. 31. 32. 33. 34.
รายชื่อสมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้ง ต.ทาโกลิ่ง อ.ปาทซาลิ่ง จ.ซีรัง Mr. Passang Tamang (ปาทซัง ตามัง) Ms. Dilly Sherpa (นาง ดิลลี่ เชอร์ปา) Mr. Tshering Wangdi (นาย เชอริ่ง วังดี) Ms. Ugyen Lhamo (นาง อูเกน ลาโม่) Ms. Dilmaya Tamang (นาง ดิลมายา ตามัง) Mr. Karma Dorji Sherpa (นาย คามาล ดอร์จี เชอร์ปา) Mr. Nima Gyeltshen (นาย นิม่า เกลเชน) Mr. Tenzin Chopyel (นาย เทนซิน โชเปล) Mr. Kamal Bdr Sherpa (นาย คามาล บาดูร์ เชอร์ปา) Mr. Tika Rai (นาย ติ๊ก้า ไร) Ms. Lhamo Sherpa (นาง ลาโม่ เชอร์ปา) Mr. Pema Wangdi Sherpa (นาย เปมา วังดี เชอร์ปา) Ms. Bhatri Maya Tamang (นาง บาตรี มายา ตามัง) Ms. Ganesh Sunwar (นาย กาเนช ซุนวาร์) Mr. Pasang Tamang (นาย ปาซัง ตามัง) Mr. Birkha Bdr Tamang (นาย บิร์ก้า บาดูร์ ตามัง) Mr. Rinchen Tshering (นาย รินเชน เชอริ่ง) Mr. Sha Bdr Gurung (นาย ชา บาดูร์ กุรุง) Ms. Migma Wangdi (นาง มิกม่า วังดี) Mr. Hemraj Rai (นาย เหมราช ไร) Mr. Lhakpa Tshering (นาย ลักปา เชอริ่ง) Mr. Chet Bdr Sunwar (นาย เชท บาดูร์ ซุนวาร์) Mr. Mon Bdr Sunwar (นาย มน บาดูร์ ซุนวาร์) Mr. Gylpo Dorji (นาย เกลโป ดอร์จ)ี Ms. Nima Dolma (นาง นิม่า โดลม่า) Mr. Passang Tamang (นาย ปาซซัง ตามัง) Mr. Dhan Bdr Sunwar (นาย ดาน บาดูร์ ซุนวาร์) Mr. Meg Raj Tamang (นาย เมก ราช ตามัง) Mr. Kamal Tamang (นาย คามาล ตามัง) Mr. Budhiman Gurung (นาย บุดดีมาน กุรุง) Mr. Phuba Tamang (นาย พุบบ้า ตามัง) Mr. Nar Bdr Gurung (นาย นาร์ บาดูร์ กุรุง) Mr. Sonam Dorji Sherpa (นาย โซนัม ดอร์จ)ี Mr. Sarku Sherpa (นาย ซาร์กุ เชอร์ปา)
ข่าว BBS
Kuensel
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
19
สมาชิกกลุ่มเลีย้ งผึ้ง ต.ทาโกลิ่ง อ.ปาทซาลิ่ง จ.ซีรัง
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
20
ก
ารด้าเนินกิจกรรม ตามแผนงานโครงการ
สรุปการดาเนินกิจกรรมตลอดปี พ.ศ.2563 มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม
มิถุนายน กรกฏาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม
พฤศจิกายน ธันวาคม
ลงพื้นที่เก็บข้อมูลรายรับรายจ่าย ● วางแผนจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ที่โรงเก็บน้้าผึ้ง ประชุมชุมชนครั้งที่ 1 ● พบคนไข้โควิดรายแรกของประเทศ ข่าวคนไข้โควิด รายแรกในภูฏาน ● ท้าตัวอย่างผลิตภัณฑ์แบบ work from home ประชุมกับผู้ว่าราชการ จ.ซีรัง เพื่อรายงานผลงานไตรมาศที่ 1 ● พบดาโช ทาชิ (Dasho Tashi) ที่ QPO เพื่อปรึกษาเรื่องน้้าบัวหิมะและกระดาษสาต้นกล้วย ● พบ Agency for Promotion of Indigenous Crafts (APIC) ● พบโรงงานกระดาษท้ามือจุงชิ (Jungshi Handmade Paper Factory) ● ท้าตัวอย่างน้้าบัวหิมะพลาสเจอร์ไรซ์กับ Bhutan Agro ประชุมกับผู้ว่าฯ จ.ซีรัง เพื่อรายงานผลงานไตรมาศที่ 2 ประชุมชุมชนครั้ง 2 และ ลงชุมชนเพื่อสอนท้ากระดาษและลิป จากการลงเสียงของชุมขน ● ล็อคดาวน์ทงั้ ประเทศรอบที่ 1 เป็นเวลา 21 วัน ● เตรียมงานอบรมทางไกลกับ อ.อภิดา จากมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ทดลองท้าตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่จะท้าในการอบรมร่วมกับชาวบ้าน ● ประชุมกับผูว ้ ่าราชการ จ.ซีรัง และชาวบ้านเพื่อรายงานสรุปผลงานตลอด 9.5 เดือน ● กลับประเทศไทย วันที่ 11 ตุลาคม พร้อมเพื่อนอาสาสมัครอีก 4 คน ● ประชุมเรื่องการท้างานทางไกล 2 เดือนในประเทศไทย เข้าร่วมสังเกตุการณ์การอบรมทางไกล Training For Trainers ● เข้าร่วมสังเกตุการณ์การอบรมทางไกล Training For Trainers ● ประชุมสรุปงานผ่านทางไกลโดย Zoom (Oral presentation) ● จบสัญญา ●
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
21
แผนผังการด้าเนินงานตามล้าดับเวลา
ปรับแผนการด้าเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ไวรัสโควิด
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
22
แผนการด้าเนินงานส้าหรับ 12 เดือน ก่อนวันที่ 6 มีนาคม 2563 (พบคนไข้โควิดคนแรกในประเทศภูฏาน)
สรุปผลการดาเนินงานโดยย่อ รายละเอียดในหน้าถัดไป ผลผลิต ผลผลิตที่ 3 ศูนย์เรียนรู้ชุมชน CLC
กิจกรรม
วางแผนจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน ส้ารวจรายรับรายจ่ายชุมชน
สถานะ ●
●
ผลผลิตที่ 4 ผลิตภัณฑ์ OGOP
ผลผลิตที่ 5 ตลาดชุมชนเพื่อรองรับ สินค้าและผลิตภัณฑ์ OGOP
ทดลองท้าผลิตภัณฑ์จากวัตถุดิบที่หาได้ ง่ายในชุมชน เลือกผลิตภัณฑ์หลักเพื่อพัฒนาเป็น สินค้า OGOP ได้แก่ เครื่องดื่มบัวหิมะ ลิปบาล์มน้้าผึ้ง ท้ากระดาษสาต้นกล้วยร่วมกับชุมชน สังเกตการณ์อบรมออนไลน์ TOT ส้ารวจตลาดผักวันอาทิตย์ ส้ารวจร้านค้าตึกแถวใน ตลาดเมืองดัมพู ส้ารวจร้านค้าตามถนนหลวง
●
ยังไม่มกี ารจัดตั้งศูนย์เนื่องจาก ขาดงบประมาณ อาจมีการเปลี่ยนสถานที่ ชาวบ้านสามารถท้าน้้าบัวหิมะ และลิปบาล์มได้ด้วยตนเอง
● ●
●
●
ยังไม่มแี ผนการตลาดส้าหรับ สินค้า OGOP ใน จ.ซีรัง อย่างเป็นรูปธรรม ทางตัวจังหวัดมีแผนในการ ขยายเมือง และส่งเสริม การท่องเทีย่ วชุมชน
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
23
ผ
ลผลิตที่ 3 ศูนย์เรียนรูช้ ุมชน (CLC)
มีศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบบนพื้นฐานการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดชีรัง
โรงเก็บน้าผึ้ง (Honey Collection Center)
สนับสนุนการสร้างโดย OGOP เนื่องจาก ต.ทาโกลิ่ง อ.ปาทซาลิ่ง ถูกจัดให้เป็น Honey Village หรือแหล่ง เรียนรู้เรื่องการเลี้ยงผึ้งของ จ.ซีรัง โดยโรงเก็บน้้าผึ้งแห่งนี้ถูกใช้เป็นพื้นที่ส่วนกลางที่กลุ่มผู้เลี้ยงผึ้งใช้ในการ รวบรวมน้้าผึ้งหลังจากการเก็บเกี่ยวในเดือนกรกฏคมและพฤจิกายนของทุกปี เนื่องจากเป็นต้นและปลายของ หน้าร้อน ท้าให้น้าผึ้งยังไม่จับตัวกันเป็นก้อนแข็ง เพื่อบรรจุขวดและส่งขายตามองค์กรต่าง ๆ เช่น ปศุสัตว์ จ.ซีรัง หรือ National Organic Programme (NOP) ในส่วนของน้้าผึ้งที่ส่งให้ OGOP จะบรรจุในถังอลูมิเนียม
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
24
ขนาดใหญ่เพื่อท้าการบรรจุขวดที่ศูนย์ OGOP เมืองทิมพู นอกจากนี้ยังมีหน่วยงานอื่นใน อ.ปาทซาลิง่ มาใช้พื้นที่ ในการอบรมหรือประชุมที่โรงเก็บน้้าผึ้งนี้เป็นระยะ ๆ เช่น เกษตร หรือ หน่วยงานพัฒนาอาชีพชุมชน
การบรรจุน้าผึ้งใส่ขวดในเดือนกรกฏาคม ปี 2563 บรรจุภณ ั ฑ์สนับสนุนโดย NOP ความเหมาะสมของสถานที*่ เหมาะส้าหรับการจัดงานประชุมหรือกิจกรรมอื่น ๆ เป็นครั้งคราว แต่อาจจะยังไม่เหมาะกับการเป็นศูนย์เรียนรู้ ชุมชน เนื่องจากชาวบ้านอยู่กันอย่างกระจายตัวท้าให้ไม่มีการไปมาหาสู่กันมากนัก ยกเว้นบ้านที่ต้องส่งนมหรือ ผักทุกวันจะมีการไปที่ตลาด Damphu (ดัมพู) 1-2 รอบต่อวัน อาสาสมัครจึงมีการปรึกษากับ Smart leader (Tshering Sherpa เชอริ่ง เชอร์ปา) ว่าหากลดขนาดศูนย์เรียนรู้ลงมาให้อยู่ระดับครัวเรือนโดยใช้บ้านคุณเชอร์ริ่ง เป็นที่ตั้ง* น่าจะท้าให้ด้าเนินกิจกรรมง่ายขึ้น เนื่องจากบ้านคุณเชอริ่งมีผู้มาเยี่ยมเยือนตลอดเวลา มีการท้าเกษตร และปศุสัตว์หลายชนิด และมีผู้ดูแลคือภรรยาของคุณเชอริ่ง และวิทยากรคือคุณ Tshering (เชอริ่ง) ที่พูดได้ทั้ง ภาษา Dzongkha (ซงคา) ภาษาถิ่น Lhotsham (ลอทซั่ม) และภาษาอังกฤษ อีกหนึ่งตัวเลือกในอนาคตคือการตั้งศูนย์เรียนรู้ในโรงเรียน* ซึ่งโรงเรียนทีอ่ ยู่ในบริเวณใกล้เคียงชุมชนมากที่สุด ได้แก่ โรงเรียนประถมปาทซาลิ่ง (Patshaling Primary School) และ โรงเรียนมัธยมเมนเดรลกัง (Mendrelgang Central School) เพราะสามารถเข้าถึงกลุ่มเด็กนักเรียนรวมทั้งชาวบ้านในบริเวณใกล้เคียงได้ หลังจากที่มีการทดลองในระดับครัวเรือนจนมีองค์ความรู้และแผนการด้าเนินงานที่ได้ผลได้ระยะยาว และเงินทุน *ความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ TICA
สิ่งอานวยความสะดวก ภายในอาคารมีพื้นที่ภายในส้าหรับท้ากิจกรรรมที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีที่ไฟฟ้าใช้การไม่ได้ สามารถใช้ พื้นที่กลางแจ้งรอบนอกอาคารได้ในการสาธิตผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ต้องมีการก่อไฟ โดยแต่ละหน่วยงานต้องเตรียม อุปกรณ์ เช่น เก้าอี้ กระดาษ เครื่องฉายสไลด์ ของตัวเองมาเอง สัญญาณอินเตอร์เข้าถึงในระดับ 3G และไม่ สามารถรับสัญญาณของเครือข่าย TashiCell ได้
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
25
ในกรณีของการสร้างศูนย์เรียนรู้ เนื่องจากเงื่อนไขเรื่องไวรัสโควิด-19 ท้าให้งบประมาณในการซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ต้องเลื่อนไปอย่างไม่มีก้าหนด อาสาสมัครจึงเริ่มท้าในส่วนที่เล็กลงมา คือ สื่อที่มีความหลากหลาย ในการใช้งาน เช่น สามารถแขวนบนผนังได้ และสามารถถอดออกมาท้ากิจกรรมกลุ่ม เนือ่ งจาก SDG จะเป็น ภาพใหญ่ที่โยงไปถึงกิจกรรมย่อย ซึ่งเข้าได้กับหลายเนื้อหากการเรียนรู้
ร่างแบบห้องเพื่อวางแผนจัดการพื้นที่
ออกแบบตาแหน่งการจัดวางสื่อ SDG บนผนังห้อง CLC
สื่อ SDG ที่สานักงาน TICA
ออกแบบสื่อ SDG
ทดลองร่างบนตาแหน่งจริง
สื่อ SDG 17 ข้อ ที่สามารถแขวนบนผนังหรือถอดออกมาทากิจกรรมได้
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
26
สรุปอุปสรรคและความท้าทาย โรงเก็บน้้าผึ้งอยู่ห่างไกลชุมชน ไฟฟ้าติดขัดในบางครั้ง แสงสว่างไม่เพียงพอ พื้นที่ผนังในการฉายโปรเจคเตอร์แคบเกินไป เนื่องจากติดพื้นที่หน้าต่าง สัญญาณอินเตอร์เน็ตต่้า ไม่มีอุปกรณ์อ้านวยความสะดวกพื้นฐาน
การประชุม
สรุปข้อเสนอแนะ ใช้บ้าน Smart leader แทนโรงเก็บน้้าผึ้ง ไม่ระบุ เปลี่ยนไปใช้หลอดไฟที่วัตส์สูงกว่านี้ ใช้จอหรือขึงผ้าแทนผนังเปล่า ๆ
ไม่ระบุ ไม่ระบุ
บันทึกการ ประชุม กับชุมชน
บันทึกการ ประชุม กับภาครัฐ
มีการประชุมเกิดขึ้นทั้งหมด 4 ครั้ง แบ่งเป็นการประชุมกับชุมชน 2 ครั้ง และ กับภาครัฐ 2 ครั้ง
ประชุมชุมชน ครั้งที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ 2563 --------------------------------------------------------------------
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
27
สรุปการประชุม หัวข้อที่ 1: การน้าเสนอของอาสาสมัคร - อาสาสมัครแนะน้าตัวและประสบการณ์การท้างาน - น้าเสนอผลผลิต 7 ข้อของโครงการ OGOP Phase II โดยเน้นการสื่อสารผ่านรูปภาพเพื่อให้เข้าใจง่าย หัวข้อที่ 2: การน้าเสนอของของคุณจิกมี่ เทนซิน (Jigme Tenzin) - ทฤษฎีไหรั่ว (leaking jar) ที่พูดถึงการลดรายจ่ายก่อนการเพิ่มรายได้ หัวข้อที่ 3: การประชุมกลุ่มเพื่อเลือกวัตถุดิบมาพัฒนาเป็นสินค้า OGOP - แบ่งกลุ่ม 2 กลุ่ม โดยมีสมาชิกกลุ่มที่พูดภาษาอังกฤษได้และเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์/เกษตรจังหวัด - เขียนความคิดเห็นใส่กระดาษแผ่นใหญ่ หัวข้อที่ 4: วัตถุดิบที่เลือก - เนื่องจากแต่ละกลุ่มเลือกวัตถุดิบมาหลายชนิด ท้าให้ต้องจ้ากัดจ้านวนลง - ยกมือเลือกวัตถุ พร้อมเหตุผลประกอบว่าเพราะอะไร และจะน้าไปแปรรูปอย่างไร - เลือกวัตถุดิบได้ 13 ชนิด โดยมีวัตถุดิบหลัก 3 ตัว คือ Aijaro tea (ชาไอเจโระ) เป็นกาฝากต้นมะนาว ใช้ท้า ชาเนย (Suja ซูจา) ผลบัวหิมะ และ น้าผึ้ง
ประชุมกับภาครัฐ ครั้งที่ 1 เมษายน 2563 -----------------------------------------------------------------------
สรุปการประชุม หัวข้อที่ 1: แนะน้าตัว ประสบการณ์การท้างาน และภารกิจในฐานะอาสาสมัครโครงการ OGOP หัวข้อที่ 2: รายงานผลการด้าเนินการไตรมาสที่ 1 T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
28
- ลงพื้นที่เก็บข้อมูลรายรับรายจ่ายใน อ.ปาทซาลิ่ง - น้าเสนอตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ส่วนมากเป็นอาหาร - น้าเสนอผลิตภัณฑ์ที่จะทดลองท้าในอนาคต โดยกระดาษสาต้นกล้วยได้รับความสนใจมากที่สุด
ประชุมกับภาครัฐ ครั้งที่ 2 มิถุนายน 2563 ----------------------------------------------------------------------
สรุปการประชุม หัวข้อที่ 1: รายงานผลการด้าเนินการไตรมาสที่ 2 และแผนการด้าเนินงานในอนาคต - พบ Dasho Tashi (QPO) และ Dasho Lam Kezang (APIC) และโรงงานผลิตกระดาษท้ามือ Jungshi - ตลาดสินค้าหัตกรรมมีความเป็นไปได้ในการเติบโตใน จ.ซีรัง เพราะมีวัตถุดิบมาก แต่ขาดฝีมือ - อธิบายความแตกต่างของการอบรมธรรมดาและการอบรมผ่านระบบทางไกล - ความเป็นไปได้ของ จ.ซีรัง เรื่องการท่องเที่ยว - ตลาดดัมพูจะมีโอกาสขยายได้อีกมากหากมีการท่องเที่ยวใน จ.ซีรัง หัวข้อที่ 2: การอบรมการท้าผลิตภัณฑ์ OGOP ผ่านระบบทางไกล เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญจากประเทศไทยไม่สามารถมาลงพื้นที่ได้ตามที่ได้วางแผนไว้เมื่อต้นปี ท้าให้ต้องมีการปรับ แผนโดยใช้การอบรมผ่านระบบออนไลน์ โดยในการอบรมเจ้าหน้าที่และ Smart leader ในวันแรก และคนที่ได้ การอบรมในวันแรกมาอบรมชาวบ้านในวันต่อมา โดยมีความคาดหวังว่าสินค้าจะได้วางตลาดภายในปี 2563 หัวข้อที่ 3: น้าเสนอตัวอย่างผลิตภัณฑ์ - ชากอมบูฉะ (Kombucha tea) ชาหมักรสผลไม้ มีความซ่า, เปรี้ยว, หวาน มี Probiotic ช่วยย่อยอาหาร - กระดาษสาต้นกล้วย กระดาษในประเทศภูฏานปกติท้ามาจากต้น Daphne (ดัฟเน่) ซึ่งให้เนื้อกระดาษที่ ละเอียด สามารถท้ากระดาษบางส้าหรับเขียนได้ แต่ในบริบทของ จ.ซีรัง การท้ากระดาษสาจากต้นกล้วยจะให้ เนื้อที่หยาบกว่า จุดประสงค์ให้ส้าหรับเป็นบรรจุภัณฑ์ กระบวนซับซ้อนน้อยกว่า ท้าให้ท้าราคาได้ถูกกว่า T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
29
ประชุมชุมชน ครั้งที่ 2 เดือนกรกฏาคม 2563 --------------------------------------------------------------------
สรุปการประชุม หัวข้อที่ 1: อาสาสมัครอธิบายเรื่อง “Demands & Supplies” เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ในการเลือกผลิตภัณ์ โดยอาสาสมัครระวังอย่างยิ่งที่จะไม่ชี้น้าชาวบ้านมากเกินไป เพียงแต่ให้วิธีคิดและตั้งค้าถาม หัวข้อที่ 2: แบ่งกลุ่มระดมความคิด - แบ่งชาวบ้านเป็น 2 กลุ่ม ในแต่ละกลุ่มจะมีคนที่เขียนภาษาอังกฤษได้อย่างน้อย 1 คน - อาสาสมัครเดินตามกลุ่มเพื่ออธิบายเพื่มเติมเรื่อง “Demands & Supplies” เพื่อให้แน่ใจว่าเข้าใจตรงกัน หัวข้อที่ 3: ลงเสียงเลือกผลิตภัณฑ์ กลุ่ม 1: ลิปบาล์ม (ขี้ผึ้งทาปาก) กลุ่ม 2: เทียนไข เพราะเคยท้ามาก่อนในอดีต (โดยประธานกลุ่มเลี้ยงผึ้ง) ชาวบ้านไม่รู้ว่าขี้ผึ้งสามารถน้ามาท้าผลิตภัณฑ์อะไรได้บ้าง อาสาสมัครจึงอธิบายด้วยรูปภาพ เพิ่มเติม: มีสมาชิกคนหนึ่งยกมือบอกว่า เราคิดกันมามากพอแล้ว ควรจะลงมือท้าได้เสียที ทดลองท้าไปก่อน และต้งอมา ทดลองร่วมกันกับสมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้งคนอื่น ๆ
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
30
ประชุมสรุปงาน เดือนตุลาคม 2563 --------------------------------------------------------------------------------ในการประชุมครั้งสุดท้ายนี้ อาสาสมัครได้กล่าวสรุปงาน ตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงต้น เดือนตุลาคม หลังจากนั้น สมาชิกกลุ่มเลีย้ งผึ้งจะเป็นผู้ สาธิตการท้าผลิตภัณฑ์ที่ได้ ทดลองร่วมกันกับอาสาสมัคร ได้แก่ กระดาษสาที่ท้าจาก ต้นกล้วย และขี้ผึ้งทาปาก ระหว่างการสาธิต นักข่าวจาก โทรทัศน์ช่อง BBS ได้มาท้าการ ถ่ายท้าเพื่อออกอากาศข่าวภาค ภาษาอังกฤษช่วง 21:00 น. และหลังจากการประชุมอาสาสมัครได้ให้ข่าวเพิ่มเติมกับนักข่าวหนังสือพิมพ์ Kuensel
ข่าวกระดาษสา ต้นกล้วย BBS
ข่าวกระดาษสาต้น กล้วย Kuensel
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
31
ร
ายรับรายจ่ายชุมชน กลุ่มเลี้ยงผึ้ง อ.ปาทซาลิ่ง
ลงชุมชนเพื่อเก็บข้อมูลรายรับรายจ่าย
อาสาสมัครท้าแบบสอบถามรายรับรายจ่ายร่วมกับประธานกลุ่มเลี้ยงผึ้ง และใช้เครื่องปริ้นที่โรงพยาบาลสัตว์ใน ตัวเมืองเนื่องจากเครื่องอ้านวยความสะดวกในพื้นที่มีจ้ากัด ในการลงพื้นที่จะมีสมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้งและเจ้าหน้า ปศุสัตว์ในพื้นที่ อ.ปาทซาลิ่ง มาช่วยอ้านวยความสะดวกด้านการคมนาคมและการแปลภาษา โดยในส่วนของ เจ้าหน้าที่จะติดตามไปได้เฉพาะช่วงที่เจ้าหน้าที่เองต้องลงพื้นที่เพื่อฉีดวัคซีนสัตว์หรือติดต่องานราชการอื่น ๆ แต่ ในส่วนของการเยี่ยมบ้านของสมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้ง ได้รับการช่วยเหลือจากประธาน เลขานุการ และเหรัญญิกกลุ่ม โดยใช้ระยะรวมกันแล้วประมาณ 7 วันเต็ม ในช่วงเวลาต่าง ๆ กันของเดือนมกราคม ถึง ต้นเดือนมีนาคม สรุปอุปสรรคและความท้าทาย โรงเก็บน้้าผึ้งอยู่ห่างไกลชุมชน ไฟฟ้าติดขัดในบางครั้ง แสงสว่างไม่เพียงพอ
สรุปข้อเสนอแนะ ใช้บ้าน Smart leader แทนโรงเก็บน้้าผึ้ง ไม่ระบุ เปลี่ยนไปใช้หลอดไฟที่วัตส์สูงกว่านี้
(ดูภาคผนวกหน้า 56-59) T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
32
HOUSE EXPENSES LIST PATSHALING’S OGOP 2020 Main person’s name:
Tel:
Address: How many people in the house:
Date: Age
Name
Gender
Family position
Education
Total income/month (nu.): Source of income: Category
How much (nu.)
Note
Monthly expense (Examples in bracket) Category 1. Career (Farming, furniture) 2. House (Rental, repairing) 3. Utility
How much (nu.)
Note
(Electricity, water, phone)
4. Food (Veg, meat, beans, etc.)
5. Kitchen (Sauce, oil, etc.) 6. Washroom (Soap, detergent, etc.)
7. Health (Medicine, hospital, etc.)
8. Transportation (Gasoline, car fixing, etc.)
9. Family (Kid’s education, taking care of family members, etc.)
10. Clothes (Fashion and needed, etc.)
11. Entertainment (Karaoke, travel, etc.)
12. Tax (Land, LIC, etc.) Signature (
)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
33
ผลผลิตที่ 4 มีสินค้าและผลิตภัณฑ์ OGOP พัฒนาเพิ่มมากขึ้นตามศักยภาพของแต่ละชุมชนของแผนงานโครงการ (ภาคผนวก หน้า 62-70)
เครื่องดื่มบัวหิมะ Yacon Juice น้า้ คั้นสดจากผลบัวหิมะรสน้้าผึ้งมะนาว ผ่านกระบวนฆ่าเชื้อแบบพลาสเจอไรซ์ เก็บในตู้เย็นได้นาน 2 สัปดาห์ ที่มา: ชาวซีรังเริ่มปลูกบัวหิมะ (Yacon) กันอย่างแพร่หลายเมื่อปี พ.ศ.2561 โดยน้าเมล็ดพันธุ์มา จากเปรู เจริญเติบโตอย่างดีโดยไม่ต้องการการดูแล ท้าให้มีผลผลิตจ้านวนมากต่อปี โดย ปกติชาวบ้านจะบริโภคผลสดแบบผลไม้ทั่วไปในครัวเรือนและน้าไปขายที่ตลาดซึ่งได้ราคาดี มากในช่วงปีแรก แต่เมื่อเข้าปีที่ 2 บัวหิมะเริ่มล้นตลาด ราคาเริ่มตก ท้าให้ผู้ว่าฯ จังหวัด (คนปัจจุบัน) พยายามหาทางแปรรูปบัวหิมะให้ง่ายต่องานบริโภคมากขึ้นหรือน่าสนใจมาก ขึ้น ทั้งนี้ผลบัวหิมะมีคุณสมบัติลดน้้าตาลในเลือด ถูกจัดให้เป็น Super food เหมาะส้าหรับ ผู้ป่วยเบาหวานและบุคคลทัว่ ไปที่ต้องการดูแลสุขภาพ วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์: ผลิตภัณฑ์ที่ท้าจากบัวหิมะที่มีอยู่ในตลาดขณะนี้เป็นแยมส้าหรับเบเกอรีห่ รือเป็นน้้าเชื่อมที่มีราคาค่อนข้างสูง จึง ให้ไม่ค่อยเป็นที่แพร่หลาย เพราะฉะนั้นการคั้นน้้าบัวหิมะมาท้าเป็นเครื่องดื่มจึงเป็นตัวเลือกในการลดราคาสินค้า ต่อชิ้น ง่ายต่อการบริโภคในหลายโอกาสและช่วยลดน้้าตาลในเลือดเมื่อดื่มอย่างต่อเนื่อง แต่ด้วยความที่เป็น สินค้าใหม่ในตลาดภูฏาน อาสาสมัครเห็นว่าต้องมีการวางแผนการตลาดที่รอบคอบและชัดเจน ใช้บรรจุภัณฑ์ที่ T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
34
สวยงาม และรูก้ ลุ่มลูกค้า เช่น เริ่มจากตลาดบนโดยการฝากขายตามตู้เครื่องดื่มในร้านอาหาร หรือให้ร้านคาเฟ่ ของน้าไปชงเป็นเมนูน้าผลไม้ใหม่ ๆ เพื่อนกระตุ้นความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์ การทดลองทาตัวอย่างผลิตภัณฑ์
ใช้เครื่องแยกกากคั้นน้าบัวหิมะ และทดลองผสมกับน้ากีวี่ (ซ้าย) และสะระแหน่+มะนาว (ขวา)
โรงงานน้าผลไม้ Bhutan Agro ตรวจคุณค่าทางอาหารในน้าบัวหิมะจาก อ.ปาทซาลิ่ง และทดลองพลาสเจอไรซ์
วิดิโอสาธิตการท้า เครื่องดื่มบัวหิมะ
วิดิโอสาธิตการท้า ลิปบาล์มน้้าผึ้ง
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
35
ลิปบาล์มน้าผึ้ง Honey Lip Balm กลุ่มเลี้ยงผึ้งที่ อ.ปาทซาลิ่ง เป็นกลุ่มที่ตั้งขึน้ มาได้ไม่กี่ปี ท้าให้ยังขาด องค์ความรู้ในการเก็บเกี่ยววัตถุดิบที่ได้จากการเลี้ยงผึ้งหรือจากการ เก็บเกี่ยวน้้าผึ้ง หนึ่งในนั้นคือ “ขี้ผึ้ง” ซึ่งหลังการบีบน้้าผึ้งออกจาก รวง จะมีส่วนที่เป็นตัวรังรูปแปดเหลี่ยม สามารถปั้นเป็นก้อน ๆ ได้ ชาวบ้านไม่นิยมเก็บมาแปรรูปแต่จะใช้เป็นอาหารเลี้ยงวัวแทน มี เพียงบ้านเดียวคือบ้านของประธานกลุ่มเลี้ยงผึ้ง (คุณเชอริ่ง) ที่มี ความรู้ในการคัดแยกขี้ผึ้งเพื่อน้ามาท้าเทียนไข ขี้ผึ้งที่คณ ุ เชอริ่งท้าไว้ เมื่อ พ.ศ.2560 มีสีเข้มออกไปทางเหลืองน้้าตาล แต่ไม่มีสิ่งเจือปน อาสาสมัครจึงขอแบ่งบางส่วนมาทดลองท้าตัวอย่างลิปบาล์ม ทีท่ างกลุ่มเลี้ยงผึ้งได้เลือกร่วมกันว่าต้องการท้า ผลิตภัณฑ์ตัวนี้ แต่ชาวบ้านยังขาดความเข้าใจในตัวผลิตภัณฑ์อยู่มาก เพราะปกติเคยชินแต่ลิปที่มสี ี การทดลองทาตัวอย่างผลิตภัณฑ์
ทดลองทาจานวนน้อย เนื่องจากมีวัตถุดิบน้อย กับบรรจุภัณฑ์ที่มีในบ้าน
ทดลองท้าบรรจุภัณฑ์เองจากเปเปอร์มาเช่ร์
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
36
กระดาษสาต้นกล้วย Banana trunk paper *ผลิตภัณฑ์ตัวนี้ไม่ใช่สินค้า OGOP กล้วยเป็นพืชที่พบเห็นได้ทั่วไปตาม อ.ปาทซาลิ่ง เนื่องจากมีอากาศอุ่นและฝนตกบ่อย บริบทของการใช้งานต้น กล้วยของชาวภูฏานค่อนข้างจ้ากัดเมื่อน้ามาเทียบกับบริบทแบบไทย ชาวบ้านที่นี่ไม่นิยมน้าใบกล้วยมาห่ออาหาร และไม่มีการใช้งานต้นกล้วยในลักษณะอื่น ๆ นอกจากเป็ฯอาหารสัตว์ (วัว) ส่วนผลกล้วยใช้บริโภคสดเพียงอย่าง เดียว กล้วยฉาบรสเค็มที่เห็นตามตลาดเป็นสินค้าน้าเข้าจากอินเดีย อาสาสมัครจึงคิดหาทางใช้ประโยชน์จากต้น กล้วยให้เข้ากับบริบทของชุมชนรวมถึงความต้องการของตลาดภูฏาน สืบเนื่องจากงาน OTOP ที่เมืองทองธานี ประเทศไทย ผูว้ ่าฯ และเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ จ.ซีรัง ให้ความสนใจผลิตภัณฑ์หนังเทียมจากใบกล้วยที่น้าไปรีดกับ ยางพารา และน้ากระเป๋าและปกสมุด อาสาสมัครจึงน้าความคิดนี้ไปเสนอในที่ประชุมกับข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ และกับชาวบ้าน ทั้งสองฝ่ายให้ความสนใจเป็นอย่างมาก จนน้ามาถึงการทดลองท้ากระดาษร่วมกันของ อาสาสมัครและชาวบ้าน ต.ทาโกลิ่ง และ ต.ซีรังเต (ทั้ง 2 ต้าบล อยู่ใน อ.ปาทซาลิ่ง)
ทดลองทาร่วมกับบ้านคุณเชอริ่ง เชอร์ปา
ทดลองร่วมกับบ้านคุณชา บาดูร์ กุรุง
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
37
การทดลองทาผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ
เครื่องดื่มกอมบูฉะ (Kombucha)
ตากเชือกกล้วย
กล้วยฉาบเนยน้าตาล
ควั่นเชือกกล้วย
แพนเค้กแป้งบัควีต (ธัญพืชสีเข้ม)
น้าตาลเคีย่ วกับนมสด
แยมลูกพลัม
สบู่จากน้าเคี่ยวขี้เถ้าและน้ามันมะกอก
น้าเชื่อมบัวหิมะ
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
38
ก
ารฝึกอบรมวิทยากรต้นแบบภูฏาน
Training of Trainers: TOT
(ภาคผนวก หน้า 62-65) สังเกตการณ์การอบรมผ่านระบบทางไกล จัดโดยคณะผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ คณะ เทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ผ่าน โปรแกรม Zoom โดยมี TICA เป็นผู้ประสานงานหลักตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนธันวาคม 2563
ช่วงก่อนการอบรม อาสาสมัครได้ช่วยทางวิทยากรแปลวิธีการท้าผลิตภัณฑ์ของ จ.ซีรัง เป็นภาษาอังกฤษ ออกแบบหน้าปก รูปเล่มหนังสือคู่มือ ตราสินค้าส้าหรับผลิตภัณฑ์ และประสานงานกับชาวบ้านฝั่งภูฏานทั้งใน จังหวัดซีรังและจังหวัดอื่น ๆ เช่น Tashi Yangtse (ทาชิยังซี), Lhuentse (ลุนซี) และ Phobjikha (พบจิกะ)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
39
สรุปอุปสรรคและความท้าทาย สัญญาณอินเตอร์เน็ตที่บ้านขัดข้อง ท้าให้เกิด ความไม่ต่อเนื่องในการอบรมในบางครั้ง
สรุปข้อเสนอแนะ ถามรายละเอียดจากเพื่อนอาสาสมัครในส่วนที่ ตกหล่นไป
วิทยากรชาวภูฏานสาธิตการน้าบัวหิมะ (ซ้าย) และ ลิปบาล์ม (ขวา) แก่สมาชิกกลุ่มเลี้ยงผึ้ง
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
40
ผลผลิตที่ 5 มีตลาดชุมชนเพื่อรองรับสินค้าและผลิตภัณฑ์ OGOP ใน จ.ซีรัง ตลาดในตัวเมืองดัมพู แม้จะเพิ่งเริ่มต้นได้เพียงทศวรรษที่ผ่านมา แต่ถือว่ามีโอกาสเติบโตในอนาคตเนื่องจาก จ.ซีรัง เป็นจังหวัดที่ผู้คนที่เดินทางไปทางภาคใต้ต้องหยุดพักทานข้าวหรือซื้อผักผลไม้กลับบ้านเพราะมีสินค้าทาง การเกษตรและปศุสัตว์สดใหม่ให้เลือกหลากหลายและราคาไม่แพง โดยเฉพาะผักในตลาดเช้าวันอาทิตย์
ตลาดตึกแถวในตัวเมืองดัมพู เพิ่งย้ายมาราว 10 ปี
ตลาดผักวันอาทิตย์ (เนื้อสัตว์ขายแยกพื้นที่)
ร้านขายของชาที่มีชื่อเสียงที่สุดในเมือง
ตลาดเสื้อผ้าเปิดใหม่ อยู่ข้าง ๆ ตลาดผัก
ในการขยายตลาดชุมชน ชาวบ้านต้องวางแผนร่วมกับทางรัฐ เนื่องจากทางจังหวัดได้สร้างสิ่งปลูกสร้างใหม่ ๆ ขึ้น มากภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี เช่น ห้องน้้าสาธารณะ 2 แห่ง ประจ้าจุดจอดรถแท็กซี่ในตลาดดัมพู สนามฟุตบอลที่ใช้เป็นพื้นที่ส่วนกลางในการจัดงานประจ้าปี (Public grown) สระว่ายน้้า และมีโครงการสร้างหอดูนก ใกล้พระต้าหนักแห่งใหม่ (New Royal Guesthouse) และศูนย์ข้อมูลนักท่องเที่ยว (Tourist Information Center) ในสวนสาธารณะข้างศาลาว่าการจังหวัด เพื่อเตรียมพร้อมกับการเป็นเมืองขยายและเป็นเมืองท่องเที่ยว T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
41
สิ่งที่ชาวบ้านพูดถึงกันมากแต่ยังไม่เกิดขึ้นคือ การสร้างลานจอดรถเพิ่ม เนื่องจากตลาดดัมพูมีขนาดแคบยาว เพียงแค่รถของชาวบ้านก็มีที่จอดไม่เพียงพอแล้ว การวางผังเมืองส้าหรับแผนระยะยาวจึงมีความส้าคัญ
ร้านค้าริมถนน ขายผลิตผลทางการเกษตรและของดอง น้าผึ้ง สรุปอุปสรรคและความท้าทาย ท้าให้ชาวบ้านเข้าใจและเห็นด้วยในการ เปลี่ยนแปลง และให้ความร่วมมือ สินค้าไม่มีความหลากหลาย ส่วนมากอะไรขายดีก็ ขายตาม ๆ กัน ของเหมือนกันทั้งตลาด สินค้าน้าเข้าจากอินเดียเป็นสินค้าหลักในตลาด ต้องใช้การวางแผนระยะยาวเพื่อผลลัพธุ์ที่ยงั่ ยืน
ซีรังมีชื่อเสียงด้านอาหารดอง
สรุปข้อเสนอแนะ มีการกระจายความรู้ความเข้าใจชาวบ้านทั้งที่ใช่ และไม่ใช่ตัวแทนชุมชนอย่างสม่้าเสมอ ภาครัฐสนับสนุนให้ชาวบ้านท้าสินค้าใหม่ ๆ มาทดลองตลาด สนับสนุนให้ใช้สินค้าประเภทเดียวกันที่มาจาก ชุมชนมากขึ้น หรือสนับสนุนให้มีการผลิต จัดการประชุมระหว่างหน่วยงานรัฐและชาวบ้าน เป็นระยะ ๆ เพื่อวางแผนการตลาดของจังหวัด ในระยะยาว
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
42
กิ
จกรรมกับองค์กร และชุมชนอื่น ๆ
กิจกรรมร่วมกับปศุสัตว์ จ.ซีรัง
ประชุมกลุ่มนมวัว เพื่อเปลี่ยนเหรัญญิกกลุม่ เนื่องจากมีการโกงเงินสมาชิกกลุ่ม
ปลูกหญ้าเนเปียร์ (หญ้าแพรกพันธุ์ปรับปรุง) ร่วมกับปศุสัตว์ เพื่อปรับปรุงผืนดินและเป็นอาหารสัตว์
ห้องเรียน รร.เมนเดรลกัง
หอพักในโรงเรียน รร.ซีรังเต
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
43
พบองค์กรในเมืองหลวง
พบ Dasho Tashi รองราชเลขาธิการส้านักงานโครงการสมเด็จ พระราชินีฯ (Queen’s Project Office: QPO) เพื่อน้าเสนอ งานในช่วงไตรมาศ และปรึกษาเรื่องการท้ากระดาษท้ามือ
เยี่ยมชมโรงงานกระทาดาษทามือ Jungshi โดยความอนุเคราะห์จาก Dasho Lam Kezang
ปรึกษาเรื่องการทาเครื่องดื่ม บัวหิมะกับ Bhutan Agro
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
44
ดานาหน้าฝน ร่วมด้านากับชาวบ้านในอ้าเภอต่าง ๆ ซึ่งยังเป็นวิธีแบบลงแขกหรือช่วยกันท้าหลาย ๆ คนใน 1 ที่ดิน
อ.คิโคทัง (Kikothang)
อ.รังทาลิ่ง (Rangthaling)
อ.ดุงลากัง (Doonglagang)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
45
ข้
อเสนอแนะ
ส้าหรับการด้าเนินโครงการในระยะต่อไป
การดาเนินโครงการ ก้าหนดภาระงานกับเจ้าหน้าที่ที่ท้างานกับอาสาสมัคร (Counterpart) ให้ชัดเจน ในกรณีที่เป็นงานชุมชน ควรมีอาสาสมัครมากกว่า 1 คน คนที่เพิ่มมาอาจจะเป็นอาสาสมัครไทย หรือ อาสาสมัครภูฏานที่จะเป็น Buddy ให้การท้างาน เนื่องจาก Counterpart ก็มีภาระงานประจ้าของตน มีกระบวนการในการประเมินตอนกลาง และปลายโครงการ ของ อาสาสมัคร ต่อเจ้าหน้าที่ทั้งไทยและภูฏาน, ตัวอาสาสมัครเอง, โครงการ อาสาสมัครควรได้มีโอกาสเลือกอ่านรายงานสรุปโครงการของอาสาสมัครจากโครงการหรือประเทศเดียวกัน ในปีก่อนหน้าตนเองในรูปแบบ PDF หรือ หนังสือออนไลน์ องค์กรฝั่งไทย เมือ่ มีการเปลี่ยนแปลงแผนงาน ต้องแจ้งอย่างเร่งด่วน ทั้งอย่างเป็นและไม่เป็นทางการ ยกตัวอย่างกรณีการเลื่อนการเดินทางของอาสาสมัคร OGOP Phase II จากเดือนตุลาคม เป็นเดือนธันวาคม โดยไม่มีมาตรฐานในการแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าเรื่องนี้แต่อย่างใด ท้าให้เกิดความเสียหายทั้งด้านการบริหาร เวลาและทุนทรัพย์ของอาสาสมัคร หากอาสาสมัครมีประสบการณ์ไม่ตรงกับภาระงาน ควรมีการอบรมอย่างรอบด้านในระยะเวลาที่นานมากพอ เนื่องจากกรณีของอาสาสมัคร OGOP Phase II ได้รับการอบรมเพียง 7 วันก่อนเดินทางไปประเทศภูฏาน ควรมีการปรึกษารายละเอียดของภาระงานที่ตรงกับสถานการณ์ปัจจุบันล่วงหน้าอย่างน้อย 1 เดือนก่อนลง พื้นที่ปฏิบัติงานจริง ทั้งกับเจ้าหน้าที่คนไทยและเจ้าหน้าทีค่ นภูฏาน องค์กรฝั่งภูฏาน ในช่วงก่อนหรือหลังปีใหม่ (31 ธ.ค.) มีวันหยุดราชการหลายวัน ท้าให้การท้า Work permit ล่าช้ากว่าปกติ สร้างความเข้าใจกับ Counterpart และเจ้าหน้าที่ที่ต้องท้างานร่วมกับอาสาสมัคร เรื่องบริบทการท้างานที่มี ความเข้มข้นและจริงจังในการปฏิบัติงาน, มีการก้าหนดระยะเวลาที่ชัดเจน ทาง Counterpart หรือเจ้าหน้าที่จาก RCDC ควรแจ้งเจ้าของบ้านโดยตรงเรื่องความเป็นส่วนตัวหรือ ข้อตกลงพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันของอาสาสมัครและคนในบ้าน/ตึกเดียวกัน เช่น การไม่เข้าห้องอาสาสมัคร โดยพละการ หรือขอเข้าห้องบ่อย ๆ การยืมของหรือยืมเงิน ฯลฯ
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
46
ข้อเสนอแนะเรื่องการท่องเที่ยวชุมชน จ.ซีรัง ซีรังมีแหล่งท่องเที่ยวทั้งด้านวัฒนธรรมและด้านธรรมชาติ รวมทั้งอาหารอร่อย แต่ขาดความรู้ความเข้าใจในการ ท้าบ้านพักโฮมสเตย์ และขาดการสนับสนุนอย่างเป็นาทางการจากทั้งภาครัฐ อาจเพราะ จ.ซีรัง ยังไม่ถูกจัดให้ เป็นเมืองท่องเที่ยวตามกฏหมาย จากภาพเจ้าหน้าที่ฝ่ายวัฒนธรรมได้ลงพื้นที่ส้ารวจวัดเพื่อท้าคู่มือและเตรียมท้า เส้นทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
เจดีย์ประจาครอบครัวหนึ่งใน อ.ปาทซาลิ่งเต
เจดีย์โบราณไม่ทราบที่มา อ.ซีรังเต
วัดฮินดูประจาหมู่บ้าน ต.ทาโกลิ่ง อ.ปาทซาลิ่ง
วัดประจา อ.ซีรังเต อยู่ใกล้โรงเรียน
เจดีย์หมู่ ณ จุดพักรถชายแดน จ.ซีรัง ก่อนถึง จ.ซาร์ปัง
ถ้าพระศิวะ อ.คิโคทัง ใกล้จดุ ที่จะสร้างหอคอยดูนก
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
47
สิง่ ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน อาสาสมัครภายใต้โครงการ OGOP Model II ระยะเวลา 1 ปี (รวมการปฏิบัติงานที่ประเทศไทยในช่วงสถานการณ์ COVID-19) ด้านการทางาน ใช้เวลาอย่างคุ้มค่า ท้างานที่บ้านให้ได้ประสิทธิภาพมากขึ้น จากที่ใช้เทคโนโลยีในการท้างานอยู่แล้ว ต้องใช้มากขึ้นอีก ได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษแบบภูฏาน และเรียนภาษา Lhotsham (ลอทซั่ม) เข้าใจบริบทในการท้างานกับชาวภูฏานมากขึ้นในเรื่องเวลาที่ ไม่แน่นอนและระดับของความเข้มข้นในการท้างานที่ต่างกันไป เข้าใจธรรมชาติของชุมชนที่อยู่ห่างไกล เสริมทักษะการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ด้านการใช้ชีวติ เห็นการใช้ชีวิตแบบวัฒนธรรมฮินดูมากขึ้น เช่น เรื่องชนชั้นวรรณะ การบูชาเทพ เริ่มเข้าใจความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมพุทธแบบ ตันตระ วัชรญาณ และ ฮินดูแบบเนปาลี ปรับตัวเข้าหาธรรมชาติได้มากขึ้น เพราะอยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ มาก ๆ ในการเข้าหาคนในช่วงแรกอาจะต้องใช้เวลา แต่ในการเข้า หาสัตว์เช่น สุนัข, วัว, แพะ เป็นไปได้อย่างง่ายดาย ตัดสินถูกผิดกับตัวเองน้อยลง เพราะงานชุมชนคือ การรับรู้ บันทึก และไม่ตัดสิน วางเฉยได้มากขึ้น มีความสุขจากการได้ใช้ชีวิตที่ประเทศภูฏาน
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
48
ภาคผนวก
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
49
ข้อมูลสถิติ จ.ซีรัง พ.ศ.2559 - 2562
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
50
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
51
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
52
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
53
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
54
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
55
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
56
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
57
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
58
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
59
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
60
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
61
The recipe of Tsirang OGOP products Pasteurized Yacon Juice Objectives 1. To offer the conveniences and alternative choice of consuming the yacon fruit 2. To add value of the yacon (ground apple) which has the potential to be the economic crop in Tsiang Raw material 1. Fresh yacon 1 kg. 2. Honey
3. Lemon juice 4. Water 1 liter
Equipment 1. 250 ml glass bottle with metal cap 2. Double pots (big pot and smaller pot) 3. Momo steamer 4. Thermometer 5. Food blender (grinder) 6. Lemon squeezer 7. Stainless steel bowl
8. Measurement spoon 9. Ladle 10. Knife & Chopping board 11. Stainless steel sieve 12. Funnel 13. Pitcher (jar)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
62
Instructions 1. Clean and sterilize the bottles by put them in the momo steamer for 5-10 minutes then let dry
2. Clean and peel the yacon (don’t cut yet)
3. Mix 1 liter of water with 1 tablespoon of lemon juice. Soak the peeled yacon in the water for 10 mins.
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
63
4. Cut the soaked yacon in small pieces and soak in the water mix with lemon again for another 10 mins.
5. Mix the cut yacon in the food blender together with water and lemon until all turn in the watery smoothie form. Ratio: yacon 1 kg., water 1 liter, lemon juice 1 tbsp.
6. Use the sieve to filter the yacon juice, 1 kg. of yacon and 1 liter of water will give 1.7 liter of the yacon juice. 7. Mix the yacon juice with 6 tbsp. of honey and 1 tbsp. of lemon juice
Filtering
1 tbsp.juice of lemon
6 tbsp. of honey
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
64
8. 1st pasteurizing process 1) Put water in the bigger pot and put the smaller pot in the water 2) Boil the flavoured yacon juice in the smaller pot until the temperature of the juice reach 70-75°c for 5 minutes. Filtering the boiled yacon juice again by sieving
9. 2nd pasteurizing process 1) Fill the pasteurized yacon juice in the pasteurized glass bottle 230 ml per bottle 2) Close the cap as fast as possible (while the juice is very hot) but not so tight 3) Boil the filled up bottle in the double pots or momo steamer with 90-100°c for 10 minutes
1)
2)
3)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
65
10. After the 10 minute boiling, tightening the bottle cap and put the whole bottle in the cool and clean water for the cooling process for 15 minutes (when the water get hotter place replace with the cool water) 11.Keep under 4-10°c for the maximum shelf life 14 days
Precipitation Prevention Process (optional) 1. Follow the instruction until number 8 but don’t bottling yet. Leave the pasteurized juice at 5-10°c for 2-4 hours for the separation between the upper clear part and the precipitate. Note 1. Lemon is used for the better taste of the juice also reduce the browning reaction of the fresh yacon. 2. The expert use the food blender instead of juice extractor as it gives better result as experimental.
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
66
Label designs
Honey Lip Balm Objectives 1. To use the maximum capacity of the beekeeping raw material (beeswax) Raw material 1. Beeswax 80 grams 2. Honey 80 grams 3. 1st oil: Coconut oil 120 grams 4. 2nd oil: Olive oil, Almond oil or Shea butter 40 grams (please see the note) 5. Essential oil (vix) of your choice 15 grams (please see the note)
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
67
Equipment 1. 10 ml aluminum lip balm container 2. 10 ml syringe 3. Small digital weight scale 4. Double pots (big pot and smaller pot) 5. Wooden small stirrer/spoon 6. Wooden or metal spoon
Beeswax
Coconut oil
Honey
Instructions 1. Weight 80 grams of beeswax, 120 grams of coconut oil and 80 grams of honey 2. Prepare the double pots by putting water in the bigger pot and put the smaller pot in the water for the undirected heat 3. Melt the beeswax and coconut oil together in the smaller pot 4. Add the 2nd oil of your choice (if any) 5. Add the honey, mix well 6. Leave the stove and let the product temperature drop to 70c then add the essential oil for 15 grams 7. Fill the lip balm liquid in the aluminum container by using the syringe to control the quantity and avoid the bubble on the product surface. There is a time limit in this process as we have to make sure the lip balm won’t get solid on the way but if it happens we can heat up the solid balm again and refill. 8. Leave the product to get fully solid for 1 hour in the room temperature 9. From the recipe, we will get 20-25 pieces of the 10ml lip balm
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
68
Melt the beeswax and coconut oil together in the smaller pot
Let dry for 1 hour
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
69
Note 1. The choices of 2nd oils can be any type of unsaturated fat such as sunflower oil, almond oil or grape seed oil 2. The choices of the essential oil should be food grade type
Created by Mrs.Apirada Phonpannawit Contact | +66815959110 | aear2002@hotmail.com Trainer expertise in Product development, Sensory evaluation and Nutrition Food Science and Technology | Faculty of Agricultural Technology Chiang Mai Rajabhat University T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
70
ก
ารอบรมทางไกล
อ.ปาทซาลิ่ง จ.ซีรัง วันที่14 พฤศจิกายน 2563
ผลิตภัณฑ์ 1. เครื่องดื่มบัวหิมะพลาสเจอร์ไรซ์ 2. ลิปบาล์มน้้าผึ้ง
เครื่องดื่มบัวหิมะพลาสเจอร์ไรซ์ (Pasteurized Yacon Juice) สังเกตการอบรม 9:00 น. - 12:00 น. (3 ชม.)
อินเตอร์เน็ตฝั่งซีรังช้ามาก ท้าให้ภาพดีเล (ไม่มี 4G) pH 5-6 / TSS 6.5 % นึ่งขวดเพื่อฆ่าเชื้อ 10 นาที แต่ถ้าต้มในน้้าแค่ 5 นาทีก็เพียงพอ เวลา 10:44 น. นึ่งขวดรอบที่ 2 ถือว่ากระบวนการไปได้ค่อนข้างเร็ว น้้าบัวหิมะที่ทิ้งให้ตกตะกอน 4 ชม. เพื่อให้ใส สีจะเข้มกว่าอันที่ขุ่น
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
71
หมายเหตุ: มีกระบวนการในการท้าให้น้าผลไม้ใสขึ้น เพื่อให้ตอบโจทย์ตลาดทั่วไป เนื่องจากตลาดหลักเคยชินกับน้้าผลไม้ แบบใส เช่น ยีห่ ้อ Bhutan Agro หรือ Druk ส่วนกลุ่มลูกค้าใน Thimphu จะชอบน้้าผลไม้ขุ่น เพราะดูเป็นน้้า ผลไม้แท้ ที่มีเนื้อผลไม้ผสม
ลิปบาล์มน้าผึ้ง (Honey Lip Balm) สังเกตการอบรม 14:00 น. - 14:45 น. (45 นาที) กระบวนการท้าง่ายมาก ท้าให้ระยะเวลาในการอบรมช่วงบ่ายสั้นกว่าที่วางแผนไว้ ผลิตภัณฑ์สามารถเก็บได้ 1 ปี โดยไม่ใส่สารกันเสีย วัตถุดิบเกี่ยวกับการให้กลิ่นในภูฏานมีน้อย และค่อนข้างราคาสูง ชาวบ้านจึงพูดติดตลกว่า ท้าลิปกลิน่ เหล้าขาวพื้นบ้านภูฏาน (Ara) หมายเหตุ: ขี้ผึ้งที่ใช้ในการอบรมเป็นขี้ผึ้งจาก Bumtung แต่ในการผลิตจริงจะเป็นขี้ผึ้งจาก Patshaling เนื่องจากในวันที่ อบรมท้าผลิตภัณฑ์ให้ชาวบ้าน (15 พ.ย.63) จะมีการอบรมสอนการเก็บเกี่ยวขี้ผึ้งโดยวิทยากรจากกลุ่มเลี้ยงผึ้ง จังหวัด Bumtung ด้วย
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
72
Demand-Supply ของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์
เครื่องดื่มบัวหิมะพลาสเจอร์ไรซ์
Demand ตลาดน้้าผลไม้ในภูฏานยังเติบโตเรื่อย ๆ แต่เกือบ ทั้งหมดมาจากโรงงาน ซึ่งผสมน้้าตาลและสารเคมี มากกว่าผลภัณฑ์จากครัวเรือน
ลิปบาล์มน้าผึ้ง เครื่องส้าอางค์ที่มาจากส่วนประกอบจาก ธรรมชาติ 100% ยังเป็นที่ต้องการของ ตลาดทั้งในและนอกภูฏาน
น้้าผลไม้ส้าหรับดื่ม 1 ครั้ง เหมาะกับการขายตามร้าน ลิปบาล์มในตลาดภูฏานทั้งหมดน้าเข้า สะดวกซื้อ ร้านอาหาร และคาเฟ่ ซึ่งในตลาดภูฏาน จากต่างประเทศ (ไทย อินเดีย) จะมีเพียงน้้าแอปเปิ้ลและน้้ามะม่วงบรรจุกล่อง เท่านั้น Supply
มีการสนับสนุนให้ชาวบ้านปลูกบัวหิมะใน จ. Tsirang วัตถุดิบได้จากการเก็บเกี่ยวน้้าผึ้ง ในปี 2018 จนท้าให้เวัตถุดิบล้นตลาดในปีนี้ ชาวบ้านได้รับการอบรมการเก็บเกี่ยวไข ผึ้ง ท้าให้มีวัตถุดิบในปีนี้
วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์โดยใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง ผลิตภัณฑ์ พอประมาณ (Moderation) เหตุผล (Reasonableness)
เครื่องดื่มบัวหิมะพลาสเจอร์ไรซ์ วัตถุดิบหาได้ในชุมชน
ลิปบาล์มน้าผึ้ง วัตถุดิบหาได้ในชุมชน
สร้างรายได้ให้ชุมชนจากวัตถุดิบที่มี ซึ่งเป็น ไขผึ้งได้จากการเก็บเกี่ยวน้้าผึ้ง ซึ่งก่อน วัตถุดิบที่ไม่ต้องลงทุนมาก หน้านี้ชาวบ้านใช้ไขผึ้งเป็นอาหารวัว เพราะไม่รู้ประโยชน์ของไขผึ้ง T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
73
ภูมิคุ้มกัน (SelfImmunity)
ตลาดน้้าผลไม้ในภูฏานยังเติบโตได้เรื่อย ๆ หากมีวิธีในการลดต้นทุนและเพิ่มคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์น้าผลไม้ในครัวเรือนได้จะ สร้างรายได้ระยะยาว
รู้จักประโยชน์ของวัตถุดิบจากการเลี้ยง ผึ้งมากขึ้น ซึ่งสามารถพัฒนาไปสู่การ เก็บเกี่ยววัตถุดิบได้มากขึ้น เช่น นมผึ้ง รวงผึ้ง ฯลฯ
ความรู้ในการพลาสเจอร์ไรซ์น้าผลไม้ ความรู้ (Knowledge) สามารถน้าไปใช้กับผลไม้ชนิดอื่นได้ เช่น ส้ม พลัม หรือ กีวี ซึ่งมีมากใน จ.ซีรัง
ได้รับการเทรนนิ่งที่ถูกต้องจาก ผู้เชี่ยวชาญในการเก็บเกี่ยววัตถุดิบ ท้า ให้ต่อยอดความรู้ต่อได้ทั้งด้านวัตถุดิบ และด้านการแปรรูป
คุณธรรม (Integrity)
ไม่เกิดการฆ่าในการการเก็บเกี่ยวไขผึ้ง
เลี้ยงง่าย ไม่ต้องใช้แรงงานคนหรือสัตว์
ความเห็นต่อความเหมาะสม / ครบถ้วน / รูปแบบการอบรม วิทยากรมีวิธีการอธิบายและการจัดการเวลาที่ดีมาก เพราะระหว่างที่ต้องรอต้ม นึง่ ตกตะกอน วิทยากรจะ อธิบายและน้าท้ากิจกรรมอื่น ๆ เช่น หั่นและแช่บัวหิมะระหว่างนึ่งขวด ผู้เข้ารับการอบรมพลิกแพลงอุปกรณ์ได้ดี เมื่อได้รับการอธิบายอย่างชัดเจนว่าท้าอะไรเพื่ออะไร ข้อสังเกต / ข้อเสนอแนะ สาหรับการอบรมออนไลน์ในอนาคต อาสาสมัครได้ให้ข้อมูลล่วงหน้าเรื่องปัญหาด้านสัญญาณอินเตอร์เน็ต ณ อาคารที่จัดการอบรมที่ จ.Tsirang ว่าอาจจะสัญญาณอ่อนหรือขัดข้อง แต่เมื่อยืนยันในอาคารนั้นจึงท้าให้มีปญ ั หาด้านภาพและเสียงที่ช้า และไม่ชัดเจน เพราะรับได้แค่สัญญาณ 3G ผู้ประสานงานแก้สถานการณ์ความไม่ชัดเจนของภาพด้วยการส่งภาพถ่ายประกอบระหว่างการอบรม นอกจาก กล้องหลักจากคอมพิวเตอร์ ยังใช้กล้องโทรศัพท์มือถือในการเพิ่มมุมมองด้วย
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
74
สถานการณ์
โควิด-19 ในภูฏาน
เฟสบุ๊คของกระทรวง สาธารณสุข ประเทศภูฏาน
T h e F I n a l R e p o r t f o r T I C A o f O G O P P h a s e II I n T s I a r a n g b y C h a r t l a d a S a n g a k I j
75