วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 พ.ศ.2558

Page 1


วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร

ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) พ.ศ. 2558

Silpakorn University Journal Volume 35 Number 2 (May-August) 2015 ISSN 0857-5428

หน่ วยงานที่รบั ผิดชอบ สถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อ.เมือง จ.นครปฐม 73000 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการสาขาสัง คมศาสตร์ มนุ ษยศาสตร์ และศิลปะ ของนักวิชาการทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 2. เป็นสือ่ กลางการแลกเปลีย่ นเรียนรูท้ างวิชาการในสาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ 3.ส่งเสริมให้นกั วิชาการและผูส้ นใจได้น�ำเสนอผลงานวิชาการในรูปบทความวารสาร ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ ดร. เจตนา นาควัชระ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร ศาสตราจารย์ ดร. กุสมุ า รักษมณี ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย์ ดร. สันติ เล็กสุขมุ ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย์พษิ ณุ ศุภนิมติ ร ภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อริศร์ เทียนประเสริฐ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบันวิจยั และพัฒนา บรรณาธิ การ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บูลย์จรี า ชิรเวทย์ ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ทุกบทความได้รบั การตรวจความถูกต้องทางวิ ชาการโดยผูท้ รงคุณวุฒิ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปะ ผานการรับรองคุณภาพของศูนยดัชนีการอางอิงวารสารไทย (TCI) และอยูในฐานขอมูล TCI และจะถูกคัดเลือกเขาสูฐานขอมูล ASEAN Citation Index (ACI)


กองบรรณาธิ การ ศาสตราจารย์ ดร.สุวไิ ล เปรมศรีรตั น์ สถาบันวิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินทร์ มีโภคี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.มณีปิ่น พรหมสุทธิรกั ษ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร รองศาสตราจารย์ ญาณวิทย์ กุญแจทอง คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย์ ระเบียบ สุภวิร ี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย์ สุวฒ ั นา เลีย่ มประวัติ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นันท์ชญา มหาขันธ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปทั มวรรณ จิมากร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร ี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มาเรียม นิลพันธุ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ปิตวิ รรธน์ สมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมพงษ์ อ�ำนวยเงินตรา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ศุภกาญจน์ ผาทอง คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ สุภาวดี โพธิยะราช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาจารย์ ดร.บารมี เขียววิชยั คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์จริ พนธ์ ธนศานติ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร บรรณาธิ การบริ หารวารสาร เขมรินทร์ เพ็ญแสงอ่อน และ สุภาภรณ์ ปญั จวรกุล


ก�ำหนดออก ปีละ 3 ฉบับ (มกราคม-เมษายน, พฤษภาคม-สิงหาคม และกันยายน-ธันวาคม) จ�ำนวนพิมพ์ 300 เล่ม สอบถามข้อมูลเพิ่ มเติ มได้ที่ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.บูลย์จรี า ชิรเวทย์ บรรณาธิการวารสาร ภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม 73000 E-mail: chiravate@gmail.com หรือ บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร โทร. 034-255808 E-mail: journals.surdi@gmail.com ผูเ้ ขียนบทความสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มขอส่งบทความเพือ่ ตีพมิ พ์ได้ท่ี Website: http://www.journal.su.ac.th หรือ http://www.tci-thaijo.org/index.php/sujth พิ มพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทร. 034-255814



วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) พ.ศ. 2558

สารบัญ บทความประจ�ำฉบับ ตัวแบบสมการโครงสร้างของปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วชาวไทย ทีม่ ตี อ่ อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชี : กรณีศกึ ษา นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร ฉัตรอมร แย้มเจริญ รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝ่ สมั ฤทธิ์ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์ สิ ทธิ ประโยชน์ ด้านการดูแลสุขภาพของคนพิ การ ระพีพรรณ ฉลองสุข การจัดการท่องเที่ยวเชิ งเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้ อ�ำเภอควนเนี ยง จังหวัดสงขลา สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล “เวียงเชียงรุ้ง” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนื อตอนบน : ศึกษาจากเครื่องปัน้ ดิ นเผาเวียงเชียงรุ้ง อุษณีย์ ธงไชย การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิ สิตครูวิทยาศาสตร์ ในการสอนวิ ทยาศาสตร์ เอกภูม ิ จันทรขันตี รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรีและเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 : เอกสารประวัติศาสตร์ราชบุรีและสมุทรสงครามในสมัยรัชกาลที่ 5 เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

1 19

45 69 89 105 131 147



ตัวแบบสมการโครงสร้างของปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ชาวไทยทีม่ ตี อ่ อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย วิ วฒ ั น์ จันทร์กิ่งทอง1 บทคัดย่อ ั ยที่ การวิจยั ครังนี ้ ้มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ตรวจสอบตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั ส่งผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วชาวไทยทีม่ ตี อ่ อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของ ประเทศไทย การวิจยั นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงความสัมพันธ์ กลุม่ ตัวอย่างคือนักท่องเทีย่ วชาวไทย ในอุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย จ�ำนวน 800 คน ซึง่ เลือกมาโดย ใช้การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ ตัวแบบทีศ่ กึ ษาประกอบด้วยตัวแปรแฝงทีผ่ วู้ จิ ยั ก�ำหนด สมมติฐานการวิจยั ว่าเป็นสาเหตุของความภักดีของนักท่องเทีย่ วจ�ำนวน 5 ตัวแปร ได้แก่ ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว และการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว ผลการวิจยั พบว่า ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว และการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงและ ทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ค�ำส�ำคัญ : 1. ความภักดีของนักท่องเทีย่ ว. 2. นักท่องเทีย่ วชาวไทย. 3. อุทยานแห่งชาติ ทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย.

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ประจำ�สาขาวิชาการตลาด คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อีเมล janwiwat@gmail.com

1

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 1-18, 2558


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

Structural Equation Model of Factors Affecting Thai Tourist Loyalty toward National Parks Land in Southern Thailand Wiwat Jankingthong2

Abstract The purpose of this study was to test a structural equation model of factors affecting Thai tourist loyalty toward national land parks in Southern Thailand. Drawn by accidental sampling, the subjects of the study were composed of 800 Thai tourists who visited national land parks in Southern Thailand. The model studied included five latent variables hypothesized as factors affecting tourist loyalty: corporate social responsibility, destination image, perceived value, tourist satisfaction and tourist complaints. The results revealed that corporate social responsibility, destination image, perceived value, tourist satisfaction and tourist complaints directly and indirectly affected tourist loyalty. Keywords: 1. Tourist Loyalty. 2. Thai Tourist. 3. National Parks Land in Southern Thailand.

2 Assistant Professor, Ph.D. at Department of Marketing, Hatyai Business School, Hatyai University, Songkhla, Thailand. Email address: janwiwat@gmail.com

2


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

บทน�ำ ความภักดีของนักท่องเทีย่ วเป็นพฤติกรรมความตังใจที ้ เ่ กิดขึน้ ในอนาคตหลังจาก ได้เข้าไปท่องเทีย่ วและเกิดความประทับใจ โดยการแสดงความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความตัง้ ใจกลับมาท่องเทีย่ วซ�้ำ 2) ด้านการแนะน�ำ และบอกต่อ และ 3) ด้านความเต็มใจทีจ่ ะจ่ายมากขึน้ (Loureiro and Gonzalez, 2008: 117-118) และความภักดีของนักท่องเทีย่ วจะน� ำไปสู่การเพิม่ รายได้ให้กบั องค์กรและ ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง อีกทังท� ้ ำให้องค์กรประหยัดค่าใช้จา่ ยในการส่งเสริมการตลาด นอกจากนี้ ความภักดีของนักท่องเทีย่ วยังส่งผลต่อความมันคงและความยั ่ งยื ่ นขององค์กร (Robinson and Etherington, 2006: 3-5) จากการศึกษางานวิจยั ที่เกี่ยวข้องพบว่า ปจั จัยที่ส่งผลต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ วประกอบด้วย ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว การร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว (Wang et al., 2009: 402) และความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Stanaland et al., 2011: 52-53) การศึกษาที่ เกี่ยวข้องกับความภักดีของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะท�ำในบริบทของธุรกิจน� ำเที่ยว การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม และการท่องเทีย่ วในชุมชนเมือง ในขณะทีก่ ารศึกษาใน การท่องเทีย่ วอุทยานแห่งชาติยงั มีไม่มากนัก อีกทังสาเหตุ ้ ของความภักดีของนักท่องเทีย่ ว อาจจะมีความแตกต่างกันตามบริบทในการศึกษา (Velázquez et al., 2011: 78-79) อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้นับว่าเป็ นสถานทีท่ ่องเทีย่ วทีส่ วยงามและ ได้รบั ความนิยมจากนักท่องเทีย่ วชาวไทยจ�ำนวนมาก โดยปีงบประมาณ 2552 และ 2553 มีจำ� นวนนักท่องเทีย่ วชาวไทยเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง แต่ปีงบประมาณ 2554 พบว่า มีจำ� นวน นักท่องเทีย่ วลดลง 168,373 คน คิดเป็ นร้อยละ 28.38 เปรียบเทียบกับปี งบประมาณ 2553 ซึง่ แตกต่างจากการเดินทางเข้ามาท่องเทีย่ วอุทยานแห่งชาติทางทะเลในภาคใต้ของ นักท่องเทีย่ วชาวไทย พบว่า ปีงบประมาณ 2554 มีจำ� นวนเพิม่ ขึน้ 52,940 คน คิดเป็ น ร้อยละ 11.13 โดยเปรียบเทียบกับปีงบประมาณ 2553 จ�ำนวนนักท่องเทีย่ วทีล่ ดลงจะ ส่งผลต่อรายได้อุทยานแห่งชาติเพราะรายได้ของอุทยานแห่งชาติสว่ นหนึ่งจะน�ำมาเพือ่ บ�ำรุงรักษาและพัฒนาอุทยานแห่งชาติ (Thailand Department of National Parks, 2011) นอกจากนี้จำ� นวนนักท่องเทีย่ วทีล่ ดลงยังส่งผลต่อคนในชุมชนทีป่ ระกอบธุรกิจที่ เกีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว เช่น ร้านอาหาร ร้านขายสินค้าพืน้ เมือง ร้านขายสินค้าเกษตร เป็ นต้น อีกทัง้ ยังส่งผลกระทบต่อเกษตรกรทีส่ ง่ สินค้าให้กบั ผูป้ ระกอบการเหล่านี้ดว้ ย ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ รายได้ของคนในชุมชนทีป่ ระกอบธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ ว จะผันแปรไปกับจ�ำนวนนักท่องเทีย่ ว (Nation Channel Online, 2011) จ�ำนวนนักท่องเทีย่ วทีล่ ดลงนอกจากจะท�ำให้รายได้จากการท่องเทีย่ วลดลงแล้ว 3


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

ยังเป็ นสิง่ ทีส่ ะท้อนถึงการลดลงของความภักดีของนักท่องเทีย่ วทีม่ ตี ่อแหล่งท่องเทีย่ ว (Robinson and Etherington, 2006: 6-7) เนื่องจากความภักดีสามารถเปลีย่ นแปลงได้ ตลอดเวลา ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั หลายปจั จัย (Hayes, 2008) และจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วทีล่ ดลง ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว (Akama เป็นเหตุผลทีส่ ำ� คัญในการศึกษาถึงปจจั and Kieti, 2003: 74) เพราะการรับรูถ้ งึ ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว จะเป็นประโยชน์ตอ่ การก�ำหนดนโยบายและกลยุทธ์เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนการท่องเทีย่ ว ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม (Reisinger, 2009: 4-5) ั ยใดบ้างทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ดังนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงสนใจทีจ่ ะศึกษาว่ามีปจจั ชาวไทยทีม่ ตี อ่ อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย ซึง่ ผลจากการวิเคราะห์ จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาการท่องเทีย่ วของอุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของ ประเทศไทย โดยผูว้ จิ ยั มีความประสงค์ในการหาค�ำตอบเชิงประจักษ์ในการตอบค�ำถามทีว่ า่ ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วชาวไทยทีม่ ตี อ่ ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ หรือไม่ วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบตัวแบบสมการโครงสร้างของปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ วชาวไทยทีม่ ตี ่ออุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย ขอบเขตในการวิ จยั การวิจยั เรือ่ ง ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนัก ท่องเทีย่ วชาวไทยทีม่ ตี ่ออุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย มีขอบเขต ดังนี้ 1. ขอบเขตด้านตัวแปร การวิจยั ครัง้ นี้มงุ่ ศึกษาในประเด็นความรับผิดชอบต่อ สังคมขององค์กร ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว ความพึงพอใจของ นักท่องเทีย่ ว การร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว และความภักดีของนักท่องเทีย่ ว 2. ขอบเขตด้านพืน้ ที่ การวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั มุง่ ศึกษาอุทยานแห่งชาติทางบกใน ภาคใต้ของประเทศไทยจ�ำนวน 9 แห่งจากทัง้ หมด 18 แห่ง 3. ขอบเขตด้านเวลา การวิจยั ครัง้ นี้ใช้เวลาในการเก็บแบบสอบถามตัง้ แต่ เดือน มกราคม 2556 – เมษายน 2556 รวม 4 เดือน เนื่องจากในช่วง 4 เดือนนีเ้ ป็นช่วงทีม่ ี เทศกาลส�ำคัญของไทยหลายเทศกาล เช่น วันขึน้ ปี ใหม่ วันตรุษจีน และวันสงกรานต์ จึงท�ำให้มจี ำ� นวนนักท่องเทีย่ วชาวไทยเข้ามาท่องเทีย่ วจ�ำนวนมาก 4


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

4. ขอบเขตด้านประชากร การวิจยั ครังนี ้ ้ ผูว้ จิ ยั ศึกษาเฉพาะนักท่องเทีย่ วชาวไทย

ข้อจ�ำกัดในการวิ จยั การวิจยั ครังนี ้ ้เป็นการวิจยั เชิงความสัมพันธ์ โดยการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปร และใช้วธิ กี ารวิจยั เชิงปริมาณ โดยมีขอ้ จ�ำกัดดังนี้ 1. ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของนักท่องเทีย่ วในอุทยานแห่งชาติทางทะเลใน ภาคใต้ของประเทศไทยนัน้ ผูว้ จิ ยั ไม่ทราบจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วทีเ่ ข้ามาท่องเทีย่ วอย่างแน่ชดั ในแต่ละวัน จึงไม่สามารถใช้วธิ กี ารสุม่ ตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็ น 2. สถานการณ์ทางการท่องเทีย่ วและพฤติกรรมของนักท่องเทีย่ วมีการเปลีย่ นแปลง ตลอดเวลา ดังนัน้ ผลการวิจยั นี้จะใช้ได้ในช่วงระยะเวลาหนึ่งเท่านัน้ แนวคิ ดและทฤษฎีที่ใช้ในการวิ จยั กรอบทฤษฎีทใ่ี ช้ในการศึกษาคือ ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (Theory of Planned Behavior: TPB) เป็นทฤษฎีทเ่ี กีย่ วกับการเชือ่ มโยงระหว่างทัศนคติและพฤติกรรม ซึง่ พัฒนามาจาก ทฤษฎีการกระท�ำด้วยเหตุผล (Theory of Reasoned Action: TRA) โดยน�ำไปใช้เพือ่ ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างความเชือ่ ทัศนคติ ความตังใจเชิ ้ งพฤติกรรม และพฤติกรรมของมนุษย์ โดยทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน กล่าวว่าการแสดงพฤติกรรมของมนุษย์จะได้รบั อิทธิพล จากความตัง้ ใจแสดงพฤติกรรมและสิง่ ทีม่ อี ทิ ธิพลต่อความตัง้ ใจแสดงพฤติกรรมนัน้ ั ยหลัก 3 ประการ ได้แก่ ทัศนคติทม่ี ตี อ่ พฤติกรรม บรรทัดฐานของบุคคล ประกอบด้วยปจจั เกีย่ วกับพฤติกรรม และการรับรูถ้ งึ การควบคุมพฤติกรรมของตนเองในการแสดงพฤติกรรม ั ยหลัก โดยการรับรูถ้ งึ การควบคุมพฤติกรรมยังมีอทิ ธิพลโดยตรงต่อพฤติกรรมมนุษย์ดว้ ย ปจจั 3 ประการทีแ่ สดงถึงพฤติกรรมของมนุษย์จะเกิดจากการชีน้ �ำโดยความเชือ่ 3 ประการ ได้แก่ 1) ความเชือ่ เกีย่ วกับพฤติกรรม 2) ความเชือ่ เกีย่ วกับกลุม่ อ้างอิง และ 3) ความเชือ่ เกีย่ วกับความสามารถในการควบคุม ซึง่ ความเชื่อแต่ละตัวจะส่งผลต่อตัวแปรต่าง ๆ (Fishbein and Ajzen, 2010: 1-3) โดยตัวแปรแต่ละตัวมีความสัมพันธ์กนั ดังนี้ ความภักดีของนักท่องเที่ยว (Tourist Loyalty) ความภักดีของนักท่องเทีย่ วเกิดการสะสมประสบการณ์มาเป็ นระยะเวลาหนึ่ง จนเกิดเป็นความประทับใจและผูกพันกับแหล่งท่องเทีย่ วนัน้ และความภักดีนจ้ี ะยังคงอยูใ่ น ความรูส้ กึ ของนักท่องเทีย่ วตลอดไปตราบทีเ่ ขารับรูถ้ งึ คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการเข้ามาท่องเทีย่ ว หรือได้รบั ความพึงพอใจจากการเข้ามาท่องเทีย่ วจากแหล่งท่องเทีย่ วแห่งนี้ (Robinson and Etherington, 2006: 3-5) โดยการวัดความภักดีของนักท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านการท่องเทีย่ วซ�้ำ ด้านการแนะน�ำและบอกต่อ และด้านความเต็มใจทีจ่ ะ 5


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

จ่ายมากขึน้ (Robinson and Etherington, 2006: 6-8) จากการศึกษาผลงานวิจยั ทีผ่ า่ นมา ั ยทีส่ ง่ ผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ประกอบด้วย ความรับผิดชอบต่อ พบว่า ปจจั สังคมขององค์กร (Stanaland et al., 2011: 52-53) ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว (Zhang et al., 2014: 219-220) คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว (Forgas-Coll et al., 2012: 13171318) ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว และการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว (Lee et al., 2011: 1121-1122) อีกทัง้ ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรยังส่งผลทางอ้อมต่อ ความภักดีของผูบ้ ริโภคผ่านภาพลักษณ์ และผ่านความพึงพอใจของผูบ้ ริโภค (He and Li, 2011 : 685-686) ในขณะทีภ่ าพลักษณ์การท่องเทีย่ วส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ วผ่านคุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว (Meng et al., 2011: 26-27) และผ่าน ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว (Wang and Hsu, 2010: 840-841) ในขณะทีค่ ณ ุ ค่าทีไ่ ด้รบั จาก การท่องเทีย่ วส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วผ่านความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว (Kim et al., 2013: 323-324) นอกจากนี้ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางอ้อม ต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วผ่านการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว (Lee et al., 2011: 1121-1122) ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Corporate Social Responsibility: CSR) ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรนับว่าเป็นหน้าทีค่ วามรับผิดชอบต่อสังคมของ องค์กรทีจ่ ะต้องมีสว่ นร่วมในการช่วยเหลือสังคมตามก�ำลังและความสามารถทีจ่ ะช่วยได้ โดยเลือกประเด็นทางสังคมทีเ่ หมาะสมกับภารกิจทีด่ ำ� เนินการอยู่ โดยผ่านกิจกรรมต่าง ๆ และด�ำเนินการเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อสังคมอย่างแท้จริง โดยการก�ำหนด ตัวชีว้ ดั ของความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรจะต้องให้สอดคล้องกับประเภทขององค์กร และผูป้ ระเมินความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร (Den Hond et al., 2007: 3-5) ในการวิจยั ครังนี ้ ผ้ วู้ จิ ยั น�ำองค์ประกอบในการวัดความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรภาครัฐของ ประเทศไทยทีก่ �ำหนดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มาดัดแปลง ประกอบด้วย 2 ด้าน คือ ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อม และด้านผูร้ บั บริการ และจากผลการศึกษา ทีผ่ า่ นมาพบว่า ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรส่งผลทางตรงต่อความภักดีของผูบ้ ริโภค (Stanaland et al., 2011: 52-53) และส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของผูบ้ ริโภคโดยผ่าน ภาพลักษณ์องค์กรและผ่านความพึงพอใจของผูบ้ ริโภค (He and Li, 2011: 685-686) ภาพลักษณ์การท่องเที่ยว (Destination Image) ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ วเป็นความรู้ ความเชือ่ ความรูส้ กึ และความเข้าใจโดยรวม ของนักท่องเทีย่ วทีม่ ตี อ่ การท่องเทีย่ วในสถานทีน่ นั ้ ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านแหล่งท่องเทีย่ ว ด้านองค์กรทีก่ �ำกับดูแล ด้านสินค้าทีข่ าย เป็ นต้น สถานทีท่ ่องเทีย่ วทีม่ ภี าพลักษณ์ การท่องเทีย่ วทีด่ จี ะส่งผลให้นักท่องเทีย่ วเกิดความภักดีต่อแหล่งท่องเทีย่ วและท�ำให้ 6


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

นักท่องเทีย่ วได้รบั คุณค่าจากการท่องเทีย่ ว รวมถึงท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วเกิดความพึงพอใจต่อ สถานทีท่ ่องเทีย่ ว (Echtner and Ritchie, 2003: 37-38) ในการวิจยั ครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั น�ำ องค์ประกอบในการวัดภาพลักษณ์การท่องเทีย่ วของ Chen and Tsai (2007: 1119) มา ดัด แปลงประกอบด้วยตัวชี้ว ดั 3 ด้า นคือ ด้า นองค์ก ร ด้า นสินค้า และบริก าร และ ด้านแหล่งท่องเที่ยว และจากผลการวิจยั ที่ผ่านมาพบว่า ภาพลักษณ์ การท่องเที่ยว ส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว (Loureiro and Gonzalez, 2008: 133-134) และส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วโดยผ่านคุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว และผ่านความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว (Kim et al., 2013: 323-324) คุณค่าที่ได้รบั จากการท่องเที่ยว (Perceived Value) คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว หมายถึง อรรถประโยชน์ทงหมดที ั้ น่ กั ท่องเทีย่ ว ได้รบั จากการเข้ามาท่องเทีย่ วในสถานทีท่ ่องเทีย่ ว โดยนักท่องเทีย่ วจะเปรียบเทียบ ระหว่างผลประโยชน์ทไ่ี ด้รบั โดยรวมของคุณค่าทีไ่ ด้รบั ทัง้ หมดกับต้นทุนของนักท่องเทีย่ ว ทีเ่ สียไป ซึง่ คุณค่าทัง้ หมด หมายถึง คุณค่าทีเ่ ป็ นผลประโยชน์โดยรวมทัง้ หมดทีล่ กู ค้า คาดหวังจากการเข้ามาท่องเทีย่ ว ไม่วา่ จะเป็นคุณค่าเชิงเศรษฐกิจ เชิงหน้าที่ และเชิงจิตวิทยา ส่วนต้นทุนทัง้ หมดทีน่ กั ท่องเทีย่ วเสียไป หมายถึง ต้นทุนทีน่ กั ท่องเทีย่ วจะต้องเสียไป กับการท่องเทีย่ วทัง้ หมด ประกอบด้วยต้นทุนของเงินทีจ่ า่ ยไปทัง้ หมดกับการท่องเทีย่ ว ต้นทุนของเวลาทีส่ ญ ู เสียไปกับการท่องเทีย่ ว และต้นทุนของความพยายามทีจ่ ะเข้ามา ท่องเทีย่ ว เนื่องจากแหล่งท่องเทีย่ วแต่ละแห่งมีสงิ่ ดึงดูดใจ การให้บริการความรู้ และ กิจกรรมทางการท่องเทีย่ วทีห่ ลากหลายและแตกต่างกัน ดังนัน้ การสร้างคุณค่าให้แก่ การท่องเทีย่ วจ�ำเป็นจะต้องเข้าใจเกีย่ วกับความคาดหวังและความต้องการของนักท่องเทีย่ ว และสามารถตอบสนองต่อความคาดหวังและความต้องการของนักท่องเทีย่ วได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม (Chen and Tsai, 2007: 1115-116) ในการวิจยั ครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั น�ำองค์ประกอบ ในการวัดคุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ วของ Chen and Tsai (2007: 1119) มาดัดแปลง ประกอบด้วย 3 ด้านคือ ด้านคุม้ ค่าเงิน ด้านคุม้ ค่าเวลา และด้านคุม้ ค่าความพยายาม และจากผลการวิจยั ทีผ่ ่านมาพบว่า คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อ ความภักดีของนักท่องเทีย่ ว และส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วโดยผ่าน ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว (Forgas-Coll et al., 2012: 1317-1318) ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว (Tourist Satisfaction) ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว หมายถึง ท่าที ความรูส้ กึ หรือเจตคติในทางทีด่ ี ของนักท่องเทีย่ วทีม่ ตี ่อแหล่งท่องเทีย่ ว โดยการเปรียบเทียบกันระหว่างการรับรูข้ อง นักท่องเทีย่ วกับความคาดหวังของนักท่องเทีย่ วในคุณภาพบริการของแหล่งท่องเทีย่ ว หากการรับรูค้ ณ ุ ภาพบริการของนักท่องเทีย่ วมากกว่าความคาดหวังคุณภาพบริการของ 7


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

นักท่องเที่ยวก็จะท�ำให้นักท่องเที่ยวเกิดความพึงพอใจมาก และท�ำให้นักท่องเที่ยว เกิดความรูส้ กึ อยากกลับมาท่องเทีย่ วยังสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วแห่งนี้อกี ครัง้ ในทางตรงกันข้าม หากการรับรูค้ ณ ุ ภาพบริการของนักท่องเทีย่ วน้อยกว่าความคาดหวังคุณภาพบริการของ นักท่องเทีย่ วก็จะท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วเกิดความพึงพอใจน้อยหรือไม่พงึ พอใจ และจะไม่เข้ามา ท่องเที่ยวยังสถานที่ท่องเที่ยวแห่งนี้อีก ในการวิจยั ครัง้ นี้ผู้วจิ ยั น� ำองค์ประกอบใน การวัดความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วของเครือ่ งมือ Akama and Kieti (2003) มาดัดแปลง ประกอบด้วย 5 ด้านคือ ด้านสิง่ ทีส่ มั ผัสได้ ด้านความน่ าเชื่อถือ ด้านการตอบสนอง ด้านความเชื่อมันไว้ ่ วางใจ และด้านการเอาใจใส่ และจากผลการวิจยั ทีผ่ ่านมาพบว่า ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว และส่งผล ทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วโดยผ่านการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว (Wang et al., 2009: 402-403) การร้องเรียนของนักท่องเที่ยว (Tourist Complaints) การร้องเรียนของนักท่องเทีย่ วเป็นการแสดงออกโดยการบอกกล่าวถึงคุณภาพบริการ ในแหล่งท่องเทีย่ วทีน่ กั ท่องเทีย่ วไม่พงึ พอใจ โดยผูบ้ ริโภคแต่ละรายอาจจะมีการร้องเรียน ทีเ่ หมือนกันหรือแตกต่างกันขึน้ อยูก่ บั ประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั หรือการให้ความส�ำคัญต่อสิง่ นัน้ และในการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ วมีจดุ มุง่ หมายหลักเพือ่ ต้องการได้รบั เกียรติ ศักดิศรี ์ หรือการดูแลเอาใจใส่ ในกรณีทพ่ี นักงานผูใ้ ห้บริการพูดจาหยาบคาย ก้าวร้าว ข่มขู่ หรือ แสดงความไม่สนใจ โดยนักท่องเทีย่ วรูส้ กึ ว่าควรจะได้รบั การบริการทีด่ กี ว่านี้ ซึง่ การร้องเรียน ของนักท่องเทีย่ วเป็ นสิง่ ทีด่ สี ำ� หรับองค์กรทีท่ ำ� หน้าทีก่ �ำกับดูแลสถานทีท่ ่องเทีย่ ว เพือ่ ทีจ่ ะได้ทราบถึงจุดอ่อนในคุณภาพบริการขององค์กร และท�ำให้เกิดการพัฒนาปรับปรุง และแก้ไขให้ดยี งิ่ ขึน้ (Lee et al., 2007: 204-205) ในการวิจยั ครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั น�ำองค์ประกอบ ในการวัดการร้องเรียนของ Wang et al. (2009: 401) มาดัดแปลงประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านการร้องเรียนต่อองค์กรผูใ้ ห้บริการ ด้านการร้องเรียนต่อหน่วยงานทีก่ ำ� กับดูแล และด้านการเผยแพร่ขอ้ มูลด้านลบไปยังเพือ่ นหรือญาติรวมถึงสือ่ และจากผลการวิจยั ทีผ่ า่ นมา พบว่ า การร้อ งเรีย นของนั ก ท่ อ งเที่ย วมีค วามสัม พัน ธ์ท างลบที่ส่ ง ผลทางตรงต่ อ ความภักดีของนักท่องเทีย่ ว (Wang et al., 2009: 402-403)

8


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

กรอบแนวคิ ดในการวิ จยั

ภาพที ่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

สมมติ ฐานการวิ จยั จากการทวบทวนเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ผูว้ จิ ยั ได้ตงั ้ สมมติฐานดังนี้ สมมติ ฐานที่ 1 ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรส่งผลทางตรงต่อความภักดี ของนักท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 2 ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรส่งผลทางอ้อมต่อความภักดี ของนักท่องเทีย่ วผ่านภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 3 ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรส่งผลทางอ้อมต่อความภักดี ของนักท่องเทีย่ วผ่านความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 4 ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 5 ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ วส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ วผ่านคุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 6 ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ วส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ วผ่านความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 7 คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 8 คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ วส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ วผ่านความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 9 ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ ว 9


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

สมมติ ฐานที่ 10 ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ วผ่านการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว สมมติ ฐานที่ 11 การร้องเรียนของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของ นักท่องเทีย่ ว วิ ธีดำ� เนิ นการวิ จยั งานวิจยั นี้เป็นการวิจยั เชิงความสัมพันธ์ (interrelationship research) การศึกษา ครัง้ นี้มวี ธิ กี ารด�ำเนินการวิจยั ดังต่อไปนี้ 1. ประชากรทีศ่ กึ ษา คือ นักท่องเทีย่ วชาวไทยทีม่ อี ายุตงแต่ ั ้ 15 ปีขน้ึ ไป ทีเ่ ข้ามา ท่องเทีย่ วอุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย โดยอุทยานแห่งชาติทางบก ในภาคใต้ของประเทศไทยมีจำ� นวนทัง้ สิน้ 18 แห่ง โดยผูว้ จิ ยั ใช้ขอ้ มูลย้อนหลัง 5 ปี ตัง้ แต่ ปี ง บประมาณ 2550 – 2554 และน� ำจ�ำนวนประชากรทัง้ 5 ปี ม าหาค่า เฉลี่ย และ น�ำมารวมกันได้จำ� นวนประชากรทัง้ สิน้ 525,727 คน 2. การก�ำหนดขนาดของกลุม่ ตัวอย่างโดยการใช้จำ� นวนประชากร 525,727 คน ค�ำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมันร้ ่ อยละ 95 โดยมีความคาดเคลือ่ นร้อยละ 5 ได้ขนาดกลุม่ ตัวจ�ำนวน 400 ตัวอย่าง (Yamane, 1973: 125) เนือ่ งจากแบบสอบถามทีต่ วั อย่างตอบอาจขาดความสมบูรณ์ ผูว้ จิ ยั จึงเพิม่ ขนาดตัวอย่าง เป็น 2 เท่าของกลุม่ ตัวอย่างขันต� ้ ่ำ ท�ำให้งานวิจยั นี้มกี ลุม่ ตัวอย่างรวมทัง้ สิน้ 800 ตัวอย่าง จากนัน้ ผูว้ จิ ยั จึงท�ำการคัดเลือกอุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้รอ้ ยละ 50 เพือ่ เป็นตัวแทน ของอุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ในการเก็บแบบสอบถาม โดยใช้วธิ กี ารสุม่ ตัวอย่าง โดยอาศัยความน่าจะเป็ น (probability sampling) โดยเลือกวิธกี ารสุม่ ตัวอย่างอย่างง่าย (simple random sampling) ด้วยการจับสลากชื่ออุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ จ�ำนวน 9 แห่งจากจ�ำนวนทัง้ หมด 18 แห่ง จากนัน้ ท�ำการก�ำหนดจ�ำนวนกลุม่ ตัวอย่าง ของอุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ทงั ้ 9 แห่งอย่างเป็ นสัดส่วนเพือ่ ให้ได้จำ� นวน 800 ตัวอย่าง 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม เริม่ ต้นผูว้ จิ ยั ใช้การเลือกตัวอย่าง แบบบังเอิญ โดยผูว้ จิ ยั และผูช้ ว่ ยวิจยั เดินไปยังบริเวณทีม่ กี ลุม่ นักท่องเทีย่ ว จากนัน้ เมือ่ พบ กลุ่มนักท่องเทีย่ วและทราบจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วในกลุ่ม ผูว้ จิ ยั ใช้วธิ กี ารสุ่มตัวอย่าง ด้วยการจับสลากเพื่อเลือกตัวแทนในกลุ่มจ�ำนวน 1 คน และในการเก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง โดยการให้แบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่างเพื่อตอบเอง และเลือกเฉพาะ กลุม่ ตัวอย่างทีท่ อ่ งเทีย่ วเสร็จแล้ว 4. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว 10


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ชาวไทยทีม่ ตี อ่ อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย เพือ่ หาความสัมพันธ์ของ ตัวแปรต้นทีม่ ตี อ่ ตัวแปรตาม ทัง้ ความสัมพันธ์ทางตรง (direct effect) และความสัมพันธ์ ทางอ้อม (indirect effect) วิเคราะห์ดว้ ยโปรแกรมลิสเรล และประมาณค่าพารามิเตอร์ ด้วยวิธไี ลค์ลฮิ ดู้ สูงสุด (maximum likelihood: ML) เพือ่ ตรวจสอบความสอดคล้องของ แบบจ�ำลองสมมติฐานการวิจยั กับข้อมูลเชิงประจักษ์ การประเมินความสอดคล้องใช้ดชั นี ต่อไปนี้ (Hair et al., 2010; Schumacher and Lomax, 2010) 4.1 ค่า รากที่ส องของค่า เฉลี่ย ความคลาดเคลื่อ นก� ำ ลัง สองของ การประมาณค่า (root mean square error of approximation: RMSEA และ 90 percent confidence interval for RMSEA: CI) เป็ นดัชนีทบ่ี ่งบอกถึงความไม่สอดคล้องของ แบบจ�ำลองกับเมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมของประชากร โดยค่า RMSEA ทีด่ มี ากควร มีคา่ น้อยกว่า 0.05 ค่าระหว่าง 0.05 – 0.08 หมายถึง แบบจ�ำลองค่อนข้างสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ ถ้าค่าอยูร่ ะหว่าง 0.08 – 0.10 แสดงว่าแบบจ�ำลองสอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์เพียงเล็กน้อย และค่าทีม่ ากกว่า 0.10 แสดงว่าแบบจ�ำลองยังไม่สอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ 4.2 ดัชนีความสอดคล้องเชิงสัมพัทธ์ (relative fit index) ได้แก่ NNFI (non-normed fit index) และ CFI (comparative fit index) ทัง้ 2 ดัชนีน้ีเป็ นดัชนีทใ่ี ช้วดั ความสอดคล้องเปรียบเทียบ โดยค่า NNFI และ CFI ทีด่ คี วรมีคา่ ตัง้ แต่ 0.90 ขึน้ ไป 4.3 ดัชนีวดั ความสอดคล้องในรูปความคลาดเคลื่อนทีน่ ิยมใช้ได้แก่ (standardized root mean square residual: SRMR) ซึง่ เป็นค่าสรุปของค่า standardized residual โดยค่า SRMR ทีด่ คี วรมีคา่ ต�่ำกว่าหรือเท่ากับ 0.08 5. การพิจารณาค่าสัมประสิทธิ ์อิทธิพลทางตรงและทางอ้อมด้วยค่าสถิติ t โดย ค่าสัมประสิทธิ ์ต้องมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 และ .01 ผลการวิ จยั ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของปจจั ชาวไทยทีม่ ตี อ่ อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย พบว่า RMSEA เท่ากับ 0.057 (90 percent confidence interval เท่ากับ 0.052-0.062) NNFI เท่ากับ 0.99 CFI เท่ากับ 0.99 และ SRMR เท่ากับ 0.051 ค่าดัชนีดงั กล่าวมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึง่ ผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุบง่ บอกว่า แบบจ�ำลองมีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์ นอกจากนี้ ผลการประมาณค่าสัมประสิทธิ ์อิทธิพลทางตรง (DE) และอิทธิพล ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว พบว่า ความรับผิดชอบต่อ ทางอ้อม (IE) ของปจจั 11


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

สังคมขององค์กรส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ่ี .01 สัมประสิทธิ ์อิทธิพลเท่ากับ 0.16 ซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 1 อีกทังความรั ้ บผิดชอบ ต่อสังคมขององค์กรยังส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วโดยผ่านภาพลักษณ์ การท่องเทีย่ ว และความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ่ี .01 สัมประสิทธิ ์อิทธิพล เท่ากับ 0.38 ซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 2 และ 3 ในขณะทีภ่ าพลักษณ์การท่องเทีย่ ว ส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ่ี .01 สัมประสิทธิอิ์ ทธิพล เท่ากับ 0.18 ซึ่งเป็ นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 4 อีกทัง้ ภาพลักษณ์ การท่องเที่ยว ยังส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วโดยผ่านคุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว และความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว มีนัยส�ำคัญทางสถิตทิ ่ี .01 สัมประสิทธิ ์อิทธิพล เท่ากับ 0.17 ซึง่ เป็ นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 5 และ 6 ในขณะทีค่ ณ ุ ค่าทีไ่ ด้รบั จาก การท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 สัมประสิทธิอิ์ ทธิพลเท่ากับ 0.21 ซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 7 อีกทัง้ คุณค่า ที่ได้รบั จากการท่องเที่ยวยังส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวโดยผ่าน ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 สัมประสิทธิ ์อิทธิพล เท่า กับ 0.13 ซึ่งเป็ นไปตามสมมติฐ านการวิจ ยั ที่ 8 นอกจากนี้ ค วามพึง พอใจของ นักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว มีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 สัมประสิทธิ ์อิทธิพลเท่ากับ 0.23 ซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 9 อีกทังความพึ ้ งพอใจ ของนักท่องเทีย่ วยังส่งผลทางอ้อมต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วโดยผ่านการร้องเรียน ของนักท่องเทีย่ ว มีนัยส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 สัมประสิทธิ ์อิทธิพลเท่ากับ 0.09 ซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 10 ในขณะทีก่ ารร้องเรียนของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรง ต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว มีนัยส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 สัมประสิทธิอิ์ ทธิพล เท่ากับ -0.16 เป็ นไปตามสมมติฐานการวิจยั ที่ 11 ดังตารางที่ 1 และภาพประกอบที่ 2 ตารางที ่ 1 ผลการประมาณค่าสัมประสิทธิ ์อิทธิพลทางตรง (DE) อิทธิพลทางอ้อม (IE) และอิทธิพลรวม (TE) ของปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแปรผล ความภักดีของนักท่องเทีย่ ว

ตัวแปรสาเหตุ DE

IE

TE

ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร

0.17**

0.38**

0.55**

ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว

0.18**

0.17**

0.35**

คุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว

0.21**

0.13**

0.34**

ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว

0.23**

0.09**

0.32**

การร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว

-0.16**

-

-0.16**

** หมายถึง นัยส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 12


13

ภาพที ่ 2 ผลการประมาณค่าสัมประสิทธิคะแนนมาตรฐานความสั มพันธ์ของปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ์

** หมายถึง นัยส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

สรุปและอภิ ปรายผลการวิ จยั ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Stanaland et al. (2011: 52-53) และส่งผลทางอ้อม โดยผ่านภาพลักษณ์การท่องเทีย่ วและความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว ซึง่ สอดคล้องกับ ผลการศึกษาของ He and Li (2011: 685-686) ในขณะที่ภาพลักษณ์ การท่องเที่ยว ส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วและส่งผลทางอ้อมโดยผ่านคุณค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ วและความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Loureiro and Gonzalez (2008: 133-134) นอกจากนี้คณ ุ ค่าทีไ่ ด้รบั จากการท่องเทีย่ ว ส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ วและส่งผลทางอ้อมโดยผ่านความพึงพอใจ ของนักท่องเทีย่ ว ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Forgas-Coll et al. (2012: 13171318) ในขณะทีค่ วามพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรงต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว และส่งผลทางอ้อมโดยผ่านการร้องเรียนของนักท่องเทีย่ ว ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษา ของ Wang et al. (2009: 402-403) นอกจากนีก้ ารร้องเรียนของนักท่องเทีย่ วส่งผลทางตรง เชิงลบต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ซึง่ สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Lee et al. (2011: 1121-1122) ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิ จยั ไปใช้ 1. อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทยควรก�ำหนดนโยบายและ จัดท�ำเป็นแผนงานเกีย่ วกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร ซึง่ ประกอบด้วย 2 ด้าน ดังนี้ 1.1 ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อม โดยการจัดท�ำแผนการส่งเสริมกิจกรรม การอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมและกิจกรรมเพือ่ สังคม เช่น การใช้สนิ ค้าและบริการทีเ่ ป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม การน�ำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ 1.2 ด้านผูร้ บั บริการ โดยการจัดท�ำแผนการรักษาความปลอดภัย ของนักท่องเทีย่ ว เช่น การจัดศูนย์ประสานงานด้านความปลอดภัย การจัดหน่วยพยาบาล เพือ่ ช่วยเหลือนักท่องเทีย่ วในกรณีฉุกเฉิน 2. การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยควรก�ำหนดนโยบายเกีย่ วกับภาพลักษณ์ การท่องเทีย่ ว โดยจัดท�ำเป็นแผนงานการโฆษณาประชาสัมพันธ์อทุ ยานแห่งชาติทางบก ในภาคใต้ของประเทศไทยโดยผ่านสือ่ ต่าง ๆ ทีส่ ามารถเข้าถึงกลุ่มนักท่องเทีย่ ว เช่น ประชาสัมพันธ์ผา่ นสือ่ โทรทัศน์ วิทยุ อินเตอร์เน็ต ป้ายโฆษณา วารสารการท่องเทีย่ ว และคู่มอื การท่องเทีย่ ว เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วได้รจู้ กั แหล่งท่องเทีย่ วในอุทยานแห่งชาติ 14


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย และเป็ นการกระตุน้ ให้เกิดการเข้ามาท่องเทีย่ ว 3. อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทยควรก�ำหนดนโยบายและจัดท�ำ เป็ นแผนงานเกีย่ วกับการสร้างคุณค่าให้เกิดกับการท่องเทีย่ วในอุทยานแห่งชาติทางบก ในภาคใต้ของประเทศไทย โดยก�ำหนดเป็ นแผนงานผ่านโครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การจัดอบรมให้ความรูแ้ ก่นกั ท่องเทีย่ วเกีย่ วกับการท่องเทีย่ ว การจัดนิทรรศการ และจัดบอร์ดให้ความรูแ้ ละข้อควรปฏิบตั เิ กีย่ วกับการท่องเทีย่ ว 4. อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทยควรก�ำหนดนโยบายและ จัดท�ำเป็ นแผนงานเกี่ยวกับการสร้างคุณภาพบริการทีด่ ขี องอุทยานแห่งชาติทางบก ในภาคใต้ของประเทศไทยเพือ่ ตอบสนองต่อความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ ว 5. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พชื และอุทยานแห่งชาติทางบก ในภาคใต้ของประเทศไทยควรก�ำหนดนโยบายและจัดท�ำแผนงานเกีย่ วกับการรับเรือ่ งร้องเรียน ของนักท่องเทีย่ ว ข้อเสนอแนะในการท�ำวิ จยั ครัง้ ต่อไป ั ยทีเ่ กีย่ วข้องกับความภักดีของนักท่องเทีย่ ว โดยพิจารณาถึง 1. ควรก�ำหนดปจจั ความสอดคล้องกันในแต่ละบริบททีต่ อ้ งการจะศึกษาทัง้ ปจั จัยภายในและปจั จัยภายนอก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปจั จัยภายนอก ซึง่ มีหลายปจั จัยทีม่ คี วามน่าสนใจในการน�ำไปศึกษา เช่น สภาพเศรษฐกิจ สภาพอากาศ สถานการณ์ทางการเมือง และภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ เป็ นต้น และควรแยกกลุม่ ตัวอย่างในการศึกษา เพือ่ ให้สามารถบอกถึงปจั จัยทีส่ ง่ ผลต่อ ความภักดีของนักท่องเทีย่ วได้อย่างชัดเจนมากขึน้ เช่น แบ่งตามกลุม่ อายุ กลุม่ รายได้ เป็ นต้น 2. ควรน�ำผลการวิจยั นี้ไปศึกษาต่อในอุทยานแห่งชาติทางบกในภาคอืน่ ๆ ของ ประเทศไทย ว่าผลทีไ่ ด้มคี วามเหมือนหรือแตกต่างกับงานวิจยั นี้หรือไม่





15




ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

References Akama, J. S. and Kieti, D. M. (2003). Measuring tourist satisfaction with Kenya’s wildlife safari: a case study of Tsavo West National Park. Tourism Management, 24(1): 73-81. Chen, C. F. and Tsai, D. (2007). How Destination Image and Evaluative Factors Affect Behavioral Intentions?. Tourism Management, 28(4): 1115-1122. Diamantopoulos, A. and Siguaw, J. A. (2000). Introducing Lisrel : A Guide for the Uninitiated. London: SAGE. Echtner, C. M. and Ritchie, J. R. B. (2003). The Meaning and Measurement of Destination Image. The Journal of Tourism Studies, 14(1): 37-48. Fishbein, M. and Ajzen, I. (2010). Predicting and Changing Behavior: The Reasoned Action Approach. New York: Psychology Press. Forgas-Coll, S., Palau-Saumell, R., Sánchez-García, J., and Callarisa-Fiol, L. J. (2012). Urban Destination Loyalty Drivers and Cross-National Moderator Effects: The Case of Barcelona. Journal Tourism Management, 33(6): 1309-1320. Jankingthong, W. (2014). Destination Image in Thailand (ภาพลักษณ์การท่องเทีย่ ว ของประเทศไทย). Silpakorn University Journal, 34(1): 31-50. Jankingthong, W. (2014). Theory of Planned Behavior and Tourist Loyalty (ทฤษฎี พฤติกรรมตามแผนกับความภักดีของนักท่องเทีย่ ว). Silpakorn University Journal, 34(2): 131-146. Jankingthong, W. (2015). The Thai Tourist Satisfaction toward National Parks Land in Southern Thailand (ความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วชาวไทยทีม่ ตี ่อ อุทยานแห่งชาติทางบกในภาคใต้ของประเทศไทย). University of the Thai Chamber of Commerce Journal, 35(1): 64-74. Jankingthong, W. (2015). Antecedents and Consequences of Thai Tourist Satisfaction in Khao Pu - Khao Ya National Park, Phatthalung Province (ปจั จัยเหตุและผลของความพึงพอใจของนักท่องเทีย่ วชาวไทยในอุทยานแห่ง ชาติ เขาปู่-เขาย่า จังหวัดพัทลุง). University of the Thai Chamber of Commerce Journal, 35(2): 1-15. Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., and Anderson, R. E. (2010). Multivariate 16


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

Data Analysis: A Global Perspective (7th ed). London: Pearson Education. He, H. and Li, Y. (2011). CSR and Service brand: The Mediating Effect of Brand Identification and Moderating Effect of Service Quality. Journal of Business Ethics, 100(4): 673-688. den Hond. F., de Bakker, F. G. A., and Neergaard, P. (2007). Managing Corporate Social Responsibility in Action: Talking, Doing and Measuring. Aldershot, Hampshire, England; Burlington, VT: Ashgate. Kim, S. H., Holland, S., and Han, H. S. (2013). A Structural Model for Examining How Destination Image, Perceived Value, and Service Quality Affect Destination Loyalty: A Case Study of Orlando. International Journal of Tourism Research, 15(4): 313-328. Lee, C. K., Yoon, Y. S., and Lee, S. K. (2007). Investigating the Relationships among Perceived Value, Satisfaction, and Recommendations: The Case of the Korean DMZ. Tourism Management, 28(1): 204-214. Lee, S., Jeon, S., and Kim, D. (2011). The Impact of Tour Quality and Tourist Satisfaction on Tourist Loyalty: The Case of Chinese Tourists in Korea. Tourism Management, 32(5): 1115-1124. Loureiro, S. M. C. and Gonzalez, F. J. M. (2008). The Importance of Quality, Satisfaction, Trust, and Image in Relation to Rural Tourist Loyalty. Journal of Travel and Tourism Marketing, 25(2): 117-136. Meng, S. M., Liang G.-S., and Yang S.-H. (2011). The Relationships of Cruise Image, Perceived Value, Satisfaction, and Post-Purchase Behavioral Intention on Taiwanese Tourists. African Journal of Business Management, 5(1): 19-29. Nation Channel Online. (2011). Revenue Vary with the Number of Tourists (รายได้ผนั แปรไปกับจ�ำนวนนักท่องเที่ยว). [Online]. Retrieved December 20, 2012 from http://77.nationchannel.com/playvideo.php?id=163876. Reisinger, Y. (2009). International Tourism: Cultures and Behavior. Oxford: Butterworth-Heinemann. Robinson, S. and Etherington, L. (2006). Customer Loyalty: A Guide for Time Travelers. New York: Palgrave Macmillan. 17


ั ยทีส่ ง่ ผลต่อความภักดีของนักท่องเทีย่ ว ตัวแบบสมการโครงสร้างของปจจั

วิวฒ ั น์ จันทร์กงิ่ ทอง

Schumacker, R. E. and Lomax, R. G. (2010). A Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling (3rd ed.). New York: Routledge. Stanaland, A., Lwin, M., and Murphy, P. (2011). Consumer Perceptions of the Antecedents and Consequences of Corporate Social Responsibility. Journal of Business Ethics, 102(1): 47-55. Thailand Department of National Parks. (2011). Statistic of Tourist in National Parks (สถิตินกั ท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติ ). [Online]. Retrieved December 20, 2012 from http://77.nationchannel.com/playvideo.php?id=163876. Velázquez, B. M., Saura, I. G., and Molina, M. E. R. (2011). Conceptualizing and Measuring Loyalty: Towards a Conceptual Model of Tourist Loyalty Antecedents. Journal of Vacation Marketing, 17(1): 65-81. Wang, C. Y. and Hsu, M. K. (2010). The Relationships of Destination Image, Satisfaction, and Behavioral Intentions: An Integrated Model. Journal of Travel and Tourism Marketing, 27(8): 829-843. Wang, X., Zhang, J., Gu, C., and Zhen, F. (2009). Examining Antecedents and Consequences of Tourist Satisfaction: A Structural Modeling Approach. Tsinghua Science and Technology, 14(3): 397- 406. Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3 rd ed.). New York: Harper and Row.

18


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิ ชาชีพบัญชี และประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของนักบัญชี : กรณีศกึ ษา นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกรุงเทพมหานคร ฉัตรอมร แย้มเจริ ญ1 บทคัดย่อ การวิจยั นี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของนักบัญชีและความสัมพันธ์ ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพ การท�ำงานของนักบัญชี กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั คือนักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 478 บริษทั เครือ่ งมือทีใ่ ช้ ในการวิจยั คือแบบสอบถาม โดยได้รบั การตอบกลับมาจ�ำนวน 115 คน ผลการวิจยั พบว่า โดยภาพรวมนักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร มีความคิดเห็นเกีย่ วกับจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ อยูใ่ นระดับมาก จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ และประสิทธิภาพการท�ำงาน อยู่ในระดับมาก จากการทดสอบความสัมพันธ์โดยภาพรวมระหว่างตัวแปรอิสระ คือ จริยธรรมด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี กับตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพการท�ำงาน พบว่า จริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ในด้านความคิดเห็น และการใช้ดลุ ยพินิจ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงาน และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน และด้านความรับผิดชอบ ต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็นหุน้ ส่วน บุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ มีความสัมพันธ์และผลกระทบ เชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงานทีร่ ะดับนัยส�ำคัญ 0.01 ดังนัน้ นักบัญชีจงึ ควรมีมนุษยสัมพันธ์ตอ่ กันโดยมีความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินจิ ในการปฏิบตั งิ านอย่างมีเหตุผลเป็นหลัก ประกอบกับการยึดมันในมาตรฐานทางวิ ่ ชาชีพ และวิชาการในการปฏิบตั งิ าน และส�ำนึกในความรับผิดชอบของตนทีต่ อ้ งท�ำให้กบั องค์กร

1 นักศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ อีเมล chatarmorn@ hotmail.com

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 19-43, 2558


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

ในฐานะนายจ้าง จะท�ำให้นกั บัญชีตระหนักและใช้ความสามารถในการปฏิบตั งิ านได้อย่างเต็มที่ อันจะท�ำให้เกิดประสิทธิภาพการท�ำงานสูงสุดและเป็ นประโยชน์ต่อองค์กร ค�ำ ส�ำ คัญ : 1. จริย ธรรมด้า นการมีมนุ ษ ยสัมพัน ธ์. 2. จรรยาบรรณวิช าชีพ บัญ ชี. 3. ประสิทธิภาพการท�ำงาน. 4. นักบัญชี.

20


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

The Relationships between the Morals in Aspect of Having Human Relations, the Accounting Professional Ethics and the Work Efficiency of Accountants: The Case Study of Accountants in the Listed Companies in Stock Exchange of Thailand in Bangkok Metropolis Chatarmorn Yamcharoen2

Abstract This research aimed to study the opinions of accountants and relationships between the morals in aspect of having human relations, the accounting professional ethics and the work efficiency of accountants. The research samples were the accountants from 478 listed companies in Stock Exchange of Thailand in Bangkok Metropolis. The tools used in the research were questionnaires, and a total of 115 responses were received. The results showed that overall, the accountants’ opinions toward the morals in aspect of having human relations, the accounting professional ethics, and the work efficiency are in the high, highest, and high levels, respectively. The overall relationships between the independent variables (the morals in aspect of having human relations and the accounting professional ethics) and the dependent variable (the work efficiency) were tested. It was found that the morals in aspect of having human relations, opinion and discretion had relation to and positive effects on the work efficiency. Besides, the accounting professional ethics, regarding work performance standard and responsibility towards shareholders, partners, individuals or juristic persons working for them had relation to and positive effects on the work efficiency at a significant level of 0.01. Therefore, the accountants should base their human relations on reasonable opinions and discretion, have commitment to professional and

2 Graduate Student in Master of Business Administration Program, Rajapruk University, Nonthaburi, Thailand. E-mail address: chatarmorn@hotmail.com

21


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

academic standards, and realize their responsibilities toward the organization that employs them. These help the accountants to realize and employ their full potential, which will yield the highest work efficiency and benefits to the organization. Keywords: 1. Morals in Aspect of Having Human Relations. 2. Accounting Professional Ethics. 3. Work Efficiency. 4. Accountant.

22


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

บทน�ำ มนุ ษย์เป็ นสัตว์สงั คมทีต่ ้องมีปฏิสมั พันธ์เกี่ยวข้องกัน มีการอยู่ร่วมกันและ ด�ำเนินชีวติ ร่วมกัน ไม่วา่ จะเป็นสมาชิกในครอบครัว เพือ่ น บุคคลในองค์กร ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มนุ ษ ย์จึง มีค วามจ� ำ เป็ น ต้อ งใช้ม นุ ษ ยสัม พัน ธ์เ ป็ น สะพานเชื่อ ม ั บนั ความสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กัน ซึง่ ถือเป็นจริยธรรมในการด�ำเนินชีวติ อย่างหนึ่ง โดยในปจจุ มนุ ษยสัมพันธ์เป็ นสิง่ ทีม่ คี วามจ�ำเป็ นอย่างยิง่ ต่อสังคม เพราะทุกวันนี้ในสังคมมักมี เหตุการณ์ทไ่ี ม่พงึ ประสงค์หลายอย่าง เช่น ความคิดเห็นทีไ่ ม่ลงรอยกัน ความแตกแยก ขาดความสามัคคี การแบ่งพรรคแบ่งพวก การใส่รา้ ยป้ายสีซง่ึ กันและกัน เป็นต้น ล้วนแต่ แสดงให้เห็นว่าสังคมในปจั จุบนั ยังมีความต้องการในเรือ่ งมนุษยสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กันของ บุคคลในสังคมเพือ่ ทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสุข ั บนั การด�ำเนินงานขององค์กรต่าง ๆ มีความกระตือรือร้นทีจ่ ะด�ำเนินงาน ในปจจุ ให้บรรลุเป้าหมายทีว่ างไว้และมีการแข่งขันระหว่างกันสูง โดยเฉพาะอย่างยิง่ บริษทั จดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ในเมืองหลวงของประเทศอย่างกรุงเทพมหานคร ซึง่ ต้องมีการบริหารงาน และด�ำเนินกิจการให้มผี ลก�ำไรและผลตอบแทนแก่ผถู้ อื หุน้ ทุก ๆ คน ในสภาวการณ์ ั บนั โดยมีอาชีพหนึง่ ทีม่ บี ทบาทส�ำคัญ นันคื แห่งการแข่งขันทางธุรกิจในปจจุ ่ ออาชีพนักบัญชี เพราะการด�ำเนินงานต่าง ๆ มักเกีย่ วข้องกับการใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่างจ�ำกัด ซึง่ มี มูลค่าหรือต้นทุนในตัวของมันเอง ผูบ้ ริหารจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องวางแผน ควบคุม และตัดสินใจ เกีย่ วกับการด�ำเนินงานเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมาย โดยใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า และผูบ้ ริหาร ย่อมต้องใช้ขอ้ มูลสารสนเทศทางการบัญชีประกอบการตัดสินใจอยูเ่ สมอ หน่วยงานด้านบัญชี และนักบัญชีขององค์กรจึงมีบทบาทส�ำคัญในการด�ำเนินงานขององค์กร โดยทัวไป ่ ข้อมูลสารสนเทศทางการบัญชียอ่ มมิได้เกิดจากนักบัญชีเพียงคนใด คนหนึ่ง แต่เกิดขึน้ จากความร่วมมือของนักบัญชีหลาย ๆ คน ประสานงานและร่วมกัน จัดท�ำขึน้ มา นักบัญชีจงึ หลีกเลีย่ งไม่ได้ทจ่ี ะต้องใช้มนุษยสัมพันธ์ระหว่างกัน นอกจากนี้ นักบัญชียงั ต้องมีจริยธรรมในการท�ำงาน รวมถึงต้องปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ตามพระราชบัญ ญัติวชิ าชีพบัญ ชี พ.ศ. 2547 และข้อ บัง คับ ของสภาวิช าชีพ บัญ ชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ฉบับที่ 19) เรือ่ ง จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553 ด้วย ซึง่ เป็ นแนวทางในการควบคุมความประพฤติและการด�ำเนินงานของผูป้ ระกอบ วิชาชีพบัญชี ประสิทธิภาพการท�ำงานก็เป็นอีกสิง่ ส�ำคัญ เพราะข้อมูลสารสนเทศทางการบัญชี มีผทู้ เ่ี กีย่ วข้องและต้องการใช้ประโยชน์จำ� นวนมาก ไม่วา่ จะเป็นผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ แผนก หรือฝา่ ยอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง หน่ วยงานราชการหรือหน่ วยงานทีก่ �ำกับดูแล หรือแม้แต่ นักบัญชีดว้ ยกันเอง นักบัญชีจงึ จ�ำเป็นทีจ่ ะต้องปฏิบตั งิ านให้มปี ระสิทธิภาพ โดยใช้ทกั ษะ 23


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

ความรูค้ วามสามารถ เทคนิควิธกี าร และทรัพยากรต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและคุม้ ค่า เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลสารสนเทศทางการบัญชีทร่ี วดเร็ว น่าเชือ่ ถือ ถูกต้องตามมาตรฐาน และทันต่อ การใช้ประโยชน์ การวัดประสิทธิภาพนัน้ ไม่จำ� เป็นต้องแสดงค่าเชิงตัวเลข เช่น การเปรียบเทียบ ต้นทุนกับผลก�ำไร แต่อาจแสดงด้วยลักษณะการใช้ทรัพยากร รวมถึงกลยุทธ์หรือเทคนิค วิธกี ารต่าง ๆ ทีส่ ามารถเกิดผลของงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว มีคณ ุ ภาพ และมีความผิดพลาด หรือการสูญเปล่าน้อยทีส่ ดุ ดังนัน้ การมีมนุษยสัมพันธ์และการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ วิชาชีพบัญชีของนักบัญชีจงึ อาจถือเป็นส่วนหนึง่ ของเทคนิควิธกี ารในการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ เกิดประสิทธิภาพในการท�ำงานของนักบัญชี ด้วยเหตุผลทีก่ ล่าวมาทัง้ หมด ผูว้ จิ ยั จึงมีความสนใจทีจ่ ะศึกษาถึงความสัมพันธ์ ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพ การท�ำงานของนักบัญชี : กรณีศกึ ษา นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทยในกรุ ง เทพมหานคร เพื่อ ให้ท ราบว่ า นั ก บัญ ชีม ีจ ริย ธรรมด้า น การมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพการท�ำงานอยูใ่ นระดับใด มีค วามสัม พัน ธ์ก ัน หรือ ไม่ จะได้เ ป็ น แนวทางในการปฏิบ ัติ ปรับ ปรุ ง และพัฒ นา การปฏิบตั งิ านของนักบัญชี และธ�ำรงไว้ซง่ึ เกียรติศกั ดิแห่ ์ งวิชาชีพบัญชีต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิ จยั 1) เพือ่ ศึกษาความคิดเห็นของนักบัญชีเกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านโดยมีจริยธรรม ด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพการท�ำงานของ นักบัญชี 2) เพือ่ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณ วิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชี แนวคิ ดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง จริ ยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ค�ำว่า “จริยธรรม” นัน้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ได้ให้ ความหมายไว้วา่ หมายถึง ธรรมทีเ่ ป็นข้อประพฤติปฏิบตั ิ ศีลธรรม กฎศีลธรรม (The Royal Institute, 2013: 303) ซึง่ พฤติกรรมทีเ่ กีย่ วกับจริยธรรม ไม่เพียงแต่เป็ นการกระท�ำตาม กฎหมาย แต่ความหมายกว้างกว่า เป็นหลักความประพฤติปฏิบตั โิ ดยทัวไปในสั ่ งคมทีถ่ อื ว่า ถูกต้อง (Siriwongse, 2011: 14) ดังนัน้ การทีบ่ คุ คลจะมีจริยธรรมในการด�ำเนินชีวติ ประจ�ำวัน จึงไม่จำ� เป็นทีส่ งั คมจะต้องออกกฎระเบียบหรือกฎหมายออกมา แต่เป็นเรือ่ งสามัญส�ำนึก 24


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ของบุคคล ทีจ่ ะต้องมีความรูส้ กึ ผิดชอบ ชัวดี ่ รูว้ า่ พฤติกรรมแบบใดดีงาม ถูกต้อง เหมาะสม และน�ำมาปฏิบตั ิ ส่วนค�ำว่า “มนุษยสัมพันธ์” นัน้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายไว้วา่ หมายถึง ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึง่ จะก่อให้เกิด ความเข้าใจอันดีตอ่ กัน (The Royal Institute, 2013: 879) มนุษยสัมพันธ์เป็ นการศึกษา ปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคล ทัง้ ในระดับบุคคล กลุม่ และองค์กร (Benton, 1998) เป็นศิลปะ และการปฏิบตั ใิ นการน�ำความรูเ้ กีย่ วกับพฤติกรรมของมนุษย์มาใช้ในการติดต่อเกีย่ วข้องกัน เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ส่วนตัวและส่วนรวม (Dubrin, 1981: 4) ช่วยให้สามารถมี ปฏิสมั พันธ์กบั บุคคลอืน่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Dalton et al., 2000) โดยมนุษยสัมพันธ์ สามารถน�ำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ในการบริหารงานได้ หากมีการน�ำมาประยุกต์ใช้ในองค์กร จะท�ำให้การบริหารงานบรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ อีกทัง้ ยังท�ำให้การท�ำงานนัน้ เป็ นไปด้วยความราบรื่น เนื่องจากได้รบั ความร่วมมือร่วมใจจากผูร้ ่วมงานเป็ นอย่างดี (Viriyapan, 2007: 19-20) มนุษยสัมพันธ์เปรียบเสมือนน�้ำทีส่ ามารถท�ำให้ดนิ เกาะกัน เป็ นก้อนได้ ซึง่ ก็คอื เป็ นตัวเชือ่ มให้คนมีมติ รไมตรีต่อกันด้วยความเต็มใจ และผลทีไ่ ด้ ต่อมาคือการให้ความร่วมมือ สามัคคีกนั เป็ นเพือ่ นกัน ไม่เอาเปรียบกัน ผลงานบรรลุ ตามเป้าหมายทีต่ อ้ งการ (Sungroong, 2005) ซึง่ เป็ นสิง่ ทีอ่ งค์กรทัง้ หลายไม่วา่ จะเป็ น องค์กรขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ต่างก็มงุ่ หมายทีจ่ ะท�ำให้เกิดขึน้ ในองค์กรของตน มีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมหนึ่ง ซึง่ เป็นหลักจริยธรรมทีช่ ว่ ยให้ บุคคลมีมนุษยสัมพันธ์อนั ดีตอ่ กันได้ คือ “สาราณียธรรม” หมายถึง ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน ท�ำให้มคี วามเคารพกัน ช่วยเหลือกัน และสามัคคีพร้อมเพรียงกัน (Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto), 2007: 437 – 438) มี 6 อย่าง ดังนี้ (Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto), 2008: 201) 1) เมตตากายกรรม คือ ช่วยเหลือกิจธุระของผูร้ ว่ มหมูค่ ณะด้วยความเต็มใจ แสดงกิรยิ าอาการสุภาพ เคารพนับถือกัน ทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง 2) เมตตาวจีกรรม คือ ช่วยบอกแจ้งสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์ สังสอน ่ แนะน�ำตักเตือน ด้วยความหวังดี กล่าววาจาสุภาพ แสดงความเคารพนับถือกัน ทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง 3) เมตตามโนกรรม คือ ตังจิ ้ ตปรารถนาดี คิดท�ำสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์แก่กนั มองกัน ในแง่ดี มีหน้าตายิม้ แย้มแจ่มใสต่อกัน 4) สาธารณโภคิตา คือ เมือ่ ได้สงิ่ ใดมาโดยชอบธรรม แม้เป็ นของเล็กน้อย ก็ไม่ หวงไว้ผเู้ ดียว น�ำมาแบ่งปนั เฉลีย่ เจือจาน ให้ได้มสี ว่ นร่วมใช้สอยบริโภคทัวกั ่ น 5) สีลสามัญญตา คือ มีความประพฤติสจุ ริตดีงาม ถูกต้องตามระเบียบวินยั ไม่ทำ� ตน ให้เป็ นทีน่ ่ารังเกียจของหมูค่ ณะ 25


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

6) ทิฏฐิสามัญญตา คือ มีความเห็นชอบร่วมกัน ในข้อทีเ่ ป็ นหลักการส�ำคัญ อันจะน�ำไปสูค่ วามหลุดพ้น สิน้ ทุกข์ หรือขจัดปญั หา จากทีก่ ล่าวมา สรุปได้วา่ ผูท้ ป่ี ฏิบตั ติ ามหลักสาราณียธรรมจะเป็ นคนทีค่ ดิ ดี พูดดี ท�ำดีต่อกัน มีความเสียสละแบ่งปนั ประพฤติตนสุจริตดีงาม และมีความคิดเห็น ตามท�ำนองคลองธรรม จึงเป็ นหลักจริยธรรมทีส่ �ำคัญอย่างหนึ่งทีค่ วรน� ำมาปฏิบตั ใิ น ชีวติ ประจ�ำวันและประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน ในการวิจยั ครัง้ นี้ เพือ่ ให้บคุ คลทัวไปสามารถเข้ ่ าใจได้งา่ ย ผูว้ จิ ยั จึงได้ประยุกต์ หลักสาราณียธรรมเป็ นจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ มี 6 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านการแสดงออกทางกายต่อกัน (เมตตากายกรรม) 2) ด้านการแสดงออกทางวาจาต่อกัน (เมตตาวจีกรรม) 3) ด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน (เมตตามโนกรรม) 4) ด้านการเสียสละและแบ่งปนั (สาธารณโภคิตา) 5) ด้านการประพฤติตนตามกฎระเบียบและหน้าทีอ่ นั พึงกระท�ำ (สีลสามัญญตา) 6) ด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินิจ (ทิฏฐิสามัญญตา) จรรยาบรรณวิ ชาชีพบัญชี พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายของ “จรรยาบรรณ” ไว้วา่ หมายถึง ประมวลความประพฤติทผ่ี ปู้ ระกอบวิชาชีพการงานแต่ละอย่างก�ำหนดขึน้ เพือ่ รักษาและส่งเสริมเกียรติคณ ุ ชือ่ เสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อกั ษร หรือไม่กไ็ ด้ (The Royal Institute, 2013: 301) ซึง่ ส�ำหรับวิชาชีพบัญชีนนั ้ สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ออกข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี (ฉบับที่ 19) เรือ่ ง จรรยาบรรณ ของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553 โดยอาศัยอ�ำนาจตามความในพระราชบัญญัติ วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการควบคุมความประพฤติและการด�ำเนินงาน ของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี ให้ถกู ต้องตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพบัญชี จากข้อบังคับ ดังกล่าวสามารถสรุปจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีได้ดงั นี้ - ความโปร่งใส คือ ต้องปฏิบตั งิ านด้วยความโปร่งใส ตามกฎระเบียบต่าง ๆ มาตรฐานวิชาชีพ และไม่ปกปิดข้อเท็จจริงหรือบิดเบือนความจริงอันเป็ นสาระส�ำคัญ - ความเป็ น อิส ระ คือ ต้ อ งใช้ดุ ล ยพินิ จ และปฏิบ ัติง านอย่ า งเป็ น อิส ระ ภายใต้กรอบวิชาชีพบัญชี ปราศจากอิทธิพลของบุคคลอื่นทีท่ �ำให้เกิดความสงสัยใน ความเป็ นกลางหรือความเทีย่ งธรรม เพือ่ ให้ผลงานเป็ นทีเ่ ชือ่ ถือได้ - ความเทีย่ งธรรม คือ ต้องปฏิบตั งิ านด้วยความยุตธิ รรม ซื่อตรงต่อวิชาชีพ และไม่มสี ว่ นได้เสียในงานนอกจากค่าตอบแทนตามปกติ ต้องใช้ดุลยพินิจบนหลักฐาน ทีเ่ ชือ่ ถือได้โดยปราศจากอคติ ความล�ำเอียง และต้องใช้ดุลยพินิจอย่างเทีย่ งธรรมโดย 26


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

หลีกเลีย่ งความสัมพันธ์หรือสถานการณ์ทอ่ี าจท�ำให้ไม่สามารถปฏิบตั งิ านได้โดยโปร่งใส อิสระ และซื่อสัตย์สจุ ริต - ความซื่อสัตย์สจุ ริต คือ ต้องปฏิบตั งิ านอย่างตรงไปตรงมา จริงใจ ซื่อตรงต่อ วิชาชีพ ไม่คดโกง ไม่หลอกลวง ปฏิบตั งิ านตรงตามหลักฐานทีเ่ ป็นจริงและเชือ่ ถือได้ และ ไม่อา้ งหรือยินยอมให้บุคคลอืน่ อ้างว่าได้ปฏิบตั งิ านโดยทีไ่ ม่ได้มกี ารปฏิบตั งิ านจริง - ความรู้ ความสามารถ คือ ต้องใช้ความรูต้ ามมาตรฐานวิชาชีพ วิธปี ฏิบตั ิ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ความช�ำนาญและประสบการณ์ดว้ ยความมีสติ มุ่งมัน่ เอาใจใส่ ขยันหมันเพี ่ ยร และระมัดระวังรอบคอบ ต้องมีความสามารถเพียงพอทีจ่ ะปฏิบตั งิ านให้ ส�ำเร็จได้ และต้องศึกษาหาความรูแ้ ละความช�ำนาญทางวิชาชีพเพิม่ เติมอย่างต่อเนื่อง เพือ่ พัฒนาความรูค้ วามสามารถให้ทนั สมัยอยูเ่ สมอ - มาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน คือ ต้องประกอบวิชาชีพให้สอดคล้องกับมาตรฐาน วิช าชีพ และมาตรฐานทางวิช าการที่เ กี่ย วข้อ ง ด้ว ยความระมัด ระวัง รอบคอบและ ความช�ำนาญ - การรักษาความลับ คือ ต้องไม่น�ำข้อมูลทีเ่ ป็ นความลับขององค์กรทีต่ นได้มา จากการปฏิบตั งิ านและความสัมพันธ์ในทางธุรกิจ ไปเปิ ดเผยหรือใช้ประโยชน์สว่ นตน และบุคคลทีไ่ ม่มสี ว่ นเกีย่ วข้องโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากองค์กร เว้นแต่ในกรณีทเ่ี ป็นการเปิดเผย ตามสิทธิหรือหน้าทีท่ ก่ี ำ� หนดไว้ในกฎหมาย หรือในฐานะผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี - ความรับผิดชอบต่อผูร้ บั บริการ คือ ต้องมีความรับผิดชอบและปฏิบตั ติ าม กรอบวิชาชีพบัญชีตอ่ ผูร้ บั บริการ เพือ่ ให้เกิดความน่าเชือ่ ถือและมีประโยชน์ตอ่ ผูร้ บั บริการ - ความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็นหุน้ ส่วน บุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ คือ ต้อ งปฏิบ ัติต ามจริย ธรรมทางธุ ร กิจ ขององค์ก รที่ต นสัง กัด ปฏิบ ัติห น้ า ที่ด้ว ย ความซือ่ สัตย์สจุ ริต อุทศิ ตน ทุม่ เท ดูแลทรัพย์สนิ ขององค์กร ใช้เวลาและทรัพย์สนิ ขององค์กร ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ไม่น�ำไปใช้เพือ่ ประโยชน์สว่ นตนหรือบุคคลทีส่ ามทัง้ ทางตรงและ ทางอ้อม ต้องเปิดเผยความสัมพันธ์กบั องค์กร สถาบัน ธุรกิจภายนอก หรือความสัมพันธ์ ทางเครือญาติ เพือ่ หลีกเลีย่ งการกระท�ำทีก่ อ่ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ต้องไม่ กระท�ำการใด ๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อชือ่ เสียง และการด�ำเนินการขององค์กร และต้องใช้ วิจารณญาณอย่างรอบคอบ มีเหตุผลในการปฏิบตั งิ าน ทัง้ นี้เพื่อประโยชน์ สูงสุดต่อ องค์กร รวมถึงนายจ้าง (ผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน เจ้าของ) - ความรับผิดชอบต่อเพือ่ นร่วมวิชาชีพ และจรรยาบรรณทัวไป ่ คือ ต้องไม่แย่งงาน ไม่ปฏิบตั งิ านเกินกว่าทีร่ บั มอบหมาย ไม่ให้ขอ้ มูลหรือโอ้อวดเกีย่ วกับงานของตนเกิน ความเป็ นจริง หรือเปรียบเทียบตนหรือองค์กรกับผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชีรายอื่นหรือ องค์กรอื่น ต้องไม่ให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์ใดๆ เพือ่ เป็ นการจูงใจให้ 27


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

บุคคลอืน่ แนะน�ำหรือจัดหางานให้ ต้องไม่เรียกหรือรับทรัพย์สนิ หรือประโยชน์จากบุคคลอืน่ เมื่อ บุ ค คลนัน้ ได้ร บั งานจากการแนะน� ำ หรือ การจัด หางานของตน ต้อ งไม่ก�ำ หนด ค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนเกินกว่าความเหมาะสม และต้องประพฤติปฏิบตั ติ นใน ทางทีถ่ ูกทีค่ วร ส�ำนึกในหน้าที่ และไม่ปฏิบตั ติ นในลักษณะทีท่ ำ� ให้เกิดความเสือ่ มเสีย เกียรติศกั ดิ ์แห่งวิชาชีพบัญชี ประสิ ทธิ ภาพการท�ำงาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ได้ให้ความหมายของ “ประสิทธิภาพ” ไว้วา่ หมายถึง ความสามารถทีท่ ำ� ให้เกิดผลในงาน (The Royal Institute, 2013: 713) เป็น เรื่องของการใช้ปจั จัยและกระบวนการในการด�ำเนินงาน โดยมีผลผลิตที่ได้รบั เป็ น ตัวก�ำกับการแสดงประสิทธิภาพของการด�ำเนินงานใด ๆ อาจแสดงค่าของประสิทธิภาพ ในลักษณะการเปรียบเทียบระหว่างค่าใช้จา่ ยในการลงทุนกับผลก�ำไรทีไ่ ด้รบั ซึง่ ถ้าผลก�ำไร มีสงู กว่าต้นทุนเท่าไรก็ยงิ่ แสดงถึงประสิทธิภาพมากขึน้ ประสิทธิภาพอาจไม่แสดงเป็ น ค่าประสิทธิภาพเชิงตัวเลข แต่แสดงด้วยการบันทึกถึงลักษณะการใช้เงิน วัสดุ คน และ เวลาในการปฏิบตั งิ านอย่างคุม้ ค่า ประหยัด ไม่มกี ารสูญเปล่าเกินความจ�ำเป็ น รวมถึง มีการใช้กลยุทธ์หรือเทคนิควิธกี ารปฏิบตั ทิ เ่ี หมาะสมสามารถน�ำไปสูก่ ารบังเกิดผลได้เร็ว ตรง และมีคณ ุ ภาพ (Laksana, 1999: 7) ดังนัน้ ประสิทธิภาพการท�ำงาน จึงหมายถึงความสามารถ ทีท่ �ำให้เกิดผลในการปฏิบตั งิ าน โดยใช้ปจั จัยหรือทรัพยากรต่าง ๆ อย่างคุม้ ค่าหรือ น้อยทีส่ ุด รวมถึงการใช้กลยุทธ์หรือเทคนิควิธกี ารต่าง ๆ อย่างเหมาะสม อันน� ำไปสู่ การบังเกิดผลของงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว มีคุณภาพ และมีความผิดพลาดหรือ การสูญเปล่าน้อยทีส่ ดุ การวัดประสิทธิภาพการท�ำงาน ประกอบด้วย 3 ประเภท (Laksana, 2003: 8-9) ได้แก่ 1) ต้นทุนในการด�ำเนินงาน (implementation cost) การท�ำงานมีประสิทธิภาพ ต้นทุนในการด�ำเนินงานต้องต�่ำและผลก�ำไรก็ตามมา ซึง่ ธุรกิจจ�ำเป็ นต้องพยายามลด ต้นทุนให้เหมาะสม แต่คณ ุ ภาพงานยังคงดีเยีย่ มเหมือนเดิม 2) ระยะเวลาทีใ่ ห้บริการ (service timing) ผูบ้ ริหารของธุรกิจจะต้องมีการวางแผน ให้เหมาะสม เพือ่ ให้มเี วลาเพียงพอกับการตัดสินใจเรือ่ งราวต่าง ๆ ในการวางแผนกลยุทธ์ โดยต้องสามารถพิจารณากิจกรรมต่าง ๆ ให้เหมาะสม 3) คุณภาพของการให้บริการ (service quality) เป็นแนวคิดทีม่ งุ่ ให้พนักงานทุกคน ทุกแผนก ท�ำงานของตนอย่างมีคณ ุ ภาพ รับผิดชอบคุณภาพของตนเองโดยไม่ตอ้ งรอ การตรวจสอบคุณภาพจากคนอืน่ แล้วจึงส่งงานทีม่ คี ณ ุ ภาพนัน้ ให้กบั ฝา่ ยทีต่ อ้ งท�ำต่อเนื่อง จากตน 28


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ตัวแปรที่ใช้ในการวิ จยั ั ยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ศาสนา 1) ปจจั สถานภาพสมรส อุตสาหกรรมหลักขององค์กร ประสบการณ์การท�ำงาน ต�ำแหน่งงาน ระดับเงินเดือน และจ�ำนวนพนักงานบัญชีในแผนกบัญชี 2) ตัว แปรจริย ธรรมด้า นการมีม นุ ษ ยสัม พัน ธ์ ประยุก ต์แ นวคิด จากหลัก สาราณียธรรมในพระพุทธศาสนา ตามพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ของ Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto) (2008: 201) รวม 6 ด้าน ได้แก่ ด้านการแสดงออก ทางกายต่อกัน ด้านการแสดงออกทางวาจาต่อกัน ด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน ด้านการเสียสละและแบ่งปนั ด้านการประพฤติตนตามกฎระเบียบและหน้าทีอ่ นั พึงกระท�ำ และด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินิจ 3) ตัวแปรจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ประยุกต์แนวคิดจากข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี (ฉบับที่ 19) เรือ่ ง จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553 รวม 10 ด้าน ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านความเป็นอิสระ ด้านความเทีย่ งธรรม ด้านความซือ่ สัตย์สจุ ริต ด้านความรูค้ วามสามารถ ด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน ด้านการรักษาความลับ ด้านความรับผิดชอบต่อผูร้ บั บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็นหุน้ ส่วน บุคคล หรือนิตบิ ุคคลที่ปฏิบตั หิ น้ าที่ให้ และด้านความรับผิดชอบต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพและ จรรยาบรรณทัวไป ่ 4) ตัวแปรประสิทธิภาพการท�ำงาน ประยุกต์แนวคิดจากเรือ่ งการวัดประสิทธิภาพ การท�ำงาน ของ Somjai Laksana (2003: 8-9) รวม 3 ด้าน ได้แก่ ด้านต้นทุนใน การด�ำเนินงาน ด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงาน และด้านคุณภาพของการปฏิบตั งิ าน กรอบแนวคิ ดในการวิ จยั ผูว้ จิ ยั ได้กำ� หนดกรอบแนวคิดในการวิจยั โดยมีประเด็นและตัวแปรในการศึกษา ดังนี้ 1) ศึก ษาระดับ ความคิด เห็น ของนั ก บัญ ชีท่ีม ีต่ อ ตัว แปรจริย ธรรมด้ า น การมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพการท�ำงาน ั ยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคล 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักบัญชีทม่ี ปี จจั ั ยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคล ตัวแปรตามคือจริยธรรม แตกต่างกัน ตัวแปรอิสระคือปจจั ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพการท�ำงาน 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร โดยตัวแปรอิสระคือจริยธรรม ด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ตัวแปรตามคือประสิทธิภาพ การท�ำงาน 29


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

ตัวแปรอิ สระ (Independent Variables)

ตัวแปรตาม (Dependent Variables)

จริ ยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ปัจจัยและสภาพแวดล้อม ส่วนบุคคล -

เพศ อายุ ระดับการศึกษา ศาสนา สถานภาพสมรส อุตสาหกรรมหลักขององค์กร ประสบการณ์การท�างาน ต�าแหน่ งงาน ระดับเงินเดือน จ�านวนพนักงานในแผนกบัญชี

-

ด้านการแสดงออกทางกายต่อกัน ด้านการแสดงออกทางวาจาต่อกัน ด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน ด้านการเสียสละและแบ่งปนั ด้านการประพฤติตนตามกฎระเบียบ และหน้าทีอ่ นั พึงกระท�า - ด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินิจ

ประสิ ทธิ ภาพการท�างาน - ด้านต้นทุนในการด�าเนินงาน

จรรยาบรรณวิ ชาชีพบัญชี -

- ด้านระยะเวลาในการด�าเนินงาน - ด้านคุณภาพของการปฏิบตั งิ าน

ด้านความโปร่งใส ด้านความเป็ นอิสระ ด้านความเทีย่ งธรรม ด้านความซื่อสัตย์สุจริต ด้านความรู้ ความสามารถ ด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน ด้านการรักษาความลับ ด้านความรับผิดชอบต่อผูร้ บั บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน บุคคลหรือนิตบิ ุคคล ทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้

- ด้านความรับผิดชอบต่อเพือ่ นร่วมวิชาชีพ และจรรยาบรรณทั ่วไป

ภาพที ่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

ระเบียบวิ ธีวิจยั การวิจยั นีเ้ ป็นการวิจยั เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามเป็นเครือ่ งมือในการเก็บข้อมูล แบ่งเป็ น 5 ส่วน ั ยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคล รวม 10 ข้อ ได้แก่ ส่วนที่ 1 ค�ำถามเกีย่ วกับปจจั เพศ อายุ ระดับการศึกษา ศาสนา สถานภาพสมรส อุตสาหกรรมหลักขององค์กร ประสบการณ์ การท�ำงาน ต�ำแหน่งงาน ระดับเงินเดือน และจ�ำนวนพนักงานบัญชีในแผนกบัญชี ส่วนที่ 2 ค�ำถามเกีย่ วกับจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ โดยประยุกต์ตคี วาม จากหลักสาราณียธรรมตามค�ำอธิบายของ Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto) (2008: 201) รวม 6 ด้าน ได้แก่ ด้านการแสดงออกทางกายต่อกัน ด้านการแสดงออกทางวาจา ต่อกัน ด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน ด้านการเสียสละและแบ่งปนั ด้านการประพฤติตน 30


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ตามกฎระเบียบและหน้าทีอ่ นั พึงกระท�ำ และด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินิจ ส่วนที่ 3 ค�ำถามเกีย่ วกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี โดยประยุกต์จากข้อบังคับ สภาวิชาชีพบัญชี (ฉบับที่ 19) เรือ่ ง จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553 รวม 10 ด้าน ได้แก่ ด้านความโปร่งใส ด้านความเป็นอิสระ ด้านความเทีย่ งธรรม ด้านความซือ่ สัตย์ สุจริต ด้านความรูค้ วามสามารถ ด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน ด้านการรักษาความลับ ด้านความรับผิดชอบต่อผูร้ บั บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน บุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ และด้านความรับผิดชอบต่อเพือ่ นร่วมวิชาชีพและ จรรยาบรรณทัวไป ่ ส่วนที่ 4 ค�ำถามเกีย่ วกับประสิทธิภาพการท�ำงาน โดยประยุกต์จากแนวคิด เรือ่ งการวัดประสิทธิภาพการท�ำงานของ Somjai Laksana (2003: 8-9) รวม 3 ด้าน ได้แก่ ด้านต้นทุนในการด�ำเนินงาน ด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงาน และด้านคุณภาพ ของการปฏิบตั งิ าน ั หาและข้ อ เสนอแนะในเรื่ อ งจริ ย ธรรม ส่ ว นที่ 5 ค� ำ ถามเกี่ ย วกั บ ป ญ ด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิทธิภาพการท�ำงานของ นักบัญชี จากการทดสอบคุณภาพของเครือ่ งมือกับนักบัญชีในกรุงเทพมหานครทีไ่ ม่ใช่ กลุ่มตัวอย่างในการวิจยั จ�ำนวน 30 คน โดยวิเคราะห์หาค่าความเชือ่ มัน่ (reliability) ด้วยวิธี Cronbach’s Alpha Coefficient พบว่า แบบสอบถามจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ มีคา่ สัมประสิทธิ ์แอลฟาอยูร่ ะหว่าง 0.759 – 0.858 แบบสอบถามจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี มีคา่ สัมประสิทธิ ์แอลฟาอยูร่ ะหว่าง 0.771 – 0.918 และแบบสอบถามประสิทธิภาพการท�ำงาน มีคา่ สัมประสิทธิ ์แอลฟาอยูร่ ะหว่าง 0.763 – 0.924 ประชากรในการวิจยั คือ นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร ข้อมูลจ�ำนวนบริษทั ฯ ณ วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2556 มี 478 บริษทั (The Stock Exchange of Thailand, 2013) ซึง่ ไม่ทราบจ�ำนวน นักบัญชีทแ่ี น่นอน ผูว้ จิ ยั จึงก�ำหนดขนาดกลุม่ ตัวอย่างโดยใช้สตู รการค�ำนวณหาขนาด ตัวอย่างกรณีไม่ทราบขนาดประชากรทีแ่ น่นอนของ William Gemmell Cochran (1977) โดยต้องการให้มคี วามผิดพลาดไม่เกิน 5% ด้วยความเชือ่ มัน่ 95% ค�ำนวณได้วา่ ต้องสุม่ เลือก ตัวอย่างอย่างน้อยจ�ำนวน 385 คน (Vanichbuncha, 2011: 13 – 14) เพือ่ ให้มกี ารสุม่ เก็บ ข้อมูลจากตัวอย่างครอบคลุมครบทุกบริษทั ผูว้ จิ ยั จึงได้เพิม่ จ�ำนวนตัวอย่างทีส่ มุ่ เลือก เป็ น 478 คน ตามจ�ำนวนบริษทั โดยใช้วธิ กี ารส่งแบบสอบถามทางไปรษณียร์ ่วมกับ การเก็บข้อมูลด้วยตนเองตามความสะดวก บริษทั ละ 1 คน/ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคมเมษายน พ.ศ. 2557 ซึง่ ได้รบั ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามกลับคืนมาจ�ำนวน 31


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

115 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 24.06 ของจ�ำนวนแบบสอบถามทัง้ หมด การวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้โปรแกรมสถิตสิ �ำเร็จรูปเพื่อการวิจยั ทางสังคมศาสตร์ โดยวิเคราะห์ขอ้ มูลด้วยสถิตเิ ชิงพรรณนา การเปรียบเทียบความคิดเห็นต่าง ๆ จ�ำแนกตาม ปจั จัยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคลด้วย t – test และ ANOVA ถ้าพบความแตกต่าง ของค่าเฉลีย่ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิติ จึงท�ำการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลีย่ เป็ นรายคู่ ด้วยวิธี Least Significant Difference (LSD) การทดสอบและสร้างสมการ พยากรณ์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตามด้วยการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (correlation analysis) และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคณ ู (multiple regression analysis) ผลการวิ จยั ข้อมูลปัจจัยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถาม ผูต้ อบแบบสอบถาม 115 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 67.83) มีอายุระหว่าง 29 – 36 ปี (ร้อยละ 31.30) ระดับการศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ 55.65) นับถือศาสนาพุทธ (ร้อยละ 96.52) สถานภาพโสด (ร้อยละ 55.65) ท�ำงานในบริษทั ทีม่ อี ุตสาหกรรมหลัก คือธุรกิจการเงิน (ร้อยละ 31.30) ประสบการณ์การท�ำงานไม่เกิน 6 ปี (ร้อยละ 52.17) มีตำ� แหน่งระดับผูบ้ งั คับบัญชา/หัวหน้า (ร้อยละ 56.52) มีระดับเงินเดือนมากกว่า 30,000 บาท (ร้อยละ 63.48) และท�ำงานในแผนกบัญชีทม่ี จี ำ� นวนพนักงานบัญชีไม่เกิน 10 คน (ร้อยละ 49.57) ความคิ ดเห็นเกี่ยวกับจริ ยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณ วิ ชาชีพบัญชี และประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของนักบัญชี ตารางที ่ 1 ระดับความคิดเห็นเกีย่ วกับจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ของนักบัญชี x̄

S.D.

ระดับความคิ ดเห็น

1. ด้านการแสดงออกทางกายต่อกัน (MHR1)

4.11

.546

มาก

2. ด้านการแสดงออกทางวาจาต่อกัน (MHR2)

3.94

.517

มาก

3. ด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน (MHR3) 4. ด้านการเสียสละและแบ่งปนั (MHR4)

3.92

.515

มาก

4.06

.542

มาก

5. ด้านการประพฤติตนตามกฎระเบียบและหน้าที่ อันพึงกระท�ำ (MHR5)

4.19

.509

มาก

6. ด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินิจ (MHR6)

4.03

.539

มาก

4.03

.439

มาก

จริ ยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ของนักบัญชี

โดยภาพรวม (MHRT) 32


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

จากตารางที่ 1 นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกรุงเทพมหานคร มีความคิดเห็นว่าการมีจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ของนักบัญชี โดยภาพรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับมาก เรียงล�ำดับจากค่าเฉลีย่ มากสุดไปหาน้อยสุด ได้แก่ ด้านการประพฤติตนตามกฎระเบียบและหน้าทีอ่ นั พึงกระท�ำ ด้านการแสดงออกทางกาย ต่อกัน ด้านการเสียสละและแบ่งปนั ด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินจิ ด้านการแสดงออก ทางวาจาต่อกัน และด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน ตามล�ำดับ ตารางที ่ 2 ระดับความคิดเห็นเกีย่ วกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีของนักบัญชี x̄

S.D.

ระดับความคิ ดเห็น

1. ด้านความโปร่งใส (APE1)

4.45

.553

มากทีส่ ดุ

2. ด้านความเป็ นอิสระ (APE2)

4.22

.618

มากทีส่ ดุ

3. ด้านความเทีย่ งธรรม (APE3)

4.32

.585

มากทีส่ ดุ

4. ด้านความซื่อสัตย์สจุ ริต (APE4)

4.47

.553

มากทีส่ ดุ

5. ด้านความรู้ ความสามารถ (APE5)

4.30

.565

มากทีส่ ดุ

6. ด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน (APE6)

4.32

.631

มากทีส่ ดุ

7. ด้านการรักษาความลับ (APE7)

4.50

.586

มากทีส่ ดุ

8. ด้านความรับผิดชอบต่อผูร้ บั บริการ (APE8)

4.35

.576

มากทีส่ ดุ

9. ด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน บุคคล หรือนิตบิ ุคคลทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ (APE9)

4.30

.579

มากทีส่ ดุ

10. ด้านความรับผิดชอบต่อเพือ่ นร่วมวิชาชีพและ จรรยาบรรณทัวไป ่ (APE10)

4.29

.581

มากทีส่ ดุ

โดยภาพรวม (APET)

4.34

.488

มากที่สดุ

จรรยาบรรณวิ ชาชีพบัญชีของนักบัญชี

จากตารางที่ 2 นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน กรุงเทพมหานคร มีความคิดเห็นว่าการมีจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีของนักบัญชีโดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เรียงล�ำดับจากค่าเฉลี่ยมากสุดไปหาน้ อยสุด ได้แก่ ด้านการรักษาความลับ ด้านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้านความโปร่งใส ด้านความรับผิดชอบต่อผูร้ บั บริการ ด้านความเทีย่ งธรรม และด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน ด้านความรู้ ความสามารถ และด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน บุคคล หรือนิตบิ ุคคลทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ ด้านความรับผิดชอบต่อเพือ่ นร่วมวิชาชีพ และ จรรยาบรรณทัวไป ่ และด้านความเป็ นอิสระ ตามล�ำดับ

33


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

ตารางที่ 3 ระดับความคิดเห็นเกีย่ วกับประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชี x̄

S.D.

ระดับความคิ ดเห็น

1. ด้านต้นทุนในการด�ำเนินงาน (WEA1)

4.10

.580

มาก

2. ด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงาน (WEA2)

4.23

.533

มากทีส่ ดุ

3. ด้านคุณภาพของการปฏิบตั งิ าน (WEA3)

4.12

.536

มาก

โดยภาพรวม (WEAT)

4.14

.497

มาก

ประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของนักบัญชี

จากตารางที่ 3 นั ก บัญ ชีใ นบริษัท จดทะเบีย นในตลาดหลัก ทรัพ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร มีความคิดเห็นว่าประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชี โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก และรายด้านเรียงล�ำดับจากค่าเฉลีย่ มากสุดไปหาน้อยสุด ได้แก่ ด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงาน มีความคิดเห็นโดยเฉลีย่ อยู่ในระดับมากทีส่ ุด รองลงมาคือด้านคุณภาพของการปฏิบตั งิ าน และด้านต้นทุนในการด�ำเนินงาน ซึง่ มี ความคิดเห็นโดยเฉลีย่ อยูใ่ นระดับมาก ตามล�ำดับ การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของนักบัญชี ที่มปี ัจจัยและ สภาพแวดล้อมส่วนบุคคลแตกต่างกัน 1) การเปรี ย บเที ย บความคิ ด เห็ น ของนั ก บั ญ ชี เ กี่ ย วกั บ จริ ย ธรรม ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ทีม่ ปี จั จัยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคลแตกต่างกัน พบว่า - นักบัญชีทม่ี เี พศ ศาสนา สถานภาพสมรส อุตสาหกรรมหลักขององค์กร ประสบการณ์การท�ำงาน ต�ำแหน่ งงาน ระดับเงินเดือน และจ�ำนวนพนักงานบัญชีใน แผนกบัญชีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับจริยธรรมด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน - นั ก บั ญ ชี ท่ี ม ี อ ายุ แ ตกต่ า งกั น มี ค วามคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ จริ ย ธรรม ด้ า นการมี ม นุ ษ ยสัม พัน ธ์ โ ดยภาพรวมไม่ แ ตกต่ า งกั น แต่ แ ตกต่ า งเฉพาะใน ด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินิจอย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 โดยพบว่านักบัญชี ทีม่ อี ายุ 21 – 28 ปี มีความคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีทม่ี อี ายุ 37 – 44 ปี และ 45 – 52 ปี อย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.01 และมีความคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีทม่ี อี ายุ 29 – 36 ปี อย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 ส่วนนักบัญชีทม่ี อี ายุแตกต่างกันคูอ่ น่ื ๆ มีความคิดเห็น ไม่แตกต่างกัน - นักบัญชีทม่ี รี ะดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกีย่ วกับจริยธรรม ด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 โดย 34


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

พบว่านักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาระดับปริญญาตรี มีความคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีทม่ี กี ารศึกษา ต�่ำกว่าระดับปริญญาตรีและการศึกษาระดับปริญญาโทอย่างมีนัยส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 ส่ว นในรายด้า นนัน้ มีค วามคิด เห็น แตกต่ า งเฉพาะในด้า นการเสีย สละและแบ่ ง ป นั อย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 โดยพบว่านักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาระดับปริญญาตรีมคี วามคิดเห็น สูงกว่านักบัญชีท่มี กี ารศึกษาต�่ำกว่าระดับปริญญาตรีอย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ 0.01 นักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาระดับปริญญาโทมีความคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาต�่ำกว่า ระดับปริญญาตรีอย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 และในด้านการประพฤติตนตามกฎระเบียบ และหน้าทีอ่ นั พึงกระท�ำ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.01 โดยพบว่า นักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาระดับปริญญาตรีและปริญญาโท มีความคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีท่ี มีการศึกษาต�่ำกว่าระดับปริญญาตรีอย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ 0.01 ส่วนนักบัญชีท่มี ี ระดับการศึกษาแตกต่างกันคูอ่ ่นื ๆ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน 2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักบัญชีเกีย่ วกับจรรยาบรรณวิชาชีพ บัญชี ทีม่ ปี จั จัยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคลแตกต่างกัน พบว่า - นักบัญชีทม่ี เี พศ อายุ ศาสนา สถานภาพสมรส อุตสาหกรรมหลักขององค์กร ประสบการณ์การท�ำงาน ต�ำแหน่งงาน และจ�ำนวนพนักงานบัญชีในแผนกบัญชีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกีย่ วกับจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีโดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน - นักบัญชีทม่ี รี ะดับการศึกษาแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกีย่ วกับจรรยาบรรณ วิชาชีพบัญชีโดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่แตกต่างเฉพาะในด้านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้านการรักษาความลับ อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 โดยพบว่านักบัญชีทม่ี ี การศึกษาระดับปริญญาตรีมคี วามคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาต�ำ่ กว่าระดับปริญญาตรี อย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ 0.05 ทัง้ สองด้าน และด้านความรับผิดชอบต่อผูร้ บั บริการ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.01 โดยพบว่านักบัญชีทม่ี กี ารศึกษา ระดับปริญญาตรีมคี วามคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาต�่ำกว่าระดับปริญญาตรี อย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.01 และนักบัญชีทม่ี กี ารศึกษาระดับปริญญาโทมีความคิดเห็น สูงกว่านักบัญชีท่มี กี ารศึกษาต�่ำกว่าระดับปริญญาตรีอย่างมีนัยส�ำคัญที่ระดับ 0.05 ส่วนนักบัญชีทม่ี รี ะดับการศึกษาแตกต่างกันคูอ่ น่ื ๆ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน - นักบัญชีทม่ี รี ะดับเงินเดือนแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกีย่ วกับจรรยาบรรณ วิช าชีพ บัญ ชีโ ดยภาพรวมไม่ แ ตกต่ า งกัน แต่ แ ตกต่ า งเฉพาะในด้ า นมาตรฐาน ในการปฏิบตั งิ านอย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.05 โดยพบว่า นักบัญชีทม่ี รี ะดับเงินเดือน 10,001 – 15,000 บาท, 15,001 – 20,000 บาท, 20,001 – 25,000 บาท และมากกว่า 30,000 บาท มีความคิดเห็นสูงกว่านักบัญชีทม่ี รี ะดับเงินเดือนไม่เกิน 10,000 บาท อย่างมีนยั ส�ำคัญทีร่ ะดับ 0.01 และนักบัญชีทม่ี รี ะดับเงินเดือน 25,001 – 30,000 บาท 35


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

มีความคิดเห็นสูงว่านักบัญชีทม่ี รี ะดับเงินเดือนไม่เกิน 10,000 บาท อย่างมีนัยส�ำคัญ ทีร่ ะดับ 0.05 ส่วนนักบัญชีทม่ี รี ะดับเงินเดือนแตกต่างกันคูอ่ น่ื ๆ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน 3) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักบัญชีเกีย่ วกับประสิทธิภาพการท�ำงาน ั ทีม่ ปี จจัยและสภาพแวดล้อมส่วนบุคคลแตกต่างกัน พบว่า นักบัญชีทม่ี เี พศ อายุ ระดับ การศึกษา ศาสนา สถานภาพสมรส อุตสาหกรรมหลักขององค์กร ประสบการณ์การท�ำงาน ต�ำแหน่ งงาน ระดับเงินเดือน และจ�ำนวนพนักงานบัญชีในแผนกบัญชีแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกีย่ วกับประสิทธิภาพการท�ำงานโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน การวิ เคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอยแบบพหุคณ ู ระหว่างจริ ยธรรม ด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ และประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของนักบัญชี จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์กบั ประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชี พบว่า 1) จริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ในด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินจิ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงานโดยภาพรวมอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.01 สามารถน� ำไปสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิภาพการท�ำงาน โดยภาพรวมได้ 40.4% (R2 = 0.404, p-value = 0.00) คือ WEAT = 1.780 + 0.586 MHR6 2) จริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ในด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินจิ มีค วามสัม พัน ธ์แ ละผลกระทบเชิง บวกกับ ประสิท ธิภ าพการท�ำ งานในด้า นต้น ทุ น ในการด�ำเนินงานอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 สามารถน� ำไปสร้างสมการ พยากรณ์ประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านต้นทุนในการด�ำเนินงานได้ 29.8% (R2 = 0.298, p-value = 0.00) คือ WEA1 = 1.730 + 0.588 MHR6 3) จริยธรรมด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์ ในด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงลบกับประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านระยะเวลา ในการด�ำเนินงานอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 จริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ในด้านการเสียสละและแบ่งปนั มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพ การท�ำงานในด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงานอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 และ จริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ในด้านความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินจิ มีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงานอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.01 สามารถน�ำไปสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิภาพการท�ำงานใน ด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงานได้ 31.3% (R2 = 0.313, p-value = 0.00) คือ WEA2 = 2.197 – 0.300 MHR3 + 0.259 MHR4 + 0.536 MHR6 4) จริยธรรมด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์ ในด้านการแสดงออกทางจิตใจต่อกัน 36


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงลบกับประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านคุณภาพของการ ปฏิบตั งิ านอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 และจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ในด้านความคิดเห็นและการใช้ดุลยพินิจ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับ ประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านคุณภาพของการปฏิบตั งิ านอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ่ี ระดับ 0.01 สามารถน�ำไปสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านคุณภาพ ของการปฏิบตั งิ านได้ 39.2% (R2 = 0.392, p-value = 0.00) คือ WEA3 = 1.803 – 0.164 MHR3+ 0.736 MHR6 การวิ เคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอยแบบพหุคูณ ระหว่างจรรยา บรรณวิ ชาชีพบัญชี และประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของนักบัญชี จากการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีกบั ประสิทธิภาพ การท�ำงานของนักบัญชี พบว่า 1) จรรยาบรรณวิช าชีพ บัญ ชี ในด้า นมาตรฐานในการปฏิบ ัติง าน และ ด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน บุคคลหรือนิตบิ ุคคล ทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงานโดยภาพรวมอย่างมีนยั ส�ำคัญ ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.01 สามารถน� ำไปสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิภาพการท�ำงาน โดยภาพรวมได้ 67.0% (R2 = 0.670, p-value = 0.00) คือ WEAT = 0.924 + 0.431 APE6 + 0.314 APE9 2) จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็นหุน้ ส่วน บุ ค คลหรือ นิ ติบุ ค คลที่ป ฏิบ ตั ิห น้ า ที่ใ ห้ มีค วามสัม พัน ธ์แ ละผลกระทบเชิง บวกกับ ประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านต้นทุนในการด�ำเนินงานอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.01 สามารถน� ำไปสร้า งสมการพยากรณ์ ประสิท ธิภ าพการท�ำ งานในด้า นต้นทุน ในการด�ำเนินงานได้ 40.8% (R2 = 0.408, p-value = 0.00) คือ WEA1 = 1.348 + 0.639 APE9 3) จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน มีความสัมพันธ์ และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงาน อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.01 และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในด้านความรับผิดชอบ ต่อผู้รบั บริการ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงาน ในด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงานอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ 0.05 สามารถ น�ำไปสร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านระยะเวลาในการด�ำเนินงานได้ 51.3% (R2 = 0.513, p-value = 0.00) คือ WEA2 = 1.306 + 0.421 APE6 + 0.253 APE8 4) จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีในด้านความรู้ ความสามารถ และด้านความรับผิดชอบ ต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน บุคคลหรือนิตบิ ุคคล ทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ มีความสัมพันธ์และ ผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านคุณภาพของการปฏิบตั ิงาน 37


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

อย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.05 และจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในด้านมาตรฐาน ในการปฏิบตั งิ าน มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการท�ำงาน ในด้านคุณภาพของการปฏิบตั งิ านอย่างมีนยั ส�ำคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ 0.01 สามารถน�ำไป สร้างสมการพยากรณ์ประสิทธิภาพการท�ำงานในด้านคุณภาพของการปฏิบตั งิ านได้ 69.3% (R2 = 0.693, p-value = 0.00) คือ WEA3 = 0.533 + 0.226 APE5 + 0.380 APE6 + 0.227 APE9 บทสรุป นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร มีความคิดเห็นว่าการมีจริยธรรมด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์ของนักบัญชี โดยภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจยั ของ Atipa Polruangtong (2008) ซึง่ พบว่านักบัญชี มีความคิดเห็นเกีย่ วกับการมีความสามารถทางการปฏิบตั งิ านด้านการท�ำงานร่วมกับผูอ้ น่ื และมนุษยสัมพันธ์อยูใ่ นระดับมาก และงานวิจยั ของ Raviwan Sirsuwan (2009) ซึง่ พบว่า พนักงานแผนกบัญชีมรี ะดับความคิดเห็นเกีย่ วกับคุณลักษณะทางการบริหารด้านสัมพันธภาพ ระหว่างเพือ่ นร่วมงานและสัมพันธภาพระหว่างพนักงานกับผูบ้ งั คับบัญชา อยูใ่ นระดับมาก แสดงให้เห็นว่านักบัญชีโดยส่วนใหญ่มมี นุษยสัมพันธ์อยูใ่ นระดับมากพอ ๆ กัน ทังระหว่ ้ าง ผูป้ ฏิบตั งิ านด้วยกันเองและระหว่างผูป้ ฏิบตั งิ านกับผูบ้ งั คับบัญชา ส่ว นในเรื่อ งจรรยาบรรณวิช าชีพ บัญ ชี นัก บัญ ชีใ นบริษัท จดทะเบีย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร มีความคิดเห็นว่าการมีจรรยาบรรณ วิชาชีพบัญชีของนักบัญชีโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมากทีส่ ดุ แตกต่างจากงานวิจยั ของ Wonlop Buachoom (2008) ซึง่ พบว่าในมุมมองของนักลงทุน มีความเห็นว่านักบัญชี มีระดับของจริยธรรมหรือจรรยาบรรณวิชาชีพในระดับปานกลาง และพบว่าระดับความคาดหวัง ของนักลงทุนสูงกว่าระดับความคิดเห็นทีม่ ตี อ่ จริยธรรมหรือจรรยาบรรณวิชาชีพของนักบัญชี ที่เ ป็ น อยู่ จะเห็น ได้ว่า ในมุม มองของนัก บัญ ชีม ีค วามคิด เห็น ว่า นัก บัญ ชีไ ด้ป ฏิบ ตั ิ ตามจรรยาบรรณวิชาชีพมากพอสมควรแล้ว แต่ในมุมมองของนักลงทุนซึง่ อยูใ่ นฐานะผูใ้ ช้ ผลงานของนักบัญชีนนั ้ มีความคาดหวังต่อจรรยาบรรณวิชาชีพของนักบัญชีไว้สงู กว่า จึงมีความเห็นว่านักบัญชีมจี รรยาบรรณวิชาชีพยังไม่มากพอและควรได้รบั การพัฒนา เพราะนักลงทุนต้องการความน่าเชือ่ ถือหรือความเชือ่ มันในการที ่ จ่ ะน�ำผลงานของนักบัญชี ไปใช้ในการตัดสินใจนันเอง ่ ดังนัน้ นักบัญชีควรมีจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบตั ิ ให้เป็นทีป่ ระจักษ์และพัฒนาอยูเ่ สมอ เพือ่ ให้ผลงานด้านบัญชีมคี วามน่าเชือ่ ถือ ทังนี ้ ้ นักบัญชี จะต้องมีจรรยาบรรณควบคูไ่ ปกับความรูท้ างด้านเทคนิค เนื่องจากคนทีเ่ ก่งด้านเทคนิค แต่ไม่มจี รรยาบรรณจะเป็ นอันตรายต่อสังคมสูงกว่าคนทีไ่ ม่เก่งด้านเทคนิค (Atkinson, 2002) จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีจงึ เป็ นสิง่ ส�ำคัญทีน่ ักบัญชีควรได้รบั การปลูกฝงั และ 38


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ยึดถือปฏิบตั เิ ป็ นอย่างยิง่ ถึงแม้จะมีปจั จัยทีท่ �ำให้นักบัญชีอาจไม่สามารถปฏิบตั งิ าน ได้อย่างมีจรรยาบรรณก็ตาม ซึง่ จากงานวิจยั ของ Singhchai Aroonvutthiphong (2006) พบว่า การปลูกฝงั จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีนัน้ มีอุปสรรคและข้อจ�ำกัด อย่างเช่น การขาดจิตส�ำนึก ขาดความรับผิดชอบ และความโลภของนักบัญชี ระบบการควบคุม คุณภาพทีย่ งั ไม่เข้มงวดและมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอ และเจ้าของธุรกิจหรือผูป้ ระกอบการ ยังไม่เห็นถึงความส�ำคัญของงานด้านบัญชี เป็ นต้น นอกจากนี้ในเรือ่ งประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชีนนั ้ นักบัญชีในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกรุงเทพมหานคร มีความคิดเห็นว่า ประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชีโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจยั ต่าง ๆ หลายงานวิจยั ทีเ่ คยได้มกี ารศึกษาเกีย่ วกับประสิทธิภาพการท�ำงานของ นักบัญชี เช่น งานวิจยั ของ Komtong Thanartna (2005) Prapapron Salarom (2006) Prasong Trakoonsangngern (2007) Atipa Polruangtong (2008) Raviwan Sirsuwan (2009) และ Supamit Pinitkarn (2009) เป็ นต้น ซึ่งพบว่านักบัญชีมปี ระสิทธิภาพ การท�ำงานอยู่ในระดับมากเช่นกัน แสดงให้เห็นว่านักบัญชีโดยส่วนใหญ่ปฏิบตั งิ าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากพอ จากการวิจยั ในครังนี ้ ้ พบว่า จริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์ ในด้านความคิดเห็น และการใช้ดลุ ยพินิจ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ในด้านมาตรฐานในการปฏิบตั งิ าน และ ด้านความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน บุคคลหรือนิตบิ ุคคล ทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้ มีความสัมพันธ์และช่วยให้นักบัญชีมปี ระสิทธิภาพในการท�ำงานโดยภาพรวม ดังนัน้ นักบัญชีจงึ ควรมีมนุษยสัมพันธ์ตอ่ กันโดยมีความคิดเห็นและการใช้ดลุ ยพินจิ อย่างมีเหตุผล เป็ นหลัก เพราะเมือ่ นักบัญชีมเี หตุผลในการท�ำงานร่วมกัน จะท�ำให้นกั บัญชีคดิ ดี พูดดี ท�ำดี รูแ้ ละกระท�ำในสิง่ ทีค่ วรท�ำหรือเหมาะสมต่อกัน ซึง่ ช่วยให้การท�ำงานนัน้ ราบรืน่ ยิง่ ขึน้ ประกอบกับการยึดมันในมาตรฐานทางวิ ่ ชาชีพและวิชาการในการปฏิบตั งิ าน และส�ำนึก ในความรับผิดชอบของตนทีต่ ้องท�ำให้กบั องค์กรในฐานะนายจ้าง จะท�ำให้นักบัญชี ตระหนักและใช้ความสามารถในการปฏิบตั งิ านได้อย่างเต็มทีแ่ ละมีผลงานด้านบัญชีทม่ี ี ความถูกต้อง ครบถ้วน ด้วยความประหยัดคุม้ ค่า รวดเร็ว ทันเวลา ตรงไปตรงมา และ น่าเชือ่ ถือ ซึง่ แสดงถึงประสิทธิภาพในการท�ำงานอันเป็ นประโยชน์สงู สุดต่อองค์กร ข้อเสนอแนะส�ำหรับการวิ จยั ครัง้ ต่อไป 1) ควรมีการศึกษาปจั จัยและสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ที่อาจจะเกี่ยวข้องและ ส่งผลต่อการมีจริยธรรมด้านการมีมนุ ษยสัมพันธ์ จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี และ ประสิทธิภาพการท�ำงานของนักบัญชี นอกเหนือจากทีไ่ ด้ทำ� การวิจยั ในครัง้ นี้ 39


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

2) ควรขยายหรือลดขอบเขตของการวิจยั เพือ่ ให้เห็นผลทีก่ ว้างขึน้ หรือเจาะจง เฉพาะกลุ่ม เช่น ศึกษารวมไปถึงบริษทั ในพืน้ ทีต่ ่างจังหวัด หรือศึกษาเฉพาะเจาะจง บริษทั ในกลุม่ อุตสาหกรรมใดกลุม่ อุตสาหกรรมหนึ่ง 3) ควรศึกษาถึงความคิดเห็นของบุคคลอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องด้วย เช่น ผูบ้ ริหาร ผูต้ รวจสอบภายใน นักลงทุน และพนักงานในฝา่ ยหรือแผนกอื่น ๆ เพื่อให้ได้มุมมอง ทีแ่ ตกต่างจากบุคคลทีม่ สี ถานะแตกต่างกัน 4) ควรเปลีย่ นลักษณะกลุม่ ธุรกิจในการวิจยั เช่น กลุม่ ธุรกิจทีไ่ ด้รบั การส่งเสริม การลงทุน กลุม่ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กลุม่ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานภาครัฐ เพือ่ ให้เห็นถึงความแตกต่างของนักบัญชีทป่ี ฏิบตั งิ านในองค์กรทีม่ ลี กั ษณะแตกต่างกัน 5) เนื่องจากการวิจยั ในครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ใช้แบบสอบถามเป็ นเครือ่ งมือในการวิจยั โดยเก็บข้อมูลทางไปรษณียร์ ว่ มกับการเก็บข้อมูลด้วยตนเองตามความสะดวก ซึง่ ผูว้ จิ ยั ด�ำเนินการเก็บข้อมูลเพียงผูเ้ ดียว และได้รบั ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม กลับคืนมาจ�ำนวน 115 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 24.06 ของจ�ำนวนแบบสอบถามทัง้ หมด ซึง่ ถือเป็นข้อจ�ำกัดในการวิจยั และผลการวิจยั ในครัง้ นี้ ฉะนัน้ ส�ำหรับการวิจยั ในครัง้ ต่อไป เพื่อให้สามารถเก็บข้อมูลการวิจยั ได้มากขึน้ จึงควรหาทีมงานในการเก็บข้อมูลหรือ ใช้วธิ กี ารวิจยั อื่น ๆ ในการเก็บข้อมูลเพิม่ เติม





40




ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

References Accounting Professions Act, B.E. 2547 (พระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547). (2004). [Online]. Retrieved June 10, 2013 from http://www.ratchakitcha. soc.go.th/DATA/PDF/0AA/00149103.PDF. Aroonvutthiphong, S. (2006). An Approach to Cultivate Ethics for Accounting Profession in Thailand (แนวทางการปลูกฝังจรรยาบรรณวิ ชาชีพบัญชี ในประเทศไทย). Doctor’s dissertation, Suan Dusit Rajabhat University, Bangkok, Thailand. Atkinson, A. S. (2002). Ethics in Financial Reporting and the Corporate Communication Professional. Corporate communications: An international journal, 7(4): 212-218. Benton, D. A. (1998). Applied Human Relation: An Organizational and Skill Development Approach (6th ed.). New Jersey: Prentice Hall. Buachoom, W. (2008). Expectation of Investors on Accountants’ Ethics (ความคาดหวัง ของนักลงทุนต่อจริยธรรมของนักบัญชี). Kasetsart Applied Business Journal, 2(1): 82-90. Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques (3rd ed.). United States of America: John Wiley & Sons. Dalton, M., Hoyle, D. G., and Watts, M. W. (2000). South-Western Human Relations (2nd ed.). United States of America: South-Western Education Publishing. Dubrin, A. T. (1981). Human Relations: A Job Oriented Approach. Virginia: Reston Publishing. Federation of Accounting Professions’ Regulations (No.19) Concerning the Code of Accounting Profession Ethics, B.E. 2553 (ข้อบังคับสภาวิชาชีพบัญชี (ฉบับที่ 19) เรื่อง จรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิ ชาชีพบัญชี พ.ศ. 2553). (2010). [Online]. Retrieved June 10, 2013 from http://www. ratchakitcha. soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/127/68.PDF. Laksana, S. (1999). Efficiency Development (การพัฒนาประสิทธิภาพในการท�ำงาน). Bangkok: Faculty of Management Science, Suan Sunandha Rajabhat Institute. ________. (2003). Efficiency Development (การพัฒนาประสิทธิภาพในการท�ำงาน). 41


ความสัมพันธ์ระหว่างจริยธรรมด้านการมีมนุษยสัมพันธ์

ฉัตรอมร แย้มเจริญ

Bangkok: Thanatat Printing. Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto). (2007). Dictionary of Buddhism: Vocabulary (พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์) (11th ed.). Bangkok: S.R. Printing Mass Product. ________. (2008). Dictionary of Buddhism: Dhamma (พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม) (16th ed.). Bangkok: S.R. Printing Mass Product. Pinitkarn, S. (2009). Relationships between Core Competency and Efficiency Performance of the Accountants in Excise Department (ความสัมพันธ์ ระหว่ า งสมรรถนะหลัก กับ ประสิ ท ธิ ภาพการท� ำ งานของนั ก บัญ ชี กรมสรรพสามิ ต). Master’s dissertation, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand. Polruangtong, A. (2008). The Relationship between Work Competency and Work Effectiveness of Accountants of the Business Promoted under the Investment Promotion Law of Public Utility Group (ความสัมพันธ์ ระหว่างความสามารถทางการปฏิ บตั ิ งานกับประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของ นักบัญชีธรุ กิจทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมการลงทุนประเภทกิจการสาธารณูปโภค). Master’s dissertation, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand. Salarom, P. (2006). The Relationships among Job Attitude, Quality of Life in Working and Work Efficiency of Company Accountants in the Lower-North of Thailand (ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติ ในการท�ำงาน คุณภาพชี วิตในการท�ำงาน และประสิ ทธิ ภาพการท�ำงานของนักบัญชี บริ ษทั ในเขตภาคเหนื อตอนล่าง). Master’s dissertation, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand. Siriwongse, T. (2011). Organization Behavior (พฤติ กรรมองค์การ). Bangkok: Kasetsart University. Sirsuwan, R. (2009). The Performance Efficiency of the Accounting and Evaluating Section Officer of the Provincial Electricity Authority (ประสิ ทธิ ภาพการปฏิ บตั ิ งานของพนักงานแผนกบัญชีและประมวลผล การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค). Master’s dissertation, Sukhothai Thammathirat Open University, Nonthaburi, Thailand. Sungroong, P. (2005). Human Relations in Organization (มนุษยสัมพันธ์ใน 42


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

องค์การ) (7th ed.). Bangkok: Suan Dusit Rajabhat University. Thanartna, K. (2005). The Relationships between Professional Ethics and Job Efficiency of Accountants of SMEs in the Northeastern Region of Thailand (ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณวิชาชีพและประสิ ทธิ ภาพ การท�ำงานของนักบัญชีธรุ กิ จ SMEs ในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ). Master’s dissertation, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand. The Royal Institute of Thailand. (2013). The Royal Institute Dictionary, B.E. 2554 (2011) (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน พ.ศ.2554) (2nd ed.). Bangkok: The Royal Institute of Thailand. The Stock Exchange of Thailand. (2013). List of SET Listed Companies (ราย ชื่อบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์). [Online]. Retrieved November 7, 2013 from http://www.set.or.th/ listedcompany/static/listedCompanies_ th_TH.xls Trakoonsangngern, P. (2007). Work Efficiency of Accountants in Bank for Agriculture and Agricultural Co-operatives in the Upper-Northeastern Region of Thailand (Branch Administration Department III) (ประสิ ท ธิ ภ าพการท�ำ งานของนั ก บัญ ชี ธ นาคารเพื่ อ การเกษตรและ สหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ในเขตภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อตอนบน (ฝ่ ายกิ จการสาขา 3). Master’s independent study, Mahasarakham University, Mahasarakham, Thailand. Vanichbuncha, K. (2011). Data Analysis with SPSS for Windows (การใช้ SPSS for Windows ในการวิ เคราะห์ขอ้ มูล) (19th ed.). Bangkok: Thammasarn. Viriyapan, T. (2007). Human Relations and Administration (มนุษยสัมพันธ์กบั การบริ หาร) (4th ed.). Bangkok: Sahadhammika.

43



รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝ่ สมั ฤทธิ์ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย นวัสนันท์ วงศ์ประสิ ทธิ์ 1 บทคัดย่อ ั ยของการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ การศึกษานี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษา 1) ปจจั ั ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) 2) ปญหาอุ ปสรรคและวิธกี ารแก้ไขทีพ่ บ ่ และ 3) รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝสมั ฤทธิในการท� ำงานของ อสม. จังหวัดสระแก้ว ์ ประเทศไทย ใช้วธิ ีก ารวิจ ยั เชิง คุณ ภาพ คัดเลือ กกลุ่ม ผู้ใ ห้ข้อ มูลหลัก แบบเจาะจง ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักได้แก่ อสม. ดีเด่น ประจ�ำปี 2557 ซึง่ เป็ นตัวแทนอ�ำเภอของจังหวัด สระแก้ว จ�ำนวน 10 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธกี ารสัมภาษณ์เชิงลึก เครือ่ งมือวิจยั เป็ นแบบสัมภาษณ์ทผ่ี ูว้ จิ ยั สร้างขึน้ ร่วมกับการสังเกตพืน้ ทีจ่ ริงและจากการรวบรวบ เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง ผลการศึกษาเสนอเป็น (ร่าง) โมเดลมด : รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ของ อสม. ซึง่ ประกอบด้วยปจั จัย 2 ส่วนคือ 1) แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์จากปจั จัยภายในตน 2) แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิจากป ์ จั จัยภายนอกตน กรอบหลักคิดของโมเดลมด เกิดมาจาก การศึกษาทีพ่ บว่า อสม. เป็ นอาสาสมัครทางสาธารณสุขทีท่ �ำหน้าทีด่ ูแลด้านสุขภาพ ของประชาชนในหมูบ่ า้ นเป็ นทีมงานสาธารณสุขทีใ่ กล้ชดิ ประชาชนมากทีส่ ดุ มีจำ� นวน มากที่สุดและพบเจอปญั หามากที่สุดเช่นกัน ซึ่งแม้จะพบเจออุปสรรคอย่างไร อสม. ก็จะต้องท�ำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้สำ� เร็จเสมอ การท�ำงานของอสม.เปรียบเหมือนมดงาน ทีต่ อ้ งท�ำงานหาอาหารมาเก็บกักตุนไว้ใช้ตลอดปีไม่วา่ พบเจออุปสรรคใด ๆ มดก็ไม่ละ ั า่ อุปสรรคจนส�ำเร็จตามเป้าหมาย โดยปจจั ั ยทีห่ นึง่ แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ความพยายาม มุง่ ฟนฝ จากปจั จัยภายในตน เป็ นพลังใจที่ อสม. สร้างขึน้ เองโดยฝึกคิดเชิงบวกต่อการท�ำงาน ทุม่ เท ท�ำงานเต็มทีไ่ ม่ลดละความพยายาม มีปญั หาอุปสรรคแก้ไขจนประสบผลส�ำเร็จ ั ยทีส่ อง แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์จากปจจั ั ยภายนอกตน เป็นพลังใจที่ อสม. ตามเป้าหมาย ปจจั สร้างขึน้ จากการได้รบั การชืน่ ชม ยกย่อง สนับสนุนจากบุคคลทีใ่ กล้ชดิ และกลุม่ บุคคลอืน่ หน่ วยงาน และทีมงาน เพื่อเอือ้ อ�ำนวยและสนับสนุ นท�ำให้ตนเกิดแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ในการท�ำงานให้เกิดผลส�ำเร็จในทีส่ ดุ ปญั หาและอุปสรรคทีพ่ บได้แก่ภาระงานทีเ่ พิม่ ขึน้

1 อาจารย์ ดร. ประจำ�สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏราชนครินทร์ อีเมล nawasanan@gmail.com

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 45-67, 2558


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

ั และยังขาดความร่วมมือจากประชาชนในบางพืน้ ที่ แนวทางแก้ปญหาได้ ใช้วธิ กี ารสือ่ สาร ท�ำความเข้าใจกับประชาชนให้มากทีส่ ดุ หลากหลายรูปแบบ ข้อเสนอแนะการน�ำไปใช้ ประโยชน์ เป็ น แนวทางให้ผู้เ กี่ย วข้อ งด้า นบริห ารจัด การสุ ข ภาพชุ ม ชนได้น� ำ ไป สร้างระบบการจูงใจใฝส่ มั ฤทธิให้ ์ อสม.ท�ำงานให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดเพือ่ เป็ นขวัญและ ก�ำลังในในการท�ำงานต่อไป ค�ำส�ำคัญ : 1. แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์. 2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บา้ น (อสม.). 3. (ร่าง) โมเดลมด : รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของ อสม. จังหวัด สระแก้ว ประเทศไทย.

46


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

The Achievement Motive Model of Health Volunteers of Sakaeo Province, Thailand Nawasanan Wongprasit2 Abstract The objectives of this study were: 1) to describe the factors of the Achievement Motive Model of Health Volunteers of Sa Kaeo Province in Thailand; 2) to describe the obstacles or problems and how to improve; and 3) to investigate the Achievement Motive Model of Health Volunteers of Sa Kaeo Province. The research design was qualitative approach. A purposive sampling technique was chosen. The key participants were 10 Health Volunteers who had been awarded certificates as being the best Health Volunteers of Sa Kaeo Province in 2014. They represented 10 districts of Sa Kaeo Province. The data were collected from in-depth interviews, using an interview guide which was created by the researcher, as well as from observation and field note. The research results were interpreted using the [spell out ANT initials] (ANT) model. The achievement motive model of health volunteers of Sa Kaeo Province in Thailand contained two factors: 1) inside achievements motive; and 2) outside achievements motive. These concepts are proposed as a tentative interpretation of the findings. This study found that the health volunteers, as low-status workers in their community, had a lot of clients, many jobs to do and a lot of problems to solve. Their job was like being a worker ant, and they must try to do their best even though they experience many problems and persevere until they achieve success without surrendering. This model’s framework included two factors. The first factor is inside achievements motive, which means the individual health workers had a high achievement motive, which was created by themselves every day at all times. It involves positive thinking for

2 Lecturer, Ph.D at Public Health topic in Science and Technology Department, Rajapathrachanarindra, Chachoengsao, Thailand. E-mail address: nawasanan@gmail.com

47


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

success in the health volunteer’s work. It is about trying to do their best in their work without surrendering, and if there are obstacles or problems, they will solve them until they achieve success. The second factor – outside achievements motive – is the achievement motive of health volunteers arose from the encouragement of the group or people close to them, motivating them to achieve success. The problems were the increasing job and lack of participation from people in some areas. They solved these problems by using several methods to communicate with those people. The implications of this study are guidelines for those concerned to create a motivation system for supporting health volunteers’ achievement motive so that they can do their work most effectively and have higher morale. Keywords: 1. Achievement motive. 2. Health volunteers. 3. Health volunteers achievement motive model, Sakaeo Province, Thailand.

48


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ความเป็ นมาและความส�ำคัญของปัญหา ประเทศไทยให้ความส�ำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มาโดยตลอด โดยถือเป็น นโยบายส�ำคัญระดับประเทศ ดังจะเห็นในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทกุ ฉบับ (ฉบับที่ 1-11) ที่มุ่งเน้ นการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ เนื่องจากมนุ ษย์เป็ นทรัพยากร ทีส่ ำ� คัญในการพัฒนาองค์การ โดยเฉพาะองค์การด้านสุขภาพซึง่ ต้องใช้แรงงานคนเป็ น ผูใ้ ห้บริการเป็ นส่วนใหญ่ หากการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่มปี ระสิทธิภาพแล้ว ย่อมท�ำให้การจัดการด้านสุขภาพมีปญั หาตามไปด้วย การทีบ่ คุ คลจะสามารถปฏิบตั งิ าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่นนั ้ ขึน้ อยูก่ บั ความสามารถเฉพาะตัวทีจ่ ะสร้างแรงจูงใจ ของตนเองและขององค์การทีจ่ ะสร้างขวัญและก�ำลังใจเพือ่ เป็ นการกระตุน้ หรือจูงใจให้ คนในองค์กรท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากถ้าบุคคลใดมีแรงจูงใจการปฏิบตั ิ งานสูงก็แสดงว่าบุคคลนัน้ เป็ นผูม้ จี ุดมุง่ หมายในชีวติ มีความคล่องแคล่วว่องไวในการ ท�ำงาน ไม่อยูน่ งิ่ เฉื่อยชาและจะสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ McClelland (1985: 812-825) กล่าวว่า แรงจูงใจของบุคคล เป็ นการกระท�ำเพือ่ มุง่ เป้า หมายทีต่ อ้ งการการผลักดันอย่างแรงกล้าและเป็ นเลิศเฉพาะตัวบุคคล และบุคคลจะ ด�ำเนินการใดใดให้สำ� เร็จตามเป้าหมายนัน้ จะต้องมีองค์ประกอบของความสรรถนะ (competency) ทีส่ ำ� คัญคือแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ แรงจูงใจใฝ่ สมั ฤทธิ์ (achievement motive) (McClelland, 1985: 223-369) หมายถึง แรงจูงใจทีเ่ ป็นแรงขับให้บคุ คลพยายามทีจ่ ะแสดงพฤติกรรมทีจ่ ะประสบผลสัมฤทธิ ์ ตามมาตรฐานความเป็ นเลิศ (standard of excellence) ทีต่ นเองตัง้ ไว้ เป็ นแรงจูงใจ ของบุคคลทีก่ ระท�ำการเพือ่ ให้ได้มาซึง่ การท�ำงานให้ดที ส่ี ดุ และท�ำให้สำ� เร็จผลตามทีต่ งใจไว้ ั้ เมื่อ ท�ำ อะไรส�ำ เร็จ ได้จ ะเป็ น แรงกระตุ้น ให้ท�ำ งานอื่น ส�ำ เร็จ ต่ อ ไป หากองค์ก ารใด ทีม่ พี นักงานทีแ่ รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์จ�ำนวนมากย่อมเจริญรุง่ เรืองและเติบโตเร็ว แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ จึงเป็ นปจั จัยส�ำคัญประการหนึ่งที่ท�ำให้บุคคลประสบความส�ำเร็จและเป็ นบุคลากร ทางสาธารณสุขทีม่ คี ณ ุ ภาพได้ ดังที่ Rutairat Chidmongkol and Pramrudee Boribal (2012: 98-108) กล่าวว่า แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิเป็ ์ นปจั จัยส�ำคัญประการหนึ่งทีท่ �ำให้ นักศึกษาพยาบาลประสบความส�ำเร็จในการเรียนและเป็ นบุคลากรทางการพยาบาล ที่มคี ุณภาพได้ เนื่องจากแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ ์เป็ นแรงขับภายในตัวมนุ ษย์ท่กี ระตุ้น มนุษย์ให้เกิดความมุง่ มันในการท� ่ ำงาน คนทีม่ แี รงจูงใจสูงจะใช้ความพยายามในการกระท�ำ ้ ไปสู่เปาหมายโดยไม่ลดละ พร้อมที่จะท�ำงานด้วยความเต็มใจและแสดงพฤติกรรม อย่างใดอย่างหนึ่งออกมาเพือ่ น�ำไปสูค่ วามส�ำเร็จในเป้าหมายทีต่ งั ้ ไว้ ผลงานทีอ่ อกมา มีคณ ุ ภาพและงานส�ำเร็จลุลว่ งไปด้วยดีและรวดเร็ว McClelland (1987: 221-369) ได้ทำ� การทดลองโดยใช้แบบทดสอบการรับรู้ 49


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

ของบุคคล (Thematic Apperception Test: TAT) เพือ่ วัดความต้องการของมนุษย์ โดย แบบทดสอบ TAT เป็นเทคนิคการน�ำเสนอภาพต่างๆ แล้วให้บคุ คลเขียนเรือ่ งราวเกีย่ วกับ สิง่ ทีเ่ ขาเห็น จากการศึกษาได้สรุปคุณลักษณะของคนทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิสู์ งมีความต้องการ 3 ประการดังนี้ 1. ความต้องการความส�ำเร็จ (need for achievement: nAch) เป็นความต้องการ ทีจ่ ะท�ำสิง่ ต่างๆ ให้เต็มทีแ่ ละดีทส่ี ดุ เพือ่ ความส�ำเร็จ จากการวิจยั ของ McClelland พบว่า บุคคลทีต่ อ้ งการความส�ำเร็จ (nAch) สูง จะมีลกั ษณะชอบการแข่งขัน ชอบงานทีท่ า้ ทาย และต้องการได้รบั ข้อมูลป้อนกลับเพือ่ ประเมินผลงานของตนเอง มีความช�ำนาญในการวางแผน มีความรับผิดชอบสูง และกล้าทีจ่ ะเผชิญกับความล้มเหลว 2. ความต้องการความผูกพัน (need for affiliation: nAff) เป็ นความต้องการ การยอมรับจากบุคคลอืน่ ต้องการเป็นส่วนหนึง่ ของกลุม่ ต้องการสัมพันธภาพทีด่ ตี อ่ บุคคลอืน่ บุคคลทีต่ ้องการความผูกพันสูงจะชอบสถานการณ์ การร่วมมือมากกว่าสถานการณ์ การแข่งขัน โดยจะพยายามสร้างและรักษาความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูอ้ น่ื 3. ความต้องการอ�ำนาจ (need for power: nPower) เป็ นความต้องการอ�ำนาจ เพือ่ มีอทิ ธิพลเหนือผูอ้ น่ื บุคคลทีม่ คี วามต้องการอ�ำนาจสูงจะแสวงหาวิถที างเพือ่ ท�ำให้ตน มีอทิ ธิพลเหนือบุคคลอื่น ต้องการให้ผอู้ ่นื ยอมรับหรือยกย่อง ต้องการความเป็ นผูน้ � ำ ต้องการท�ำงานให้เหนือกว่าบุคคลอื่น และจะกังวลเรื่องอ�ำนาจมากกว่าการท�ำงาน ให้มปี ระสิทธิภาพ นอกจากนี้ McClelland (1987) ยังได้พบว่าบุคคลทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ จะมี คุณลักษณะ ดังนี้ 1) มีความรับผิดชอบในงาน 2) ต้องการข้อมูลย้อนกลับ และ 3) เป็นผูม้ นี วัตกรรมใหม่เสมอ สอดคล้องกับ Kean Wonthaneeyatrakul (2010) ได้กล่าวถึง ลักษณะของบุคคลทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์สูงจะเป็นคนทีม่ คี วามทะเยอทะยาน มีความอดทน มีเป้าหมายและความหวังที่จะประสบความส�ำเร็จ และพยายามที่จะปฏิบตั สิ งิ่ ต่างๆ ของตนเองให้ดอี ยูเ่ สมอ สรุปได้ว่า แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ ์ คือ ความต้องการอย่างแรงกล้าของบุคคล ทีจ่ ะท�ำงานให้บรรลุเป้าหมายโดยไม่ลดละความพยายาม รวมทัง้ ความพยายามทีจ่ ะ หาหนทางท�ำงานให้เป็ นเลิศและดีขน้ึ เสมอ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) หมายถึง บุคคลทีไ่ ด้รบั การคัดเลือก จากชาวบ้านในแต่ละกลุม่ บ้านและได้รบั การอบรมตามหลักสูตรทีก่ ระทรวงสาธารณสุข ก�ำหนด โดยมีบทบาทหน้าทีส่ ำ� คัญในฐานะผูน้ �ำการเปลีย่ นแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพ อนามัย (change agents) การสือ่ ข่าวสารสาธารณสุข การแนะน�ำเผยแพร่ความรู้ การวางแผน และประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุข ตลอดจนให้บริการสาธารณสุขด้านต่าง ๆ เช่น 50


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและป้องกันโรค การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลขันต้ ้ น โดยใช้ยาและเวชภัณฑ์ตามขอบเขตทีก่ ระทรวงสาธารณสุขก�ำหนด การส่งต่อผูป้ ่วย ไปรับบริการ การฟื้นฟูสภาพ และจัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนในหมูบ่ า้ น/ ชุมชน โดยไม่มคี า่ ตอบแทนใดๆ เป็ นลักษณะการอาสามาท�ำงาน กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญของคนกลุ่มนี้ และยอมรับว่า การท�ำงานด้านสาธารณสุขชุมชนของ อสม. สามารถช่วยให้ประชาชนมีสุขภาพดีขน้ึ สอดคล้องกับการศึกษาของ Komatra Chuengsatiansup (2006) ทีพ่ บว่า ผูน้ �ำชุมชน และ อบต. มีความคิดเห็นว่า อสม. มีบทบาทบริการสาธารณสุขในชุมชนมากกว่าทุกกลุม่ และยังเห็นว่ากลไกการท�ำงานของ อสม. ยังเป็ นกลไกทีเ่ หมาะสมในการพัฒนาสุขภาพ ของชุมชน กระทรวงสาธารณสุขจึงได้พยายามทุกวิถที างทีจ่ ะหามาตรการสร้างแรงจูงใจ ให้ อสม. ให้มคี วามสุขในการท�ำงานและคงประสิทธิภาพการท�ำงานในชุมชนต่อไป เช่น มีการจัดกิจกรรมประกวด อสม. ดีเด่นเพือ่ เป็ นการเชิดชูเกียรติ อสม. ทีท่ มุ่ เท เสียสละ แรงกาย แรงใจในการท�ำหน้าทีช่ ว่ ยเหลือดูแลสุขภาพของประชาชนทีร่ บั ผิดชอบมาตลอดปี โดยก�ำหนดให้มกี ารจัดประกวดทุก 2 ปี และต่อมาได้พจิ ารณาเห็นว่าค่าใช้จา่ ยเป็นส่วนหนึง่ ของปจั จัยทีป่ ระสบความส�ำเร็จของงาน อสม. จึงให้คา่ ตอบแทน เดือนละ 600 บาทตัง้ แต่ พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา ซึง่ ไม่ใช่เป็นค่าตอบแทนโดยตรงแต่เป็นการให้เนื่องจากเห็นคุณค่า ของ อสม. (Triruangworawat, 2012) สอดคล้องกับ Tawatchai Weerakittikul (2009) ั ยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การปฏิบตั งิ านตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุข ทีศ่ กึ ษาปจจั ั ยทีม่ คี วามสัมพันธ์ ประจ�ำหมูบ่ า้ นในการด�ำเนินงานหมูบ่ า้ นจัดการสุขภาพ จ.พัทลุง พบว่า ปจจั กับงาน ได้แก่ รายได้ของ อสม. ระยะเวลาการเป็น อสม. ความพึงพอใจในต�ำแหน่ง อสม. การรับรูค้ วามสามารถตนเองในการพัฒนา แรงสนับสนุนจากเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข เพือ่ นบ้าน และสัมพันธภาพของ อสม. กับประชาชน และเสนอแนะว่าการทีจ่ ะพัฒนา อสม. ให้ม ี ประสิทธิภาพนัน้ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข ต้องเสริมพลังร่วมกับภาคประชาชนอย่างมีสว่ นร่วม และเป็ นระบบต่อเนื่อง โดยมีกลไกรับผิดชอบติดตามพร้อมทัง้ สร้างสัมพันธภาพทีด่ ี ระหว่าง อสม.กับเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข กล่าวได้วา่ ผลส�ำเร็จของการท�ำงาน อสม. นัน้ คือการทีป่ ระชาชนเข้ามามีสว่ นร่วม ในการด�ำเนินงานด้านสุขภาพของชุมชน เนื่องจากประชาชนเป็ นผูท้ อ่ี ยู่ในชุมชนนัน้ หากประชาชนมีสว่ นร่วมแล้ว การด�ำเนินการใดๆจึงจะส�ำเร็จอย่างยังยื ่ น (Sota, 2011) อสม. ดีเด่นเป็ น อสม. ที่ได้รบั การคัดเลือกผ่านหลักเกณฑ์ท่กี �ำหนดจาก กระทรวงสาธารณสุขอันประกอบด้วยเกณฑ์พน้ื ฐานและเกณฑ์ความรูค้ วามสามารถเฉพาะทาง ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดูแลสุขภาพประชาชนทีร่ บั ผิดชอบ จึงถือว่าเป็นกลุม่ คนทีม่ คี วามเป็นเลิศ และมีความส�ำเร็จในงานระดับหนึ่ง ทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในการท�ำงานสูงจนกระทัง่ 51


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

บรรุลผุ ลส�ำเร็จดังกล่าว ในขณะทีม่ ี อสม. อีกจ�ำนวนมากทีต่ อ้ งการจะประสบความส�ำเร็จ และได้ร ับ การคัด เลือ กเป็ น อสม. ดีเ ด่ น อัน เป็ น การสร้า งเสริม ขวัญ และก� ำ ลัง ใจ ในการพัฒนาการท�ำงานของ อสม. ในภาพรวมให้มปี ระสิทธิภาพสูงยิง่ ขึน้ ไป (Primary Health Care Division, 2013) จังหวัดสระแก้ว เป็นจังหวัดหนึง่ ทีต่ งอยู ั ้ ภ่ าคตะวันออกของประเทศไทย โดยมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียงดังนี้ ทิศเหนือติดกับจังหวัดบุรรี มั ย์และ นครราชสีมา ทิศใต้ตดิ กับจังหวัดฉะเชิงเทราและจันทบุร ี ทิศตะวันออกติดกับประเทศกัมพูชา ทิศตะวันตกติดกับจังหวัดปราจีนบุร ี จังหวัดสระแก้วแบ่งพืน้ ทีก่ ารปกครองเป็น 9 อ�ำเภอ ดังนี้ 1) อ�ำเภอเมืองสระแก้ว 2) อ�ำเภอคลองหาด 3) อ�ำเภอตาพระยา 4) อ�ำเภอวังน�้ำเย็น 5) อ�ำเภอวัฒนานคร 6) อ�ำเภออรัญประเทศ 7) อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ 8) อ�ำเภอโคกสูง และ 9) อ�ำเภอวังสมบูรณ์ มีจำ� นวน 58 ต�ำบล 731 หมูบ่ า้ นและ 161,032 ครัวเรือน (Department of Provincial Administration, 2014) สาเหตุการตายของประชาชนในจังหวัด อันดับ 1 ได้แก่ มะเร็ง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมอง โรคไตวาย และโรคตับแข็ง ตามล�ำดับ (Department of Provincial Administration, 2014) ซึง่ จะพบว่าเป็นโรคทีส่ ามารถป้องกันได้เป็นส่วนใหญ่ ส�ำหรับ อสม. ของจังหวัดสระแก้ว ปจั จุบนั มี อสม. จ�ำนวนทัง้ สิน้ 8,877 คน ท�ำหน้าทีด่ แู ลรับผิดชอบ สุขภาพของประชาชนในหมูบ่ า้ นและชุมชน จ�ำนวน 161,032 หลังคาเรือน มีความครอบคลุม อสม. 1 คนต่อ 18 หลังคาเรือน ยังขาด อสม. จ�ำนวน 2,108 คน และปี 2558 ส�ำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดสระแก้วได้กำ� หนดเป้าหมายให้มกี ารอบรม อสม. อีกจ�ำนวน 500 คน (Department of Provincial Administration, 2014) เพือ่ รองรับการบริการทางสุขภาพ ในชุมชนให้มปี ระสิทธิภาพและทัวถึ ่ งมากขึน้ จากความส�ำคัญของบทบาท อสม. และ แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ดังกล่าวข้างต้น จึงต้องการศึกษาถึงลักษณะแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ และ แนวทางการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในการท�ำงานของ อสม. ให้ประสบความส�ำเร็จ เพือ่ เป็ น แนวทางให้ก ระทรวงสาธารณสุข และหน่ ว ยงานที่เ กี่ย วข้อ งได้น� ำ ไปออกแบบ การสร้างแรงจูงใจในการท�ำงานของ อสม. ให้เหมาะสม เพื่อให้สามารถท�ำงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพดีเยีย่ มและมีความสุข อันจะส่งผลให้สขุ ภาพของประชาชนไทยโดยรวม ดีขน้ึ และท�ำให้เป็ นปจั จัยส�ำคัญต่อการพัฒนาประเทศชาติมคี ณ ุ ภาพมากขึน้ ตามไปด้วย ค�ำถามการวิ จยั ั ยของการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมูบ่ า้ น 1. ปจจั จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย เป็ นอย่างไร 2. ปญั หา อุปสรรคและวิธกี ารแก้ไข ในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิของ ์ อาสาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย มีอะไรบ้าง 52


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

3. รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น ์ จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย เป็ นอย่างไร วัตถุประสงค์การวิ จยั 1. เพือ่ ศึกษาปจั จัยในการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุข ์ ประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย 2. เพือ่ ศึกษาปญั หา อุปสรรค และวิธกี ารแก้ไข ในการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย 3. เพือ่ ศึกษารูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุข ์ ประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย ขอบเขตการศึกษา ศึกษาเฉพาะการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุข จังหวัด ์ สระแก้ว เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน-กรกฎาคม พ.ศ. 2557 วิ ธีดำ� เนิ นการวิ จยั การวิจยั ครัง้ นี้เป็ นเป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ (qualitative research) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรทีจ่ ะศึกษาหรือผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก (key informant) ได้แก่ อสม. ดีเด่นประจ�ำปี 2557 ของจังหวัดสระแก้ว ไม่จำ� กัด เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนาและอาชีพ วิธกี าร สุม่ ตัวอย่าง เลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลักแบบเจาะจงทีส่ อดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจยั (purposive sampling) จากตัวแทนทุกอ�ำเภอในจังหวัด อ�ำเภอละ 1 คน เป็นจ�ำนวน 10 คน เมือ่ ข้อมูลอิม่ ตัวแล้วจะหยุดเก็บข้อมูล (theoretical saturation) การเข้าถึงกลุม่ ผูใ้ ห้ขอ้ มูล หลักโดยติดต่อผ่านผูน้ �ำชุมชนและเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขของท้องถิน่ นัน้ เครื่องมือการวิ จยั เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ แบบสัมภาษณ์ทผ่ี วู้ จิ ยั สร้างขีน้ ตามแนวคิดของ Patton (1990) เครือ่ งบันทึกเสียง ซึง่ จะบันทึกเสียงไว้ทกุ ค�ำพูดแล้วก็จะเก็บเป็นความลับ ไม่เปิดเผย นอกจากการเผยแพร่ในเชิงวิชาการและก่อนการด�ำเนินเก็บข้อมูล ผูว้ จิ ยั ได้ ขออนุ ญาตจากผูใ้ ห้ขอ้ มูลก่อนทุกครัง้ เมื่อผูใ้ ห้ขอ้ มูลอนุ ญาตจึงจะท�ำการเก็บข้อมูลได้ และผูใ้ ห้ขอ้ มูลสามารถยกเลิกการให้ขอ้ มูลได้ตลอดเวลา วิ ธีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้วธิ กี ารสัมภาษณ์เชิงลึก และตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ได้แก่ ข้อมูล 53


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

จากรายงานการประชุมทีเ่ กีย่ วข้อง ข้อมูลรายงานผลการปฏิบตั งิ าน การสังเกตสถานที่ ท�ำงานจริง และบันทึกต่างๆ เป็ นต้น ระยะเวลาการด�ำเนินการนัดหมายและสัมภาษณ์ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก ตัง้ แต่เดือนเมษายน-กรกฎาคม พ.ศ. 2557 จากนัน้ น�ำเครือ่ งบันทึกเสียง มาถอดเป็ นข้อความบันทึกไว้ในคอมพิวเตอร์ การจัดการข้อมูล (data management) ผูว้ จิ ยั จัดเก็บข้อมูลโดยการบันทึกข้อมูลเสียงลงทังในคอมพิ ้ วเตอร์และ CD จากนัน้ ได้ถอดเทปข้อมูลและพิมพ์ขอ้ มูลบันทึกลงในคอมพิวเตอร์ และ CD ข้อมูลของผูใ้ ห้ภาษณ์ ทัง้ หมดจะเก็บเป็ นความลับและไว้ในตูส้ ว่ นตัวของผูว้ จิ ยั มีกุญแจปิด ป้องกันผูอ้ ่นื น�ำไป ใช้ประโยชน์โดยไม่ได้รบั อนุญาต การวิ เคราะห์ข้อมูล (data analysis) ใช้วธิ กี ารสรุปและตีความหมายของข้อมูลแล้วสร้างมโนทัศน์ขน้ึ โดยอาศัยความไว ทางทฤษฏีและใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ Atlas Ti รุน่ 6.2 ช่วยในการจัดระบบการวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลมี 3 ขัน้ ตอนตามล�ำดับดังนี้ (Strauss and Corbin, 1998) 1. ขันการเปิ ้ ดรหัส (open coding) เป็นการวิเคราะห์หาความสอดคล้องสะท้อน ประเภทหรือแก่นในข้อมูลทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ โดยพิจารณาเปิ ดรหัสชนิดอ่านทีละ บรรทัดหากมีขอ้ ความใดทีบ่ ่งบอกถึงปจั จัยการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในการท�ำงาน ปญั หาและอุปสรรค และรูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข ตามวัตถุประสงค์การวิจยั ก็จะท�ำรหัสไว้ 2. ขันการหาแก่ ้ นของรหัส (axial coding) ทีเ่ ป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ข้อ มูล หรือ ชี้บ่ ง ลัก ษณะของข้อ มูล ที่บ่ ง บอกถึง ป จั จัย การสร้า งแรงจูง ใจใฝ่ส มั ฤทธิ ์ ั ในการท�ำงาน ปญหาและอุ ปสรรค และรูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั คร ์ สาธารณสุข ต่อจากการเปิดรหัส 3. ขัน้ การเลือกรหัส (select coding) เป็ นการน�ำเอาประเภทและความสัมพันธ์ ั ยการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ หรือแก่นของข้อมูลมาอธิบายบริบทหรือปรากฏการณ์ของปจจั ั ในการท�ำงาน ปญหาและอุ ปสรรค และรูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั คร ์ สาธารณสุขทีพ่ บ ความน่ าเชื่อถือของงานวิ จยั ใช้วธิ กี ารตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูลด้วยวิธเี ก็บข้อมูลจากหลายทาง ทัง้ การสัมภาษณ์และการสังเกต เพือ่ ตรวจสอบและให้ได้ขอ้ มูลทีค่ รอบคลุม และใช้การตรวจสอบ สามเส้าด้านการตีความระหว่างนักวิจยั ร่วมกับการน�ำข้อมูลกลับไปให้ผใู้ ห้ขอ้ มูลตรวจสอบ ความถูกต้องอีกครัง้ หลังการวิเคราะห์ขอ้ มูลสิน้ สุดลง อีกทัง้ ได้น�ำบริบททีศ่ กึ ษาเข้ามา ร่วมในการวิเคราะห์ 54


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ผลการวิ จยั จากการศึกษารูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข ั ประจ�ำหมูบ่ า้ น (อสม.) และปญหาอุ ปสรรคทีพ่ บในการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิในการท� ำงาน ์ ของ อสม. จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย โดยการสัมภาษณ์ อสม. ดีเด่น จังหวัดสระแก้ว ปี 2557 จ�ำนวน 10 สาขาๆ ละ 1 คน รวมทังสิ ้ น้ 10 คนนัน้ เป็นเพศชาย 5 คน เพศหญิง 5 คน อายุต่ำ� สุด 43 ปี สูงสุด 65 ปี โดยแบ่งเป็นช่วงอายุ ดังนี้ อายุน้อยกว่า 45 ปี จ�ำนวน 3 คน อายุ 45-50 ปี จ�ำนวน 3 คน อายุ 51-55 ปี จ�ำนวน 2 คน และอายุมากกว่า 61 ปี จ�ำนวน 2 คน จ�ำแนกตามวุฒกิ ารศึกษา วุฒปิ ระถมศึกษาตอนต้นจ�ำนวน 1 คน มัธยมศึกษาตอนต้น จ�ำนวน 1 คน มัธยมศึกษาตอนปลาย จ�ำนวน 5 คน ประกาศนียบัตรการศึกษาชัน้ สูง จ�ำนวน 1 คน และปริญญาตรี จ�ำนวน 2 คน ผลการศึกษารูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข ผูว้ จิ ยั น�ำเสนอโดยเทียบเคียงจากองค์ประกอบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิตามแนวคิ ด ์ ของ McClelland (1987) และประยุกต์กบั แนวคิดทฤษฏีการจูงใจทีเ่ กีย่ วข้อง สามารถ น�ำเสนอผลการวิจยั ตามวัตถุประสงค์ของการวิจยั ได้ดงั นี้ 1. ปั จจัยในการสร้างแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ของอาสาสมัครสาธารณสุข ั ยทีเ่ กีย่ วข้อง ประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย จากผลการศึกษาพบว่ามีปจจั สองปจั จัยหลัก ได้แก่ 1.1 แรงจูงใจใฝ่ สมั ฤทธิ์ จากปัจจัยภายในตน เป็ นพลังใจส่วนตน ของ อสม. ทีต่ อ้ งการจะแสดงพฤติกรรมการท�ำงานให้เป็นเลิศโดยไม่มใี ครบังคับ เป็นการคิด เชิงบวกเพื่อให้งานส�ำเร็จตามเป้าหมายโดยไม่ย่อท้อ ต้องการเป็ นแบบอย่างทีด่ แี ละ ต้องการท�ำงานให้ดขี น้ึ กว่าเดิมเสมอ คุณลักษณะของบุคคลทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ภายในตน ได้แก่ 1.1.1. มุ่งมันตั ่ ง้ ใจท�ำงานโดยไม่ย่อท้อ เป็ นแรงผลักจาก ภายในจิตใจของอสม.ทีจ่ ะมุง่ ท�ำงานให้สำ� เร็จแม้มอี ปุ สรรคจะคิดเชิงบวกเพือ่ ให้ บรรลุเป้าหมาย ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ตัง้ แต่ทำ� งานมา ั ได้แนะน�ำ ก็ 20 กว่าปี ไม่เคยท้อ เพราะในจิตใจมีความสุขดีทไ่ี ด้พดู คุย ได้แก้ปญหา ให้ชาวบ้านด้วยใจและสนุกทีไ่ ด้ชว่ ยเหลือสังคม” (คนที่ 2) สอดคล้องกับ ค�ำกล่าว ของผูใ้ ห้สมั ภาษณ์อกี ท่าน ทีก่ ล่าวว่า “บางครัง้ ก็รสู้ กึ ว่าท้อ ทีว่ า่ คนในชุมชน ของเรา จะรอแต่ให้เราไปท�ำให้ เขายังไม่ทำ� ด้วยตัวเอง ต้องเราให้เราไปบอกนะ ยังท้ออยูต่ รงนี้ แต่วา่ จะพยายามความส�ำเร็จมันไม่เหนือความพยายามเนอะ ท้อแต่ไม่ถอยค่ะ ต้องสูต้ ่อ” (คนที่ 1) 1.1.2 มุง่ เป้าหมายของงานเป็นส�ำคัญ เป็นการเห็นความส�ำคัญ 55


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

กับงานหรือประโยชน์ของสังคมมากกว่าประโยชน์สว่ นตน ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ ข้อมูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ต้องไม่เอาตัวเองเป็นตัวตัง้ อันดับแรก เอาความส�ำเร็จ ของงานเป็ นทีต่ งั ้ ” (คนที่ 9) 1.1.3 ตัง้ ใจจะแสดงพฤติก รรมเป็ น แบบอย่า งที่ดี เป็ น ความต้องการทีจ่ ะแสดงความเป็ นเลิศในการท�ำงานเพื่อให้คนอื่นได้เรียนรู้ เป็ นการพัฒนาผูอ้ ่นื ในภาพรวม ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “เราก็เป็นตัวอย่างทีด่ ใี ห้กบั เขา ครอบครัวก็อยูก่ นั อย่างปกติสขุ ไม่มอี ะไร ก็ถอื ว่า ตัวของเราก็เป็ นแบบอย่างทีด่ ใี นการท�ำงาน พอเวลาไปพูดอะไรเขาก็จะเชือ่ ” (คนที่ 8) ั 1.1.4 มุง่ มันท� ่ ำงานให้ดกี ว่าเดิมเสมอ เป็นการรูจ้ กั คิดแก้ปญหา ด้วยตนเองโดยมีความสามารถคิดสร้างสรรค์หานวัตกรรมในการท�ำงานเพือ่ ให้ ผลงานดีขน้ึ เสมอ ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ได้ทำ� นวัตกรรม มะกรูดทากันยุง เอามะกรูดดองใส่เหล้าขาว ใช้ทาแล้วป้องกันยุงได้ เป็ น นวัตกรรมแล้วก็เอาใส่สเปรย์พน่ ข้างๆ ก็ไม่มยี งุ มะกรูดทีเ่ ราดองก็เอามาใส่ถว้ ย วางไว้ ยุงก็ไม่มากวนเรา ศึกษาเอง ก็เอาลูกมะกรูดบดก็จะมีน้�ำมันหอมระเหย ก็เอาใส่โอ่งน�้ ำ ก็ป้องกันยุงวางไข่เพราะมันมีน้� ำมันหอมระเหย มันมีน้� ำมัน เคลือบผิวน�้ำ” (คนที่ 4) 1.2 แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ จากปั จจัยภายนอกตน เป็ น พลัง ใจ ภายนอกของ อสม.ทีไ่ ด้รบั จากการแสดงความชืน่ ชม ยกย่อง สนับสนุน จากบุคคลใกล้ชดิ และ กลุม่ บุคคลอืน่ จนเกิดพลังในการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในการท�ำงาน สามารถแบ่งเป็น ระดับ ได้ 3 ระดับได้แก่ 1) ระดับครอบครัว 2) ระดับชุมชน และ 3) ระดับหน่วยงาน ผูน้ �ำ และเครือข่ายชุมชน ได้แก่ 1.2.1 ระดับครอบครัว เป็นแรงจูงใจทีเ่ กิดจากการสนับสนุน จากบุคคลในครอบครัวให้การสนับสนุนการท�ำงานอสม.จนประสบความส�ำเร็จ คุณลักษณะของบุคคลทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในระดับนี้ ได้แก่ (1) ได้รบั การสนับสนุนจากครอบครัว เป็นก�ำลังใจจากบุคคล ใกล้ชดิ ได้แก่ ครอบครัวในการสนับสนุนการท�ำงานจนเกิดแรงผลักดันให้ทมุ่ เท ท�ำงานหนักดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “คนในครอบครัวเป็น แรงจูงใจทีส่ นับสนุนในการเป็น อสม. พ่อบ้านฉันเขาก็ให้กำ� ลังใจ และลูกก็เรียน กันหมด แม่ทำ� ไปเถอะสิง่ ไหนทีแ่ ม่ทำ� แล้วดีชว่ ยเหลือสังคม พ่อก็หยุดเถอะเรา ก็ชว่ ยไป ชีวติ เราก็แค่นเ้ี รียนมาก็นอ้ ยช่วยเหลือคนให้มชี วี ติ ฉันก็ทมุ่ เทมา คุณหมอ พาไปไหนก็ไป เอาทุกอย่าง” (คนที่ 6) 56


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

1.2.2 ระดับชุมชน เป็นแรงจูงใจทีเ่ กิดจากการสนับสนุนจาก ประชาชนในชุมชมให้การสนับสนุนและร่วมมือ การท�ำงาน อสม. จนประสบความส�ำเร็จ คุณลักษณะของบุคคลทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในระดับนี้ ได้แก่ (1) มีความรูส้ กึ ภูมใิ จทีไ่ ด้รบั การยกย่องจากการช่วยเหลือ ประชาชนในชุมชน เป็นพลังใจของอสม.ทีไ่ ด้รบั จากผูท้ อ่ี สม.ดูแลหรือช่วยเหลือ ทางสุขภาพหรือช่วยชีวติ ในยามวิกฤตได้สำ� เร็จ จนสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ในการท�ำงานของ อสม. ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ฉันก็มาคิดว่า เราแค่ อสม. ตัวน้อยๆ เราท�ำไมถึงไปช่วยชีวติ เขาได้ ดีใจ เมือ่ เขาเห็นเราอยูท่ ไ่ี หน ก็ยกมือไหว้วา่ ถ้าไม่ได้ป้าคงตายไปแล้วเขาบอกว่าอย่างนี้” (คนที่ 10) (2) การสร้างพระคุณจาการช่วยเหลือผูอ้ น่ื เป็นการสร้างพลังอ�ำนาจ จากการช่วยเหลือผูอ้ น่ื เพือ่ ให้งานส�ำเร็จในบางโอกาสทีต่ อ้ งการ เนื่องจากคนไทย ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ มักให้ความส�ำคัญกับผูท้ เ่ี คยมีบญ ุ คุณ ดังค�ำกล่าว ของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “นิสยั ก็มที งพระเดช ั้ พระคุณ มีพระเดชต้องเอา พระคุณมาด้วยในการท�ำงาน” (คนที่ 8) 1.2.3. ระดับหน่วยงาน ผูน้ �ำและเครือข่ายชุมชน เป็นแรงจูงใจ ทีเ่ กิดจากการสนับสนุนจากหน่วยงาน ผูน้ �ำชุมชนและเครือข่ายต่างๆทัง้ ภาครัฐ และเอกชน ในชุมชมให้การสนับสนุนและร่วมมือการท�ำงาน อสม. จนประสบความส�ำเร็จ คุณลักษณะของบุคคลทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในระดับนี้ ได้แก่ (1) ได้รบั การสนับสนุน ยกย่อง ชืน่ ชม จากเจ้าหน้าทีท่ ท่ี ำ� งานด้วย เป็นความรูส้ กึ มีความสุขใจจากการได้รบั การสนับสนุนจากทีมงานเป็นตัวแทน ส่งประกวดและสามารถท�ำให้ทมี งานเหล่านัน้ ประสบความส�ำเร็จไปด้วยกัน จากการได้รบั เลือกเป็ น อสม. ดีเด่นโดยไม่หวังเงินตอบแทน ดังค�ำกล่าวของ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ฉันว่ายังไงก็ได้ขอให้คนรอบข้างหรือว่าคนทีส่ ง่ เสริมฉัน ได้ดหี รือว่ามีหน้ามีตา ยิม้ แย้มแจ่มใสออกมา เงินทองฉันไม่เกีย่ ว เมือ่ ก่อนฉันเป็น อสม. ไม่คดิ ว่าจะได้เงิน 600 บาทนี่ ฉันก็ทำ� ของฉันมา รางวัลก็เป็นแรงจูงใจทีใ่ ห้ ฉันท�ำความดีขน้ึ ไป แต่กอ่ นฉันก็ไม่มอี ะไรอยูใ่ นดงในปา่ ได้ไปพักทีโ่ รงแรมหรูๆ คุณหมอพาไป ถ้าเราไม่ได้เป็น อสม. ตัวน้อยๆ เราคงไม่ได้ไปไม่ได้กนิ อาหารดีๆ ไปเต้นออกก�ำลังกาย ไปเต้นโชว์อยูท่ โ่ี รงแรม ค่าน�้ำมันเราก็ไม่เป็นไร เราเสียสละ คือว่าเราได้พฒั นาสมอง สมองก็ไม่ฝอ่ แล้วไม่ตอ้ งเครียดอะไร ใครจะว่ายังไงฉัน ฉันกลับบ้านก็ทำ� หน้าทีแ่ ม่บา้ น หุงข้าว ต้มแกงของฉันอย่างนี้แหละ” (คนที่ 10) (2) ได้รบั การสนับสนุนจากเพือ่ นอสม. เป็นความรูส้ กึ ภาคภูมใิ จ และเป็ นก�ำลังใจที่เพื่อนอสม.หรือทีมงานด้วยกันร่วมแรงร่วมใจกันท�ำงาน 57


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

เพื่อชุมชนอย่างเต็มที่ ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “แล้วก็ เพือ่ นๆ อสม. อีกจุดหนึง่ ทีช่ ว่ ยกันท�ำงานในหมูบ่ า้ น เพือ่ ให้คนในชุมชนปลอดโรค นีค่ อื สิง่ ทีภ่ าคภูมใิ จในการท�ำงานด้าน อสม. คนในครอบครัวทีเ่ ป็นแรงบันดาลใจ” (คนที่ 2) (3) ได้รบั การสนับสนุ นจากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สาธารณสุข อบต. โรงเรียน ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ส�ำเร็จ ต้องมีทมี เพือ่ น อสม. หมอ และมีคนในชุมชนให้ความร่วมมือ ถ้าคนในชุมชนไม่ให้ ความร่วมมือ แล้วคนๆ เดียวท�ำด้วยตัวเองไม่มโี อกาสทีจ่ ะประสบผลส�ำเร็จ ต้องท�ำ หลายๆ คนหลายๆ ฝา่ ย เทศบาลให้ความร่วมมือ โรงเรียน ครอบครัว” (คนที่ 1) (4) ได้รบั การสนับสนุนจากทีมและผูเ้ กีย่ วข้องทังหมด ้ ดังค�ำกล่าว ของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ทีมต้องเป็ นทีข่ อ้ หนึ่ง ถ้าขาดทีมก็ไม่สำ� เร็จ มีนอ้ ย สองครอบครัวให้การสนับสนุน ลงช่วยด้วยทังสามี ้ ทงลู ั ้ ก ท�ำงานเป็น อสม. ไม่ใช่วา่ จะท�ำคนเดียวแล้ว มันก็ประกอบกันหลายอย่าง ถ้าไม่มคี ณ ุ หมอ ไม่มอี าจารย์ ไม่มผี นู้ ำ� สูงๆ ฉันก็ไม่มวี นั นี้ ถ้าไม่มฉี นั คุณหมอก็ไม่ได้ความรูจ้ ากฉันนิดๆ หน่อยๆ ไป ทีฉ่ นั ประสบความส�ำเร็จก็เพราะอาจารย์ ความรูเ้ ล็กๆ น้อยๆ ของฉันและก็พน่ี อ้ ง อสม. ช่วยเหลือพีน่ อ้ งของเราในชุมชน และครอบครัวของเราอีกด้านหนึง่ ทีข่ าดไม่ได้ คือลูก พ่อบ้าน ทีส่ นับสนุน ถึงแกไม่ไปแกก็เช็ครถให้ ดูยางมังดู ่ ลมมัง่ ว่าไปแล้ว ปลอดภัยไหม” (คนที่ 7) (5) ความร่วมมือจากผูน้ �ำในชุมชน เป็ นแรงจูงใจทีเ่ กิดจาก ความร่วมมือของผูน้ ำ� ในชุมชนซึง่ เป็นผูท้ ไ่ี ด้รบั ความนับถือจากประชาชน สามารถ สนับสนุนงบประมาณหรืออ�ำนวยความสะดวกหรือช่วยเหลืองาน อสม. จนส�ำเร็จได้ ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “คนในชุมชน ผูน้ ำ� ด้วยคือ ผูใ้ หญ่บา้ น ให้การสนับสนุนในการท�ำงานด้าน อสม. เป็นอย่างดี ผูน้ ำ� ก็มสี ว่ นช่วยงานด้าน อสม. ขับเคลือ่ นไปได้ดว้ ยดี หลักๆ ก็มเี ท่านี้ทช่ี ว่ ยขับเคลือ่ นงานด้าน อสม.” (คนที่ 2) (6) ได้รบั การเชิดชูยอมรับจากสังคม เป็นความรูส้ กึ เป็นเกียรติ และภาคภูมใิ จทีไ่ ด้รบั การประกาศผลแห่งความส�ำเร็จและเป็ นแรงกระตุน้ ให้ พัฒนางานให้ดขี น้ึ ต่อไป ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “รางวัล ท�ำให้ผมมีจติ ใจกระตือรือร้นทีจ่ ะท�ำงานต่อไป และเป็นสิง่ ทีท่ ำ� งาน อสม. ไม่ทอ้ เนื่องจากท�ำเต็มทีแ่ ล้วก็เห็นสิง่ ตอบแทนกลับมาคือของรางวัล ไม่ว่าจะเป็ น ใบประกาศต่างๆ นีค่ อื ความภาคภูมใิ จทีท่ ำ� ให้การท�ำงาน อสม. ไม่ทอ้ ครับ ถ้าไม่ม ี การประกวดก็ไม่เห็นว่าตัวเราเองมีดอี ย่างไร ถ้าได้ประกวดก็รวู้ า่ ตนเองได้เข้าไป แข่งกับคนอืน่ ๆ ก็จะพัฒนาตนเอง เพราะว่าได้พบปะกับหลายๆ คนก็จะเป็ น 58


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ประสบการณ์ให้กบั ชีวติ คิดว่าการประกวดดีกว่าไม่ประกวด” (คนที่ 2) (7) การได้ ร ับ เกีย รติเ ฝ้ ารับ พระราชทานรางวัล จาก พระบรมวงศานุวงศ์ตอ่ ไป ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “นีเ่ ป็นเหตุ ของการท�ำงานของเราแล้วท�ำให้เราได้เข้าเฝ้า ถ้าเราไม่ได้ทำ� งานแบบนีเ้ ราก็จะไม่ได้ เข้าเฝ้า ถือว่าการท�ำงานก็เป็ นส่วนหนึ่งทีไ่ ด้เข้าเฝ้านะคะ” (คนที่ 8) 2. ปัญหา/อุปสรรค ในการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุข ์ ประจ�ำหมูบ่ า้ น ในการท�ำงาน อสม. จากการศึกษา พบปญั หาและอุปสรรค ดังนี้ 2.1 ระบบการจัดการด้านภาระงานของอสม.ยังไม่เหมาะสม เป็น ความรูส้ กึ ของ อสม. ว่างานเยอะขึน้ เมือ่ เทียบกับตอนทีท่ ำ� งาน อสม. โดยไม่มคี า่ ปว่ ยการ ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ “เป็น อสม. สมัยก่อนก็มมี าประชุม มีขา่ วอะไรเกีย่ วกับสาธารณสุขก็ไปแจ้ง ให้ชมุ ชนรู้ สมัยก่อนบทบาท อสม. ก็ไม่มบี ทบาทมากเท่ากับ อสม. ทุกวันนี้” (คนที่ 1) สอดคล้องกับอีกท่านหนึ่งทีก่ ล่าวว่า “แต่มคี วามรูส้ กึ นะ ตัง้ แต่มคี า่ ปว่ ยการมา อสม. งาน จะเยอะมาก แต่กอ่ นเราท�ำงานเราไม่ตอ้ งมี paper เราท�ำงานของเราไป แต่ทกุ วันนี้ตอ้ งมี paper เยอะมาก” (คนที่ 1) 2.2 ขาดความร่วมมือจากประชาชนในชุมชนเท่าทีค่ วร เป็นการท�ำงาน ั ทีย่ งั ไม่ได้รบั ความร่วมมือจากประชาชนเท่าทีค่ วร ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ “อีกอย่างหนึ่งก็ปญหา จากตัวชาวบ้าน คือส่วนใหญ่จะให้แต่ อสม. ท�ำ ขาดความร่วมมือในการช่วยในด้านการป้องกัน ชาวบ้านจะมุง่ เน้นให้แต่ อสม. ท�ำนี่แหละคือปญั หา” (คนที่ 2) 2.3 การเดิ นทางเพื่อเข้าถึงประชาชนล�ำบาก เนื่องจากพื้นที่ ในบางหมูบ่ า้ นกว้างและทีต่ งั ้ บ้านเรือนห่างไกลกัน ดังค�ำกล่าวทีว่ า่ “มีอยูค่ ะ่ อุปสรรค คือ หมูบ่ า้ นฉันเป็นหมูบ่ า้ น มีพน้ื ทีป่ ระมาณ 7,500 ไร่ มันกว้างมันอยู่ 5 โซน แต่ละกลุม่ มีอปุ สรรค คือว่าขับรถไปกลุม่ นัน้ กลุม่ นี้ไปแต่กลุม่ นี้ ไปแต่กลุม่ ล�ำบาก” (คนที1่ 0) 2.4 อสม.บางคนรายได้ครอบครัวน้ อย เนื่องจากภาระงาน อสม. บางอย่างจ�ำเป็ นต้องใช้เงินเพือ่ อ�ำนวยความสะดวกเช่นการใช้รถจักรยานยนต์เดินทาง ไปดูแลสุขภาพประชาชน ซึง่ จ�ำเป็นต้องมีคา่ น�้ำมัน หรือค่าพาหนะเดินทาง ส�ำหรับ อสม. บางคนทีม่ รี ายได้น้อยจึงเป็ นอุปสรรคต่อการท�ำงาน ดังค�ำกล่าวทีว่ ่า “อุปสรรคทีพ่ น้ื ๆ ทีเ่ ห็นก่อนก็คอื เกีย่ วกับรายได้ทางครอบครัวน้อย” (คนที่ 5) 3.วิ ธีการแก้ปัญหาและอุปสรรคที่พบ ได้แก่ 3.1 การสื่อสารทุกรูปแบบเพื่อขอความร่วมมือ ดังค�ำกล่าวของ ผูใ้ ห้ขอ้ มูลบางท่านทีก่ ล่าวว่า “ใช้การพูดคุย ขอความร่วมมือในการท�ำงาน นอกจากพูดคุย กับเขาแล้วก็เพิง่ เสียงตามสายด้วย เพราะว่าการพูดเสียงตามสายจะพูดเน้นย�้ำบ่อย เพือ่ เป็นแรงจูงใจให้เขาช่วยท�ำงาน ช่วยดูแลคนในครอบครัวเขาอีกส่วนหนึง่ ตรงนีน้ ่าจะช่วย 59


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

ได้อกี ทางนึ่ง” (คนที่ 2) 3.2 มีภาวะผูน้ �ำ มีตำ� แหน่ งผูน้ �ำอื่นในชุมชน โดยการท�ำงานให้เหนือกว่า บุคคลอื่นเพือ่ ให้ประชาชนให้การยอมรับ โดยมากมักมีต�ำแหน่ งในชุมชนอย่างอื่นด้วย นอกจาก อสม. อีกทังยั ้ งเป็นโอกาสในการแจ้งข่าวงาน อสม.ด้วย ดังค�ำกล่าวของผูใ้ ห้ขอ้ มูล บางท่านทีก่ ล่าวว่า “ดิฉนั เป็นประธานกองทุนสวัสดิการ เป็นเลขาสภาองค์กรชุมชน เป็นกรรมการ กองทุน สปสช. ของเทศบาล เป็ นแกนน�ำออกก�ำลังกาย เป็ นอาสาสมัครแคร์กฟ๊ิ เวอร์ ดูแลผูป้ ว่ ย เป็นแกนน�ำออกก�ำลังกายด้วยกับผูส้ งู อายุกเ็ ชิญไปสอนร�ำไม้พอง แต่สว่ นใหญ่ จะเต้นแอโรบิก น�ำเต้นแอโรบิก” (คนที่ 1) สรุปผลการวิ จยั แรงจูงใจในการท�ำงานเป็ นสิง่ ที่ผลักดันให้มนุ ษย์แสดงพฤติกรรมออกมา โดยมีความหวังมีเป้าหมาย แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ ์ เป็ นแรงจูงใจทีส่ �ำคัญทีท่ �ำให้บุคคล ประสบความส�ำเร็จเนื่องจากมุ่งเน้นการท�ำงานให้บรรลุตามเป้าหมายเป็ นหลักส�ำคัญ โดยมีการก�ำหนดเป้าหมายทีเ่ ป็นไปได้เพือ่ สร้างแรงจูงใจให้กระท�ำต่อไปได้ดกี ว่าเดิม รวมทัง้ การมุง่ มันทุ ่ ม่ เทท�ำงานและแก้ไขปญั หาอุปสรรค โดยไม่ลดละความพยายามจนกระทัง่ ประสบผลตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนด การศึกษานีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาองค์ประกอบของการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ั ปสรรคทีพ่ บ แนวทางแก้ไข และสร้างรูปแบบการสร้างแรงจูงใจ ในการท�ำงานของ อสม. ปญหาอุ ใฝส่ มั ฤทธิ ์ในการท�ำงานของ อสม. จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย จากผลการศึกษาผูว้ จิ ยั ได้วเิ คราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการสร้างแรงจูงใจ ใฝส่ มั ฤทธิของ ์ อสม. โดยเทียบเคียงกับแนวคิดการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของ ์ McClelland (1987) ทีป่ ระกอบด้วย การตังเป ้ ้าหมายทีเ่ ป็นไปได้ ความพยายามและความมุง่ มันเพื ่ อ่ ผลส�ำเร็จ และรูปแบบการสร้างแรงจูงในการท�ำงานของมหาวิทยาลัยไอโอวา (University of Iowa, 2014) ทีป่ ระกอบด้วยการจูงใจ การมุง่ เป้าหมายและสร้างสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ เพือ่ ให้เกิดผลส�ำเร็จ และปรัชญาของมด ข้อที่ 1 ทีก่ ล่าวว่า มดไม่ละความพยายาม หากมุง่ หน้าไปทางใดแล้ว แม้เกิดอุปสรรค ทางถูกปิ ดกัน้ มันก็จะพยายามหาทางเดินทางอื่นมันจะไต่ขน้ึ ไต่ลงไป รอบๆ มัน มันจะมองหาทางอืน่ เสมอ ปรัชญาข้อนี้ให้ขอ้ คิดว่า จงอย่าละความพยายาม ในการหาหนทางไปสูส่ งิ่ ทีห่ มายมาดไว้ (Rohn, 2014) จากนัน้ จึงเสนอเป็ น (ร่าง) โมเดลมด : รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ของ อสม. ในประเทศไทย ดังแสดงในภาพที่ 1

60


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ�จากปั จจัยภายในตน

แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ�จากปั จจัยภายนอกตน

-มุ่งมั�น

-ครอบครัว

-มุ่งเป้าหมาย

-ชุมชน

-มุ่งเป็ นแบบอย่ างที�ดี

-หน่ วยงาน ผู้นําและเครือข่ ายชุมชน

-มุ่งคิดสร้ างสรรค์

ภาพที ่ 1 โมเดลมด : รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น ์ ในประเทศไทย

จากภาพที่ 1 แสดงโมเดลมด : รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั คร ์ สาธารณสุขประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย เป็ นโมเดลทีอ่ ธิบายถึงรูปแบบ การสร้างแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ ์ของ อสม. ในการท�ำงานด้านสุขภาพให้บรรลุผลส�ำเร็จ โมเดลมดนี้เปรียบ อสม. เป็นเสมือนมดงานทีม่ หี น้าทีห่ าอาหารมาเก็บตุนไว้กนิ ให้เพียงพอ ในทุกฤดูโดยไม่ลดละความพยายามและฝา่ ฟนั อุปสรรคไปจนสูส่ งิ่ ทีห่ มายได้สำ� เร็จ โมเดลมด หรือ รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุข ์ ประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทยมีองค์ประกอบ 2 ส่วนคือ 1) แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ั ยภายในตน และ 2) แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์จากปจจั ั ยภายนอกตน โดย แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ จากปจจั ั ยภายในตน เป็นพลังใจส่วนตนของ อสม. ทีต่ อ้ งการจะแสดงพฤติกรรมการท�ำงาน จากปจจั ให้เป็ นเลิศโดยไม่มใี ครบังคับ เป็ นการคิดเชิงบวกเพื่อให้งานส�ำเร็จตามเป้าหมาย โดยไม่ย่อท้อ ต้องการเป็ นแบบอย่างที่ดแี ละต้องการท�ำงานให้ดขี ้นึ กว่าเดิมเสมอ คุณลักษณะเด่นของบุคคลกลุม่ นี้ได้แก่ มุง่ มันท� ่ ำงานโดยไม่ยอ่ ท้อ มุง่ เป้าหมายของงาน เป็ น ส�ำ คัญ มุ่ ง เป็ น แบบอย่ า งที่ดี และมุ่ ง คิด สร้า งสรรค์ ส่ ว นแรงจู ง ใจใฝ่ส มั ฤทธิ ์ จากปจั จัยภายนอกตน เป็ นพลังใจทีเ่ กิดจากการได้รบั การยอมรับ การยกย่อง ชมเชย สนับสนุน จากบุคคล กลุม่ บุคคล หน่วยงานและทีมงานทีเ่ กีย่ วข้อง ช่วยเหลือการด�ำเนิน กิจกรรม หรือเอือ้ และสนับสนุนให้ตนเกิดแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิในการท� ำงานจนเกิดผลส�ำเร็จ ์ ในทีส่ ุด แบ่งออกได้เป็ น 3 ระดับ ได้แก่1) ระดับครอบครัว ได้แก่ ได้รบั การสนับสนุ น จากบุคคลในครอบครัว 2) ระดับชุมชน ได้แก่ ได้รบั การยอมรับจากประชาชนในชุมชน มีพลังอ�ำนาจจากความดีทเ่ี คยช่วยเหลือผูอ้ น่ื และ 3) ระดับหน่วยงาน ผูน้ �ำและเครือข่าย 61


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

ชุมชน ได้แก่ ได้รบั การสนับสนุน ร่วมแรงร่วมใจจากทีมเดียวกัน ทีมผูน้ �ำและเครือข่ายชุมชน หน่วยงานอืน่ และสังคมจากการเชิดชูเกียรติ การอภิ ปรายผล จากการศึกษาครัง้ นี้พบประเด็นทีน่ �ำสูก่ ารอภิปรายผลตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ ั ยในการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั วัตถุประสงค์ขอ้ ทีห่ นึ่ ง ศึกษาปจจั คร ์ สาธารณสุข ประจ�ำหมู่บ้าน จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย จากการศึกษาพบปจั จัย ในการสร้างแรงจูงใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอสม.ประกอบด้วย สองส่วนได้แก่ 1) การสร้างแรงจูงใจ ใฝส่ มั ฤทธิ ์จากปจั จัยภายในตนและ 2) การสร้างแรงจูงใฝส่ มั ฤทธิ ์จากปจั จัยภายนอกตน ปัจจัยแรก การสร้างแรงจูงใฝ่ สมั ฤทธิ์จากปัจจัยภายในตน พบว่าบุคคลทีม่ กี ารสร้างแรงจูง ใฝส่ มั ฤทธิ ์จากปจั จัยภายในตน มีคณ ุ ลักษณะทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ มุง่ มันท� ่ ำงานโดยไม่ยอ่ ท้อ มุง่ เป้าหมายของงานเป็นส�ำคัญ มุง่ เป็นแบบอย่างทีด่ ี และมุง่ คิดสร้างสรรค์เพือ่ พัฒนางาน ให้ดกี ว่าเดิมเสมอ สอดคล้องกับ Kean Wonthaneeyatrakul (2010) ทีพ่ บว่าผูเ้ รียน ทีม่ แี รงจูงใจในตนสูงจะมีคณ ุ ลักษณะทีเ่ ป็ นผูก้ �ำหนดเป้าประสงค์ ตัง้ ใจท�ำงานให้สำ� เร็จ ตามเป้าประสงค์ทว่ี างไว้ และคิดว่ารางวัลไม่ใช่สงิ่ ของแต่เป็ นเป้าหมายแห่งความส�ำเร็จ และมีความมุง่ มันแน่ ่ วแน่ต่อแผนงานสูง สอดคล้องกับ McClelland (1987) ทีก่ ล่าวว่า บุคคลทีม่ แี รงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิสู์ ง มีความต้องการ 3 ประการได้แก่ ความต้องการความส�ำเร็จ ความต้องการความผูกพันและความต้องการพลังอ�ำนาจ และมีการตังเป ้ ้ าหมายทีเ่ ป็นไปได้ มีความพยายามและความมุง่ มันเพื ่ อ่ ผลส�ำเร็จ ส�ำหรับ ปัจจัยที่สอง การสร้างแรงจูงใจ ใฝ่ สมั ฤทธิ์จากปัจจัยภายนอกตน สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1) ระดับครอบครัว 2) ระดับชุมชน และ 3) ระดับหน่วยงาน ผูน้ �ำและเครือข่ายชุมชน สอดคล้องกับการศึกษา ของ Ruthairat Chidmongkol and Pramrudee Boribal (2012: 98-108) พบว่าปจั จัย ทีม่ ผี ลต่อแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของนั ์ กศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี สูงสุดได้แก่ สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษากับเพือ่ น รองลงมาได้แก่ บรรยากาศในการเรียน เป็ นต้น สอดคล้องกับการศึกษาของ Pranee Prawitchapram et al. (2012) ทีศ่ กึ ษา ั ยทีส่ ง่ ผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบตั งิ านของบุคลากรในคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย ปจจั ั ยทีม่ ผี ลมากทีส่ ดุ ได้แก่ ผูบ้ ริหาร รองลงมาได้แก่ เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร พบว่าปจจั เพือ่ นร่วมงาน ระเบียบปฏิบตั แิ ละเงินเดือน ตามล�ำดับ ทัง้ นี้สามารถอธิบายได้วา่ โดยทัวไปหลั ่ กการพืน้ ฐานการท�ำงานอาสาสมัครนัน้ จะไม่หวังสิง่ ตอบแทนใดใดดังนัน้ การอาสาเข้ามาท�ำงานของอสม.ส่วนใหญ่จงึ อาสาเข้ามา ท�ำงานด้วยความตัง้ ใจทีต่ อ้ งการให้ความช่วยเหลือผูอ้ น่ื เป็ นต้นทุนทางความคิดทีด่ แี ละ มองในเชิงบวกอยู่แล้ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ เป็ นการช่วยเหลือทางสุขภาพซึง่ เชื่อกันว่า 62


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

สุขภาพทีด่ เี ป็ นยอดปราถนาของมนุษย์ ถึงแม่ร่ำ� รวยเพียงใดก็ไม่อาจซือ้ ความมีสขุ ภาพ ทีด่ ไี ด้ แต่การสร้างเสริมสุขภาพทีด่ เี ป็ นงานทีต่ อ้ งใช้เวลายาวนานในการสังสมให้ ่ เกิด ภูมติ า้ นทานหรือสร้างให้รา่ งกายแข็งแรง และต้องแนะน�ำโดยใช้หลักการให้ความรูแ้ ละ ปฏิบตั ิ หลายอย่างรวมกัน เช่น การแนะน�ำการสร้างเสริมสุขภาพด้วยหลักการ 3 อ. อัน ได้แก่ อ1. เป็นการส่งเสริมการรับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ครบ 5 หมูแ่ ละถูกสัดส่วน อ2. เป็ นการออกก�ำลังกายทีส่ ม�่ำเสมอและเพียงพอ อย่าน้อย 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ และ อ3. เป็นการท�ำอารมณ์ให้สดชืน่ ไม่เครียด จะเห็นว่าในหลักการเดียวนีก้ ารจะด�ำเนินการให้สำ� เร็จ อสม.ต้องมีทกั ษะและความสามารถหลายอย่างตัง้ แต่ความรู้ การสอน การท�ำให้ดู เป็นตัวอย่าง การท�ำอย่างต่อเนื่องและการติดตามประเมินผล ซึง่ หาก อสม. ไม่มแี รงจูงใจ ใฝส่ มั ฤทธิ ์ภายในตนแล้วอาจจะยกเลิกการท�ำงานไปโดยง่าย จึงจ�ำเป็ นต้องสร้างพลังใจ ภายในตนขึน้ มาเพือ่ ท�ำงานให้สำ� เร็จ นอกจากนีง้ าน อสม. เป็นงานทีเ่ กีย่ วข้องกับประชาชน ทัง้ ชุมชนจึงมีความจ�ำเป็นต้องขอความร่วมมือหรือท�ำงานร่วมกันในภาพรวมของชุมชน เพื่อให้ผลงานส�ำเร็จ เช่น การรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในหมู่บา้ น ถึงแม้จะมีผปู้ ่วย ไข้เลือดออกเพียงคนเดียวแต่กม็ โี อกาสติดต่อไปยังคนอื่นได้ โดยยุงเป็ นพาหะ ดังนัน้ หากไม่รณงค์ทงั ้ หมูบ้ า้ นก็ไม่อาจป้องกันได้ จึงจ�ำเป็นต้องขอความร่วมมือจากประชาชน ทุกคน รวมทัง้ หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ผูน้ �ำชุมชนและเครือข่ายทัง้ หมด ทุกคน เป็นทังคนในชุ ้ มชนและเป็นผูม้ บี ทบาทหน้าทีท่ ำ� งานในแต่ละส่วนงาน ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ เจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข โรงเรียน ก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น สนับสนุนงบประมาณ เอือ้ ก�ำลังคน และเครือ่ งมือต่างๆ งานรณรงค์นจ้ี งึ จะส�ำเร็จ จะเห็นว่าการ ท�ำงานอสม.ต้องประสานงานและเกีย่ วข้องกันบุคคลและกลุม่ บุคคลจ�ำนวนมากดังกล่าว ซึ่งแน่ นอนการท�ำงานกับคนจ�ำนวนมากย่อมมีทงั ้ ได้รบั ความพอใจและไม่พอใจ แต่ ตามหลักจิตวิทยาคนส่วนใหญ่ชอบให้คนพอใจมากว่าไม่พอใจดังนัน้ เมือ่ อสม. ได้รบั การ ชืน่ ชม ยกย่อง สนับสนุ นการท�ำงานจึงเป็ นปจั จัยภายนอกตนทีเ่ ป็ นพลังใจให้ อสม. มี แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในการท�ำงานให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ได้ ั อุปสรรค และวิธกี ารแก้ไข ในการสร้าง วัตถุประสงค์ขอ้ ที่สอง เพือ่ ศึกษาปญหา แรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอาสาสมั ครสาธารณสุข ประจ�ำหมูบ่ า้ น จังหวัดสระแก้ว ประเทศไทย ์ ั จากการศึกษาปญหาอุ ปสรรคทีพ่ บส่วนใหญ่ เห็นว่าอสม.มีภาระงานเพิม่ มากขึน้ ภายหลังจากได้รบั ค่าปว่ ยการ และการขาดความร่วมมือจากประชาชนในบางแห่งเท่าทีค่ วร และวิธกี ารแก้ไข ได้แก่ ใช้วธิ กี ารสือ่ สารทุกรูปแบบเพือ่ ขอความร่วมมือจากประชาชน และสร้างภาวะผูน้ �ำ โดยมีตำ� แหน่งผูน้ �ำอืน่ ในชุมชน เพือ่ แสดงให้เห็นการท�ำงานให้เหนือกว่า บุคคลอื่นเพือ่ ให้ประชาชนให้การยอมรับ โดยมากมักมีต�ำแหน่ งในชุมชนอย่างอื่นด้วย นอกจาก อสม. อีกทัง้ ยังเป็นโอกาสในการแจ้งข่าวงาน อสม.ด้วย สอดคล้องกับการศึกษา 63


รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

ั ยทีม่ คี วามสัมพันธ์ ของ Tawatchai Weerakittikul (2009) ทีพ่ บว่า รายได้ของ อสม. เป็นปจจั กับการปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าทีข่ อง อสม. ในการด�ำเนินการหมู่บา้ นจัดการสุขภาพ ของจังหวัดพัทลุง จากประเด็นดังกล่าวจะเห็นว่าการให้ค่าปว่ ยการเป็ นผลดีต่อ อสม. ส่วนใหญ่แต่ประชาชนขาดความเข้าใจและให้ความร่วมมือในการท�ำงานของ อสม. น้อยลง กระทรวงสาธารณสุขควรค้นหามาตรการหรือแนวทางทีจ่ ะท�ำอย่างไรให้ประชาชนเข้าใจ ในบริบทของตนเอง หมูบ่ า้ นและ อสม. ต่อการได้รบั ค่าปว่ ยการ และผลลัพธ์สดุ ท้ายที่ เกิดประโยชน์นนั ้ เป็ นผลต่อประชาชนมากทีส่ ดุ จนกระทังให้ ่ ความร่วมมือในการจัดการ ด้านสุขภาพในชุมชนให้มปี ระสิทธิภาพทุกด้าน บุคลากรทางสาธารณสุขเป็นกลไกส�ำคัญ ทีจ่ ะช่วยท�ำให้ประชาชนเข้าใจบริบทดังกล่าวข้างต้นและผลักดันให้เกิดความร่วมมือ กับ อสม. เพื่อส่งผลให้การจัดการสุขภาพของประชาชนในหมู่บ้านบรรลุผลส�ำเร็จ แนวทางการปฏิบตั ขิ องบุคลากรสาธารณสุขนัน้ ได้แก่ การพูดคุยท�ำความเข้าใจกับชาวบ้าน โดยบุคลากรทางสาธารณสุขทุกระดับจ�ำเป็ นต้องช่วยกันท�ำความเข้าใจกับประชาชน เนือ่ งจากบุคลากรสาธารณสุขทีท่ ำ� งานสังกัดหน่วยงานบริการระดับปฐมภูม ิ เช่น โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเป็นผูท้ ม่ี โี อกาสพบปะชาวบ้านในการท�ำงานป้องกันและควบคุมโรค ซึง่ เป็นหน้าทีโ่ ดยตรงทีค่ วรต้องก�ำหนดในวาระการประชุมเพือ่ ท�ำความเข้าใจกับชาวบ้าน ว่าต้องท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับค่าปว่ ยการและการให้ความร่วมมือกับ อสม. ในหมูบ่ า้ น ตนเองทุกครัง้ และให้มกี ารติดตามประเมินผลเป็นระยะ เพือ่ น�ำผลมาปรับปรุงแนวปฏิบตั ิ ให้ดขี น้ึ เรื่อยๆ เช่น การสร้างสัมพันธภาพที่ดใี นการท�ำงานกับชาวบ้านของ อสม. สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Tawatchai Weerakittikul (2009) ทีพ่ บว่า สัมพันธภาพ ของ อสม. กับ ชาวบ้าน ผูน้ �ำท้องถิน่ และบุคลากรทางสาธารณสุข มีผลต่อการปฏิบตั งิ าน ตามบทบาทของ อสม. นอกจากนี้ อสม. ควรเป็ นแบบอย่างทีด่ ี ในการประพฤติปฎิบตั ิ ด้านสุขภาพและอื่นๆ เพื่อให้เป็ นที่ยอมรับของชาวบ้านและท�ำให้เกิดความร่วมมือ ในทีส่ ดุ สอดคล้องกับการศึกษาของ Nawasanan Wongprasit (2012) ทีพ่ บว่าสมรรถนะหลัก ของผูน้ �ำทางด้านสาธารณสุขทีส่ ำ� คัญอย่างหนึ่งคือการเป็ นแบบอย่างทีด่ ี (role model) เนื่องจากเกีย่ วข้องกับการให้คำ� แนะน�ำด้านการปฎิบตั ติ นด้านสุขภาพ เช่น แนะน�ำให้ ประชาชนงดการรับประทานอาหารเค็มเพือ่ ป้องกันโรคไต หรือโรคหัวใจ แต่หาก อสม. เองไม่ได้ปฏิบตั ดิ งั กล่าวก็ไม่อาจแนะน�ำให้ประชาชนปฏิบตั ไิ ด้เช่นกัน วัตถุประสงค์ขอ้ ที่สาม รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของอสม.สระแก้ ว ์ ประเทศไทย เป็ นอย่างไร จากการศึกษาพบว่า รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ในการท�ำงานของ อสม. ั ยการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ 2์ ส่วน ได้แก่ 1) การสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ ประกอบด้วย ปจจั จากปจั จัยภายในตน อันได้แก่ พลังใจทีเ่ กิดจากตัว อสม. เองจ�ำเป็ นต้องสร้างแรงจูงใจ 64


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ใฝส่ มั ฤทธิ ์ในทางบวกต่อการท�ำงาน ให้ประสบความส�ำเร็จ ก�ำหนดเป้าหมายทีเ่ ป็นไปได้ ด�ำเนินการตามแผนงานและทุม่ เทมุง่ มันโดยไม่ ่ ยอ่ ท้อต่ออุปสรรค มองการบรรลุเป้าหมาย เป็ นความส�ำเร็จในการท�ำงาน เมื่อมีอุปสรรคจะค้นหาแนวทางแก้ปญั หาและอุปสรรค จนส�ำเร็จในทีส่ ุด การสร้างแรงจูงใจในส่วนนี้เป็ นการสร้างแรงจูงใจทีต่ นเองสร้างให้ เกิดขึน้ ได้และควบคุมได้จงึ ควรฝึกฝนให้มเี ป็นประจ�ำสม�ำ่ เสมอแล้วจะเกิดเป็นนิสยั ในทีส่ ดุ และ 2) การสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิจากป ์ จั จัยภายนอกตน ได้แก่ แรงสนับสนุน ยกย่อง ชมเชย ให้กำ� ลังใจจากบุคคลใกล้ชดิ ครอบครัว เพือ่ นอสม.ทีท่ ำ� งานด้วยกัน บุคลากรทาง สาธารณสุข ประชาชนในหมูบ่ า้ น ผูน้ �ำชุมชนและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง การสร้างแรงจูงใจ จากภายนอกตนเป็นเรือ่ งทีต่ นเองสร้างพลังใจจากการได้รบั จากการสร้างสัมพันธภาพทีด่ ี กับกลุ่มบุคคล หรือบุคคลทีจ่ ะให้แรงสนับสนุ นกับตนได้ เกิดจากการสร้างความเข้าใจ กันและกัน ความร่วมมือต่อกันจึงจะเกิดและน� ำไปสู่ความส�ำเร็จตามมา ดังสรุปไว้ใน แผนภาพที่ 1 ข้างต้น และผลลัพธ์สุดท้ายก็จะท�ำให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพและ คุณภาพชีวติ ดีขน้ึ โดยรวมได้ ข้อเสนอแนะในการน�ำผลการวิ จยั ไปใช้ จากผลการศึกษานี้สามารถเป็นแนวทางให้กระทรวงสาธารณสุขน�ำไปวางแผน ในการสร้างแรงจูงใจในการท�ำงานของ อสม. ในประเทศไทยให้มปี ระสิทธิภาพ โดยควรพิจารณา ั ยทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ 2 องค์ประกอบของโมเดลมด และควรก�ำหนดนโยบายเพือ่ ให้บคุ ลากร ปจจั ทางสาธารณสุขได้ให้ความส�ำคัญต่อการสร้างความเข้าใจกับชาวบ้านต่อบทบาทของ อสม. และค่าปว่ ยการทีไ่ ด้รบั เพือ่ สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือในการจัดการดูแลด้านสุขภาพ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด กิ ติกรรมประกาศ ผูว้ จิ ยั ขอขอบคุณ อสม.ดีเด่นของจังหวัดสระแก้วประจ�ำปี 2557 ทุกท่านทีใ่ ห้ ความร่วมมือในการให้ขอ้ มูลด้วยความเต็มใจอย่างยิง่ และขอขอบคุณผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขของอ�ำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้วทีอ่ ำ� นวยความสะดวกและช่วยเหลือ ด้วยมิตรภาพทีด่ ี





65




รูปแบบการสร้างแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์ของอาสาสมัครสาธารณสุข

นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ ์

References Chidmongkol, R. and Boribal. P. (2012). Factors Affecting Achievement Motivation of Nursing Students at the Boromarajonani College of Nursing, Udonthani (ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิของนั ์ กศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี อุดรธานี). Nursing Journal of the Ministry of Public Health. [online]. Retrieved August 29, 2014 from http://110.164.59.5/ULIB/dublin. php?ID=13399120246#.VABElWbn-M8. Chuengsatiansup, K. (2006). The Potential of Health Volunteers in The Changed Circumstances: A Synthesis of Knowledge to the Development Strategy (ศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในสถานการณ์การเปลีย่ นแปลง: การสังเคราะห์ความรูส้ ่ยู ทุ ธศาสตร์การพัฒนา). [Online] Retrieved June 5, 2014. from http://library.hsri.or.th/cgi-bin/websis?from=res1&show=979. Cresswell, J. (2007). Research Design: Qualitative, Quantitative, and Mixed Methods Approaches. Thousand Oaks: Sage. Department of Provincial Administration. (2014). Annual Report 2013 Sakaeo Provincial Public Health Office. [Online] Retrieved June 5, 2014. from http://www.sko.moph.go.th/index.php?option=com_content&view=section& layout=blog&id=13&Itemid=197. Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, 50: 370-396. [Online]. Retrieved September 1, 2014 from http://psychclassics. yorku.ca/Maslow/motivation.htm. McClelland, D. C. (1985). How Motive, Skills, and Values Determine What People Do. American Psychologist, 40(7): 812-825. McClelland, D. C. (1987). Human Motivation. New York: Press Syndicated of the University of Cambridge. Patton, Q. M. (1990). Qualitative Evaluation and Research Methods (2nd ed). Newbury Park: Sage. Prawitchapram, P., Bumrungjit, K., Tantitawekul, J., and Jankrajang, P. (2012). Factors Affecting Regression in Job Performance of Person Education in Library of Art Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. Faculty of Liberal Arts, Rajamangala Phra Nakhon University, Bangkok, 66


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

Thailand. Primary Health Care Division. (2013). Guideline for Health Volunteers; The Community Health Management (คู่มอื อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน). Bangkok: Public Health Ministry. Rohn, J. (2014). The Ant Philosophy. Get Motivation. [Online]. Retrieved June 11, 2014 from http:// getmotivation.com/jimrohn/jim-rohn-ant-philosophy. html. Sota, C. (2011). Concepts Theories and Application For Health Behavioral Development (แนวคิ ด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ เพื่อการพัฒนา พฤติ กรรมสุขภาพ) (3rd ed). KhonKaen: Khonkaen University. Strauss, A. and Corbin, J. (1998). Basics of Qualitative Research: Techniques and Procedures for Developing Grounded Theory. Thousand Oaks, CA: Sage. Triruangworawat, B. (2012). Documentation Conference of Outstanding Volunteers Day. March, 21 2012. In the Conference of Outstanding Volunteers Day Centara Grand & Bangkok Convention Centre at Central World, Bangkok, Thailand. University of Iowa. (2014). Motivation, Goal Setting and Success. [Online]. Retrieved August 13, 2014 from http://www.uiowa.edu/web/advisingcenter/ motivation.htm Weerakittikul, T. (2009). Factors Related to Role Performance of the Health Volunteers in Health Management Villages, Phathalung Province (ปัจจัยทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การปฏิบตั ิตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจ�ำหมู่บา้ น ในการด�ำเนิ นงานหมู่บา้ นจัดการสุขภาพ จังหวัดพัทลุง). Master dissertation, Taksin University, Phathalung, Thailand. Wongprasit, N. (2012). The Leadership Competencies Model of Private Hospital Directors in Thailand. HRD Journal, 3(2): 61-71. Wonthaneeyatrakul, K. (2010). How is the Importance of Motivation for Study Process. Mahamakut Buddhist University, Lunna Campus. [Online]. Retrieved September 15, 2014 from http://www.lanna.mba.ac.th/articles/ Intrinsic_Kh.asp.

67



สิ ทธิ ประโยชน์ ด้านการดูแลสุขภาพของคนพิ การ

ระพีพรรณ ฉลองสุข1 บทคัดย่อ ตัง้ แต่ปี 2534 ประเทศไทยมีววิ ฒ ั นาการของกฎหมายหลายฉบับให้ทร่ี บั รอง คุม้ ครองสิทธิในด้านการรักษาพยาบาลของคนพิการมา ตลอดจนการให้สตั ยาบันอนุสญ ั ญา ว่าด้วยสิทธิคนพิการเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2551 ในปจั จุบนั คนพิการทีจ่ ดแจ้งเป็ น คนพิก ารสามารถใช้ส ิท ธิร กั ษาพยาบาลและการฟื้ น ฟู ส มรรถภาพตามกรอบของ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ภายใต้งบประมาณทีส่ ำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จัดสรรให้กบั หน่ วยบริการประจ�ำยกเว้นคนพิการทีม่ สี ทิ ธิรกั ษาพยาบาลประเภทอื่น ๆ อย่างไรก็ดสี ทิ ธิดา้ นสุขภาพของคนพิการในไทยยังไม่ครอบคลุมถึงสิทธิทไ่ี ด้รบั การป้องกัน การเกิดภาวะพิการ เช่น การคัดกรองภาวะเสีย่ งเพื่อป้องกันหรือรักษาความพิการ การห้ามหญิงตัง้ ครรภ์ใช้สารเสพติด นอกจากนี้สทิ ธิท่กี �ำหนดไว้ในกฎหมายต่าง ๆ ั ยการเข้าถึงบริการทีห่ น่วยงาน จะเป็นสิทธิทส่ี มบูรณ์ได้ในทางปฏิบตั ิ จ�ำเป็นต้องค�ำนึงถึงปจจั ของรัฐจัดไว้บริการร่วมด้วย ตลอดจนถึง อุปกรณ์และเครือ่ งมือทางการแพทย์ทเ่ี หมาะสม มิเช่นนัน้ สุขภาพและคุณภาพชีวติ ของคนพิการจะไม่ได้รบั การดูแลตามเจตนารมย์ของ กฎหมายได้ ค�ำส�ำคัญ : 1. คนพิการ. 2. นโยบายสุขภาพ. 3. สิทธิของคนพิการ.

1 รองศาสตาราจารย์ประจำ�ภาควิชาเภสัชกรรมชุมชน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร อีเมล CHALONGSUK_R@su.ac.th

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 69-87, 2558


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

Health Benefit of People with Disabilities Rapeepun Chalongsuk2 Absract Since 1991, Thai laws have been enacted to promote, protect, and ensure the full enjoyment of health care rights for persons with disabilities. The Thai government adopted the Convention on the Rights of Persons with Disabilities on July 29, 2008. Thai persons with disabilities who are approved and registered have health care rights under the government health insurance program with the expenditure funded by the National Health Security Office. However, protections from disabilities, such as screening for early disability detection and prohibiting pregnant women from using addicted substances, are not concerned. The complete health care rights stated in the law may come true if the access to medical services and medical devices has been implemented to support persons with disabilities. Keywords: 1. People with disability. 2. Healthcare Policy. 3. Disability Right.

2 Associate Professor at Department of Community Pharmacy, Faculty of Pharmacy, Silpakorn University, Nakhon Pathom, Thailand. E-mail address: CHALONGSUK_R@su.ac.th

70


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

บทน�ำ คนพิก ารเป็ น ทรัพ ยากรของประเทศและต้อ งการสิท ธิต่ า ง ๆ ในฐานะ ประชาชนคนหนึ่ง อาทิ สิทธิในด้านการศึกษา สิทธิในการร่วมกิจกรรมทางสังคม ตลอดจนสิทธิในการท�ำงาน รวมทัง้ สิทธิการรักษาพยาบาลในฐานะผูป้ ่วย (Taiwan Foundation for Rare Disorders, 2013) ในขณะทีป่ ระเทศต่าง ๆ ก�ำลังก้าวเข้าสู่ สังคมผูส้ งู อายุทำ� ให้สดั ส่วนของคนพิการของแต่ละประเทศมีแนวโน้มสูงขึน้ เนื่องจาก ในกลุ่มผูส้ งู อายุจะพบความบกพร่องในการท�ำงานของอวัยวะต่าง ๆ ท�ำให้คนสูงอายุ ถูกจัดเป็ นกลุม่ คนพิการแบบหนึ่ง (National Statistical Office, 2013) ดังนัน้ หน่วยงาน และบุคลากรต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับการให้บริการสุขภาพจึงต้องตระหนักและเข้าใจถึง สิท ธิข องคนพิก ารซึ่ง จะเป็ น กลุ่ ม ใหญ่ ท่ีต้อ งใช้บ ริก ารด้า นสุข ภาพในอนาคต เพื่อ น� ำมาประกอบการจัดระบบการให้บริการสุขภาพให้สอดคล้องกับสิทธิของคนพิการ ได้อย่างเหมาะสม อันจะน�ำไปสูก่ ารอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุขของสมาชิกในสังคม ความพิ การ ภาวะพิการของร่างกายของมนุษย์ตามนิยามขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization, 2001) เน้นทีค่ วามสามารถในการท�ำงานโดยการแสดงออก ของการมีกจิ กรรม หรือการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ (รูปที่ 1)

รูปที ่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพ ความพิการและการท�ำหน้าทีข่ องร่างกาย (WHO, 2001)

ภาวะความพิการมีหลากหลายรูปแบบ ค�ำศัพท์ทใ่ี ช้เรียกภาวะพิการก็มมี ากมาย อาทิ disparities, impairment, disability และ handicap ทัง้ นี้แต่ละค�ำสือ่ ถึงความพิการ ทีแ่ ตกต่างกัน แต่ในทางปฏิบตั จิ ะพบการใช้คำ� ทัง้ 4 ค�ำสลับกันไปมาบ่อย ๆ ค�ำนิยาม ของแต่ละค�ำมีดงั นี้ - การสูญเสียอวัยวะของร่างกาย (loss of part of the body) หรือการทีอ่ วัยวะ 71


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

ไม่สามารถท�ำหน้าทีไ่ ด้อย่างสมบูรณ์ หรือการเกิดความผิดปกติทส่ี ง่ ผลให้การท�ำกิจวัตรประจ�ำวัน ล�ำบากขึน้ จัดเป็ นความพิการทัง้ สิน้ - ความไม่ เ หมือ นกัน ของอวัย วะ (disparities; inequality) หมายถึง ความไม่เท่าเทียมกันในความสามารถกระท�ำการใด ๆ ของอวัยวะ โดยเน้นทีก่ ารกระท�ำ ทัง้ นี้ไม่ได้ระบุสาเหตุหรือทีม่ าของความไม่เหมือนกัน ความไม่เท่าเทียมกันนัน้ ๆ - ความบกพร่อง (Impairment) ของอวัยวะหรือร่างกาย หมายถึง ความบกพร่อง การสูญเสียสมรรถภาพการท�ำงานของอวัยวะใดอวัยวะหนึ่งของร่างกาย ส่งผลให้ เกิดความทุพพลภาพ สูญเสียความสามารถในการท�ำกิจกรรมต่างๆ (disability) หรือ หมดโอกาสหรือกลายเป็ นผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคม (handicapped) แต่การพิจารณาประเด็นความพิการส�ำหรับการจัดสวัสดิการทางสังคม ต้องพิจารณา จากนิยามในกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องของแต่ละประเทศ เช่น พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและ พัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550 (Empowerment of Persons with Disabilities Act B.E. 2550) ของประเทศไทยได้ให้คำ� นิยามความพิการดังนี้ “คนพิการ” หมายถึง คนที่มขี ้อจ�ำกัดของความสามารถในการด�ำรงชีวติ เช่น การท�ำกิจวัตรประจ�ำวันพืน้ ฐาน การเดิน หรือเคลื่อนทีไ่ ปไหนมาไหนด้วยตนเอง การสือ่ สารกับผูอ้ น่ื ตลอดจนการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคมตามวัยและสถานะของตน” โดยประเทศไทยได้กำ� หนดประเภทความพิการ (Notifications of National Office for Empowerment of Persons with Disabilities, 2012; Suwaphan, 2010) เป็น 6 ประเภท คือ 1. ความพิการทางการเห็น (vision) เช่น ตาบอด สายตาเลือนราง 2. ความพิการทางการได้ยนิ (hearing) หรือสือ่ ความหมาย เช่น หูหนวก หูตงึ พูดไม่ได้ 3. ความพิการทางการเคลือ่ นไหวหรือทางร่างกาย เช่น การเป็นอัมพาต แขนขาขาด 3.1. ความพิการทางการเคลือ่ นไหว หมายถึง การทีบ่ คุ คล มีขอ้ จ�ำกัด ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจ�ำวันหรือการ เข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่ง เป็ น ผลมาจากการมีค วามบกพร่ อ งหรือ การสูญ เสีย ความสามารถของอวัย วะ ในการเคลือ่ นไหว ได้แก่ มือ เท้า แขน ขา อาจมาจากสาเหตุอมั พาต แขน-ขาอ่อนแรง แขน-ขาขาด หรือภาวะเจ็บปว่ ยเรือ้ รังจนมี ผลกระทบต่อการท�ำงานมือ เท้า แขน ขา 3.2. ความพิการทางร่างกาย (limb impairments) หมายถึง การทีบ่ คุ คล มีขอ้ จ�ำกัดในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจ�ำวันหรือการเข้าไปมี ส่วนร่วมในกิจกรรม ทางสังคม ซึง่ เป็นผลมาจากการมีความ บกพร่องหรือความผิดปกติของศีรษะ ใบหน้า ล�ำตัว และภาพลักษณ์ ภายนอกของร่างกายทีเ่ ห็นได้อย่างชัดเจน 4. ความพิการทางจิตหรือพฤติกรรม เช่น ภาวะจิตเวชเรือ้ รัง ออทิสติก (Autism) 72


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

4.1. ความพิการทางจิตหรือพฤติกรรม หมายความถึง การทีบ่ ุคคล มีขอ้ จ�ำกัดในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจ�ำวันหรือการเข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรม ทางสังคม ซึ่ง เป็ นผลมาจากความบกพร่องหรือความผิด ปกติท างจิต ใจหรือสมอง ในส่วนของการรับรู้ อารมณ์ หรือความคิด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และ มีความจ�ำเป็ นพิเศษทีจ่ ะต้องได้รบั ความช่วยเหลือทางการแพทย์ เพือ่ ให้สามารถปฏิบตั ิ กิจกรรมในชีวติ ประจ�ำวัน หรือเข้าไปมีสว่ นร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทัวไป ่ 4.2. ความพิก ารออทิส ติก หมายถึง การที่บุ ค คลมีข้อ จ� ำ กัด ในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจ�ำวันหรือการเข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึง่ เป็ นผลมาจากความบกพร่องทางพัฒนาการด้านสังคม ภาษาและการสือ่ ความหมาย พฤติกรรมและอารมณ์ โดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติของสมอง และความผิดปกตินนั ้ แสดงก่อนอายุสองปี ครึง่ ทัง้ นี้ให้รวมถึงการวินิจฉัยกลุ่มออทิสติกสเปกตรัมอื่นๆ เช่น แอสเปอเกอร์ (Asperger) 5. ความพิการทางสติปญั ญา (intellectual disability: ID) หมายถึง การทีบ่ คุ คล มีขอ้ จ�ำกัดในการปฏิบตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจ�ำวันหรือการเข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรม ั ทางสังคม อันเนือ่ งมาจากการมีพฒั นาการช้ากว่าปกติ หรือมีระดับเชาว์ปญญาต� ำ่ กว่าบุคคลทัวไป ่ โดยความผิดปกตินนั ้ พบก่อนอายุ 18 ปี ว่าความบกพร่องของเด็กท�ำให้เด็กไม่สามารถพัฒนา ได้เหมือนเด็กคนอืน่ บางครังเชื ้ อ่ ว่าเด็กก้าวร้าว ไม่รเู้ รือ่ ง ท�ำให้เกิดความหวาดกลัว มองเด็ก และครอบครัวด้วยสายตาหวาดกลัว หลีกเลีย่ งไม่ให้เด็กอยู่ร่วมกับเด็กคนอื่น รวมทัง้ ครอบครัวอาจรู้สกึ กังวล อายสับสน ไม่เข้าใจความบกพร่อง ท�ำให้เด็กขาดโอกาส ในการเรียนรูแ้ ละการฝึ กฝนให้สามารถท�ำกิจวัตรประจ�ำวันและมีกจิ กรรมทางสังคมได้ เช่นเดียวกับเด็กคนอืน่ เช่น ดาวน์ซนิ โดรม ภาวะบกพร่องทางสติป ญั ญา เป็ นภาวะที่ม พี ฒ ั นาการบกพร่องเนื่ อ งจาก ข้อจ�ำกัดด้านสติปญั ญา การเรียนรู้ และการปรับตัวในการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวัน ในปจั จุบนั ั ั มีการใช้คำ� ว่า“บกพร่องทางสติปญญา” แทนค�ำว่า “ปญญาอ่ อน” เพือ่ ให้เกิดความยอมรับ ั ั ผูท้ บ่ี กพร่องทางสติปญญามากขึน้ ภาวะบกพร่องทางสติปญญา หมายถึง ภาวะทีม่ รี ะดับ ั เชาวน์ปญญาต� ่ำกว่าเกณฑ์เฉลีย่ มีพฤติกรรมการปรับตัวบกพร่อง เช่น การสือ่ ความหมาย การดูแลตนเอง การด�ำรงชีวติ ภายในบ้าน การปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ น่ื ทางสังคม การควบคุมตนเอง การน�ำความรูม้ าใช้ในชีวติ ประจ�ำวันการใช้เวลาว่าง การมีสขุ อนามัย การใช้ทรัพยากร ในชุมชนและการท�ำงาน ซึง่ มีอาการก่อนอายุ 18 ปี 6. ความพิการทางการเรียนรู้ หมายถึง การทีบ่ คุ คลมีขอ้ จ�ำกัดในการปฏิบตั กิ จิ กรรม ในชีวติ ประจ�ำวัน หรือการเข้าไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคมโดยเฉพาะด้านการเรียนรู้ ซึง่ เป็นผลมาจากความบกพร่องทางสมอง ท�ำให้เกิดความบกพร่องในด้านการอ่าน การเขียน 73


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

การคิดค�ำนวณ หรือกระบวนการเรียนรูพ้ น้ื ฐานอืน่ ในระดับความสามารถทีต่ ำ่� กว่าเกณฑ์มาตรฐาน ตามช่วงอายุและระดับสติปญั ญา ในกลุม่ ที่ 5 และ 6 อาจเรียกรวมกันว่า cognitive impairments เป็นลักษณะพิการ ทีห่ ลากหลายมาก พบได้ตงแต่ ั ้ การพิการโดยก�ำเนิด เช่น Down’s Syndrome (DS), Intellectual and Developmental Disabilities (IDD) ไปจนถึงความพิการจากสมองได้รบั บาดเจ็บ Traumatic Brain Injury (TBI) หรือโรคทางสมอง (Aphasia, a Speech and Language Disorder, or Amnesia) หรือสมองเสือ่ มตามอายุ (เช่น Alzheimer’s Disease), หรือเกิดจาก การเจ็บปว่ ยด้วยโรคบางประเภท (เช่น Schizophrenia) ส�ำหรับผูป้ ่วยด้วยโรคทีห่ ายาก (rare diseases) ประเทศไทยไม่จดั ให้เป็ น กลุ่มคนพิการ แต่ในบางประเทศ เช่นไต้หวันก�ำหนดให้ผูป้ ่วยด้วยโรคที่หายากเป็ น คนพิการอีกกลุม่ ทังนี ้ พ้ นั ธุกรรมเป็นสาเหตุทส่ี ำ� คัญประการหนึง่ ของโรคทีห่ ายาก (Lin et al., 2013: 133–138) โรคทีห่ ายาก หมายถึง โรคทีท่ ำ� ให้เสียชีวติ ได้ (life-threatening) หรือท�ำให้เกิด ภาวะอ่อนแรงเรือ้ รัง และมีอตั ราความชุกน้อยกว่า 1: 2,000 (ส�ำหรับประเทศในยุโรป) หรือ 1: 1,250 (ส�ำหรับประเทศสหรัฐอเมริกา) (Remuzzi and Garattini, 2008: 1978–1979) หรือ 1: 10,000 (ส�ำหรับไต้หวัน) (Taiwan Foundation For Rare Disorders, 2013) กลุ่มคนพิการแต่ละประเภท สามารถแบ่งระดับความรุนแรงของความพิการ ตามความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง ทังนี ้ ร้ ะดับความรุนแรงจะเป็นตัวสะท้อนความจ�ำเป็น ในการฝึกฟื้นฟู สมรรถภาพ อุปกรณ์เครือ่ งช่วย ผูช้ ว่ ยเหลือ และการปรับสภาพแวดล้อม ในบ้าน องค์การอนามัยโลก ได้จดั ท�ำรหัสจ�ำแนกกลุม่ ภาวพิการและสุขภาพ (International Classification of Functioning, Disability, and Health; ICF) เป็ น 4 กลุม่ หลัก (Taiwan Foundation For Rare Disorders, 2013) คือ B = การท�ำงานของร่างกาย (body functions) S = โครงสร้างของร่างกาย (body structures) D = กิจกรรมและการมีสว่ นร่วม (activities and participation) E = สภาวะแวดล้อม (environmental factors) จ�ำนวนคนพิ การ จากการส�ำรวจในพ.ศ. 2555 (National Statistical Office, 2013) พบว่าประเทศไทย มีประชากรทีพ่ กิ ารประมาณ 1.5 ล้านคน หรือร้อยละ 2.2 ของประชากรทัง้ ประเทศ ลดลงจาก พ.ศ. 2550 (ร้อยละ 2.9) (Social Statistics Group, Breau of Socio-Economic and Opinion 2, 2008) โดยพบคนพิการเพศหญิง (ร้อยละ 2.3) มีมากกว่าเพศชาย 74


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

(ร้อยละ 2.1) เล็กน้อย ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 9.8) เป็ นกลุม่ ผูส้ งู อายุ 60 ปีขน้ึ ไป นอกจากนี้ การกระจายตัวของคนพิการพบนอกเขตเทศบาล (ร้อยละ 2.5) มากกว่าในเขตเทศบาล (ร้อยละ 1.5) โดยเฉพาะภาคเหนือ (ร้อยละ 2.9) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ 2.8) มีจำ� นวนคนทีพ่ กิ ารมากกว่าภาคอื่น และประเภทของลักษณะพิการทีพ่ บมากคือ ั ความพิการทีม่ คี วามลําบากหรือปญหาสุ ขภาพทีเ่ ป็นข้อจาํ กัดในการทาํ กิจกรรม (ร้อยละ 2.1 หรือ1.4 ล้านคน) ความพิการทีม่ คี วามลําบากในการดูแลตนเองหรือทํากิจวัตรส่วนตัว (ร้อยละ 0.5 หรือ 0.3 ล้านคน) หรือความพิการทีม่ ลี กั ษณะความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจหรือสติปญั ญา (ร้อยละ 1.6 หรือ1.1 ล้านคน) (National Statistical Office, 2013) ซึ่งเป็ นรูปแบบลักษณะทางประชากรศาสตร์ของคนพิการในไทยแตกต่างกับไต้หวัน ซึง่ เป็นประเทศอุตสาหกรรม กล่าวคือในช่วง พ.ศ. 2545 - 2550 อัตราความชุกของคนพิการ ในไต้หวันเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ 3.69 เป็ นร้อยละ 4.45 (อัตราเพิม่ ร้อยละ 22.8) (Yen et al., 2009 : 323-9) และในปลายพ.ศ. 2554 จ�ำนวนคนพิการทีข่ น้ึ ทะเบียน กับหน่วยงานรัฐไต้หวันมี มากกว่า 1.1 ล้านคน (ร้อยละ 4.74 ของประชากรทัง้ หมด) (Westberg and Kao, 2012) และในปี 2542 คนพิการในไต้หวันมีถนิ่ ที่อยู่กระจาย ตามเมืองใหญ่ๆ มากกว่าในชนบท (Statistical Analysis on Subsidies and Welfare Services Rendered to Mentally and Physically Disabled Citizens, 2000; Ministry of the Interior, 2001; Lai et al., 2012 : 909–915) แต่คนพิการส่วนใหญ่ (ร้อยละ 90) อาศัยในชุมชน (Community) ซึ่งต้องพึง่ พิงญาติ มีเพียงร้อยละ 10 ทีพ่ กั ในองค์กร ส�ำหรับคนพิการ (Westberg and Kao, 2012) สิ ทธิ ประโยชน์ ด้านการดูแลสุขภาพของคนพิ การ การดูแลสุขภาพของคนพิการนัน้ นอกจากจะเป็ นการให้บริการรักษาพยาบาล การเจ็บปว่ ยเหมือนประชาชนทัวไปแล้ ่ วยังต้องมีการให้บริการฟื้นฟูสมรรถนภาพต่าง ๆ อีกด้วยเพื่อช่วยให้คนพิการสามารถเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในสังคม ในประเด็นของ ความต้องการการดูแลสุขภาพนัน้ มีรายงานการศึกษาจ�ำนวนมากว่าคนพิการเป็ นกลุ่ม ทีม่ คี วามต้องการใช้บริการดูแลสุขภาพมากกว่าคนทัวไป ่ (Lin et al., 2010 : 263–269, Lin et al., 2007 : 84; Lin et al., 2006 : 657; Lin et al., 2005 : 86) และความต้องการ บริการทางการแพทย์ของกลุม่ คนพิการมีความซับซ้อนมากกว่าผูป้ ว่ ยปกติทวไป ั ่ เนื่องจาก คนพิการบางรายมีความพิการซ�ำ้ ซ้อน อาทิ ร้อยละ 14.5 ของคนพิการวัยรุน่ ทีเ่ ป็นคนพิการทาง สติปญั ญา จะพบว่ามีความผิดปกติของกระดูกสันหลัง (spinal) และร้อยละ 8.5 มีความ พิการแขนขา (limb) ร่วมด้วย (Lin et al., 2010 : 686–691) การติดตามคนพิการทาง สติปญั ญา (ID) ใน Taipei จ�ำนวน 168 คน ช่วงพ.ศ. 2542 – 2545 พบว่าคนพิการร้อย 75


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

ละ 20.8–34.5 (เฉลีย่ ร้อยละ 29.0) มีการใช้บริการผูป้ ว่ ยนอกมากกว่า 25 ครัง้ ต่อปี และ คนพิการประเภทพักประจ�ำในสถานทีพ่ กั ของคนพิการมีการใช้บริการผูป้ ่วยนอก มากกว่าคนพิการประเภทมารับบริการแบบไปกลับ (institutional day care services) (Lin et al., 2010 : 263–269; Lin et al., 2007: 84) ดังนัน้ นโยบายก�ำหนดสิทธิประโยชน์ ด้านการดูแลสุขภาพของคนพิการจึงควรต้องพิจารณาให้ครอบคลุมกับความจ�ำเป็นพืน้ ฐาน ทีม่ คี วามแตกต่างจากประชาชนทัวไป ่ เพือ่ ให้คนพิการมีสขุ ภาพและคุณภาพชีวติ ทีด่ ี แม้ว่าประเทศไทยเพิง่ จะมีการให้สตั ยาบันอนุ สญ ั ญาว่าด้วยสิทธิคนพิการ เมือ่ วันที่ 29 กรกฎาคม 2551 มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 28 สิงหาคม 2551 โดยสาระส�ำคัญ ในอนุสญ ั ญาฯ คือการส่งเสริมคุม้ ครองและประกันให้คนพิการ รับรองสิทธิและเสรีภาพ ขัน้ พืน้ ฐาน และส่งเสริมการเคารพในศักดิ ์ศรีทม่ี มี าแต่กำ� เนิด การขจัดการเลือกปฏิบตั ิ ต่อคนพิการทุกรูปแบบ การเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสภาพแวดล้อม ทางกายภาพ การขนส่ง ข้อมูลข่าวสารและบริการสาธารณะทุกรูปแบบ การยอมรับความเท่าเทียมกัน ของคนพิการในทางกฏหมาย ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา การท�ำงาน การรักษาพยาบาล การมีสว่ นร่วมทางการเมืองอย่างเท่าเทียมกับบุคคลทัวไป ่ ซึง่ ถือว่า เป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ต่อคนพิการ (National Office for Empowerment of Persons with Disabilities, n.d.) แต่ประเทศไทยมีนโยบายและแนวทางในเรือ่ งสิทธิประโยชน์ใน ด้านสุขภาพของคนพิการมาก่อน พ.ศ. 2551 โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534 ก�ำหนดแนวนโยบายแห่งรัฐในการช่วยเหลือและสงเคราะห์ผสู้ งู อายุ และคนพิการด้านสุขภาพ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช พ.ศ. 2550 ได้เพิม่ เติมรายละเอียดในนโยบายดังกล่าว ดังนี้ “บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและ ได้รบั ความคุม้ ครอง ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ไม่ขน้ึ กับความแตกต่างในสภาพทางกาย หรือสุขภาพ” “บุคคลซึง่ พิการหรือทุพพลภาพมีสทิ ธิได้รบั สิง่ อ�ำนวย ความสะดวกอันเป็นสาธารณะ และความช่วยเหลืออืน่ จากรัฐ” นอกจากกฎหมายสูงสุดของประเทศจะก�ำหนดแนวนโยบาย ไว้ชดั เจนในระดับการบริหารมีการตราพระราชบัญญัตกิ ารฟื้ นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 เพือ่ ให้คนพิการได้รบั การคุม้ ครอง การสงเคราะห์ การพัฒนาและการฟื้นฟู สมรรถภาพโดยวิธกี ารทางการแพทย์ ทางการศึกษา ทางสังคมและการฝึกอาชีพ ตลอดจน แก้ไขปญั หาและขจัดอุปสรรคต่างๆ สามารถด�ำรงชีวติ ประกอบอาชีพและมีส่วนร่วม ในกิจ กรรมของสัง คมเท่า เทีย มกับคนปกติท วไป ั ่ นอกจากนี้ ใ นพ.ศ. 2546 รัฐสภา ได้ให้ความเห็นชอบพระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 ทีม่ เี นื้อหา ก�ำหนดรัฐจัดตัง้ หน่ วยงานส�ำหรับให้บริการสวัสดิการสังคม เช่นด้านสุขภาพอนามัย แก่คนชรา ผู้ยากไร้ คนพิการ หรือทุพพลภาพ ต่อมาเมื่อมีการแก้ไขปรับปรุงโดย พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550 (Empowerment 76


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

of Persons with Disabilities Act B.E. 2550, Empowerment of Persons with Disabilities Act (2nded) B.E. 2556) นอกจากนี้ยงั มีพระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ทีไ่ ด้บญ ั ญัตริ บั รองสิทธิในสุขภาพของคนพิการ คนสูงอายุ ทีม่ คี วามจ�ำเพาะ ในเรื่องสุขภาพว่าต้องได้รบั การสร้างเสริมและคุม้ ครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม (National Health Act B.E. 2550) แต่ยงั ไม่มแี นวทางปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจน จากข้อมูลที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่านโยบายด้านคนพิการในประเทศไทย ทีม่ มี าตลอดเวลา 25 ปีสว่ นใหญ่เป็นนโยบายการจัดสวัสดิการสังคม ส่วนสิทธิดา้ นสุขภาพ เป็ นสิทธิตามกรอบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ าที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 (Notifications of National Health Security Office, 2004) เหมือนกับประชาชนทัวไป กล่ ่ าวคือ ต้องใช้สทิ ธิเข้ารับบริการสาธารณสุข ณ หน่วยบริการประจ�ำของตน เว้นแต่กรณีมคี วามจ�ำเป็นอาจไปใช้สทิ ธิเข้ารับบริการสาธารณสุข ณ หน่ วยบริการอื่นของรัฐก็ได้ และส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รับผิดชอบในการจัดสรรงบประมาณค่าใช้จา่ ยเพือ่ บริการสาธารณสุขตามอัตราเหมาจ่าย รายหัวให้กบั หน่วยบริการประจ�ำ นโยบายด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพเริม่ มีการก�ำหนดชัดเจนในพระราชบัญญัติ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550 ซึง่ เป็นการรับรองสิทธิของคนพิการ ในการเข้าถึงและใช้การบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์และ ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาล ค่าอุปกรณ์ เครือ่ งช่วยความพิการ และสือ่ ส่งเสริมพัฒนาการ เพื่อปรับสภาพทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม พฤติกรรม สติปญั ญา การเรียนรู้ หรือเสริมสร้างสมรรถภาพให้ดขี น้ึ โดยกระทรวงสาธารณสุขในฐานะหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ ในการให้บริการรักษาพยาบาลของรัฐ ได้ก�ำหนดบริการส�ำหรับการฟื้ นฟูสมรรถภาพ ของคนพิการ 26 รายการ (Notifications of Ministry of Public Health, 2009) เช่น การตรวจวินิ จ ฉัย การตรวจทางห้อ งปฏิบ ตั ิก ารและการตรวจพิเ ศษด้ว ยวิธีอ่ืน ๆ ตามชุดสิทธิประโยชน์ การแนะแนว การให้คำ� ปรึกษา และการจัดบริการเป็ นรายกรณี การให้ยา ผลิตภัณฑ์ เวชภัณฑ์และหัตถการพิเศษอืน่ ๆ เพือ่ การบ�ำบัดฟื้นฟู การบริการ ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพผ่านสือ่ ในรูปแบบทีเ่ หมาะสมกับความพิการซึง่ คนพิการเข้าถึง และใช้ป ระโยชน์ ไ ด้ การฝึ ก อบรมและพัฒ นาทัก ษะแก่ ค นพิก าร ผู้ดู แ ลคนพิก าร และผูช้ ว่ ยคนพิการ เป็ นต้น ทังนี ้ ้ กระทรวงสาธารณสุขได้กำ� หนดค่าบริการส�ำหรับการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ การรักษาพยาบาล ค่าอุปกรณ์ เครือ่ งช่วยความพิการและสือ่ ส�ำหรับส่งเสริมพัฒนาการ (Notifications of Ministry of Public Health, 2009) โดยคนพิการสามารถใช้สทิ ธิรกั ษาพยาบาล (สิท ธิข้า ราชการ สิท ธิป ระกัน สัง คม หรือ สิท ธิต ามหลัก ประกัน สุข ภาพถ้ว นหน้ า ) 77


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

เหมือนประชาชนทัวไป ่ สปสช. เป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จา่ ยของคนพิการในสิทธิตามหลัก ประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทัง้ นี้ สปสช.จัดตัง้ กองทุนเฉพาะ ชือ่ กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้านการแพทย์เพือ่ บริหารงบส�ำหรับผูท้ จ่ี ำ� เป็นต้องได้รบั บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ (National Health Security Office, 2014) โดยงบประมาณทีจ่ ดั สรรให้กองทุนนีจ้ ะมีการพิจารณาเป็นรายปี และมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อาทิ ปีงบประมาณ 2554 จัดสรรงบประมาณ 12.00 บาทต่อคน (National Health Security Office, 2011) คิดเป็นวงเงิน 573.6 ล้านบาท (ส�ำหรับคนพิการ 47.8 ล้านคน) งบประมาณของกองทุนฯใช้ส�ำหรับการให้บริการฟื้ นฟู สมรรถภาพ ส�ำหรับผูป้ ว่ ย คนพิการ และผูส้ งู อายุทต่ี อ้ งการได้รบั การฟื้นฟูสมรรถภาพทีใ่ ช้รปู แบบ การจัดบริการแบบผูป้ ่วยนอกของหน่ วยบริการ การบริการในชุมชน และการบริการ ในระบบทางเลือกต่างๆ โดยมีแนวทางการบริหารดังนี้ 1. งบประมาณไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จัดสรรเป็ นค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ และอุปกรณ์เครือ่ งช่วยคนพิการ โดยประกอบด้วย ค่าอุปกรณ์เครือ่ งช่วยคนพิการ ทีจ่ ำ� เป็น ค่าบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์สำ� หรับกรณีบริการผูป้ ว่ ยนอกและค่าบริการฟื้นฟู หลังผ่าตัดปากแหว่งเพดานโหว่ (บริการทันตกรรมแก้ไข และการฝึกพูด) ค่าฝึกการใช้อปุ กรณ์ เครือ่ งช่วยคนพิการ และ การบริการฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน 2. งบประมาณไม่เกินร้อยละ 20 จัดสรรส�ำหรับสนับสนุ นการพัฒนารูปแบบ ระบบบริการฟื้ นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ของหน่ วยบริการร่วมกับองค์กรคนพิการ และภาคีอน่ื ๆ เพือ่ เป็นต้นแบบในการขยายการด�ำเนินการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพเชิงรุก และการพัฒนาศักยภาพการฟื้นฟูสมรรถภาพขององค์กรคนพิการ เพือ่ ให้สามารถดูแล สุขภาพตนเอง และเพิม่ การเข้าถึงบริการให้ทวถึ ั ่ งมากขึน้ ส�ำหรับการบริหารจัดการ ค่าใช้จา่ ยบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557 (National Health Security Office, 2013) สปสช.มีนโยบายการบริหารจัดการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้าน การแพทย์ โดยมุ่งหวังให้เกิดการบูรณาการการด�ำเนินงานและงบประมาณร่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัด/องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง ในระดับท้องถิน่ หรือจังหวัด ในลักษณะของกองทุนร่วม (matching fund) ระดับจังหวัด เพือ่ ให้คนพิการ ผูส้ งู อายุทจ่ี ำ� เป็ นต้องได้รบั การฟื้นฟูสมรรถภาพ และผูป้ ว่ ยระยะฟื้นฟู ในชุม ชน ได้ร บั บริก ารการดูแ ลและช่ว ยเหลือ ให้ค รอบคลุ ม ในทุก มิติ โดยก�ำ หนด งบประมาณฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ในอัตรา 14.95 บาทต่อผูม้ สี ทิ ธิ และก�ำหนด สัดส่วนการบริหารจัดการเงิน ตามรูปที่ 2 ทัง้ นี้ ปีงบประมาณ 2557 มีการสนับสนุนและส่งเสริมการรับส่งผูท้ พุ พลภาพ ไปกลับหน่วยบริการ โดยการบริหารจัดการภายใต้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิน่ หรือพื้นที่ตามความเหมาะสมและภายใต้ความร่วมมือกันระหว่างหน่ วยบริการและ 78


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ท�ำให้เพิม่ โอกาสของคนพิการในการเข้าถึงบริการมากขึน้ ซึง่ ปญั หาส�ำคัญของคนพิการ (Huang et al., 2012 : 307) คือการเดินทางไปรับบริการ ตามสถานพยาบาลโดยเฉพาะคนพิการทีฐ่ านะทางบ้านไม่เอือ้ ให้มรี ถส่วนตัวในการเดินทาง แม้วา่ สปสช. จะได้ประสานงานหน่วยบริการทีใ่ กล้บา้ นของคนพิการ หรือจากหน่วยบริการ ของรัฐทัวประเทศ ่ เพือ่ ให้คนพิการ ไปรับอุปกรณ์ เครือ่ งช่วยความพิการ หรือคนพิการ และผูด้ แู ลไปรับการฝึกอบรมเพือ่ การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการดูแลช่วยเหลือคนพิการ ตามประเภทความพิการ (National Health Security Office, 2010)

รูปที ่ 2 กรอบการบริหารจัดการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ ปีงบประมาณ 2557

เมือ่ พิจารณาจากสิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการตามกฎหมายต่าง ๆ ของไทย พบว่าสิทธิประโยชน์สว่ นใหญ่เป็นการให้บริการส�ำหรับคนพิการทีพ่ บภาวะผิดปกติ ของอวัยวะต่าง ๆ แล้ว แต่ยงั ไม่มนี โยบายในเชิงป้องกันความพิการเหมือนกับไต้หวัน ทีม่ กี ฎหมายสวัสดิการสังคมของคนพิการ (The Law for Welfare of the Disabled) ใช้มา ตัง้ แต่ พ.ศ. 2523 (Statistical Analysis on Subsidies and Welfare Services Rendered to Mentally and Physically Disabled Citizens, 2000) จึงมีพฒ ั นาการในการดูแล คนพิการทีก่ า้ วหน้ามาก ไต้หวันเป็นประเทศหนึง่ ทีม่ ปี ระวัตศิ าสตร์การรณรงค์อย่างต่อเนื่องเพือ่ ให้ผพู้ กิ าร ได้มพี ้นื ที่ในสังคมและปจั จุบนั ไต้หวันมีกฎหมายที่ทนั สมัยในการคุ้มครองสิทธิของ 79


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

ผูพ้ กิ ารกฎหมายเกีย่ วกับการคุม้ ครองคนพิการล่าสุดทีไ่ ต้หวันประกาศใช้คอื People with Disabilities Rights Protection Act 2007 (Lex Data Information Inc, 2012) มีขอ้ ก�ำหนด ในเรือ่ งคนพิการในเชิงป้องกันหลายประการ อาทิ 1.เด็กทีม่ โี อกาสเกิดความพิการจะได้รบั การดูแลรักษาแต่เนิน่ ๆ การรักษาเด็ก ทีม่ พี ฒ ั นาการช้าแต่เนิ่นๆ (Child Welfare Bureau, 1997) รวมถึงการฟื้นฟูสมรรถนะ ทางการแพทย์ (Lex Data Information Inc , 2012) ทัง้ นี้มรี ะบบการเฝ้าระวังความพิการ เพื่อให้การบริการรักษาและการส่งต่อคนพิการด�ำเนินการได้ไม่ล่าช้า โดยก�ำหนดให้ หน่วยงานต่าง ๆ มีหน้าที่ ดังนี้ 1.1. หน่วยงานด้านสุขภาพต้องมีระบบตรวจสอบผูท้ ม่ี คี วามเสีย่ งใน การพิการ เด็กหรือทารกทีอ่ าจมีพฒ ั นาการผิดปกติ หรือมีโอกาสเป็ นปญั ญาอ่อน เช่น โครงการส�ำรวจภาวะ Dementia ในกลุม่ ผูส้ งู อายุ (Department of Health, 2012) 1.2. หน่ ว ยงานด้า นการศึก ษาต้ อ งมีร ะบบตรวจสอบนั ก เรีย น ทีอ่ าจเกิดความพิการได้ (Department of Health, 2012) 1.3. หน่ วยงานด้านแรงงาน ต้องมีระบบตรวจสอบ การบาดเจ็บ ในการท�ำงาน 1.4. หน่วยงานด้านต�ำรวจต้องมีระบบตรวจสอบอุบตั เิ หตุการจราจร 1.5. หน่ ว ยงานที่ร บั จดแจ้ง ทะเบีย นบ้า นต้อ งมีร ะบบตรวจสอบ การย้ายทีอ่ ยูข่ องคนพิการ หากหน่ วยงานใดตรวจสอบพบคนพิการต้องท�ำการประเมินการด�ำรงชีวติ ของคนพิการโดยไม่รอช้า รวมถึงลักษณะบริการทีค่ นพิการพึงได้รบั หรือการส่งต่อคนพิการ ยังหน่วยงานทีม่ หี น้าทีด่ แู ลต่อไป 2. การประเมินความพิการ การรักษาพยาบาล การฟื้ นฟูสมรรถนะ รวมถึง การวิจยั พัฒนาอุปกรณ์ชว่ ยต่าง ๆ ส�ำหรับคนพิการ (Lex Data Information Inc, 2012) 3. ผูห้ ญิงตัง้ ครรภ์ตอ้ งไม่สบู บุหรี่ ดืม่ แอลกอฮอล์ เคีย้ วพลู (chew betel nut) เสพยาเสพติด เสพสารต้องห้าม, หรือมีพฤติกรรมใดทีอ่ าจส่งผลต่อการเจริญเติบโต ของทารถในครรภ์ (Child Welfare Bureau, 1997) 4. การเพิม่ บัญชีกลุม่ ความพิการ โดยก�ำหนดให้โรคทีพ่ บไม่บอ่ ย เช่น ความผิดปกติ ของระบบเผาผลาญในร่างกาย ความผิดปกติของโครโมโซม เป็นกลุม่ พิการประเภทหนึ่ง นอกจากนี้กฎหมายของไต้หวันยังมีบทบัญญัตใิ ห้หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้ม ี บริการการพัฒนาเทคโนโลยี/อุปกรณ์ในการช่วยเหลือ (assistive technology) คนพิการ และบริก ารจัด ท�ำมาตรฐานเครื่องมือ/อุ ปกรณ์ ส�ำ หรับ คนพิก าร ด้วยการสนับ สนุ น ภาคอุตสาหกรรมในการผลิตสินค้ากลุม่ นี้ (Lex Data Information Inc, 2012) รวมถึง 80


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

การให้บริการดูแลสุขภาพตามบ้าน (home health care) ส�ำหรับผูส้ งู อายุ (Wang and Tsay, 2012 : 465) ในการดูแลรักษาพยาบาลคนพิการ พระราชบัญญัติ People with Disabilities Rights Protection Act ของไต้หวันก�ำหนดรายละเอียดอย่างเป็นระบบส�ำหรับหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้เกิดการเชือ่ มประสานงานในการให้บริการ ได้แก่ 1. หน่ วยงานกลางด้านสุขภาพ ต้องบริหารทรัพยากรด้านการแพทย์เพื่อ ให้บริการส�ำหรับคนพิการอย่างเหมาะสม โดยให้ความส�ำคัญในการด�ำรงไว้ซง่ึ สถานะ ทางสุขภาพ และสุขภาพเกีย่ วกับการสืบพันธุ ์ และก�ำหนดคุณสมบัติ และรายการอุปกรณ์ ทีจ่ ำ� เป็ นส�ำหรับโรงพยาบาล/องค์กร/สถาบันทีส่ ามารถดูแล รักษาคนพิการ 2. หน่วยงานระดับมณฑล/เมืองต้องจัดให้มกี ารบริการตรวจสุขภาพประจ�ำปี และการบริการดูแลสุขภาพส�ำหรับคนพิการ รวมถึงการติดตามการรักษาต่าง ๆ ตามรายงานการตรวจสุขภาพภายใต้การยินยอมของคนพิการ การดูแลรักษานี้รวมถึงการดูแลรักษาในสถานพยาบาลและในสถานที่พกั ของคนพิการด้วย เพือ่ คนพิการจักได้รบั บริการด้านการแพทย์ตามทีต่ อ้ งการ 3. โรงพยาบาลต้องจัดตัง้ หน่วยงานแรกรับเพือ่ ช่วยในการสือ่ สารกับคนพิการ ทีไ่ ม่สามารถแสดงความออกซึง่ ความจ�ำเป็ นหรือความต้องการบริการทีม่ ลี กั ษณะพิเศษ ในการจ� ำ หน่ า ยคนพิก ารที่ม ารับ การรัก ษาในโรงพยาบาลออกจากหอพัก ผู้ป่ ว ย โรงพยาบาลต้องจัดท�ำแผนการจ�ำหน่ายคนพิการ ประกอบด้วย ข้อเสนอในการดูแลทีบ่ า้ น ข้อเสนอในการฟื้นฟูสมรรถนะ บริการส่งต่อทรัพยากรด้านการแพทย์ในชุมชน ข้อเสนอ ในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในทีพ่ กั ข้อเสนอในการประเมินและการใช้อปุ กรณ์เครือ่ งช่วย บริการการเคลือ่ นย้าย ข้อเสนอการปรับโครงสร้างส�ำหรับการด�ำรงชีวติ ประจ�ำวัน และ ข้อเสนอบริการให้คำ� ปรึกษาสุขภาพจิต การเข้าถึงบริ การด้านสุขภาพ สิทธิในด้านการดูแลสุขภาพของคนพิการอาจจะมีการก�ำหนดไว้ในกฎหมาย อย่างครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใดก็คงไม่กอ่ ให้เกิดประโยชน์ตอ่ คนพิการ หากในทางปฏิบตั ิ ผู้ท่ีเ กี่ย วข้อ งไม่ค�ำนึ ง ถึง อุ ปสรรคของการเข้า ถึง บริก าร โดยเฉพาะทรัพ ยากรที่ใ ช้ ในการด�ำเนินงาน อาทิ จ�ำนวนบุคลากรทีผ่ ่านการฝึ กอบรมในการให้บริการคนพิการ จ�ำนวนของสถานบริการ งบประมาณในการให้บริการ ระบบการขนส่งทีเ่ อือ้ ต่อคนพิการ เพราะการเข้าไม่ถงึ บริการก็ทำ� ให้เกิดการริดรอนสิทธิของคนพิการเช่นกัน นอกจากนี้ในการให้บริการด้านสุขภาพการให้บริการสุขภาพแก่คนพิการ จ�ำเป็ นต้องค�ำนึงถึงเครือ่ งมือ/อุปกรณ์ทางการแพทย์ทจ่ี ะน�ำมาใช้ตอ้ งมีความเหมาะสม กับสภาวะทางร่างกายทีแ่ ตกต่างจากคนทัวไปด้ ่ วย เพราะอุปสรรคของการใช้บริการ 81


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

ด้านสุขภาพของกลุม่ คนพิการประการหนึง่ คือ การเข้าไม่ถงึ เครือ่ งมือ/อุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ทม่ี ใี ช้ในสถานพยาบาลทัวไป ่ ไม่สามารถใช้กบั คนพิการได้ เช่น เตียงตรวจทีส่ งู กว่ารถเข็นท�ำให้การเคลือ่ นย้ายคนพิการจากรถเข็นขึน้ เตียงตรวจไม่สะดวก หรืออุปกรณ์ ตรวจส�ำหรับผูห้ ญิงที่พกิ ารช่วงล่าง (with lower extremity disability) ดังนัน้ ผูบ้ ริหารสถานพยาบาลจึงต้องตระหนักถึงปญั หาความจ�ำเป็ นในการใช้อุปกรณ์ เหล่านี้ และเสาะแสวงหาอุปกรณ์เหล่านี้เตรียมไว้ให้บริการส�ำหรับคนพิการ (Pharr, 2013: 124) เพราะการทีม่ อี ุปกรณ์ทเ่ี อือ้ ส�ำหรับคนพิการเป็ นปจั จัยหนึ่งในการตัดสินใจ (self-determination) ใช้บริการด้านสุขภาพของคนพิการ (Reid and Parsons, 2001: 341; Baer,1998: 50) ดังตัวอย่างรายงานการส�ำรวจในพ.ศ. 2551 พบว่าผู้หญิงพิการ อายุต งั ้ แต่ 30 ปี ข้นึ ไป ได้ร บั บริก ารตรวจหามะเร็ง ปากมดลูก เพีย งร้อ ยละ 7.71 กลุม่ ทีเ่ ข้าไม่ถงึ บริการนีม้ ากทีส่ ดุ คือ คนพิการทางจิตใจ (Mental Retardation) (Huang et al., ั หาสุ ข ภาพที่รุ น แรง 2012 : 307) ดัง นั น้ ผู้ห ญิ ง เหล่ า นี้ อ าจเสี่ย งต่ อ การเกิด ป ญ ในระบบสืบพันธุ์ เช่น มะเร็งปากมดลูก ซึง่ มีตวั อย่างผลการศึกษาพบว่ากลุม่ ผูห้ ญิงพิการ ทางการเคลือ่ นไหวของร่างกายทีไ่ ม่ได้รบั การตรวจคัดกรองหามะเร็งช่องคลอด Pap smear ภายใน 3 ปี มีโอกาสทีต่ อ้ งเข้ารับการผ่าตัดมดลูก (OR = 2.79, 95% CI = 1.194–6.561) (Lin et al., 2012: 990) บทสรุป ประเทศไทยทีม่ กี ฎหมายทีใ่ ห้สทิ ธิประโยชน์สำ� หรับคนพิการในด้านการดูแลสุขภาพ มาเป็ นเวลานานพอควร แต่ส่วนใหญ่เน้นในด้านการรักษาและการฟื้ นฟูสมรรถภาพ ยังไม่มกี ารให้ความส�ำคัญในด้านการป้องกันการเกิดภาวะพิการเหมือนอย่างไต้หวัน แต่อย่างไรก็ดสี ทิ ธิทก่ี ำ� หนดไว้ในกฎหมายต่าง ๆ นัน้ จะเป็นสิทธิทส่ี มบูรณ์ได้ในทางปฏิบตั ิ จ�ำเป็ นต้องค�ำนึงถึงปจั จัยการเข้าถึงบริการที่หน่ วยงานของรัฐจัดไว้บริการร่วมด้วย ตลอดจนถึง อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ทเ่ี หมาะสม มิเช่นนัน้ สุขภาพและ คุณภาพชีวติ ของคนพิการจะไม่ได้รบั การดูแลตามเจตนารมย์ของกฎหมายได้





82




ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

References Baer, D. M. (1998). Commentary: Problems in Imposing Delf-determination. Journal of the Association for Persons with Severe Handicaps, 23: 50–52. Child Welfare Bureau, Ministry of Interior, the Republic of China (CBI) (1997). Children and Youth Welfare Law. [Online] Retrieved Sep 2, 2013 from http://210.241.100.212/CBI_2/internet/english/doc.aspx?id=272&d=1148. Department of Health, the Republic of China (Taiwan). (2012). Taiwan Public Health Report: Community-Based Long-Term Care for the Elderly with Dementia or Functional Disabilities, pp. 94, 96-97. Empowerment of Persons with Disabilities Act B.E. 2550 (พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริม และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ พ.ศ. 2550). Royal Thai Government Gazette 124 (61 ก) Sep 27, 1997: 8 Empowerment of Persons with Disabilities Act (2nd ed) B.E. 2556 (พระราชบัญญัติ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556). Royal Thai Government Gazette 130 (30 ก) March 29, 2013: 6. Huang, K. H., Tsai, W. C., and Kung, P. T. (2012). The Sse of Pap Smear and Its Influencing Factors among Women with Disabilities in Taiwan. Research in Developmental Disabilities, 33: 307–314. Lai, D. C., Tseng, Y. C., Hou, Y. M., and Guo, H. R. (2012). Gender and Geographic Differences in the Prevalence of Autism Spectrum Disorders in Children: Analysis of Data from the National Disability Registry of Taiwan. Research in Developmental Disabilities, 33: 909–915. Lex Data Information Inc. (2012). People with Disabilities Rights Protection Act . [Online] Retrieved June 1, 2012 from http://db.lawbank.com.tw/ Eng/FLAW/FLAWDAT01.asp?lsid=FL002563. Lin, J. D., Lin, L. P., and Hung, W. J. (2013). Reported Numbers of Patients with Rare Diseases Based on Ten-year Longitudinal National Disability Registries in Taiwan. Research in Developmental Disabilities, 34: 133–138. Lin, J. D., Lin, P. Y., Lin, L. P., Lai, C. I., Leu, Y. R., Yen, C. F., Hsu, S. W., Chu, C. M., 83


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

Wu, C. L., and Chu, C. M. (2010). Spinal and Limb Abnormalities in Adolescents with Intellectual Disabilities. Research in Developmental Disabilities, 31: 686–691 Lin, J. D., Loh, C. H., Choi, I. C., Yen, C. F., Hsu, S. W., Wu, J. L., and Chu, C. M. (2007). High Outpatient Visits among People with Intellectual Disabilities Caring in a Disability Institution in Taipei: A 4-year Survey. Research in Developmental Disabilities, 28: 84–93 Lin, L. P., Hsieh, M., Chen, S. F., Wu, C. L., Hsu, S. W., and Lin, J. D. (2012). Factors Related to Hysterectomy in Women with Physical and Mobility Disabilities. Research in Developmental Disabilities, 33: 990–995. Lin, J. D., Lin, P. Y., Lin, L. P., Chang, Y. Y., Wu, S. R., and Wu, J. L. (2010). Physical Activity and Its Determinants among Adolescents with Intellectual Disabilities. Research in Developmental Disabilities, 31: 263–269. Lin, J. D., Yen, C. F., Li, C. W., and Wu, J. L. (2005). Health, Healthcare Utilization and Psychiatric Disorder in People with Intellectual Disability in Taiwan. Journal of Intellectual Disability Research, 49: 86–94. Lin, J. D., Yen, C. F., Loh, C. H., Hsu, S. W., Haung, H. C., Tang, C. C., et al. (2006). A Cross-sectional Study on the Characteristics and Determinants of Emergency Care Utilization among People with Intellectual Disabilities in Taiwan. Research in Developmental Disabilities, 27: 657–667. Ministry of the Interior (MOI). (2001). Analysis of the Conditions of Physically and Mentally Disabled Citizens in Taiwan-Fuchien Area. [Online] Retrieved June 3, 2013 from http://sowf.moi.gov.tw/stat/english/etopic/ topic901.htm. National Health Act B.E. 2550 (พระราชบัญญัตสิ ขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550). Royal Thai Government Gazette 124 (6 ก) March 19, 1997: 1. National Health Security Office. (2010). Health Security Right for Persons with Disability (สิ ทธิ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ส�ำหรับคนพิการ). Bangkok, The Government Complex. Commemorating His Majesty the King’s 80th Birthday Annivarsary 5th December, B.E. 2550. National Health Security Office. (2011). Handbook of National Health Security BE 2554 (คูม่ อื หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 2554). Bangkok, The Government 84


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

Complex. Commemorating His Majesty the King’s 80th Birthday Annivarsary 5th December, B.E. 2550. National Health Security Office. (2013). Handbook of Fund Administration 2014 Fiscal year: 1 Capitation (คู่มือบริ หารกองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ ปี งบประมาณ 2557 เล่มที่ 1 การบริ หารงบบริ การ ทางการแพทย์เหมาจ่ายรายหัว). Bangkok, The Government Complex. Commemorating His Majesty the King’s80th Birthday Annivarsary 5 th December, B.E. 2550. National Health Security Office. (2014). Rehabitation Benefit Management Fund (กองทุนฟื้ นฟูสมรรถภาพฯ). [Online] Retrieved March 12, 2014 from http://www.nhso.go.th/FrontEnd/page-contentdetail.aspx?CatID=NDI=. National Office for Empowerment of Persons with Disabilities, Ministry of Social Development and Human Security. (n.d). Convention on the Rights of Persons with Disbilities (อนุสญ ั ญาว่าด้วยสิ ทธิ คนพิ การ; CRPD). Bangkok: Idea Square. National Statistical Office. (2013). The 2012 Disability Survey (ส�ำรวจความพิการ พ.ศ. 2555). [Online] Retrieved Feb 6, 2014 from http://service.nso.go.th/ nso/nsopublish/themes/files/disabledSum55.pdf. Notifications of Ministry of Public Health. (2009). Medical Rehabitation Service and Cost of Service and Medical Supplies BE 2552 (ประกาศกระทรวง สาธารณสุข เรือ่ ง การบริการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์ และค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลค่าอุปกรณ์ เครือ่ งช่วยความพิการ และ สือ่ ส่งเสริมพัฒนาการส�ำหรับคนพิการ พ.ศ. 2552). Royal Thai Government Gazette 126 (special section 163 ง) Nov 9, 2009: 47-49. Notifications of National Health Security Office. (2004). Public Health Service Usage of the Veteran and Persons with Disability (ประกาศส�ำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรือ่ ง การใช้สทิ ธิเข้ารับบริการสาธารณสุข ของทหารผ่านศึกและคนพิการ). Royal Thai Government Gazette 121 (special section 26 ง) March 9, 2004: 87. Notifications of National Office for Empowerment of Persons with Disabilities. (2012). Type and criteria for Disability presons 2nd ed. BE 2555 (ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ ่ ษย์ เรื่อง 85


สิทธิประโยชน์ดา้ นการดูแลสุขภาพของคนพิการ

ระพีพรรณ ฉลองสุข

ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2555). Royal Thai Government Gazette 129 (special section119ง) July 26, 2012 : 22 Pharr, J. (2013). Accessible Medical Equipment for Patients with Disabilities in Primary Care Clinics: Why Is It Lacking?. Disability and Health Journal, 6: 124-132. Reid, D. H., Parsons, M. B., Green, C. W., and Browning, L. B. (2001). Increasing One Aspect of Self-determination among Adults with Severe Multiple Disabilities in Supported Work. Journal of Applied Behavior Analysis, 34(3): 341–344. Remuzzi, G. and Garattini, S. (2008). Rare Diseases: What’s Next?. The Lancet, 371: 1978–1979. Social Statistics Group, Breau of Socio-Economic and Opinion 2. (2008). The 2007 Disability Survey (การส�ำรวจความพิการ พ.ศ. 2550). Bangkok: National Statistical Office. Statistical Analysis on Subsidies and Welfare Services Rendered to Mentally and Physically Disabled. (2000). [Online] Retrieved June 6, 2013 from http://sowf.moi.gov.tw/stat/english/etopic/89disable.htm. Suwaphan, D. (editor). (2010). Handbook of Evaluation and Diagnosis for Disability (คู่มือการตรวจประเมิ นและวิ นิจฉั ยความพิ การตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550) (1st ed.). Bangkok: National Office for Empowerment of Persons with Disabilities. Taiwan Foundation for Rare Disorders (TFRD). (2013). Public Policy Issues: Physically and Mentally Disabled Citizens Protection Act. [Online] Retrieved Aug 28, 2013 from http://www.tfrd.org.tw/english/laws/ cont.php?kind_id=26&top1=What%20we%20do&top2=Public%20 Policy%20Issues&top3=Physically%20and%20Mentally%20Disabled% 20Citizens%20Protection%20Act. Taiwan Foundation for Rare Disorders. (2013) [Online] Retrieved Sep 2, 2013 from http://www.tfrd.org.tw/english/laws/cont.php?kind_id=26&top1= What%20we%20do&top2=Public%20Policy%20Issues&top3=Physically% 20and%20Mentally%20Disabled%20Citizens%20Protection%20Act. Wang, H. H. and Tsay, S. F. (2012). Elderly and Long-term Care Trends and 86


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

Policy in Taiwan: Challenges and Opportunities for Health Care Professionals. Kaohsiung Journal of Medical Sciences, 28:465-469. Westberg, K. and Kao, E. Y. Y. (2012). Taiwan – “Those Who Can Pay Have Migrant Care Workers as Assistants”. Independent Living Institute (ILI). [Online] Retrieved Sep 5, 2013 from http://www.independentliving.org/ docs7/Eunice-Ya-Yu-Kao-Taiwan-assistants-are-migrant-workers.html. World Health Organization. (2001). International Classification of Functioning, Disability and Health: ICF. Geneva: WHO. Yen, C. F., Lin, J. D., Wu, J. L., and Kang, S. W. (2009). Institutional Care for People with Disabilities in Taiwan: A National Report between 2002 and 2007. Research in Developmental Disabilities, 30(2): 323-9. Doi: 10.1016/j.ridd.2008.06.001. Epub 2008 Jul 24.

87



การจัดการท่องเที่ยวเชิ งเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้ อ�ำเภอควนเนี ยง จังหวัดสงขลา สุจิตราภรณ์ จุสปาโล1 บทคัดย่อ การวิจยั ครัง้ นี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาศักยภาพในการจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว เชิงเกษตรและการออกแบบรายการน� ำเที่ยวที่เชื่อมโยงไปยังแหล่งเรียนรู้ในต�ำบล บางเหรียงใต้ จังหวัดสงขลา โดยใช้วธิ กี ารศึกษาจากการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสนทนากลุม่ การประชุมระดมความคิดเห็นจากผูน้ �ำชุมชน ชุมชน และผูป้ ระกอบการ ผลการศึก ษาพบว่า แหล่ง ท่อ งเที่ย วมีศ กั ยภาพในการดึง ดูด ใจด้า นการท่อ งเที่ย ว เชิงเกษตร สามารถน�ำไปเป็ นแนวทางในการพัฒนารายการน�ำเทีย่ วบนฐานการรักษา ั วัฒนธรรมภูมปิ ญญาท้ องถิน่ ของชุมชนเชิงอนุรกั ษ์บนวิถคี วามพอเพียง เพือ่ เสริมสร้างรายได้ ให้ชุมชนทัง้ แบบไปกลับและค้างคืนเพื่อรองรับการเปิ ดการท่องเที่ยวอาเซียนและ สามารถเดินทางท่องเทีย่ วได้ทกุ ฤดูกาล ค�ำส�ำคัญ : 1. การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร. 2. บางเหรียงใต้. 3. จังหวัดสงขลา.

1

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ประจำ�คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อีเมล sujittra@hu.ac.th

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 89-103, 2558


การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้

สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล

Community-based Agro-tourism Management at South Bang Rieang Community, Khuan Nieng District, Songkhla Province Sujitraporn Jussapalo2

Abstract This study aimed to investigate the potential of agro-tourism management and tourist program design which is related to the learning sources in South Bang Rieang, Songkhla Province. The data were obtained from interviews, focus group discussions and brainstorming ideas from the community leaders, local people, and entrepreneurs. This study found that South Bang Rieang is a potential agrotourism destination. It could develop varieties of travel programs based on cultural preservation, folk wisdom and self-sufficiency both for one-day and overnight trip in all seasons. It could be an alternative travel destination for ASEAN tourism campaign. Keywords: 1. Agro-tourism. 2. South Bang Rieang. 3. Songkhla Province.

2 Assistant Professor at Hat Yai Business School, Hat Yai University, Songkhla Thailand. E-mail address: sujittra@hu.ac.th

90


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

บทน�ำ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยมีทศิ ทางการเจริญเติบโตทีม่ กี ารเกษตร เป็นรากฐานส�ำคัญด้วยวิถกี ารด�ำเนินชีวติ และความเป็นอยูร่ วมทัง้ วิถวี ฒ ั นธรรมทางสังคม ซึ่งเป็ นอารยธรรมทีไ่ ด้รบั การสังสมและสื ่ บทอดการปฏิบตั อิ ย่างต่อเนื่อง วัฒนธรรม ด้านการเกษตรของไทยเป็ นรูปแบบการด�ำเนินชีวติ ทีเ่ หมาะสมกับสภาพภูมศิ าสตร์ทต่ี งั ้ ของประเทศไทยเป็ นพืน้ ทีท่ ม่ี ที รัพยากรหลากหลาย ประชาชนภายในประเทศสามารถ อยู่อย่างมีความสุขบนฐานของการใช้ชวี ติ อย่างพอเพียง การเกษตรของประเทศไทย มีการประกอบอาชีพทีห่ ลากลาย เกษตรกรมีการพัฒนาศักยภาพของตนเองบนพืน้ ฐาน ของภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ เพือ่ การผลิตพืชผักผลไม้ และการเลีย้ งสัตว์ได้อย่างมีคณ ุ ภาพและ สามารถผลักดันให้ผลผลิตทางการเกษตรเหล่านัน้ เป็นสินค้าส่งออกหรือเป็นครัวระดับโลก ได้อย่างภาคภูมใิ จ นอกจากนี้การเกษตรยังสามารถน� ำมาจัดเป็ นกิจกรรมหรือรูปแบบ การให้บริการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อให้นักท่องเที่ยวและผู้ผลิตได้พบปะกัน โดยตรงลูกค้าสามารถสัมผัสการเพาะปลูกพืชและเลีย้ งสัตว์ได้อย่างใกล้ชดิ การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร (agro-tourism) เป็นรูปแบบการท่องเทีย่ วทีน่ ำ� กิจกรรมการเกษตร มาเป็ น กิจ กรรมการท่ อ งเที่ย ว ให้นั ก ท่ อ งเที่ย วได้ร ับ ความรู้ท างการเกษตรและ ชืน่ ชมทัศนียภาพทีโ่ ดดเด่นของชนบท (Hall and Jenkins, 1998) บางครัง้ มีลกั ษณะเช่น เดีย วกับ การท่ อ งเที่ย วชนบท (rural tourism) การท่ อ งเที่ย วเชิง เกษตรจึง เป็ น กิจกรรมหนึ่งในกระบวนการพัฒนาชนบทเป็ นการเชื่อมโยงระหว่างการเกษตรและ การท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อการฟื้ นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดสรรผลประโยชน์ ด้านเศรษฐกิจและสังคม (Jan and Karel, 2004) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในประเทศก�ำลังพัฒนา เนื่องจากการเกษตรยังเป็ นปจั จัยหลักในการพัฒนาชนบท (Akpinar et al., 2005) การท่องเทีย่ วเชิงเกษตรมีลกั ษณะเด่นคือการเปิดโอกาสให้นกั ท่องเทีย่ วสามารถสัมผัส กับสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นธรรมชาติ วิถกี ารด�ำรงชีวติ ของเกษตรทีม่ กี ารผสมผสานกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนไปถึงการทีจ่ ะท�ำให้นกั ท่องเทีย่ วเข้าไปท่องเทีย่ วในชุมชนเกษตรเพือ่ การเรียนรู้ และศึกษาหาประสบการณ์ความรูใ้ นเรือ่ งของการเกษตรกรรมนับได้วา่ เป็นการท่องเทีย่ ว อีกรูปแบบหนึง่ ทีไ่ ด้ทงความเพลิ ั้ ดเพลินและความรูน้ ำ� กลับไปประยุกต์ใช้หรือประกอบอาชีพได้ เหนืออืน่ ใด นี่คอื การได้หวนกลับไปค้นหา เรียนรู้ เข้าใจ ภาคภูมใิ จกับอาชีพเกษตรกรรม รากฐานของแผ่นดินไทยทีเ่ ปี่ ยมไปด้วยคุณค่าภายใต้แนวคิด ปรัช ญา องค์ค วามรู้ ภูมปิ ญั ญาของบรรพบุรษุ เกษตรกรไทยได้สมั ผัสกับวิถชี วี ติ ความเป็ นอยูข่ องชาวชนบท ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมเนียม ประเพณี รูปแบบกิจกรรม และการประกอบอาชีพ ทางการเกษตรที่ ห ลากหลาย รวมทั ง้ วิ ถี ด ั ง้ เดิ ม จนถึ ง การใช้เทคโนโลยีขนั ้ สูง ท่ามกลางทัศนียภาพธรรมชาติทส่ี วยงาม บริหารจัดการโดยเกษตรกร 91


การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้

สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล

ชุมชนบ้านบางเหรียง อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา เป็ นชุมชนเกษตรกรรม โดยแท้ประชาชนในพืน้ ทีส่ ่วนใหญ่ยดึ อาชีพท�ำการเกษตรแบบยังชีพชาวบางเหรียง ท�ำการเกษตรแบบพอเพียงมาตัง้ แต่ในอดีตมีวถิ ชี วี ติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แต่ละครอบครัวปลูกผักกันไม่มาก ประมาณครอบครัวละ 1-2 ไร่ คือการปลูกพืชผัก ไว้ขา้ งบ้านเพื่อบริโภคส่วนทีเ่ หลือจะน� ำไปขายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว เป็ น ชุมชนหนึ่งทีย่ งั คงยึดปรัชญาการปลูกผักปลอดสารพิษ โดยค�ำนึงถึงความปลอดภัย ั ของผูบ้ ริโภคและผูผ้ ลิตเป็นหลัก ใช้ภมู ปิ ญญาชาวบ้ านในการดูแลศัตรูพชื เช่น การดักจับแมลง ด้วยน�้ำมันเครือ่ ง การใช้น้ำ� หมักชีวภาพ เนื่องจากชาวบ้านตระหนักดีถงึ สุขภาพของผูบ้ ริโภค ส่วนนี้จงึ ท�ำให้ผกั บางเหรียงมีช่อื เสียงและเป็ นทีร่ จู้ กั ขึน้ ของจังหวัดสงขลา การพัฒนา และการจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยกระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชน จะเป็นแนวทาง การพัฒนายุทธศาสตร์เพือ่ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนบางเหรียง จังหวัดสงขลา เพือ่ เปิดโอกาสให้นกั ท่องเทีย่ วสามารถสัมผัสกับสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นธรรมชาติ วิถกี ารด�ำรงชีวติ ของเกษตรกรทีม่ กี ารผสมผสานกิจกรรมต่างๆ และน�ำความรูก้ ลับไปประยุกต์ใช้หรือ ประกอบอาชีพในเรือ่ งของการเกษตรกรรมได้ เหนืออืน่ ใดนี่คอื การได้หวนกลับไปค้นหา เรียนรูเ้ ข้าใจ ภาคภูมใิ จกับอาชีพเกษตรกรรม อันเป็ นการกระจายรายได้สทู่ อ้ งถิน่ ต่อไป วัตถุประสงค์วิจยั 1. เพื่อ ศึ ก ษาศัก ยภาพในการจัด การแหล่ ง ท่ อ งเที่ย วเชิง เกษตรโดย กระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชนบางเหรียงจังหวัดสงขลา 2. เพือ่ ออกแบบรายการน�ำเทีย่ วทีเ่ ชือ่ มโยงไปยังแหล่งเรียนรูใ้ นต�ำบลบางเหรียง จังหวัดสงขลา ขอบเขตการวิ จยั ในการศึกษาครัง้ นี้ ได้จำ� แนกขอบเขตการศึกษาออกเป็ น 2 ด้าน ดังนี้ 1. ขอบเขตด้ า นเนื้ อ หา ในการศึ ก ษาครัง้ นี้ มุ่ ง ศึ ก ษาการพัฒ นาและ การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรในชุมชนบางเหรียง จังหวัดสงขลา ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว เชิงเกษตรทีส่ ร้างสรรค์ขน้ึ โดยกระบวนการมีสว่ นร่วมในการถ่ายทอดองค์ความรูร้ ะหว่าง ทีมวิจยั ชุมชนในท้องถิ่น เทศบาลต�ำบลบางเหรียงและนักท่องเที่ยวให้สอดคล้อง ตามบริบทของชุมชน 2. ขอบเขตด้านพืน้ ทีใ่ นการศึกษาครังนี ้ ไ้ ด้กำ� หนดพืน้ ทีใ่ นหมูท่ ่ี 5 บ้านบางเหรียง ใต้ ต�ำบลบางเหรียง อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

92


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

วิ ธีดำ� เนิ นการวิ จยั ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผูท้ ม่ี สี ว่ นร่วมในการท�ำวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ใช้วธิ เี ลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ภาคีทเ่ี กีย่ วข้องทัง้ สิน้ 4 กลุม่ ได้แก่ กลุม่ ที่ 1 ผูน้ �ำชุมชนในพืน้ ที่ จ�ำนวน 10 คน กลุม่ ที่ 2 ประชาชนในพืน้ ที่ จ�ำนวน 50 คน กลุม่ ที่ 3 หน่วยงานของรัฐในพืน้ จ�ำนวน 5 คน กลุม่ ที่ 4 ผูป้ ระกอบการธุรกิจการท่องเทีย่ วในพืน้ จ�ำนวน 10 คน การวิจยั นี้เป็ นการวิจยั เชิงปฏิบตั กิ ารโดยใช้วธิ วี จิ ยั เชิงคุณภาพ รายละเอียด และขัน้ ตอนในการวิจยั ประกอบด้วย 4 ขัน้ ตอนดังนี้ ขัน้ ตอนที่ 1 ศึกษาศักยภาพด้านการจัดการและการบริการการท่องเที่ยว เชิงเกษตร ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึกและจัดประชุมคณะท�ำงานเพื่อศึกษาศักยภาพ ในการจัดการและการบริการการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรของชุมชน เพือ่ ท�ำความเข้าใจร่วมกัน ถึงความเป็ นมาและวัตถุประสงค์ของการวิจยั ความหมายของดัชนีชว้ี ดั แต่ละตัวและ เกณฑ์การศึกษา ขัน้ ตอนที่ 2 ศึกษาศักยภาพในการดึงดูดใจและการรองรับด้านการท่องเทีย่ ว เชิงเกษตร ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกและจัดประชุมคณะท�ำงาน เพื่อศึกษาศักยภาพ ในการดึงดูดใจและการรองรับด้านการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ท�ำความเข้าใจความหมาย ของดัชนีชว้ี ดั แต่ละตัวและเกณฑ์การศึกษา ขันตอนที ้ ่ 3 ออกแบบรายการน�ำเทีย่ วทีเ่ ชือ่ มโยงไปยังแหล่งเรียนรูใ้ นต�ำบลบางเหรียง โดยการจัดประชุมระดมความคิดเห็นผูน้ � ำชุมชน ประชาชนในพืน้ ที่ หน่ วยงานภาครัฐ และผูป้ ระกอบการทีเ่ กีย่ วข้อง ขันตอนที ้ ่ 4 สรุปผลข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ต่อหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย่ วข้อง เครื่องมือในการวิ จยั แบบศึกษาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร แบบศึกษาศักยภาพ การบริการการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร แบบศึกษาศักยภาพในการดึงดูดใจและแบบศึกษา ศักยภาพการรองรับด้านการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ผูว้ จิ ยั ได้ประยุกต์ตวั ชีว้ ดั มาจากแนวคิด ตามมาตรฐานของ Department of Agricultural Extension (2011) แบบศึกษาศักยภาพการจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ประกอบด้วย 10 ตัวชีว้ ดั ได้แก่ 1) สือ่ หลากหลายประเภทส�ำหรับให้ขอ้ มูลกับนักท่องเทีย่ ว เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ นิทรรศการ และวีดที ศั น์ เป็นต้น 2) มาตรการในการรักษาความปลอดภัยให้กบั นักท่องเทีย่ ว จากอันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในแหล่งท่องเทีย่ ว เช่น มาตรการอพยพ เส้นทางหนีไฟ เป็ นต้น 3) การแบ่งพืน้ ทีก่ ารใช้ประโยชน์ในการท่องเทีย่ วชัดเจน 4) ความพร้อมของ 93


การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้

สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล

บุคลากรแหล่งท่องเทีย่ วให้ปฏิบตั ติ ามมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด ตลอดจนมีความพร้อมในการรับมือกับเหตุการณ์ฉุกเฉินตลอดเวลา 5) การรวมกลุม่ หรือ คณะกรรมการโดยใช้กระบวนการมีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว 6) การก�ำหนด แนวทางการพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชน 7) กิจกรรมการท่องเทีย่ วทีห่ ลากหลาย และเป็ นทีน่ ่าสนใจของนักท่องเทีย่ ว 8) การท่องเทีย่ วเชือ่ มโยงกับแหล่งท่องเทีย่ วอืน่ ๆ ในท้องถิน่ 9) บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถถ่ายทอดข้อมูลแหล่งท่องเทีย่ ว 10) การปรับปรุง ภูมทิ ศั น์ภายในแหล่งท่องเทีย่ วอย่างสม�่ำเสมอ แบบศึกษาศักยภาพการบริการการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ประกอบด้วย 10 ตัวชีว้ ดั ได้แก่ 1) การบริการนักท่องเทีย่ ว 2) ทัศนคติการให้บริการ 3) การสือ่ สารกับนักท่องเทีย่ ว 4) ความรูแ้ ละทักษะของผูใ้ ห้บริการข้อมูล 5) ความสุภาพ ความมีน้�ำใจในการให้บริการ แก่นักท่องเทีย่ ว 6) การสร้างความน่ าเชื่อถือของแหล่งท่องเทีย่ ว 7) ความเสมอภาค ในการให้บริการ 8) กระบวนการให้บริการมีล�ำดับขัน้ ตอน 9) เทคนิคการให้บริการ เพือ่ สร้างความประทับใจให้นกั ท่องเทีย่ ว 10) ความเข้าใจความต้องการของนักท่องเทีย่ ว และตอบสนองอย่างทันท่วงที แบบศึกษาศักยภาพในการดึงดูดใจการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ประกอบด้วย 5 ตัวชีว้ ดั ได้แก่ 1) แหล่งท่องเทีย่ วมีระบบนิเวศทีส่ มบูรณ์ 2) แหล่งท่องเทีย่ วมีความน่าสนใจ ด้า นพืช พัน ธุ์ หรือสัต ว์ท่ีพบเจอในแหล่ง 3) แหล่ง ท่อ งเที่ย วมีท ศั นี ย ภาพโดยรอบ ทีส่ วยงาม 4) แหล่งท่องเทีย่ วมีวถิ ชี วี ติ เกษตรทีน่ ่ าสนใจ 5) มีกจิ กรรมการท่องเทีย่ ว ทีน่ ่าสนใจภายในแหล่งท่องเทีย่ ว แบบศึกษาศักยภาพการรองรับด้านการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ประกอบด้วย 15 ตัวชีว้ ดั ได้แก่ 1) ทีพ่ กั (บ้าน เต็นท์/สถานทีต่ อ้ นรับ) เพียงพอต่อความต้องการ 2) ห้องน�้ำ ที่อนุ ญาตให้ใช้ (ห้องน�้ ำสาธารณะ/ห้องน�้ ำชาวบ้าน) เพียงพอต่อความต้องการของ นักท่องเทีย่ ว 3) จุดบริการอาหาร (ร้านอาหาร จุดซือ้ ขายอาหาร จุดบริการจัดหาอาหาร บริการนักท่องเทีย่ ว) เพียงพอต่อความต้องการ 4)ทีจ่ อดรถเพียงพอต่อความต้องการ 5) จุดแวะซื้อสินค้าเกษตร/ศูนย์รวมสินค้าการเกษตร กระจายอยู่ตามบริเวณส�ำคัญ ภายในแหล่งท่องเที่ยว 6) สิง่ อ�ำนวยความสะดวกเฉพาะส�ำหรับผูพ้ กิ าร 7) ระบบ สาธารณู ป โภค เช่ น ไฟฟ้ า ประปา รองรับ ความต้อ งการ 8) ป้ ายบอกทางและ ป้ายสือ่ ความหมายตามบริเวณทีส่ ำ� คัญ 9) จุดบริการการเดินทาง (ทางบกและทางน�้ำ) ตังอยู ้ ไ่ ม่ไกลจากแหล่งท่องเทีย่ ว 10) สามารถรองรับจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วได้อย่างเหมาะสม 11) ถนนหนทางเข้าถึงแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ะดวก 12) กิจกรรมการท่องเทีย่ วส่งผลกระทบ เชิงลบต่อสิง่ แวดล้อม 13) กิจกรรมการท่องเที่ยวส่งผลกระทบเชิงลบต่อวัฒนธรรม 14) กิจกรรมการท่องเที่ยวส่งผลกระทบเชิงลบต่อสังคม 15) กิจกรรมการท่องเที่ยว 94


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การวิ เคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพทีไ่ ด้จากแบบศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเทีย่ ว เชิงเกษตรและข้อเสนอแนะของนักท่องเทีย่ ว ผูว้ จิ ยั น�ำข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงเนือ้ หาเรียบเรียง และน�ำเสนอตามข้อเท็จจริง ผลการวิ จยั ผลการวิจยั ตามวัตถุประสงค์ 2 ข้อ มีดงั นี้ 1) ศักยภาพในการจัดการแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตร ต�ำบลบางเหรียง อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการจัดประชุม ระดมความคิดเห็น ประชาชนในพืน้ ทีว่ จิ ยั ผูน้ �ำชุมชน ผูป้ ระกอบการธุรกิจและเจ้าหน้าที่ หน่วยงานของรัฐ โดยใช้ดชั นีในการวัดศักยภาพในการจัดการแหล่งท่องเทีย่ ว ดังนี้คอื 1.1) ศักยภาพการจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรพบว่า ชุมชนยังไม่ม ี ความพร้อมด้านระบบสื่อความหมาย ทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวบุคคล และสื่อต่างๆ ทีใ่ ห้ขอ้ มูลกับ นักท่องเทีย่ ว เช่น แผ่นพับ โปสเตอร์ นิทรรศการ วีดที ศั น์ และเว็บไซต์ ไม่มมี าตรการ ในการรักษาความปลอดภัยให้กบั นักท่องเทีย่ วจากอันตรายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในแหล่งท่องเทีย่ ว เช่น มาตรการอพยพ เส้นทางหนีไฟ รวมถึงยังไม่มกี ารแบ่งพื้นที่การใช้ประโยชน์ ในการท่องเทีย่ วชัดเจน และไม่มคี วามพร้อมของบุคลากรแหล่งท่องเทีย่ วให้ปฏิบตั ิ ตามมาตรการรักษาความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด ตลอดจนมีความพร้อมในการรับมือ กับเหตุการณ์ฉกุ เฉินตลอดเวลา ส่วนประเด็นการรวมกลุม่ ในหลายหมูบ่ า้ นมีการรวมกลุม่ กัน เพือ่ ท�ำกิจกรรมอื่น ๆ กลุ่มทีส่ ำ� คัญเป็ นกลุ่มออมทรัพย์ แต่อย่างไรก็ตามพบว่ายังไม่ม ี การรวมกลุ่มหรือคณะกรรมการโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ แหล่งท่องเทีย่ ว ท�ำให้ยงั ไม่มกี ารก�ำหนดแนวทางการพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร โดยชุมชน ท�ำให้ชมุ ชนยังไม่ได้สร้างกิจกรรมการท่องเทีย่ วทีค่ อยให้บริการแต่นกั ท่องเทีย่ ว ส่วนการท่องเทีย่ วทีเ่ ชือ่ มโยงกับแหล่งท่องเทีย่ วอื่นๆ ในท้องถิน่ ก็ยงั ไม่มเี ช่นกัน ไม่ม ี บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถในการถ่ายทอดข้อมูลแหล่งท่องเทีย่ ว รวมถึงยังไม่ม ี การปรับ ปรุง ภูม ิท ศั น์ ภ ายในแหล่ ง ท่อ งเที่ย ว แต่ พ บว่า หลายหมู่บ้า นมีก ารพัฒ นา ทีส่ าธารณะของชุมชนในช่วงวันทีห่ ยุดทีส่ ำ� คัญ เช่น วันพ่อ วันแม่ เป็ นต้น 1.2) ศักยภาพการบริการการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร พบว่า ส่วนใหญ่ ยังไม่มศี กั ยภาพการบริการการท่องเทีย่ วของแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรในเรือ่ งการบริการ นักท่องเทีย่ ว ทัศนคติการให้บริการ การสือ่ สารกับนักท่องเทีย่ ว ความรูแ้ ละทักษะของ ผู้ใ ห้บ ริก ารข้อ มูล การสร้า งความน่ า เชื่อ ถือ ของแหล่ ง ท่อ งเที่ย ว ความเสมอภาค 95


การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้

สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล

ในการให้บริการ กระบวนการให้บริการมีล�ำดับขัน้ ตอน เทคนิคการให้บริการเพื่อ สร้างความประทับใจให้นกั ท่องเทีย่ ว ความเข้าใจในความต้องการของนักท่องเทีย่ วและ ตอบสนองอย่างทันท่วงที ยกเว้นในเรื่องความสุภาพความมีน้� ำใจในการให้บริการแก่ นักท่องเทีย่ ว ซึง่ สามารถพบเห็นได้งา่ ยในชุมชนบางเหรียง 1.3) ศัก ยภาพในการดึง ดูด ใจการท่อ งเที่ย วเชิง เกษตร พบว่า แหล่งท่องเทีย่ วมีระบบนิเวศทีส่ มบูรณ์มาก มีศกั ยภาพการดึงดูดใจมากแหล่งท่องเทีย่ ว ในพื้น ที่ชุ ม ชนบางเหรีย ง มีร ะบบนิ เ วศที่ส มบู ร ณ์ ม ากที่โ ดดเด่ น คือ ระบบนิ เ วศ ั่ ทางทะเลสาบสงขลา และระบบนิเวศบนฝงโดยเฉพาะเรื อ่ งฟาร์มทะเล แหล่งท่องเทีย่ ว โดยรอบชุมชนมีทศั นียภาพ สวยงามมีความเป็ นธรรมชาติ และมีวถิ ชี วี ติ ชนบทสามารถ ย้อนเวลาหาอดีตเป็ นชุมชน ซึง่ ผลการวิจยั ดังกล่าวสอดคล้องกับ Pramahathongma Baitubtim (2007) ได้กล่าวว่า การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรต้องเริม่ จากการมี ระบบนิเวศน์สมบูรณ์ และชุมชนต้องท�ำการเกษตรอย่างต่อเนื่องโดยมีจดุ เด่นทางเอกลักษณ์ ทีส่ ามารถดึงดูดใจนักท่องเทีย่ วรวมทัง้ การให้ความรูแ้ ละความสนุ กสนานเพลิดเพลิน หากท่านได้เดินทางมาท่องเทีย่ วทีน่ ้ี ประเด็นส�ำคัญทีน่ เ่ี ป็นแหล่งผลิตพืชผักทีส่ ำ� คัญ ท่านจะ ชมแปลงการปลูกพืชผักต่าง ๆ มีกจิ กรรมการท่องเทีย่ วทีน่ ่ าสนใจเนื่องการท่องเทีย่ ว เชิ ง เกษตรและวัฒ นธรรม ได้ แ ก่ การรับ ประทานอาหารแบบปิ่ น โตร้ อ ยชั น้ ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ของทีน่ ่ี หากมีแขกจากภายนอกชุมชนมาท�ำกิจกรรมร่วมกับแกนน�ำชุมชน ก็จะประสานงานร่วมกับชาวบ้านให้น�ำปิ่นโตหรือทีภ่ าษาใต้เรียกว่า “ชัน้ ” โดยชาวบ้าน น�ำอาหารใส่ปิ่นโตมาคอยต้อนรับแขกผูม้ าเยือน 1.4) ศักยภาพการรองรับด้านการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร พบว่า พืน้ ที่ ต�ำบลบางเหรียงมีบา้ นพักทีร่ องรับนักท่องเทีย่ วจ�ำนวนไม่มากนัก อันเนื่องจากในพืน้ ที่ มีการพัฒนาชุมชนในหลายเรื่องแต่เรื่องการท่องเทีย่ วทีจ่ ดั การโดยชุมชนยังเป็ นเรื่อง ทีใ่ หม่มาก โดยพบว่าในพืน้ ทีห่ มู่ 12 บ้านโคกเมืองมีบา้ นพักหรือโฮมสเตย์ จ�ำนวน 12 หลัง ซึง่ สามารถรองรับนักท่องเทีย่ วได้ประมาณ 120 คน

96


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ตารางที ่ 1 ผลประเมินศักยภาพการจัดการแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรชุมชนบ้านบางเหรียงใต้ อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ประเมินศักยภาพ

ดัชนี

มี

ไม่ม ี

1. ศักยภาพการจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร 1.1 สือ่ หลากหลายประเภทส�ำหรับให้ขอ้ มูลกับนักท่องเทีย่ ว

1.2 มาตรการในการรักษาความปลอดภัย

1.3 การแบ่งพืน้ ทีก่ ารใช้ประโยชน์ในการท่องเทีย่ วชัดเจน

1.4 ความพร้อมของบุคลากรแหล่งท่องเทีย่ ว

1.5 การรวมกลุม่ หรือคณะกรรมการโดยใช้กระบวนการมีสว่ นร่วม

1.6 การก�ำหนดแนวทางการพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชน

1.7 กิจกรรมการท่องเทีย่ วทีห่ ลากหลายและเป็ นทีน่ ่าสนใจของนักท่องเทีย่ ว

1.8 การท่องเทีย่ วเชือ่ มโยงกับแหล่งท่องเทีย่ วอืน่ ๆ ในท้องถิน่

1.9 บุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถถ่ายทอดข้อมูลแหล่งท่องเทีย่ ว

1.10 การปรับปรุงภูมทิ ศั น์ภายในแหล่งท่องเทีย่ วอย่างสม�่ำเสมอ

2. ศักยภาพการบริการการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร 2.1 การบริการนักท่องเทีย่ ว

2.2 ทัศนคติการให้บริการ

2.3 การสือ่ สารกับนักท่องเทีย่ ว

2.4 ความรูแ้ ละทักษะของผูใ้ ห้บริการ

2.5 ความสุภาพ ความมีน้�ำใจในการให้บริการแก่นกั ท่องเทีย่ ว

2.6 การสร้างความน่าเชือ่ ถือของแหล่งท่องเทีย่ ว

2.7 ความเสมอภาคในการให้บริการ

2.8 กระบวนการให้บริการมีลำ� ดับขัน้ ตอน

2.9 เทคนิคการให้บริการเพือ่ สร้างความประทับใจให้นกั ท่องเทีย่ ว

2.10 ความเข้าใจความต้องการของนักท่องเทีย่ ว

3. ศักยภาพในการดึงดูดใจการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร 3.1 แหล่งท่องเทีย่ วมีระบบนิเวศทีส่ มบูรณ์

3.2 แหล่งท่องเทีย่ วมีความน่าสนใจด้านพืชพันธุห์ รือสัตว์ทพ่ี บเจอในแหล่ง

3.3 แหล่งท่องเทีย่ วมีทศั นียภาพโดยรอบทีส่ วยงาม

97


การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้

สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล

ตารางที ่ 1 ผลประเมินศักยภาพการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรชุมชนบ้านบางเหรียงใต้ อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา (ต่อ) ประเมินศักยภาพ

ดัชนี 3.4 แหล่งท่องเทีย่ วมีวถิ ชี วี ติ เกษตรทีน่ ่าสนใจ

มี 

3.5 กิจกรรมการท่องเทีย่ วทีน่ ่าสนใจภายในแหล่งท่องเทีย่ ว

ไม่ม ี

4.ศักยภาพการรองรับด้านการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร 4.1 ทีพ่ กั เพียงพอต่อความต้องการของนักท่องเทีย่ ว

4.2 ห้องน�้ำทีอ่ นุญาตให้ใช้ เพียงพอต่อความต้องการของนักท่องเทีย่ ว

4.3 จุดบริการอาหารเพียงพอต่อความต้องการของนักท่องเทีย่ ว

4.4 ทีจ่ อดรถเพียงพอต่อความต้องการของนักท่องเทีย่ ว

4.5 จุดแวะซือ้ สินค้าเกษตรภายในแหล่งท่องเทีย่ ว

4.6 สิง่ อ�ำนวยความสะดวกเฉพาะส�ำหรับผูพ้ กิ าร 4.7 ระบบสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า ประปา รองรับความต้องการ

4.8 ป้ายบอกทางและป้ายสือ่ ความหมายตามบริเวณทีส่ ำ� คัญ

4.9 จุดบริการอยูไ่ ม่ไกลจากแหล่งท่องเทีย่ ว

4.10 สามารถรองรับจ�ำนวนนักท่องเทีย่ วได้อย่างเหมาะสม

4.11 ถนนหนทางเข้าถึงแหล่งท่องเทีย่ วทีส่ ะดวก

4.12 กิจกรรมการท่องเทีย่ วส่งผลกระทบเชิงลบต่อสิง่ แวดล้อม

4.13 กิจกรรมการท่องเทีย่ วส่งผลกระทบเชิงลบต่อวัฒนธรรม

4.14 กิจกรรมการท่องเทีย่ วส่งผลกระทบเชิงลบต่อสังคม

4.15 กิจกรรมการท่องเทีย่ วส่งผลกระทบต่อ เชิงลบต่อเศรษฐกิจ

2) ผลการออกแบบรายการน�ำเทีย่ วทีเ่ ชือ่ มโยงไปยังแหล่งเรียนรูใ้ นต�ำบลบางเหรียง จังหวัดสงขลา ผูเ้ ข้าร่วมประชุมได้ตดั สินใจร่วมกันเลือกการท่องเทีย่ วมาพัฒนาชุมชน ของตน ซึง่ สอดคล้องกับ Sinth Sarobol (2003) ได้กล่าวว่า การด�ำเนินการวิจยั เพือ่ ท้องถิน่ ต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของพืน้ ทีป่ ระชาชนทุกคนล้วนเป็ นเจ้าของทรัพยากร การจะน�ำเอาทรัพยากรทีม่ อี ยูม่ าใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ ท้องถิน่ ต้องผ่านกระบวนการรับฟงั ความคิดเห็นของคนในท้องถิน่ โดยเริม่ จากการประชุมระดมความคิด วางแผน ตัดสินใจ ก�ำหนดแนวทางด�ำเนินงาน ประเมินผลงาน และรับผลประโยชน์รว่ มกัน การตัดสินใจ 98


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

โดยน�ำหลักการการวิเคราะห์ศกั ยภาพแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตรตามแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพียงของกรมส่งเสริมการเกษตรร่วมกับสถาบันวิจยั เพื่อพัฒนาการท่องเทีย่ วไทย ทีไ่ ด้รว่ มกันประเมินมาวิเคราะห์เพือ่ หาแนวทางในการพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร และการออกแบบรายการน�ำเทีย่ วทีเ่ ชือ่ มโยงไปยังแหล่งเรียนรูใ้ นต�ำบลบางเหรียงทัง้ หมด พร้อมอัตราค่าบริการน� ำเทีย่ ว ผลของการหารือร่วมกันสามารถสรุปรูปแบบรายการ น�ำเทีย่ วได้ดงั นี้ รายการน�ำเทีย่ วที่ 1 : ครึง่ วัน ศึกษาเรียนรูก้ ารปลูกผักปลอดสารพิษ ณ หมูท่ ่ี 5 บ้านบางเหรียงใต้/ชมและเลือกซื้อสินค้าเกษตร/อาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มือ้ อัตรา ค่าบริการ 200 บาทต่อคน รายการน�ำเทีย่ วที่ 2 : หนึง่ วัน ศึกษาเรียนรูก้ ารปลูกผักปลอดสารพิษ ณ หมูท่ ่ี 5 บ้านบางเหรียงใต้/การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ หมูท่ ่ี 3 บ้านบางเหรียง/รับประทานอาหารเทีย่ ง กับอาหารร้อยอย่างร่วมกับชาวบ้าน หมูท่ ่ี 12 บ้านโคกเมือง และมุง่ หน้าสูฟ่ าร์มทะเล เขตอนุ รกั ษ์พนั ธุป์ ลาบ้านโคกเมือง เจ้าของรางวัลลูกโลกสีเขียวทางด้านการอนุ รกั ษ์ ทรัพ ยากรธรรมชาติ รางวัล ยอดเยี่ย มคนต้น แบบ รางวัล ชุม ชนอนุ ร กั ษ์ ธ รรมชาติ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อัตราค่าบริการ 400 บาทต่อคน รายการน� ำเที่ยวที่ 3 : หนึ่งวัน เรียนรูภ้ ูมปิ ญั ญาท้องถิน่ /การเลี้ยงปลาดุก/ การผลิตน�้ำส้มควันไม้/การเลีย้ งผึง้ /การเลีย้ งไก่ชน หมูท่ ่ี 10 บ้านคลองคล้า จังหวัดสงขลา/ การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ หมูท่ ่ี 3 บ้านบางเหรียง/อาหารกลางวัน 1 มือ้ /อาหารว่างและ เครือ่ งดืม่ 2 มือ้ อัตราค่าบริการ 400 บาทต่อคน รายการน�ำเทีย่ วที่ 4 : สองวันหนึ่งคืน ศึกษาเรียนรูพ้ น้ื ทีก่ ารเกษตรพอเพียง ต�ำบลบางเหรียง จังหวัดสงขลา ศึกษาเรียนรูก้ ารปลูกผักปลอดสารพิษบ้านบางเหรียง หมูท่ ่ี 5 บางเหรียงใต้/พืน้ ทีก่ ารเกษตรพอเพียง/สักการะทวดหลักเมืองบ้านโคกเมือง/ ฟาร์มทะเล หมู่ท่ี 10 บ้านโคกเมือง/การเลี้ยงผึ้ง/การเลี้ยงหมูป่า/การเลี้ยงปลาดุก/ การเลีย้ งไก่ชน/การผลิตน�้ำส้มควันไม้/การท�ำอุปกรณ์มโนราห์ ณ หมูท่ ่ี 10 บ้านคลองคล้า/ ชมและเลือกซือ้ สินค้าพืน้ เมือง/อาหารกลางวัน 1 มือ้ (กิจกรรมอาหารร้อยอย่าง)/อาหารว่าง และเครือ่ งดืม่ 2 มือ้ /พักแบบโฮมสเตย์และอาหารเช้า 1 มือ้ อัตราค่าบริการ 600 บาท ต่อคน สรุปและอภิ ปรายผล จากการศึก ษาวิจ ัย ครัง้ นี้ พบว่ า ศัก ยภาพในการจัด การแหล่ ง ท่ อ งเที่ย ว เชิงเกษตรพอเพียง ชุมชนบ้าน บางเหรียงใต้ อ�ำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา มีศกั ยภาพ ในการดึงดูดใจด้านการท่องเทีย่ วเชิงเกษตร สามารถน� ำไปเป็ นแนวทางในการพัฒนา 99


การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้

สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล

รายการน� ำเทีย่ วบนฐานการรักษาวัฒนธรรมภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ของชุมชนเชิงอนุ รกั ษ์ บนวิถคี วามพอเพียงเพือ่ เสริมสร้างรายได้ให้ชมุ ชน ซึง่ สอดคล้องกับ Teppagorn Na Songkhla ั (2011) ได้กล่าวว่าการพัฒนาการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรบนฐานทรัพยากรและภูมปิ ญญาท้ องถิน่ ให้มมี ลู ค่าและคุณค่าทีส่ งู ขึน้ นัน้ ต้องค�ำนึงถึงการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ทีม่ งุ่ เน้น ั การท�ำการเกษตรรวมถึงรักษาวัฒนธรรมภูมปิ ญญาท้ องถิน่ ของชุมชนจะน�ำไปสูค่ วามยังยื ่ น และการพึง่ พาตนเองได้และผลการออกแบบรายการน�ำเทีย่ วทีเ่ ชือ่ มโยงไปยังแหล่งท่องเทีย่ ว ใกล้เคียงในต�ำบลบางเหรียง จังหวัดสงขลา มี 4 รายการทัง้ แบบไปกลับและค้างคืน เพือ่ รองรับการเปิ ดการท่องเทีย่ วอาเซียนและสามารถเดินทางท่องเทีย่ วได้ทุกฤดูกาล การเดินทางตามเส้นทางนี้มไิ ด้เพียงเพือ่ การกระตุน้ สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัด เท่านัน้ แต่ยงั มีคณ ุ ค่าในมิตเิ ชิงสังคม ซึง่ นักท่องเทีย่ วจะได้มโี อกาสสัมผัสกับสิง่ แวดล้อม ทีเ่ ป็ นธรรมชาติ วิถกี ารด�ำรงชีวติ ของเกษตรกรทีม่ กี ารผสมผสานกิจกรรมต่างๆ ผูว้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะด้านการเตรียมความพร้อมของชุมชน ดังนี้ ผูน้ �ำชุมชน ผูบ้ ริหารหน่วยงาน ของรัฐในชุมชน ควรสร้างการมีสว่ นร่วมในการจัดการท่องเทีย่ ว ควรจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์ ด้านการท่องเทีย่ ว ควรมีนโนบายงบประมาณและบุคลากรเพื่อพัฒนาการท่องเทีย่ ว ในชุมชนซึง่ สอดคล้องกับ Warunee Ketsa-ard (2011) ได้กล่าวว่าการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ ว เชิงเกษตรจ�ำเป็ นต้องมีปจั จัยเบือ้ งต้น 3 ประการ คือ ได้แก่ แรงจูงใจ ความพร้อม และ ความต้องการของคนในท้องถิน่ โดยได้รบั ความร่วมมือจากชุมชน องค์กรธุรกิจและ ประชาชน ดังนัน้ การก�ำหนดเส้นทางเชือ่ มโยงแหล่งท่องเทีย่ วเชิงเกษตร การพัฒนาศักยภาพ มัคคุเทศก์ทอ้ งถิน่ การทดลองโปรแกรมทัวร์และการก�ำหนดแนวทางการบริหารจัดการ ให้เกิดกลไกการด�ำเนินงานได้อย่างต่อเนื่องและยังยื ่ นได้นนั ้ จึงจ�ำเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้อง อาศัยกระบวนการมีสว่ นร่วมของคนในชุมชนเป็นกลไกส�ำคัญในการขับเคลือ่ น เพือ่ น�ำไปสู่ ั การสร้างมูลค่าเพิม่ ให้เกิดคุณค่าแก่ทรัพยากรเกษตรและภูมปิ ญญาท้ องถิน่ ส่วนด้านศักยภาพ การบริการนัน้ ชุมชนควรพัฒนาทักษะประสบการณ์ผา่ นการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การอบรม เชิงปฏิบตั กิ ารการทดลองจัดการท่องเทีย่ วจริง ซึง่ สอดคล้องกับการวิจยั ของ Sayamol Chairatanaudomkul (2006) และThritsawan Nonthaphut and Jawanit Kittitornkool (2004) ได้ก ล่า วว่า ในช่ว งเริ่ม ต้น ของการวิจ ยั ชุม ชนขาดความรู้แ ละความเข้า ใจ ในการจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรในระยะต่อมาสมาชิกในชุมชนมีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ โดยผ่านการอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การทดลองจัดการท่องเทีย่ วและการจัดประชุมระดมความคิด ท�ำให้เกิดกระบวนการคิดและวิเคราะห์ปญั หาร่วมกันและพัฒนาทุนทางสังคมทีม่ อี ยูเ่ ดิม เกิดการเรียนรูใ้ หม่ ๆ จนปจั จุบนั ชุมชนสามารถจัดการท่องเทีย่ วได้ดว้ ยตนเอง

100


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

กิ ตติ กรรมประกาศ การวิจยั ครัง้ นี้ได้รบั การสนุบสนุนงบประมาณจากธนาคารเกษตรและสหกรณ์ จ�ำกัด ขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหาร มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ นายกเทศบาลต�ำบลบางเหรียง รองนายกเทศบาลต�ำบลบางเหรียง ผูใ้ หญ่บา้ นทุกหมูบ่ า้ น ชุมชนบางเหรียง และผูท้ รงคุณวุฒ ิ ในการให้ขอ้ เสนอแนะและข้อคิดเห็นในการจัดท�ำรายงานการวิจยั





101




การจัดการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรโดยชุมชนบ้านบางเหรียงใต้

สุจติ ราภรณ์ จุสปาโล

References Akpinar, N. I., Talay, C. C., and Gundus, S. (2005). Rural Women and Agrotourism in the Context of Sustainable Rural Development: A Case Study from Turkey. Environment Development and Sustainability, 6(4): 473 - 486. Baitubtim, P. (2007). The Participation of Community in Developing for sustainable agro-tourism : A Case Study of Khlong Maha Sawat Phutthamonthon District, Nakhon Pathom ‎Province (การมีส่วนร่วม ของประชาชนในการพัฒนาการท่องเที่ ยวเชิ งเกษตรอย่างยังยื ่ น กรณี ศึกษา: คลองมหาสวัสดิ์ อ�ำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม). Master’s dissertation, Krirk University, Bangkok, Thailand. Chairatanaudomkul, S. (2006). The Potential Development of Local People in Sustematic and Sustainalbe Tourism Management along the Pasak River, Sao Hai District, Saraburi Province (การพัฒนาศักยภาพของคนใน ท้องถิน่ ในการบริหารจัดการการท่องเทีย่ วตามล�ำน�้ำป่าสักของอ�ำเภอเสาไห้ อย่างเป็ นระบบและยังยื ่ น). Journal of International and Thai Tourism, 3(2): 122. Department of Agricultural Extension. (2011). The Potential Agro-tourism Resources of Self-suffciency (การประเมิ นศักยภาพแหล่งท่องเที่ยว เชิ งเกษตรตามแนวคิ ดเศรษฐกิ จพอเพียง). [Online]. Retrieved January 15, 2013 from http:/ www.cdoae.doae.go.th/53/ html. Hall, C. M. and Jenkins, J. (1998). Rural tourism and recreation policy dimensions. In Tourism and Recreation in Rural Areas, edited by R. Butler, C. M. Hall and J. Jenkins. Chichester, UK: John Wiley. Jan, H. and Karel, S. (2004). Agrotourism in the Context with the Rural Development. Czech University of life Sciences Praque. [Online] Retrieved July 30, 2009 from www.czu.cz. Ketsa-ard, W. (2011). Potential Assessment of Agro-tourism in Thawi Watthana District, Bangkok Metropolis (การประเมินศักยภาพท่องเทีย่ วเชิงเกษตรของ พืน้ ที่เขตทวีวฒ ั นา จังหวัดกรุงเทพมหานคร). Master’s dissertation, Mahidol University, Bangkok, Thailand. Na Songkhla,T. (2011). Relationship between Forms of Agro-tourism Activities 102


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

and Usage of Local Agricultural Resources: A Case Study of Changklang Agro-tourism, Nakhon Si Thammarat Province (ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปแบบกิจกรรมการท่องเทีย่ วเชิงเกษตรและการใช้ทรัพยากรเกษตรของชุมชน : กรณีศกึ ษาท่องเที่ยวเชิงเกษตรช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช). MIS Journal of Naresuan University, 6(2): 1-13. Nonthaphut, T. and Kittitornkool, J. (2004). The Development of the Learning Process of Community-based Ecotourism Management: A Case Study of Khao Hua-Chang Community Forest, Tambon Tamot, Amphoe Tamot, Changwat Phattalung (การพัฒนากระบวนการเรียนรูโ้ ดยชุมชนในการจัดการ ท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ : กรณีศกึ ษาปา่ ชุมชนเขาหัวช้าง ต�ำบลตะโหมด อ�ำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง). Songklamakarin Journal of Social Sciences and Hunanities, 10(1): 64-82. Sarobol, S. (2003). Community Based Tourism: Concept and Experience in NorthThailand (การท่องเที่ ยวโดยชุมชน : แนวคิ ดและประสบการณ์ พืน้ ที่ภาคเหนื อ). Bangkok, Vanida Printing.

103



“เวียงเชียงรุ้ง” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนื อตอนบน : ศึกษาจากเครื่องปัน้ ดิ นเผาเวียงเชียงรุ้ง อุษณี ย์ ธงไชย1 บทคัดย่อ ในการศึกษาประวัตศิ าสตร์ลา้ นนา พบว่าหลักฐานกลุ่มหนึ่งทีม่ คี วามส�ำคัญ ั ้ นเผาเป็ นจ�ำนวนมากทีเ่ หลือทิ้งอยู่ใน ไม่น้อยไปกว่าต�ำนานและจารึกคือ เครื่องปนดิ ั ้ นเผาเหล่านีร้ ว่ มกับหลักฐานอืน่ ๆ แหล่งโบราณคดีตา่ งๆ เมือ่ ศึกษาและวิเคราะห์เครือ่ งปนดิ จะสามารถบอกเล่าเรือ่ งราวของพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ ได้เป็ นอย่างดี “เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน : ศึกษาจาก ั ้ นเผาเวียงเชียงรุง้ เป็นส่วนหนึง่ ของงานวิจยั เรือ่ ง เครือ่ งปนดิ ั ้ นเผาเวียงเชียงรุง้ เครือ่ งปนดิ ั ้ นเผาในเขตพื้นที่วดั เวีย งเชีย งรุ้ง ต�ำ บลทุ่ง ก่อ ซึ่งเป็ น การเก็บตัวอย่า งเครื่องปนดิ อ�ำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงใหม่ และบริเวณใกล้เคียง เพื่อจัดท�ำฐานข้อมูล ั ้ นเผาเวียงเชียงรุง้ ซึง่ ประกอบด้วยเครือ่ งปนดิ ั ้ นเผาล้านนา สุโขทัย และจีน เครือ่ งปนดิ ั ้ นเผาจากแหล่งเตาต่างๆ มารวมอยูใ่ นทีแ่ ห่งเดียวกัน ประกอบกับ การพบเครือ่ งปนดิ ทีต่ งั ้ ของเวียงเชียงรุง้ รวมทัง้ การพบจารึกเวียงเชียงรุง้ ท�ำให้น�ำไปสูก่ ารตัง้ ค�ำถามว่า ั ้ นเผาเป็ นจ�ำนวนมาก พื้นที่น้ีมคี วามส�ำคัญอย่างไร เพราะเหตุใดจึงพบเครื่องปนดิ จากหลายพืน้ ทีม่ ารวมกันในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน จากค�ำถามดังกล่าวน�ำไปสูก่ ารศึกษาหาค�ำตอบ ั ้ นเผาจากเวียงเชียงรุง้ กับหลักฐานประวัตศิ าสตร์ ด้วยการบูรณาการผลการวิเคราะห์เครือ่ งปนดิ เข้าด้วยกัน จากผลของการศึกษาท�ำให้ได้ขอ้ สรุปว่า เวียงเชียงรุง้ เคยมีการอยู่อาศัย ของชุมชนมาแล้วอย่างน้อยตัง้ แต่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 ชุมชนเหล่านี้อาจจะมีทงั ้ คนทีต่ งั ้ ถิน่ ฐานถาวรและกลุม่ ทีเ่ ดินทางผ่านไปมาแวะพักแล้วเดินทางต่อ กลุม่ คนเหล่านี้ อยูก่ นั อย่างต่อเนื่องมาจนถึงพุทธศตวรรษที่ 25 เข้าใจว่าเมืองนีเ้ ริม่ ร้างไปเมือ่ มีการสร้างถนน และใช้ร ถยนต์ ท� ำ ให้ก ารเดิน ทางสะดวกและรวดเร็ว ขึ้น การแวะพัก ระหว่ า งทาง จึงไม่จ�ำเป็ นอีกต่อไป ฉะนัน้ เมืองนี้จงึ ค่อยๆ หายไปจนกลายเป็ นเมืองร้างไปในทีส่ ุด

1 รองศาสตราจารย์ประจำ�ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อีเมล usanee1955@gmail.com

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 105-130, 2558


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

จากการขุดค้นทางด้านโบราณคดีในปจั จุบนั ได้พบเมืองในลักษณะเดียวกันนี้อยูไ่ ม่น้อย ในเขตอ�ำเภอพญาเม็งราย อ�ำเภอเวียงชัย และอ�ำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย แต่ละเมือง ได้พบหลักฐานการอยูอ่ าศัยทัง้ โบราณสถานและโบราณวัตถุกระจัดกระจายโดยทัวไป ่ เช่นเดียวกับเวียงเชียงรุง้ ั ้ นเผาเวียงเชียงรุง้ . 2. เครื่องปนดิ ั ้ นเผาล้านนา. 3. ชุมชน ค�ำส�ำคัญ : 1. เครื่องปนดิ บนเส้นทางการค้า.

106


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

“Wiang Chiang Rung”, a Community on a Trade Route in the Upper North: A Case Study of Wiang Chiang Rung Pottery Usanee Thongchai2 Abstract In the study of Lanna history, there is one group of evidence which is as important as a legend and inscription, that is, a large amount of pottery left in various archeological sites. When one studies and analyzes these potteries together with other evidences, one can get stories about the areas very well. This paper is part of a research project entitled Wiang Chiang Rung Pottery. This research randomly selected pottery in Wiang Chiang Rung temple at Tung-gor sub-district, Wiang Chiang Rung district and the surrounding area to develop a database of Wiang Chiang Rung pottery which comprises Lanna, Sukhothai and Chinese pottery. The discovery of pottery from various ancient kilns in one place, the location of Wiang Chiang Rung as well as the inscription led to the question about the significance of this area and the reasons why a large number of potteries was found here. This study used integrated approach of ancient pottery analysis and historical evidence analysis. The result of the study shows that Wiang Chiang Rung area was once a living community from the beginning of 19th century B.E. It was likely that in this community there were people who lived here permanently and travellers who stayed briefly and continued their journey. These groups of people continued to live here until 25th century B.E. It is believed that this city was deserted when there were roads and cars, which made the journey more convenient. Therefore, people did not have to stop during their journey. As a result, the town gradually

2 Associate Professor at Department of History, Faculty of Humanities, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. E-mail address: usanee1955@gmail.com

107


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

lost their importance until it was a deserted place. From the archeological excavation at the present time, it is found that there are similar towns in the area of Phaya Mengrai sub-district, Wiang Chai district and Teng district, Chiang Rai province. Each town has evidence of inhabitance with ancient places and ancient objects scattering around the area like those found in Wiang Chiang Rung. Keywords: 1. Wiang Chiang Rung Pottery. 2. Lanna Pottery. 3. Community on a Trade Route.

108


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

เชียงใหม่ : ศูนย์กลางการค้าในเขตภูมิภาคตอนบน ั ่ นำ้� ปิง จุดมุง่ หมายประการหนึง่ ของพระยามังรายในการตังเมื ้ องเชียงใหม่บนริมฝงแม่ ในบริเวณทีร่ าบลุ่มแม่น้� ำปิ ง-วัง คือ ต้องการให้เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางของอาณาจักร ในทุ ก ๆ ด้า น โดยเฉพาะการเป็ น ศู น ย์ก ลางการค้า ระหว่ า งภู ม ิภ าคตอนบนกับ เมืองท่าตอนล่าง ภูมิภาคตอนบน หมายถึง อาณาจักรล้านนาและเมืองต่างๆ ที่อยู่เหนือ อาณาจักรล้านนาขึน้ ไป 1. อาณาจักรล้านนา เกิดจากการรวมตัวของเมืองต่างๆ ในเขตทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำ ซึง่ ตัง้ อยู่ในบริเวณทีร่ าบลุ่มระหว่างภูเขาสูงทีท่ อดยาวจากเหนือลงใต้ ทีร่ าบลุ่มแม่น้� ำ เหล่านี้ประกอบด้วย 1.1. บริเวณทีร่ าบลุ่มแม่น้ �ำปิ ง-วัง ประกอบด้วยเมืองส�ำคัญๆ คือ เชียงใหม่ ล�ำพูน และล�ำปาง บริเวณนีเ้ ป็นทีร่ วมของสินค้าจากเมืองตอนบนก่อนส่งออกลงสู่ เมืองท่าตอนล่าง ั ่ ายของแม่น้ �ำโขง 1.2. บริเวณทีร่ าบลุ่มแม่น้ �ำกก-แม่น้ � ำอิง และฝงซ้ หรือทีเ่ รียกว่า แคว้นโยน ประกอบด้วยเมืองส�ำคัญต่างๆ ดังนี้คอื เชียงราย เชียงแสน เชียงของ และพะเยา เป็ นต้น แคว้นโยนมีความส�ำคัญในฐานะเป็ นบริเวณที่รบั ศึก และสินค้าทีม่ าจากเขตยูนนาน เชียงตุง และล้านช้าง เป็ นต้น 1.3. ทีราบลุ ่ ม่ แม่น้ �ำยม-น่าน หมายถึงบริเวณทีตั่ งของเมื ้ องแพร่และน่าน 2. เมืองต่างๆ ที่อยู่เหนื ออาณาจักรล้านนาขึน้ ไป ประกอบด้วย 2.1. เขตทางตอนบนของพม่ า หมายถึง เมือ งที่ต ัง้ อยู่ บ ริเ วณ ั ่ น้ำ� สาละวินประกอบด้วยเมืองในกลุม่ ไทยใหญ่ กลุม่ คะฉิน่ และชนกลุม่ น้อยกลุม่ อืน่ ๆ สองฝงแม่ พืน้ ทีน่ ้ีอุดมสมบูรณ์ไปด้วย ของปา่ แร่ธาตุ และอัญมณี สินค้าเหล่านี้สง่ เข้ามายังล้านนา โดยผ่านฝางและเชียงแสน 2.2. เขตทางตอนใต้ของจีน เช่น แถบยูนนาน สิบสองพันนา และเชียงรุง้ เป็ นต้น สินค้าส�ำคัญทีส่ ง่ จากพืน้ ทีน่ ้เี ข้ามายังล้านนา ประกอบด้วยน�้ำผึง้ ชะมดเช็ด และ หม้อทองเหลือง เป็นต้น เข้าใจว่าน่าจะส่งผ่านเข้ามาทางเมืองเชียงแสน ก่อนทีจ่ ะส่งต่อลงมายัง เชียงใหม่ 2.3. หลวงพระบาง สินค้าทีส่ ำ� คัญของทีน่ ค่ี อื ครังและก� ่ ำยาน มีหลักฐาน กล่าวว่า หลวงพระบางเป็ นแหล่งก�ำยานทีด่ ที ส่ี ุด และเชื่อว่าก�ำยานเหล่านี้ถูกส่งผ่าน เข้ามายังเชียงใหม่ แล้วส่งออกลงสูเ่ มืองท่าตอนล่าง เนื่องจากมีหลักฐานปรากฏในบันทึก ของพ่อค้าต่างชาติว่าเชียงใหม่เป็ นแหล่งส่งก�ำยานทีส่ ำ� คัญ (Fine Arts Department, 1975: 102) สันนิษฐานว่าสินค้าเหล่านี้ถูกส่งเข้ามาโดยผ่านเมืองเชียงของ เชียงแสน 109


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

และเชียงใหม่ ตามล�ำดับ เมืองท่ าตอนล่าง หมายถึง เมืองท่าส่งออกสินค้าจากภายในภูมภิ าคไปสู่ เมืองภายนอกภูมภิ าค เช่น จีน ญีป่ นุ่ อินเดีย และอาหรับ เป็นต้น เมืองท่าตอนล่างแบ่งเป็น ั่ เมืองท่าสองฝงมหาสมุ ทร คือ ั ่ าวไทย ประกอบด้วย อยุธยาและกรุงเทพฯ ตามล�ำดับ เมืองท่าทางฝงอ่ ั ่ นดามัน หมายถึง เมืองท่าตอนล่างของพม่าหรือหัวเมืองมอญ เมืองท่าทางฝงอั ประกอบด้วย พะโค เมาะตะมะ มะริด ทวาย และตะนาวศรี เป็ นต้น ด้วยสภาพการค้าจากเหนือลงใต้ดงั กล่าวนี้ ท�ำให้เชียงใหม่เป็ นศูนย์กลาง ทีเ่ หมาะสมเนื่องจากตัง้ อยูก่ ง่ึ กลางระหว่างแคว้นโยนกับเขตทีร่ าบลุ่มแม่น้� ำปิ งตอนบน รวมทัง้ ยังสามารถติดต่อกับเมืองท่าตอนล่างได้อย่างสะดวกโดยใช้แม่น้�ำปิงเป็นเส้นทาง สายหลัก จากความเหมาะสมดังกล่าวท�ำให้มหี ลักฐานของล้านนาจ�ำนวนไม่น้อยกล่าวถึง การเดินทางของกลุ่มพ่อค้าจากที่ต่างๆ เข้ามาท�ำการค้าขายในอาณาจักรล้านนา เป็นจ�ำนวนมาก เช่น กฎหมายล้านนากล่าวว่า “...คนฝูงอันลุกทิศานุทศิ มา ม่าน เม็ง ไทย ฮ่อ และกุลวา...” และในค่าวกาวิละกล่าวว่า “...ฝูงพ่อค้าต่างพันนา...ชาวเหนือชาวใต้ตา่ ง อันมี ต่างค้า...” (Lanana Custom Law, 1975: 6) ดังทีก่ ล่าวแล้วว่าอาณาจักรล้านนาเกิดจากการรวมตัวของเมืองต่างๆ ซึง่ ตังอยู ้ ใ่ น บริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น้ำ� ทีต่ งอยู ั ้ ร่ ะหว่างเทือกเขาสูง ซึง่ เมือ่ หากดูเผินๆ แล้ว เทือกเขาสูงเหล่านี้ คืออุปสรรคส�ำคัญในการติดต่อระหว่างเมืองต่างๆ แต่โดยความจริงแล้วเทือกเขาสูงเหล่านี้ กลับมีคุณค่าต่ออาณาจักรล้านนาอย่างมาก คือ นอกจากจะเป็ นแหล่งทีอ่ ุดมสมบูรณ์ ไปด้วยสินค้าของป่านานาชนิดจ�ำพวก น�้ ำผึ้ง ครัง่ ยางรัก และแร่ธาตุ ซึ่งสามารถ สร้างรายได้อย่างสูงให้กบั อาณาจักรล้านนาแล้ว เทือกเขาสูงเหล่านี้ยงั เป็ นต้นก�ำเนิด ของแม่น้�ำสายส�ำคัญๆ เช่น แม่น้�ำปิง แม่น้�ำกก แม่น้�ำลาว และแม่น้�ำอิง เป็ นต้น นอกจากแม่น้ำ� สายใหญ่ดงั กล่าวแล้ว ยังมีแม่น้ำ� สายเล็กๆ อีกมากมาย เช่น น�้ำปาย น�้ ำยวม น�้ ำฝาง น�้ ำค�ำ น�้ ำแม่สาย น�้ ำแม่จนั และน�้ ำแม่เมย เป็ นต้น แม่น้� ำทัง้ สายใหญ่ และสายเล็กเหล่านี้ท�ำหน้าทีเ่ ชื่อมต่อกันเป็ นใยแมงมุมครอบคลุมพืน้ ทีต่ ่างๆ ราวกับ เป็ น โครงข่า ยการคมนาคมขนาดใหญ่ ท่ีเ ชื่อ มต่ อ ระหว่า งเมือ งต่ า งๆ ควบคู่ไ ปกับ การคมนาคมทางบกของคาราวานพ่อค้าวัวต่างและม้าต่าง ตัวอย่างของการเดินทาง ระหว่างเมืองทีส่ ำ� คัญ เช่น การติ ดต่อระหว่างเชียงใหม่กบั บริ เวณแคว้นโยน ใช้การล่องน�้ำปิงสลับกับ การเดินบก ซึง่ จะเห็นได้จากการเดินทางของคาร์ลบ็อค ซึง่ เล่าเรือ่ งการเดินทางไปกลับ ระหว่างเมืองเชียงใหม่ เชียงราย และเชียงแสนไว้ดงั นี้ 110


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

...ออกจากเชียงใหม่ วันที ่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2425 หนทางสูพ่ ร้าว ต้องผ่านแม่น้ �ำแมงกาบ (แม่น้ �ำแม่งดั ) (Meh Ngat?) ทีไ่ หลเชีย่ ว ...ออกจาก เมืองพร้าวไปเมืองฝางพร้อมช้าง 9 เชือก และลูกช้างอีก 2 เชือก หนทางสู่ เมืองฝางผ่านช่องเขาสูงชันข้ามแม่น้ �ำแมงกาบ พักแรม 1 คืน ข้ามแม่น้ �ำฝาง พบขบวนพ่อค้าเงีย้ ว พักแรมใกล้กนั รุง่ เช้าเดินผ่านทีราบพบขบวนล่ ่ าสัตว์ของ เจ้าเมืองเชียงใหม่ ...ออกเดินทางจากฝางไปหมูบ่ า้ นเงีย้ วทีท่ า่ ตอน ...จากท่าตอน ล่องเรือไปตามแม่น้ � ำกก 2 วัน ถึงเชียงราย... จากเชียงรายล่องแม่กกไป เชียงแสน... จากเชียงรายเดินทางด้วยเรือฝา่ สายน�้ำทีไ่ หลเชีย่ วถึงท่าตอนและ เดินบกต่อเข้าเมืองฝาง ...ทีเมื ่ องฝางหมูบ่ า้ นริมน�้ำปิงเพือต่ ่ อแพและน�ำสัมภาระล่องไป เชียงใหม่... ถึงเชียงใหม่วนั ที 7่ พฤษภาคม พ.ศ. 2425… (Fine Arts, Departments, 1987: 21, 28) เนื่องจากการเดินทางทีย่ ากล�ำบากและใช้เวลานานกว่าจะถึงจุดหมาย ท�ำให้ บนเส้นทางคมนาคมแต่ละเส้นมักจะมีเมืองหรือชุมชนต่างๆ ทีท่ �ำหน้าทีเ่ อือ้ ประโยชน์ ให้กบั พ่อค้าในการเดินทางค้าขายไปมา บางเมืองเป็นแหล่งแวะพักเติมเสบียงทัง้ อาหาร และน�้ำ รวมทัง้ ซือ้ ขายสินค้าต่างๆ เช่น การเดินทางล่องแม่น้�ำปิงระหว่างตากถึงเชียงใหม่ เป็ น เส้น ทางที่นัก เดิน ทางต่ า งทราบดีว่า มีค วามล�ำ บากมากเพราะมีเ กาะแก่ ง และ กระแสน�้ ำเชีย่ วมาก ดังจะเห็นได้จากการอธิบายภาพการเดินทางผ่านเกาะแก่งแห่งนี้ ของปิแอร์ โอต นักกฎหมายชาวเบลเยีย่ มทีเ่ ดินทางขึน้ ไปเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2440 ดังนี้ ...ในบางตอนกระแสน�้ำเชียวจั ่ ดจนลูกเรือต้องยอมแพ้...อันตรายอย่างยิง่ อีกประการหนึง่ ซึง่ ต้องคอยระวังอย่างมากได้แก่ ท่อนซุงทีล่ อยมาตามน�้ำ... ข้าพเจ้าแลเห็นท่อนซุงขนาดมหึมาก�ำลังพุง่ มาใส่เราด้วยก�ำลังแรง พวกลูกเรือ เห็นทันเวลาและเอาเรือหลบหลังโขดหินเสียก่อน... (Chantharawithan, 1996: 61-63) จากความยากล�ำบากเช่นนี้ทำ� ให้การเดินทางค่อนข้างช้าและต้องใช้เวลา ฉะนัน้ ั ่ น้ �ำ...” บางหมูบ่ า้ นทีแ่ วะพัก ตามรายทางจึงมี “..หมูบ่ า้ นเรียงรายติดต่อกันทัง้ สองฝงแม่ ก็มชี าวบ้านน�ำอาหารมาขาย “...ประมาณบ่ายสามโมงเรามาถึงหมูบ่ า้ นของพวกขมุเป็ น หมูบ่ า้ นแรกทีเ่ ราพบหลังล่องเรือมานานชาวบ้านทีย่ ากจนอาศัยอยูไ่ ด้โดยเก็บผักและผล ไม้ขายให้เรือแพทีผ่ า่ นไปมา...” (Chantharawithan, 1996: 66) การเดินทางจากทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำปิงไปยังเขตทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำกกก็มเี มืองแวะพัก เช่นเดียวกันนี้ เช่นเมืองแกน เป็ นเมืองแวะพักจากพร้าวเข้าสูเ่ ชียงใหม่ เวียงกาหลงและ ั ้ นเผาเพื่อส่งออก ท�ำให้มกี ลุ่มพ่อค้าแวะเข้าไปเพื่อ เวียงบัวเป็ นแหล่งผลิตเครื่องปนดิ ั ้ นเผาไปขายยังพืน้ ทีต่ ่างๆ เป็ นต้น น�ำเครือ่ งปนดิ 111


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

ภาพที ่ 1 เส้นทางสูเ่ มืองล�ำปางในเดือนพฤษภาคม ภาพที ่ 2 การเดินทางล่องแม่น้ำ� ปิงในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2425 ของคาร์ล บ็อค พ.ศ.2425 ของคาร์ล บ็อค (Phantharangsi and Theekhara,2007) (Phantharangsi and Theekhara,2007)

เมืองเหล่านีน้ อกจากจะพบร่องรอยของการอยูอ่ าศัย เช่น เครือ่ งมือเครือ่ งใช้ตา่ งๆ ั ้ นเผาและเครื่องมือโลหะแล้ว ยังพบร่องรอยของ ศาสนสถานอยู่ทวไป ทัง้ เครื่องปนดิ ั่ แทบจะทุกเมือง เช่น จากการส�ำรวจในบริเวณเมืองแกนซึง่ เป็ นเมืองแวะพักจากพร้าว ั ้ นเผา ซึง่ ปจั จุบนั เรียกว่าเตาอินทขิล เข้าสูเ่ ชียงใหม่ ได้พบทัง้ แหล่งเตาผลิตเครือ่ งปนดิ และพบซากวัดร้างอีกไม่น้อยกว่า 30 แห่ง เวียงเชียงรุ้ง : เมืองบนเส้นทางผ่านในเขตภาคเหนื อตอนบน เวียงเชียงรุง้ หรือเวียงฮุง้ มีลกั ษณะเป็ นเนินสูงคล้ายหลังเต่าตัง้ อยูก่ ลางทุ่งนา มีเนื้อทีป่ ระมาณ 500-600 ไร่ เป็ นเมืองโบราณชนิดทีม่ คี นู ้�ำคันดิน 3 ชัน้ คือ 1. คูเมืองชัน้ ในสุด มีลกั ษณะเป็ นรูปวงแหวน ชาวบ้านเรียกว่า ร่องทราย ยาวประมาณ 3 กิโลเมตร กว้าง 14 เมตรและลึกประมาณ 3 เมตร 2. คูเมืองชัน้ กลาง ตัง้ อยูห่ า่ งจากคูเมืองชัน้ ในประมาณ 50 เมตร ชาวบ้าน เรียกว่า “ฮ่อง (ร่อง) ลึก” ยาวรอบเมืองประมาณ 5 กิโลเมตร กว้าง 30 เมตร ลึก 5-7 เมตร 3. คูเมืองชัน้ นอก ตัง้ อยูห่ า่ งจากคูเมืองชัน้ กลางประมาณ 1.82 เมตร ชาวบ้าน เรียกว่า “ฮ่องจิก” ยาวประมาณ 2 กิโลเมตร กว้าง 12 เมตร ลึก 2 เมตร ส�ำหรับคูเมืองชันนอก ้ ั ทางด้านทิศตะวันตกใช้แม่น้ำ� ลาวเป็นคูเมืองส่วนหนึง่ ปจจุบนั แม่นำ้� ลาวทีไ่ หลผ่านเวียงเชียงรุง้ ตืน้ เขินและเปลีย่ นทางเดินกลายเป็นแม่นำ้� ลาวร้างไปแล้ว (Khunsri And Chuenchom, 2010: 18) 112


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ภาพที ่ 3 แผนทีว่ ดั เวียงเชียงรุง้

ั บนั เวียงเชียงรุง้ ตังอยู ปจจุ ้ ท่ บ่ี า้ นห้วยเคียน หมู่ 10 ต�ำบลทุง่ ก่อ อ�ำเภอเวียงเชียงรุง้ จังหวัดเชียงราย จากการส�ำรวจของหน่วยศิลปากรในเขตพืน้ ทีอ่ ำ� เภอเวียงชัยและอ�ำเภอ พญาเม็งราย ซึง่ มีพน้ื ทีต่ ดิ ต่อกับอ�ำเภอเวียงเชียงรุง้ ได้พบเมืองโบราณเป็ นจ�ำนวนมาก เช่น ในเขตอ�ำเภอเวียงชัยมีประมาณ 28 เมือง โดยเฉพาะในเขตต�ำบลทุง่ ก่อมีถงึ 5 เมือง (ยังไม่นบั เวียงเชียงรุง้ ) ในเขตอ�ำเภอพญาเม็งรายมีประมาณ 10 เมือง เมืองโบราณที่ พบมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับเวียงเชียงรุง้ คือส่วนใหญ่ตงั ้ อยูบ่ นเนินน�้ำท่วมไม่ถงึ เป็ นเมือง ทีม่ คี นู ้� ำคันดินและอยู่ใกล้แหล่งน�้ ำ นอกจากนัน้ ในแต่ละเมืองยังพบซากโบราณสถาน ั ้ นเผา และเครือ่ งมือเครือ่ งใช้แบบเดียวกันโดยเฉพาะ เครือ่ งใช้ในชีวติ ประจ�ำวันในกลุม่ เครือ่ งปนดิ ซึง่ มีทงชนิ ั ้ ดเคลือบและไม่เคลือบ รวมทัง้ กล้องยาสูบด้วย เป็ นต้น (Thongchai, 2011: Appendix 7) สันนิษฐานว่าเมืองโบราณเหล่านี้คงจะตัง้ ขึน้ มาเพื่อตอบสนองการเดินทาง ไปมาของผู้คนจากทีต่ ่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอก ทัง้ นี้เพราะพืน้ ทีน่ ้ีตงั ้ อยู่บนเส้น ทางการคมนาคม ระหว่างเชียงรายเชียงแสน เชียงของ และน่าน ซึง่ เป็นจุดผ่านขึน้ ไปยัง เมืองต่างๆ ทีอ่ ยูเ่ หนืออาณาจักรล้านนาขึน้ ไป เช่น เชี ยงแสน เป็ นประตูเข้าออกไปยังกลุ่มหัวเมืองตอนบนคือ ยูนนาน สิบสอง พันนา และกลุม่ หัวเมืองไทยใหญ่ เป็ นต้น ดังจะเห็นได้จาก เมือ่ คาร์ล บ็อค ต้องการ เดินทางไปเชียงตุง เขาต้องเดินทางผ่านเชียงแสน จึงเข้าไปขออนุญาตเจ้าเมืองเชียงราย

ภาพที ่ 4 เรือที่คาร์ล บ็อคใช้ในการเดินทางเชียงแสน (Fine Arts, Department, 1987: 1)

113


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

เพือ่ จะเดินทางไปเชียงตุง แต่เจ้าเมืองเชียงตุงไม่อนุ ญาต เพราะกลัวจะไม่ปลอดภัย เนื่องจากในขณะนัน้ “...พวกเงีย้ วก�ำลังสะสมดินปืน กระสุนปืนและก�ำลังซ่องสุมผูค้ นอยู่ คาดว่า หัวหน้าในเขตใกล้เคียงคงจะยกพวกมายึดเอาเชียงแสนครึง่ หนึง่ เร็วๆนี้...” (Phantharangsi and Theekhara, 2007: 298-299) หรือเมือ่ ศาสนาจารย์ เดเนียล แมคกิล วารี จะเดินทางไปเผยแผ่ศาสนาทีเ่ มืองเลน เมืองสิงห์ และสิบสองพันนา ท่านก็เดินทาง จากเชี ย งใหม่ เชี ย งรายผ่ า นเชี ย งแสนและข้ า มแม่ น้� ำ โขงที่ เ ชี ย งแสนขึ้น ไป (Tanrattanakul, 1994: 420-421, 452-453) เข้าใจว่าแม่นำ้� กกน่าจะเป็นแม่นำ้� สายใหญ่ เพราะเรือทีค่ าร์ล บ็อคใช้ในการเดินทางเป็น “...เรือล�ำใหญ่ทเี ่ จ้าเมืองเกียงราย (เชียงราย) กรุณาให้ยมื ...” (Fine Arts, Department, 1987: 5) เชียงของและน่ าน เป็นประตูเข้าออกไปยังกลุม่ หัวเมืองตะวันออกเฉียงเหนือ คือหลวงพระบาง ดังจะเห็นได้จากเมือ่ เฮอร์เบิรท์ วาริงตัน สมิทธ์ ต้องการจะเดินทาง จากกรุงเทพฯ ไปหลวงพระบางนัน้ เขาได้ผา่ นเมืองน่านและเชียงของก่อนเข้าสูห่ ลวงพระบาง “...จากเมืองน่าน ขัน้ ตอนต่อไป คือค้นหาเส้นทางทีด่ ที สี ่ ดุ ทีข่ า้ พเจ้าจะสามารถเดินข้าม สันปนั น�้ำไปยังเชียงของบริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น้ �ำโขงได้ ...การเดินทางจากเชียงของไปยัง หลวงพระบาง (หรือเมืองหลวงทีคนทั ่ วไปเขาเรี ่ ยกกันว่า มหานคร great town) หากไม่มอี ปุ สรรค ระยะทางทีจ่ ะใช้เวลาในการเดินทางราว 5 ชัวโมง ่ (การเดินทางเทีย่ วกลับใช้เวลา ในการเดินทาง 10-15 วัน)...” (Thongtan, 2001: 69) เชี ยงราย เป็ นหัวเมืองหลักในการเดินทางจากแคว้นโยนลงสู่เมืองต่างๆ ในเขตทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำปิง ก่อนลงสูเ่ มืองท่าตอนล่างทัง้ สองฝงั ่ ศาสนสถานทีพ่ บมากมายในเมืองเหล่านี้เป็นหลักฐานอย่างดีทอ่ี ธิบายให้เห็นถึง ความส�ำคัญของเมืองดังกล่าวมาตังแต่ ้ สมัยราชวงศ์มงั รายจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในขณะที่ หลักฐานการเดินทางของชาวต่างชาติทเ่ี ดินทางเข้ามาในพืน้ ทีน่ ้ตี งั ้ แต่สมัยรัชกาลที่ 4-5 ได้อธิบายให้เห็นภาพของกิจกรรมค้าขายภายในเมืองเหล่านี้ได้เป็ นอย่างดี 1. บันทึกการเดินทางของ ปิ แอร์ โอร์ต นักกฎหมายชาวเบลเยีย่ มทีเ่ ดินทางขึน้ ไป พิจารณาคดีทเ่ี มืองเชียงใหม่และเดินทางเข้าไปยังเชียงแสน เมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2440 เล่าถึงการค้าในเมืองแม่ข ิ ซึง่ ตัง้ อยู่ใกล้กบั เชียงแสน และอยู่บนเส้นทางทีเ่ ป็ นเส้นตัด ระหว่างเชียงแสน และเชียงตุงก่อนเข้าสูเ่ มืองเชียงราย ...การค้าทัง้ หลายของรัฐฉานและยูนนานกับลาวต้องผ่านบ้านแม่ข ิ การค้าเหล่านี้อยูใ่ นมือของพวกฮ่อ ซึง่ จะเดินทางผ่านลงมากลุม่ ละ 20-100 คน ้ง บรรดาชาวฮ่อไม่เพียงแต่จะน�ำสินค้าจากดินแดนของตนอันได้แก่เส้นหมีและแป ่ เป็ นส่วนใหญ่มาขายแล้ว ยังรับส่งสินค้าให้กบั คนอืน่ ๆ อีกด้วย โดยจะเดินทาง 114


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

จากเชียงรายไปยังเชียงใหม่ จากนัน้ ก็จะเดินทางต่อไปยังมะละแหม่ง เพือน� ่ ำสินค้า จากมะละแหม่งกลับมายังเชียงใหม่... (Chantharawitan, 1996: 144)

2. บันทึกการเดิ นทางของ นายเฮอร์เบิ รท์ วาริ งตัน สมิ ธ นักธรณีวทิ ยา ชาวอังกฤษ ลูกจ้างของรัฐบาลสยามในกรมราชโลหกิจและภูมวิ ทิ ยา เขาได้เดินทางขึน้ มา ในเขตภาคเหนือเพือ่ ตรวจสอบทางธรณีวทิ ยาเสนอต่อรัฐบาลสยาม ได้เขียนบันทึกเล่าเรือ่ ง การเดินทางของกลุม่ พ่อค้าในระหว่างการเดินทางจากเมืองน่านขึน้ ไปยังเมืองเชียงของ ไว้ดงั นี้ ...นอกจากก�ำแพงอิฐสีแดงของเมืองน่าน... ข้าพเจ้าได้เห็นเรือขนส่ง จ�ำนวนมากบรรทุกฝ้ายมา และมีอกี หลายล�ำทีก่ ำ� ลังล่องไปทางใต้ ...และเมือง ระหว่างทางจากน่านไปเชียงของ เขาได้พบคาราวานสินค้าต่างๆ เช่น ทีเมื ่ องงอม ได้พบพวกฮ่อและขบวนล่อบรรทุกสินค้ามาจากทางเหนือ... เมือเดิ ่ นทางขึน้ ไป ตอนบนของห้วยซาเกง (Houy Saking) พบวัวบรรทุกของ 4 ตัว เดินมาตามทาง... ทีเมื ่ องเชียงเลน พวกเราพบพ่อค้าจ�ำนวนมากขนสินค้าเดินทางมาจากทางเหนือ ดูหน้าตาคล้ายชาวพม่า... (Thongtan, 2001: 44, 47, 55) จากภาพการค้าทีค่ กึ คักดังทีก่ ล่าวมาแล้ว น�ำมาสูข่ อ้ สันนิษฐานว่าบนเส้นทางคมนาคม แต่ละเส้นคงจะมีเมืองต่างๆ ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ชือ่ มต่อระหว่างเมืองภายในกับภายนอกพืน้ ที่ ดังจะเห็นได้จากผลสรุปการศึกษา เรือ่ งเวียงเทิง ของอาจารย์ศรีศกั ร วัลลิโภดม ...เวียงเทิงนี้ตงั ้ อยูใ่ นจุดศูนย์กลางการคมนาคม เพราะถ้าเดินทางข้าม บริเวณเขาเตี้ยๆ ในทางทิศตะวันตกก็จะลงสูบ่ ริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น้ � ำลาว อันมี เวียงชัยเป็นส�ำคัญ ต่อจากนัน้ ก็ขา้ มแม่น้ ำ� ลาวไปยังเมืองเชียงรายในลุม่ แม่น้ ำ� กกได้ เข้าใจว่าการติดต่อระหว่างเทิง เชียงค�ำ กับเมืองเชียงรายทีจะต่ ่ อไปยังเชียงแสน หรือแม่สายนัน้ คงจะผ่านมาทางเวียงชัยตามทีกล่ ่ าวมานี้... (Wongthet, 1995: 108) ในสมัยรัชกาลที่ 5 เมือ่ ปิแอร์ โอร์ต ผูช้ ว่ ยทีป่ รึกษากฎหมายชาวเบลเยีย่ ม เดิน ทางจากเชียงรายไปยังเมืองเทิงยังต้องผ่านพืน้ ทีน่ ้ีดว้ ย ...วันที ่2 ตุลาคม พ.ศ. 2440 ออกจากเชียงรายตอนเทียงครึ ่ ง่ เดินทางผ่าน แม่น้ �ำลาวเมือบ่ ่ าย 2.30 น. อากาศเลว มีฝนตกทึม และเมฆลอยต�ำ่ ... วันที ่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2440 พักทีบ้่ านเชียงเคียน... ่ วันที ่24 ตุลาคม พ.ศ. 2440 ออกเดินทาง ่ 5.30 น. ทางเดินตัดเข้าไปในปาและหนทางสะดวก... 11.00 น. มาถึงบ้านปง มีศาลาปลูกไว้รบั รองข้าพเจ้า แต่ขา้ พเจ้าตัดสินใจไม่หยุดพักจนกว่าจะถึงเมืองเทิง ั ่ น้ �ำอิงต้องใช้เรือข้าม คนส่วนใหญ่ของ ในวันนี้ บ่าย 2 โมง 50 นาที เราถึงฝงแม่ ั ่ ายของแม่น้ �ำ... (Chantharawitan, 1996: 148-149) เมืองเทิงอยูท่ างฝงซ้ 115


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

สันนิษฐานว่าเวียงเชียงรุง้ คงจะท�ำหน้ าทีเ่ ป็ นเมืองเชื่อมต่อกับเมืองต่างๆ ั ่ น้�ำลาว ทัง้ ภายในและภายนอกพืน้ ทีเ่ ช่นเดียวกัน ทัง้ นี้เพราะเวียงเชียงรุง้ ตัง้ อยูร่ มิ ฝงแม่ และอยูห่ า่ งจากบริเวณสบกกเพียง 2500 เมตร (Ditsayadet et al., 1982 : 3) เท่านัน้ สบกกคือบริเวณทีแ่ ม่น้�ำลาวไหลลงแม่น้�ำกกซึง่ เป็ นแม่น้�ำทีเ่ ชื่อมต่อระหว่างเชียงราย กับเชียงแสน ฉะนัน้ พื้นที่น้ีจงึ เป็ นพื้นที่ส�ำคัญที่เป็ นแหล่งรวมของกลุ่มคนที่เดินทาง มาตามล�ำน�้ำทัง้ สอง

ภาพที ่ 5 แผนทีแ่ สดงจุดเชือ่ มระหว่างแม่น้�ำกกและแม่น้�ำลาว

เมื่อ พิจ ารณาการเลื อ กท� ำ เลในการตัง้ เวี ย งเชี ย งรุ้ ง พบว่ า ผู้ ต ัง้ เมือ ง มีความชาญฉลาดมาก เพราะเวียงเชียงรุง้ ตัง้ อยูบ่ นเนินคล้ายหลังเต่า ท�ำให้น้�ำไม่ทว่ มเมือง ั ่ น้�ำลาวและใช้แม่น้�ำลาวเป็ นคูเมืองทางทิศตะวันตก การสร้างเมือง ทัง้ ๆ ทีต่ งั ้ อยูร่ มิ ฝงแม่ โดยมีคนู ้�ำคันดินถึง 3 ชัน้ และคูเมืองแต่ละชันค่ ้ อนข้างกว้างและลึกกล่าวคือ คูเมืองชันนอก ้ ลึกประมาณ 2 เมตร กว้าง 12 เมตร คูเมืองชัน้ กลางลึก 5-7 เมตร กว้าง 30 เมตร และ ชัน้ ในลึก 3 เมตร กว้าง 14 เมตร ความลึกของคูเมืองแต่ละชัน้ ท�ำหน้าทีใ่ นการชะลอ ไม่ให้น้�ำท่วมในเวลาหน้าน�้ำ และเป็ นพืน้ ทีเ่ ก็บกักน�้ำไว้ใช้ในหน้าแล้งได้ นอกจากนัน้ คูเมืองเหล่านี้ยงั กว้างพอทีจ่ ะใช้เป็ นเส้นทางคมนาคมเข้าถึงตัวเมืองได้ นอกจากนัน้ มีขอ้ ทีน่ ่าสังเกตคือ คันดินแต่ละชัน้ ค่อนข้างกว้าง คือคันดินระหว่าง ชัน้ ในและชัน้ กลางกว้างประมาณ 650 เมตร คันดินระหว่างชัน้ กลางและชัน้ นอกกว้าง ประมาณ 182 เมตร เมตร (Ditsayadet et al., 1982: 5) สันนิษฐานว่าบริเวณคันดินนี้ อาจจะเป็นพืน้ ทีเ่ พาะปลูกหรืออยูอ่ าศัยได้ในช่วงทีม่ ใิ ช่หน้าน�้ำ นอกจากนัน้ ภายในตัวเมือง ก็มขี นาดกว้างมากถึง 500-600 ไร่ ท�ำให้สามารถรองรับการอยู่อาศัยของชุมชนได้ ไม่น้อยเลยทีเดียว ฉะนัน้ หากดูจากสภาพภูมปิ ระเทศและการคัดเลือกท�ำเลการตังเมื ้ อง สันนิษฐานว่า พืน้ ทีน่ ค้ี งจะมีความอุดมสมบูรณ์และสามารถรองรับผูค้ นได้เป็นจ�ำนวนมาก กลุม่ คนเหล่านี้ อาจจะมีทงั ้ คนที่ตงั ้ ถิน่ ฐานถาวรและกลุ่มที่เดินทางไปมาแล้วแวะพักที่เวียงเชียงรุง้ 116


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ก่อนไปถึงจุดหมายปลายทาง หลักฐานทีส่ นับสนุนข้อสันนิษฐานดังกล่าวคือ หลักฐานต่างๆ ทีพ่ บในบริเวณเวียงเชียงรุง้ ซึง่ ประกอบด้วย 1. โบราณสถาน-วัตถุที่เกี่ยวเนื่ องในศาสนา คือ กองอิฐ พระพุทธรูปหินทราย 4 องค์ และใบเสมาหินทราย 3 ชิน้ การพบกองอิฐหลายแห่งและพระพุทธรูปหินทราย 4 องค์ แสดงให้เห็นว่าภายในเวียงเชียงรุง้ มีวดั เป็นศูนย์กลางของชุมชน และอาจจะมีมากกว่า 1 วัด เพราะกองอิฐบางกองตัง้ อยูห่ า่ งกันเกินกว่าจะเป็ นสิง่ ก่อสร้างภายในสถานทีเ่ ดียวกันได้ หลักฐานทีก่ ล่าวสอดคล้องกับข้อสันนิษฐานนีค้ อื จารึกทีพ่ บภายในเวียงเชียงรุง้ ได้กล่าวถึง ชื่อพระสงฆ์ท่วี ดั เวียงเชียงรุง้ ...เจ้าเถรพุทธรักขิตเชียงรุง้ ... และการสร้างอุโบสถ พร้อมกับการถวายกัลปนาของหมืน่ ขวา “...ตนกูหมืน่ ขวามาท�ำบุญทีน่ ้ี หือ้ ตัง้ สังฆสีมา แล้วดาย จึงฝงั หินจารึกนี้ไว้แก่นางหลวงนี้แล...” (Thongchai, 2011: Appendix 6.1) เข้าใจว่าวัดนี้น่าจะเป็ นวัดขนาดใหญ่และมีความส�ำคัญมาก ทัง้ นี้เนื่องจาก เมือ่ มีการท�ำบุญถวายกัลปนาทีว่ ดั แห่งนี้พบว่ามีพระสงฆ์เข้าร่วมถึง 10 รูป และแต่ละรูป เป็นพระผูใ้ หญ่แทบทังสิ ้ น้ เช่น มหาสามีปา่ รวก เจ้าเถรโสมวัดมหานาม เจ้าเถรสุวดั ปา่ หลวง เจ้าเถรญาณสุนทโรวัดหมืน่ ยอด มหาเถรญาณก�ำเพียนวัดสันขอบ เจ้าเถรอโนมาทัตสี วัดพันพอน เจ้าเถรสังฆะโพธิวดั ดอนนา เจ้าเถรพุทธรักขิตเชียงรุง้ เจ้าเถรธรรมสาบ้านท่า และมหาสามีเจ้าดอนยาง (Thongchai, 2011: Appendix 6.1) นอกจากนัน้ ในรายชือ่ ผูถ้ วายกัลปนา ก็ลว้ นเป็นคนส�ำคัญ เช่น หมืน่ ขวาผูป้ กครอง เวียงเชียงรุง้ และ “นางหลวง” “ ...ส่วนบุญ(ของ)นางหลวง เพือจั ่ กให้ผลจ�ำเริญแก่มหาราช เจ้า แผ่น ดิน ยัง หลานมันสีค่ น ผู้หนึ ง่ ชือ่ พ่อน้ อ ย ผู้ห นึ ง่ ชือ่ เชีย งบุ ญ ผู้ห นึ ง่ ชือ่ ยีส อง ผูห้ นึง่ ชือ่ สนยม เขาบักนี้ไว้ห้อื รักษาพระพุทธรูปเจ้า ทีน่ ้ีแล...” (Thongchai, 2011: Appendix 6.1) แม้นางหลวงคนนี้ อาจจะมิได้หมายถึงพระมเหสีของผูป้ กครองทีเ่ ชียงใหม่ ก็ตาม แต่น่าจะหมายถึงบุคคลทีม่ คี วามส�ำคัญทัง้ ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ จึงสามารถ ถวายกัลปนาคนให้กบั วัดได้ การพบใบเสมาหินทรายขนาดใหญ่ 3 ชิน้ และการทีห่ มืน่ ขวา “...หือ้ ตังสั ้ งฆสีมา...” แสดงให้เห็นว่ามีการสร้างอุโบสถหรือโบสถ์ท่วี ดั แห่งหนึ่ง ทัง้ นี้เพราะใบเสมาเป็ น เครื่องหมายบอกอาณาเขตของพระอุโบสถ วัดนัน้ อาจจะเป็ นวัดเวียงเชียงรุง้ ก็เป็ นได้ ทัง้ นี้เพราะใบเสมาทัง้ 3 นี้พบบริเวณเดียวกับจารึกวัดเวียงเชียงรุง้ ทีเ่ ล่าเรือ่ งการท�ำบุญ ของหมืน่ ขวา ั ้ นเผา 2. ชิ้ นส่วนของเครือ่ งปัน้ ดิ นเผา ซึง่ พบเป็นจ�ำนวนมากมีทงั ้ เครือ่ งปนดิ ั ้ นเผาจากกลุม่ เตาเกาะน้อย อ�ำเภอศรีสชั นาลัย ทีน่ �ำเข้ามาจากพืน้ ทีอ่ น่ื เช่นเครือ่ งปนดิ ั ้ นเผาจากกลุม่ เตาล้านนา ประกอบด้วย กลุม่ เตาเวียงกาหลง จังหวัดสุโขทัย และเครือ่ งปนดิ กลุ่ ม เตาพะเยา และกลุ่ ม เตาพาน รวมทัง้ เครื่อ งป นั ้ ดิน เผาจากกลุ่ ม เตาจีน และ 117


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

กลุม่ เตาพืน้ บ้าน ซึง่ อาจจะผลิตในพืน้ ทีน่ ้ีหรือสังเข้ ่ ามาจากแหล่งผลิตอื่น (Thongchai, ั ้ นเผาเหล่านี้สามารถแยกตามประโยชน์ 2011: Appendix 7) ชิน้ ส่วนของเครื่องปนดิ ใช้สอยได้ดงั ต่อไปนี้ 2.1 เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่นจาน ชาม ถ้วย หม้อ ั ้ นเผาในกลุ่มเครื่องมือเครื่องใช้นัน้ พบภาชนะ และไห เป็ นที่น่าสังเกตว่าเครื่องปนดิ ในกลุม่ จาน-ชามและถ้วยน้อยมากเมือ่ เทียบกับกลุม่ ภาชนะพวกไห ซึง่ ปรากฏการณ์ดงั กล่าวนี้ มิได้หมายความว่า ในพืน้ ทีน่ ม้ี คี นอยูอ่ าศัยน้อย ทังนี ้ เ้ พราะมีหลักฐานว่าชาวล้านนาบางกลุม่ มักจะไม่ใช้จานชามและถ้วยในการรับประทานอาหาร ...เรือ่ งมีด และช้ อ นส้อ มนั น้ ไม่ ต้ อ งพู ด ถึง เหมือ นกับ เรือ่ งจาน เพราะไม่มกี ารใช้กนั เลย คนจนมักมีใบตองอยูใ่ กล้มอื ส�ำหรับใช้แทนถ้วยชาม เมือใช้ ่ เสร็จแล้วก็โยนทิง้ ไปได้ โดยไม่ตอ้ งกังวลถึงการช�ำระล้างและการเสียเงินเสียทอง.. (Phantharangsi and Theekhara, 2007: 282) สันนิษฐานว่ากลุ่มคนที่ใช้จาน ชาม และถ้วย คงจะเป็ นกลุ่มคนชัน้ สูงและ คนมีฐานะทางเศรษฐกิจดี รวมทังกลุ ้ ม่ พระสงฆ์ ทังนี ้ เ้ นื่องจากการส�ำรวจแหล่งโบราณสถาน ทีเ่ ป็นวัดร้าง มักจะพบเครือ่ งเป็นดินเผาในกลุม่ จาน ชาม ถ้วยและภาชนะอืน่ ๆ เป็นจ�ำนวนมาก เข้าใจว่าเครื่องใช้เหล่านี้คงจะถวายเพื่อเป็ นของใช้ในชีวติ ประจ�ำวันของพระสงฆ์และ ถวายเป็ นพุทธบูชาให้กบั วัดด้วยการฝงั ไว้ใต้ฐานเจดีย์ วิหาร และโบสถ์ เป็ นต้น ั ้ นเผากลุ่มไหเป็ นจ�ำนวนมาก ในทางกลับกันการพบชิ้นส่วนของเครื่องปนดิ น่าจะแสดงให้เห็นถึง การรวมกลุม่ ของคนเป็นจ�ำนวนมาก ทังนี ้ ้เพราะไหเป็นภาชนะส�ำคัญ ภายในครัว เรือ น “...เครือ่ งใช้ ใ นบ้ า นมีเ พีย งหม้ อ ไห กระทะ ท� ำ ด้ ว ยดิน เผา แบบพืน้ เมือง...” (Phantharangsi and Theekhara, 2007: 282) ไหเป็นภาชนะส�ำหรับเก็บน�้ำ และอาหาร เช่น ปลาร้าและเกลือ ซึ่งเป็ นสิง่ จ�ำเป็ นในชีวติ ประจ�ำวันของคนล้านนา ดังจะเห็นได้จาก เมือ่ คาร์ล บ็อก เดินทางมาถึงเชียงราย เขาเล่าว่า ปลาร้าและเกลือ เป็ นอาหารทีส่ ำ� คัญมากของชุมชนแถบนี้ ...กลิน่ อาหารทีแ่ พร่กระจายกลบกลิน่ อืน่ ๆ หมดคือ กลิน่ คาวปลา ซึง่ เหมือนกับพวกสเปนทีไม่ ่ เคยขาดอาหารประเภทมีกลิน่ กระเทียม ทีมี่ กลิน่ อย่างนี้ ก็เพราะอาหารทุกอย่างจะต้องเจือปลาเน่าทีพ่ วกพม่าเรียกว่า งาปิ (ปลาร้า?) อยูเ่ สมอ ...ข้าวทีกิ่ นส่วนมากมักจะต้มหรือ นึง่ ใส่กระชุเล็กๆ ยกมาให้แต่ละคน เป็ นรายตัว และมักมีเกลือเม็ดยกมาต่างหากด้วย มีหลายคนเอาเกลือติดตัวไว้ ั ้ นก้อน แล้วจิ้มปลาร้าเหม็น เป็ นประจ�ำ แล้วใช้มอื หยิบข้าวจากกระชุมาปนเป็ หรือแกง... (Phantharangsi and Theekhara, 2007: 282)

118


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ั ้ นเผากลุม่ นี้พบเป็ นจ�ำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็ น 2.2 ตะเกียงแขวน เครือ่ งปนดิ ของกลุ่มเตาพาน ตะเกียงเหล่านี้อาจจะใช้ในบ้านของผูม้ ฐี านะหรือวัดก็ได้ แต่แสงไฟ ั ้ นเผากลุม่ นี้แสดงให้เห็นถึงการมีชมุ ชนอาศัยอยูใ่ นพืน้ ที่ และเป็นจุดหมาย จากเครือ่ งปนดิ ของคนเดินทางทีผ่ า่ นไปมาในช่วงเย็นถึงค�่ำได้แวะพักก่อนเดินทางต่อไปในวันรุง่ ขึน้

ภาพที ่ 6 ตะเกียงแขวน พบทีว่ ดั เวียงเชียงรุง้ กลุม่ เตาล้านนาทีผ่ ลิตตะเกียงแขวนมาก คือ กลุม่ เตาพาน และเวียงกาหลง

2.3 กล้องยาสูบหรือกล้องบูยา ในรายงานของ เฮอร์เบิรท์ วาริงตัน สมิท นักธรณีวทิ ยาชาวอังกฤษที่เข้ามาในล้านนาในสมัยรัชกาลที่ 5 กล่าวว่า พวกที่ใช้ กล้องยาสูบเหล่านี้เป็ น “...พ่อค้าทีม่ าจากทางเหนือคล้ายชาวพม่า พวกเขาสูบยาจาก กล้องยายาวๆ สวมกางเกงสีน้ �ำเงิน...” (Thongtan, 2001: 55)

ภาพที ่ 7 กล้องยาสูบ พบทีว่ ดั เวียงเชียงรุง้ กล้องยาสูบแบบนีพ้ บทัวไปในเมื ่ องต่างๆ ภายในอาณาจักรล้านนา ั แต่ปจจุบนั ยังไม่ทราบว่ากล้องยาสูบเหล่านี้มแี หล่งผลิตอยูท่ ใ่ี ดแน่

ในขณะทีค่ าร์ล บ็อกกล่าวว่า คนเมือง พวกเงีย้ วและหญิงชาวมูเซอร์นิยมใช้ กล้องยาสูบ “...ชาวเหนือนิยมสูบยาด้วยกล้องสูบกันทุกเพศทุกวัย...” (Fine Arts, Department, 1975: 102) จากหลัก ฐานดัง กล่า วนี้ สันนิ ษฐานว่า ในเวีย งเชีย งรุ้ง คงจะเป็ นแหล่งรวมของผูค้ นจากทีต่ ่างๆ อาจจะเข้าตัง้ ถิน่ ฐาน หรือแวะพักค้าขายแล้ว เดินทางต่อไปยังทีอ่ น่ื อนึ่งการพบโบราณวัตถุทม่ี ใิ ช้เป็ นของทีผ่ ลิตในพืน้ ที่ แต่เป็ นของทีผ่ ลิตจาก พืน้ ทีต่ า่ งๆทังภายในและภายนอกอาณาจั ้ กร แสดงให้เห็นว่าเวียงเชียงรุง้ เป็นทีร่ วมของผูค้ น จากทีต่ ่างๆซึง่ น�ำของเหล่านัน้ เข้ามา 119


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

ภาพที ่ 8 - 9 ผูห้ ญิงมูเซอ (ซ้าย) ผูช้ ายเงีย้ ว (ขวา) (Phantharangsi and Theekhara, 2007: 279, 169)

เวียงเชียงรุง้ ในระบบการปกครองของล้านนา ล้านนาแบ่งการปกครองออกเป็นส่วนต่างๆ ดังนี้ 1. ศูนย์กลาง หมายถึง หน่วยการปกครองสูงสุด ตังอยู ้ ท่ เ่ี ชียงใหม่อนั เป็นทีป่ ระทับ ของพระมหากษัตริย์ เป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ และแนวความเชือ่ 2. เมือง หมายถึง หน่ วยการปกครองส่วนภูมภิ าคทีม่ อี �ำนาจรองลงไปจาก ศูนย์กลาง ประกอบด้วยเมืองต่างๆ ดังนี้คอื ล�ำพูน ล�ำปาง ฝาง พร้าว พะเยา เชียงราย และเชียงแสน ส�ำหรับผูป้ กครองในระดับเมืองนัน้ หากเป็ นเมืองส�ำคัญ ศูนย์กลางจะส่ง เชือ้ พระวงศ์ออกไปปกครอง ส่วนเมืองอืน่ ๆ อาจจะเลือกเชือ้ สายผูป้ กครองเมืองเดิมหรือ ส่งขุนนางทีไ่ ว้พระทัยเข้าไปปกครอง 3. พันนา หมายถึง หน่วยการปกครองทีอ่ ยูภ่ ายใต้ศนู ย์กลางและเมือง หรือ กล่าวอีกนัยหนึง่ ว่า ทังศู ้ นย์กลางและเมืองมีพนั นาเป็นบริวาร ดังจะเห็นได้จากเมือ่ พระยาแสนภู ทรงสร้างเมืองเชียงแสน พระองค์ได้กำ� หนดให้เชียงแสนมีพนั นาเป็ นบริวาร 32 พันนา (Chotesukrat, 1977: 38) ในแต่พนั นามีผปู้ กครองต�ำแหน่งหมืน่ ดูแล เช่น หมืน่ เรืองปกครองพันนาท่ากาน หมื่น ทวรปกครองพัน นาทวร เป็ น ต้น หน้ า ที่ข องพัน นาคือ ส่ ง ส่ ว ยและก� ำ ลัง คน ให้กบั เมืองทีข่ น้ึ อยูด่ ว้ ย เช่น “...ส่วยเจ้าทัง้ หลาย ก็ยนื ่ ถวายเจ้าตนกินเมือง” หรือ “... คนส่วยเข้าหือ้ ไว้กบั แคว้น สิง่ สินอากรอันเป็ นส่วยเข้าเท่ารูเ้ อากับเจ้าแคว้น...” และเมือ่ มีการท�ำสงครามพวกพันนาต่างๆ จะถูกเกณฑ์มาช่วยในการท�ำสงคราม “...ยามนัน้ ผูก้ นิ เมืองเชียงแสนจัดเครือ่ งลูกพันนา 130,000 เครือ่ ง” (Chotesukrat, 1977: 38) 4. บ้า น หมายถึง หน่ ว ยการปกครองที่อ ยู่ภ ายใต้พ นั นา ส่ว นใหญ่ แ ล้ว บ้านมักจะไม่คอ่ ยสัมพันธ์กบั เมืองและศูนย์กลางมากนัก ค�ำสังจากส่ ่ วนกลางทีเ่ ข้ามาสู่ บ้านนัน้ จะผ่านมายังเมืองสูพ่ นั นา และส่งเข้ามาในหมูบ่ า้ นอีกต่อหนึ่ง เนื่องจากความอุดมสมบูรณ์และความส�ำคัญของพืน้ ทีด่ งั ทีก่ ล่าวมาแล้วในข้างต้น 120


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ท�ำให้เวียงเชียงรุง้ ถูกก�ำหนดให้เป็ นพันนาหนึ่ง เรียกว่าพันนาเชียงรุง้ ซึง่ มีหลักฐาน ปรากฏในสมัยพระเจ้าติโลกราช เมือ่ พระองค์ขน้ึ ครองราชย์ทเ่ี มืองเชียงใหม่ ได้โปรดให้ นายร้อ ยก้ อ นทองมาเป็ น หมื่น ขวาที่พ ัน นาเชีย งรุ้ง “...ในกาละเมือ่ พะญาผู้ชือ่ ท้าวติโลกะติลกสารราชาธิบดีสรีธรรมิกะจักะวัดติราชเจ้า เสวยในเมิงเนาวะชาติบรุ เี ชียงใหม่ ใส่กผู ชู้ อื ่ ร้อยก้อนทองมาเป็นหมืนขวาในพั ่ นนาเชียงรุง้ ...” (Thongchai, 2011: Appendix 6.1) ข้อความดังกล่าวปรากฏในจารึกวัดเวียงเชียงรุง้ ซึง่ เป็นหลักฐานลายลักษณ์อกั ษร เพีย งชิ้น เดีย วที่ก ล่ า วถึง เวีย งเชีย งรุ้ง ทัง้ นี้ เ นื่ อ งจากเมื่อ ตรวจสอบเอกสารต่ า งๆ ไม่พบชือ่ “เวียงเชียงรุง้ ” ปรากฏอยูใ่ นเอกสารใดๆ เลย แม้เมือ่ ตรวจสอบรายชือ่ พันนา ของเชีย งแสน เชีย งราย และพะเยาก็ไ ม่พ บชื่อ พัน นาเชีย งรุ้ง อยู่ใ นรายชื่อ พัน นา ของเมืองทัง้ สามเช่นกัน ซึง่ อาจจะเป็ นไปได้ว่าเวียงเชียงรุง้ เพิง่ จะตัง้ ขึน้ เป็ นพันนาใน สมัยพระเจ้าติโลกราช เวียงเชียงรุ้งในบริ บทของเมืองในเขตภูมิภาคตอนบน เวียงเชียงรุ้งในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 21-22 ...ศรีสทิ ธิจงจ�ำเริญ ในกาลเมือ่ พญาผูช้ อื ่ ท้าวติโลกติลกสารราชาธาชธิปติศรี ธรรมิกจักรวรรดิราชเจ้า เสวย(ราชย์) ในเมืองเนาวชาติบุรศี รีเชียงใหม่ ไส้ กูผู้ชอื ่ ร้อยก้อนทอง มาเป็นหมืน่ ขวา ในพันนาเชียงรุง้ นี้ เมือ่ ปีรวายสัน เดือน 11 แรม 2 ค�ำ่ ไทย (ว่า) วันเบิกไจ้ เม็ง (ว่า) วันพฤหัส...ในปีเปิกเส็ด เดือน4 แรม5ค�ำ่ ไทย (ว่า) วันเมืองเป้า ตนกูมนื ่ ขวามาท�ำบุญทีน่ ี.่ .. (Thongchai, 2011: Appendix 6.1) ข้อความทีป่ รากฏในจารึกวัดเวียงเชียงรุง้ ข้างต้น แสดงให้เห็นว่าในระหว่าง ปี พ.ศ. 2019 และพ.ศ. 2024 ได้ปรากฏพันนาเชียงรุง้ ซึง่ ตังอยู ้ ใ่ นบริเวณไม่หา่ งจากสบลาว มากนัก และเข้าใจว่าคงจะเป็นพันนาทีส่ ำ� คัญไม่นอ้ ย ทังนี ้ ้เพราะเมือ่ ดูจากจ�ำนวนพระสงฆ์ ทีเ่ ข้าร่วมในพิธี “...ท�ำบุญตัง้ สังฆสีมา...ฝงั หินจารึก...” กับหมื่นขวาเจ้าพันนาเชียงรุง้ มีถงึ 11 องค์ และส่วนใหญ่ลว้ นเป็นพระสงฆ์ชนั ้ ผูใ้ หญ่แทบทัง้ สิน้ เช่น พระมหาสามี (วัด) ปา่ รวกและมหาสามีวดั ดอนยาง เป็ นต้น นอกจากจารึกดังกล่าวแล้วยังพบหลักฐานทางด้านโบราณคดีอ่นื ๆ ทีม่ อี ายุ สอดคล้องกับจารึกหลักนี้ดว้ ย เช่น 1. พระพุทธรูป พระพุทธรูปทีพ่ บในเวียงเชียงรุง้ มี 4 องค์ เป็ นพระพุทธรูป หินทราย ประทับนัง่ ปางมารวิชยั สกุลช่างพะเยาอายุอยูใ่ นราวพุทธศตวรรษที่ 21 2. เครื่องปัน้ ดิ นเผา ประกอบด้วย 2.1 เครื่องปัน้ ดิ นเผาจากกลุ่มเตาเกาะน้ อย สันนิษฐานว่ามีอายุ อยูใ่ นช่วงพุทธศตวรรษที่ 20-22 (Pinsri et al., 1992: 116) 121


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

ั ้ นเผา 2.2 เครื่องปัน้ ดิ นเผาจากกลุ่มเตาล้านนา ประกอบด้วย เครือ่ งปนดิ จากกลุม่ เตาพาน พะเยา และเวียงกาหลง สันนิษฐานว่ามีอายุอยูใ่ นราวพุทธศตวรรษที่ 20-24 (Thongchai, 2011: Appendix 6.1) 2.3 เครือ่ งปัน้ ดินเผาจีน ชนิดลายคราม (ชนิดเขียนลวดลายสีน้ำ� เงินใต้เคลือบ) ซึง่ ดร.ปริวรรต ธรรมปรีชากร (หัวหน้าแผนกวิจยั และส่งเสริมการศึกษา พิพธิ ภัณฑสถานเครือ่ ง ั ้ นเผา จาก ถ้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ) อธิบายว่า เป็นเครือ่ งปนดิ กลุม่ เตาจิง๋ เต๋อเจิน้ มณฑลเจียงซี สมัยราชวงศ์หมิง รัชสมัยจักรพรรดิเจิน้ ถงถึงรัชกาล จักรพรรดิเทียนซุ่น สันนิษฐานว่ามีอายุอยูใ่ นราวพุทธศตวรรษที่ 20

ั ้ นเผาจีนสมัยราชวงศ์หมิง ชนิดเขียนลายใต้เคลือบสีน้� ำเงิน พบทีเ่ วียงเชียงรุง้ ภาพที ่ 10 เครือ่ งปนดิ ปจั จุบนั จัดแสดงทีว่ ดั เวียงเชียงรุง้

เวียงเชียงรุ้งก่อนรัชสมัยพระเจ้าติ โลกราช จากหลักฐานทีไ่ ด้จากขุดค้นทางด้านโบราณคดีพบว่า ในบริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำ กก-อิง-โขง มีการอยู่อาศัยของชุมชนมาตัง้ แต่สมัยหินเก่าแล้ว เนื่องจากการขุดค้น ทางโบราณคดีของวีรพันธ์ มาไลยพันธุ์ และนักศึกษาคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร ในบริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น้ำ� โขงและแม่น้ำ� ค�ำ ท้องทีอ่ ำ� เภอเชียงแสน ได้พบเครื่องมือ หินกะเทาะแบบขูดสับและสับตัด (chopper-chopping tools) ซึง่ ก�ำหนดอายุอยูใ่ น ราว 200,000-10,000 ปีมาแล้ว (Fine Arts, Department, 1996: 43) เครือ่ งมือดังกล่าว จัดเป็ นเครือ่ งมือเครือ่ งใช้ของชุมชนในสมัยหินเก่าและหินกลางหรือในสมัยไพลสโตซีน ตอนปลาย ซึง่ เป็ นสมัยของชุมชนทีด่ ำ� รงชีวติ ด้วยการร่อนเร่หาของปา่ ล่าสัตว์และยังไม่ ตัง้ ถิน่ ฐานถาวร (hunting and food gathering) สันนิษฐานว่าการรวมกลุ่มมีขนาด ไม่ใหญ่มากนัก อาจจะเพียง 1-2 ครอบครัวเท่านัน้ เพือ่ ให้การเคลือ่ นย้ายมีความคล่องตัว จากชุมชนร่อนเร่และด�ำรงชีพด้วยการหาของป่าล่าสัตว์ พัฒนามาสู่ชุ ม ชน ท� ำ เกษตรกรรม มีก ารตัง้ บ้ า นเรือ นอยู่ อ ย่ า งถาวร แต่ ไ ม่ ม ีห ลัก ฐานว่ า ชุมชน เกษตรกรรมเหล่านี้มคี วามต่อเนื่องมาจากชุมชนหาของป่าล่าสัตว์หรือไม่ แต่จาก หลักฐานทีพ่ บ ท�ำให้ทราบว่ามีชมุ ชนท�ำเกษตรกรรมตังถิ ้ น่ ฐานอยูใ่ นพืน้ ทีน่ ้ี การตังบ้ ้ านเรือน ั ่ อยู่อาศัยมีลกั ษณะกระจายอยู่ทวไป ั ่ ทัง้ บริเวณริมฝงแม่น้� ำ และบริเวณทีร่ าบเชิงเขา 122


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

การรวมกลุม่ น่าจะมีจำ� นวนมากขึน้ ในแต่ละกลุม่ การปรากฏตัวของชุมชนสมัยนีอ้ ธิบายได้จากการพบเครือ่ งมือหินขัดและเครือ่ งประดับ หินทีพ่ บในพืน้ ที่ เช่น มีดหินทีบ่ า้ นร่องเบ้อนอก ต�ำบลห้วยสัก อ�ำเภอเมือง เครือ่ งมือหินขัด คล้ายสิว่ ทีบ่ า้ นหนองบัว ต�ำบลผางาม อ�ำเภอเวียงชัย เครือ่ งมือหินขัดคล้า ยใบหอกและ ขวานที่อ� ำ เภอแม่ จ ัน เครื่อ งมือ หิน ขัด ที่พ บทัว่ ไปในบริเ วณทีเ่ ป็นเนินเขาเตีย้ ๆ ใน เขตจังหวัดเชียงราย รวมทังชิ ้ น้ ส่วนก�ำไลหิน ทีพ่ บทีบ่ า้ นต้นฮ้าง อ�ำเภอแม่จนั และโกลนแผ่นหิน ทีน่ �ำมาเจาะเพือ่ ท�ำก�ำไลหิน จากแหล่งโบราณคดีบา้ นไร่ ต�ำบลบ้านดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด เชียงราย เป็ นต้น (Fine Arts, Department, 1996: 22-25) เครื่องมือหินขัดเหล่านี้นบั เป็ นเครื่องมือของชุมชนท�ำการเกษตรในยุคแรกๆ เครือ่ งมือหินเหล่านี้ ถูกน�ำมาฝนและขัดจนคม เพือ่ ใช้ในกิจกรรมการเพาะปลูกและใช้ใน ครัวเรือน หลักฐานอีกกลุม่ ของชุมชนท�ำการเกษตร คือ กลองมโหระทึกส�ำริดหรือกลองกบ ซึ่งพบที่เวียงหนองหล่ม อ�ำเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย (ปจั จุบนั เก็บรักษาอยู่ ท่ี พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย) สันนิษฐานว่ากลองมโหระทึก เหล่านี้นอกจากใช้ในการท�ำสงครามแล้ว ยังใช้ในพิธขี อฝนเพือ่ ให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ฉะนัน้ การพบกลองส�ำริดจึงสอดคล้องกับการท�ำมาหากินของคนในพืน้ ทีน่ ้ีทม่ี วี ถิ ที ำ� กิน อยู่กบั การเกษตรซึง่ ต้องอาศัยน�้ ำจากธรรมชาติหรือน�้ำจากฟ้า ต่ อ จากสมัย ก่ อ นประวัติส าสตร์ ที่ร าบลุ่ ม แม่น้� ำ กก-อิง -โขง ได้ก้า วเข้า สู่ สมัยประวัตศิ าสตร์ ซึง่ เป็ นยุคของการรวมตัวกันเป็ นเมือง ในต�ำนานปรากฏเมืองต่างๆ ในแถบนี้มากมายหลายเมือง เช่น เมืองสุวรรณโคมค�ำและเมืองโยนกนาคพันธุน์ ครหรือ นาคพันธุสงิ หนวัตนิ คร แม้ว่าจะไม่พบหลักฐานของเมืองเหล่านี้มากนักพบแต่เพียง เรือ่ งเล่าในต�ำนาน แต่สงิ่ เหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการมีชมุ ชนอาศัยอยูแ่ ล้วในพืน้ ทีน่ ้ี การพัฒนาอีกขัน้ ทีส่ ำ� คัญคือ การตัง้ แคว้นหิรณ ั นครเงินยาง โดยลวจังกราช แคว้นดัง กล่ า วนี้ นั บ เป็ น ฐานอ� ำ นาจส�ำ คัญ ในการก่ อ รูป ของอาณาจัก รล้า นนาใน ช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 ั บนั นีย้ งั ไม่สามารถระบุได้วา่ เมืองหิรญั นครเงินยาง ตังอยู ในปจจุ ้ ท่ ใ่ี ดแน่ จิตร ภูมศิ กั ดิ ์ สันนิษฐานว่า เมืองนี้ตงั ้ อยูใ่ นเขตอ�ำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (Phumisak, 1976: 117) จากเมืองหิรณ ั นครได้มกี ารขยายเมืองออกไปในเขตทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำกก-อิง-โขง อย่า งกว้า งขวาง ในรูปของการสร้า งบ้า นแปงเมือ ง และเมืองต่ า งๆ เหล่า นี้ ต่ อมา ได้ก ลายเป็ น ฐานอ� ำ นาจส�ำ คัญ ในการก่ อ รูป อาณาจัก รล้า นนาของพระยามัง ราย พัฒนาการทางการเมืองทีส่ ำ� คัญของแคว้นหิรณ ั นครเงินยางประกอบด้วย 123


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

1. การแยกตัวออกไปตังเมื ้ องภูกามยาว สมัยขุนจอมธรรมได้มกี ารแยกตัวออกไป ตัง้ เมืองภูกามยาวในเขตทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำอิง (Phraya Prachakit Korachak, 1972: 232) ภูกามยาวเป็นแคว้นทีม่ คี วามเข้มแข็งมาก จนสามารถแข่งขันอ�ำนาจกับแคว้นหิรณ ั นครเงินยาง ได้ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 ผูป้ กครองทีส่ ร้างความเข้มแข้งให้กบั แคว้นภูกามยาวคือ พระยาเจือ๋ ง โอรสของ ขุนจอมธรรม ในต�ำนานไม่ระบุเวลาว่าพระยาเจือ๋ งมีอำ� นาจอยูใ่ นช่วงใด กล่าวแต่เพียง ความยิง่ ใหญ่ของพระยาเจือ๋ ง เป็ นทีน่ ่าสังเกตว่าความยิง่ ใหญ่ของพระยาเจือ๋ งนัน้ มิไ ด้ ปรากฏเฉพาะในเขตทีร่ าบลุ่มแม่น้� ำกก-อิง-โขงเท่านัน้ แต่พระยาเจือ๋ งยังเป็ นทีร่ ูจ้ กั โดยทัวไปในฐานะบรรพบุ ่ รษุ ของชุมชนต่างๆ ของเขตภูมภิ าคตอนบนอีกด้วย 2. การตัง้ อาณาจัก รล้ านนาในสมัย พระยามังราย พระยามัง รายเป็ น เชือ้ สายทีส่ บื ทอดโดยตรงมาจากลวจังกราชผูก้ อ่ ตังแคว้ ้ นหิรณ ั นครเงินยาง ทรงเป็นพระราชโอรส ของพระยาลาวเม็งกับพระนางเทพค�ำข่ายพระธิดาเจ้าเมืองเชียงรุง้ (สิบสองพันนา) จากหลัก ฐานดัง กล่ า วในข้า งต้น แสดงให้เ ห็น ว่ า ในเขตภู ม ิภ าคตอนบน ได้ปรากฏชุมชนมาแล้วตัง้ แต่ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์ตอ่ เนื่องมาถึงสมัยประวัตศิ าสตร์ มี การรวมตัวตังเป็ ้ นเมืองขึน้ ในบริเวณต่างๆ สันนิษฐานว่า เมืองเหล่านีม้ ไิ ด้อยูก่ นั อย่างโดดเดีย่ ว แต่มคี วามสัมพันธ์ตดิ ต่อกันทัง้ ทางด้านการค้าและการท�ำสงครามแย่งชิงอ�ำนาจ ตัว อย่า งของความสัม พัน ธ์ท างการค้า เช่ น ต� ำ นานเมือ งพะเยา ฉบับ หอสมุ ด แห่ ง ชาติ กล่ า วถึง ความสัม พัน ธ์ท างด้า นเศรษฐกิจ ระหว่ า งชุ ม ชนไตและ ชุมชนลัวะ ในต�ำนานเล่มนี้เล่าว่า ลัวะเป็นชุมชนทีต่ งั ้ บ้านเรือนอยูใ่ นเขตทีส่ งู มีอาชีพท�ำ ไร่ทำ� นามีรายได้จากการน�ำผลผลิตทีไ่ ด้ลงมาขายให้กบั กลุม่ ไต ซึง่ อาศัยอยูใ่ นเมืองลุม่ (Wichiankhiaw, 1976: 1) หรือต�ำนานพื้นเมืองเชียงใหม่กล่าวถึง การค้าระหว่าง เมืองหริภุญไชยกับเมืองฝาง (Chotesukrat, 1972: 11) เป็ นต้น ตัว อย่ า งของการท� ำ สงครามแย่ ง ชิง อ� ำ นาจ เช่ น การขยายอ� ำ นาจของ พระยาเจือ๋ งแห่งเมืองภูกามยาว หรือการท�ำสงครามเพือ่ รวบรวมแคว้นหิรณ ั นครเงินยาง ในสมัยพระยามังราย เป็ นต้น (Chotesukrat, 1972: 11) ในจ�ำนวนเมืองต่างๆ ทีต่ งขึ ั ้ น้ ในเขตภูมภิ าคตอนบนตามทีก่ ล่าวมาแล้วนัน้ อาจจะ มีเวียงเชียงรุง้ รวมอยูด่ ว้ ยก็ได้ ทัง้ นี้เพราะโบราณวัตถุทเ่ี ก็บรวบรวมไว้ในวัดมีหลักฐาน กลุ่ ม หนึ่ ง ประกอบด้ว ย กลุ่ ม เครื่อ งมือ หิน ขัด เครื่อ งมือ ที่ท�ำ ด้ว ยส�ำ ริด และเหล็ก ซึง่ เป็ นกลุ่มเครื่องมือที่นิยมใช้กนั มาตัง้ แต่สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม การพบหลัก ฐานกลุ่ ม นี้ อ าจจะมิไ ด้ ห มายความว่ า มีก ารตัง้ ชุ ม ชนที่น่ี ม าตัง้ แต่ สมัยก่อนประวัตศิ าสตร์ แต่มหี ลักฐานบางชิน้ ทีส่ ามารถอธิบายได้วา่ บริเวณเวียงเชียงรุง้ มีการรวมตัวเป็นชุมชนมาตัง้ แต่สมัยพุทธศตวรรษที่ 19 แล้ว หลักฐานเหล่านี้ประกอบด้วย 124


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ั ้ นเผาจีน ชนิดเซลาดอน 2 ชิน้ 1. ชิ้ นส่วนของจาน-ชาม ในกลุ่มเครื่องปนดิ ั ้ นเผาทัง้ สองเป็ นชิน้ ส่วนของ ที่ ดร.ปริวรรต ธรรมปรีชากร ก�ำหนดอายุวา่ เครือ่ งปนดิ จาน-ชามจากกลุม่ เตาหลงเฉวียน (หลงฉวน) มณฑลเจ้อเจียง ผลิตในสมัยราชวงศ์เหยีย๋ น (หยวน) มีอายุอยูใ่ นราวกลาง-ปลายพุทธศตวรรษที่ 19 2. จารึ ก วัด เวี ย งเชี ย งรุ้ ง ซึ่ง พบบริเ วณศาลเจ้ า แม่ ค� ำ แตง ด้ า นหน้ า วัดเวียงเชียงรุง้ จารึกหลักนี้เหลือข้อความเพียง 4 บรรทัด มีขอ้ ความว่า (1) . . . . . . . . บ . . (2) . บบจ๖จยา . . (3) . เวทน๕า[บจ๖จ]ย (4) . . . . . . . . . . ศรีเลา เกษพรหม และ อภิรดี เตชะศิรวิ รรณ อธิบายว่า ข้อความดังกล่าวเป็น บทสวดปะฏิจจะสะมุปปาทะปาฐะ ทีเ่ ริม่ ด้วย “อะวิชชาปจั จะยา สังขารา สังขาระ ปจั จะยา” . . . จบที่ “ทุกขักขันธัสสะ นิโรโธ โหติ” สิง่ ทีน่ ่ าสนใจของจารึกหลักนี้คอื ตัวอักษรทีจ่ ารึกเป็ นอักษรธรรมล้านนาซึง่ มี รูปร่างที่ยงั คงผสมผสานกับอักษรมอญโบราณ ซึ่งนิยมใช้กนั ในสมัยพระยามังราย (Thongchai, 2011: Appendix 6.2) เวียงเชียงรุ้งในสมัยหลังพุทธศตวรรษที่ 22 จากโบราณวัตถุกลุ่มหนึ่งทีพ่ บในวัดเวียงเชียงรุง้ แสดงให้เห็นว่า ในพืน้ ทีน่ ้ี มีชุมชนอาศัยอยูต่ ่อเนื่องมาจนถึงในช่วงพุทธศตวรรษที่ 24-25 โบราณวัตถุกลุ่มนี้คอื ก้อนอิฐขนาดต่างๆทีจ่ ารึกตัวอักษรและรูปสัตว์ (Thongchai, 2011: Appendix 6.3) ซึง่ ท่านรองเจ้าอาวาสกล่าวว่ามักพบเสมอเมือ่ มีการถางปา่ และขุดดินปลูกต้นไม้ จากการตรวจสอบ ตัวอักษรบนก้อนอิฐของศรีเลา เกษพรหมและอภิรดี เตชะศิรวิ รรณ เจ้าหน้าทีค่ ลังข้อมูล ล้านนา สถาบันวิจยั สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่าตัวอักษรเหล่านีน้ ่าจะมีอายุอยูใ่ นราว พุทธศตวรรษที่ 24-25 อายุของตัวอักษรบนก้อนอิฐเหล่านี้ดจู ะสอดคล้องกับบันทึกการเดินทางของ ชาวตะวันตกทีเ่ ดินทางเข้ามาท�ำกิจกรรมต่างๆในเขตภูมภิ าคตอนบน ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 25 ตัวอย่างของชาวตะวันตกเหล่านี้ประกอบด้วย 1. เฮอร์เ บิ ร์ท วาริ ง ตัน สมิ ธ นั ก ธรณี วิ ท ยาชาวอัง กฤษ ข้า ราชการ ชาวต่างประเทศในกรมราชโลหกิจและภูมวิ ทิ ยาของรัฐบาลสยาม ในระหว่างปี พ.ศ. 24382439 ได้รบั แต่งตัง้ เป็นเจ้ากรมราชโลหกิจและภูมวิ ทิ ยา มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบงานส�ำรวจและ ตรวจสอบแหล่งแร่ในเมืองต่างๆเมือ่ มีผมู้ าขออนุญาตขุดและท�ำเหมืองแร่ ในปี พ.ศ. 2435 เขาได้รบั มอบหมายจากรัฐบาลสยามให้ด�ำเนินการส�ำรวจ 125


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

ภูมปิ ระเทศในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำโขงตอนบนเพือ่ ตรวจสอบหาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุทุกแห่งทีส่ ามารถรวบรวมได้ในการเดินทางครัง้ นี้ เขาเริม่ เดินทางจากกรุงเทพฯขึน้ มาทางภาคเหนือก่อน ผ่านชัยนาท อุตรดิตถ์ พิษณุโลก น่าน เชียงของและข้ามแม่นำ้� โขงไปยังเมืองหลวงพระบาง จากนัน้ จึงเดินทางกลับกรุงเทพฯ โดย ใช้เส้นทางผ่านเมืองหนองคายและโคราช (Thongton, 2001: 1) 2. คาร์ล บ็อค (Carl Bock) นักธรรมชาติวทิ ยาชาวนอร์เวย์ จุดประสงค์สำ� คัญ ในการเดินทาง คือ ส�ำรวจทางด้านภูมศิ าสตร์และธรรมชาติวทิ ยาทางภาคเหนือในระหว่าง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2424-มิถุนายน พ.ศ.2425 เขาเริม่ เดินทางจากกรุงเทพฯ ปากน�้ำโพ ก�ำแพงเพชร ระแหง ล�ำปาง เชียงใหม่ เชียงรายและเชียงแสน แล้วเดินทางกลับ กรุงเทพฯ โดยใช้เส้นทางเดิม 3. ปิ แอร์ โอร์ต นักกฎหมายชาวเบลเยีย่ ม ท�ำหน้ าที่เป็ นผูช้ ่วยเจ้าพระยา อภัยราชา(โรลัง จักแมงส์)ทีป่ รึกษาทางด้านกฎหมายในสมัยรัชกาลที่ 5 ในปี พ.ศ. 2440 ได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็นหนึ่งในคณะกรรมการอนุญาโตตุลาการ ขึน้ มาเชียงใหม่เพือ่ สอบสวน คดีท่นี ายอีว ี เคลเลตท์ รองกงสุลอเมริกนั ถูกทหารยามท�ำร้าย โดยท�ำงานร่วมกับ นายจอห์น บาเรตท์ ราชทูต นายอีอวี ี เคลเลตท์เป็ นรองกงสุลที่ทางสหรัฐอเมริกา ส่ง มาประจ�ำ ที่เ ชีย งใหม่เ พื่อ คุ้ม ครองทรัพ ย์ส ิน ของหมอชีก อดีต หมอสอนศาสนา ที่หนั มาท�ำธุรกิจปา่ ไม้ ในขณะทีก่ ารพิจารณาคดีกำ� ลังจะเสร็จสิน้ เขาได้รบั ค�ำสังจากพระยา ่ อภั ย ราชาให้ อ อกไปเยี่ ย มหั ว เมื อ งต่ า งๆ ในเขตภาคเหนื อ และภาคอี ส าน (Chanthorawithan, 1996: 33-37) เป็ นทีน่ ่ าสนใจว่าในบันทึกการเดินทางของชาวต่างประเทศเหล่านี้ นอกจาก จะบันทึกเรือ่ งราวทีเ่ ป็ นจุดประสงค์หลักของการเดินทางของแต่ละคนแล้ว พวกเขายัง ได้บนั ทึกเรือ่ งราวต่างๆ ทีพ่ บเห็นตามเส้นทางทีไ่ ด้ผา่ นไปมา เช่น ปิแอร์ โอร์ต บันทึก เรือ่ งการค้าของพวกฮ่อทีเ่ มืองแม่ขซิ ง่ึ ตัง้ อยูบ่ นเส้นทางตัดระหว่างเชียงแสนและเชียงตุง และบันทึกถึงพ่อค้าชาวจีนทีล่ ำ� ปาง “...เมืองล�ำปาง ยังมีชาวจีนจ�ำนวนพอควรทีท่ �ำการ ค้าขายอยู.่ ..” (Chanthorawithan, 1996: 122 and 144) และเฮอร์เบิรท์ วาริงตัน สมิธ เล่ า เรื่อ งการเดิน ทางค้า ขายของกลุ่ ม พ่ อ ค้า บนเส้น ทางระหว่ า งน่ า นถึง เชีย งของ (Thongton, 2001: 44, 55) เป็ นต้น การสลายตัวของเวียงเชียงรุ้ง สันนิษฐานว่าเวียงเชียงรุง้ ค่อยๆ ร้างไปในช่วงทศวรรษที่ 2460 เมือ่ ทางรถไฟ ม าถึ ง ล� ำ ป า งแล ะเ ชี ย ง ใ ห ม่ ต า ม ล� ำ ดั บ พ ร้ อ มๆ กั บ กา รตั ด ถน น เชื่ อ มต่ อ เส้นทางคมนาคมระหว่างเมืองและชุมชนต่างๆ และมีการน�ำรถยนต์เข้ามาใช้ แม้วา่ บางพืน้ ที่ 126


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

รถยนต์ยงั ไม่สามารถเข้าถึงก็ตาม แต่การใช้ล้อเกวียน (วัวเทียมเกวียน) ก็เป็ นอีก ทางเลือกทีด่ ี ถึงจะไม่รวดเร็วเหมือนรถยนต์กต็ ามแต่กส็ ามารถบรรทุกสินค้าได้ครังละมากๆ ้ เหมือนการขนส่งด้วยรถยนต์ ด้วยเหตุน้ีการคมนาคมทางบกจึงมีความเจริญเติบโต มากขึน้ ในขณะทีก่ ารคมนาคมทางน�้ำค่อยๆ ลดบทบาทลง รวมทัง้ การพักระหว่างทาง ก็มคี วามจ�ำเป็ นน้ อยลงด้วย เมืองใดที่ถนนตัดผ่าน เมือ งนัน้ ก็ย งั คงมีบ ทบาทต่ อไป เช่น เชียงดาว ฝาง และเชียงราย ในขณะทีเ่ มืองทีอ่ ยูน่ อกเส้นทางค่อยๆ ร้างไปในทีส่ ดุ สัน นิ ษ ฐานว่ า เมื่อ การคมนาคมทางน�้ ำ เริ่ม ลดบทบาทลง การเดิน ทาง ทีม่ คี วามสะดวกและเร็วขึน้ รวมทัง้ การแวะพักระหว่างทางมีความจ�ำเป็ นน้อยลง ท�ำให้ การเดินทางผ่านเวียงเชียงรุง้ ลดน้อยลง เพราะเวียงเชียงรุง้ ตัง้ อยูบ่ นเส้นทางคมนาคม ทางน�้ ำ คือ น�้ ำกกและน�้ ำลาว อีกทัง้ เวียงเชียงรุง้ เองก็มไิ ด้เป็ นแหล่งผลิตสินค้าหลัก ที่ส�ำคัญ ฉะนัน้ จากความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ส่งผลให้ผูค้ นค่อยๆ อพยพออกไป จนกลายเป็ นเมืองร้างไปในทีส่ ดุ ช่วงทศวรรษที่ 2490 ต่อเนื่องมาจนถึงปี 2500 มีผคู้ นจากภาคอีสานอพยพหนี ความแห้งแล้งจากชุมชนเดิมเข้ามาตัง้ บ้านเรือนและท�ำไร่ท�ำนาอยู่บริเวณรายรอบ วัดเวียงเชียงรุง้ เป็ นจ�ำนวนมาก เนื่องจากเห็นว่าเป็ นบริเวณทีค่ วามอุดมสมบูรณ์ แต่ เ ป็ นที่ น่ า สัง เกตว่ า ไม่ ม ี ผู้ ค นกล้ า เข้ า ไปตั ง้ ถิ่ น ฐานอยู่ ใ นบริ เ วณ วัดเวียงเชียงรุง้ เลย ปล่อยให้เป็นทีร่ กร้างว่างเปล่า มีไร่นาของชาวบ้านตังอยู ้ ร่ ายรอบ ทีเ่ ป็นเช่นนี้ เพราะพวกเขาเชือ่ ว่าพืน้ ทีน่ ม้ี คี วามศักดิ ์สิทธิ ์ ลึกลับและน่ากลัวระคนกันไป จนกระทังในปี ่ พ.ศ. 2523 ได้ม ชี าวบ้า นกลุ่ม หนึ่ ง กับ นายโกเมศ ขุน ศรี ปลัดพัฒนาอ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย เข้าไปส�ำรวจในเวียงเชียงรุง้ ท�ำให้ทราบว่าบริเวณนี้ เคยเป็ นเมืองโบราณมาก่อน ท�ำให้มคี วามพยายามที่จะพัฒนาพื้นที่น้ี โดยเริม่ จาก ในปี พ.ศ. 2524 ได้มกี ารจัดตัง้ ส�ำนักวิปสั สนาวัดแก้วอุปการามเวียงเชียงรุง้ ซึง่ ต่อมา ั บนั วัดเวียงเชียงรุง้ ได้รบั การขึน้ ทะเบียนเป็นโบราณสถาน ได้พฒั นาเป็นวัดเวียงเชียงรุง้ ปจจุ จากกรมศิลปากร และจัดตังเป็ ้ นวนอุทยานประวัตศิ าสตร์เวียงเชียงรุง้ บทสรุป “เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน : ศึกษาจาก ั ้ นเผาเวียงเชียงรุ้ง เป็ นงานศึกษาโดยการบูรณาการหลักฐานชนิดทีเ่ ป็น เครื่องปนดิ ลายลักษณ์อกั ษรและหลักฐานโบราณคดี (หลักฐานชนิดไม่เป็นลายลักษณ์อกั ษร) เข้าด้วยกัน การศึกษาด้วยวิธกี ารนี้เป็ นแนวทางการศึกษาเรื่องเมืองโบราณในล้านนาที่ส�ำคัญ แนวทางหนึ่ง ทัง้ นี้เพราะเมืองโบราณในล้านนาส่วนใหญ่และมักจะไม่พบหลักฐาน ลายลักษณ์อกั ษรทีก่ ล่าวถึงมากนัก แต่ในทางกลับกันมักจะพบหลักฐานทางโบราณคดี 127


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

ั ้ นเผา ซากปรักหักพังของอาคารสถานที่ และชิ้นส่วนของพระพุทธรูป เช่นเครื่องปนดิ เป็นจ�ำนวนมาก เวียงเชียงรุง้ ก็เช่นเดียวกันพบหลักฐานทีเ่ ป็นลายลักษณ์อกั ษรเพียงชิน้ เดียว คือ จารึกวัดเวียงเชียงรุง้ ซึง่ ก็มไิ ด้อธิบายเกีย่ วกับเวีย งแห่ ง นี้ ม ากนั ก แต่ จ ากการส� ำ รวจ ั ้ นเผาจากกลุ่มเตาต่างๆ ทัง้ ล้านนา ในบริเวณทีเ่ ป็ นเวียงเชียงรุง้ ได้พบทัง้ เครื่องปนดิ สุ โ ขทัย และจีน ชิ้น ส่ว นของพระพุทธรูป และซากปรักหักพังของอาคาร ซึง่ สันนิษฐาน ว่าเป็ นศาสนสถาน เมือ่ น�ำหลักฐานเหล่านีม้ าศึกษาร่วมกับสภาพทีต่ งของวี ั้ ยงและหลักฐาน อืน่ ๆ ทังต� ้ ำนาน จารึก และเอกสารชาวต่างชาติทเ่ี ดินทางผ่านเข้ามาในบริเวณใกล้เคียง ท�ำให้สามารถสรุปได้วา่ ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 19-25 เวียงเชียงรุง้ เป็ นเมืองแวะพัก เมืองหนึ่งบนเส้นทางการค้าในเขตบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้� ำกก-ลาว มีทงั ้ ผู้คนเข้ามา อยูอ่ าศัยและแวะพักเพือ่ เดินทางต่อไปยังทีอ่ ่นื อนึ่ง ในช่วงปี 2557-2558 ได้มสี ำ� รวจวัดโบราณเวียงเดิม ต�ำบลเวียงเหนือ อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย ซึง่ ตัง้ อยูไ่ ม่หา่ งวัดเวียงเชียงรุง้ มากนัก กล่าวคือสามารถ มองเห็นวัดเวียงเชียงรุง้ ได้จากวัดโบราณเวียงเดิมได้ชดั เจน ส�ำหรับโครงการวัดโบราณ เวียงเดิม ในขณะนี้อยูใ่ นระหว่างการเก็บและวิเคราะห์หลักฐาน ซึง่ ส่วนใหญ่มลี กั ษณะ ั ้ นเผา พระพุทธรูป คล้ายคลึงกับหลักฐานทีพ่ บในเวียงเชียงรุง้ คือมีทงั ้ จารึก เครื่องปนดิ และซากปรักหักพังของอาคาร จากการท�ำงานไปได้ระยะหนึ่งท�ำให้ได้ขอ้ สรุปในเบือ้ งต้น ว่า ในเขตภาคเหนือตอนบนบริเวณทีร่ าบลุม่ แม่น้�ำกก-ลาว เป็นบริเวณทีม่ กี ารตัง้ ถิน่ ฐาน ของชุมชนกระจายอยูท่ วไป ั ่ แต่ละเมืองอาจท�ำหน้าทีเ่ ดียวกัน หรือต่างกันก็เป็ นได้





128




ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

References Chantharawithan, P. (Trans.). (1996). Thai Lanna in the Reign of King Rama V (ล้านนาไทยในแผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวง). Bangkok: Plan Printing Co., Ltd. Chotesukrat, J. (Trans.). (1972). Chiang Mai Chronicle (ต�ำนานพืน้ เมืองเชียงใหม่). Bangkok: Publication Committee of Historical Documents. Ditsayadet, P. et al. (1982). Survey Report of Wiang Chiang Rung (Wiang Hung) Wiangchai District, Chiang Rai (รายงานการส�ำรวจเวียงเชียงรุง้ (เวียงฮุง่ ) อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย). Academic Report 1 (5). (Typed Version). Fine Arts, Department. (1975). Records of Relations Between Siam and Foreign Countries in the 17th Century Volume 1 (บันทึกสัมพันธภาพระหว่าง กรุงสยามกับนานาประเทศในคริ สต์ศตวรรษที่ 17 เล่ม: 1). Bangkok: Karn Sassana Printing House. Fine Arts, Department. (1987). Thailand s Hundred Years Ago, from a Narrative: Carl Bock (เมืองไทยเมือ่ หนึ่ งร้อยปี จากบันทึกการเดินทางของคาร์ล บ็อค). Bangkok: Rungsilp Printing. Fine Arts, Department. (1990). Chiang Rai Archaeology (โบราณคดีเชียงราย). Bangkok: Victory Powerpoint Co., Ltd. Fine Arts, Department. (1996). Towns and Communities in Lanna (เมืองและแหล่ง ชุมชนในล้านนา). Bangkok: Idea Square. Hourte, P. (2003). Thai Lanna in the Reign of Rama V (ล้านนาไทยสมัย พระพุทธเจ้าหลวง). Bangkok: Saitharn Publishing. Khunsri K. and Chuenchom, S. (2010). Navarith Buddha Image of Wiang Chiang Rung Temple, Chiang Rai (พระพุทธนวฤทธิ์ วดั เวียงเชียงรุง้ อ�ำเภอเวียงเชียงรุง้ จังหวัดเชียงราย). Printed on the occasion of the monastic boundary ceremony of Wiang Chiang Rung (Ancient City) 7 March 2010, Chiang Rai: Chanthiang Printing. Lanna Custom Law: Transliteration No. 3 (กฎหมายล้านนา: ภาคปริวรรตล�ำดับที่ 3). (1975). Chiang Mai: Sociology and Anthropology, Faculty of Social Science, Chiang Mai University. Phantharangsi, S. and Theekhara, A. (Trans. and Eds.). (2007). Temples and Elephant: The Narrative Journey of Exploration Through Upper Siam 129


“เวียงเชียงรุง้ ” ชุมชนบนเส้นทางการค้าในเขตภาคเหนือตอนบน

อุษณีย์ ธงไชย

and Lao (ท้องถิ่ นสยามยุคพระพุทธเจ้าหลวง). Bangkok: Matichon. Phumisak, C. (1976). The Origin of Siamaese, Thai, Laotian, and Khmer and Social Characteristics of Nationality Names (ความเป็ นมาของค�ำสยาม ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ ). Bangkok: Social Science and Humanities Textbook Project, Association of Social Science of Thailand. Pinsri, K. et al. (1992). Sukhothai Pottery: the Development of Thai Potteries (เครื่องถ้วยสุโขทัย: พัฒนาการของเครื่องถ้วยไทย). Bangkok: Amarin Printing Group Co. Ltd. Prachakitkorachak (Chaem Boonnark), Phraya. (1972). Yonok Annals (พงศาวดารโยนก). Bangkok: Phraepitthaya. Tanrattanakul, J. (Trans. and Ed.). (1994). A Half Century among the Siamese and Lao: An Autobiography of the Reverend Daniel Macgilvary D.D. (กึง่ ศตวรรษในหมูค่ นไทยและคนลาว: อัตชีวประวัติของศาสนาจารย์ เดเนียล แมคกิ ลวารี ดี.ดี.). Bangkok: Samakkisara. Thongchai, U. (2011). Wiang Chiang Rung Pottery (เครือ่ งปัน้ ดินเผาเวียงเชียงรุง้ ). Chiang Mai: Department of History, Faculty of Humanities, Chiang Mai University. Thongtan, P. (Trans. and Ed.). (2001). Notes of a Journey on the Upper Mekong, Siam (บันทึกการเดิ นทางสู่แม่น�้ำโขงตอนบนประเทศสยาม). Bangkok: Fine Art Department. Wichiankhiaw, A. (Transliterator). (1976). Payao Chronicle National Archive Version (typed) (ต�ำนานเมืองพะเยาฉบับหอสมุดแห่งชาติ (พิ มพ์ดีด)). Wongthet, S. (1995). History and Cultural Development of Payao (ท้องถิ่นสยาม ยุคพระพุทธเจ้าหลวง). Bangkok: Matichon.

130


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิ สิตครูวิทยาศาสตร์ ในการสอนวิ ทยาศาสตร์ เอกภูมิ จันทรขันตี1 บทคัดย่อ งานวิจยั นี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ศึกษาการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ไปใช้ใ นการสอนวิท ยาศาสตร์ข องนิ ส ิต ครูว ิท ยาศาสตร์ กลุ่ ม ที่ศึก ษาได้แ ก่ นิ ส ิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ ชัน้ ปีท่ี 3 ของสถาบันผลิตครูแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 52 คน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาวิธกี ารสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในระดับมัธยมศึกษา ในภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสังเกตซึง่ มีลกั ษณะเป็นประเด็นการสังเกตปลายเปิดและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนือ้ หาและจัดกลุม่ (theme) พร้อมทังหาค่ ้ าความถีข่ องจ�ำนวนนิสติ ในแต่ละกลุ่มเนื้อหา ผลการวิจยั พบว่า นิสติ มีแนวทางการน� ำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 6 รูปแบบด้วยกัน คือ 1) ใช้คลิปวิดโี อหรือรูปภาพในขันน� ้ ำเข้าสูบ่ ทเรียนเพือ่ เร้าความสนใจและตรวจสอบความรูเ้ ดิม ของนักเรียน 2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารให้นกั เรียนสืบค้นข้อมูลเพิม่ เติม เพือ่ ประยุกต์ความรูท้ เ่ี รียนไปสูบ่ ริบทใหม่ 3) ใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ (visualizer) ร่วมกับ เครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์ (projector) เพือ่ อธิบายวิธกี ารทดลอง 4) ใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ ร่วมกับเครื่องฉายภาพโปรเจคเตอร์เพื่อให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน� ำเสนอผลการทดลอง ของตนเอง 5) ใช้ส่อื แอนนิเมชันหรื ่ อรูปภาพเพื่อสรุปแนวคิดทีเ่ รียน 6) ใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ งมือช่วยในการเรียนรู้ ค�ำส�ำคัญ : 1. นิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์. 2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร. 3. การสอนวิทยาศาสตร์.

1 อาจารย์ ดร. สาขาวิ ช าวิ ทยาศาสตร์ ศ ึ ก ษา ภาควิ ชาการศึ กษา คณะศึ กษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อีเมล feduepj@ku.ac.th

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 131-145, 2558


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์

เอกภูม ิ จันทรขันตี

Pre-service Science Teachers’ Use of Information and Communication Technology (ICT) to Teach Science

Ekgapoom Jantarakantee2 Abstract This research aimed to study the pre-service science teachers’ use of information and communication technology (ICT) to teach science. The participants were a cohort of 52 third year pre-service science teachers, who enrolled in the Science and Technology Learning Management at the Secondary Level course in the second semester of academic year 2013. The instrument was an open-ended observation form and interview protocol form. The data were analyzed using: 1) content analysis, 2) themes coding and generating and 3) calculating the frequency of the pre-service science teachers coded in each theme. The findings showed that the pre-service science teachers used ICT to teach science in 6 different ways. These are: 1) using video clip or picture to stimulate students’ interest and to check students’ prior knowledge, 2) encouraging students’ to explore the data and to apply knowledge to new context; 3) using visualizer and projector to explain experimental method, 4) using visualizer and projector to present students’ experimental results, 5) using animations or pictures to summarize the lesson and 6) using computer programs as learning tools. Keywords: 1.Pre-service Science Teachers. 2. Information and Communication Technology. 3. Science Teaching.

2 Lecturer, Ph.D. Science Education Division, Department of Education, Faculty of Education, Kasetsart University, Bangkok, Thailand. E-mail address: feduepj@ku.ac.th

132


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ความเป็ นมาและความส�ำคัญของปัญหา ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสมัยใหม่ในปจั จุบนั ท�ำให้คนเราจ�ำเป็ นต้อง เรียนรูแ้ ละก้าวทันกับความเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ เทคโนโลยีกลายเป็นสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ ชีวติ ประจ�ำวันในทุกด้านรวมทัง้ ในด้านการจัดการศึกษาด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สาร (Information and Communication Technology: ICT) ซึง่ หมายความถึง คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ ระบบสือ่ สารข้อมูล ดาวเทียม หรือเครือ่ งมือสือ่ สารใด ๆ ทังที ้ ม่ สี าย และไร้สาย (National Electronics and Computer Technology Center (NECTEC), 2002: 12) ส่งผลให้สงั คมแต่ละสังคมเปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก ในการจัดการศึกษา ของไทยก็เช่นกัน ควรจะต้องมีการพัฒนาปรับเปลีย่ นให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และเทคโนโลยี เพือ่ เตรียมนักเรียนให้มคี วามพร้อมทีจ่ ะก้าวเข้าสูส่ งั คมแห่งภูมปิ ญั ญา ในศตวรรษที่ 21 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการจัดการเรียนการสอน สามารถช่วยให้นักเรียนกระหายในการเรียนรู้และเรียนรู้อย่างมีความสุข Kidanun Malithong (2005: 92) ได้ระบุว่าโดยทัวไปแล้ ่ วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร สามารถน�ำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนใน 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) การเรียนรูเ้ กีย่ วกับ เทคโนโลยี (learning about technology) เป็ นการเรียนรูใ้ นเรือ่ งของเทคโนโลยี เช่น ระบบการท�ำงานของคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์สบื ค้นสารสนเทศ การท�ำงาน ของเครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ 2) การเรียนรูโ้ ดยใช้เทคโนโลยี (learning by technology) คือ การใช้เทคโนโลยีเป็ นเครือ่ งมือในการเรียนรู้ เช่น การใช้หอ้ งปฏิบตั กิ ารเสมือน (virtual lab) การใช้สอ่ื การเรียนรูอ้ อนไลน์ และ 3) การเรียนรูไ้ ปกับเทคโนโลยี (learning with technology) เป็นการเรียนรูเ้ กีย่ วกับความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี ได้แก่ การเรียนรู้ ว่าขณะนี้เทคโนโลยีมคี วามก้าวไกลไปในรูปแบบใดบ้าง เช่น tablet โน้ตบุ๊ก PC ประเทศไทยมุ่ง เน้ นการน� ำเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ใ น การเรียนการสอนดังปรากฏอย่างชัดเจนในพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบับปรับปรุง 2545) หมวด 9 เทคโนโลยีเพือ่ การศึกษาทีใ่ ห้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารเป็ นเครื่องมือส�ำคัญในการพัฒนาสังคมไทยไปสู่สงั คมแห่งภูมปิ ญั ญา (Office of the National Education Commission, 2002: 22-23) เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารจะช่วยปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของเด็กไทยในศตวรรษที่ 21 เพือ่ ช่วย เปลีย่ นสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ จากการศึกษางานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง พบว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้สำ� หรับจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบต่างๆ เช่น การสือ่ สารองค์ความรู้ เนือ้ หาสาระวิชาการ บทความ วีดโิ อ รูปภาพและ เสียง ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปยังนักเรียน ซึ่งนับว่าเป็ นกลยุทธ์ท่สี �ำคัญ ของการปรับการเรียนเปลีย่ นการสอนท�ำให้โลกแห่งการเรียนรูข้ องนักเรียนกว้างมากขึน้ 133


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์

เอกภูม ิ จันทรขันตี

ไม่จำ� กัดอยูเ่ ฉพาะในชัน้ เรียน Goldfarb et al. (2011: 3) ได้กล่าวถึงข้อดีของการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการจัดการเรียนรูว้ า่ เป็นการเปิดโอกาสให้นกั เรียน ได้ท�ำงานร่วมกัน มีการแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและเรียนรูร้ ่วมกัน ซึง่ พบว่านักเรียน เห็นคุณค่าและมีความสุขในการเรียนด้วยห้องเรียนออนไลน์และท�ำให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธิ ์ ทางการเรียนเพิม่ ขึน้ Kong and Lai (2005: 145-146) ได้ศกึ ษาการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นให้นกั เรียนสร้างความรูด้ ว้ ยตนเอง พบว่า สามารถท�ำให้นักเรียนมีความเข้าใจแนวคิดทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ซ ับ ซ้อ นเพิ่ม มากขึ้น จะเห็น ได้ว่ า การน� ำ เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร ั มาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาสามารถแก้ปญหาในชั นเรี ้ ยนด้านต่างๆ เช่น การไม่เข้าใจ เนื้อหาที่เรียนในชัน้ เรียน การคิดวิเคราะห์ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างครูกบั นักเรียน และ การเพิม่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนของนักเรียน ผูว้ จิ ยั ในฐานะอาจารย์ผสู้ อนในสถาบันผลิตครู จึงต้องการศึกษาแนวทางของนิสติ ครูในการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ภายหลังจากทีน่ สิ ติ ได้เรียนรายวิชา 01159222 วิธีก ารสอนวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยีใ นระดับ มัธ ยมศึก ษา ในหน่ ว ยการเรีย นรู้ เรือ่ ง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการจัดการเรียนการสอน เพือ่ จะได้น�ำข้อมูล มาใช้ในการพัฒนาการสอนของตนเองในรายวิชาดังกล่าว เพือ่ เป็นการเตรียมความพร้อม ให้กบั นิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ซง่ึ จะออกไปเป็ นครูผสู้ อนในอนาคตให้สามารถน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศและการสือ่ สารมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความหลากหลาย วัตถุประสงค์การวิ จยั เพื่อ ศึก ษาแนวทางการน� ำ เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ ขอบเขตการวิ จยั การวิจยั ครัง้ นี้มขี อบเขตการวิจยั ดังนี้ 1. สิ่ง ที่ต้อ งการศึก ษาคือ แนวทางในการน� ำ เทคโนโลยีส ารสนเทศและ การสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษาของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลด�ำเนินการในภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 ในระหว่าง เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึงเดือนมีนาคม 2557

134


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

นิ ยามศัพท์เฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology: ICT) หมายถึง คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มอื ถือ แท็บเลต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถึง การใช้ อุ ป กรณ์ แ ละเทคโนโลยีเ ครือ ข่ า ยต่ า ง ๆ ที่นิ ส ิต น� ำ มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เช่น การจัดเก็บข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การสืบค้นสารสนเทศ การน�ำเสนอสารสนเทศ และการรับ-ส่งสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการจัดการเรียนการสอน วิ ท ยาศาสตร์ หมายถึง พฤติก รรมที่นิ ส ิต ครูว ิท ยาศาสตร์แ สดงออกมาเกี่ย วกับ การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ สามารถวัดได้โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการสอนซึง่ มีลกั ษณะเป็ นประเด็นปลายเปิด ส�ำหรับบันทึกพฤติกรรมของนิสติ เกี่ยวกับรูปแบบการน� ำเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในขณะทีน่ สิ ติ ท�ำการปฏิบตั กิ ารสอนแบบจุลภาค (micro teaching) และแบบสัม ภาษณ์ ค วามคิด เห็น ของนิ ส ิต เกี่ย วกับ แนวทาง การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนภายหลังจากที่ นิสติ เสร็จสิน้ การปฏิบตั กิ ารสอนแบบจุลภาค วิ ธีดำ� เนิ นการวิ จยั การวิจยั ครัง้ นี้ใช้ระเบียบวิธวี จิ ยั เชิงบรรยาย (descriptive research) โดยเป็น การศึกษากับนิสติ ครูทม่ี จี ำ� นวนไม่มากนักเพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลทีส่ ามารถอธิบายถึงแนวทางในการน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ภายหลังจากที่นิสติ ได้เรียนรู้ในหัวข้อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาวิธกี ารสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในระดับมัธยมศึกษา ข้อมูลทีไ่ ด้จากการวิจยั เป็ นข้อมูลทีไ่ ด้จากการตีความ (interpretive) โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ กลุ่มที่ศึกษา กลุม่ ทีศ่ กึ ษา คือ นิสติ สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ ชัน้ ปีท่ี 3 จ�ำนวน 52 คน ที่ล งทะเบีย นเรีย นรายวิช า 01159222 วิธีก ารสอนวิท ยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ในระดับมัธยมศึกษา ในภาคปลาย ปีการศึกษา 2556 เครื่องมือที่ใช้ในการวิ จยั เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจยั คือ แบบสังเกตการน� ำเทคโนโลยีสารสนเทศและ 135


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์

เอกภูม ิ จันทรขันตี

การสื่อสารไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีลกั ษณะเป็ น ประเด็นการสังเกตปลายเปิ ด ให้ผูว้ จิ ยั สังเกตและบันทึกพฤติกรรมของนิสติ เกีย่ วกับ การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในแต่ละขัน้ ของการสอน ตามรูปแบบการสอนแบบวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ หาความรู้ 5 ขันของสถาบั ้ นส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนี้ 1) ขันสร้ ้ าง ความสนใจ 2) ขัน้ ส�ำรวจและค้นหา 3) ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป 4) ขัน้ ขยายความรู้ และ 5) ขันประเมิ ้ นผลการเรียนรู้ นอกจากนี้ยงั ใช้แบบสัมภาษณ์ สัมภาษณ์นสิ ติ เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูล เกี่ยวกับเหตุผลในการเลือกเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแต่ละรูปแบบมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้ เช่น ท�ำไมจึงเลือกใช้คลิปวิดโี อการ์ตนู ในขันสร้ ้ างความสนใจ ท�ำไมจึงเลือกใช้ ภาพนิง่ ในขันขยายความรู ้ ้ ท�ำไมจึงเลือกใช้คลิปวิดโี อแสดงการทดลองให้นกั เรียนดูในขันส� ้ ำรวจ และค้นหาแทนการให้นกั เรียนท�ำการทดลองจริง ๆ เป็ นต้น การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูว้ จิ ยั ท�ำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสังเกตการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ในช่วง 3 สัปดาห์ สุดท้ายของการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา 01159222 วิธกี ารสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในระดับมัธยมศึกษา โดยให้นิสติ จับกลุ่มกันกลุ่มละ 2-3 คนเพื่อปฏิบตั ิ การสอนแบบจุลภาค (micro teaching) ในหัวข้อการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษา กลุม่ ละ 1 หัวข้อ ซึง่ สามารถแบ่งนิสติ ออกเป็นทัง้ หมด 18 กลุม่ ประกอบด้วยกลุม่ ทีม่ นี สิ ติ จ�ำนวน 3 คน 16 กลุ่มและกลุ่มที่มนี ิสติ จ�ำนวน 2 คน 2 กลุ่ม ก�ำหนดให้แต่ละกลุ่ม ใช้เวลาปฏิบตั กิ ารสอนแบบจุลภาคไม่เกิน 40 นาที ภายหลังจากทีน่ สิ ติ แต่ละกลุม่ ปฏิบตั ิ การสอนแบบจุลภาคเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผูว้ จิ ยั ได้ใช้แบบสัมภาษณ์ สัมภาษณ์นสิ ติ แต่ละกลุม่ เพิม่ เติม เพือ่ ให้ได้ขอ้ มูลเชิงลึกว่าท�ำไมนิสติ จึงน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาใช้ในการจัดการเรียนรูใ้ นลักษณะดังกล่าว การวิ เคราะห์ข้อมูล ผูว้ จิ ยั วิเคราะห์ขอ้ มูลทีไ่ ด้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสังเกตและ แบบสัมภาษณ์ โดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis) แล้วจึงน�ำข้อมูลทัง้ หมด มาประมวลผลและจัดเป็นกลุม่ (theme) พร้อมทังหาค่ ้ าความถีข่ องจ�ำนวนนิสติ ว่า นิสติ แต่ละกลุม่ มีแนวทางในการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์อย่างไรบ้าง แนวทางละกีก่ ลุม่ 136


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ผลการวิ จยั นิสติ ทัง้ 18 กลุม่ ปฏิบตั กิ ารสอนในหัวข้อเรือ่ งทีแ่ ตกต่างกัน 18 หัวข้อเรือ่ ง คือ 1) การจ�ำแนกสารละลายโดยใช้อนุภาคเป็นเกณฑ์ 2) การทดสอบสารอาหารประเภทแป้ง น�้ำตาล และไขมัน 3) การเกิดฝน 4) ระบบและการเปลีย่ นแปลง 5) การถ่ายโอนความร้อน 6) หินอัคนี 7) วัสดุเจือปนและสารเจือปนในอาหาร 8) การเกิดลม 9) การตรวจสอบวิตามินซี 10) อินดิเคเตอร์สำ� หรับตรวจสอบกรดและเบส 11) การแพร่ของน�้ำสูเ่ ซลล์พชื 12) ปฏิกริ ยิ าดูด และคายความร้อน 13) แรงเสียดทาน 14) การเกิดเมฆและชนิดของเมฆ 15) ชนิดของคลืน่ 16) คุณสมบัตขิ องสิง่ มีชวี ติ 17) การเคลือ่ นทีแ่ บบซิมเปิลฮาร์มอนิก 18) การแบ่งเซลล์ แบบไมโตซิส ผลการวิจยั พบว่านิสติ มีแนวทางทางการน� ำเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ทห่ี ลากหลาย ดังต่อไปนี้ 1. ใช้คลิ ปวิ ดีโอหรือรูปภาพในขัน้ น� ำเข้าสู่บทเรียนเพื่อเร้าความสนใจ และตรวจสอบความรู้เดิ มของนักเรียน นิสติ 10 กลุ่ม มีการน� ำคลิปวิดโี อหรือรูปภาพมาใช้ในขัน้ น� ำเข้าสู่บทเรียน เนือ่ งจากนิสติ คิดว่าการใช้คลิปวิดโี อหรือรูปภาพจะเร้าความสนใจของนักเรียน สร้างบรรยากาศ ทีด่ ี ท�ำให้นกั เรียนรูส้ กึ สนุกตัง้ แต่ตอนเริม่ ต้นบทเรียน และนักเรียนเกิดความอยากรูว้ า่ วันนี้ครูจะสอนเรือ่ งอะไร นอกจากนี้ครูยงั สามารถน�ำประเด็นทีป่ รากฏอยูใ่ นคลิปวิดโี อ หรือรูปภาพมาตังค� ้ ำถามเพือ่ ตรวจสอบความรูเ้ ดิมของนักเรียนเกีย่ วกับเนือ้ หาทีก่ ำ� ลังจะเรียน ได้อกี ด้วย เช่น ในการสอนเรือ่ งการเกิดฝน นิสติ ใช้คลิปวิดโี อจากการ์ตนู เรือ่ งชินจัง มาเปิดให้ เพือ่ น ๆ ดู และถามค�ำถามเพือ่ นนิสติ ทีแ่ สดงบทบาทเป็นนักเรียนว่า นักเรียนสังเกตเห็นอะไร จากคลิป นักเรียนตอบว่า ฝน จากนัน้ นิสติ จึงถามค�ำถามเพือ่ ตรวจสอบความรูเ้ ดิมว่า นักเรียนคิดว่า ฝนเกิดได้อย่างไร เพือ่ เป็นการกระตุน้ ให้นกั เรียนคิดและน�ำเข้าสูก่ จิ กรรม การทดลองเรือ่ งการเกิดฝนต่อไป จากการสัมภาษณ์นสิ ติ ภายหลังเสร็จสิน้ การปฏิบตั กิ ารสอน ว่าท�ำไมนิสติ จึงเลือกน�ำคลิปวิดโี อจากการ์ตนู มาใช้ประกอบการสอน นิสติ ตอบว่า การ์ตู น เป็ น สิง่ ทีท่ ุ ก คนมีค วามคุ้น เคย เพราะทุ ก คนต้อ งล้ว นมี ประสบการณ์การดูการ์ตนู ในวัยเด็ก การน�ำการ์ตนู มาใช้ในขันน� ้ ำเข้าสูบ่ ทเรียน จะช่วยเร้าความสนใจของนักเรียน ท�ำให้ทกุ คนมีใจจดจ่ออยูก่ บั สิงที ่ ครู ่ กำ� ลังจะสอน ท�ำให้การจัดการเรียนรูใ้ นขัน้ ต่อ ๆ ไปเป็ นไปด้วยความราบรืน่ เมือ่ นักเรียน มีจติ ใจจดจ่อ การถามค�ำถามเพือ่ ให้นักเรียนแสดงความรูเ้ ดิมของตนเองใน เรืองที ่ ก�่ ำลังจะเรียนออกมาก็เป็นเรืองง่ ่ าย ท�ำให้ครูทราบว่านักเรียนมีความเข้าใจเดิม คลาดเคลือนอย่ ่ างไร จะได้ใช้ขอ้ มูลตรงนี้เป็นพืน้ ฐานในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพือท� ่ ำให้นกั เรียนเกิดการเปลียนแปลงความเข้ ่ าใจทีคลาดเคลื ่ อนให้ ่ มคี วามเข้าใจ อย่างถูกต้อง 137


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์

เอกภูม ิ จันทรขันตี

นอกจากนีย้ งั มีตวั อย่างแนวทางการใช้คลิปวิดโี อหรือรูปภาพในขันน� ้ ำเข้าสูบ่ ทเรียน เพือ่ เร้าความสนใจและตรวจสอบความรูเ้ ดิมของนักเรียนอืน่ ๆ อีก เช่น การสอนเรือ่ งเมฆ และชนิดของเมฆ นิสติ น�ำภาพเมฆทีเ่ ป็นรูปต่าง ๆ มาให้นกั เรียนดู เช่น รูปเป็ด รูปหัวใจ รูปพระ เพือ่ เป็ นการสร้างความสนใจในเรือ่ งทีจ่ ะสอนให้กบั นักเรียนและเป็ นการฝึกให้ นักเรียนรูจ้ กั ใช้ความคิดจินตนาการ อันเป็ นพืน้ ฐานส�ำคัญของการสร้างเสริมให้นกั เรียน เป็ นผูม้ คี วามคิดริเริม่ สร้างสรรค์ 2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารให้นกั เรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติ ม เพื่อประยุกต์ความรู้ที่เรียนไปสู่บริ บทใหม่ นิสติ 5 กลุม่ น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมาใช้ให้นกั เรียนสืบค้นข้อมูล เพิม่ เติมเพือ่ ประยุกต์ความรูท้ เ่ี รียนไปสูบ่ ริบททีแ่ ตกต่างไปจากในห้องเรียนซึง่ สามารถ พบเจอได้ในชีวติ ประจ�ำวัน ตัวอย่างเช่น นิสติ ทีส่ อนเรื่องวัสดุเจือปนและสารเจือปน ในอาหาร นิสติ มอบหมายให้นกั เรียนสืบค้นข้อมูลและผลเสียของสารเจือปนในอาหาร แล้วน�ำมาอภิปรายหน้าห้องเพือ่ ให้นกั เรียนรูจ้ กั ประยุกต์ใช้ความรูท้ เ่ี รียนไปใช้ในบริบท ที่แ ตกต่ า งไปจากที่เ รีย นในห้อ งเรีย น โดยเฉพาะบริบ ทที่นัก เรีย นสามารถพบได้ ในชีวติ ประจ�ำวัน ซึง่ จะท�ำให้นกั เรียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีความหมาย กล่าวคือ เป็นการเรียน ที่ท�ำให้นักเรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของสิง่ ที่เรียนรู้กบั โครงสร้างทางปญั ญาเดิม ที่ได้เก็บไว้ในความทรงจ�ำ และสามารถน� ำสิง่ ที่เรียนรู้มาใช้อธิบายเหตุการณ์ หรือ ปรากฏการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกันซึง่ อาจเกิดขึน้ ในอนาคต การสอนเรื่องอินดิเคเตอร์สำ� หรับตรวจสอบกรดและเบส นิสติ มอบหมายให้ นักเรียนใช้คอมพิวเตอร์สบื ค้นข้อมูลของอินดิเคเตอร์ทพ่ี บในธรรมชาติเพิม่ เติมจากทีค่ รูนำ� เสนอ ในห้องเรียน โดยนิสติ แสดงความคิดเห็นในการสัมภาษณ์วา่ การให้นกั เรียนไปสืบค้นข้อมูลของอินดิเคเตอร์ทพบในธรรมชาติ ี่ อนื ่ ๆ เพิม่ เติม เป็ นการฝึ กทักษะการสืบค้นให้นักเรียน ท�ำให้นักเรียนรูส้ กึ ตืน่ เต้น เกิดความอยากรูอ้ ยากเห็นและลองน�ำอินดิเคเตอร์ทตนเองสื ี่ บค้นมาท�ำการทดลอง เพือ่ ทดสอบหาค่า pH ด้วยตนเองว่าจะเป็ นไปตามทีค่ น้ คว้ามาหรือไม่ เป็ น การส่งเสริมให้นกั เรียนมีคณ ุ ลักษณะของนักวิทยาศาสตร์อกี ทางหนึง่ นอกจากนิสติ จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเป็นเครือ่ งมือให้นกั เรียน สืบ ค้น ข้อ มูล เพื่อ ประยุ ก ต์ ใ ช้ค วามรู้ท่ีเ รีย นแล้ว นิ ส ิต ยัง ได้แ สดงความคิด เห็น ว่ า ครูกส็ ามารถน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมาใช้ในการค้นหาข้อมูลส�ำหรับออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้เช่นกัน เช่น นิสติ กลุ่มที่สอนเรื่องการทดสอบ สารอาหารประเภทแป้ง น�้ำตาล และไขมัน ได้กล่าวว่า

138


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

กลุม่ ของข้าพเจ้าได้นำ� เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารมาใช้ ่ ประโยชน์ ในการคิดกิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้แก่นักเรียนโดยการสืบค้นเนื้อเพลงเกีย่ วกับ ั อาหารหลัก 5 หมู่ เพือน� ่ ำไปเปิดให้นกั เรียนฟงและร้ องตามในขันน� ้ ำเข้าสูบ่ ทเรียน เป็นการทบทวนความรูเ้ ดิมให้นกั เรียนเรืองหมู ่ ข่ องอาหารและท�ำให้บรรยากาศ ของห้องเรียนสนุกสนาน เร้าความสนใจให้นกั เรียนมีความพร้อมทีจ่ ะเรียน 3. ใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ (visualizer) ร่วมกับเครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์ (projector) เพื่ออธิ บายวิ ธีการทดลอง นิสติ 6 กลุม่ น�ำเครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ และเครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์มาใช้ ในการอธิบายวิธกี ารทดลองให้นักเรียนทุกคนเข้าใจตรงกัน ตัวอย่างเช่น ในการสอน เรือ่ งการตรวจสอบวิตามินซี นิสติ ใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ และเครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์ เพือ่ แนะน�ำวัสดุอปุ กรณ์และสารเคมีทต่ี อ้ งใช้ในการท�ำการทดลองเพือ่ ตรวจสอบวิตามินซี ในน�้ ำผลไม้ 5 ชนิด พร้อมทัง้ แนะน� ำขัน้ ตอนการท�ำการทดลองให้นักเรียนทุกกลุ่ม มีความเข้าใจตรงกัน การสัมภาษณ์นิสติ ภายหลังเสร็จสิน้ การปฏิบตั กิ ารสอนว่าท�ำไม นิสติ จึงเลือกใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ และเครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์ในการแนะน�ำวัสดุ อุปกรณ์ และวิธกี ารทดลอง นิสติ แสดงความคิดเห็นว่า ทีเลื่ อกใช้การฉายวัสดุอปุ กรณ์ สารเคมีและวิธกี ารทดลองให้นกั เรียนทุกคน ดูพร้อมกัน เนือ่ งจากเห็นว่าถ้าพิมพ์ใบกิจกรรมให้นักเรียนทุกคนอ่านก็จะ เป็นการเปลืองงบประมาณ และการให้ตา่ งคนต่างอ่าน นักเรียนมักจะไม่ตงใจอ่ ั ้ าน จะเล่นหรือคุยกันมากกว่า มีนกั เรียนทีตั่ งใจอ่ ้ านอยูไ่ ม่กคน ี ่ จึงคิดว่าการน�ำเทคนิคนี้ มาใช้น่าจะเป็นประโยชน์ เพราะท�ำให้นกั เรียนทังห้ ้ องมุง่ ความสนใจ ไปทีจุ่ ดเดียว คือ ทีค่ รู ฉ ายให้ดู บ นกระดาน ท� ำ ให้ค รู ส ามารถอธิบ ายวิธีก ารทดลองได้ ั ละกลุม่ และผลทีออกมา ในเวลาอันรวดเร็ว ไม่ตอ้ งไปเดินอธิบายให้นกั เรียนฟงที ่ ก็เป็นทีน่​่ าพอใจเนือ่ งจากนักเรียนทุกคนเข้าใจว่าตนเองจะต้องท�ำอะไร นักเรียน ร่วมมือกันท�ำการทดลองจนส�ำเร็จตามเวลาทีค่ รูกำ� หนดไว้ 4. ใช้ เครื่องฉายภาพ 3 มิ ติ ร่วมกับเครื่องฉายภาพโปรเจคเตอร์เพื่อ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน�ำเสนอผลการทดลองของตนเอง นิสติ 9 กลุม่ น�ำเครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ และเครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์มาใช้ ในการให้นักเรียนแต่ละกลุ่มน� ำเสนอผลการทดลองหรือผลการสืบค้นของกลุ่มตนเอง เพือ่ ให้นกั เรียนได้เปรียบเทียบข้อค้นพบระหว่างกลุม่ น�ำไปสูก่ ารอภิปรายและลงข้อสรุป ของสิง่ ทีไ่ ด้จากการศึกษาร่วมกัน ตัวอย่างเช่น ในการสอนเรือ่ งวัสดุเจือปนและสารเจือปน ในอาหาร นิสติ ใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ และเครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์เพือ่ ให้นกั เรียน 139


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์

เอกภูม ิ จันทรขันตี

น�ำใบงานทีใ่ ห้นกั เรียนน�ำฉลากผลิตภัณฑ์อาหารมาติดและเขียนส่วนประกอบ พร้อมทังบอก ้ วัตถุเจือปนต่าง ๆ ทีป่ รากฏอยูบ่ นฉลาก จากนัน้ ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ แสดงความคิดเห็นว่า นักเรียนควรเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารชนิดดังกล่าวหรือไม่ เพราะเหตุใด จากการสัมภาษณ์ นิสติ ภายหลังเสร็จสิน้ การปฏิบตั กิ ารสอนว่าท�ำไมนิสติ จึงเลือกใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิติ และเครื่องฉายภาพโปรเจคเตอร์ในการแนะน�ำวัสดุ อุปกรณ์ และวิธกี ารทดลอง นิสติ แสดงความคิดเห็นว่า การให้นักเรียนได้น�ำฉลากผลิตภัณฑ์อาหารมาฉายให้เพือ่ นคนอืน่ ดูวา่ มีวตั ถุเจือปนอะไรบ้าง จะท�ำให้นกั เรียนตระหนักว่าก่อนเลือกทีจะรั ่ บประทาน อาหารอะไรควรดูฉลากให้ดเี สียก่อน นอกจากนี้ยงั ส่งเสริมให้นกั เรียนได้สบื ค้น ข้อมูลเกีย่ วกับผลเสียของวัตถุเจือปนในอาหารแต่ละชนิด และน�ำมาอภิปราย แลกเปลีย่ นกับเพือ่ นกลุ่มอืน่ ท�ำให้นักเรียนได้รบั ความรูห้ ลากหลาย เพราะ แต่ละกลุม่ จะน�ำวัตถุเจือปนในอาหารมาน�ำเสนอไม่ซำ้ � กัน ดีกว่าการทีครู ่ เป็นผูย้ กตัวอย่าง ั เพียงอย่างเดียวซึง่ จะมีตวั อย่างเพียงไม่กตัี ่ วอย่าง และยังท�ำให้ ให้นกั เรียนฟงแต่ นักเรียนสนใจเรียนเพราะนักเรียนจะนังลุ ่ น้ ว่าเพือนแต่ ่ ละกลุม่ จะน�ำฉลากผลิตภัณฑ์ ชนิดใดมาน�ำเสนอ 5. ใช้สื่อแอนนิ เมชันหรื ่ อรูปภาพเพื่อสรุปแนวคิ ดที่เรียน นิสติ 12 กลุม่ น�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารมาใช้ในการน�ำสือ่ แอนนิเมชัน่ หรือรูปภาพมาใช้ในการสรุปแนวคิดให้กบั นักเรียน เพือ่ ท�ำให้นกั เรียนมีความเข้าใจตรงกัน ตัวอย่างในการสอนเรื่องการแพร่ของน�้ ำสู่เซลล์พชื นิสติ น� ำแอนนิเมชันมาแสดงให้ ่ นักเรียนเห็นเกีย่ วกับการแพร่ของน�้ำเข้าสูเ่ ซลล์พชื การสอนเรือ่ งการเกิดเมฆและชนิดของเมฆ ในขันสรุ ้ ปความรูน้ สิ ติ น�ำรูปภาพเมฆแบบต่าง ๆ มาท�ำเป็นบัตรภาพและให้นกั เรียนจับคู่ กับบัตรค�ำให้ถกู ต้องว่าเมฆในแต่ละภาพมีชอ่ื ว่าอะไร พร้อมทัง้ ให้นกั เรียนดูแอนิเมชัน่ แสดงแผนภาพสรุปกระบวนการเกิดเมฆ ท�ำให้นกั เรียนเห็นภาพรวมของแนวคิดทัง้ หมด ที่เรียน ซึ่งสื่อที่น�ำมาเป็ นภาษาอังกฤษ เป็ นการบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์เข้ากับ วิชาภาษาอังกฤษ เพือ่ เตรียมความพร้อมให้แก่นกั เรียนในการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน การสอนเรือ่ งการเกิดฝน นิสติ ใช้แอนิเมชันเกี ่ ย่ วกับวัฏจักรของน�้ำเพือ่ ช่วยให้ นักเรียนสรุปแนวคิดเกีย่ วกับกระบวนการในการเกิดฝนให้แก่นกั เรียน ซึง่ ในแอนิเมชัน่ จะมีคำ� ศัพท์ตา่ ง ๆ เป็นภาษาอังกฤษ ท�ำให้นกั เรียนได้เรียนรูค้ ำ� ศัพท์ภาษาอังกฤษเพิม่ เติมด้วย ซึง่ นิสติ แสดงความคิดเห็นในขณะสัมภาษณ์วา่ การน�ำสือ่ ทีเ่ ป็นภาษาอังกฤษมาใช้เป็นส่วนหนึง่ ในการจัดการเรียนรู้ ั นกั เรียนคุน้ เคยกับภาษาอังกฤษ เป็นการเตรียมความพร้อม จะเป็นการปลูกฝงให้

140


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ให้แก่นักเรียนได้รูจ้ กั ศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ทใี ่ ช้กนั อย่างเป็ นสากล เพราะ เมือนั ่ กเรียนเรียนต่อไปในระดับสูงขึน้ นักเรียนจะต้องอ่านต�ำราทีเป็ ่ นภาษาอังกฤษ ซึง่ จะท�ำให้นักเรียนท�ำความเข้าใจสิง่ ทีอ่ ่านได้ง่ายขึ้น เพราะเป็ นค�ำศัพท์ที ่ นักเรียนเคยผ่านตามาแล้วและยังเป็นการเตรียมความพร้อมด้านทักษะภาษาอังกฤษ ให้นักเรียน ซึง่ เป็ นภาษากลางทีท่ ุกประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะใช้ในการติดต่อสือ่ สารระหว่างกัน

6. ใช้โปรแกรมคอมพิ วเตอร์เป็ นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้ นิสติ 2 กลุ่ม ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็ นเครื่องมือช่วยในการเรียนรูข้ อง นักเรียน เช่น ในการสอนเรือ่ งการเคลือ่ นทีแ่ บบซิมเปิลฮาร์มอนิก นิสติ ให้นกั เรียนน�ำข้อมูล ทีไ่ ด้จากการทดลองมาใส่ในโปรแกรมเอกเซลเพือ่ ให้โปรแกรมช่วยสร้างกราฟความสัมพันธ์ ระหว่างการกระจัดกับเวลา ความเร็วกับเวลา และความเร่งกับเวลา จากนัน้ จึงให้นกั เรียน แต่ละกลุม่ เปรียบเทียบกราฟซึง่ กันและกันว่ากราฟทีแ่ ต่ละกลุม่ ได้มลี กั ษณะเหมือนกันหรือไม่ จนน�ำไปสูข่ อ้ สรุปของการเคลื่อนทีแ่ บบซิมเปิ ลฮาร์มอนิกว่าคือ การเคลื่อนทีข่ องวัตถุ กลับไปมาซ�ำ้ ทางเดิมผ่านต�ำแหน่งสมดุล โดยมีขนาดของการกระจัดสูงสุดคงตัว เรียกว่า แอมพลิจดู จากผลการวิจยั ดังกล่าวถ้าพิจารณาการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งตามลักษณะของเนื้อหา ในวิชาวิทยาศาสตร์จะสามารถแบ่งเนื้อหาได้เป็น 3 ลักษณะใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ 1) เนื้อหา ทีม่ ลี กั ษณะเป็นการบรรยาย 2) เนือ้ หาทีเ่ กีย่ วข้องกับการทดลอง และ 3) เนือ้ หาทีม่ ลี กั ษณะ เป็นการสรุปบทเรียน โดยแต่ละเนื้อหานิสติ มีการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนดังต่อไปนี้ 1) เนื้อหาทีม่ ลี กั ษณะเป็นการบรรยาย จะใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในรูปแบบของคลิปวิดโี อและรูปภาพในการเร้าความสนใจ เพื่อน� ำเข้าสู่บทเรียน และการใช้อนิ เตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูลเพื่อประยุกต์ความรู้ ทีเ่ รียนไปสูบ่ ริบทใหม่ รวมทัง้ การใช้สอ่ื แอนิเมชันแสดงเนื้อหาทีม่ ลี กั ษณะเป็นนามธรรม เพือ่ ท�ำให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจเนือ้ หาทีเ่ รียนมากขึน้ 2) เนือ้ หาทีเ่ กีย่ วข้องกับการทดลอง จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในรูปแบบของการใช้อนิ เตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล การใช้เครือ่ งฉายภาพ 3 มิตริ ว่ มกับเครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์เพือ่ อธิบายวิธกี ารทดลอง และให้นักเรียนน� ำเสนอผลการทดลอง รวมถึงการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมไมโครซอฟท์เอกเซลเพือ่ สร้างกราฟความสัมพันธ์ของตัวแปรทีศ่ กึ ษาจนน�ำไปสู่ ข้อสรุปของการเรียนรู้ และ 3) เนือ้ หาทีม่ ลี กั ษณะเป็นการสรุปบทเรียน จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารในรูปแบบของสือ่ แอนนิเมชันหรื ่ อรูปภาพเพือ่ สรุปแนวคิดทีเ่ รียน

141


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์

เอกภูม ิ จันทรขันตี

อภิ ปรายผลการวิ จยั การศึกษาแนวทางการน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปใช้ในการจัด การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์ พบว่า นิสติ มีแนวทางการน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ใน 6 รูปแบบ ด้วยกัน คือ ใช้คลิปวิดโี อหรือรูปภาพในขันน� ้ ำเข้าสูบ่ ทเรียนเพือ่ เร้าความสนใจและตรวจสอบ ความรูเ้ ดิมของนักเรียน และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารให้นกั เรียนสืบค้น ข้อมูลเพิม่ เติมเพื่อประยุกต์ความรูท้ เ่ี รียนไปสู่บริบทใหม่ สอดคล้องกับข้อค้นพบของ Bingimlas (2009: 243-244) Grabe (2007: 100-103) และ British Educational Communications and Technology Agency (BECTA) (2004: 40-42) ทีร่ ะบุวา่ การน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเข้ามาใช้ในการเรียนการสอนจะท�ำให้นกั เรียนมีแรงกระตุน้ ในการเรียนรู้ ท�ำให้นักเรียนเกิดการพัฒนาทักษะและความรูอ้ ย่างรวดเร็ว เนื่องจาก เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท�ำให้ครูสามารถเข้าถึงรูปภาพ วีดโิ อคลิป และ ข้อมูลข่าวสารจากทัวโลก ่ เพื่อน� ำมาใช้สร้างบทเรียนทีด่ งึ ดูดความสนใจของนักเรียน ท�ำให้นกั เรียนเกิดความอยากรูอ้ ยากเห็นและกระตือรือร้นในการเรียน เป็นการสร้างทัศนคติทด่ี ี ของนักเรียนต่อการเรียนและยังเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้นกั เรียนได้ศกึ ษาเรียนรูอ้ งค์ความรู้ จากประเทศต่าง ๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา นอกจากนี้นสิ ติ ยังมีการน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในรูปแบบของการใช้เครื่องฉายภาพ 3 มิตริ ่วมกับ เครือ่ งฉายภาพโปรเจคเตอร์ เพือ่ อธิบายวิธกี ารทดลองและเพือ่ ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ น�ำเสนอ ผลการทดลองของตนเองข้อค้นพบนี้สอดคล้องกับ Chaowalert Lertchalolarn and Kobkul Suppakijjumnong (2000: 78) ทีก่ ล่าวไว้วา่ การน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเป็นการช่วยลดภาระในการท�ำงานบางอย่างทีต่ อ้ งท�ำซ�ำ้ ๆ เป็นประจ�ำ ท�ำให้ครูและนักเรียนมีเวลาในการพัฒนาทักษะด้านอืน่ ๆ ของตนเองเพิม่ ขึน้ นอกจากนี้ Bingimlas (2009: 239) และ BECTA (2004: 54) ยังได้ระบุวา่ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์อย่างมากส�ำหรับน� ำมาใช้ในการน� ำเสนอข้อมูล ในห้องเรียน เพือ่ ท้าทายความคิดและความเข้าใจของนักเรียน โดยครูตอ้ งพยายามใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเป็นสือ่ กลางในการกระตุน้ ให้นกั เรียนเกิดการอภิปรายร่วมกัน จนน�ำไปสูก่ ารโต้แย้ง ซึง่ ถือเป็ นลักษณะทีส่ ำ� คัญอย่างหนึ่งของวิทยาศาสตร์เนื่องจาก วิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการทางสังคมของการสร้างความรู้ (social process of knowledge construction) ความรูท้ างวิทยาศาสตร์มคี วามเป็นสาธารณะและสากล กล่าวคือ เมือ่ นักวิทยาศาสตร์ ค้นพบข้อเท็จจริงอันหนึง่ แล้ว นักวิทยาศาสตร์ตอ้ งน�ำเสนอข้อเท็จจริงนัน้ ให้สาธารณชนรับทราบ เพือ่ ท�ำให้เกิดการโต้แย้ง หักล้าง เมือ่ เกิดการโต้แย้งนักวิทยาศาสตร์จะต้องน�ำเสนอข้อมูล และประจักษ์พยานหลักฐานต่าง ๆ ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าทดลอง เพื่ออธิบาย 142


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ให้ส าธารณชนฟ งั จนเกิด ความเข้า ใจและยอมรับ ในข้อ เท็จ จริง ที่ค้น พบ หรือ อาจ กล่าวได้อกี อย่างหนึ่งว่า การโต้แย้งเป็ นกระบวนการพัฒนาและตรวจสอบความถูกต้อง ของความรูท้ างวิทยาศาสตร์ (McNeill, 2009: 265; Dawson and Venville, 2010: 144) การให้นกั เรียนน�ำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารยังมีประโยชน์ อีก ด้า นหนึ่ ง คือ ท�ำ ให้ค รูไ ด้ข้อ มูล ย้อ นกลับ เกี่ย วกับ ความเข้า ใจในเนื้ อ หาที่เ รีย น ของนักเรียนในทันที ถ้าพบว่านักเรียนมีความเข้าใจคลาดเคลือ่ น ครูสามารถคิดกิจกรรม การเรียนรูเ้ พือ่ แก้ไขความเข้าใจคลาดเคลื่อนของนักเรียนได้อย่างทันท่วงที (BECTA, 2004: 58) ส่วนแนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในรูปแบบสือ่ แอนนิเมชัน่ หรือรูปภาพเพือ่ สรุปแนวคิดทีเ่ รียนและการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็ นเครือ่ งมือช่วย ในการเรียนรู้ สอดคล้องกับแนวคิดของ Warwick et al. (2006: 118) และ Bingimlas (2009: 240) ที่ร ะบุ ว่ า ครูส ามารถบู ร ณาการเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สารไปใช้ ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรูด้ ว้ ยตนเองได้ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเป็นเครือ่ งมือในการสร้างความรูข้ องนักเรียน เช่น การให้นกั เรียนกรอกข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดลองลงในโปรแกรมไมโครซอฟท์เอกเซล เพื่อท�ำให้นักเรียนเห็นความสัมพันธ์ของตัวแปรทีศ่ กึ ษาในรูปแบบ ตารางหรือกราฟ ภายในระยะเวลาอันรวดเร็ว รวมถึงการใช้โปรแกรมห้องปฏิบตั กิ ารเสมือน แบบจ�ำลอง 3 มิติ หรือโปรแกรมแอนิเมชันต่ ่ าง ๆ เพือ่ น�ำเสนอแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ทเ่ี ป็นนามธรรม ให้เป็นรูปธรรมเพือ่ ท�ำให้นกั เรียนเกิดความเข้าใจแนวคิดทีเ่ รียนได้งา่ ยมากขึน้ ครูสามารถ น�ำข้อมูลทีโ่ ปรแกรมแสดงผลการท�ำกิจกรรมไปถามค�ำถามเพือ่ กระตุน้ ความคิดของนักเรียน ในตอนท้ า ยการทดลอง เป็ น การส่ ง เสริม ให้ นั ก เรีย นร่ ว มกัน อภิป รายเป็ น กลุ่ ม โดยใช้เ หตุ ผ ล แลกเปลี่ย นความคิด เห็น ซึ่ง กัน และกัน จนน� ำ ไปสู่ ก ารลงข้อ สรุ ป ของสิง่ ทีไ่ ด้ศกึ ษาร่วมกัน ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิ จยั 1. ควรมีการสอบถามนิสติ ว่านิสติ ต้องการได้รบั ความช่วยเหลืออืน่ ใดอีกหรือไม่ เพือ่ พัฒนาศักยภาพให้นสิ ติ สามารถน�ำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารไปบูรณาการ ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เพือ่ น�ำผลทีไ่ ด้มาปรับปรุง การสอนของอาจารย์ผสู้ อนให้สอดคล้องกับความต้องการของนิสติ 2. ควรมีการศึกษาผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่เรียนโดยมีการบูรณาการ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเข้าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนว่าท�ำให้นกั เรียน มีผลการเรียนรูเ้ พิม่ มากกว่าการสอนแบบปกติทไ่ี ม่มกี ารบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารเข้าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่ อย่างไร 143


การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (ICT) ของนิสติ ครูวทิ ยาศาสตร์

เอกภูม ิ จันทรขันตี

กิ ตติ กรรมประกาศ ผู้ว ิจ ยั ขอขอบคุ ณ ภาควิช าการศึก ษา คณะศึก ษาศาสตร์ มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร์ทใ่ี ห้การสนับสนุนทุนในการท�ำวิจยั ในครัง้ นี้





144




ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

References Bingimlas, A. K. (2009). Barries to the Successful Integration of ICT in Teaching and Learning Environments: A Review of the Literature. Eurasia Journal of Mathematics, Science and Technology Education, 5(3): 235-245. British Educational Communications and Technology Agency (BECTA). (2004). ICT and Pedagogy: A Review of the Research Literature. Department for Education and Skills. London: Queen’s Printer. Dawson, V. M. and Venville, G. (2010). Teaching Strategies for Developing Students’ Argumentation Skills about Socioscientific Issues in High School Genetics. Research in Science Education, 40(2): 133-148. Goldfarb. A., Pregibon, N., Shrem, J., and Zyko, E. (2011). Informational Belief on Social Networking in Education. New York: Comprehensive center. Grabe, M. and Grabe, C. (2007). Integrating Technology for Meaningful Learning (5th ed.). Boston, New York: Houghton Mifflin. Kong, N. W. and Lai, K. S. (2005). ICT and Constructivist Strategies Instruction of Science and Mathematics Education. Journal of Science and Mathematics Education in Southeast Asia, 28(1): 138-160. Lertchalolarn, C. and Suppakijjumnong, K. (2000). Educational Technology in Higher Education. Bangkok: Ministry of University Affairs. Malithong, K. (2005). ICT for Education. Bangkok: Aroon Publishing. McNeill, K. L. (2009). Teachers’ Use of Curriculum to Support Students in Writing Scientific Arguments to Explain Phenomena. Science Education, 93(2): 233-268. National Electronics and Computer Technology Center. (2002). Thailand Information and Communication Technology Master Plan B.E. 2545 2549. Bangkok: Jirush Publishing Limited. Office of the National Education Commission. (2002). The National Education Act B.E. 2542 and Amendments (Second National Education Act B.E. 2545). Bangkok: Office of the National Education Commission. Warwick, P., Wilson, E., and Winterbottom, M. (2006). Teaching And Learning Primary Science With ICT. Berkshire: Open University Press. 145



รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรีและเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 : เอกสารประวัติศาสตร์ราชบุรีและสมุทรสงครามในสมัยรัชกาลที่ 5 เพชรรุ่ง เทียนปิ๋ วโรจน์ 1 บทคัดย่อ บทความนี้มวี ตั ถุประสงค์ในการศึกษาพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ เมือ่ ครัง้ ด�ำรงพระยศกรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ เรือ่ งรายงาน การตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ.117 ซึง่ ถือเป็นเอกสารประวัตศิ าสตร์ และหลัก ฐานชัน้ ต้น ชิ้น ส�ำ คัญ ที่ใ ห้ข้อ มูล เกี่ย วกับ เมือ งราชบุ ร ีแ ละสมุ ท รสงคราม ในสมัยรัชกาลที่ 5 ผลจากการศึกษาเอกสารท�ำให้ทราบถึงข้อมูลพืน้ ฐานของเมืองราชบุร ี ั ั และสมุทรสงคราม ปญหาของเมื องราชบุรแี ละสมุทรสงครามพร้อมแนวทางการแก้ปญหา สภาพเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพของราษฎร และสถานทีส่ ำ� คัญทางประวัตศิ าสตร์ ค�ำส�ำคัญ : 1. รายงานตรวจราชการ. 2. ราชบุร.ี 3. สมุทรสงคราม. 4. สมัยรัชกาลที่ 5.

1 อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา อีเมล jeezy_p@hotmail.com

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่​่ 35(2) : 147-166, 2558


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

The Bangkok Era 117 Inspection Report of Ratchaburi and Samut Songkhram: A Historical document of Ratchaburi and Samut Songkhram in the Reign of King Rama V

Petchrung Teanpewroj 2 Abstract The objective of this article is to study the writing of Krom Muen Damrong Rajanubhab in the Bangkok Era 117 Inspection Report of Ratchaburi and Samut Songkhram. This is an important historical document and primary source that show data about Ratchaburi and Samut Songkhram during King Rama V’s reign. The result of this study revealed basic information of Ratchaburi and Samut Songkhram, their problems and guidelines to solve these problems as well as the economy, the occupations and the historical landmarks of these two cities. Keywords: 1.The Report Inspection. 2. Ratchaburi. 3. Samut Songkhram. 4. The Reign of King Rama V.

2 Lecturer at Department of History, Faculty of Humanities and Social Sciences, Rajabhat Phranakhon Sri Ayudhaya University, Phranakhon Sri Ayudhaya, Thailand. E-mail address: jeezy_p@hotmail.com

148


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

บทน�ำ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เป็นช่วงเวลาแห่งการปฏิรปู การปกครองหรือยุคการท�ำประเทศให้ทนั สมัยทัง้ ส่วนกลางและส่วนภูมภิ าค สาเหตุสำ� คัญ ั ยส�ำคัญสองประการ คือ ระบบการปกครองภายในประเทศ ของการปฏิรปู สืบเนื่องมาจากปจจั แบบเดิมที่ล้าสมัยไม่เหมาะสมต่อภาวการณ์ ท่ีก�ำลังเปลี่ยนแปลง และการคุกคาม จากมหาอ�ำนาจตะวันตก ในต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั อังกฤษแผ่อทิ ธิพลเข้าคุกคามพรมแดนสยามทางด้านตะวันตกและด้านใต้ ส่วนฝรังเศส ่ ั ยดังกล่าวน�ำไปสูก่ ารปฏิรปู การปกครอง แผ่อทิ ธิพลคุกคามพรมแดนสยามทางด้านตะวันออก ปจจั ใน พ.ศ. 2435 และด�ำเนินการปกครองเมืองต่างๆ แบบเทศาภิบาล จัดตังมณฑลเทศาภิ ้ บาลขึน้ เพือ่ สร้างเอกภาพทางการปกครองและรักษาเอกราชของชาติให้พน้ จากภัยคุกคามของ มหาอ�ำนาจตะวันตก มณฑลราชบุรเี ป็นมณฑลทางภูมภิ าคตะวันตกก่อตังขึ ้ น้ ใน พ.ศ. 2437 โดยรวมเมือง เข้าไว้ดว้ ยกัน 5 เมือง คือ เมืองราชบุร ี เมืองสมุทรสงคราม เมืองกาญจนบุร ี เมืองเพชรบุร ี และเมืองปราณบุร ี (Damrong Rajanubhab, 2002: 210) ในการศึกษาประวัตศิ าสตร์มณฑลราชบุร ี นอกจากเอกสารส�ำคัญทางประวัติศาสตร์อย่างพระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมือ่ คราวเสด็จประพาสมณฑลราชบุร ี พ.ศ. 2452 แล้ว ยังมี เอกสารส�ำคัญส�ำคัญอีกอย่างน้อยหนึ่งเรือ่ ง คือ รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละ เมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 พระนิพนธ์ ของสมเด็จ พระเจ้า บรมวงศ์เ ธอ กรมพระยาด�ำ รงราชานุ ภ าพ เมื่อ ครัง้ ทรงด�ำ รง พระอิสริยยศเป็นกรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย พระองค์เสด็จออกตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ในเดือนสิงหาคม ร.ศ.117 ตรงกับพุทธศักราช 2441 เพื่อน� ำความขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุ ภาพทรงจดระยะทาง ทีไ่ ด้ตรวจในลักษณะของจดหมายรายวัน ลงวันที่ 30 สิงหาคม ร.ศ.117 ทรงพรรณนา ความถึงสิง่ ต่างๆ ที่ทรงพบเห็นอย่างละเอียดตลอดเส้นทางและทรงเขียนรายงาน อย่างตรงไปตรงมา ทังสภาพบ้ ้ านเมือง สถานทีร่ าชการ การจัดการปกครองท้องที่ การปฏิบตั ิ หน้าทีข่ องข้าราชการ จ�ำนวนส�ำมะโนครัว จ�ำนวนนักโทษในเรือนจ�ำ สภาพเศรษฐกิจ และวิถชี วี ติ ของราษฎร มีการน�ำมาตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารศิลปากร ปีท่ี 15 ฉบับที่ 6 (มีนาคม พ.ศ. 2515) รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 เป็นเอกสารส�ำคัญ ทางประวัตศิ าสตร์และเป็นเอกสารชัน้ ต้นทีส่ ำ� คัญในการศึกษาการจัดการปกครองมณฑล 149


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

เทศาภิบาล ซึง่ เป็นการปกครองสมัยใหม่มรี ะบบการบริหารราชการทีช่ ดั เจนและควบคุม การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องข้าราชการ ในช่วงเวลาทีม่ หาอ�ำนาจตะวันตกก�ำลังคุกคามสยาม และยังเป็ นเอกสารส�ำคัญทีใ่ ห้ขอ้ มูลประวัตศิ าสตร์เกีย่ วกับสภาพการเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเมืองต่างๆ ในมณฑลราชบุรอี ย่างน้ อยสองเมืองและ คุณประโยชน์สำ� คัญของการน�ำหลักฐานเหล่านี้มาศึกษาก็เพือ่ ใช้เป็ นข้อมูลในการศึกษา ประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ ของจังหวัดราชบุร ี และสมุทรสงครามได้เป็ นอย่างดี วิ พากษ์เอกสาร รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 (พ.ศ. 2441) เป็ นจดหมายเหตุรายงานการตรวจราชการของข้าราชการทีม่ ลี กั ษณะเป็ นการจดบันทึก รายงานแบบตะวันตก ซึง่ ให้รายละเอียดการเดินทางอย่างเป็ นระบบ ตัง้ แต่วนั เดือนปี ทีเ่ ดินทาง เส้นทางการเดินทาง วิธกี ารทีเ่ ดินทาง สภาพภูมปิ ระเทศ ชีวติ ความเป็ นอยู่ ของราษฎร และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ ข้อมูลการปฏิบตั งิ านของราชการ เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสาร ทีท่ ำ� ให้เห็นการเปลีย่ นแปลงของระบบราชการแบบใหม่ และเป็นรายงานการตรวจราชการ ของข้าราชการระดับเสนาบดีทเ่ี สด็จตรวจราชการหัวเมือง และเป็ นผูเ้ รียบเรียงข้อมูล ด้วยพระองค์เอง ข้อมูลในรายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 ได้มาจาการสังเกตการณ์ในขณะเสด็จตรวจราชการและจากการสอบถามเรื่องต่างๆ จากข้าราชการและราษฎรที่เข้ามารับเสด็จในแต่ละเมือง ท�ำให้ทราบสภาพการณ์ การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ ของมณฑลราชบุร ี ทีเ่ ริม่ มีการเปลีย่ นแปลงจากนโยบายการปฏิรปู การปกครอง หากแต่ยงั คงมีปญั หาในการจัดการปกครอง การเสด็จตรวจราชการมณฑล ราชบุรเี ป็ นแบบอย่างของการเดินทางตรวจราชการในเมืองอื่นๆ ในเวลาต่อมา อาทิ การเดินทางไปตรวจราชการมณฑลปราจีนบุร ี ร.ศ.119 (พ.ศ. 2443) การเดินทางตรวจราชการ มณฑลนครราชสีมา มณฑลอุดรอีสาน และมณฑลร้อยเอ็ด ร.ศ. 125 (พ.ศ. 2449) ภูมิหลังการปฏิ รปู มณฑลราชบุรีก่อนการเสด็จตรวจราชการ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (พ.ศ. 2411–2453) ความเป็นเอกภาพ และบูรณภาพของราชอาณาจักรสยามถูกคุกคามจากมหาอ�ำนาจจักรวรรดินิยมฝรังเศส ่ และเครือจักรภพอังกฤษ ทังสองมหาอ� ้ ำนาจก�ำลังแข่งขันกันขยายอิทธิพลลัทธิจกั รวรรดินยิ ม แสวงหาอาณานิคมในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สยามต้องเผชิญกับการคุกคาม ซึง่ ต่างมีเป้าหมายทีจ่ ะยึดครองประเทศราชของสยาม อันได้แก่ เขมร ลาว และดินแดน ในแหลมมลายูตอนบน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงเข้าพระทัย ต่อสภาวการณ์ อนั ล่อแหลม และทรงตะหนักดีว่าการปกครองส่วนภูมภิ าคขณะนัน้ 150


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ั นเขตแดนที ั ยังไม่รดั กุมพอ ไม่มกี ารปกป แ่ น่นอนจึงเปิดโอกาสให้มหาอ�ำนาจหาเหตุเข้าแทรกแซง สยามต้องสูญเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ยินยอมเกีย่ วกับเรือ่ งพิกดั อัตราภาษี รวมถึง สูญเสียดินแดนบางส่วนให้แก่มหาอ�ำนาจทัง้ สอง แต่ยงั คงรักษาเอกราชไว้ได้เพราะ การด�ำเนินนโยบายทางการทูตทีเ่ หมาะสมและการปรับปรุงประเทศให้ทนั สมัยทังในส่ ้ วนของรัฐบาล และระบบการปกครอง (Bunnag, 1989: preface) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�ำริวา่ ความอ่อนแอ ของรัฐบาลมีสว่ นมาจากการจ�ำแนกหน้าทีก่ ารงานอย่างไม่เพียงพอ ไม่มหี ลักการแบ่งอ�ำนาจ บริหารระหว่างฝา่ ยพลเรือนและทหาร อัครมหาเสนาบดีทส่ี มุหนายก หัวหน้าราชการ ฝา่ ยพลเรือนหรือมหาดไทยนอกจากรับผิดชอบดูแลหัวเมืองฝา่ ยเหนือแล้วยังเป็นเสนาบดี รับผิดชอบกรมกองฝา่ ยทหารอีก 2 – 3 แห่ง เช่น กรมช้าง กรมทหารม้า กรมทหารปืนใหญ่ เป็ นต้น อัครมหาเสนาบดีทส่ี มุหพระกลาโหม นอกจากรับผิดชอบด้านการทหารยังต้อง ว่าราชการฝา่ ยเรือนในหัวเมืองต่างๆ ทางภาคใต้ ส่วนกรมท่าต้องรับผิดชอบกิจการต่างประเทศ และยังต้องดูแลหัวเมืองชายทะเลอีกด้วย การควบคุมรายได้ของแผ่นดินไม่เพียงเป็นหน้าที่ ของกระทรวงพระคลังเท่านัน้ กระทรวงอืน่ ๆ ก็ทำ� หน้าทีเ่ ก็บภาษีและยังต้องท�ำงานอืน่ ๆ นอกเหนือจากงานในหน้าทีข่ องตนเอง ทางด้านการศาลก็ประสบความล�ำบากเนื่องจาก ขาดการจ�ำแนกหน้าทีก่ ารงาน ทุกกระทรวงต่างมีศาลของตนเองเพือ่ ตัดสินคดีภายใน ขอบเขตอ�ำนาจการปกครองเฉพาะตน การขาดการจ�ำแนกหน้าทีก่ ารงานก็คอื การไร้ประสิทธิภาพ อย่างแท้จริงขององค์กรส่วนกลางของรัฐบาล (Bunnag, 1989: 21 - 22) ความล่าช้าและการฉ้อราษฎร์บงั หลวงด้านการศาลท�ำให้คนไทยอยูใ่ นฐานะเสียเปรียบ ทีจ่ ะคัดค้านการเรียกร้องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตชาวยุโรป การควบคุมกระทรวงต่างๆ โดยขุนนางกลุ่มเดียวและวิธกี ารเก็บภาษีอากร อย่างไร้ประสิทธิภาพ หมายถึงว่า ประเทศสยามไม่มรี ษั ฎากรทีจ่ ะสร้างกองทหารอาชีพ ไม่มเี งินทีจ่ ดั หาอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้ทนั สมัย หรือทีจ่ ะมาปรับปรุงเส้นทางคมนาคมเพือ่ ให้กองทัพเคลื่อนตัวยังชายแดน อย่างรวดเร็วเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน เมื่อวินิจฉัยความบกพร่องของการปกครองแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงทรงหาทางแก้ไข ประการแรกจัดแบ่งงาน เพือ่ ทีว่ า่ แต่ละกระทรวงจะได้รบั ผิดชอบแต่เฉพาะงานทีต่ นสามารถจะกระท�ำได้ ประการทีส่ อง เลิกระบบทีท่ กุ กระทรวงเก็บภาษีอากรเองโดยไม่ได้ทำ� บัญชีรบั จ่าย (Bunnag, 1989: 23) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงน� ำการปฏิรูปไม่เพียงเพราะ เป็นพระราชภารกิจของพระองค์ทท่ี รงต้องรักษาผลประโยชน์ของชาติเท่านัน้ แต่ยงั ทรงฟื้นฟู พระราชอ�ำนาจของพระองค์กลับคืนมาด้วย การปรับปรุงการปกครองให้ทนั สมัย พระองค์ทรงปฏิรปู การปกครองเมือ่ วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 พระบรมราชโองการ แต่งตังคณะเสนาบดี ้ เป็นการแสดงว่าพระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ทจ่ี ะส่งเสริมความเจริญ 151


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

ของบ้านเมืองโดยธ�ำรงไว้ซง่ึ ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงาม และยกเลิกข้อบกพร่องต่างๆ เพือ่ ประชาชนจะสามารถก้าวไปสูค่ วามเจริญดังนานาประเทศในโลก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�ำริตงแต่ ั ้ เริม่ ทรงปรารถนา จะจัดการปกครองพระราชอาณาเขตให้มนคง ั ่ ทรงเห็นว่าที่หวั เมืองแยกกันขึ้นอยู่ ในกระทรวงมหาดไทยบ้าง ในกระทรวงกลาโหมบ้างและกรมท่าบ้าง บังคับบัญชาหัวเมือง ถึง 3 กระทรวง ยากทีจ่ ะจัดการปกครองให้เป็ นระเบียบแบบแผนเรียบร้อยเหมือนกันได้ ทัวทั ่ ง้ พระราชอาณาจักร ทรงมีพระราชด�ำริเห็นว่าควรรวมการบังคับหัวเมืองทัง้ ปวง ให้ข้นึ อยู่แต่ในกระทรวงมหาดไทยกระทรวงเดียว และรวมหัวเมืองเข้าเป็ นมณฑล มีผปู้ กครองมณฑลขึน้ ต่อกระทรวงมหาดไทยอีกชัน้ หนึ่งจึงจะจัดการปกครองได้สะดวก ทรงโปรดฯ ให้เริม่ รวมหัวเมืองเข้าเป็นมณฑล มีขา้ หลวงใหญ่ประจ�ำมณฑล และทรงแต่งตัง้ ให้สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ (เมือ่ ครังด� ้ ำรงพระยศกรมหลวงด�ำรงราชานุภาพ) เป็ นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2435–2458) มีหน้าทีร่ บั ผิดชอบบังคับบัญชา หัวเมืองฝา่ ยเหนือทัง้ หมด รวมทัง้ หัวเมืองประเทศราชอีสาน และหัวเมืองชัน้ ในชัน้ นอก ทีต่ กอยูใ่ ต้แรงบีบโดยตรงจากฝรังเศส ่ เมือ่ สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ทรงออกไปตรวจราชการยังหัวเมือง ท�ำให้ทรงเห็นประเพณีการปกครองหัวเมือง อย่างโบราณทีย่ งั ใช้กนั อยูห่ ลายอย่าง การปกครองตามหัวเมืองในสมัยนัน้ ยังใช้วธิ เี รียก ในกฎหมายเก่าว่า “ กินเมือง” (Damrong Rajanubhab, 1972: 65 ) และท�ำให้พระองค์ ทรงทราบถึงปญั หาในการปกครองหัวเมือง ความคิดแก้ไขปญั หาการปกครองของ กรมหลวงด�ำรงราชานุภาพตรงกับโครงการทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�ำริ คือ การรวมหัวเมืองเป็ นมณฑล เห็นว่าเป็ นหัวเมืองชัน้ ในก็ควรรวมเข้าเป็ นมณฑลละ 5 หรือ 6 เมือง เอาขาดท้อ งทีๆ่ ผู้บ ัญ ชาการมณฑลอาจจะจัด การและตรวจตราได้เ อง ตลอดอาณาเขตเป็ นประมาณ และให้มนี ายหรือข้าราชการผูใ้ หญ่อนั ชัน้ ยศ อยูใ่ นระหว่างเสนาบดีกบั เจ้าเมืองไปประจ�ำบัญชาการมณฑลละคน เป็นพนักงาน จัดการต่างๆ และเป็นทีปรึ ่ กษาหารือของเสนาบดีดว้ ย ถ้าว่าโดยย่อก็คอื แยกหน้าที ่ จัดการต่างๆ ตามหัวเมืองไปให้ผบู้ งั คับบัญชาการมณฑลเป็นผูท้ ำ� เสนาบดีเป็น ผูค้ ดิ แบบแผนและตรวจตราทีท�่ ำนัน้ ประกอบกันจึงจะจัดการปกครองหัวเมืองได้ดี ดังพระราชประสงค์” (Damrong Rajanubhab,1972: 69 ) หลังจากกรมหลวงด�ำรงราชานุภาพกลับจากการตรวจราชการเมืองเหนือครังแรก ้ พ.ศ. 2435 ทรงถวายรายงานและกราบทูลต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั

152


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ทรงพระราชด�ำริเห็นชอบด้วยพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้รวมหัวเมืองเป็นมณฑล กรมหลวงด�ำรงราชานุ ภาพทรงมีพระด�ำริจดั ตัง้ มณฑลโดยทรงเห็นว่าควรเอาล�ำน�้ ำ อันเป็ นทางคมนาคม เป็ นหลักอาณาเขตมณฑล ในส่วนของมณฑลราชบุรนี ัน้ จัดตัง้ ขึน้ ใน พ.ศ. 2437 โดยรวมเมืองราชบุร ี เมืองสมุทรสงคราม เมืองเพชรบุร ี เมืองกาญจนบุร ี และเมืองปราณบุร ี (ต่อมาใน พ.ศ. 2458 เปลีย่ นชือ่ จากเมืองปราณบุรเี ป็ นประจวบคีรขี นั ธ์) เข้าไว้ดว้ ยกัน ตัง้ ทีบ่ ญ ั ชาการมณฑล ทีเ่ มืองราชบุร ี มณฑลราชบุรมี คี วามส�ำคัญทางเศรษฐกิจจากลักษณะสภาภูมศิ าสตร์เศรษฐกิจ ทีเ่ หมาะสมในการเป็นแหล่งผลิตสินค้าทังทางด้ ้ านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม สินค้า ข้าว ่ ยาสูบ พืชไร่ การท�ำปาไม้ น�้ำตาล การท�ำเหมืองแร่ เป็นผลผลิตส�ำคัญ และยังมีความส�ำคัญ ั ั ทางการเมืองในการแก้ไขปญหาที เ่ กิดขึน้ ภายในมณฑลไม่วา่ จะเป็นปญหาด้ านการปกครอง ั ั โจรผูร้ า้ ย ปญหาทางการศาล ปญหาทางเศรษฐกิ จและการเป็นเมืองหน้าด่านทีม่ พี รมแดน ั ติดกับพม่าซึง่ อังกฤษได้เข้ายึดครองเป็นอาณานิคมซึง่ เป็นปญหาระหว่ างเขตแดนซึง่ อาจ ท�ำให้เกิดปญั หากระทบกระทังกั ่ บฝ่ายอังกฤษและอาจลุกลามใหญ่ โตเป็ นอันตราย ต่อเอกราชของสยามได้ พระยาสุรนิ ทรฦาไชย (เทศ บุนนาค) เป็ นข้าหลวงเทศาภิบาลส�ำเร็จราชการ มณฑลราชบุรเี ป็นคนแรก ระหว่าง พ.ศ. 2437–2442 พระยาสุรนิ ทรฦาไชยได้ดำ� เนินการแก้ไข ปรับปรุงปญั หาต่างๆ ได้แก่ ปญั หาด้านการปกครอง พระยาสุรนิ ทรฦาไชยปรับปรุง ด้านการปกครองขึน้ ก่อนด้านอืน่ โดยจัดรูปแบบและแบ่งหน้าทีข่ องหน่วยงานราชการต่างๆ ภายในมณฑลให้เป็ นระเบียบแบบแผนยิง่ ขึน้ ปญั หาโจรผูร้ า้ ย พระยาสุรนิ ทรฦาไชย ได้ปราบปรามโจรผูร้ า้ ยทีเ่ คยมีชุกชุมในหัวเมืองต่างๆ ให้สงบลง ด้านภาษีอากรก็ได้ จัดเก็บเงินภาษีผลประโยชน์แผ่นดินให้กบั มณฑลได้เป็นจ�ำนวนมาก (Manas Tanyakaset, 1977: 246-247) อย่างไรก็ดกี ารปฏิรปู มณฑลราชบุรขี องพระยาสุรนิ ทรฦาไชย แม้วา่ สามารถ ท�ำให้มณฑลราชบุรกี า้ วหน้ายิง่ ขึน้ แต่กย็ งั คงเป็นเพียงการวางรากฐานเท่านัน้ และยังคง ั มีปญหาในการจั ดการปกครองดังทีก่ รมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพทรงพบเมือ่ เสด็จออกตรวจราชการ มณฑลราชบุรดี ว้ ยพระองค์เองใน พ.ศ. 2441 หรือประมาณ 4 ปีหลังจากการตัง้ มณฑล ราชบุร ี ส่วนปญั หาทางชายแดนทีต่ ดิ ต่อกับอาณาเขตพม่าของอังกฤษนัน้ ในระยะนี้ สถานการณ์ระหว่างประเทศได้คลายความกดลง สืบเนื่องจากการทีอ่ งั กฤษและฝรังเศส ่ มีผลประโยชน์ทางการค้าในดินแดนแถบมณฑลราชบุรแี ละมณฑลใกล้เคียงและมีการท�ำสัญญา ประกัน บู ร ณภาพของดิน แดนแถบนี้ ใ น พ.ศ.2438 มณฑลราชบุ ร ีจึง ปลอดภัย จากการแทรกแซงมากขึน้ 153


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

ภาพที ่ 1 สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุ ภาพ ทรงฉายภาพภายในถ�้ำที่เพชรบุร ี (Damrong Rajanubhab, 2002)

สารัตถวิ พากษ์ ภายหลัง ที่ส มเด็จ ฯ กรมพระยาด�ำ รงราชานุ ภ าพด�ำ รงต�ำ แหน่ ง เสนาบดี กระทรวงมหาดไทย พระองค์มพี ระราชประสงค์ทจ่ี ะศึกษาหาความรูเ้ พิม่ เติมส�ำหรับ การจัดการปกครองหัวเมือง จึงได้เสด็จตรวจราชการหัวเมืองเหนือเป็นครังแรกเมื ้ อ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2435 และจากการเสด็จตรวจราชการในครัง้ นี้พระองค์ได้ทรงเห็นถึงประโยชน์และ ความจ�ำเป็ นในการตรวจราชการเป็ นอย่างมาก ดังนัน้ ตลอดช่วงเวลาทีพ่ ระองค์ดำ� รง ต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2435-2458) พระองค์จงึ ได้เสด็จตรวจราชการ อยูต่ ลอดเวลา การเดินทางไปตรวจราชการของข้าราชการในสมัยหลังนีเ้ ป็นการไปตรวจราชการ ในช่วงเวลาที่บ้านเมืองปกติสุข ต่างจากการไปตรวจราชการแต่เดิมที่ขา้ หลวงและ เสนาบดีจะเดินทางไปตรวจราชการเฉพาะเวลาทีบ่ า้ นเมืองเกิดเหตุการณ์ไม่ปกติ เช่น เกิดปญั หาโจรผูร้ า้ ยหรือการศึกสงคราม ซึง่ เป็ นสาเหตุทำ� ให้ราษฎรเดือดร้อน ดังนัน้ ั ข้าหลวงและเสนาบดีจงึ ต้องเดินทางไปหัวเมืองเพือ่ จัดการปญหาดั งกล่าว ความแตกต่าง อีกประการหนึ่ง คือ ธรรมเนียมปฏิบตั ใิ หม่ของการเดินทางไปตรวจราชการ ทีก่ ำ� หนดให้ ข้าราชการต้องท�ำรายงานการตรวจราชการ เพือ่ น�ำข้อมูลมาใช้เป็นแนวทางในการบริหาร บ้านเมืองให้ราษฎรอยูเ่ ย็นเป็ นสุข (Damrong Rajanubhab, 2002: 24–25) การเดิ นทางตรวจราชการ กรมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ทรงออกเดินทางในวันที่ 18 สิงหาคม ร.ศ. 117 โดยเรือจากคลองบางยางไปตามคลองด�ำเนินสะดวกและทรงตรวจราชการไปตามรายทาง การเดินทางในคลองมีเรือไฟ (น่าจะหมายถึงเรือกลไฟ) รับจ้างลากเรือ ลากจากปากคลองบางยาง 154


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

ไปปากคลองบางนกแขวก และคอยรับลากจากปากคลองบางยางไปเมืองราชบุรแี ละ บ้านโปง่ (Damrong Rajanubhab, 1972: 23) ข้อมูลพืน้ ฐานของเมืองราชบุรีและเมืองสมุทรสงคราม พระยาสุรนิ ทรฦาไชยได้รเิ ริม่ การจัดการส�ำรวจส�ำมะโนครัวใน พ.ศ. 2448 แต่ในระยะนี้การท�ำบัญชีส�ำรวจยังไม่สามารถใช้ประโยชน์ ได้อย่างจริงจังเนื่องจาก ยังขาดรายละเอียดอยูม่ ากและบัญชีการส�ำรวจก็มฉี บับเดียว ต่อมาใน พ.ศ. 2440 มีคดีความ โจรผูร้ า้ ยชุกชุมจึงได้มกี ารด�ำเนินการส�ำรวจส�ำมะโนครัวในรูปแบบใหม่ได้ขอ้ มูลจ�ำนวน ราษฎรชายหญิง จ�ำนวนครอบครัว จ�ำนวนก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น จ�ำนวนสัตว์พาหนะ จ�ำนวนพาหนะ ทีใ่ ช้ในหมูบ่ า้ น ในรายงานการตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117 ของ กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุ ภาพได้กล่าวถึงข้อมูลจ�ำนวนประชากรและการส�ำมะโนครัวของ แต่ละท้องทีไ่ ว้ดงั นี้ บัญชีสำ� มะโนครัวเมืองราชบุร ี มีจำ� นวนอ�ำเภอ 4 อ�ำเภอ มีกำ� นัน 144 คน ผูใ้ หญ่บา้ น 1,325 คน พลเมือง 128,769 คน หลังคาเรือน 28,190 หลัง ม้า 460 ตัว โค 96,396 ตัว กระบือ 3,315 ตัว เกวียน 28,837 หลัง เรือ 15333 ล�ำ ปืน 4,598 กระบอก (Damrong Rajanubhab, 1972: 28) บัญชีสำ� มะโนครัวเมืองสมุทรสงคราม แบ่งเป็น 2 อ�ำเภอ คือ อ�ำเภอ คือ อ�ำเภอเมือง และอ�ำเภออัมพวา มีกำ� นัน 41 คน ผูใ้ หญ่บา้ น 340 คน พลเมือง 47,731 คน (Damrong Rajanubhab, 1972: 34) จากการส�ำรวจส�ำมะโนครัวท�ำให้ทางราชการได้รบั ความสะดวกในการปกครอง มากขึน้ ทีส่ ำ� คัญคือ ท�ำให้รฐั บาลสามารถควบคุมและคุม้ ครองความปลอดภัยของประชาชน ได้ดขี น้ึ โดยเฉพาะเรือ่ งโจรผูร้ า้ ย และยังเป็นประโยชน์ตอ่ การน�ำมาประกอบการพิจารณา ออกกฎหมายมีขอ้ บังคับใช้ในด้านต่างๆ ปัญหาจากการตรวจราชการเมืองราชบุรี ปัญหาพืน้ ที่การปกครองก้าวก่ายกันไม่เหมาะสมและพืน้ ที่รกร้างว่างเปล่า กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ เสด็จไปเมืองราชบุรโี ดยผ่านทางคลองด�ำเนินสะดวก ท�ำให้ทรงเห็นถึงปญั หาการปกครองก้าวก่ายกันไม่เหมาะสม กล่าวคือ พื้นที่ตงั ้ แต่ ั ่ ่งเป็นพรมแดนของมณฑลนครชัยศรี ปากคลองด�ำเนินสะดวกต่อกับมณฑลราชบุร ี ฝงหนึ ั ่ ่งเป็นพรมแดนของมณฑลราชบุร ี ทรงเห็นว่าไม่ควรแบ่งพืน้ ทีค่ นละฝงคลอง ั่ ฝงหนึ อีกทัง้ ั่ พืน้ ทีท่ งสองฝ ั้ งคลองด� ำเนินสะดวกส่วนใหญ่ยงั คงเป็นพืน้ ทีร่ กร้างว่างเปล่า ทีร่ กร้างดังกล่าว 155


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

เป็นของญาติพน่ี อ้ งตระกูลสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ช่วง บุนนาค) ทีจ่ บั จองกันไว้ ตัง้ แต่ครัง้ ขุดคลองด�ำเนินสะดวก(Damrong Rajanubhab, 1972: 23) ปัญหาการจัดเก็บอากรสมพัตศรและอากรค่าน�้ำ ปญั หาการจัดเก็บอากรสมพัตศรและอากรค่าน�้ำเป็ นปญั หาทีพ่ วกก�ำนันและ ผูใ้ หญ่บา้ นร้องทุกข์ต่อกรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพว่า เจ้าพนักงานมาเก็บอากรสมพัตศร หรืออากรสวน เมื่อวัดพืน้ ทีเ่ พาะปลูกบนร่องสวนไม่ได้วดั เฉพาะหลังร่องทีป่ ลูกต้นไม้ แต่วดั เลยออกไปถึงไหล่ท้องร่องทัง้ สองข้างที่ไม่ได้ปลูกพืชเอามารวมคิดเป็ นเนื้อที่ เก็บอากรสมพักศรด้วย และทีใ่ นท้องร่องปลูกข้าวก็เก็บรังวัดเป็ นทีน่ าด้วยอีกส่วนหนึ่ง ส่วนปญั หาอากรค่าน�้ ำราษฎรเดือดร้อนในเรื่องพิกดั การเก็บเครื่องมือประกอบอาชีพ ที่ชาวบ้านต้องเสียอากร แม้จะเป็ นเครือ่ งมือจับสัตว์น้�ำเล็กๆ น้อยๆ เช่น ลอบ เป็ นต้น (Damrong Rajanubhab, 1972: 24) ปัญหาความเดือดร้อนของก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น การจัดรูปแบบการปกครองต�ำบลและหมูบ่ า้ นนัน้ แตกต่างจากหน่ วยราชการ ส่วนท้องถิน่ อืน่ ๆ เนื่องจากก�ำนันและผูใ้ หญ่บา้ น ซึง่ เป็นหัวหน้าหน่วยการปกครองต�ำบล และหมูบ่ า้ น ไม่อยูภ่ ายใต้ขอ้ บังคับการรับเงินเดือน ก�ำนันและผูใ้ หญ่บา้ นปฏิบตั ริ าชการ ให้แก่รฐั เสมือนเป็ นผูช้ ่วยกรมการอ�ำเภอได้รบั ค่าตอบแทนเป็ นผลประโยชน์อย่างอื่น เช่น การได้สว่ นแบ่งจากค่ารรมเนียม หรือการได้รบั ยกเว้นไม่ตอ้ งเสียภาษีอากรบางอย่าง ก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ นมีความเดือดร้อนในเรือ่ งของการต้องท�ำราชการต่างๆ ไม่มเี วลา ไปท�ำมาหากิน โดยเฉพาะต้องท�ำราชการเรือ่ งเก็บภาษีอากร กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงไต่ถามพวกก�ำนันถึงเรือ่ งการพระราชทานส่วนลดภาษีอากรซึง่ พวกก�ำนันก็ยงั ไม่ได้รบั เนื่องจากความไม่เข้าใจในระบบบริหารราชการแบบใหม่ซง่ึ ก�ำนันและข้าหลวงเข้าใจว่า ต้องเก็บเงินภาษีอากรให้เสร็จสิน้ ไม่ตกค้างจึงจะได้รบั ส่วนลดภาษีอากร (Damrong Rajanubhab, 1972: 25) ปัญหานักโทษ กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงตรวจเยีย่ มโรงทหารซึง่ สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย ั และทรงตรวจเรือนจ�ำ (ตะราง) ในเมืองราชบุรซี ง่ึ สะอาดเรียบร้อยพอใช้ ปญหาของนั กโทษ ในเมืองราชบุรเี ป็ นปญั หานักโทษแออัดยัดเยียดในห้องขัง (ห้องจองจ�ำ) จ�ำนวนนักโทษมีอยูใ่ นตะรางเมืองราชบุรเี วลานี้ ทีต้่ องเวรจ�ำตัดสินแล้ว ชาย 51 คน ในระหว่างพิจารณา 32 คน รวมนักโทษ 83 คนจ�ำขังไว้หอ้ งหนึง่ ซึงว่ ่ าเปนห้องทียั่ ดเยียด อิกห้องหนึง่ ไว้นกั โทษซึงต้ ่ องคุมขังในระหว่างพิจารณาบ้าง ความแพ่งบ้างมีนกั โทษ 37 คน อิกห้องหนึง่ ขังนักโทษหญิงมีนกั โทษ 5 คน รวมมีนกั โทษชาย 120 หญิง 5 รวม 125 คน (Damrong Rajanubhab, 1972: 27) 156


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงไต่ถามนักโทษถึงเรือ่ งการบังคับบัญชาเลีย้ งดู นักโทษ มีนกั โทษร้องเรียนเรือ่ งการจ่ายอาหารเลีย้ งนักโทษว่าได้รบั พระราชทานข้าวหลวง ไม่ทวถึ ั ่ งกัน ไม่อมิ่ และไม่มกี บั ข้าว กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงไต่สวนเจ้าพนักงานเรือนจ�ำ ได้ความว่า จ่ายอาหารเลีย้ งนักโทษเฉพาะคนทีไ่ ม่มญ ี าติมาส่งอาหาร และให้แค่ขา้ วเปล่า มือ้ ละหนึ่งชาม นอกจากนี้กรมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ยังทรงกล่าวถึงคติความเชื่อโบราณ ทีย่ ดึ ถือกันมาว่าถ้าผูด้ เี ข้าในคุกในตะรางจะมีเสนียดจัญไร ซึง่ เป็นสาเหตุทท่ี ำ� ให้ผรู้ กั ษาเมือง กรมการเมืองไม่เข้าไปตรวจตราในเรือนจ�ำ (Damrong Rajanubhab, 1972: 26) ปัญหาการจัดการอ�ำเภอไม่ดี การแบ่งอ�ำเภอ (แขวง) ของเมืองราชบุรใี นขณะนัน้ จัดแบ่งเป็ น 4 อ�ำเภอ คือ ั ่ อ อ�ำเภอฝงใต้ ั ่ อ�ำเภอฝงตะวั ั ่ นออก และอ�ำเภอฝงตะวั ั ่ นตก โดยใช้แนวแม่น้�ำ อ�ำเภอฝงเหนื เป็นหลักในการแบ่ง ใน พ.ศ. 2441 มีการประกาศใช้ขอ้ บังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ.117 ได้มกี ารแบ่งเขตอ�ำเภอต่างๆ ในมณฑลราชบุรใี หม่ พระยาสุรนิ ทรฦาไชยขออนุมตั ิ กระทรวงมหาดไทยเพิม่ อ�ำเภอขึน้ อีกเป็ นพิเศษเนื่องจากจ�ำนวนราษฎรมากเกินกว่า ทีจ่ ะจัดการปกครองให้ทวถึ ั ่ ง ทังนี ้ ใ้ นเมืองราชบุรไี ม่มอี ำ� เภอเมือง ซึง่ กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเห็นว่าอ�ำเภอเมืองเป็นอ�ำเภอส�ำคัญ อีกทังอ� ้ ำเภอทีจ่ ดั ตังขึ ้ น้ มาแล้ว กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ั ่ นออกและอ�ำเภอฝงตะวั ั ่ นตก ทรงพบว่า ทรงได้ตรวจเยีย่ ม 2 อ�ำเภอ คือ อ�ำเภอฝงตะวั แต่ละแห่งมีเพียงศาลาหนึง่ หลัง เรียกว่า ศาลอ�ำเภอ กรมการอ�ำเภอตัง้ บ้านเรือนอยูใ่ นเมือง ห่างจากศาล ผลัดเปลีย่ นกันมาท�ำหน้าที่ และตัวนายอ�ำเภอก็ยงั ไม่เข้าใจระบบราชการ แบบใหม่ (Damrong Rajanubhab, 1972: 32) ปัญหาการจัดการทางการศาล ั ปญหาส� ำคัญของมณฑลราชบุรคี อื ยังไม่มศี าลมณฑล ซึง่ กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเห็นว่าจะต้องรีบเปิดศาลมณฑล และให้มขี า้ หลวงพิเศษมาจัดการศาล การแก้ไขปัญหาจากการตรวจราชการเมืองราชบุรี การแก้ปัญหาพืน้ ที่การปกครองก้าวก่ายกันไม่เหมาะสมและพืน้ ที่รกร้าง ว่างเปล่า ปญั หาการแบ่งพืน้ ทีร่ ะหว่างเมืองสมุทรสาครกับนครไชยศรีโดยใช้คลองนัน้ ทรงให้รอตรวจแผนทีใ่ ห้ดกี ่อนจะแบ่งพรมแดนใหม่ ส่วนปญั หาพืน้ ทีร่ กร้างว่างเปล่า มีกำ� หนดอยูใ่ นกฎหมายว่าถ้าทิง้ ไว้นานเกิน 3 ปีเป็นการขาดการจับจอง แต่ทรงรับสังให้ ่ ข้าหลวงเทศาภิบาลมณฑลนครไชยศรีและมณฑลราชบุรตี รวจท�ำบัญชีเจ้าของที่ ประกาศให้ เจ้าของทีร่ บั ทราบก่อน (Damrong Rajanubhab, 1972: 23) 157


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

การแก้ปัญหาการจัดเก็บอากรสมพัตศรและอากรค่าน�้ำ กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเสนอแนวทางแก้ปญั หานี้วา่ อากรสมพัตศรและ ั อากรค่านาเสียอากรเท่ากัน แต่ปญหาความเดื อดร้อนอยูท่ ก่ี ารเก็บอากรทีต่ อ้ งเก็บปีละ 2 ครัง้ ก�ำนันผูใ้ หญ่บ้านและราษฎรต้องได้รบั ความล�ำบากในกระบวนการท�ำบัญชีและต้อง เดินทางไปเสียเงินจึงทรงให้พนักงานเก็บอากรมีพยี งพนักงานเดียวและเก็บอากรปี ละ ครัง้ เดียว ส่วนเรือ่ งอากรค่าน�้ำทรงด�ำริทจ่ี ะให้ยกเลิกการเก็บอากรเครือ่ งมือจับสัตว์น้ำ� ย่อยๆ ให้เก็บแต่เครือ่ งมือใหญ่ๆ แต่จะต้องเอาไว้หารือในทีป่ ระชุมเทศาภิบาลก่อน (Damrong Rajanubhab, 1972: 24) การแก้ปัญหาความเดือดร้อนของก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น ความเดือดร้อนจากการท�ำราชการของก�ำนันผูใ้ หญ่ ทรงลดภาระในการท�ำบัญชีอากร ของก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น และทรงให้สว่ นลดภาษีอากรแก่กำ� นัน ถ้าเก็บเงินได้เท่าใด เมือ่ ใด ก็ให้หกั ส่วนลดทันที กรมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ทรงให้ความส�ำคัญกับการปกครอง ส่วนท้องถิน่ โดยเฉพาะเรือ่ งก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ นด้วยทรงเห็นว่าทีก่ ารปกครองตามหัวเมือง มีความสงบเรียบร้อยได้นนั ้ ก็เพราะก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ น รัฐบาลได้คนดีมรี าษฎรนิยมเชือ่ ถือ มาเป็นก�ำลังในการท�ำราชการ ท�ำให้ราษฎรอยูใ่ นบังคบบัญชาของรัฐได้มากขึน้ กว่าแต่กอ่ น (Damrong Rajanubhab, 1972: 25) การแก้ปัญหานักโทษ จากการทีน่ กั โทษร้องเรียนเรือ่ งการจ่ายอาหาร กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงสังให้ ่ เลีย้ งนักโทษด้วยข้าวหลวงทุกคน และให้มกี บั ข้าวด้วยหนึ่งอย่าง ถ้านักโทษคนใดกินจุ ก็ให้เพิม่ ข้าวให้ ส่วนเรือ่ งคติโบราณเรือ่ งห้ามผูด้ เี ข้าตาราง กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเชิญ เจ้าพระยาสุรพันธ์และพระยาอมรินทร์เข้าไปตรวจในตารางด้วย ทีผ่ า่ นมาผูว้ า่ ราชการเมือง ไม่เคยเข้าไปตรวจ และทรงตังพระทั ้ ยว่าต่อไปจะต้องพาผูว้ า่ ราชการตรวจในตารางทุกๆ แห่ง ทีท่ รงเสด็จไป (Damrong Rajanubhab, 1972: 27 – 28) การแก้ปัญหาการจัดการอ�ำเภอไม่ดี กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงแก้ปญั หานี้โดยให้ตงั ้ อ�ำเภอเมืองขึน้ ส่วนเรือ่ ง ข้าราชการทีไ่ ม่เข้าใจระบบราชการแบบใหม่จำ� เป็ นต้องจัดส่งคนจากกรุงเทพฯ ออกมา หาคนมาเป็นกรมการอ�ำเภอเพิม่ เติม และต้องหาผูต้ รวจจัดการอ�ำเภอส่งออกมาด้วย เพือ่ ให้ มานัง่ ก�ำกับจัดการอ�ำเภอๆ ละหนึ่งเดือนให้ถูกต้องตามแบบแผน และต้องบังคับให้ กรมการอ�ำเภอออกไปอยูท่ ว่ี า่ การอ�ำเภอเพือ่ ความเรียบร้อย

158


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

การแก้ปัญหาการจัดการทางการศาล กรมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ทรงเห็นว่าควรเร่งเปิ ดศาลมณฑลราชบุรเี พื่อใช้ พิจารณาพิพากษา ตัดสินคดีความต่างๆ หลังจากเสด็จกลับจากการตรวจราชการเมืองราชบุร ี แล้วได้มกี ารออกพระราชบัญญัตแิ ละพระราชก�ำหนด ร.ศ.117 ให้ จัดตัง้ ศาลมณฑลราชบุร ี สร้างขึน้ แล้วเสร็จใน ร.ศ 125 (พ.ศ. 2449) ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ย กเลิก ศาลมณฑลราชบุ ร ี จัด ตัง้ เป็ น ศาลจัง หวัด อาคารหลัง นี้ จึง เป็ น ที่ท�ำ การ ศาลจัง หวัด ราชบุรมี าจนกระทังปี ่ พ.ศ. 2501 หลัง จากนัน้ จึง ใช้เป็ นที่ท�ำ การของ ศาลแขวงราชบุรตี ลอดมาจนถึงปจั จุบนั (Manas Tanyakasert, 1977: 172)

ภาพที ่ 2 ศาลมณฑลราชบุร ี (ภาพจากหนังสือจดหมายเหตุแสงอรุณ แมคเอซิน วัฒนาวิทยา ฉบับธันวาคม ร.ศ.126 พ.ศ.2450 ภาพจากห้องสมุดศรัณย์ ทองปาน) (Chantrawong, 2011)

ปัญหาจากการตรวจราชการเมืองสมุทรสงคราม ปัญหาความไม่เข้าใจในระบบราชการแบบใหม่ ที่เมืองสมุทรสงครามมีหลวงอร่ามสาครเขตรยกระบัตร เป็ นผู้รกั ษาเมือง กรมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ทรงตรวจราชการอ�ำเภออ�ำพวาและตรวจที่ว่าการเมือง อ�ำเภออ�ำพวาไม่ทราบว่าที่ว่าการอ�ำเภออยู่ท่ใี ด เพราะในช่วงเวลาที่พระองค์เสด็จ มีการยกตูห้ นังสือมาไว้ทโ่ี รงละครหน้าบ้านหลวงมหาดไทย นายอ�ำเภออ�ำพวาในขณะนัน้ ทรงตรวจดูเอกสารความแพ่ง บัญชีสำ� มะโนครัว ซึง่ ท�ำอย่างย่อ ทรงเห็นว่าพอใช้ได้ ทรงไต่ถาม ก�ำนันผูใ้ หญ่บา้ นเรือ่ งโจรผูร้ า้ ยก็สงบดี แต่ในส่วนของทีว่ า่ การเมือง ทรงเห็นว่า “ ไม่วเิ สสอันใด กว่าทีอ่ �ำเภออ�ำพวา เพราะไม่มผี ูใ้ ดตัง้ แต่ผูว้ ่าราชการเมืองลงไปจนถึงเสมียนทนาย จะเข้าใจว่าออฟฟิ ศเปนอย่างไร” และทรงเห็นว่า “พนักงานบังคับอยู่ค่อนข้างโง่เขลา เกียจคร้าน ไม่เอาใจใส่ทจ่ี ะศึกษาหาความรูห้ รือหาทางทีจ่ ะบังคับบัญชาให้เปนแบบแผน เรียบร้อยดังเมืองอืน่ การปกครองจึงยังไม่เป็นเรือ่ งอยูโ่ ดยมาก” (Damrong Rajanubhab, 1972: 34) 159


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

ปัญหาการจัดเก็บอากร กรมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ทรงเรียกนายระวางกรมพระคลังสวนมาไต่ถาม เรือ่ งการเก็บอากรสวน เงินอากรสวนเก็บได้ประมาณปีละ 500 ชัง่ ไม้ตอ้ งอากรสวน คือ หมากกับมะม่วง พันธุไ์ ม้อน่ื นายสมพักศรเก็บอีกส่วนหนึ่ง คือ เก็บอากร 2 อย่าง 2 ครัง้ ทุกสวน (อากรสวนอย่างหนึ่ง อากรสมพักศรอีกอย่างหนึ่ง) กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงไต่ถามพวกนายระวางถึงเรือ่ งการเก็บอากรสวนได้ความว่า เงินอากรทีเ่ ก็บเก็บตาม จ�ำนวนเดิมตัง้ แต่พระยาสมบัตยิ าธิบาลซึง่ เป็นข้าหลวงออกาเดินรังวัดสวน ท�ำบัญชีเดินทุง่ มอบไว้แก่นายระวาง โดยในบัญชีจะระบุชอ่ื เจ้าของสวน ขนาดสวน ท้องทีส่ วน ตารางชือ่ ต้นไม้ ต่างๆ มีชอ่ งส�ำหรับกรอกว่ามีจำ� นวนเท่าใด อากรเท่าใด นายระวางอากรสวนก็เก็บตามบัญชีนนั ้ มาทุกปี ต้นผลไม้จะตายหรือปลูกเพิม่ อีกเท่าใดก็เก็บอากรเท่าเดิม (Damrong Rajanubhab, 1972: 37) การแก้ไขปัญหาจากการตรวจราชการเมืองสมุทรสงคราม การแก้ไขปัญหาความไม่เข้าใจในระบบราชการแบบใหม่ ั ถ้ อื ว่าเป็นปญหาส� ั ำคัญในการบริหารราชการแผ่นดิน กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ปญหานี ทรงเห็นว่าไม่มเี วลาพอทีจ่ ะท�ำความเข้าใจเรือ่ งระบบราชการ จึงทรงให้หลวงอร่ามสาครเขต ผู้ ร ัก ษาเมือ งย้ า ยกรมการจ่ า เมือ งไปรับ หน้ า ที่ใ นต� ำ แหน่ ง อื่น และจะส่ ง คนใน กระทรวงมหาดไทยออกมาเป็ นจ่าเมืองและปลัดเมือง การแก้ไขปัญหาการจัดเก็บอากร กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเสนอแนะว่าวิธกี ารท�ำบัญชีรางวัดนัน้ ดีคล้ายกับ วิธบี ญ ั ชีสมพักศรทีก่ ระทรวงพระคลังคิดขึน้ ใหม่ แต่ควรจะต้องท�ำตามทีเ่ ป็ นจริงทุกๆ ปี จะท�ำให้ได้เงินอากรมากขึน้ เพราะการท�ำสวนนัน้ เจริญขึน้ มาก ทีผ่ า่ นมาราษฎรเสียอากรน้อย ทีต่ รวจได้จริงถึงครึง่ หรือกว่าครึง่ หนึ่ง คนทีต่ อ้ งจ่ายอากรเกินความเป็ นจริงคงจะมีน้อย ประเด็นนี้กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเทียบเคียงกับสวนของพระองค์ทค่ี ลองมหานาค ในกรุงเทพฯ ทีย่ งั คงต้องเสียอากรต้นไม้ทต่ี ายไปแล้วปี ละหลายๆ บาท นอกจากนี้ยงั ทรงให้ยกเลิกด่านภาษีทเ่ี ดิมมีมากถึง 6 ต�ำบล คือ ด่านใหญ่ทป่ี ากคลองแม่กลอง ด่านบางจะเกรง ด่านบางเรือหัก ด่านอ�ำพวา ด่านบ้านปากน�้ำ และด่านสุนกั ข์หอน ให้เหลือไว้ 2 ต�ำบล คือ ด่านปากคลองแม่กลองกับด่านบางจะเกรง เอาไว้สำ� หรับตรวจเรือทีจ่ ะออกทะเล (Damrong Rajanubhab, 1972: 37) สภาพเศรษฐกิ จและการประกอบอาชีพของราษฎร ตลาดเมืองราชบุรี ในเอกสารเรียกว่า ตลาดน่าเมืองราชบุร ี เป็นตลาดและโรง 160


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

บ่อนของพระสุธรรมไมตรี เมือ่ เจ้าพระยาสุรพันธ์พสิ ทุ ธิ ์มาเป็นข้าหลวงเทศาภิบาล พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เสด็จประพาสเมืองราชบุรใี นศก 114 (พ.ศ. 2438) เจ้าพระยา สุรพันธ์ ได้รอ้ื ไม้ทท่ี ำ� พลับพลาทีป่ ระทับมาสร้างโรงบ่อนและตลาดในทีห่ ลวงเหนือตลาด พระสุธรรมไมตรี ตัง้ แต่ศก 115 เก็บค่าเช่าได้ปีหนึง่ 30 ชังเศษ ่ พระสุธรรมไมตรีจงึ ยอมขาย ทีต่ ลาด ตอนนี้ตลาดเมืองราชบุรเี ป็นของหลวงเก็บค่าเช่าเรือนโรง ค่าเช่าตลาด และค่าท่าเรือ จ้างในศก 116 (พ.ศ. 2440) ได้เงิน 3800 บาท ตลาดเมืองราชบุรเี จริญขึน้ กว่าครังที ้ ต่ ามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั แต่ตลาดนีย้ งั จะต้องมีการแก้ไขเพราะตังปิ ้ ดหน้า เมืองควรท�ำใหม่เป็นตึกหรือเป็นเครือ่ งไม้จริงจะท�ำให้เมืองราชบุรเี ป็นสง่าผ่าเผยมากยิง่ ขึน้ (Damrong Rajanubhab, 1972: 25–26) ตลาดสมุทรสงคราม สร้างขึน้ ในศก 116 (พ.ศ. 2440) บริเวณเหนือวัดใหญ่รมิ แม่น้�ำแม่กลอง เรียกว่า ตลาดหลวง หลวงอร่ามสาครเขต ท�ำสะพานและถมถนนจาก แม่น้�ำเข้าไปถึงคลองแม่กลองพร้อมท�ำสะพานท่าขึน้ เรือ เชิงสะพานข้างแม่น้ำ� ปลูกเรือนฝาก ระดานหลังคามุงสังกะสีสำ� หรับนายตลาด สองข้างถนนท�ำโรงไม้มุงสังกะสีกนั ้ เป็ นร้าน ขายของให้เช่า 60 ห้อง ท�ำโรงบ่อนเป็นโรงไม้มงุ สังกะสีหลังใหญ่ ได้คา่ เช่าตลาดเดือนละ 600 บาท (Damrong Rajanubhab, 1972: 34–35) ด่านภาษี ในเมืองราชบุรมี แี ค่ทเ่ี มืองราชบุรแี ค่ตำ� บลเดียว ในศก 116 ด่านภาษี เก็บเงินได้ 158,696 บาท 50 อัฐ ภาษีทท่ี �ำเงินมากคือ ยาสูบ ปูนขาว ปูนแดง ไม่ไผ่ ไม้กระยาเลยต่างๆ แต่ในศก 117 (พ.ศ. 2441) ได้มปี ระกาศและท้องตราโปรดเกล้าให้ ยกเลิกภาษีสงิ่ ของ 30 อย่าง ทีก่ ระทบต่อเงินภาษีของเมืองราชบุร ี คือ ภาษีพริกแห้ง หอมแห้ง มัน ถัว่ ซึง่ สังให้ ่ ยกเลิกเก็บ เมืองราชบุรขี าดรายได้จากภาษีประมาณ 46,400 บาทเศษ (Damrong Rajanubhab, 1972: 26) การท�ำมาหากินในเมืองราชบุรรี าษฎรส่วนใหญ่มอี าชีพท�ำนาท�ำสวน นอกจากนี้ ยังมีอาชีพเสริมอืน่ ๆเช่น ท�ำไร่นอ้ ยหน่า การท�ำหิน ต่อยหินปูนขาย ตังเตาเผาปู ้ น ตัดไม้ขาย ไม้ไผ่ ไม้รวก หรือไม้เหียงและไม้อน่ื ๆ ทีจ่ ะใช้เป็ นเสาได้ การท�ำหม้อตาล หม้อตาลเป็นภาชนะทีจ่ ำ� เป็นในการบรรจุน้�ำตาลส่งออกขาย ยังต่างเมืองเพราะท�ำให้เก็บน�้ำตาลได้นานและสะดวกในการขนส่งเมืองสมุทรสงคราม เป็ น แหล่ ง การท�ำ น�้ ำ ตาลมะพร้า ว รัฐ บาลได้ป ระโยชน์ จ ากการเก็บ ภาษีห ม้อ ตาล กล่าวคือ รัฐบาลบังคับจ�ำหน่ายหม้อตาลให้แก่ราษฎรให้กรอกน�้ำตาลได้เฉพาะแต่หม้อ ทีซ่ อ้ื จากรัฐในราคา 120 หม้อ เป็ นเงิน 4 บาท 10 อัฐ ั้ อ การท�ำหม้อตาลของรัฐบาลเป็นการปลูกโรงกงสีทเ่ี ก็บหม้อและทีอ่ ยูข่ องช่างปนหม้ มีทท่ี ำ� หม้อและเตาเผาหม้อ รัฐจ้างหลงจูเ๊ ป็นผูด้ แู ล 1 คน กับคนงานชาวจีนอีกจ�ำนวนหนึง่ ั ้ ออยูใ่ นโรงหม้อของหลวงสามารถใช้เตาเผาหม้อของหลวงได้ แต่ตอ้ งปนหม้ ั้ อ ช่างปนหม้ 161


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

ด้วยก�ำลังและทุนของตนเอง เมื่อเผาเสร็จรัฐรับซื้อในราคาหม้อ 1000 ใบ 7 บาท กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงเขียนบรรยายถึงวิธกี ารท�ำหม้อใช้อย่างละเอียดว่า วิธที ชี ่ า่ งหม้อท�ำจ�ำหน่ายแก่รฐั บาลนัน้ ท�ำเปนบริสทั เล็กๆ มีกว่า 20 บริสทั ในทีน่ ้ี บริสทั หนึง่ เขาเรียกตามภาษาของเขาว่าแป้นหนึง่ หมายความว่า ั ้ ออันหนึง่ ต้องเข้าทุนแลแรงช่วยกันท�ำ 3 คน มักจะเปนผัวคน 1 เมียคน1 แป้นปนหม้ ลูกคน 1 เปนพื้น ถ้าครัวใดขาดคนหนึง่ ก็ตอ้ งจ้างผูอ้ นื ่ มาเข้าในบริสทั หน้าที ่ ของคนทัง้ 3 ในบริสทั นัน้ คนหนึง่ มีหน้าทีเหยี ่ ยบประสมดิน คนหนึง่ ส�ำหรับหมุนแป้น คนหนึง่ ส�ำหรับปนั ้ ท�ำได้ผลมากน้ อยเท่าใดแบ่งส่วนเสมอกัน (Damrong Rajanubhab, 1972: 35) หลงจู๊เป็ นผูห้ าดินและทราย ทรายให้เปล่า ส่วนดินเก็บเงินกับคนบ้านนอก ั ้ วนั ละ 500 หม้อ 1 เดือนปนได้ ั ้ 1 เตาส�ำหรับเผา 11,000 หม้อ 5 บาท 2 สลึง ปนได้ ประมาณ 11,000 หม้อเวลาเผาต้องจ้างกุลขี นหม้อไปยังเตา เมือ่ เผาสุกก็จา้ งขนไปยัง โรงเก็บหม้อ เตาละ 5 สลึงเฟื้องและต้องจ้างนายเตาเรียงหม้อส�ำหรับเผาและเผาหม้อ เตาละ 7 สลึง เสียค่าฟืน 11 บาท ฟืนแซมส�ำหรับสอดแซมตามช่องไฟอีกเตาละ 10 สลึง ใช้เวลาเผา 3 วันจึงเสร็จ หม้อเสียหายแตกในเตาประมาณ 1,000 กว่าใบ เหลือประมาณ 10,000 ใบ เป็ นเงิน 70 บาท ลงทุนประมาณ 22 บาท ได้กำ� ไร 48 บาท แบ่งกัน 3 คน ได้ประมาณเดือนละ 16 บาทต่อคน ปญั หาการท�ำหม้อตาล คือ หลงจู๊เอารัดเอาเปรียบคนท�ำหม้อ บังคับให้แถม 10000 หม้อ ให้แถม 400 หม้อ และยัง “ถาม” คือ แถมของแถมอีก 100 ละ 2 หม้อ หลงจู๊ ยังได้ประโยชน์จากการจ�ำหน่ายฟืน และยังได้รบั เงินเดือนอีกเดือนละ 40 บาท (Damrong Rajanubhab, 1972: 36) การท�ำหม้อตาลนัน้ ท�ำกันตลอดทัง้ ปี ช่วงเวลาทีท่ ำ� น�้ำตาลคือ เดือน 10 เดือน 11 เดือน 12 รายได้จากศก 116 จ�ำหน่ายหม้อได้ 1,187,090 หม้อ เป็ นเงิน 7,723 บาท หม้อตาลทีท่ ำ� ไม่พอจ�ำหน่าย ในช่วงฤดูทำ� น�้ำตาล คนจะมาแย่งกันซือ้ ถึงขันทะเลาะวิ ้ วาทกัน ไม่พอจ�ำหน่าย กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ ทรงได้ตรวจเยีย่ มโรงหม้อ ทรงพบว่ากรมการเมือง สมุทรสงครามไม่ได้ตรวจตราการท�ำงานของหลงจู๊ ทังๆ ้ ทีโ่ รงหม้ออยูห่ า่ งจากทีว่ า่ การเมือง ไม่มาก ให้หลงจูเ๊ ป็นผูจ้ ำ� หน่ายหม้อตาลเอง สามารถฉ้อโกงได้งา่ ยๆ พระองค์ทรงไต่ถาม คนท�ำหม้อก็มกี ารร้องทุกข์วา่ ก�ำไรทีไ่ ด้ไม่พอกิน แต่ทรงเห็นว่าพวกคนท�ำหม้อได้ทอ่ี ยู่ ทีโ่ รงหม้อ ได้กำ� ไรไม่ต่ำ� กว่าเดือนละ 16 บาท ไม่จำ� เป็ นต้องขึน้ ราคาหม้อตาล แต่ควร จัดการกับหลงจูท๊ เ่ี บียดบังคนท�ำหม้อ ทรงรับสังให้ ่ หลวงอร่ามสังห้ ่ ามหลงจูเ๊ รียกเก็บหม้อ ของแถมอีก

162


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

การท�ำละมุ ละมุ คือโป๊ะเล็กๆ ทีท่ ำ� ไว้สำ� หรับจับปลาตามชายทะเล การท�ำละมุ แต่ละหัวต้องใช้เงินลงทุนประมาณ 20 ชัง่ ใน พ.ศ.2438 ประมาณกันว่าทีป่ ากอ่าว เมืองสมุทรสงครามมีละมุ 73 หัว การท�ำละมุราษฎรใช้วธิ เี ข้าหุน้ กันท�ำ ปญั หาส�ำคัญของ ั การท�ำละมุคอื ปญหาการขาดแคลนไม้ ทจ่ี ะท�ำละมุ ไม้หายากและมีราคาแพง การท�ำละมุ ต้องใช้ไม้เป็ นจ�ำนวนมากท�ำให้มผี มู้ าลงทุนน้อย กรมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ทรงถาม ก�ำนันบ้านปากน�้ำถึงการท�ำละมุได้ความว่า การท�ำละมุ ใน พ.ศ. 2441ว่าลดลงจากปีทแ่ี ล้ว เนือ่ งจากมีการเก็บพิกดั ค่าละมุแพงขึน้ คนจึงเลิกท�ำละมุกนั มาก จึงได้มกี ารลดพิกดั ค่าละมุลง การลงมือท�ำละมุจงึ ล่าช้ากว่าเดิม บางคนก็ไปหาไม้มาท�ำละมุไม่ทนั ปีหน้าน่าจะมีการท�ำละมุ มากขึน้ เท่าเดิม (Damrong Rajanubhab, 1972: 37) สถานที่สำ� คัญที่ปรากฏในเอกสาร ทุ่งเขางู ในช่วงเวลาทีก่ รมหมื่นด�ำรงราชานุ ภาพ ทุ่งเขางูเป็ นฤดูน้� ำหลาก ทรงประทับใจกับทัศนียภาพและความงามของทุง่ เขางูมากโดยได้เปรียบเทียบกับหลายที่ ทีพ่ ระองค์เคยเสด็จ ...พอแลเห็นก็ทำ� ยอมโดยทันทีว่าบรรดาทุ่งทีจ่ ะเทีย่ วเล่นในระดูน้ �ำ จะเปนทุง่ หนึง่ ทุง่ ใดในกรุงเก่าก็ดี ท้องพรหมมาศเมืองลพบุรกี ด็ ี แม้ทสี ่ ดุ ถึง บึงบอระเพ็ดเมืองนครสวรรค์กด็ ี บรรดาทีไ่ ด้เคยไปเห็นแล้วไม่มแี ห่งใดทีจ่ ะสู้ ทุ่งเขางูน้ีเลย ด้วยเปนทุ่งกว้างน�้ำลึกแลมีเขาอยูใ่ กล้ๆ จะเล่นเรือเล็กพายไป เท่าใดก็ไม่มที สี ่ ดุ โดยจะมีเรือใบเล็กๆ มาแล่นเล่นก็ได้ กระบวนทีจ่ ะเทีย่ วทุง่ เก็บกุม่ เก็บสายบัวอย่างทุง่ กรุงเก่าก็ได้ หรือจะเอาเรือแวะจอดเข้าทีด่ อนขึน้ ไร่ เก็บน้อยหน่าก็ได้ จะเดินเลยไปเทีย่ วถึงเขาก็ไม่ทนั เหนือ่ ย เพราะอย่างนี้ใครๆ มาจึงได้กลับไปชมว่าสนุกนัก (Damrong Rajanubhab, 1972: 28–29) การจะไปเทีย่ วทุง่ เขางูนนั ้ เทีย่ วได้ในระหว่างแรมเดือนเก้าจนถึงกลางสิบ เพราะ เป็นช่วงน�้ำหลากเข้าท่วมทุง่ ถ้ามาหลังจากนีน้ ้ำ� จะลดลง การส�ำรวจและขุดค้นทางโบราณคดี พบว่า เทือกเขางู ตังอยู ้ ห่ า่ งจากตัวเมืองราชบุรปี ระมาณ 6 กิโลเมตร ห่างจากเมืองโบราณคูบวั ซึง่ เป็นศูนย์กลางของเมืองสมัยทวารวดีประมาณ 14 กิโลเมตร แหล่งโบราณคดีบนเทือกเขางู เป็นศาสนสถานทีเ่ กีย่ วเนื่องกับพระพุทธศาสนาตัง้ อยูใ่ นถ�้ำ มีอายุอยูใ่ นช่วงสมัยทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 11-13) ศาสนสถานในถ�้ำบนเทือกเขางูน้ี พระภิกษุจะใช้เป็ นทีพ่ ำ� นัก จ�ำพรรษาปฏิบตั ิ และแสวงหาความวิเวกในทีท่ ห่ี า่ งไกลออกมาจากชุมชนเมือง ประกอบไปด้วย ถ�้ำที่ส�ำคัญ จ�ำนวน 4 แห่ง ได้แก่ ถ�้ำฤาษี ถ�้ำจีน ถ�้ำจาม และถ�้ำฝาโถ ความส�ำคัญ ของถ�้ำบนเทือกเขางูน้ี ยังคงมีการใช้งานสืบเนื่องมาจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา

163


รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

โคกกระต่าย หรือค่ายโคกกระต่าย อยูใ่ นเขตอ�ำเภอตะวันตก ทีว่ า่ การอ�ำเภอ ตังอยู ้ ร่ มิ ค่ายเก่าซึง่ น่าจะเป็นค่ายขนาดใหญ่ เพราะยังมีเชิงเทินและสระน�้ำปรากฏให้เห็นอยู่ ค่ายโคกกระต่ายเป็นค่ายทีส่ มเด็จพระเจ้ากรุงธนบุร ี หรือพระเจ้าตากออกมาตัง้ ล้อมพม่า ค่ายบางแก้วและเขาชะงุม้ บริเวณต�ำบลโคกกระต่ายในทุ่งธรรมเสน เป็ นที่ตงั ้ ค่าย ของกองทัพไทยซึง่ น�ำโดยพระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้าจุย้ ส่วนกองทัพพม่าได้ตงั ้ ค่าย อยูท่ น่ี างแก้วซึง่ อยูห่ า่ งออกไปไม่มากนัก (Damrong Rajanubhab, 1972: 29) พืน้ ทีบ่ ริเวณ โคกกระต่ายนี้ ชาวบ้านเคยขุดพบกระดูกคนและสัตว์เป็นจ�ำนวนมาก และจากการไถปาด หน้าดินก็จะพบเศษภาชนะดินเผากระจัดกระจายอยูท่ วบริ ั ่ เวณ ถ�ำ้ ห้วยตะแคง กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ เสด็จไปถ�ำ้ เขาห้วยตะแคงทางด้านเหนือ ของเขางู ถ�ำ้ นี้สามารถพายเรือเข้าไปได้ พระองค์ทรงพบรอยถ่านไฟเขียนอักษรพระนาม จ.ป.ร. ทรงแปลกพระทัยมาก เข้าไปพบของประหลาดคือมีรอยถ่านไฟเขียนไว้บนเพดานถ�้ำเปนอักษร พระนาม จ.ป.ร. รูปอย่างทีทรงจ� ่ ำหลักศิลาในสถานทีต่​่ างๆ แลดูมตี วั เลข 114 อยูใ่ ต้นนด้ ั ้ วย เปนฉงนสนเท่หใ์ จเป็นอย่างยิง่ ด้วยเมือ่ ศก 114 เสด็จประพาสเมืองราชบุร ี ฉัน ก็ตามเสด็จในเทียวนั ่ น้ จ�ำได้วา่ ได้ทรงอักษรพระนามจ�ำหลักไว้แต่ทปากถ� ี ่ ้ำจอมพล ทีเ่ ขากลางเมือง ถึงว่าเมือขาเสด็ ่ จกลับจากจอมบึงได้ทรงม้าเรียบเขางูมาทางนี้ ก็ไม่ปรากฏว่าได้เสด็จประพาศถ�้ำห้วยตะแคง เหตุใดจึงมีอกั ษรพระนามเขียนไว้ ทีห่ ลังถ�้ำนี้แลเหตุใดจึงไม่ได้จำ� หลักแปลไม่ออกเกิดเปนความสงไสยว่าจะเปน ลายพระราชหัดถ์เลขาแท้หรือใครไปแลเห็นทีป่ ากถ�้ำจอมพลแลจ�ำลองเอามา เขียนไวทีน่ ้ี เพือบู ่ ชาหรือประการใด มีความสงไสยอยูด่ งั นี้จงึ ยังไม่กล้าจะสังให้ ่ จ�ำหลักรอยลงในศิลา ( Damrong Rajanubhab, 1972: 29) วัด บาทหลวงบางนกแขวก กรมหมื่น ด� ำ รงราชานุ ภ าพทรงแวะที่ วัดบาทหลวงบางนกแขวกมีบาทหลวงห้ารูป ทรงสนทนากับบาทหลวงถึงเรือ่ งการจัดการสอน มีทงั ้ การสอนในวัดและการสอนที่วทิ ยาลัยสอนวิชาชัน้ สูง ภาษาละตินและวิชาเพื่อ การบวชเป็นบาทหลวง คนทีจ่ ะบวชเป็นบาทหลวงต้องเรียนถึง 16 ปี จึงจะมีความรูพ้ อบวชได้ แต่นานๆ จึงจะมีคนศรัทธามาบวชสักคน กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพทรงแปลกพระทัย ว่าคนทีไ่ ม่บวชก็จะออกจากโรงเรียนไปท�ำมาหากินแต่ทน่ี ่สี อนคนเพือ่ เตรียมบวชจึงทรง ขอให้บาทหลวงเขียนโปรแกรมของโรงเรียนส่งให้พระองค์ทรงทราบด้วย (Damrong Rajanubhab, 1972: 30) นอกจากสถานทีท่ ก่ี ล่าวมาแล้วกรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพยังได้แวะนมัสการพระ ทีว่ ดั บ้านแหลมและวัดใหญ่ทเ่ี มืองสมุทรสงครามอีกด้วย แต่ทรงมิได้ให้รายละเอียดข้อมูล ต่างๆไว้ 164


ปีที่​่ 35 ฉบับที่ ่ 2 พ.ศ. 2558

วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย

สรุป รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงครามของกรมหมืน่ ด�ำรงราชานุภาพ เป็ น เอกสารส� ำ คัญ ในการศึก ษาประวัติศ าสตร์ ท่ีแ สดงให้เ ห็น ถึง ความพยายาม ในการจัดการเปลีย่ นแปลงระบบบริหารราชการแผ่นดินให้เป็ นระบบระเบียบมากยิง่ ขึน้ ั การออกตรวจราชการท�ำให้เห็นปญหาและข้ อบกพร่องในการปกครองซึง่ จะได้รบั การแก้ไข ต่อไป ทัง้ ยังสอดแทรกสภาพเศรษฐกิจและชีวติ ความเป็ นอยูข่ องราษฎรในหัวเมืองไว้ อย่างน่าสนใจและเป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์การเมืองและประวัตศิ าสตร์ ท้องถิน่





165




รายงานตรวจราชการเมืองราชบุรแี ละเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ. 117

เพชรรุง่ เทียนปิ๋วโรจน์

References Bunnag, T. (1989). The Provincial Administration of Siam 1892-1915 : The Ministry of the Interior under Prince Damrong Rajanubhab (การปกครอง ระบบเทศาภิ บาลของประเทศสยาม พ.ศ.2435 – 2458) (P. Karnjanattiti, Trans.). Bangkok: Social Sciences and Humanities Textbooks Project. Chantrawong, S. (2011). Ratchaburi Provincial Court B.E. 2450. [Online]. Retrieved July 19, 2013 from http://rb-old.blogspot.com/2011/01/126 2450.html. Damrong Rajanubhab, Prince. (2002). Tesapiban (เทศาภิ บาล). Bangkok: Matichon Printing. Damrong Rajanubhab, Prince. (1972). The Report of the Inspection Ratchaburi and Samut Songkhram Bangkok Era 117 (รายงานตรวจราชการเมืองราชบุร ี และเมืองสมุทรสงคราม ร.ศ.117 กรมหมืน่ ด�ำรงราชานุ ภาพ ทูลเกล้าถวาย). Silpakorn Journal, 15(6): 22–38. Moolsilpa, W. (1996). The End of South and North Administration (การสิน้ สุดลง ั ใต้ฝา่ ยเหนือ). In Problems in Thai History Essays ของระบบการปกครองปกษ์ in Honour Of HSH Prince Subhasdis DisKul on the occasion of his 72th birthday anniversary (ความยอกย้อนของอดีต พิพิธนิ พนธ์เชิดชูเกียรติ ศาสตราจารย์หม่อมเจ้าสุภทั รดิ ศ ดิ ศกุล). Bangkok: The Historical Commisssion of the Prime Minister’s Secretariat Office of the Prime Minister. Moolsilpa, W. (2012). Provincial Inspection of Prince Damrong Rajanubhab (1892–1915) (สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพเสด็จตรวจราชการหัวเมือง (พ.ศ. 2435–2458)). Journal of Humanities and Social Sciences Suratthani Rajabhat University, 4(2): 1–34. Tanyakaset, M. (1977). Administrative Reform of Ratchaburi the Reign of King Rama V (1894-1914) (การปฏิ รปู การปกครองในมณฑลราชบุรีใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (พ.ศ. 2437–2457)). Master’s thesis.Department of Education.Srinakkharinwirot University.

166


รายละเอียดการเตรียมบทความเพื่อส่งตีพิมพ์

วารสารมหาวิ ทยาลัยศิ ลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิ ลปะ 1. วัตถุประสงค์การจัดพิ มพ์ เพือ่ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการสาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ ของนักวิชาการ ทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เป็ นสื่อกลางการแลกเปลี่ยนเรียนรูปทางวิชาการในสาขา สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ และส่งเสริมให้นกั วิชาการและผูส้ นใจได้น�ำเสนอผลงานวิชาการ ในรูปบทความวารสาร 2. ก�ำหนดออก ปีละ 3 ฉบับ (มกราคม-เมษายน, พฤษภาคม-สิงหาคม และ​กนั ยายน-ธันวาคม) 3. บทความที่รบั ตีพิมพ์ 1. บทความทีร่ บั ตีพมิ พ์ ได้แก่ 1. บทความวิชาการ 2. วิทยานิพนธ์ปริทศั น์ 3. บทความวิจยั จากงานวิจยั หรือวิทยานิพนธ์ตน้ ฉบับ 4. บทความปริทศั น์ 5. บทความพิเศษ 2. เป็ นผลงานใหม่ทย่ี งั ไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในสือ่ ใดๆ มาก่อน 3. ความยาวไม่เกิน 15 หน้า 4. การส่งบทความ 1. ส่งไฟล์ต้นฉบับ พร้อมไฟล์ภาพประกอบ และแบบฟอร์มขอส่งบทความเพื่อตีพมิ พ์ ทางอีเมลที่ บรรณาธิการบริหารวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร E-mail: journals.surdi@gmail.com 2. เมือ่ ได้รบั บทความแล้ว บรรณาธิการจะแจ้งกลับไปยังผูเ้ ขียนบทความให้ทราบทางใดทางหนึ่ง 3. ทุกบทความทีต่ พี มิ พ์ จะได้รบั การกลันกรองจากกองบรรณาธิ ่ การ และผ่านการพิจารณา จากผูท้ รงคุณวุฒใิ นสาขาวิชานัน้ ทัง้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยอย่างน้อย 2 คน 5. ข้อก�ำหนดการเตรียมต้นฉบับ 1. ขนาดกระดาษ A4 พิมพ์ดว้ ย Microsoft Word for Window 2. ระยะห่างจากขอบบนและซ้ายของกระดาษ 1.25 นิ้ว จากขอบล่างและขวาของกระดาษ 1 นิ้ว 3. ตัวอักษร ใช้อกั ษรโบรวาลเลีย นิว (Browallia New) • หน้าแรก - ระบุชอ่ื เรือ่ งภาษาไทยกลางหน้ากระดาษ พิมพ์ดว้ ยตัวอักษรขนาด 16 พอยท์ ตัวหนา - พิมพ์ชอ่ื ผูเ้ ขียนภาษาไทยด้วยตัวอักษรขนาด 14 พอยท์ ชิดขวา ตัวหนา พร้อมระบุ ต�ำแหน่งทางวิชาการ สถานทีท่ ำ� งานและทีอ่ ยู่ ส�ำหรับผูน้ ิพนธ์ประสานงาน (Corresponding Author) ให้ระบุหมายเลขโทรศัพท์และอีเมลส�ำหรับติดต่อ - ชือ่ “บทคัดย่อ” พิมพ์ดว้ ยตัวอักษรขนาด 14 พอยต์ ชิดซ้าย ตัวหนา - รายละเอียดบทคัดย่อพิมพ์ดว้ ยตัวอักษรขนาด 14 พอยต์ ชิดขอบซ้าย-ขวา ตัวธรรมดา และเขียนด้วยภาษาทีส่ นั ้ กระชับ และครอบคลุม ความยาวไม่เกิน 1 ย่อหน้า


- ค�ำส�ำคัญ (Keyword) ขึน้ บรรทัดใหม่ ขนาด 14 พอยท์ ชิดซ้าย ตัวหนา ส่วนข้อความ ของค�ำส�ำคัญเป็ นตัวธรรมดา • หน้าทีส่ อง - ระบุชอ่ื เรือ่ งภาษาอังกฤษกลางหน้ากระดาษ พิมพ์ดว้ ยตัวอักษรขนาด 16 พอยท์ ตัวหนา - พิมพ์ชอ่ื ผูเ้ ขียนภาษาอังกฤษด้วยตัวอักษรขนาด 14 พอยท์ ชิดขวา ตัวหนา พร้อม ระบุตำ� แหน่งทางวิชาการ สถานทีท่ ำ� งานและทีอ่ ยู่ ส�ำหรับผูน้ พิ นธ์ประสานงาน (Corresponding Author) ให้ระบุหมายเลขโทรศัพท์และอีเมลส�ำหรับติดต่อ - ชือ่ “Abstract” พิมพ์ดว้ ยตัวอักษรขนาด 14 พอยต์ ชิดซ้าย ตัวหนา - รายละเอียดบทคัดย่อพิมพ์ดว้ ยตัวอักษรขนาด 14 พอยต์ ชิดขอบซ้าย-ขวา ตัวธรรมดา และเขียนด้วยภาษาทีส่ นั ้ กระชับ และครอบคลุม ความยาวไม่เกิน 1 ย่อหน้า - ค�ำส�ำคัญ (Keyword) ขึน้ บรรทัดใหม่ ขนาด 14 พอยท์ ชิดซ้าย ตัวหนา ส่วนข้อความ ของค�ำส�ำคัญเป็ นตัวธรรมดา • บทความ - หัวข้อใหญ่ เว้น 1 บรรทัด ชิดซ้าย ขนาด 14 พอยท์ ตัวหนา - หัวข้อรอง ย่อหน้า 0.5 นิ้ว ขนาด 14 พอยท์ ตัวหนา - ข้อความ ย่อหน้า 0.5 นิ้ว ชิดขอบซ้าย-ขวา ตัวธรรมดา - ใช้ตวั เลขอารบิคเท่านัน้ 6. การอ้างอิ ง 1. การอ้างอิ งในเนื้ อหา ใช้ระบบนาม-ปี (Name-year Reference) 1.1 การอ้างอิงในเนื้อหาจากสือ่ ทุกประเภทลงในรูปแบบ “ชือ่ ผูเ้ ขียน, ปีพมิ พ์ : เลขหน้าที่ ปรากฏ” อยูใ่ นเครือ่ งหมายวงเล็บเล็ก โดยเขียนชือ่ ผูแ้ ต่งเป็ นภาษาอังกฤษเท่านัน้ ดังตัวอย่าง - โสเกรติสย�ำ้ ว่าการอ่านสามารถจุดประกายได้จากสิง่ ทีน่ กั อ่านรูอ้ ยูแ่ ล้วเท่านัน้ และความ รูท้ ไ่ี ด้รบั มาไม่ได้มาจากตัวหนังสือ (Manguel, 2003: 127) - Sumalee Weerawong (2009: 37) กล่าวว่า การทีผ่ หู้ ญิงจะไปสือ่ ชักผูช้ ายมาบ้านเรือน ของตัวเองทัง้ ๆ ทีเ่ ขายังไม่ได้มาสูข่ อนัน้ เป็ นเรือ่ งผิดขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี

1.3 การสัมภาษณ์ อ้างอิง​ระบบ​นาม-ปี ดังตัวอย่าง “นักข่าวพลเมืองคือเจ้าของปญั หา คนในทีส่ ามารถสือ่ สาร เล่าเรือ่ งราวได้ลกึ กว่านักข่าวอาชีพ ไม่เพียงแค่รายงานว่าเกิดอะไรขึน้ แต่ขา่ วพลเมืองคือการสือ่ สารผ่านอัตลักษณ์ของแต่ละชุมชน พืน้ ที่ เช่น ภาษาทีห่ ลากหลาย วัฒนธรรม เป็ นต้น ซึง่ นักข่าวอาชีพไม่ม”ี (Boonmak, Interview, December 26, 2011) หมายเหตุ: ทุกรายการทีอ่ า้ งอิงในเนื้อหา ต้องปรากฏในรายการบรรณานุกรมเสมอ 2. บรรณานุกรม (Bibliography) - การเขียนบรรณานุกรมใช้รปู แบบของ APA (American Psychology Association) และ


เขียนเป็นภาษาอังกฤษเท่านัน้ เพือ่ ให้เป็นสากลและพิจารณาคัดเลือกเข้าสูฐ่ านข้อมูล ASEAN Citation Index (ACI) ในอนาคต โดยเขียนดังตัวอย่างตามชนิดของเอกสารดังนี้ 2.1 หนังสือ ชือ่ -สกุลผูแ้ ต่ง. \\ (ปีพมิ พ์). \\ ชือ่ หนังสือ (ครัง้ ทีพ่ มิ พ์). \\ เมืองทีพ่ มิ พ์: \ ส�ำนักพิมพ์. ตัวอย่าง Manguel, A. (2003). A History of Reading (โลกในมือนักอ่าน) (4th ed.; J. Pitpreecha, Trans.). Bangkok: Pickanes Printing Center. Weerawong, S. (2009). The Thai Way of Life in Lilit Phra Lor (วิ ถีชีวิตไทยในลิ ลิตพระลอ) (3rd ed.). Bangkok: Sataporn Books. Tidd, J., Bessant, J., and Pavitt, K. (2001). Managing innovation (2nd ed.). Chichester: John Wiley and Sons. 2.2 บทความวารสาร ชือ่ -สกุลผูเ้ ขียน. \\ (ปี) \\ ชือ่ บทความ. \\ ชื่อวารสาร, \ ปีท(่ี ฉบับที)่ : \ หน้าทีป่ รากฏบทความ. ตัวอย่าง Seng-ging, P. (1985). Works of Art Based on Trailokya (ศิลปกรรมอันเนื่องกับไตรภูม)ิ . Pajarayasara Magazine, 12(2): 113-122 Shani, A., Sena, J., and Olin, T. (2003). Knowledge management and new product development: a study of two companies. European Journal of Innovation Management, 6(3): 137-149. 2.3 วิทยานิ พนธ์ ชือ่ ผูเ้ ขียนวิทยานิพนธ์. \\ (ปีการศึกษา). \\ ชื่อวิ ทยานิ พนธ์. \\ ระดับปริญญา \ มหาวิทยาลัย \ เมือง \ ประเทศ. ตัวอย่าง Amatayakul, P. (2004). The Migration of Shan people into Chiang Mai Province (การ ย้ายถิ่ นของชาวไทใหญ่เข้ามาในจังหวัดเชียงใหม่). Master’s dissertation, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand. Suntivutimetee, W. (2002). Tai Yai identity at Thai – Burma border Case study: Piang Luang Village Amphoe Viang Hang, Chiang Mai (กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ทาง ชาติ พนั ธุข์ องชาวไทใหญ่ชายแดนไทย-พม่า กรณี ศึกษาหมู่บา้ นเปี ยงหลวง อ�ำเภอเวียง แห่งจังหวัดเชี ยงใหม่). Master’s dissertation, Thammasat University, Bangkok, Thailand.


2.4 สื่ออิ เล็กทรอนิ กส์ต่างๆ 2.4.1 หนังสือออนไลน์ (online / e-Book) ชือ่ ผูเ้ ขียน. \\ (ปีทพ่ี มิ พ์) \\ ชื่อเรื่อง. \\ [ประเภทของสือ่ ทีเ่ ข้าถึง]. \\ สืบค้นเมือ่ \\ เดือน \ วัน \ ปี \\ จาก \ แหล่งข้อมูลหรือ URL ตัวอย่าง Ho-pai-san, S. (2552). Innovation and Application of Technology for Education in New Millenium: Case of Instructional Management through Web (นวัตกรรมและการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใน สหัสวรรษใหม่ : กรณี การจัดการเรียนการสอน ผ่านเว็บ (Web-Based Instruction : WBI)). [Online]. Retrieved May 1, 2010 from http://ftp.spu.ac.th/hum111/main1_files. De Huff, E. W. (2009). Taytay’s tales: traditional Pueblo Indian tales. [Online]. Retrieved January 8, 2010 from http://digital.library.upenn.edu/women/dehuff/taytay/taytay.html. 2.4.2 บทความจากวารสารออนไลน์ (online / e-journal) Author, A. A., & Author, B. B. \\ (Date of publication). \\ Title of article. \\ Title of Journal volume(number): pages. \\ [Online]. \\ Retrieved …month date, year \\ from…. source or URL…. ตัวอย่าง Kenneth, I. A. (2000). A Buddhist response to the nature of human rights. Journal of Buddhist Ethics, 8(3): 13-15. [Online]. Retrieved March 2, 2009. from http://www.cac.psu.edu/ jbe/twocont.html. Webb, S. L. (1998). Dealing with sexual harassment. Small Business Reports, 17(5): 11-14. [Online]. Retrieved January 15, 2005. from BRS, File: ABI/INFORM Item: 00591201. 2.4.3 ฐานข้อมูล Beckenbach, F. and Daskalakis, M. (2009). Invention and innovation as creative problem solving activities: A contribution to evolutionary microeconomics. [Online]. Retrieved September 12, 2009 from http:www.wiwi.uni-augsburg. de/vwl/hanusch/emaee/papers/Beckenbach_neu.pdf. 2.5 การสัมภาษณ์ ชือ่ ผูส้ มั ภาษณ์, ต�ำแหน่งหน้าที.่ สัมภาษณ์, เดือน วัน ปีทส่ี มั ภาษณ์.

ตัวอย่าง Boonmak, U., ThaiPBS citizen journalist in Ubon Ratchathani. Interview, December 26, 2011.


แบบฟอร์มขอส่งบทความเพื่อตีพิมพ์

วารสารมหาวิ ทยาลัยศิ ลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิ ลปะ เรียน กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ขาพเจา  นาย  นาง  นางสาว ชื่อ-สกุล ภาษาไทย ......................................................................................................................................... ภาษาอังกฤษ..................................................................................................................................... ต�ำแหนงทางวิชาการ ​  ศาสตราจารย  รองศาสตราจารย  ผูชวยศาสตราจารย  อาจารย  นักศึกษา  อื่นๆ (โปรดระบุ)........................................ สถานที่ท�ำงาน/สถาน​ศึกษา .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... โทรศัพทที่ท�ำงาน.................................................. โทรศัพทมือถือ............................................................. โทรสาร.............................................. อีเมล................................................................................................ มีความประสงคขอสงบทความ เรื่อง ภาษาไทย.................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ภาษาอังฤษ.................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................... ซึ่งเปนบทความในสาขา................................................................................................................................. วัตถุประสงคของการสงบทความเพื่อตีพิมพ  เพื่อส�ำเร็จการศึกษาภาคเรียนที่.............. ปการศึกษา....................... ภายในวันที่...................................... อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ คือ................................................................................................................ สังกัด...........................................................................................................................................................  ใชประกอบการพิจารณาเลื่อนตาแหนงทางวิชาการ/วิชาชีพ  อื่นๆ ...........................................................................................................................................................


ผูทรงคุณวุฒิ 2 ทานที่เห็นวาเหมาะสมเปนผูพิจารณากลั่นกรองบทความ (ถามี) โดยตองไมอยูในสังกัด เดียวกันกับผูเขียนทั้งนี้การพิจารณาคัดเลือกผูทรงคุณวุฒิอานบทความเปนเอกสิทธิ์ของกองบรรณาธิการ ซึ่งอาจไมตรงกับที่ผูสงบทความเสนอมา 1. ชื่อ - นามสกุล.......................................................................... ต�ำแหนง ................................................... ตนสังกัด ...................................................................................... โทรศัพท ................................................... โทรศัพทเคลื่อนที่................................ โทรสาร .......................... อีเมล …….......................................………… 2. ชื่อ - นามสกุล.......................................................................... ต�ำแหนง ................................................... ตนสังกัด ...................................................................................... โทรศัพท ................................................... โทรศัพทเคลื่อนที่................................ โทรสาร .......................... อีเมล …….......................................………… กองบรรณาธิการสามารถติดต่อข้าพเจ้าได้ ที่  สถานที่ทางาน ตามที่ระบุไว้ข้างต้น  สถานที่อยู่ที่ติดต่อได้สะดวกรวดเร็ว ดังนี้ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... โทรศัพท์ที่ท�ำงาน............................................. โทรศัพท์มือถือ....................................................................... โทรสาร............................................................ อีเมล...................................................................................... ลงชื่อ.................................................................... วัน-เดือน-ปี...............................................................



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.