การศึกษาวิเคราะห์วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ โดย ฉัตรอมร แย้มเจริญ

Page 1

การศึกษาวิเคราะหวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์”

ฉัตรอมร แยมเจริญ


คํานํา การศึกษาวิเคราะหวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์” มีเนื้อหาประกอบดวย ความรู เบื้องตนเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ไดแก ที่มาของรามเกี ยรติ์ทั้ งในประเทศ อินเดียและในประเทศไทย ประวัติผูแตง เนื้อเรื่องโดยยอ ความสําคัญและคุณคาของ รามเกียรติ์ นอกจากนี้ยังมีการศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์ ไดแก ตัวละครสําคัญ เหตุการณสําคัญในเรื่อง กลวิ ธีการแตง และความรูตาง ๆ ที่ไดรั บ เพื่ อ ให ผู ที่ ส นใจสามารถศึ ก ษาและนํ า ไปใช ป ระโยชน ใ นด า นอื่ น ๆ ได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ขอขอบพระคุณทานอาจารยสุชาติ พิบูลยวรศักดิ์ ที่ไดกรุณาตรวจแกไขฉบับราง และไดใหคําแนะนําตาง ๆ อันเปนประโยชน ทําใหเนื้อหาของฉบับนี้สมบูรณยิ่งขึ้น ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา การศึกษาวิเคราะหวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์” นี้ คงจะอํานวยประโยชนตอนักศึกษา และผูอานหรือผูที่สนใจตามสมควร

ฉัตรอมร แยมเจริญ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๑


สารบัญ หนา คํานํา

สารบัญ

สารบัญภาพ

บทที่ ๑. บทนํา ๒. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์” ๒.๑ ที่มาของรามเกียรติ์ ๒.๑.๑ ที่มาของรามเกียรติ์ในประเทศอินเดีย ๒.๑.๒ ที่มาจองรามเกียรติ์ในประเทศไทย ๒.๒ ประวัติผูแตง ๒.๓ เนื้อเรื่องยอ ๒.๔ ความสําคัญของรามเกียรติ์ตอสังคมไทย ๒.๔.๑ อิทธิพลในทางภาษา ๒.๔.๒ อิทธิพลในทางวรรณคดี ๒.๔.๓ อิทธิพลในทางการแสดง ๒.๔.๔ อิทธิพลในทางศิลปกรรม ๒.๕ คุณคาของรามเกียรติ์ ๒.๕.๑ คุณคาในดานสติปญญาหรือสารัตถประโยชน ๒.๕.๒ คุณคาในดานสุนทรียภาพ

๑ ๓ ๓ ๓ ๕ ๗ ๑๐ ๑๔ ๑๕ ๑๗ ๒๓ ๒๖ ๒๘ ๒๘ ๓๐


๓. การศึกษาวิเคราะหวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์” ๓.๑ ตัวละครสําคัญในเรื่องรามเกียรติ์ ๓.๑.๑ พระราม ๓.๑.๒ นางสีดา ๓.๑.๓ ทศกัณฐ ๓.๑.๔ พระลักษมณ ๓.๑.๕ พิเภก ๓.๑.๖ หนุมาน ๓.๑.๗ สุครีพ ๓.๑.๘ องคต ๓.๒ เหตุการณที่สําคัญในเรื่องรามเกียรติ์ ๓.๒.๑ ตอนนารายณปราบและสาปนนทก ๓.๒.๒ ตอนทศกัณฐอุบายลักนางสีดา ๓.๒.๓ ตอนพิเภกถูกขับไลไปอยูกับพระราม ๓.๒.๔ ตอนหนุมานอาสาเอากลองดวงใจทศกัณฐ ๓.๒.๕ ตอนทศกัณฐออกรบครั้งสุดทายและตองศรพระราม ๓.๓ กลวิธกี ารแตง ๓.๔ ความรูที่ไดรับ ๓.๔.๑ ดานบทประพันธและวรรณกรรม ๓.๔.๒ ดานศาสนา ๓.๔.๓ ดานสังคม ๓.๔.๔ ดานศิลปะและวัฒนธรรม

๓๒ ๓๒ ๓๒ ๓๔ ๓๗ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๓ ๔๕ ๔๖ ๔๖ ๔๘ ๕๑ ๕๓ ๕๖ ๖๑ ๖๓ ๖๓ ๖๔ ๖๔ ๖๔

๔. บทสรุป

๖๕

บรรณานุกรม

๖๗

ภาคผนวก

๗๒


สารบัญภาพ ภาพที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙

หนา ทานฤๅษีวาลมิกิ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โขนกลางแปลง เรื่องรามเกียรติ์ ตอนสหัสเดชะยกทัพ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือ วัดพระแกว กรุงเทพมหานคร ทาวมาลีวราชตัดสินความ พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หองที่ ๙๖ พระราม นางสีดา ทศกัณฐ พระลักษมณ พิเภก หนุมาน หนุมานถวายตัว ณ พระอุโบสถวัดหัวลําโพง กรุงเทพมหานคร สุครีพ องคต ลักษณะของกลอนบทละคร แผนภูมิวงศกษัตริยกรุงศรีอยุธยา แผนภูมิวงศวานรนครขีดขิน แผนภูมิวงศพรหมและวงศอสูรกรุงลงกา

๓ ๕ ๗ ๑๔ ๑๗ ๒๗ ๓๒ ๓๔ ๓๗ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๕ ๖๑ ๗๓ ๗๔ ๗๕


บทที่ ๑ บทนํา “รามายณะ” หรือ “รามเกียรติ์” เปนเรื่องที่แพรหลายอยางมาก โดยเฉพาะอยาง ยิ่งในประเทศอินเดีย อันเปนตนกําเนิดของเรื่องรามายณะ จัดเปนงานวรรณกรรมชิ้น เอกของประเทศอินเดีย ซึ่งเปนมหากาพยที่ยิ่งใหญและรูจักแพรหลายไปทั่วโลกคูกับ สันนิษฐานกันวาแตเดิมรามายณะคงเปนคําขับรองที่วาดวยปากเปลา มหาภารตะ๑ เรียกวา “อักขาน”๒ โดยกลาวถึงการอวตารปางที่ ๗ ของพระนารายณ เปนเรื่องราวของ พระรามกับนางสีดา เรื่องรามเกียรติ์นี้สันนิษฐานกันวานาจะเขามาในประเทศไทยสมัยกรุงสุโขทัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงสันนิษฐานวา เรื่องรามเกียรติ์นาจะไดมา จากแหลงตาง ๆ พระองคทรงเชื่อวารามเกียรติ์นั้นมีที่มาจากรามายณะของวาลมิกิเปน สวนใหญ๓ โดยรามายณะหรือรามเกียรติ์นี้จัดเปนหนังสือประเภท “อิติหาส” ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวไดทรงอธิบายไววา ...หนังสือที่เรียกวา “อิติหาส” (ตํานาน) อยางเชน รามายณะ หรือมหาภารตะ เปนตน หนังสือพวกอิติหาสนั้นมักแสดงตํานานแหง วีรบุรุษ คือกษัตริย นักรบ สําคัญอยางที่ไดเปนจริง ๆ แตตอมายิ่งเลา กันไปเรื่องก็ยิ่งวิจิตรพิสดารขึ้นทุกทีจนบุรุษนั้นมีผูนิยมนับถือกันมาก ๆ ขึ้นก็เลยกลายเปนเผาพงศเทวดาไป และบางคนก็เลยกลายเปนพระเปน เจาอวตารอยางพระรามาวตาร...๔ ๑

พัชลินจ จีนนุน, “การวิเคราะหหนุมานในรามเกียรติ์ฉบับตาง ๆ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗): ๑. ๒ สัญญา สุดล้ําเลิศ, “การศึกษาภาพรามเกียรติ์จากตูไทยโบราณสมัยอยุธยาและธนบุรี.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต (สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๘): ๑๐. ๓ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, บอเกิดรามเกียรติ์, (พระนคร: โรงพิมพพระจันทร, ๒๔๘๔), หนา ๙๙๖. ๔ เรื่องเดียวกัน.


รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ถือเปน ฉบับที่มีใจความสมบูรณที่สุด พระองคมีพระราชประสงคเพื่อรวบรวมเรื่องรามเกียรติ์ ไวใหเปนอันหนึ่งอันเดียว เพื่อสมโภชพระนคร และใชอานเพื่อความเพลิดเพลินหรือ ใชสําหรับแสดงละคร ดังความตอนทายเรื่องวา จบ เรื่องราเมศลาง บ พิตรธรรมิกทรง ริ ร่ําพร่ําประสงค บูรณ บําเรอรมยให

อสูรพงศ แตงไว สมโภช พระนา อานรองรําเกษม

วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นั้นมีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางมาก เนื่องจาก รามเกียรติ์มีอิทธิพลตอสังคมและวัฒนธรรมไทย ดังจะเห็นไดจากหลักฐานทั่ว ๆ ไปที่ นําเอาเรื่องรามเกียรติ์นี้มาถายทอดหรือดัดแปลงในรูปแบบตาง ๆ ทั้งทางดานภาษา ดานวรรณคดี ดานการแสดง ดานศิลปกรรม และวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นี้ยังมีคุณคา ทั้งในทางดานสติปญญา และในทางดานสุนทรียภาพอีกดวย จึงทําใหวรรณคดีเรื่อง รามเกียรติ์นี้แพรหลายจนเปนที่สนใจของคนสวนใหญ ควรคาแกการศึกษาวิเคราะหเพื่อ เปนประโยชนแกสังคมไทยและชนรุนหลังตอไป


บทที่ ๒ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ”์ ๒.๑ ที่มาของรามเกียรติ์ รามเกียรติ์เปนวรรณคดีที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเลมหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งเปนที่ เขาใจกันโดยทั่วไปวา รามเกียรติ์ไดรับอิทธิพลมาจากมหากาพยเรื่องรามายณะของ ประเทศอินเดีย๑ ฉะนั้นการที่จะศึกษาเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นี้ จึงควรที่จะ ศึกษาที่มาของรามเกียรติ์เสีย กอน ทั้ งที่ มาของรามเกี ยรติ์หรือรามายณะในประเทศ อินเดีย และที่มาในประเทศไทย เพื่อเปนความรูเบื้องตนในการศึกษาเกี่ยวกับวรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์นี้ตอไป ๒.๑.๑ ที่มาของรามเกียรติ์ในประเทศอินเดีย “รามเกี ย รติ์ ” หรื อ ที่ ช าวอิ น เดี ย เรี ย กกั น ว า “รามายณะ” เปนมหากาพยอันยิ่งใหญเรื่องหนึ่งของชาวฮินดู ซึ่งชาวฮินดูถือวามหากาพยอันยิ่งใหญนี้มีทั้งหมดสองเรื่อง ดวยกัน คือ “รามายณะ” และ “มหาภารตะ” ถือเปนงาน รจนาที่สุดยอดและแพรหลายในแถบเอเชียอาคเนย ไมวาจะ เปน ไทย, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, กัมพูชา และพมา๒

ภาพที่ ๑ : ทานฤๅษีวาลมิกิ

ในมหากาพยรามายณะกลาวถึงการอวตารปางที่ ๗ ของพระนารายณ หรือพระวิษณุเทพ เปนเรื่องราวของพระรามกับนางสีดา รามายณะนี้ไดประพันธเปน ๑

สัญญา สุดล้ําเลิศ, “การศึกษาภาพรามเกียรติ์จากตูไทยโบราณสมัยอยุธยาและธนบุรี.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต (สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๘): ๑๐. ๒ มนตรี จันทรศิริ, ตํานานมหาเทพแหงสรวงสวรรค, (กรุงเทพฯ: [ม.ป.ท.], ๒๕๔๗), หนา ๖๓. ๓ ทวีปมู(Mu) หรือรีมูเลีย(LeMUria) นครอันตธาน, (Online). http://www.dhammachak.net/board/ viewtopic.php?t=29 (๒๖ มกราคม ๒๕๕๑)


ภาษาสันสกฤตโดยฤๅษีวาลมิกิ แหงแควนโกศล สันนิษฐานกันวาแตงขึ้นเมื่อประมาณ ๒,๔๐๐ กวาปมาแลว ในราวสมัยตนพุทธกาล ซึ่งทานไดประพันธไวทั้งหมดหากัณฑ แตกัณฑอื่นที่ตอจากกัณฑที่หาเปนของที่แตงขึ้นภายหลัง๑ “รามายณะ” ไดประพันธขึ้น โดยมีมูลเหตุมาจากลัทธิอวตารหรือลัทธิ ไวษณพนิกายของศาสนาพราหมณ ที่เชื่อถือพระเจาเพียงองคเดียวคือพระนารายณ ลัทธิอวตารมีหลักในลัทธิอยูวา “พระนารายณไดอวตารลงมาดับยุคเข็ญเปนปาง ๆ ใน เมื่อบังเกิดมีเหตุเภทภัยใหญหลวงขึ้นในโลก หรือเมื่อมีความโหดรายของผูใดผูหนึ่งซึ่ง ทําใหโลกตองเดือดรอน ครั้นสําเร็จกิจปราบปรามแลวก็เสด็จกลับคืนขึ้นสูไวกูณฐ๒...”๓ จากนั้นผูประพันธ ไดนําหลั กในลัท ธิอวตารดังกลาวมาผนวกกับเรื่อง สงครามระหวางชนชาติอารยัน๔ อันเปนตนกําเนิดของชนชาวอินเดียในปจจุบัน กับ พวกทัสยุหรือมิลักขะในลังกา ซึ่งเคยปกครองอินเดียมากอนตั้งแตสมัยดึกดําบรรพ และ ถูก รุ กไล จนตองพ ายแพถ อยหนีไปเมื่อราวก อนพุท ธศก ๑,๐๐๐ ป โดยกําหนดให พวกทัสยุคือพวกยักษ และพวกอารยันคือพวกมนุษย๕ อยางไรก็ตาม ไดมีนักปราชญหลายทานไดทําการศึกษาถึงประวัติและ ที่มาของวรรณกรรมเรื่องนี้ ซึ่งสันนิษฐานวาแตเดิมคงเปนคําขับรองที่วาดวยปากเปลา เรียกวา “อักขาน” ตอมาวรรณกรรมเรื่องนี้ก็เปนที่นิยมกันอยางแพรหลายตั้งแตราว พุทธศตวรรษที่ ๑ – ๗ เปนตนมา๖ ๑

สมเด็จพระมหาวีรวงค (พิมพ ธมฺมธโร), สากลศาสนา, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราช วิทยาลัย, ๒๕๔๘), หนา ๒๑๘. ๒ ไวกูณฐ เปนสถานที่สถิตของพระนารายณ ณ เกษียรสมุทร มีวิมานเปนแกวมณี มีอนันตนาคราช เปนบัลลังก ๓ สมเด็จพระมหาวีรวงค (พิมพ ธมฺมธโร), สากลศาสนา, หนา ๒๓๑ – ๒๓๒. ๔ ชาติอารยัน เรียกอีกอยางวา อริยกะ หรือ อริยะ เปนพวก INDO – EUROPEAN เดิมมีภูมิลําเนาอยู ในที่ลุมใกลปากน้ําโวลกา เหนือทะเลสาปแคสเปยน ในราวกอนพุทธศกมากกวา ๑,๕๐๐ ป ๕ สมเด็จพระมหาวีรวงค (พิมพ ธมฺมธโร), สากลศาสนา, หนา ๒๑๘. ๖ สัญญา สุดล้ําเลิศ, “การศึกษาภาพรามเกียรติ์จากตูไทยโบราณสมัยอยุธยาและธนบุรี.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต (สาขาวิชาโบราณคดีสมัยประวัติศาสตร คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๒๘): ๑๐.


๒.๑.๒ ที่มาของรามเกียรติ์ในประเทศไทย ที่มาของรามเกียรติ์ในประเทศไทย สันนิษฐานกันวารามเกียรติ์นาจะเขา มาในสมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งมีหลักฐานการใชชื่อพระรามเปนชื่อถ้ําในหลักศึกลาจารึกหลัก ที่ ๑๑ และแพรหลายในสมัยกรุงศรีอยุธยาอันเปนชวงเวลาที่วรรณคดีของไทยรุงเรือง เปนอยางมาก แตไดถูกเผาไหมและสูญหายไปในชวงสงครามสมัยนั้นจนถึงสมัยกรุง ธนบุรี พอถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกจึงทรง พระราชนิ พนธเรื่องรามเกี ย รติ์ขึ้น รว มกั บ นั ก ปราชญ ร าชบัณฑิ ต เพื่อ รวบรวมเรื่ อ ง รามเกียรติ์เขาเปนอันหนึ่งอันเดียวกันใหมีความสมบูรณครบทั้งเรื่อง๒ และเพื่อเปนการ ฟนฟูวรรณกรรมของไทยใหรุงเรืองทัดเทียมสมัยอยุธยา๓

ภาพที่ ๒ : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว๕ ทรงสันนิษฐานวาเรื่อง รามเกียรติ์ในประเทศไทยนั้นนาจะไดมาจากแหลงตาง ๆ พอสรุปไดดังนี้ ๑

พัชลินจ จีนนุน, “การวิเคราะหหนุมานในรามเกียรติ์ฉบับตาง ๆ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗): ๒ – ๓. ๒ เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๐. ๓ เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๓. ๔ พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลาเจาอยูหัว, (Online). http://www.edutoday.in.th/ upload-files/0005430/html/dd75f228b7/1.htm (๒๖ มกราคม ๒๕๕๑) ๕ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว, บอเกิดรามเกียรติ์, (พระนคร: โรงพิมพพระจันทร, ๒๔๘๔), หนา ๑๕๗.


๑. รามายณะฉบับสันสกฤต ฉบับองคตนิกาย ผูแตงคือฤๅษีวาลมิกิ สาเหตุที่พระองคทรงสันนิษฐานวาไดรับมาจากฉบับองคตนิกาย เพราะทรงเขาใจวา พราหมณที่มาเมืองไทยจะไดมาจากแควนองคราษฎร ( เบงคอล ) ทั้งนี้มีขอความที่ พอจะอางเปนพยานในขอนี้ไดอยางหนึ่ง คือ เรื่องพระกุศกับพระลบจับมาอุปการขี่ และพระรามออกไปจับกุมาร ทั้งสองมีอยูในฉบับองคตนิกาย แตฉบับอุตตรนิกายไมมี ๒. วิษณุปุราณะ เปนบอเกิดของขอความเบ็ดเตล็ดตาง ๆ ที่ปรากฏอยูใน รามเกียรติ์ คือ ตอนกําเนิดตัวละคร และตอนทศกัณฐเยี่ยมภพ ๓. หนุมานนาฏกะ เปนที่มาของเรื่องที่กลาวถึงความเกงกาจตาง ๆ ของ หนุมาน เรื่องราวเหลานี้เปนตอนใหญ ๆ ในรามเกียรติ์ของไทย และสวนใหญเปนตอน ที่โขนละครชอบแสดง เชน ชุดตาง ๆ ดังตอไปนี้ - ชุดถวายแหวน - ชุดนางลอย - ชุดจองถนน - ชุดโมกขศักดิ์ - ชุดพรหมาสตร - ชุดสามทัพ - ชุดหุงน้ําทิพย - ชุดถวายลิง เปนที่นาสังเกตวา ในรามเกียรติ์บางตอนที่เกี่ยวกับเรื่องของหนุมาน ที่ เปนตอนสําคัญ ๆ จะไมมีปรากฏในรามายณะของวาลมิกิเลย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลาเจาอยูหัวจึงทรงสันนิษฐานวานาจะไดมาจากหนังสือหนุมานนาฏกะ พระองคทรง เชื่อวารามเกียรติ์มีที่มาจากรามายณะของวาลมิกิเปนสวนใหญ สวนเกร็ดตาง ๆ มาจาก วิษณุปุราณะ และหนุมานนาฏกะ๑

พัชลินจ จีนนุน, “การวิเคราะหหนุมานในรามเกียรติ์ฉบับตาง ๆ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗): ๒๔.


๒.๒ ประวัติผูแตง จากที่ไดกลาวมาแลว รามเกียรติ์ในประเทศไทยฉบับที่สมบูรณและเกาแกที่สุด คือ รามเกียรติ์ฉบับพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ฉะนั้ น จึ ง ขอกล า วถึ ง พระราชประวั ติ ข องพระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ า จุ ฬ าโลก มหาราช ดังนี้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ปฐมกษัตริยแหงพระบรม ราชจักรีวงศ มีพระนามเดิมวา “ดวง” หรือ “ทองดวง” ประสูติในรัชกาลพระเจาอยูหัว บรมโกศ สมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อวันพุธ แรม ๕ ค่ํา เดือน ๔ ปมะโรง ตรงกับวันที่ ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙ เปนบุตรของพระอักษรสุนทร ( ทองดี ) ขาราชการอาลักษณ กับ ทานหยก ธิดาเศรษฐี๑

ภาพที่ ๓ : พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช

บริษัท เศรษฐกิจรวมดวยชวยกัน จํากัด, รัชกาลที่ ๑, (Online). http://www.rakbankerd.com/01_jam/ thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=255&db_file= (๒๗ มกราคม ๒๕๕๑) ๒ ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, งานสารสนเทศ, วันพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟาจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ, (Online). http://202.143.141.237/nernec/topic7_ old.php?page=37 (๒๗ มกราคม ๒๕๕๑)


ครั้นเมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแกพมาแลว และสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชได สถาปนาเมืองธนบุรีขึ้นเปนราชธานี จึงไดเขามารับราชการในกรุงธนบุรี โดยไดรับการ ชักชวนจากนองชายคือ นายสุจินดา หรือ บุญมา (กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท) ซึ่งรับราชการใกลชิดอยูกับสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชมาแตกอนแลว ทําใหไดเขา รับราชการในตําแหนงที่สูงขึ้น คือ ไดเปนพระราชวรินทร สังกัดในกรมพระตํารวจใน พ.ศ. ๒๓๑๑๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงเปนแมทัพคูพระทัยของสมเด็จ พระเจาตากสินมหาราช ในราชการศึกสงครามหลายครั้งหลายคราวตลอดสมัยกรุง ธนบุรี ราชการทัพสําคัญของพระองคใน พ.ศ. ๒๓๒๓ เกิดจลาจลขึ้นในกัมพูชา เสด็จ เปนแมทัพไปปราบปรามแตยังไมทันสําเร็จเรียบรอย ทางกรุงธนบุรีเกิดการจลาจลจึง ต อ งรี บ ยกทั พ กลั บ มาปราบปรามระงั บ เหตุ วุ น วายในกรุ ง ธนบุ รี จ นสงบราบคาบ ขาราชการและราษฎรทั้งปวงพรอมใจกันอัญเชิญเจาพระยามหากษัตริยศึกปราบดาภิเษก ขึ้นเปนพระมหากษัตริย เปนปฐมกษัตริยแหงพระบรมราชจักรีวงศ เมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ขณะมีพระชนมายุได ๔๕ พรรษา๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก ทรงมีพระอัครมเหสี พระนามวา “สมเด็ จ พระอมริ น ทราบรมราชิ นี ” ทรงเป น พระบรมราชิ นี อ งค แ รกแห ง กรุ ง รัตนโกสินทร พระนามเดิมวา “นาค” พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงมี พระราชโอรสและพระราชธิดา รวมทั้งสิ้น ๔๒ พระองค และพระราชโอรสที่ประสูติ ในพระอัครมเหสีมี ๙ พระองค๓ ไดแก

มูลนิธิอนุรักษโบราณสถานในพระราชวังเดิม, บุคคลสําคัญสมัยกรุงธนบุรี, (Online), http://www. wangdermpalace.com/thonburi/impt_person_thai.html (๒๗ มกราคม ๒๕๕๑) ๒ เรื่องเดียวกัน. ๓ บริษัท เศรษฐกิจรวมดวยชวยกัน จํากัด, รัชกาลที่ ๑, (Online). http://www.rakbankerd.com/01_jam/ thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=255&db_file= (๒๗ มกราคม ๒๕๕๑)


๑. สมเด็จเจาฟาหญิง สิ้นพระชนมตั้งแตพระเยาว ๒. สมเด็จเจาฟาชาย สิ้นพระชนมตั้งแตพระเยาว ๓. สมเด็จเจาฟาหญิงฉิมใหญ พระราชชายาในสมเด็จพระเจาตากสิน และพระ ราชมารดาในเจาฟากรมขุนกระษัตรานุชติ ๔. สมเด็จเจาฟาชายฉิม ตอมาไดรับการสถาปนาขึ้นเปน พระบาทสมเด็จพระ พุทธเลิศลานภาลัย ๕. สมเด็จเจาฟาหญิงแจมกระจางฟา ตอมาไดรับการสถาปนาขึ้นเปน สมเด็จ เจาฟากรมหลวงศรีสุนทรเทพ ๖. สมเด็จเจาฟาหญิง สิ้นพระชนมตั้งแตพระเยาว ๗. สมเด็จเจาฟาชายจุย ตอมาไดรับการสถาปนาขึ้นเปน สมเด็จพระบวรราชเจา มหาเสนานุรักษ ๘. สมเด็จเจาฟาหญิง สิ้นพระชนมตั้งแตพระเยาว ๙. สมเด็จเจาฟาหญิงเอี้ยง ตอมาไดรับการสถาปนาขึ้นเปน สมเด็จเจาฟากรม หลวงเทพยวดี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงดํารงอยูในสิริราชสมบัติ นาน ๒๘ ปเศษ ก็เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๗ กันยายน พ.ศ. ๒๓๕๒ รวมพระชนมายุ ได ๗๔ พรรษา๑

บริษัท เศรษฐกิจรวมดวยชวยกัน จํากัด, รัชกาลที่ ๑, (Online). http://www.rakbankerd.com/01_jam/ thaiinfor/country_info/index.html?topic_id=255&db_file= (๒๗ มกราคม ๒๕๕๑)


๑๐

๒.๓ เนื้อเรื่องยอ๑ พระอิศวรใหทาวอโนมาตันผูมีกําเนิดจากพระนาภีของพระนารายณ ปกครอง กรุงอโยธยา ครั้นทาวอโนมาตันสิ้นพระชนม ทาวอัชบาลผูเปนบุตรเปนผูครองเมือง ตอมา ทาวอัชบาลมีโอรสชื่อทาวทศรถ ทาวทศรถมีมเหสี ๓ องค คือ นางไกยเกษี นางเกาสุริยา และนางสมุทรเทวี วันหนึ่งพระอินทรเชิญทาวทศรถไปปราบปทูตทันตยักษ นางไกยเกษีขอไปดวย นางไดใชแขนสอดแทนเพลารถของทาวทศรถซึ่งหักในขณะรบ ทาวทศรถจึงประทาน พรใหนางไววา ถานางตองการสิ่งใดจะประทานใหดังประสงค ทาวทศรถไมมีโอรสจึงทําพิธีขอบุตร ในขณะทําพิธีมีอสูรทูนถาดขาวทิพย จํานวน ๔ ปนขึ้นมาใหกลางกองไฟ นางมณโฑไดกลิ่นขาวทิพยจึงใหนางกากนาสูร แปลงเปนอีกาใหญมาโฉบขาวทิพยไปไดครึ่งปน เหลืออีก ๓ ปนครึ่ง ทาวทศรถแบงให มเหสีทั้งสามเสวย มเหสีทั้งสามประสูติโอรส ๔ องค คือ พระรามโอรสนางเกาสุริยา พระพรตโอรสนางไกยเกษี พระลักษมณและพระสัตรุดโอรสนางสมุทรเทวี กลาวถึงทาวลัสเตียนเปนโอรสของธาดาพรหมกับนางมลิกา ทาวลัสเตียนมี โอรส คือ กุเรปน ทัพนาสูร อัศธาดา และมารัน นอกจากนั้นทาวลัสเตียนยังมีโอรสที่ เกิดจากนางรัชดา มีชื่อวา ทศกัณฐ อนุชาของทศกัณฐชื่อกุมภกรรณ ตอมาเกิดพิเภก ทูษณ ขร ตรีเศียร และนางสํามนักขา ทศกัณฐในชาติกอนเปนนนทกมีหนาที่ลางเทาเทวดา แตถูกเทวดาขมเหงตาง ๆ นานา จึงไปขอพรจากพระอิศวร พระอิศวรใหมีนิ้วเพชรชี้ใครคนนั้นก็ตาย นนทกเที่ยว ไปชี้ใหเทวดาตายเปนจํานวนมาก พระอิศวรตองใหพระนารายณมาปราบ พระนารายณ แปลงกายมาเปนนางอัปสร ลอใหนนทกรายรําตามจนนนทกชี้ขาตนเองลมลง พระ นารายณจึงใชตรีตัดหัวนนทกขาด กอนตายพระนารายณใหนนทกไปเกิดใหมมี ๑๐ หนา ๒๐ กร สวนพระองคจะขอไปเกิดเปนมนุษยธรรรมดา ๑

๒๕๐๔).

พิกุล ทองนอย, รามเกียรติ์ รอยแกวประกอบคํากลอน, พิมพครั้งที่ ๓, (พระนคร: เขษมบรรณกิจ,


๑๑

กล า วถึ ง พระอิ น ทร แ ละพระอาทิ ต ย ประสงค แ บ ง กํ า ลั ง ของตนไปช ว ยพระ นารายณอวตาร ทั้งพระอินทรและพระอาทิตยตางก็ลงมาเลนชูกับนางกาลอัจนา เมีย ของพระฤๅษีโคดมจนมีลูกชื่อวาพาลี อันเกิดจากพระอินทร และสุครีพเกิดจากพระ อาทิตย วันหนึ่งพระฤๅษีไดอธิษฐานเมื่อตอนพาบุตรธิดาซึ่งก็คือนางสวาหะไปอาบน้ํา วา ถาผูใดเปนลูกที่แทจริงของตนใหวายน้ํากลับมา ปรากฏวานางสวาหะวายน้ํากลับมา เพียงผูเดียว พระฤๅษีจึงสาปใหสุครีพและพาลีกลายเปนลิงไป และสาปใหนางกาล อัจนากลายเปนหิน สวนนางสวาหะก็ถูกนางกาลอัจนาสาปใหไปยืนขาเดียวมือเหนี่ยว กิ่งไมกินลม และจะพนคําสาปเมื่อมีลูกเปนลิงที่มีอํานาจเรืองฤทธิ์ พระอิศวรใหพระ พายนําเทพอาวุธและกําลังของพระองคซัดใสปากนาง ทําใหนางมีบุตรชื่อหนุมานใน เวลาตอมา กลาวถึงพระฤๅษี ๔ ตน คือ อตันตา วชิรา วิสูตร และมหาโรมสิงค พระฤๅษี ทั้ง ๔ จะเอานมที่เหลือจากฉันใหทานแกนางกบตัวหนึ่งคือนางมณโฑทุกวัน วันหนึ่ง นางกบไดกินนมที่นางนาคตนหนึ่งพนพิษลงไปเพื่อจะฆาพระฤๅษีใหตาย พระฤๅษีชุบ ชีวิตนางกบขึ้นมาใหมกลายเปนหญิงงามชื่อ มณโฑ แลวนําไปถวายพระอิศวร พระ อิศวรรับนางไวเปนขารับใชของพระอุมา ตอมาพระอิศวรก็มอบนางใหเปนชายาของ ทศกัณฐ ขณะที่ทศกัณฐพามณโฑเหาะผานเมืองขีดขิน พาลีเหาะไปแยงนางมณโฑมา เปนของตน ตอมาภายหลังพระฤๅษีอังคัตซึ่งเปนอาจารยของพาลีจึงแหวะเอาลูกนาง มณโฑกับพาลีออกใสทองแพะไว แลวคืนนางมณโฑใหแกทศกัณฐ ครั้นครบกําหนด คลอดพระฤๅษีอังคัตจัดการผาทองแพะแลวตั้งชื่อเด็กวา องคต ทศกัณฐมีลูกที่เกิดจากนางมณโฑชื่อวา รณพักตร ครั้งหนึ่งไดไปรบกับพระ อินทรสามารถชนะพระอินทรได จึงไดชื่อใหมวา อินทรชิต ตอมานางมณโฑคลอดลูก เปนธิดา โหรทํานายวาเปนกาลกิณี ทศกัณฐจึงใหเอาธิดาลอยน้ําไป ทาวชนกเก็บไดจึง นํานางมาเลี้ยงไว ตอมาก็เอานางใสผอบและไปฝงไว ฝากใหพระแมธรณีเลี้ยงเพื่อตน จะเจริญภาวนาไดสะดวก ทาวชนกไถหาธิดาที่ตนฝงไว ตั้งชื่อนางวาสีดา ตอมาไดจัด พิธีสยุมพร๑ ใหนางจึงปาวประกาศใหกษัตริยทั้งหลายมายกธนูโมลี ใครยกไดจะไดนาง ๑

สยุมพร หรือ สยมพร หมายถึง พิธีเลือกคูของกษัตริยสมัยโบราณ


๑๒

สีดาเปนคูครอง พระรามเปนผูยกธนูไดจึงไดนางและพานางกลับอยุธยา ทศรถทําพิธี ราชาภิเษกพระราม นางไกยเกษีขอพรที่ทศรถเคยสัญญาไวกับนาง โดยขอใหพระพรต ครองเมืองแทน แลวใหพระรามไปเดินปา ๑๔ ป พระลักษมณและนางสีดาขอตามไป ดวย เมื่อสามกษัตริยออกจากเมือง ทาวทศรถเสียใจมากถึงกับสิ้นพระชนม พระราม พระลักษมณ และนางสีดาออกเดินทางรอนแรมไปในปา ตอมา ทศกัณฐใหมารีศแปลงเปนกวางทองลอใหนางสีดาเห็น นางสีดาอยากไดกวางจึงให พระรามจับ นางสีดาไดยินเสียงกวางทองรองขอความชวยเหลือเหมือนเสียงของ พระราม จึงใหพระลักษมณไปชวย ทศกัณฐจึงมีโอกาสลักนางสีดาไปได พระรามกับ พระลักษมณกลับมาไมพบนางสีดาจึงออกตามหาจนไปพบกับหนุมาน หนุมานพา สุครีพมาเฝาพระราม สุครีพขอใหพระรามปราบพาลี เนื่องจากพาลีไลตนออกจากเมือง พรอมทั้งไดชิงเอาชายาของตนไปดวย เหตุที่ทําใหพาลีโกรธ และไลสุครีพออกจากเมือง เกิดจากเรื่องควายทรพี กลาวคือ ครั้งหนึ่งมีควายชื่อทรพีซึ่งโกรธพอที่พยายามฆาลูกตัว ผูทุกตัว พอโตเทาพอแลวไดทาพอรบและฆาพอตาย แลวเที่ยวทาใครตอใครรบไปทั่ว รวมทั้งพาลี พาลีรบกับทรพีในถ้ําแลวสั่งใหสุครีพเฝาปากถ้ําไว หากสุครีพเห็นเลือดขน แสดงวาเปนเลือดทรพี แตหากเห็นเลือดใสแสดงวาเปนเลือดของตน ใหปดปากถ้ําเสีย ตอมาทรพีถูกพาลีฆาตายในถ้ํา เลือดสีขนของทรพีไหลออกมาผสมกับน้ําฝนกลายเปน เลือดใส สุครีพเห็นเลือดใสจึงปดปากถ้ํา เพราะเขาใจวาพาลีตายแลว ครั้นพาลีออกมา ไดคิดวาสุครีพคิดกบฏจึงขับออกจากเมือง เมื่อพระรามฆาพาลีแลว องคต ชมพูพาน ก็ เขาถวายตัว พระรามไดตั้งใหสุครีพครองเมืองขีดขิน หนุมาน องคต ชมพูพาน ไดรับคําสั่งใหไปลงกา หนุมานอาสาไปลงกาแต เพียงผูเดียว หนุมานไปถวายแหวนแกนางสีดาและไดเผาลงกาจนวอดวาย ฝายพิเภก นองของทศกัณฐถูกทศกัณฐขับออกจากเมือง เพราะไดแนะใหทศกัณฐคืนนางสีดา พิเภกมาอยูกับฝายพระราม ตอมาพระรามสั่งใหหนุมานและนิลพัทจองถนนเพื่อไป ลงกา หนุมานเกิดทะเลาะกับนิลพัท พระรามใหนิลพัทกลับเมือง สวนหนุมานก็จอง ถนนตอไปจนสําเร็จ


๑๓

ฝายทศกัณฐเห็นพระรามยกทัพมาก็ใหภานุราชเนรมิตปาลอพระราม เพื่อตนจะ ไดหาทางพลิกแผนดิน แตก็ถูกหนุมานฆาตาย พระรามสงองคตไปสื่อสาร ทศกัณฐ โกรธใหเสนาจับองคต องคตฆา ๔ เสนาตาย ทศกัณฐยกฉัตรแกวขึ้นบังดวงอาทิตยให มืดมน สุครีพอาสาไปหักฉัตรจนสําเร็จ ตอมาก็มีศึกตาง ๆ หลายครั้ง นับตั้งแตศึกไมยราพ ศึกกุมภกรรณ ศึกอินทรชิต แตก็ถูกพระรามพระลักษมณฆาตาย ทศกัณฐสงสารไปใหญาติและเพื่อนมาชวยรบ ไดแก สหัสเดชะ มูลพลัม แสงอาทิตย สัตลุง ตรีเมฆ สัทธาสูร และวิรุณจําบัง แต พวกอสูรเหลานี้ก็ถูกฝายพระรามฆาตายหมด ทศกัณฐออกรบ แตฝายพระรามก็ไมสามารถฆาทศกัณฐได พิเภกทูลวาเพราะ ทศกัณฐไดถอดดวงใจฝากไวที่พระฤๅษีโคบุตร หนุมานจึงรับอาสาไปเอากลองดวงใจ ของทศกัณฐ พระรามจึงสามารถฆาทศกัณฐได พระรามอภิเษกใหพิเภกครองเมืองลงกา ตอจากทศกัณฐ แลวยกทัพกลับเมืองอโยธยา พระรามสรางเมืองนพบุรีใหหนุมานครอง วันหนึ่งพระรามประพาสปา นางอดูลปศาจมาลวงนางสีดาใหเขียนรูปทศกัณฐ ใหดู พระรามกลับมาพบเขาก็ เขาใจผิดคิดว านางไม ซื่อสัตยกั บพระองค จึงใหพระ ลักษมณฆานางเสีย แตพระลักษมณปลอยนางไปแลวนําหัวใจของกวางมาถวายพระราม แทน นางสีดาไปอาศัยอยูกับพระฤๅษีวัชมฤค และประสูติพระกุมารองคหนึ่งชื่อพระ มงกุฎ และพระฤๅษีชุบขึ้นอีกองคหนึ่งชื่อพระลบ ภายหลังพระรามทราบวากุมารทั้ง สองเปนโอรสของพระองคจึงไปขอคืนดีกับนางสีดา แตนางไมยอมคืนดีดวย พระราม จําออกเดินปาสะเดาะหเคราะหเปนเวลา ๑ ป ในระยะ ๑ ปนั้น พระรามไดปราบยักษ ตาง ๆ เชน ทาวกุเวร ปกษาวายุภักษ ทาวอุณาราช พระอิศวรทรงเห็นวาพระรามกับ นางสีดายังไมคืนดีกันจึงประทานอภิเษกใหใหมบนสวรรค กลาวถึงพวกคนธรรพมารบกวนพวกพระฤๅษี แลวเลยไปตีเอาเมืองไกยเกษ พระรามใหบุตรทั้งสองคนไปปราบโดยมีพระพรตและพระสัตรุดตามไปคอยชวยเหลือ ดวย จนสามารถปราบคนธรรพได บานเมืองจึงมีความสุขสืบมา


๑๔

๒.๔ ความสําคัญของรามเกียรติ์ตอสังคมไทย ในบรรดาวรรณคดีไทยซึ่งมีที่มาจากวรรณคดีอินเดียดวยกันแลว ไมมีเรื่องใดที่ ไดรับความนิยมสูง กวางขวาง และยืนนานเทาเรื่องรามเกียรติ์ ทั้งนี้เพราะเนื้อเรื่อง สนุกสนานใหความเพลิดเพลินแบบเรื่องนิยาย มีทั้งรัก โศก ตื่นเตน ประกอบดวย อิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย ซึ่งถูกรสนิยมของคนโดยทั่วไปตั้งแตโบราณกาล นอกจากนั้น ลักษณะและอุปนิสัยของตัวละครยังเปนที่ประทับใจ และสอดคลองกับวัฒนธรรมของ เราดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งตัวนางสีดาเปนแบบแผนของหญิงที่คนไทยนิยม คือเรายก ยองนางสีดาวาเปนสตรีหมายเลขหนึ่งในดานความซื่อตรงตอสามี๑ อันที่จริงแลวตัวละครอีกมากดวยกันซึ่งเปนที่ติดอกตองใจคนไทยเราไมนอยไป กวานางสีดา ดังเชน หนุมานเปนตน หนุมานมีทั้งความเกงกลาสามารถ มีความฉลาด ไหวพริบ รวมทั้งความเจาชูดวย ในเรื่องความเจาชูของฝายชายนั้นคนไทยไมสูรังเกียจ นัก แมครอบครัวไทยจะเปนแบบผัวเดียวเมียเดียวก็ตาม พระเอกในวรรณคดีไทยมักมี ความเจาชู ควบคู กับความงดงาม และความเกงกล าสามารถเสมอ ด วยเหตุ นี้ เรื่ อง รามเกียรติ์จึงเปนที่จับตาคนไทยทั้งชาติ๒

ภาพที่ ๔ : โขนกลางแปลง เรื่องรามเกียรติ์ ตอนสหัสเดชะยกทัพ ๑

สมพร สิงโต, ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมิกิและรามเกียรติ์พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๑, (กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู, ๒๕๒๐), หนา ๒๖๗. ๒ เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๖๘. ๓ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร, คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร, โปรแกรมวิชานาฏศิลป, สุนทรียภาพของชีวิต: การรับรูและกระบวนการรับรูเชิงคุณคา, (Online). http://human.rru.ac.th/naat/Page3.htm (๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๑๕

ต อ ไปนี้ จ ะขออ า งอิ ง หลั ก ฐานเพื่ อ เป น เครื่ อ งสนั บ สนุ น ว า “รามายณะหรื อ รามเกียรติ์มีอิทธิพลตอสังคมและวัฒนธรรมไทย” ดังตอไปนี้ ๒.๔.๑ อิทธิพลในทางภาษา๑ สํานวนโวหาร ความเปรียบตาง ๆ ที่ใชพูด กันในชีวิตประจํ าวันเปน จํานวนมากมีที่มาจากเรื่องรามเกียรติ์ เชน - วัดรอยเทา, ลูกทรพี หมายถึง ลูกอกตัญู, เนรคุณ มีที่มา จาก ตอนทรพีฆาทรพาผูเปนพอ - ราวกับยักษปกหลั่น หมายถึง ใหญโต มหึมา มีที่มาจากตอน ที่องคต หนุมาน และชมพูพาน ไปถวายแหวน ไปนอนหลับกลางทาง ยักษปกหลั่นจะจับกิน เกิดสูกันแพองคต - ราวกับยักขมูขี หมายถึง นาเกลียด, นากลัว มีที่มาจากตอน นางอัศวมุขี (ยักขมูขี) ลักเอาตัวพระลักษมณไป - วาจาสิทธิ์ หมายถึง คําพูดศักดิ์สิทธิ์ พูดอยางไรเปนอยางนั้น มีที่มาจากตอนที่ทาวมาลีวราชแชงทศกัณฐ - สิบแปดมงกุฎ หมายถึง พวกมีเลหเหลี่ยมตลบตะแลง มีที่มา จาก เสนาวานรทั้งสิบแปดหัว ซึ่งมีฤทธิ์เดชตาง ๆ กัน - ตบะแตก หมายถึง เสียพิธี, หมดความอดทนและความเพียร มีที่มาจากตอนนางอรุณวดีทําลายตบะฤๅษีกไลโกฏ - แทรกแผนดินหนี หมายถึง อายอยางที่สุด อยากหนีหนาไป ใหพน มีที่มาจากตอนที่นางนาคขึ้นมาสมสูจรกับงูดิน พระฤๅษีเอาไม เขี่ย นางนาคเกิดอายจึงแทรกแผนดินหนีไป ๑

สมพร สิงโต, ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมิกิและรามเกียรติ์พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๑, (กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู, ๒๕๒๐), หนา ๒๖๘ – ๒๗๓.


๑๖

นอกจากสํานวนที่ใชพูดจากันเปนปกติแลว ยังมีคําเรียกชื่อตาง ๆ ซึ่งมี ที่มาจากรามายณะหรือรามเกียรติ์ อาจแยกกลาวไดดังนี้ พระปรมาภิไธย เชน รามคําแหง, รามาธิบดี, ราเมศวร, รามราชาธิราช, เอกาทศรถ เปนตน นามบรรดาศักดิ์ เชน เจาพระยาจักรี, พระรามราชภักดี, พระยาภรตราช สุพิธ, พระยารามณรงค, เจาพระนารามรฆพ, พระรามบัณฑิตสิทธิเศรณี, พระยาภรต ราชา, พระอัชราชทรงสิริธรรมวิสุทธิราชสภาบดี เปนตน ชื่อสถานที่ เชน อยุธยา, ลพบุรี (นพบุรี), ถ้ําพระราม, ถ้ําสีดา, บึง พระราม, เขาสรรพยา, บึงสรรพยา, เขาขยาย, เขาสมอคอน, เขาขาด, เขาทรพี, ถ้ํา ทรพี, หวยสุครีพ, ทะเลชุบศร, ทองพรหมาสตร, ขุขันธ, บุรีรัมย, คฤหาสนนารายณ บรรทมสินธุ, วัดพระราม เปนตน ชื่อตนไม เชน หัวใจไมยราพณ, สมอพิเภก, บุหรี่พระราม, กระเชาสีดา, ชายผาสีดา, สไบสีดา, ละมุดสีดา เปนตน ชื่ออาหาร เชน พระรามลงสรง, ทศกัณฐลงสรง ชื่ อ สิ่ ง ของ เช น ชื่ อ เรื อ รบ ได แ ก พาลี รั้ ง ทวี ป , สุ ค รี พ ครองเมื อ ง, นิลนนทแทงเขน, สุรเสนแสนหาญ, สุรกานแสนกลา, ชมพูพานแผลงฤทธิ์, หนุมาน ตัดเศียรไมยราพณ, พญาขรถอนรัง, อินทรชิตสาดศร, อสุรผัดผาพล ชื่อธง เชน ธงกบี่ธุช (ธงหนุมาน), ครุฑพาห (พาหนะพระนารายณ) ชื่อลวดลาย เชน นารายณทรงครุฑ หรือ นารายณทรงสุบรรณ (เปนชื่อ ลวดลายหนาบัน) ชื่อหิน เชน หินเขี้ยวหนุมาน ศัพทที่เกี่ยวกับ กี ฬ าบางอย าง เชน พระรามเข าโกศ (ภาษาหมากรุ ก หมายถึง ขุนถูกตอนเขามาอยูในวงลอมของอีกฝายหนึ่ง), หนุมานถวายแหวน (ทาไหว ครูมวย), พระรามแผงศร (ทาไหวครูมวย), กุมภกรรณลับหอก (ทาไหวครูมวย), หิรัญ ยักษมวนแผนดิน (ทาไหวครูมวย) เปนตน


๑๗

๒.๔.๒ อิทธิพลในทางวรรณคดี๑ นับตั้งแตสมัยอยุธยาเปนตนมา ประเทศไทยเรามีวรรณคดีที่เกี่ยวกับเรื่อง ของรามายณะหรือรามเกียรติ์มากมายหลายเลมดวยกัน ดังนี้ ประเภทบทนาฏกรรม ได แ ก รามเกี ย รติ์ คํ า ฉั น ท (สมั ย อยุ ธ ยา), รามเกียรติ์คําพากย (สมัยอยุธยา), รามเกียรติ์บทละครครั้งกรุงเกา, รามเกียรติ์บทละคร พระราชนิพนธสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี, รามเกียรติ์บทละครพระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๑, รามเกียรติ์บทละครพระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๒, รามเกียรติ์บทพากยพระราช นิพนธในรัชกาลที่ ๒, รามเกียรติ์บทละครพระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๔, รามเกียรติ์บท รองและบทพากยพระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๖ และนอกจากนี้ยังมีบทเบ็ดเตล็ดใชรํา เบิกโรง เชน ชุดนารายณปราบนนทก รามสูรเมขลา เปนตน ประเภทภาษิต ไดแก โคลงพาลีสอนนอง โครงทศรถสอนพระราม ประเภทนิราศ ไดแก นิราศสีดา (ราชาพิลาปคําฉันท) ประเภทอธิบายภาพ ไดแก โคลงรามเกียรติ์จารึกตามระเบียงวัดพระแกว

ภาพที่ ๕ : วัดพระศรีรัตนศาสดาราม หรือ วัดพระแกว กรุงเทพมหานคร ๑

สมพร สิงโต, ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมิกิและรามเกียรติ์พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๑. (กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู, ๒๕๒๐), หนา ๒๗๓ – ๒๗๘. ๒ พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม, (Online). http://www.soonphra.com/ content/viewtopic/viewtopic.php?topicdetailid=127&topicid=67 (๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๑๘

นอกจากหนั ง สื อ ที่ เ กี่ ย วกั บ รามายณะหรื อ รามเกี ย รติ์ โ ดยตรงแล ว วรรณคดีเรื่องอื่นยังนิยมอางถึงรามายณะหรือรามเกียรติ์ เชน (๑) จากบทละครครั้งกรุงเกา เรื่องนางมโนราห ตอนโหราทํานายนาง มโนหรามีความวาดังนี้ “๐ แทงตอง พระฤๅษีแกไถนา พบนางสีดา คุดคูอยูใน ผอบทอง ตองฝนตองฟา หนาตาก็ราเศราหมอง คุดคูอยูในผอบ ทอง ฤๅษีเธอพามาเลี้ยงไว ๐ แทงตอง ถูกที่นางสํามนักขา ชี้หนาสีดา พระรามตัด ตีนสินมือเสีย…” (๒) จากกําสรวลศรีปราชญ “รามาธิราชใช โถกนสมุทรอายาน จองถนนเปลงศิลปศร ใครอาจมาขวางหนา

พานร ยานฟา ผลาญราพณ กายกอง”

(๓) จากทวาทศมาส “ปางบุตรนคเรศไท จากสีดาเดียวลียังคืนสูเสาวคต ฤๅอนุชนองแคลว

ทศรถ ลาสแลว ยุพราช คลาศไกล”

(๔) จากบทละครเรื่องสังขทองครั้งกรุงเกา “ทําดังหนุมานกับสีดา โกนเกลาเกษาทํารองไห ปดวาพระรามบรรลัย นางสีดาหลงใหลไมรูกล”


๑๙

(๕) จากลิลิตโองการแชงน้ํา ของสมเด็จพระรามาธิบดี ที่ ๑ “เคลาฟาเคลือกเปลวลาม สิบหนาเจาอสุร ชวยดู พระรามพระลักษณชวักอร แผนทูลเขาเงือกปล้ํา ชวยดู” (๖) จากเพลงยาวความเกา “อันมณโฑสโมสรดวยทศพักตร แลวรานรักกันมารวมภิรมยสมาน กับพาลีลืมละสละมาร แลวก็รานรสรักจากพานรินทร กลับมาชื่นรื่นเริงในเชิงยักษ ก็ลืมรักกากาจเจาขีดขิน” “พอสบเนตรศรเนตรอนงคสมร ที่เยื้องแผลงดังแสงพระสี่กร เมื่อทรงศรหนวงนาวประหารมาร อํานาจศิลปดินฟาชลาลั่น ไมเทาวันที่พี่ตองศรสมาน ตลอดจิตสุดพิษจะเปรียบปาน ก็หมายผลาญชีพมวยดวยศรทรง .................................................. .................................................. ถึงพระนองตองโมกขศักดิ์ยักษ ใหพิเภกบริรักษจึงเร็วหาย วายุบุตรเก็บยามาทาคลาย นั่นนารายณเกิดกอบดวยกันมา “จงจําคําที่ร่ําไวทั้งปวง เหมือนสีดาดวงสมรกับรามา ตกไปอยูในเอื้อมเงื้อมมือยักษ ยังไมคลายรักครวญรัญจวนหา ครององคไวตรงตอพระจักรา ครั้นสิ้นกรรมทํามาไดพบกัน” (๗) จากโคลงนิราศนครสวรรค ของพระศรีมโหสถ “ยามสูรอรุโณทแผว แสงฉาย ยอดยุคลธรพราย แพรงไซร ถึงสรรพยาหลาย พรรณสิ่ง ยานา ยาจงมายาให สรางเศราเสวยรมย เห็นเขาชอุมลวน พฤกษา มากนา โดยเรงนิยมมา บพลั้ง ขุนวานรินทรา ทรงเดช แสดงแฮ ซอนเชิดชูมาตั้ง ที่นั้นเปนเฉลิม”


๒๐

(๘) จากกาพยหอโคลง ของพระศรีมโหสถ “เกลือกเกลื่อนเหมือนพาลี ไดมารศรีปรี่ปรึงไป ฝากนองตองจิตใจ พิดไสมยอยูคูเคียงเอง เกลือกเหมือนเงื่อนเมื่อครั้ง พาลี รับนุชอุดดมศรี ฝากนอง เสียสัตยตักชนมชี พิตนาศ เอาเองเพลงปนตอง ทาวลมไลลาญ กลาวจริงยิ่งปานกษัตริย ธตรฐ๑ตรัสตัดขาดใย สูละพระรามไป ปาไกลฉิบสิบสี่ป ใจจริงสิ่งนี้ที่ ถือสัตย เอาเยี่ยงเพียงจักรพรรดิ์ ผานหลา คงคํากําจัดรัตน ราเมศ สิบสี่ปไปชา ฆามลางฝูงมาร” (๙) จากโคลงนิราศพระบาท ของพระมหานาค “สามเลมราเมศไท สังหรณ แมก็ทรงสามศร เปรียบทาว ทานผลาญอสุรมรณ ลาญชีพ เจาก็ผลาญชายอกราว มอดมวยดูเสมอ” (๑๐) จากบุณโณวาทคําฉันท ของพระมหานาค “เริ่มเรื่องไมยราพฤทธิ์รงค สอดอุมองคนเรศดลบาดาล” (๑๑) จากนิราศพระยามหานุภาพ สมัยธนบุรี “.............................. วาเปนศรนารายณอวตาร เพื่อเสด็จออกดงไปทรงพรต ยังบรรพตศาลาไลยไพรสาณห ทรงแผลงศาสตรศรไปรอนราน พิฆาฏมารซึ่งแปลงเปนกวางมา” ๑

ธตรฐ (อานวา ทะตะรด) เปนชื่อทาวจาตุมหาราชองคหนึ่ง ประจําทิศบูรพา


๒๑

(๑๒) จากกาพยหอโคลงนิราศพระบาท ของพระเจาธรรมธิเบศร “ไตรดายุคพระรามา จากสีดาอาโฉมสมร พระผลาญยักษ ไดสีดาอาองคคืน ไตรดาราเมศราง แรมอร องคสีดาดวงสมร หลากหลา พระผลาญหมูมารมรณ ลาญชีพ ไดสีดาสมรหนา อาเคลาคลึงองค” (๑๓) จากขุนชางขุนแผน “คิดมาก็นานอยใจนัก สีดาเดียวเปลี่ยวใจไปกับโจร ถาเจาซื่อครองสัตยสุจริต

อัปลักษณเหมือนนิยายเขาเลนโขน พระรามโทนเที่ยวทองระทมใจ นิดหนึ่งเหมือนสีดาหาวาไม”

(๑๔) จากมหาเวสสันดรชาดก “รามํ สีตาวนุพฺพตา อุปมาเหมือนสีดา อันภักดีตอสามีรามบัณฑิต” (๑๕) จากโคลงนิราศพระยาตรัง “ปางโฉมราเมศนาว แผลงราพวายชีพลง เสร็จศึกสีดาดง ศึกที่ทรวงเรียมสู

ศรทรง แหลงหลู คืนบาท พระนา รบแพฤๅถอย”

(๑๖) จากนิราศสมเด็จกรมพระยาเดชาดิศรเสด็จไปทัพเวียงจันทร “ทาราบรอยราพณราย พรหมพงศ พาพธูรามลง แหลงนี้ อาลัยวิไลยบง กชมาค กูเฮย ถนัดดั่งราพณลักลี้ ซอนแลวลงกา”


๒๒

(๑๗) จากโคลงนิราศฉะเชิงเทรา ของกรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ “บางขนากขนากแท กกศร รามฤๅ แผลงแทตยก้ําทรวงธร ทบทาว ขนากกกไกขันถอน ถอยเคลื่อน บางแม ศรโศกเสียบทรวงเรา ราครอยฤๅถอน” (๑๘) จากกากีคํากลอน ของเจาพระราพระคลัง (หน) “พระสะอื้นรัญจวนครวญคะนึง เมื่อถึงราเมศรางแรมสีดา ยังไดขาวทศพักตรมันรักนุช ขามสมุทรไปนครของยักษา พระหริวงศกับองคอนุชา ได โ ยธาพานริ น ทร ก็ รี บ ตาม จองถนนยกพลพยุหทัพ ไปตั้งรับชิงชัยในสนาม ลางอสูรแหลกลงในสงคราม ไดนงรามคืนยังอยุธยา” (๑๙) จากสุภาษิตสอนหญิง ของสุนทรภู “ทําองอาจพลาดพลั้งลงทั้งคู เขาจับไดชายชูดูนาขัน ไมแปรดแปรนแสนสลดเหมือนทศกรรฐ ตองโศกศัลยเศราใจอยูในตรวน” “จงซื่อตอภัสดาสวามี จนชีวีศรีสวัสดิ์เจาตัดไษย อยาใหมีราคิดที่กินใจ อุปไมยเหมือนอนงคองคสีดา” อิทธิพลในทางวรรณคดีนี้ นอกจากจะปรากฏออกมาในรูปของวรรณคดี ที่เขียนเปนลายลักษณอักษรแลว ยังปรากฏในลักษณะของวรรณคดีปากเปลา หรือ วรรณคดีมุขปาฐะ (Oral literature) ไดแกพวกนิทานชาวบาน (folk tale) เชนเรื่องทาว กกขนาก ตํานานการสรางเมืองลพบุรี และประวัติสถานที่ตาง ๆ เชน เขาสรรพยา บึง สรรพยา เขาสมอคอน เขาขาด หวยสุครีพ ถ้ําทรพี เขาทรพี เปนตน


๒๓

๒.๔.๓ อิทธิพลในทางการแสดง๑ เนื่ อ งจากเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ เ ป น เรื่ อ งที่ ใ ห ค วามสนุ ก สนานและความ เพลิดเพลิน คนไทยจึงนิยมเลาสูกันฟง แตการฟงนิทานนั้นไมไดแลเห็นตัวตน ไมเห็น ความงดงาม สวนการดูละครหรือการแสดงอื่น ๆ นั้นไดความบันเทิงมากกวา เพราะตา ไดดู หูไดฟง ดวยเหตุนี้คนไทยจึงนําเอาเรื่องรามเกียรติ์ซึ่งชอบฟงอยูแลวมาเปนบทใน การแสดงอีกดวย การละเลนหรือ มหรสพที่ ขึ้นหนาขึ้ นตามาตั้ งแตส มัย โบราณ เห็ น จะ ไดแก หนังโขน ละคร และหุน ดังความปรากฏไนคําพากยครั้งอยุธยาวา “อยุธยาถาวรเปรมปรีดิ์ สนุกนิแมนเมืองสวรรคฯ เครื่องเลนโขนละครหุนประชัน ดวยเครื่องวิจิตรแตงกายฯ ราตรีรัศมีเพลิงพราย กระหนกกระหนาบภาพหาญฯ เปนที่ประชาชนชื่นบาน สําราญสํารวลปรีดาฯ”

ทุกขภัยไปมี เชิดชูกลางวัน หนังงามลวดลาย ทอดทัศนาการ

มีหลักฐานแสดงใหเห็ น วา หนัง โขน และละครนั้น นิยมเลนเรื่ อง รามเกียรติ์ จึงขอยกตัวอยางดังนี้คือ

สมพร สิงโต, ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมิกิและรามเกียรติ์พระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๑, (กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู, ๒๕๒๐), หนา ๒๗๘ – ๒๘๑.


๒๔

(๑) ในหนังสือบุณโณวาทคําฉันท มีความพรรณนาถึงการเลนหนังไววา “ครั้นสุริยเสด็จอัษฎงค ชรอุมชรอ่ําอัมพร บัดหนังตั้งโหกําธร ฉลักเฉลิมเจิมจอง เทียนติดปลายศรศรสอง ก็ทุมตระโพนทาทาย สามตระอภิวันทบรรยาย นรินทรเริ่มอนุวัน บัดพาลาสองสองขยัน ธนาก็เตาเตียวจร ถวายโคบุตรบมิใหมรณ นิวาสสถานเทาคง เริ่มเรื่องไมยราพฤทธิรงค นเรศดลบาดาล”

เลี้ยวลับเมรุลง สองพระทรงศร พากยเพยเสียงกลอง เชิดชูพระนารายณ ปลอยวานรพัน ปละปลอยวานร สะกดอุมองค

คําประพันธที่ยกมานี้ชี้ใหเห็นวา หนัง (หมายถึงหนังใหญ) เลนเรื่อง รามเกียรติ์ นอกจากนี้ยังมีพยานอยางอื่นเปนเครื่องยืนยันอีก กลาวคือ ตัวหนังใหญซึ่ง เขาใชแผนหนังวัวมาฉลุเปนรูปตัวละครในรามเกียรติ์ ทั้งยังมีบทพากยรามเกียรติ์ครั้ง กรุงเกาปรากฏอยูดวย อาจกลาวไดวาหนังซึ่งเปนมหรสพที่เชิดหนาชูตาของไทยสมัย อยุธยานั้นเลนเรื่องรามเกียรติ์เปนพื้น (๒) หนังสืออีกประเภทหนึ่งคือหนังตะลุง ซึ่งเลนกันทางปกษใตก็นิยม เลนเรื่องรามเกียรติ์เชนกัน (๓) โขนเป น นาฏกรรมอี ก ประเภทหนึ่ ง ของไทย ซึ่ ง เล น แต เ รื่ อ ง รามเกียรติ์เทานั้น ในพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาในรัชกาลที่ ๒ ตอนเตรียมอภิเษกสมรส จรกากับบุษบา มีกลอนตอนหนึ่งวาดังนี้


๒๕

“บัดนี้ ครั้นรุงก็รีบแตงกาย พวกโขนเบิกโรงแลวจับเรื่อง ตลกเลนเจรจาเปนทาทาง

พนักงานการเลนทั้งหลาย อสุรนายวานรมนุษยนาง สื่อเมืององคตพดหาง ทั้งสองขางอางอวดฤทธี”

ใน พ.ศ. ๒๓๓๘ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย โปรดเกลาฯ ใหมีโขนในงานฉลองพระอัฐิสมเด็จพระปฐมบรมชนกาธิราช ดังความปรากฏในพระ ราชพงศาวดารวา ในการมหรสพสมโภชพระบรมอัฐิครั้งนั้น มีโขนชักรอก โรงใหญทั้งโขนวั งหลวงและวังหน า แล วประสมโรงเล น กัน กลางแปลง เล น เมื่ อ ศึ ก ทศกั ณ ฐ ย กทั พ กั บ ขุ น สิ บ รถ โขนวั ง หลวงเปนทัพพระรามยกไปแตทางพระบรมมหาราชวัง โขนวัง หนาเปนทัพทศกัณฐยกออกจากพระราชวังบวรฯ มาเลนรบกัน ในทอ งสนามหน า พลั บ พลา ถึ งมี ป น บาเหรี่ ย มรางเกวี ย นลาก ออกมายิงกันดังสนั่นไป นอกจากนี้บรรดาหัวโขน บทพากย และบทเจรจาโขนที่ปรากฏอยูก็ลวน ลวนแตเปนเรื่องรามเกียรติ์ทั้งสิ้น อาจพูดไดวาโขนของไทยเลนเรื่องรามเกียรติ์เทานั้น (๔) ละครที่เลนเรื่องรามเกียรติ์นั้นเปนละครใน และคงเลนมาตั้งแตครั้ง กรุงเกา เพราะมีบทละครรามเกียรติ์ครั้งกรุงเกาเหลือตกทอดมาใหเห็น และในสมัยหลัง เชนสมัยกรุงธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร ก็มีหนังสือพระราชนิพนธบทละครเรื่อง รามเกียรติ์เปนพยานอยู เรื่องรามเกียรติ์ นอกจากจะนิยมใชแสดงหนัง โขน และละคร ซึ่งลวน แตเปนการแสดงที่เปนเรื่องติดตอกันแลว เรายังนิยมตัดตอนมาเลนฟอนรํา หรือจับ ระบํา เชน บทจับระบําเรื่อง รามสูรเมขลา และนารายณปราบบนนทก ซึ่งตอมาใช


๒๖

เปนชุดเบิกโรงของโขนและละคร ดังปรากฏในบทพระราชนิพนธของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงไวเปนตํานานวา “เรื่องนารายณกําราบปราบนนทุก เปนเรื่องดึกดําบรรพสืบกันมา เบิกโรงงานการเลนเตนรํา สําหรับโรงนางฟอนละคอนใน

ในตนไตรดายุคโบราณวา ครั้งกรุงศรีอยุธยาเอามาใช ที่เริ่มมีพิธีทําเปนการใหญ แสดงใหเห็นครูผูสอนรํา”

เราจะเห็นไดวาเรื่องรามายณะหรือรามเกียรติ์ ไดรับความนิยมในทางการ แสดงมากกวาเรื่องใด ๒.๔.๔ อิทธิพลในทางศิลปกรรม๑ รามายณะหรือรามเกียรติ์ มีความสัมพันธกับศิลปะประเภทจิตรกรรม และประติมากรรมของไทยเปนอันมาก กลาวคือตัวละครก็ดี ฉากตาง ๆ ก็ดี ถูกนําเอา ไปเปนสิ่งประดับประดาตามสถานที่ตาง ๆ เชน ตามฝาผนังโบสถ วิหาร มาตั้งแตสมัย โบราณ เชนเดียวกับเรื่องมหาเวสสันดรชาดก แตเวสสันดรยังไดรับความนิยมในวง แคบกวา เพราะใชตกแตงเฉพาะในวัดเทานั้น สวนรามเกียรติ์นั้นยังใชในวงการอื่น ๆ ดวย เชนทําเปนลวดลายของของที่ระลึก มีเครื่องถม, เครื่องเขิน เปนตน นอกจากนี้จะ พบวาบรรดาภาพแกะสลัก ภาพวาดที่ใชแขวนเปนเครื่องประดับบาน ลวดลายที่สักตาม ตัวบุคคล เสื้อผา ของใชประเภทเครื่องโลหะตาง ๆ ก็นิยมวาดหรือแกะสลักเปนภาพตัว ละครในรามเกียรติ์ ตอไปนี้จะขอกลาวถึงแหลงที่ปรากฏภาพเรื่องรามเกียรติ์พอเปนตัวอยาง วาคนไทยนิยมสรางศิลปะจากเรื่องรามเกียรติ์

สมพร สิงโต, ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมิกิ และรามเกียรติ์พระราชนิพนธใน รัชกาลที่ ๑, (กรุงเทพฯ: หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู, ๒๕๒๐), หนา ๒๘๑ – ๒๘๒.


๒๗

สถานที่ที่เรารูจักดีที่สุดคือ ระเบียงพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนาศาสดา รามหรือวัดพระแกว มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ตั้งแตกําเนิดสีดาไปถึงตอน อภิเษก วัดอื่น ๆ ในกรุงเทพฯ ที่มีภาพรามเกียรติ์ก็คือ วัดอรุณราชวราราม ระหวางชอง หน า ต า งวั ด สุ ทั ศ น ประตู โ บสถ วั ด เชตุ พ นฯ เหล า นี้ ล ว นเป น ฝ มื อ ของช า งสมั ย รัตนโกสินทรทั้งสิ้น ในสมัยอยุธยาก็นิยมสรางศิลปะซึ่งมีเนื้อหาจากรามเกียรติ์เชนกัน ดังจะ เห็นไดจากภาพรามสูรและเมขลาที่ผนังถ้ําเมืองยะลา ภาพระบายสีเรื่องรามเกียรติ์ตั้งแต พระรามกลับอโยธยาจนถึงสงครามพระพรต พระสัตรุดปราบอสูร ที่ศาลาไทย ของ พระองคจุมพฏเปนฝมือสมัยพระนารายณ ที่วัดพุทไธศวรรยเหลือภาพรามเกียรติ์เพียง บางสวน เชน ภาพทศกัณฐ และพระลักษมณ ที่วัดราชบูรณะ จังหวัดพิษณุโลก มี ภาพฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์ ตั้งแตสงครามระหวางทศกัณฐกับพระราม จนถึงทศกัณฐ ลม ที่วัดพระเชตุพนมีภาพนูนหินออนนัยวาเปนฝมือสมัยอยุธยา คงจะไดมาหลังจาก กรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่ ๒ เทาที่ไดเอยถึงศิลปกรรมเรื่องรามเกียรติ์มานี้ ก็พอจะเปนเครื่องชี้ใหเห็น วา รามเกียรติ์มีอํานาจที่จะบันดาลใหเกิดศิลปกรรมที่สําคัญของชาติไดสวนหนึ่ง

ภาพที่ ๖ : ทาวมาลีวราชตัดสินความ พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หองที่ ๙๖

ทาวมาลีวราชตัดสินความ, (Online). http://www.oursiam.net/gallery/display.php?category= art&code=ART00031 (๒๕ ตุลาคม ๒๕๕๐)


๒๘

๒.๕ คุณคาของรามเกียรติ์ คุณคาของรามเกียรติ์ โดยเฉพาะฉบับพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช นับไดวาเปนเรื่องรามเกียรติ์ฉบับสมบูรณของไทย เนื้อ เรื่องมีความสนุกสนาน ใชสํานวนกะทัดรัด ความเปรียบลึกซึ้ง และบางตอนก็แฝงคติ ธรรมเอาไวดวย๑ ซึ่งสามารถอธิบายได โดยแบงเปนคุณคาในดานสติปญญาหรือ สารัตถประโยชน๒ และคุณคาในดานสุนทรียภาพ ดังตอไปนี้ ๒.๕.๑ คุณคาในดานสติปญญาหรือสารัตถประโยชน๓ บทละครเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ พ ระราชนิ พ นธ ใ นรั ช กาลที่ ๑ ซึ่ ง ถื อ ว า เป น วรรณคดีมรดกนั้นมีสารัตถประโยชนมาก ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ ๑) วีรกรรมของนักรบ ไดแก พระราม หนุมาน และทศกัณฐ เรื่อง รามเกียรติ์นี้ชี้ใหเห็นวา ทั้งพระรามและทศกัณฐเปนนักรบที่พยายามตอสูชิงชัยกันดวย วิธีตาง ๆ อยางกลาหาญ มีทั้งการสูรบตัวตอตัวอยางใกลชิด การสูรบระหวางกองทัพทั้ง สองฝาย การใชกลยุทธ เลหเพทุบาย การเจรจาทางการทูต ทั้งฝายพระรามและฝาย ทศกัณฐไดประกอบการตาง ๆ ที่แสดงความกลาหาญสมชายชาตินักรบ ทหารของ พระรามโดยเฉพาะอยางยิ่งหนุมาน มีบทบาทในการรบที่สําคัญมาก สมเปนทหารเอก และเปนหัวเรี่ยวหัวแรงของกองทัพ ๒) ความดีอันบริสุทธิ์ของสตรี สาระสําคัญของเรื่องรามเกียรติ์นี้ ได แสดงใหเห็นความซื่อสัตยของนางสีดา เริ่มตั้งแตการขอติดตามพระรามซึ่งตองออกจาก บานเมืองที่สุขสบายไปอยูในปา ดําเนินชีวิตอยางเรรอนตกระกําลําบาก ทั้งนี้ก็เพื่อ ปฏิบัติหนาที่อันดียิ่งของภรรยาที่พึงมีตอสามี ครั้นเมื่อถูกทศกัณฐลักพาตัวไป ถูกเกี้ยว พาราสี และถูกหลอกลอดวยเพทุบายตาง ๆ นางก็ยังมีจิตใจยึดมั่นตอสามีตลอดเวลาที่ ๑

ประจักษ ประภาพิทยากร, ความรูพื้นฐานทางวรรณคดีและวรรณกรรมเอกของไทย, พิมพครั้งที่ ๑, (กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา, ๒๕๒๕), หนา ๘๘. ๒ สารัตถประโยชน หมายถึง ประโยชนที่เปนแกนสาร ๓ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๙๔.


๒๙

อยูหางไกลกัน ความซื่อสัตยอันมั่นคงที่นางมีตอสามีนี้ นับไดวาเปนตัวอยางที่ดีของ กุลสตรี จนมีสํานวนพูดกันติดปากวา “ภักดีดุจนางสีดาภักดีตอพระราม” กุลสตรีที่ดี เลิศในทรรศนะของคนอินเดียโบราณตลอดจนปจจุบันนี้ยกยองผูหญิงที่มีความรัก มี สัจจะและความเสียสละ คุณสมบัติทั้งสามประการนี้มีอยูในตัวนางสีดาอยางครบถวน ๓) ความเชื่อในอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย เปนความเชื่อดั้งเดิมของคนอินเดีย โบราณ มีความเชื่อกันวาคนดี คนเกง หัวหนาคน นักรบที่กลาหาญ รวมทั้งประมุข ของกลุมชนในลักษณะอื่น ๆ นั้น เปนตระกูลวงศของเทพเจา หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา เทพเจาแบงภาคมาเกิด ดังนั้นจึงมีความสามารถเกงกลาเหนือคนธรรมดา เชน หนุมาน ก็เปนลูกพระพาย มีมนตรวิเศษสามารถเนรมิตตัวใหใหญโตได เหาะเหินเดินอากาศได และไดใชความสามารถพิเศษนี้ในทางสรางสรรคคือปราบปรามความผิดความชั่ว ไมได นําไปใชในทางกดขี่ขมเหง หรือรังแกผูที่ออนแอกวา ๔) การปกครองบานเมืองและการครองเรือน เรื่องรามเกียรติ์นี้ไดแสดง ให เห็ นจริ ย ธรรมของผู ที่ทํ า หนา ที่ ป กครองประเทศตามหลั ก ทศพิ ธ ราชธรรม ส ว น ผูปกครองก็มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับยุคสมัยของเรื่องรามเกียรติ์ (ซึ่งแตกตางกับยุคสมัย ในปจจุบันนี้) มีศิลปะในการใชคน การใหรางวัล และการลงโทษ มีความรูศิลปวิทยา มี ค วามรู ท างวิ ช ายุ ท ธศาสตร แ ละอื่ น ๆ ส ว นการครองเรื อ นก็ ไ ด ก ล า วถึ ง ชี วิ ต ใน ครอบครัว หนาที่ระหวางพี่กับนอง สามีกับภรรยา พอกับลูก ๕) วิถีชีวิตมนุษย ชีวิตของพระรามมีลักษณะเปนปุถุชนที่เพียบพรอม ดวยคุณงามความดี ไดทําหนาที่ที่ครบถวนในฐานะเปนบุตร (เชื่อฟงบิดา ยอมออกจาก เมือง) ในฐานะเปนสามี (คุมครองภรรยาและตอสูเพื่ออิสรภาพของภรรยา) ในฐานะ เปนพี่ชาย (มีคุณธรรมตอนองคือพระลักษมณ) ในฐานะเปนนายหรือผูบังคับบัญชา กองทัพ (เปนนายในอุดมคติที่ถี่ถวนรับฟง มีความเห็นอกเห็นใจ มีความเปนมิตร ฯลฯ) วิถีชีวิตในบทละครนี้ชี้ใหเห็นวา ความสุขของชีวิตคือการแสวงหาความสงบ ความ หลุดพน โดยเชื่อวาชีวิตเปนทุกข และเชื่อผลแหงกรรม ตัวละครในเรื่องทุกตัวไมวาจะ เปนคนดีหรือคนชั่ว เมื่อประสบความหายนะก็ยอมรับความจริงดวยดี และสํานึกผิด อยางจริงใจ แมทศกัณฐก็ไมใชคนบาปหยาบชาจนเกินไป เปนผูรูจักหลักธรรมอยางดี และยอมรับความพายแพในที่สุด


๓๐

๒.๕.๒ คุณคาในดานสุนทรียภาพ พระราชนิพนธบทละครรามเกียรติ์ในรัชกาลที่ ๑ นี้ เพียบพรอมดวยรส วรรณคดีตาง ๆ อยางครบครัน ไมวาจะพิจารณาในแงของรสวรรณคดีแบบสันสกฤตทั้ง ๙ รส หรือวรรณคดีไทย ๔ รส๑ ดังนี้ ๑) รสวรรณคดีแบบสันสกฤต ๙ รส๒ ไดแก ๑.๑) ศฤงคารรส (รสแหงความรัก) ๑.๒) หาสยรส (รสแหงความขบขัน) ๑.๓) กรุณารส (รสแหงความเมตตากรุณา) ๑.๔) รุทรรส (รสแหงความโกรธเคือง) ๑.๕) วีรรส (รสแหงความกลาหาญ) ๑.๖) ภยานกรส (รสแหงความกลัว ตื่นเตน ตกใจ) ๑.๗) พีภัตสรส (รสแหงความชัง ความรังเกียจ) ๑.๘) อัพภูตรส (รสแหงความพิศวงประหลาดใจ) ๑.๙) ศานติรส (รสแหงความสงบ) ๒) รสวรรณคดีแบบไทย ๔ รส๓ ไดแก ๒.๑) เสาวรจนี (บทชมโฉม) ๒.๒) นารีปราโมทย (บทเกี้ยว โอโลม) ๒.๓) พิโรธวาทัง (บทตัดพอ) ๒.๔) สัลลาปงคพิไสย (บทโศก)

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๙๔. ๒ รสวรรณคดี, (Online). http://th.wikipedia.org/wiki/รสวรรณคดี (๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๑) ๓ เรื่องเดียวกัน.


๓๑

เฉพาะบทบาทของสุครีพและหนุมาน ก็สามารถที่จะหยิบยกตัวอยางรส ตาง ๆ ของวรรณคดีออกมาได๑ เชน ๑) ตอนชมความงามนางวานริน (เสาวรจนี) “พิศพักตรผองเพียงศศิธร พิศขนงกงงอนดั่งเลขา พิศเนตรดั่งเนตรมฤคา พิศนาสาแฉลมอําไพ พิศโอษฐโอษฐเอี่ยมดังจะแยม พิศแกมเปนที่พิสมัย พิศกรรณดังกลีบสุมาลัย พิศทนตแววไวดังแสงนิล พิศถันดั่งดวงปทุมมาศ ทิศทรงวิลาศวิไลสิ้น พิศกรดั่งงวงหัสดินทร พิศโฉมดังกินรีฟา” ๒) ตอนหนุมานเกี้ยวนางวานริน (นารีปราโมทย) “เสียแรงที่บุกปาฝาพง พางเพียงจะปลงชีวาสัญ เพราะรักเจาเยาวลักษณวิไลวรรณ จึงหมายมั่นเจาะจงมาหานอง หวังวาจะฝากไมตรีจิต รวมชีวิตดวยเจาเปนสอง จะสูตายดวยเนื้อนวลละออง อยูในถ้ําทองกับนารี” ๓) ตอนสุครีพโกรธกุมกรรณ (พิโรธวาทัง) “.............................. วาเหวยกุมภกรรณอสุรี อันตัวของเอ็งเปนนอง รวมทองทศพักตรยักษี แตพี่มึงยังแพฤทธี แกกูผูมีศักดา เมื่อครั้งใหยกฉัตรแกว เอ็งลืมไปแลวหรือยักษา แตพระเมรุเอนทรุดลงมา ก็ยังวายกไดดวยวองไว”

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๙๔ – ๙๕.


บทที่ ๓ การศึกษาวิเคราะหวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์” ๓.๑ ตัวละครสําคัญในเรื่องรามเกียรติ์ ๓.๑.๑ พระราม๑

ภาพที่ ๗ : พระราม

พระรามเปนโอรสของทาวทศรถ เปนหลานทาวอัชบาล และเปนเหลน ทาวอโนมาตันซึ่งเปนตนวงศอโยธยา มารดาของพระรามคือนางเกาสุริยา พระรามเปน พระนารายณอวตารลงมาเกิดตามบัญชาของพระอิศวร เพื่อปราบทศกัณฐ พระรามไดรับการศึกษาอบรมจากฤๅษี คือ พระวสิษฐกับพระวิศวามิตร จนจบศิลปศาสตร และคัมภีรไตรเพทตามประเพณีลูกกษัตริยทุกประการ อาวุธประจํา กายคือพระแสงศร ๓ องค ไดแก ศรพรหมาสตร ศรอัคนิวาต และพลายวาต พระรามเป น ตั ว ละครที่ เ ป น แบบอย า งที่ ดี เพราะมี คุ ณ ธรรมความดี มากกวาขอบกพรอง เชน มีคุณสมบัติของความเปนลูกที่ดี คืออยูในโอวาท กตัญู รักษาวาจาสัตยของพอ และเคารพรักแมเลี้ยงเสมอแมตน ฉะนั้นเมื่อถูกเนรเทศออกปา ๑

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๙๗ – ๙๘. ๒ ประวัติตัวละครรามเกี ย รติ์: พระราม, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p5.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๓๓

ดวยความไมยุติธรรม พระรามจึงมิไดเกี่ยงงอนหรือโกรธเคือง นอกจากนี้ยังเปนพี่ที่ดี เสียสละและรักนอง ไมเคืองแคนพระพรตที่ไดราชสมบัติ และรักใครพระลักษมณยิ่ง ชีวิต เปนสามีที่ดี ดังจะเห็นวาพระรามเปนคนรักเดียวใจเดียว ซื่อตรงจงรักตอนางสีดา ไม เ คยมี ช ายาอื่ น หรื อ ชื่ น ชมในหญิ ง อื่ น พระเอกในวรรณคดี ไ ทยน อ ยคนนั ก ที่ จ ะมี คุณสมบัติเชนนี้ สวนขอบกพรองบางอยางของพระรามก็คือหูเบา และหุนหันพลันแลน สว นในรูปแบบนักปกครอง พระรามเป น นั กปกครองที่ ดี ฟงเสี ยงที่ ปรึกษามากกวาจะตัดสินใจตามลําพัง และรูจักเลือกใชคน เชน มีชมพูพาน พิเภก สุครีพ เปนที่ปรึกษา ใชหนุมานในเรื่องตองการใชกําลัง และใชองคตเปนทูตเจรจา เปนตน นอกจากนี้ยังเปนผูรูจักใหกําลังใจแกผูใตบังคับบัญชา ดวยการมอบบําเหน็จ รางวัลตามความดีความชอบที่ทําโดยมิไดเดียดฉันท ขอที่แสดงใหเห็นวา พระรามมีลักษณะของมนุษยในอุดมคติมากกวา มนุษยจริง ๆ อยางชัดเจน คือ เรื่องการระงับใจ ไมใหวูวาม มีเหตุผลเหนืออารมณ ซึ่ง บางครั้งยากที่ปุถุชนจะทําได แตพระรามมักจะทําไดแทบทุกครั้ง ไมวาจะอยูในอารมณ โกรธแคนรุนแรงหรือเศราโศกปานใด ก็มิไดแสดงอารมณเหลานั้นใหผูอื่นไดเห็น เมื่อ ถูกเนรเทศทั้งที่มิไดกระทําอะไรผิดก็มิไดโกรธเคือง หรือตอนนางลอย พระรามเห็นศพ นางเบญจกายแปลงเปนสีดาลอยน้ํามา เขาพระทัยผิดคิดวาเปนนางสีดาจริง จึงรําพัน คร่ําครวญทั้งสงสัยไมแนใจ ทั้งโกรธแคนวาทศกัณฐประหารนาง แตแลวก็พยายาม ระงับใจไมใหโกรธแคน ดังกาพยนางลอยพระราชนิพนธในรัชกาลที่ ๒ บรรยายวา พระดาลเดือดแลวดับได ไฉนหนอพระยุพิน

กลัวเทพไทจะติฉิน ยุพาพี่จะคืนเปน

ในบางครั้งและบางเรื่องทําใหดูเหมือนพระรามจะไมเขมแข็ง ไมกลา ตัดสินใจดวยตนเอง ไมกลาแสดงออกซึ่งความเปนตัวของตัวเอง แตสิ่งเหลานี้กลับ แสดงถึงความบรรลุภาวะวุฒิของความเปนผูใหญ รูอะไรควรไมควร วางจังหวะชีวิตได ถูกตอง คุณสมบัติเชนนี้เปนพฤติกรรมที่ทําตามกันลําบาก พระรามจึงเปนบุคคลในอุดม คติ คือไมนาเชื่อวาเปนไดเชนนี้จริง ๆ การที่เนนวาพระรามเปนพระนารายณอวตาร ทํา ใหคอยลดความไมนาเชื่อลงไปได เพราะเปนเทพเจา


๓๔

๓.๑.๒ นางสีดา๑

ภาพที่ ๘ : นางสีดา

นางสีดาเปนธิดาทศกัณฐกับนางมณโฑ แตตอนเกิดมานั้นโหรทํานายวา เปนกาลกิณี ทศกัณฐจึงใหนําทารกนอยใสผอบลอยน้ําไป ทาวชนกเจาเมืองมิถิลาขณะ บวชเปนฤๅษี นําไปเลี้ยงโดยใสผอบฝงดินไว เมื่อบําเพ็ญพรตไมสําเร็จจึงไดขุดเอาผอบ นั้นนําเขาไปเลี้ยงไวในเมืองมิถิลาดวย ตั้งชื่อใหทารกวา “สีดา” พออายุครบ ๑๖ ป ก็จัด ใหมีการเลือกคู พระรามเปนผูชนะในการเลือกคูคราวนั้น จึงไดจัดพิธีอภิเษกสมรสและ พานางสีดาไปอโยธยา นางสีดาตามเรื่องคือพระลักษมีอวตารลงมาเกิดเปนบุญบารมีของ พระราม นางสีดาเปนคนงดงามมาก ดังตอนที่นางสํามะนักขานําไปทูลทศกัณฐวา ...จึงทูลวานางสีดานี้ ถาเปรียบพระลักษมีศรีสวัสดิ์ อีกทั้งสมเด็จพระอุมา ………………………… ถาจะเอาพี่นางมณโฑเปรียบ

มีศรีเสาวภาคยจําเริญตา พระสุรัสวดีเสนหา นองเห็นงามกวาทั้งสามองค ………………………… เทียมเทียบไกลกันสักพันเทา...

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๙๘ – ๑๐๐. ๒ ประวัติตั วละครรามเกีย รติ์ : นางสีดา, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p6.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๓๕

ความงามของนางสีดานั้น แมกระทั่งทาวมาลีวราชซึ่งเปนปูของทศกัณฐ เห็นเขาก็ตกตะลึงและหวั่นไหวไปเหมือนกัน นอกจากความงดงามแลว นางสีดายังเปนนางในวรรณคดีที่เปนตัวอยาง แหงความดี ความซื่อสัตย และจงรักภักดีตอสามี จะเห็นไดจากเหตุการณสําคัญ ๆ หลายตอน เชน ๑) เมื่อพระรามตองเดินปามีกําหนด ๑๔ ป ตามคําขอของนางไกยเกษี ตอทาวทศรถนั้น นางสีดาสมัครใจตามไปปรนนิบัติโดยไมกลัวตอความยากลําบาก ครั้นทศกัณฐทําแผนใชมารีศแปลงเป นกวางมาลอ พระรามพระลักษมณออกไปจาก บรรณศาลา และลักพานางสีดาไปนั้น ระหวางทางเมื่อนกสดายุเขาชิงนางจากทศกัณฐ ทศกัณฐถอดแหวนจากนิ้วนางสีดาขวางจนปกหัก นางสีดาก็โยนผาสไบฝากไปและให ขาวตอพระรามถึงเสนทางที่นางถูกลักพาดวย ๒) ทศกั ณ ฐ พ านางสี ด าไปไว ใ นอุ ท ยานโดยให ส หั ส กุ ม ารคอยเฝ า ทศกัณฐไปออนวอนหลายครั้งใหนางปลงใจ แตนางไมยอม ทั้งอธิษฐานใหตัวรอนจน ทศกัณฐถูกตองมิได ๓) เมื่อถูกทศกัณฐรบกวนบอยเขา นางก็กลุมใจและแคนใจ ทั้งไมรูขาว คราวจากพระรามดวย จึงคิดผูกคอตาย พอดีหนุมานมาถึงและแกไขไดดังกลอนที่วา จึงเอาผาผูกพันกะสันรัด ชายหนึ่งผูกศออรทัย บัดนั้น

เกี่ยวกระหวัดไวกับกิ่งโศกใหญ แลวทอดองคลงไปจะใหตาย วายุบุตรแกไดดังใจหมาย...

เมื่อหนุมานชวยนางไวและแจงขาวใหทราบวาพระรามกําลังตามมาแลว พรอมทั้งถวายผาสไบและแหวนใหเปนพยานหลักฐาน นางก็มีความยินดีและมีกําลังใจ ที่จะมีชีวิตตอไป เพราะชีวิตของนางอยูเพื่อพระรามเทานั้น ๔) ครั้นเสร็จศึกลงกา กอนที่พระรามจะกลับคืนกรุงอโยธยา นางไดลุย ไฟพิสูจนความซื่อสัตยจงรักภักดี และความบริสุทธิ์ของนาง เพื่อพระรามจะไดไมมี ความของใจใด ๆ


๓๖

๕) เมื่อนางอดูลปศาจยักษมาลวงใหนางเขียนภาพทศกัณฐแลวเขาสิง ภาพ จนพระรามจับไดและสั่งใหพระลักษมณนําไปประหาร เพราะเขาใจวานางมีใจ ผู ก พั น กั บ ทศกั ณ ฐ แต ด ว ยความสั ต ย ที่ น างมี ต อ สามี พระขรรค ข องพระลั ก ษมณ ก็ กลายเปนมาลัยดอกไมคลองคอ พระลักษมณจึงตองปลอยนางไป แลวเอาหัวใจเนื้อ ทรายไปถวายพระรามแทนหัวใจนางสีดา นางก็ไมไดเรียกรองความเปนธรรมแตอยาง ใด ยอมรับคําสั่งประหารของสามีโดยดุษณี ๖) นางสีดายังตองรับกรรมจนคลอดโอรสคือพระมงกฎ ตอมาพระฤๅษี วัชมฤคฯ ผูดูแลนาง เห็นพระมงกุฎที่สีดาฝากไวหายไปจึงชุบกุมารขึ้นแทนดวยเกรงนาง สีดาเสียใจที่ลูกหาย ปรากฏวานางสีดาอุมพระมงกุฎไปเอง นางจึงขอกุมารที่ชุบขึ้นเปน ลูกอีกองคหนึ่ง ใหชื่อวาพระลบ ซึ่งทั้งสองคนลองศรทําใหพระรามตามมาพบสีดา แสดงวาเมื่อถึงคราวเคราะห นางก็มีความอดทน โดยหันมาเอาใจใสเลี้ยงดูบุตรแทน มิไดกระทําสิ่งใดนอกใจสามีหรือปลอยชีวิตไปตามบุญตามกรรมแตอยางใด ๗) พระรามมาง อ ขอคื น ดี นางไม ย อม แต พ อพระรามแกล ง สิ้นพระชนม นางสีดาก็ไปคร่ําครวญหนาพระโกศ พอรูวาเปนอุบายของพระรามนางจึง กระทําสัตยอธิษฐานแยกแผนดินไปอยูเสียที่บาดาล จนพระอิศวรเชิญทั้งพระรามและ นางสีดาขึ้นไปไกลเกลี่ยบนสวรรค นางจึงยอมอภิเษกใหมเปนครั้งที่ ๒ และเขาครอง กรุงอโยธยากับพระราม จากบทบาทหลาย ๆ ตอนของนางสีดาในเรื่องรามเกียรติ์ดังกลาวมานี้ แสดงใหเห็นถึงคุณธรรมของนางสีดา ซึ่งเปนคุณสมบัติของหญิงไทยในอุดมคติ คือ ตองมีสามีเดียว จงรักภักดีตอสามีแมจะตกอยูในสถานการณอยางไรก็อยาใหหวั่นไหว หันเหความภักดีตอสามีไปได ถาเปนคติอินเดียที่ไทยนําแบบมา นางสีดาก็เปนแบบ ฉบับของหญิงอินเดียเชนเดียวกัน ในแงที่จงรักตอสามีเปนเลิศ ซึ่งถาสามีตายกอนก็ จะตองโดดเขากองไฟเผาตัวตายตาม ถือเปนประเพณีสืบเนื่องมาชานาน (เพิ่งจะเลิกไป เมื่ออังกฤษเขาปกครองอินเดียนี้เอง) นางสีดาก็เขาลักษณะของหญิงผูซื่อสัตยดังกลาว มาแลวนี้ นางสีดาจึงเปนตัวอยางของนางในวรรณคดีที่มักจะมีผูยกมากลาวอางในเชิง ยกยองอยูเสมอ


๓๗

๓.๑.๓ ทศกัณฐ๑

ภาพที่ ๙ : ทศกัณฐ

ทศกัณฐ เมื่อปางกอนเปนนนทก อสูรเทพบุตร ทําหนาที่ลางเทาเทวดา ที่จะขึ้นเฝาพระอิศวร ถูกเทวดากลั่นแกลงจึงขอพระอิศวรใหมีนิ้วเปนเพชร และไดชี้ เทวดาตายไปเป น อั น มาก พระนารายณ จึ ง แปลงเป น นางอั ป สรมารํ า ล อ ให น นทก หลงใหลและรําตาม จนนิ้วเพชรชี้ขาตัวเองหัก นางอัปสรจึงคืนรางเปนพระนารายณ ประหารนนทกเสีย นนทกเกิดใหมเปนโอรสทาวลัสเตียนและนางรัชดาครองเมืองลงกา ชื่อ “ทศกัณฐ” ทศกั ณฐเปนยักษมีสิบเศียร สิบพั กตร มี ยี่สิบกร รูป รางใหญโ ต นา เกลี ย ด โหดเหี้ ย ม แต ส ามารถแปลงร า งได ส ารพั ด เรี ย นวิ ช าจากฤๅษี โ คบุ ต ร มี พละกําลังมหาศาล ยกเขาไกรลาสใหตั้งตรงได แตเปนผูมักมากในกามคุณ เที่ยวแปลง รางสมพาสกับมนุษย สัตว และนางฟาไปทั่ว จนเกิดลูกรูปรางแปลก ๆ มากมาย เชน สุพรรณมัจฉา เปนตน ทศกัณฐเปนคนใจพาล มักใชอํานาจไปในทางที่ผิด ใชอารมณเปนใหญ ไมชอบฟงเสียงทัดทาน ชอบแตใหคนเอาใจประจบสอพลอ ใครขัดขืนก็ตองถูกลงโทษ ๑

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๑๐๐ – ๑๐๒. ๒ ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: ทศกัณฐ, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p11.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๓๘

อยางเชน เนรเทศพิเภก เมื่อตองการสิ่งใดทศกัณฐมักจะกระทําตามอําเภอใจ เชนอยาก ไดบุษบงแกวของทาวกุเรปนพี่ชาย ก็ชิงเอาเปนของตน แตทศกัณฐมีความกลาหาญอยางหนาชมเชย ถาอานดูตลอดทั้งเรื่องเรา จะพบวาทศกัณฐนั้นไมใชวาจะเกงกลาสามารถจนเลิศเลอนัก ทศกัณฐเคยรบแพพาลี แพอรชุน จนเมื่อไปทําพิธีถอดดวงใจฝากไวกับฤๅษีจึงไดฮึกเหิมในความเปนอมตะของ ตน การรบกับฝายพระราม ทศกัณฐก็แทบทานกําลังไมไหว ทั้งขาดกําลังใจ เพราะ ญาติวงศพงศยักษและมิตรสหายที่มาชวยรบก็ลมตายรอยหรอไปทุกที ทศกัณฐทอถอย จนอยากจะหนีไปใหไกล แตก็ไมทํา กลับคิดสูไมกลัวตาย ดังวา ...คิดคิดจะใครพาอรไท กับองคสีดานงลักษณ ใหพนภัยเภทเหตุการณ แกหมูเทวาสุราฤทธิ์ อันการจะถึงที่บรรลัย

หนีไปอยูขอบจักรวาล ซึ่งพี่รักยอดสงสาร คิดแลวบันดาลละอายใจ ทศทิศจะนินทาได ใครจะหนีไดผิดที...

และอีกตอนหนึ่ง ทศกัณฐพูดวา ...สูตายไมเสียดายชีวัน ตัวพี่ก็ชายอาชาไนย

จะยอทอตอมันกระไรได มิคิดอาลัยแกชีวี...

อุปนิสัยขอสุดทายที่เปนขอดีของทศกัณฐก็คือ รูสํานึกผิดชอบชั่วดีใน บั้นปลาย หลังจากตอสูมาถึงที่สุดแลว ก็ยอมแพอยางมีน้ําใจเปนนักกีฬา คือแพตอ ความดี มีความหวงใยผูอยูเบื้องหลังและสํานึกผิดวา “ตัวเราชั่วเองจึงเสียชนม แลวได รอนรนทั้งแผนภพ” ฉากตอนทศกัณฐลมเปนฉากที่งดงาม ทศกัณฐสั่งลาดวยปากทั้งสิบ ปากอยางกินใจ ทําใหเรามองเห็นความออนโยนที่แฝงอยูภายในใจของทศกัณฐ และยัง ชวยเสริมใหชัยชนะของพระรามยิ่งใหญ เพราะเปนชัยชนะที่เหนือยักษผูทรงเกียรติ์ นา นั บ ถื อ น า เกรงขาม ทศกั ณ ฐ จึ ง เป น ตั ว ละครที่ น า ประทั บ ใจ เพราะแสดงอุ ป นิ สั ย บุคลิกลักษณะหลายอยางตาง ๆ กัน ไดอยางตรึงอารมณ


๓๙

๓.๑.๔ พระลักษมณ

ภาพที่ ๑๐ : พระลักษมณ

พระลักษมณ คือ พญาอนันตนาคราชที่ประทับของพระนารายณมาเกิด พรอมพระราม มีกายสีเหลืองดั่งทองทา เปนพระโอรสของทาวทศรถกับนางสมุทรเทวี มีพระอนุชารวมพระมารดา คือ พระสัตรุต๒ เมื่อครั้งพระรามตองเสด็จออกเดินดงตามพระประสงคของนางไกยเกษี พระลั ก ษมณ ก็ ไ ด ทู ล ขอตามเสด็ จ ไปด ว ย ครั้ ง แรกพระรามทรงไม อ นุ ญ าตแต พ ระ ลักษมณทรงยืนกราน จึงตามเสด็จดวยความจงรักภักดี ทรงเคียงคูพระรามเสมอใน ระหวางเกิดศึกกรุงลงกา และเมื่อพระรามตองเสด็จเดินดงเปนครั้งที่สองก็ไดทูลขอเสด็จ ตามไปดวยอีก ทรงรวมผจญหมูมารและเหลาศัตรูเคียงคูพระรามหลายครั้งดวยกัน๓ บุ ค ลิ ก ลั ก ษณะและคุ ณ ธรรมของพระลั ก ษมณ ในฐานะน อ งมี ค วาม จงรักภักดีตอพระรามผูเปนพี่อยางไมมีใครเสมอเหมือน เสียสละยอมลําบากกับพี่ มีภัย อันตรายก็คอยปกปองดวยชีวิต ในฐานะนักรบเปนผูมีปฏิภาณไหวพริบดี ไมเกรงกลัว ความตาย อาสาออกรบดวยความยินดี ในฐานะนองสามีใหการเคารพนับถือนางสีดาผู เปนพี่สะใภประหนึ่งมารดาของตน เคารพเชื่อฟง รับใชอยางไมรังเกียจ๔ ๑

ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: พระลักษมณ, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p7.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑) ๒ พระลักษมณ, (Online). http://th.wikipedia.org/wiki/พระลักษมณ (๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑) ๓ เรื่องเดียวกัน. ๔ บทเรียนนาฏกรรมโขน: คุณคาของตัวละครในนาฏกรรมโขน, (Online). http://art.hcu.ac.th/khon/ value.html (๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๔๐

๓.๑.๕ พิเภก๑

ภาพที่ ๑๑ : พิเภก

พิเภกเปนยักษหนาสีเขียว สวมมงกุฎน้ําเตา แตเดิมเปนเทพบุตร ชื่อ เวสสุญาณ พระอิศวรโปรดใหไปเกิดรวมวงศยักษ เปนลูกทาวลัสเตียนและนางรัชดา เปนนองทศกัณฐ มีภรรยาชื่อนางตรีชฎา มีลูกชื่อเบญจกาย ซึ่งตอมาไดเปนเมียของ หนุ ม าน พิ เ ภกเป น ที่ป รึก ษาคอยช ว ยพระรามรบกั บ ทศกัณ ฐ เมื่ อ ครั้ น เสร็ จศึ ก แล ว พระรามใหพิเภกครองเมืองลงกา ทรงนามวา “ทาวทศศิริวงศ” พิเภกไมคอยมีความสามารถในการรบเมื่อเทียบกับพี่นอง แตมีความรู ทางดานพิธีกรรมและการทํานายทายทัก จึงทําหนาที่เปนโหรหลวงใหทศกัณฐ ครั้น หนึ่งทศกัณฐใหทํานายสุบินอันบอกลางรายและใหบอกวิธีสะเดาะเคราะห พิเภกแนะนํา ใหสงนางสีดาคืน ทศกัณฐกริ้วใหริบสมบัติแลวไลออกจากลงกา สงนางตรีชฎาไปเปน สาวใชนางสีดา พิเภกจึงเขาสวามิภักดิ์ตอพระราม และทําหนาที่ปรึกษาการศึกอันเปน ประโยชนแกฝายพระรามมาก เพราะเปนผูวางแผนการรบ เนื่องจากรูวาฝายลงกาจะสง ใครออกรบ จึงถวายคําแนะนําแกพระรามวาควรจะสงแมทัพคนใดออกไปตอสูดวย นอกจากนั้นยังเปนผูรูวิธีแกกลศึก แกอํานาจอาวุธของศัตรู จึงไดชวยชีวิตแมทัพฝาย พระรามไดหลายครั้งหลายหน ทั้งยังคอยทํานายเหตุการณที่จะเกิดในอนาคตใหพระราม ทราบ จึงเสมือนกับเปนแวนทิพยของพระรามนั่นเอง ๑

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๑๐๔ – ๑๐๕. ๒ ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: พิเภก, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p13.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๔๑

๓.๑.๖ หนุมาน๑

ภาพที่ ๑๒ : หนุมาน

หนุมานเปนลิงสีกายขาว ไมมีมงกุฎ กําเนิดของหนุมานกลาวไวในเรื่อง รามเกียรติ์วา พระอิศวรแบงกําลังของพระองคใหพระพายนําไปพรอมดวยเทพอาวุธ คือ ตรี คทา จักร ไปซัดเขาปากนางสวาหะซึ่งถูกมารดาสาปใหยืนตีนเดียวเหนี่ยวกิน ลมอยูที่เชิงเขาจักรวาล แลวใหพระพายคอยพิทักษรักษานาง นางสวาหะจึงเทากับเปน แม พระพายเปนพอ นางสวาหะตั้งครรภอยูสามสิบเดือนจึงคลอด มีคํากลอนกลาววา ครั้นไดศุภฤกษยามดี ปขาลเดือนสามวันอังคาร เปนวานรผูเผนออกทางโอษฐ ใหญเทาชันษาไดโสฬส

พระรวีหมดเมฆแสงฉาน เยาวมาลยประสูติโอรส เผือกผองไพโรจนทั่วกายหมด อลงกตดั่งดวงศศิธร

นอกจากหนุมานจะเปนลิงเผือกเพศผูที่รูปรางใหญโตเทากับอายุ ๑๖ ป ในทันทีที่กระโดดออกมาจากปากแมแลว ยังมีความวิเศษติดตัวมาดวย คือสามารถ แผลงฤทธิ์เปนสี่หนาแปดมือ หาวเปนดาวเปนเดือน มีกุณฑลขนเพชรเขี้ยวแกว ของ วิเศษตาง ๆ เหลานี้ไมมีใครลวงรู นางสวาหะสั่งวาหากผูใดมาทักของวิเศษเหลานี้ ก็ให ๑

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๑๐๓ – ๑๐๔. ๒ ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: หนุมาน, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p22.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๔๒

เขาสวามิภักดิ์ตอผูนั้น เพราะนั่นคือพระนารายณ กอนหนุมานจะไดพบพระรามไดถูก พระอุมาสาปใหกําลังลดลงครึ่งหนึ่ง เพราะไปเที่ยวหักตนไมในสวนของพระอุมา แต พระอุมาลดโทษใหโดยมีขอแมวาถาพระรามลูบหลังตลอดหางก็จะพนคําสาป ตอนหนุ ม านเข า ถวายตั ว เป น ทหารเอกของพระราม มี เ รื่ อ งเล า ว า หนุมานเห็นพระรามและพระลักษมณบรรทมอยูใตตนหวา จึงแปลงรางเปนลูกวานรไต กิ่งไมไปเหนือที่บรรทมแลวรูดใบไมโปรยลงมาใหตององคพระราม พระลักษมณผูนั่ง ระวังอยูไลใหไปก็ไมไป จึงเงื้อคันธนูจะตี หนุมานกลับกระโจนลงไปแยงเอาคันธนูหนี ขึ้นตนไมไปทําหลอกลออยู เมื่อพระรามตื่นบรรทม พระลักษมณกราบทูลใหทรงทราบ พระรามจึงกลาวแกพระลักษมณวาลิงนอยนี้ผิดจากลิงปาอื่น ๆ มีกุณฑลขนเพชรเขี้ยว แกวนาประหลายใจ สิ่งตาง ๆ เหลานี้พระลักษมณมองไมเห็น หนุมานจึงรูวาผูนี้คือพระ นารายณอวตาร จึงคืนรางเปนลิงใหญตามเดิมแลวขอเปนทหารเพื่อปราบยักษ

ภาพที่ ๑๓ : หนุมานถวายตัว ณ พระอุโบสถวัดหัวลําโพง กรุงเทพมหานคร

วัดหัวลําโพง พระอารามหลวง, ภาพจิตรกรรมฝาผนัง (รามเกียรติ์) ณ พระอุโบสถ: หนุมานถวายตัว, (Online). http://www.wathualampong.com/Ramayana/RR03.html (๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๔๓

๓.๑.๗ สุครีพ๑

ภาพที่ ๑๔ : สุครีพ

สุครีพเปนลิงสีแดง มีมงกุฎ เปนนองพาลีเกิดจากแมเดียวกัน คือ นาง กาลอัจนา ซึ่งเปนผูที่ฤๅษีโคดมเสกขึ้นจากกองไฟ พระฤๅษีโคดมและนางกาลอัจนามี ลูกสาวชื่อสวาหะ ตอมานางกาลอัจนาไดเสียกับพระอินทรไดลูกชื่อกากาศ (ภายหลังได ชื่อวาพาลี) สีกายเขียวเหมือนพอ แลวนางก็ไดเสียกับพระอาทิตยไดลูกชื่อสุครีพ สีกาย แดง เรื่องนี้เปนวิธีการแบงฤทธิ์ของพระอินทรและพระอาทิตยเพื่อมาชวยพระนารายณ ทําศึก พาลีและสุครีพเดิมเปนคน พระฤๅษีโคดมเลี้ยงดูดวยความรักนึกวาเปนลูก วัน หนึ่งนางสวาหะบอกความจริงเรื่องลูกชาย พระฤๅษีโคดมจึงโยนเด็กทั้งสามลงน้ําเพื่อ เสี่ยงทายวาใครเปนลูกของตนใหวายน้ํากลับมา ถาไมใชใหกลายเปนลิงเขาปาไป พาลี และสุครีพจึงกลายเปนลิง เหลือแตนางสวาหะวายน้ํากลับมา พระฤๅษีโคดมจึงสาปนาง กาลอัจนาเปนหิน และนางกาลอัจนาสาปนางสวาหะใหยืนตีนเดียวเหนี่ยวกินลมอยูที่เชิง เขาจักรวาล รอจนมีลูกเปนลิงจึงจะพนสาป คือรอจนพระพายนําอาวุธพระนารายณมา ซัดเขาปากจึงใหกําเนิดหนุมาน เทากับวาหนุมานเปนหลานนาของสุครีพ พระอินทร และพระอาทิตยเมื่อเห็นลูกตนเปนลิงเขาปาไปเชนนั้น ก็ไดสรางเมืองขีดขินใหอยู โดย ใหลูกพระอินทรผูพี่คือพาลีเปนเจาเมือง สวนลูกพระอาทิตยคือสุครีพเปนอุปราช ๑

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สาขาวิชาศึกษาศาสตร, เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทย ๔: วรรณคดีไทย หนวยที่ ๘ – ๑๕, พิมพครั้งที่ ๕, (นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๔๗), หนา ๑๐๒ – ๑๐๓. ๒ ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: สุครีพ, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p24.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๔๔

คราวหนึ่งเขาพระสุเมรุเอียงดวยอํานาจที่รามสูรจับอรชุนฟาด พระอิศวร ขอแรงเทวดาอิ น ทร พ รหมนั ก สิท ธิ์ วิท ยาธรทั้ งพระยากากาศ (พาลี ) และสุ ค รี พ ให ชวยกันทําใหตรง ทั้งหมดจึงรวมมือกันเอาพญานาคมาพันเปนเกลียวแทนเชือกพันรอบ เขาเพื่อฉุดกระชาก แตฉุดเทาไหรก็ไมเขยื้อนจนออนแรงตาม ๆ กัน สุครีพออกอุบายให ดึงลําตัวนาคใหตึงแลวเอานิ้วจี้ที่สะดือ นาคสะดุงฮวบมวนขนดเขาพรอมกันทันทีเขา พระสุเมรุจึงไหวเขยื้อน พระยากากาศรีบเอาบายันจนตั้งตรง พระอิศวรเห็นความชอบ ประทานชื่อใหใหมวาพาลี พรอมกับประทานตรีเพชรและพรวาถารบกับผูใดใหกําลัง ลดจากตัวผูนั้นกึ่งหนึ่งเขาไปเพิ่มกําลังแกพาลี ทรงฝากผอบแกวบรรจุนางดาราไปให สุครีพ พระนารายณทูลคานวาการฝากหญิงไปกับชายก็เหมือนฝากมาลัยไปกับแมลงภู พาลีจึงสาบานวาถาโกงเอาของนองไปขอใหตายดวยศรพระนารายณ แตเมื่อเปดผอบ พบนางดาราก็ชอบใจ เกี้ยวนางดาราเปนเมียตนเสียเอง สุครีพและพาลีจึงเริ่มผิดใจกัน ตอมาสุครีพกับพาลีมีเรื่องผิดใจกันหนักดวยเรื่องพาลีรบกับทรพีควายปา ทั้งสองเขาไปรบกันในถ้ํา พาลีสั่งสุครีพวาถารบกันเจ็ดวันแลวไมกลับมาใหสุครีพไปดู ที่ลํ า ธารหน า ถ้ํ า ถ า เห็ น เลื อดข น แสดงว า พาลี ช นะ ถ า เห็ น เลือ ดใสแสดงวา แพ ให สุครีพรีบเอากอนหินถมปดปากถ้ําเพื่อมิใหใคร ๆ เห็นศพ สุครีพก็เฝารออยูหนาถ้ําจน เกินกําหนดเวลาไมเห็นพาลีออกมา จึงชวนองคตและพวกทหารไปสํารวจดูลําธารเห็น เลือดใสเพราะเมื่อพาลีฆาทรพีตายแลวฝนตกหาใหญละลายเลือดไป สุครีพเห็นสม เหตุผลตามที่พี่สั่งไวจึงเอากอนหินปดปากถ้ํา พาลีเห็นถ้ําปดก็โกรธมากทลายปากถ้ํา แลวเขาไปในเมือง กลาวหาวาสุครีพเปนกบฏแกลงจะใหพาลีตายเพื่อหวังสมบัติแลวขับ ไลสุครีพออกจากเมือง สุครีพจึงตองแกแคนพาลีโดยขอความชวยเหลือจากพระราม หนุมานเปนผูอาสานําสุครีพนาชายมาเฝาพระราม สุครีพขอใหพระราม ชวยปราบพาลีซึ่งก็คือการลงโทษพาลีตามที่ผิดคําสาบานไว สวนสุครีพจะชวยพระราม นํากองทัพวานรรบกับทศกัณฐ พระรามจึงแผลงศรฆาพาลี สุครีพไดครองเมืองขีดขิน และไดเกณฑไพรพลมาชวยพระรามอีกมาก มีทหารเอกหลายนายไดแก นิลพัท วานร สิบแปดมงกุฎ เปนตน ยกเปนกองทัพใหญไปรบฝายลงกา ในบทละครโดยมากสุครีพทําหนาที่เปนผูจัดทัพเพื่อออกรบ เมื่อเสร็จศึก ลงกาแลวไดบรรดาศักดิ์เปนพระยาไวยวงศามหาสุรเดช ครองนครขีดขินกับนางดาราวดี


๔๕

๓.๑.๘ องคต

รูปภาพ ๑๕ : องคต

องคตเปนลิงมีกายสีเขียว เปนบุตรของพาลีกับนางมณโฑ เมื่อพาลีแยง นางมณโฑมาจากทศกัณฐแลว นางตองเปนภรรยาของพาลีจนกระทั่งตั้งครรภ ทศกัณฐ ไปฟองฤๅษีอังคัตอาจารยของพาลี จนพาลียอมคืนนางมณโฑใหแตขอลูกไว ฤๅษีอังคัต จึงทําพิธีเอาลูกออกจากทองนางมณโฑไปใสในทองแพะ เมื่อครบกําหนดคลอดพระ ฤๅษีก็ทําพิธีใหออกจากทองแพะใหชื่อวา “องคต” สวนทศกัณฐยังผูกใจเจ็บจึงแปลงกาย เปนปูยักษคอยอยูกนแมน้ําเพื่อจะฆาองคตขณะทําพิธีลงสรง แตถูกพาลีจับไดแลวเอามา ผูกไวใหลูกลากเลนอยูเจ็ดวันจึงปลอยไป เมื่อสุครีพขอใหพระรามมาชวยปราบพาลี กอนพาลีจะสิ้นใจไดสํานึกตนวาทําผิดตอสุครีพที่ไมรักษาคําสัตยสาบาน จึงทูลฝากฝง สุครีพและองคตไวกับพระราม องคตไดชวยทําศึกกับกองทัพของทศกัณฐอยางเต็ม ความสามารถ พระรามเคยสงองคตเปนทูตไปเจรจากับทศกัณฐเพื่อทวงนางสีดาคืน แม ไมสําเร็จแตก็ไดแสดงความเฉลียวฉลาดและความกลาหาญใหประจักษแกตาทศกัณฐ๒ ในฐานะทหาร องคตเปนทหารที่องอาจกลาหาญ เปนผูมีวาทศิลปดี จึง มักเปนผูสงราชสาร แตไมเคยทํางานเกินคําสั่งเลย มีความซื่อสัตยและจงรักภักดี๓ ๑

ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: องคต, (Online). http://www.geocities.com/hanumarn2k/p25.html (๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑) ๒ ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: องคต, (Online). http://www.banramthai.com/html/aongkod.html (๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑) ๓ บทเรียนนาฏกรรมโขน: คุณคาของตัวละครในนาฏกรรมโขน, (Online). http://art.hcu.ac.th/khon/ value.html (๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๔๖

๓.๒ เหตุการณที่สําคัญในเรื่องรามเกียรติ์ ๓.๒.๑ ตอนนารายณปราบและสาปนนทก๑ มียักษตนหนึ่งชื่อ “นนทก” พระอิศวรมอบหมายใหมีหนาที่คอยลางเทา เทวดาอยู ณ เชิงบันไดเขาไกรลาส แตถูกเหลาเทวดาทั้งหลายตบหัวเลนบาง ถอนผม เลนบาง จนหัวโกรนโลนเกลี้ยงถึงเพียงหู เมื่อนนทกเห็นเงาของตนเองในน้ําจึงรูสึก แคนเคืองเหลาเทวดายิ่งนัก จึงหาโอกาสเขาไปเฝาพระอิศวรแลวรองไหโศการําพัน วา ทําความดีมานานไมเห็นพระองคประทานพรบางเลย พระอิศวรจึงถามนนทกวามีความประสงคสิ่งใดขอใหบอกมา อยามัว โศกาอาลัยอยูเลย นนทกไดทีจึงกราบทูลไปวาตองการจะไดนิ้วเพชร ชี้ใครก็ขอใหตาย ทันที พระอิศวรจึงประทานพรดังกลาวใหแกนนทก นนทกเมื่อไดพรจากพระอิศวรสมใจตนเองแลว ก็ไปนั่งขัดสมาธิยิ้มรา อยูที่ริมอางใหญเชิงบันไดเขาไกรลาสเหมือนเชนเคย เหลาเทวดาก็พากันมาใหนนท กลางเทาให เสร็จแลวก็จับหัวนนทกสั่นเลนเปนการหยอกลอเหมือนทุกวัน แตวันนี้น นทกโกรธมาก ตอวาเทวดาวามารังแกตนจนทนไมไหวแลว จึงใชนิ้วเพชรชี้ไปที่เทวดา เหลานั้น จนลมตายลงเปนจํานวนมาก พระอินทรเมื่อเห็น ดังนั้น จึงไปกราบทูลพระอิศวรเรื่องนนทกใชนิ้ว เพชรฆาเทวดา พระอิศวรจึงมีบัญชาใหพระนารายณไปสังหารนนทกเสียโดยเร็ว พระนารายณจึงแปลงเปนนางฟา ไปคอยนนทกอยู ณ ทางที่นนทกจะ เดินผาน เมื่อนนทกเห็นนางฟาแปลงก็นึกรัก จึงไปพูดเกี้ยวพาราสี นางฟาแปลงบอกวา นางเปนนางระบํา ถาผูใดรําไดเหมือนนาง นางจึงจะรับรัก นนทกตกลงรับคําวาจะรํา ตามทาตาง ๆ ที่นางรําโดยไมใหผิดพลาดเลย

วิเชียร เกษประทุม, เลาเรื่องรามเกียรติ,์ (กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา, ๒๕๔๙), หนา ๒๐ – ๒๒.


๔๗

ครั้นแลวนางฟาแปลงก็รําทาแมบทตาง ๆ ซึ่งนนทกก็รําตาม จนถึงทา นาคามวนหางซึ่งตองใชนิ้วชี้ไปที่พระเพลา (ขา,ตัก) ทําใหนนทกขาหัก แลวนางฟา แปลงก็กลายรางเปนพระนารายณยืนเหยียบนนทกไว ทารําแมบทนั้น ในหนังสือพระราชนิพนธเรื่องรามเกียรติ์วาไวดังนี้ เทพนมประถมพรหมสี่หนา ทั้งกวางเดินดงหงสบิน อีกชานางนอนภมรเคลา เมขลาโยนแกวแววไว ลมพัดยอดตองพรหมนิมิต ยายทามัจฉาชมสาคร ฝายวานนทกก็รําตาม ถึงทานาคามวนหางวง

สอดสรอยมาลาเฉิดฉิน กินรินเลียบถ้ําอําไพ ทั้งแขกเตาผาลาเพียงไหล มยุเรศฟอนในอัมพร ทั้งพิศมัยเรียงหมอน พระสี่กรขวางจักรฤทธิรงค ดวยความพิศมัยใหลหลง ชี้ตรงถูกเพลาทันใด

นนทกครั้นเห็นพระนารายณมีสี่มือก็จําได จึงถามวาตนเองมีความผิดสิ่ง ใด พระนารายณตอบวา “โทษเอ็งใหญหลวงนักที่ไปฆาเทวดาโดยไมเกรงกลัวตอพระ อิศวร” นนทกจึงถามตอไปวา “ทําไมพระองคจึงไมมาตอสูกันซึ่งหนา ตองแปลงเปน นางฟามาหลอกใหหลง เพราะกลัวนิ้วเพชรของตนใชไหม ที่ตนแพครั้งนี้เพราะตนมี เพียงสองมือ ถามีสี่มือเหมือนกับทาน ทานคงทําอะไรเราไมได” พระนารายณตอบวา “ที่เราแปลงเปนหญิงมาเพราะนนทกถึงแกความ ตาย ไมใชเพราะกลัวนิ้วเพชร สวนที่นนทกมีสองมือสูกับสี่มือของเราไมไดนั้น ชาติ หนาขอให นนทกไปเกิดใหม ใหมีสิบหัว สิบหนา ยี่สิบมือ และเหาะเหินเดินอากาศได สวนเราเองจะไปเกิดเปนมนุษยสองมือเดินดิน จะตามไปฆาพวกยักษที่นนทกไปเกิดนั้น ใหตายหมดทั้งพวก” วาแลวพระนารายณก็เอาพระแสงตรีตัดคอนนนทกกระเด็นไป ความสําคัญของตอนนี้คือ เปนสาเหตุใหนนทกมาเกิดเปนทศกัณฐ และ พระนารายณอวตารลงมาเปนพระรามเพื่อมาปราบทศกัณฐนั่นเอง


๔๘

๓.๒.๒ ตอนทศกัณฐอุบายลักนางสีดา๑ เมื่อนางนํามนักขาเห็นพี่ชายทั้งสามของนางคือ พระยาขร พระยาทูษณ และทาวตรีเศียรตายดวยฝมือของพระรามในสนามรบหมด จึงไปหาทศกัณฐ ณ กรุง ลงกา ทศกัณฐเห็นนองถูกตัดแขน ตัดขา ตัดจมูกและใบหูมาก็โกรธถามวาใครเปนคน ทําราย นางสํามนักขาก็เลาใหฟงวา เมื่อนองไปเที่ยวปาพบพระราม พระลักษมณ และ นางสีดา บวชอยูที่ริมฝงน้ําโคทา นางสีดานั้นทรงพระสิริโฉมมากนองจึงอุมมาหมายจะ นํามาถวายพี่ แตถูกพระลักษมณแยงชิงคืนไป แลวก็มาทํารายนองอยางที่พี่เห็นนี่แหละ และเมื่อพี่ชายทั้งสามคนไปตอสูกับพระราม ก็ถูกพระรามฆาตายหมด ทศกัณฐไดฟงเรื่องนางสํามนักขาเลาถึงความงามของนางสีดา ก็เกิดรัก นางสีดาขึ้นมาทันที มีอาการรอนรุมกลุมใจใหลหลงในตัวนางสีดา อยากไดนางสีดามา เปนพระชายา จึงไปปรึกษานางมณโฑวา ถาพี่จะแกแคนพระรามโดยการไปลักเมียของ พระรามมา นองจะวาอยางไร นางมณโฑทูลคัดคานวาไมควรกระทําอยางนั้น จะเปนที่ติฉินนินทาได และพระรามก็เปนผูที่มีฤทธิ์มากดวย ดวยความลุมหลงในตัวนางสีดา ทศกัณฐจึงไปหามารีศลูกชายของนาง กากนาสูร ซึ่งเปนหลานของทศกัณฐ โดยขอใหมารีศแปลงกายเปนกวางทองไปลอลวง นางสีดาใหหลงใหลอยากจะไดกวางทอง และเมื่อพระรามกับพระลักษมณตามกวางไป ทศกัณฐก็จะไปลักพานางสีดามา มารีศไดฟงดังนั้นก็ตกใจ ทูลไปวาแมกากนาสูรกับพี่สวาหุก็ตายดวยศร พระรามมาแลว สวนตนเองหนีรอดมาได ถาจะใหทําอยางนั้นก็ขอใหฆาตนเสียดีกวา ทศกัณฐไดฟงมารีศพูดก็โกรธ บอกวาถาไมไปจะฆาลูกเมียของมารีศให หมด มารีศจึงจํายอมตองไป ถึงแมจะรูวาตนเองจะตองตายก็ตาม กอนไปก็ไดออกปาก ฝากลูกเมียของตนแกทศกัณฐดวย

วิเชียร เกษประทุม, เลาเรื่องรามเกียรติ,์ (กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา, ๒๕๔๙), หนา ๑๑๘ – ๑๒๑.


๔๙

ตอจากนั้นทศกัณฐกับมารีศก็ออกเดินทางไปถึงยังชายปาริมฝงน้ําโคทา แลวมารีศก็แปลงกายเปนกวางทองเดินตรงไปยังกุฎี ครั้นนางสีดาเมื่อเห็นกวางทองก็นึก ชอบอยากจะไดมาเลี้ยงไว จึงบอกพระรามใหไปจับกวางทองนั้นมาใหที พระรามก็บอกวากวางนี้คงไมใชกวางปา แตอาจจะเปนยักษแปลงตัวมา เพื่อลอลวงใหพี่ติดตาม เมื่อพี่ตามไปอาจเกิดเหตุรายขึ้นได แตนางสีดาไมเชื่อวาจะเปน เชนนั้น พูดวาถาหากไมไดกวางทองนี้มา ตัวนางคงตองตายแน พูดแลวนางก็รองไห รําพันขอใหพระรามไปจับกวางทองมาให ฝายพระลักษมณเห็นพระรามจะไปตามจับกวางทอง ก็ทรงทัดทานไว ทูลวากวางทองตัวนี้มีทาทีผิดปรกติ คงเปนยักษแปลงมาเปนแน นางสีดาไดฟงพระ ลักษมณทัดทานดังนั้น ก็โกรธหาวาพระลักษมณไมเห็นใจนางบางเลย พลางร่ําไห สะอึกสะอื้น พระรามเห็นดังนั้นจึ งบอกพระลั กษมณใ หดูแลนางสีดาไวใ หดี สวน ตนเองจะตามไปจับกวางทอง วาแลวพระรามก็ถือศรรีบตามกวางทองไปทันที เมื่อตาม ไปใกลจะทัน กวางทองก็กระโจนหนีไปเรื่อย ๆ พระรามโกรธมากจึงขึ้นศรหมายจะฆา กวางทองจึงกระโจนหนีขึ้นไปบนภูเขา กลัวกลับรางเปนยักษตามเดิม พระรามเห็นดังนั้นจึงแผลงศรออกไปถูกมารีศ มารีศก็แกลงรองเปนเสียง พระรามวา ขอใหพระลักษมณมาชวยพี่ตอสูกับยักษดวย มิฉะนั้นพี่คงตองตายแน แลว มารีศก็ลมลงขาดใจตาย ฝายนางสีดาไดยินเสียงมารีศ ก็คิดวาเปนเสียงของพระรามรองใหพระ ลักษมณไปชวยจริง จึงบอกใหพระลักษมณรีบไปชวยพระราม พระลักษมณก็ทูลไปวา นั้นเปนเสียงรองของศัตรูตางหาก เพราะพระรามจะไมมีวันพายแพแกยักษไดเลย นางสีดาก็บอกกับพระลักษมณวา ทําไมถึงคิดอยางนั้น ไมรักพี่ชายหรือ ไร จะปลอยใหพี่ชายตายหรือ ถาแมนนองไมไปตามพี่ชาย นางก็จะขอตายเสียดีกวา


๕๐

พระลักษมณเมื่อถูกนางสีดารบเราและตอวาตาง ๆ นานา ก็จําใจออกตาม พระรามไป โดยฝากเทวดาอารักษทั้งหมายใหชวยคุมครองนางสีดาดวย เหลาเทวดาคิด จะมาชวยแตก็เกรงกลัวทศกัณฐ และก็รูวาทศกัณฐนั้นจะตองตายดวยนางสีดานี่เอง ฝายทศกัณฐเมื่อเห็นพระลักษมณตามพระรามไป ก็แปลงกายเปนพระ ดาบส แลวเดินยองเขาไปแอบอยูที่พุมไม แลไปเห็นนางสีดานั่งอยูที่หนากุฎี ทศกัณฐ ไดพรรณนาถึงความงามของนางสีดา ดังบทพระราชนิพนธเรื่องรามเกียรติ์ วาไวดังนี้ พิศพักตรผองพักตรดังจันทร พิศเนตรดังเนตรมฤคินทร พิศโอษฐดังหนึ่งจะแยมสรวล พิศปรางดังปรางทองพราย พิศจุไรดังหนึ่งแกลงวาด พิศกรดังงวงคชาพงศ พิศถันดังปทุมเกสร พิศผิวผิวผองดังทองทา ยิ่งพิศยิ่งเพลินจําเริญรัก สําราญแยมยิ้มพริ้มไพร

พิศขนงกงงอนดังคันศิลป พิศทนตดังนิลอันเรียบราย พิศนวลดังสีมณีฉาย พิศกรรณคลายกลีบบุษบง พิศศอวิลาสดังคอหงส พิศทรงดังเทพกินรา พิศเอวเอวออนดังเลขา พิศจริตกิริยาก็จับใจ พระยายักษครวญคิดพิสมัย ก็ตรงเขาไปยังกุฎี

จากนั้นดาบสทศกัณฐก็ตรงเขาไปพูดคุยกับนางสีดายังกุฎี โดยบอกวา นางสีดานั้นเหมาะสมกับทศกัณฐมากกวาพระราม นางสีดาก็บอกไปวาทศกัณฐนั้นชั่ว นัก ถึงแมวาจะมียี่สิบมือก็คงจะตองตายดวยศรพระราม ทศกัณฐไดยินนางสีดาพูดดังนั้นก็โกรธ กลายรางเปนยักษทันที แลวตรง เขาอุมนางสีดามาวางไวทายราชรถ ขับทะยานมายังกรุงลงกา ความสําคัญของตอนนี้คือ เปนสาเหตุใหพระรามรูสึกเสียใจและอาลัยใน รั ก รู สึ ก โกรธแค น ทศกั ณ ฐ และพยายามที่ จ ะไปพานางสี ด ากลั บ คื น มาให จ งได ตอจากนั้นจึงไดเดินทางออกตามหานางสีดา และรวบรวมไพลพลในเวลาตอมา


๕๑

๓.๒.๓ ตอนพิเภกถูกขับไลไปอยูกับพระราม๑ คืนหนึ่งทศกัณฐไดฝนวา มีพระยาแรงตัวหนึ่งมีขนขาวไปทั้งตัว บินมา แตทิศตะวันออกขามแมน้ํามารอนอยูตรงหนาพระลาน มาพบกับแรงอีกตัวหนึ่งสีดําซึ่ง บินมาแตทิศตะวันตก แลวเกิดจิกตีกันกลางทองฟา แรงตัวดํานั้นสูไมไดตกลงมายัง พื้นดิน แลวสิ้นใจตาย กลายเปนรูปอสูร ทศกัณฐเอากะลาใสน้ํามันยางพรอมมีเชื้อไส วางไวเหนือมือ มีหญิงคนหนึ่งเปนคนพาล วิ่งเขามาจุดไฟ น้ํามันนั้นก็แหง ไฟก็ลุก ไหมกะลาลามมาติดที่มือทศกัณฐ ไฟนั้นรอนไปทั่วรางกาย ทศกัณฐจึงนําความฝนของตนไปเลาใหพิเภกนองชายฟง พรอมถามวา ฝนนี้จะดีหรือรายอยางไร พิเภกทํานายวากะลานั้นไดแกกรุงลงกา เชื้อไสนั้นไดแก ทศกัณฐ น้ํามันนั้นไดแกพระราชวงศทั้งหลาย ไฟไดแกนางสีดา หญิงซึ่งไดวิ่งเขามาจุด ไฟไดแกนางสํามานักขา แรงเผือกไดแกพระราม แรงดําไดแกทศกัณฐ ฝนนี้ไมดีเลย จะเดือดรอนกันไปทั่วเมืองลงกา ทศกัณฐไดฟงพิเภกทํานายดังนั้นก็ใหความรูสึกหวาดหวั่นยิ่งนัก จึงถาม พิเภกวาจะมีวิธีใดที่จะทําใหสิ้นเคราะหนี้ได พิเ ภกตอบว ามี อยู วิธี เดี ย วนั่ น ก็คื อ “จงตั้ ง อยูใ นทศพิ ธ ดั บ จิ ตโมหั น ธ ฉันทา อยาโลภหลงงงงวยดวยรสรัก คิดหักซึ่งความเสนหา จงสงองคนางสีดา ไปให สามีอรไท” ทศกัณฐไดฟงพิเภกแนะนําใหสงนางสีดาคืนใหพระรามก็โกรธ วาพิเภก ไมมีความกตัญูดูหมิ่นพี่ชายของตน เสียทีที่เลี้ยงมาไมคิดวาพิเภกจะไปเขาขางศัตรู ทํา เหมือนกับทศกัณฐนั้นไมมีฤทธิ์อํานาจอะไรเลย พิเภกเห็นทศกัณฐโกรธและตอวาตนดังนั้น ก็ทูลวารักทศกัณฐเหมือนพอ ที่ทํานายไปยังนั้นเปนความสัจจริง ขออยาไดโกรธตนเลย ทศกัณฐไดฟงพิเภกพูดดังนั้น ยิ่งทวีความโกรธมากขึ้น ลุกขึ้นฉวยพระ ขรรควิ่งไลฆาพิเภก พรอมประกาศวาใหริบสมบัติของพิเภกทั้งหมด แลวขับใหออกไป ๑

วิเชียร เกษประทุม, เลาเรื่องรามเกียรติ,์ (กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา, ๒๕๔๙), หนา ๑๗๒ – ๑๗๔.


๕๒

จากกรุงลงกา สวนนางตรีชาดาเมียของพิเภกนั้น ใหสงไปเปนทาสคอยรับใชนางสีดา อยูที่ในสวนอุทยาน จากนั้นพิเ ภกก็ไปสั่ งเสี ยนางตรี ช าดาและนางเบญกายลู ก สาวของตน เดินทางออกจากกรุงลงกาดวยความโศกเศรา ครั้นเมื่อถึงยังฝงแมน้ําก็ดูดวงของตนเอง เห็นเพียงแตตองจากถิ่นฐานไปเทานั้น และจะไดผูอุปถัมภค้ําชูคือองคพระรามซึ่งมา พํานักอยูทางทิศเหนือ พิเภกจึงเหาะขามแมน้ําตรงไปยังเขาคันธกาลา พิเภกไดพบกับนิลเอก นิลเอกพาไปพบกับสุครีพ แลวเลาเรื่องที่ตนถูกทศกัณฐพี่ชายขับไลออกจากเมืองให สุครีพ และตั้งใจมาเปนขาขอพระราม ในที่สุดพิเภกก็ไดเขาเฝาพระราม และไดเลาเรื่องที่ตนเองถูกขับไลออก จากกรุงลงกาใหพระรามฟง พระรามก็รับพิเภกไวเปนขารับใช แลวใหพิเภกทําสัตย สาบานตอหนาเหลาทหารทั้งหลาย โดยมีศรพรหมาสตรเปนประธาน วาตัวแมนคิดไม ซื่อตรงตอพระรามไปเขากับฝายศัตรู ขอใหตายดวยศรพรหมาสตร หลังจากทําสัตยสาบานแลว สุครีพก็ขอเปนสหายรักกับพิเภก พิเภกก็ ยินดี ตางรวมสาบานกันวาจะเปนเพื่อนรักกันตลอดไป และพิเภกขอใหสุครีพชวยบอก ถึงความเกงกลาสามารถของทหารทั้งหลายของพระราม สุครีพอธิบายวาทหารทั้งสองเมือง ทั้งเมืองชมพูและขีดขินตางมีความ เกงกลาสามารถทั้งนั้น โดยเฉพาะหนุมานกับชมพูพานนั้น พระอิศวรประทานพรมาให วา ใครฆาก็ไมตาย สวนทาวพระยาวานรและพลวานรทั้งหลายมาตรแมนวาถูกฆาตาย ถา หากลมพัดมาตองเสนขนก็จะฟ นคื นชีวิตได วาแลวพิเภก สุครีพ และเหลา นายทหารก็ตรงไปเขาเฝาพระราม พระรามถามพิเภกวา ทหารในกรุงลงกามีมากนอยเพียงใด และถาจะใช กํ า ลั ง ยกเข า ไปตี จ ะได ห รื อ ไม พิ เ ภกกราบทู ล ว า ทหารของกรุ ง ลงกาสุ ด ที่ จ ะนั บ ได มากมายกวาหมูวานรที่ยกทัพมาในครั้งนี้ และทุกตนตางก็เกงกลาสามารถแปลงกายหาย


๕๓

ตัวเหาะเหินเดินสมุทรได ถาจะหักเอาดวยกําลังก็ยังบอกไมได เพราะยังไมเคยเห็น ความเกงกลาสามารถของเหลาทหารของพระองค ความสําคัญของตอนนี้คือ การที่พิเภกถูกไลออกมาจากกรุงลงกาและ ไดมาอยูกับพระราม ทําใหไดชวยบอกกลศึก เลหกล และความลับตาง ๆ ของฝายยักษ ใหแกพระรามในศึกสงครามครั้งตาง ๆ ในเวลาตอมา ๓.๒.๔ ตอนหนุมานอาสาเอากลองดวงใจทศกัณฐ๑ พระรามได ต รั ส ถามพิ เ ภกว า เหตุ ไ ฉนหั ว และมื อ ของทศกั ณ ฐ ข าด กระเด็นออกไปแลวจึงกลับมาติดเข าดังเดิ ม ทั้ งทศกัณฐ ก็ไมตาย พิเภกกราบทู ล วา เนื่องจากพระโคบุตรอาจารยของทศกัณฐไดทําพิธีถอดดวงใจของทศกัณฐออกจากตัว นํามาใสไวในกลองแกว แลวเอาหินประกบนําไปเก็บไวในกุฎีของทาน ขอใหทหารผู เกงกลาไปลวงเอากลองดวงใจจากพระโคบุตรมาใหได จึงจะฆาทศกัณฐตาย พระรามตรัสถามวาจะมีผูใดอาสาไปลวงเอากลองดวงใจจากพระโคบุตร บางถึงสามครั้งก็ไมมีผูใดตอบ หนุมานจึงขออาสาไปโดยขอองคตไปเปนคูปรึกษาดวย เมื่อใกลพระอาศรมของพระโคบุตร หนุมานจึงบอกแกองคตวา การที่จะ ไปเอากลองดวงใจของทศกัณฐนั้นเปนเรื่องยากที่สุด ตองลวงพระโคบุตรใหพาพี่ไป ถวายตัวรั บ ใชอ ยู กั บ ทศกัณ ฐ แตเกรงว าพระรามจะเข า ใจผิ ด โกรธเคื องพี่ ฉะนั้ น พี่ จะตองกลับไปทูลความลับทั้งหมดใหพระองคทราบกอนขอใหเจาคอยพี่อยูท่ีนี่ วาแลว หนุมานก็เหาะมากระซิบทูลความลับแกพระรามวาจะตองหาอุบายเอากลองดวงใจมาให ได ถ า ใครมากราบทู ล ว า อย า งไร ขอพระองค อ ย า ได ส งสั ย ขอให ร อจนกว า ที่ ขาพระพุทธเจาจะกลับมาเฝาภายในเวลาเจ็ดวัน จากนั้นหนุมานก็เหาะมาพบองคต บอก กับองคตวาการที่เราจะพากันเหาะไปใหถึงพระอาศรมของพระโคบุตรนั้นเปนการไม บังควร เพราะจะเปนการดูหมิ่นทาน วาแลวทั้งสองก็พากันเดินตัดลัดปาไปถึงพระ อาศรม กมลงกราบพระโคบุตรตรงเขาไปกอดเทาพระโคบุตรแลวรองไห พระโคบุตร ๑

วิเชียร เกษประทุม, เลาเรื่องรามเกียรติ,์ (กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา, ๒๕๔๙), หนา ๓๒๗ – ๓๓๐.


๕๔

สงสัยจึงถามวาชื่ออะไร มีเรื่องทุกขรอนสิ่งใดทําไมถึงตองมารองไหคร่ําครวญอยางนี้ หนุมานแสรงทําเปนเช็ดน้ําตาแลวตอบไปวา ชื่อหนุมานเปนลูกของพระพาย หลาน ของพระยาพาลีเจาเมืองขีดขิน นาของขาผิดใจกับพระรามไดฆาพาลีตายแลวใหสุครี พครองเมือง ตัวขากับองคตพากันหนี แตสุครีพไปจับมาไดนํามาถวายแกพระราม ทํา สงครามเขนฆายักษตายเปนจํานวนมาก แตไมเคยไดรับปูนบําเหน็จรางวัลเลย มีแตจะ ฆาฟน ตัวขานอยใจนัก ทราบวาทศกัณฐนั้นเปนโยมของทานมีความเมตตาปรานี ขาจึง อยากขอใหทานนําตัวขานี้ไปถวายเปนทหารของทศกัณฐดวยเถิด พระโคบุตรตอบวา ที่บอกวาผิดใจกับพระรามนั้นจะเชื่อก็ไมได ครั้นจะ พาไปถวายกับทศกัณฐ เกิดพลาดพลั้งไปทศกัณฐก็จะมาตําหนิขาอีก เจาจงเขาไปถวาย ตัวดวยตัวเองจะดีกวา หนุมานจึงแกลงรองไหวิงวอนจนพระโคบุตรใจออนจะพาไป แตพอจะออกเดินทางหนุมานกับองคตตางพากันยื้อยุดฉุดพระโคบุตรไว พระโคบุตรจึง ถามวาเหตุใดจึงมาทําใหชาการหรือวากลัวทศกัณฐจะทําราย หนุมานตอบวาไมใชกลัว ทศกัณฐแตไดยินพิเภกกราบทูลพระรามวา ทศกัณฐนั้นถอดดวงใจฝากไวกับทานนั้น เปนความจริงหรือไม พระโคบุตรตอบวาเปนความจริง หนุมานทําทาตกใจบอกวา ทานเอากลองดวงใจของทศกัณฐมาเก็บไวในกุฎีนอย ๆ ของทานอยางนี้ ทานไมกลัววา พระรามจะใชทหารที่มีฤทธิ์มาลักเอากลองดวงใจนั้นไปหรือ พระโคบุ ตรเห็นจริงตามที่ หนุ มานพูด จึงกลับมายังกุ ฎี หยิบเอากล อง ดวงใจของทศกัณฐมาถือไวบอกวา นี่คือชีวิตของทศกัณฐ ขาทําพิธีเจ็ดเดือนเจ็ดวันใจ ของทศกัณฐนั้นจึงออกมาจากกาย หนุมานจึงถามตอไปวาทําไมทศกัณฐจึงไมนํากลอง ดวงใจไวในกรุงลงกา ที่ตองนํามาฝากทานไวในปานี้เพื่อประสงคสิ่งใด พระโคบุตร ตอบวาอันใจกับกายนั้นถาใกลกันเมื่อไรใจจะกลับเขาสูกายทันที ดวยเหตุนี้ทศกัณฐจึง ไมเอากลองดวงใจไวในกรุงลงกา หนุมานเมื่อรูเรื่อราวทั้งหมดแลวจึงนิมนตพระโคบุตร ใหรีบเดินทางไปยังกรุงลงกาเพื่อนําตนเองไปถวายตัวกับทศกัณฐ


๕๕

ครั้นใกลถึงประตูเมือง หนุมานก็แกลงทําเปนตกใจบอกกับพระโคบุตร วา ที่ทานพูดไปเมื่อนี้ลืมไปแลวหรือ การที่จะนํากลองดวงใจไปใกลทศกัณฐ ดวงใจ ของทศกัณ ฐ ก็จ ะคืน เขา ไปในร า ง ถ า พระรามรู แล ว แผลงศรมาถูก ทศกั ณ ฐ ก็ จ ะตาย ขอใหทานสงกลองดวงใจนี้ใหแกองคตถือคอยอยูนอกเมืองจะดีกวา รอจนทานนั้นออก มาถึงคอยรับเอาไป และขอใหทานพาขานี้ไปฝากทศกัณฐแตผูเดียว สวนองคตนั้นขาจะ ฝากถวายตัวแกทศกัณฐในภายหลัง พระโคบุตรก็สงกลองดวงใจใหแกองคตตามที่หนุ มานแนะนํา แลวพาหนุมานเดินผานประตูเมืองไป หมูยักษทั้งหลายเมื่อเห็นหนุมานมา ตางพากันตื่นกลัววิ่งหนีกันสับสนวุนวายไปทั้งเมือง หนุมานเห็นดังนั้นจึงบอกแกพระ โคบุตรวา บัดนี้หมูยักษเห็นขาตางตกใจพากันวิ่งหนีไปทั่ว ถาไปพบองคตเขาอาจทํา อันตรายแกองคตได เนื่องจากองคตไดทําผิดไวตอนพระรามใชใหมาสื่อสาร ขาจะขอ ลาไปสั่งองคตวา ถ าแมนมีใ ครมาทั กทาย ก็ ใ หบ อกไปวาพระโคบุ ตรมาถวายตัวกั บ ทศกัณฐ พระโคบุตรชมหนุมานวาเปนคนเฉลียวฉลาดหลักแหลมาก จึงไลหนุมานให รีบออกมาบอกองคต เมื่อมาถึงหนุมานก็รายมนตนิมิตหินใหเปนกลองดวงใจเทียมสงใหแก องคต บอกแกองคตวาเจาจงเอากลองดวงใจแทของทศกัณฐไปฝงไวยังริมทาน้ํา แลว กลั บมาคอยพระโคบุ ตร เอากลองดวงใจเทีย มนี้ส งให จากนั้นให ก ลับไปเฝากล อง ดวงใจแทของทศกัณฐไวใหดี ถาเห็นพี่เหาะขึ้นสามโยชนอาปากเปนดวงเดือนสวางจา จงเอากลองดวงใจมาสงใหพี่โดยเร็ว สั่งเสร็จหนุมานก็อธิษฐานขอใหพระพายอยาไดพัด จนกวาจะเสร็จจากการอาสาในครั้งนี้ แลวกลับมาหาพระโคบุตร ความสําคัญของตอนนี้คือ พระรามไดลวงรูความลับของทศกัณฐจาก พิเภกวาทําไมฆาทศกัณฐแลวไมตาย ก็ทราบความวาทศกัณฐนั้นถอดดวงใจเก็บไวกับ พระฤๅษีโคบุตร หนุมานจึงอาสาไปลวงเอากลองดวงใจมาและขอองคตไปเปนที่ปรึกษา โดยไดคิดหาวิธีและวางแผนเพื่อขโมยกลองดวงใจของทศกัณฐจากพระฤๅษีโคบุตร จน สามารถขโมยกลองดวงใจนั้นมาได


๕๖

๓.๒.๕ ตอนทศกัณฐออกรบครั้งสุดทายและตองศรพระราม๑ เมื่อองคตรีบเหาะนําเอากลองดวงใจของทศกัณฐไปฝากไวยังริมทาน้ําสุด เขาอัญชันทางทิศใตแลว จึงรีบกลับมาคอยทาพระโคบุตร พระโคบุตรพาหนุมานเขาไป ถวายตัวกับทศกัณฐ ทศกัณฐเห็นพระโคบุตรพาหนุมานมาก็โกรธ ถามวาพาเจาวายราย นี้เขามาทําไม พระโคบุตรบอกวาหนุมานผิดใจกับพระรามรองไหมาหา ขอใหพามา เปนขาของเจาและจะอาสาออกไปสูรบกับกองทับพระราม ขาจึงพาเขามาถวายตัว ทศกัณฐไดฟงดังนั้นก็ดีใ จ ถามหนุมานวาผิด ใจกั บพระรามด วยเรื่ อง อะไร หนุมานก็แกลงทําเปนรองไหฟูมฟาย บอกวาทําสงครามชนะไมเคยไดรับความดี ความชอบ มีแตจะไดรับโทษจึงนอยใจหนีมา ถาแมทานรับเราไวเปนขา วานรทั้งหลาย ก็จะหนีตามมาอยูกับเราดวย ทศกัณฐเห็นวาหนุมานนั้นมีฤทธิ์และอํานาจมากจึงจะเลี้ยง ไว แตก็ไดถามหนุมานวาเมื่อครั้งที่เผากรุงลงกานั้นไดรับรางวัลอะไรบาง หนุมานตอบ วาไดผาผลัดอาบน้ําผืนเดียวเทานั้นเอง รูสึกช้ําใจมาก ฉะนั้นในสงครามครั้งนี้จะขอ อาสาทานไปจับพระรามและพระลักษมณมาถวายทานใหจนได ทศกัณฐไดฟงหนุมานพูดก็ยินดี จึงสอบถามเสนาผูใหญทั้งหลายวา ที่ หนุมานพูดมานั้นพอจะเชื่อถือไดหรือไม เหลาเสนาผูใหญปรึกษาหารือกันแลวก็ทูลวา ทั้งหมดที่หนุมานพูดมานั้นพิจารณาดูแลวนาเชื่อถือทุกอยาง และควรจะเลี้ยงหนุมานไว เปนขาตอไป พระโคบุตรเห็นทศกัณฐรับหนุมานไวก็ยินดีอํานวยพรใหมีความสุข แลว ลาทศกัณฐเดินออกมาจากประตูเมือง องคตจึงถวายหินที่เปนกลองดวงใจปลอมแกพระ โคบุตร พระโคบุตรบอกใหองคตรอหนุมานอยูที่นี่กอน แลวทานก็เขาไปยังกุฎี ฝายองคตก็เหาะมาเฝากลองดวงใจของทศกัณฐอยูริมทาน้ําเชิงเขาอัญชัน หลังจากนั้นทศกัณฐก็ทําพิธีสมโภชหนุมานใหเปนบุตรบุญธรรม โดยใหไปอยูปราสาท แกวพรั่งพรอมดวยนางกํานันคอยปรนนิบัติพัดหวี รุงเชาหนุมานเขาเฝาทศกัณฐแตไมยก มื อ ไหว ทศกั ณ ฐ จึ ง ถามว า หนุ ม านทํ า อย า งนี้ มั น ผิ ด ประเพณี ข องการเป น พ อ ลู ก กั น หนุมานตอบวาที่ไมยกมือไหวทานนั้นก็เนื่องจากวายังไมไดยกมือไหวพอกอน เพราะ ๑

วิเชียร เกษประทุม, เลาเรื่องรามเกียรติ,์ (กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา, ๒๕๔๙), หนา ๓๓๒ – ๓๓๘.


๕๗

พอซึ่งเปนพระพายยังไม พัดมา ต อเมื่อไดไหวพอกอนเมื่อไรก็จะได ยกมือไหว ทาน ทศกัณฐ ฟงก็ไดบอกวาที่เจาพูดนั้น ถูกตองแลว เพราะไมมี ใครยิ่ งใหญก วาพอ แลว ทศกัณฐก็ขอใหหนุมานคิดการที่จะไปตอสูกันศัตรู หนุมานก็ไดบอกกับทศกัณฐเพื่อใหทศกัณฐชอบใจวา อันศึกมนุษยสอง คนนี้ ค งจะไม พ น มื อ ลู ก ไปได วั น นี้ จ ะมาขอลาออกไปสู ร บ และถ า มี โ อกาสจะจั บ พระรามพระลักษมณกับพิเภกมาถวาย ทศกัณฐก็ใหจัดทัพเหมือนกับที่อินทรชิตออกไป สูรบ โดยไดมอบศรใหแกหนุมานดวย หนุมานยกกองทัพไปตั้งมั่นไวยังสนามรบ พระรามไดยินเสียงรองกึกกองดังสนั่นหวั่นไหวมา จึงตรัสถามพิเภกวา เปนทัพของผูใดมา พิเภกกราบทูลวากองทัพที่ยกมานี้ลวนเปนยักษ แตวาแมทัพจะเปน ยักษก็หาไม คงจะเปนทหารที่เกงกลาของพระองคเองยกมาก็วาได ขอใหพระลักษมณ ยกไพรพลไปดูทาทีของขาศึก พระรามไดยินพิเภกกราบทูลดังนั้นก็คิดวาจะเปนหนุมาน ยกกองทัพมา เพื่อคิดอุบายลอลวงทศกัณฐหวังจะเอากลองดวงใจ พิเภกจึงพูดเปนนัย ๆ เชนนั้น พระองคจึงตรัสสั่งพระลักษมณใหยกไพรพลออกไปสูรบ ถาแมนขาศึกมีกําลัง มากจงตั้งรับไวกอน พระลักษมณจึงยกกองทัพมาตั้งมั่นไวยังสนามรบ ฝายหนุมานเห็นวาพระลักษมณยกทัพมาจึงสอบถามโลทันทหารใหญวา ในคราวที่อินทรชิตยกกองทัพมาสูรบนั้นมีวิธีการรบอยางไร โลทันตอบไปวาอินทรชิต จะใหกองทัพหนาเขาตอสูกอนดูกําลังขาศึก สวนกองทัพหลวงจะตอสูภายหลัง หนุมานไดยินดังนั้นจึงตอบไปวา เรายกทัพครั้งนี้อาสาทศกัณฐมาจับ พระรามพระลักษมณ ฉะนั้นเพื่อไมใหลําบากแกไพรพล ตัวเราแตผูเดียวจะออกไปจมตี ไพรพลวานร ขอใหพวกเจาทั้งหลายอยูที่นี่คอยดูการตอสูของเรา วาแลวหนุมานก็ลงจากรถโถมเขาโจมตีไพรพลวานร ไพรพลวานรนอย ใหญเมื่อเห็นหนุมานไลโจมตี ตางเกรงกลัวพากันวิ่งหนีแตกไป พระลักษมณเห็นดังนั้น ก็เกิดความสงสัยวาหนุมานอาสาไปเอากลองดวงใจทศกัณฐไฉนไปเขาขางศัตรู แตไม สามารถไลตอนมาได หนุมานก็แกลงถวงเวลาไวรอกระทั่งเย็นจึงเขามายืนอยูหนารถ ของพระลักษมณ ทํายักคิ้วหลิ่วตาพรอมกลาวคําอวดดีวา พระลักษมณรูจักเราบางไหม


๕๘

ทานกับพระรามดีแตใชแตไมเคยใหรางวัล สูเรามาอยูกับทศกัณฐไมได เพียงแตอาสา ออกสูรบก็ไดทรัพยสฤงคารหมดทุกอยาง พระลักษมณไดยินดังนั้นจึงตอบไปวา เจาทําไมมาพูดเชนนี้ อันตัวรากับ พี่ชายมาอยูปาจะเอาอะไรมาให แมนเสร็จศึกก็ไดใหสัญญากับเจาไววาจะใหครองเมือง เจามาพูดอยางนี้เปรียบเหมือนคนชั่ว เห็นแตสมบัติของยักษ เสียทีที่เกิดเปนลูกพระพาย นาอายแกมนุษยและเทวดา หนุมานไดฟงดังนั้นก็ตอบวา ทานไมตองมาพูดเราไมฟงทานดอก หาก นี้ไมใชเวลาพลบค่ําจะจับพวกไพรพลทั้งหลายไปใหหมด แมแตตัวทานเราก็จะจับไป ถวายทศกัณฐ หนุมานแกลงพูดใหไพรพลยักษไดยิน แลวหันหลังขึ้นรถสั่งใหยกทัพ กลับกรุงลงกา เมื่อถึงกรุงลงกาก็ขึ้นไปเฝาทศกัณฐ ทศกัณฐสอบถามวาไปรบมาเปน อยางไรบาง หนุมานตอบวาถาตนพูดความจริงไปก็จะหาวายกตัวเองเพื่อเอาหนา ขอให ถามไพรพลยักษที่ไปรบเอาเองและกัน ทศกัณฐจึงสอบถามเสนายักษดู เสนายักษจึงทูล ไปตามที่เห็นมาทุกประการ ทศกัณฐดีใจมากยกสมบัติของอินทรชิตพรอมดวยนาง สุวรรณกันยุมาภรรยาของอินทรชิตใหแกหนุมาน ฝายพระลักษมณเมื่อเห็นหนุมานเลิกทัพกลับไปก็แคนเคืองยิ่งนัก จึงตรัส สั่งใหสุครีพกับนิลนนทกลับไปทูลเรื่องราวทั้งหมดใหพระรามทรงทราบ พระรามนั้นรู อุบายของหนุมานอยูแลวจึงไมเชื่อ สั่งสุครีพใหไปบอกพระลักษมณวาใหตั้งรับไวแลว พระองคจะเสด็จออกไปรบเอง ครั้นรุงเชาพระรามก็ยกทัพไปยังสนามรบ แลวบอกกับพระลักษมณวาจะ ขอดูดวยตาของพระองคอีกครั้งวาหนุมานคิดคดทรยศจริงหรือไม ถาจริงก็จะฆาเสีย ฝายหนุมานขึ้นไปเฝาทศกัณฐ ทศกัณฐบอกวาวันนี้ควรหยุดพักรบสักวัน หนึ่ง แตหนุมานเห็นวาถามาอยูในกรุงลงกาหลายวันเกินไปจะไมดี จึงคิดหาวิธีลวง ทศกัณฐออกไปยังสนามรบเพื่อใหพระรามฆา โดยบอกทศกัณฐวาสงครามครั้งนี้ไมควร ปลอยไวใหเนิ่นนานตอไป วันนี้ขอเชิญพอจงยกทัพออกไปเปนประธาน สวนตัวลูกนั้น


๕๙

จะออกไปสูรบแตเพียงผูเดียว แลวจะจับพระรามพระลักษมณมาถวายใหจงได ทศกัณฐ เห็นดวยจึงยกทัพออกไป เมื่อใกลจะถึงสนามรบหนุมานก็ลงมาจากรถตรงไปทูลทศกัณฐวา ขอให ตั้งกระบวนทัพอยูตรงนี้กอน แลวลูกเองจะรายมนตรกําบังกายเขาไปจับพระรามและ พระลักษมณมัดมา ถาเห็นลูกเหาะขึ้นสามโยชนแตเพียงผูเดียว ขอใหจงเรงไพรผลเขา ไป ลูกจะสงพระรามพระลักษมณใหพอทันที ฝายทศกัณฐไมรูเลหกลของหนุมานก็ตกลงตามที่หนุมานแนะนํา หนุ มานรายมนตรกําบังกายทําใหยักษไมเห็นตัว แลวเหาะขึ้นทองฟา องคตเห็นดังนั้นจึงนํา กลองดวงใจของทศกัณฐมาสงให หนุมานไดกลองดวงใจทศกัณฐแลวก็เหาะมาถวาย พระราม พรอมกราบทูลวาไดลวงทศกัณฐใหยกไพรพลมาตั้งอยูที่ชายปา ถาทศณฐยก ทัพตามมาขอใหพระองคจงแผลงศรพรหมาสตรไปฆาทศกัณฐเสีย แลวขาพระพุทธเจาก็ จะขยี้ดวงใจของมัน มันก็จะตายทันที จากนั้ น หนุ ม านก็ ถื อ กล อ งดวงใจของทสกั ณ ฐ เ หาะขึ้ น ไปบนท อ งฟ า ทศกัณฐเห็นดังนั้นจึงสั่งใหเคลื่อนพลไปยังสนามรบทันที หนุมานเหาะลงมาขวางหนา ทศกัณฐไว ชูกลองดวงใจใหทศกัณฐดูพรอมถามวารูไหมนี้คืออะไร ทศกัณฐเห็นแทง หินก็ตกใจหนาซีดเผือก พูดขอหนุมานใหสงกลองดวงใจคืนมา หนุมานบอกวาจะคืน ใหถานํานางสีดามาแลกเปลี่ยน ทศกัณฐบอกวาถาจะใหสงนางสีดาคืนตนเองยอมตาย เพื่อความรัก แตขอกลับไปสั่งเสียนางมณโฑกอน พรุงนี้จะยกทัพออกมาตอสูอีก วา แลวทศกัณฐก็สั่งใหยกทัพกลับเขากรุงลงกา หนุมานเมื่อเห็นทศกัณฐกลับไปก็เหาะมา เฝาพระรามเพื่อกราบทูลเรื่องใหทรงทราบ พระรามก็ใหยกทัพกลับยังพลับพลา ทศกัณฐเมื่อกลับมาสั่งเสียนางมณโฑและเหลาสนมกํานัลแลว ก็ราย มนตร ก ลายร า งเป น พระอิ น ทร ย กทั พ มายั ง สนามรบ เมื่ อ เห็ น พระรามยกทั พ มาก็ หวาดกลัว แตก็แข็งใจใหไพรพลยักษเขาตอสู ไพรพลยักษทั้งหลายตางพากันตื่นกลัววิ่ง หนี ไ ปหมด เหลื อ แต โ ลทั น ผู ขั บ รถกั บ ทศกั ณ ฐ เ ท า นั้ น เมื่ อ มาถึ ง หน า รถพระราม ทศกัณฐก็แผลงศรออกไป กลายเปนขาวตอกดอกไมตกตรงหนารถของพระราม ทําให ทศกัณฐตกใจกลัวยิ่งนัก


๖๐

ฝายพระรามมองเห็นทศกัณฐงามดั่งพระอินทรก็ดูอยางไมวางตา ชักศร พรหมาสตรขึ้นพาดสายก็ไดแตเงื้องาอยูอยางนั้น จนหนุมานตองทูลเตือนวาอยาหลง ของสี่ อ ย า ง ได แ ก รู ป รส คํ า พู ด และดนตรี ขอให พ ระรามแผลงศรออกไปฆ า ทศกัณฐเสีย พระรามจึงแผลงศรออกไปถูกอกทศกัณฐ ทศกัณฐตกลงมาจากรถ งาชาง ที่ปกอกทศกัณฐอยูก็หักกระเด็นเปนสองทอน กลับกลายรางจากพระอินทรเปนทศกัณฐ นอนอยูบนพื้นดิน แตเมื่อเหลือบไปเห็นพิเภกก็เอยปากพูดกับพิเภกวาดังนี้ ปากหนึ่งบอกวาทําไมถึงมาแกลงฆาพี่ ปากสองบอกวาเจาจะไดปกครอง กรุงลงกาตอไป ปากสามบอกวาขอฝากนางมณโฑใหเจาดูแลดวย ปากสี่บอกวาใหไป ปกครองประเทศดวยความสุจริต ปากหาบอกวาใหตัดความโลภใหมีแตความโอบออม อารี ปากหกบอกวาจงยกโทษใหพี่ดวยอยาใหมีเวรมีกรรมตอกัน ปากเจ็ดบอกวาขอฝาก เมืองใหดูแลอยาใหเกิดจลาจล ปากแปดบอกวาที่เกิดบานเมืองเดือดรอนก็เปนเพราะตัว พี่นี้ชั่วเอง ปากเกาบอกวาใหชวยจัดปลงศพอยาทิ้งไวขามคืนในสนามรบ เมื่อสั่งเสร็จ ทศกัณฐก็ลมลง หนุมานเห็นดังนั้นจึงหยิบกลองดวงใจของทศกัณฐออกมาขยี้จนแหลก ละเอียด ทศกัณฐก็ตายในบัดนั้น พระรามตรัสสั่งใหพิเภกจัดการศพของทศกัณฐตามแตจะเห็นสมควร แลวยกทัพกลับยังพลับพลา พิเภกสั่งใหทหารไปตามนางมณโฑกับนางอัคคีมารับศพ ของทศกัณฐกลับไปยังกรุงลงกา โดยไดเชิญพระศพใสโกศแกวไปตั้งไวในมหาปราสาท ความสําคัญของตอนนี้คือ เปนตอนที่แสดงถึงจุดจบชีวิตของทศกัณฐ และ จุดสิ้นสุดของสงครามระหวางพระรามกับทศกัณฐ เพราะพระรามไดกลองดวงใจ ของทศกัณฐจากการที่หนุมานไปลวงเอามาจากพระฤๅษีโคบุตร จึงทําใหสามารถฆา ทศกัณฐได และไดนางสีดากลับคืนมา หลังจากนั้นพระรามจึงใหพิเภกครองกรุงลงกา และกรุงลงกาก็กลับมาสงบสุขดั่งเดิม


๖๑

๓.๓ กลวิธีการแตง๑ บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬา โลกมหาราช ใชคําประพันธเปนกลอนบทละครสําหรับเลนละครใน รูปแบบหรือ ลักษณะคําประพันธของกลอนบทละคร มีดังนี้ OOOOOO OOOOOO

OOOOOO

บาทที่ ๑

OOOOOO

บาทที่ ๒

ภาพที่ ๑๖ : ลักษณะของกลอนบทละคร

กลอบบทละครบทหนึ่งมี ๒ บาท บาทหนึ่งมี ๒ วรรค ในแตละวรรคจะมี ประมาณ ๖ – ๗ คํา วรรคแรกของกลอนบทละครนิยมใชคํานําหรือคําขึ้นตน คือ เมื่อนั้น (ใช สําหรับตัวเอกหรือตัวละครสูงศักดิ์), บัดนั้น (ใชสําหรับตัวละครที่ไมสําคัญหรือตัว ละครประกอบหรือเสนา), มาจะกลาวบทไป (ใชสําหรับขึ้นตนขอความใหมหรือเริ่ม เรื่อง) คําดังกลาวนี้ไมตองสงสัมผัสในวรรคตอไป เชน

เมื่อนั้น ครั้นเสด็จซึ่งจัดโยธา

ทาวยี่สิบกรยักษา มาเขาที่สรงสาครฯ ( บทละครรามเกียรติ์ เลม ๓ : ๓๔๐ )

บัดนั้น รับหมอน้ําทิพยดวยยินดี

เสนามโหทรยักษี มาเขาที่สรงสาคร ( บทละครรามเกียรติ์ เลม ๓ : ๓๒๓ )

พัชลินจ จีนนุน, “การวิเคราะหหนุมานในรามเกียรติ์ฉบับตางๆ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต (สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗): ๓๑ - ๓๓. ๒ เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๑.


๖๒

กําหนดความไพเราะของกลอนดังนี้ - คําสุดทายของวรรคตน บาทที่ ๑ นิยมใชเสียงสามัญ - คําสุดทายของวรรคหลัง บาทที่ ๑ นิยมใชเสียงจัตวา - คําสุดทายของวรรคหนา บาทที่ ๒ หามเสียงจัตวา และหามเสียงซ้ํากับ คําสงสัมผัส - คําสุดทายของวรรคหลัง บาทที่ ๒ หามเสียงจัตวา เสียงอื่นใชไดแตถือ วาเสียงสามัญเพราะที่สุด - วรรคแรกอาจขึ้นตนดวยกลอนดอกสรอย เชน ดวงเอยดวงสมร คารมคมสันพนปญญา เมื่อแจงแกเจาโดยสัตย ความชอบชอบแตจะปราณี

เจางามงอนจําเริญเสนหา เหน็บแนมแกมวาพาที ศรีสวัสดิ์ไมเชื่อฟงพี่ นี่กลับเปนเท็จทุกอัน ( บทละครรามเกียรติ์ เลม ๓ : ๑๙๑ )

- ตอนทายขอความจะบอกจํานวนคําและเพลงหนาพาทย สวนขอความ ที่ขึ้นตนก็จะกําหนดเพลงเอาไวทุกตอน หรือถาไมกําหนดเพลงก็จะ บอกไวทายบทกอนวา “เจรจา” เชน บัดนั้น นองทาวทศพักตรยักษี รับสั่งสมเด็จพระจักรี อสุรีประกอบสรรพยา เสมอภาคทุกสิ่งโอสถ ทําตามกําหนดของยักษา วางลงเหนือหนาศีลา อสุราบริกรรมบดไป ฯ ๔ คํา ฯ ตระ ครั้นถึงฟากฝงสมุทร จึ่งใหหยุดโยธานอยใหญ ตั้งเปนกระบวนทัพชัย โดยในพยุหยาตรา ฯ ฯ ๒ คํา ฯ เจรจา ( บทละครรามเกียรติ์ เลม ๒ : ๒๓๕ )


๖๓

- มีบทพรรณนาฉาก บทชมพาหนะ ชมโฉม ชมรถ ชมธรรมชาติ ตลอดจนความรูสึกของตัวละครปนอยูในเนื้อเรื่อง เชน บทชมพาหนะ เชน รถเอยราชรถอินทร แอกงอนออนสลวยชวยชด บุษบกลวนแกวแพรวพรรณ ยอดเยี่ยมเทียมแทงโพยมพราย

กงกําโกมินอลงกต บัลลังกลดภาพตั้งกระจังราย ชอฟาหนาบันเฉิดฉาย ปราลีแกวกลายอลงกรณ ( บทละครรามเกียรติ์ เลม ๒ : ๑๙ )

๓.๔ ความรูที่ไดรับ ความรูที่ไดรับจากการที่ศึกษาวิเคราะหวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นี้ มีมากมาย หลายดานดวยกัน ซึ่งสามารถสรุปไดดังตอไปนี้ ๓.๔.๑ ดานบทประพันธและวรรณกรรรม ความรูที่ไดรับจากเรื่องรามเกียรติ์ทางดานบทประพันธและวรรณกรรมก็ คือ รามเกียรติ์เปนวรรณคดีชิ้นเอกที่สําคัญของไทย เนื้อเรื่องและสํานวนกลอนมีความ ไพเราะ อีกทั้งยังสอดแทรกคติสอนใจและแงคิดในดานตาง ๆ เอาไวตลอดทั้งเรื่องอยู เปนอันมาก เปนไปตามหลักนิยมของอินเดียในเนื้อเรื่อง และตามหลักนิยมของไทยใน สํานวนกลอน๑ จากการที่ไดศึกษาเกี่ยวกับกลวิธีการแตงของเรื่องรามเกียรติ์นี้ จะเห็นได วามีการใชคําสงสัมผัส และการกําหนดความไพเราะของบทกลอนไวหลายประการ วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นี้จึงสามารถเปนแบบอยางของการสรางสรรคบทประพันธหรือ วรรณกรรมไดดี และควรคาแกการศึกษาใหลึกซึ้งยิ่งขึ้นตอไป

เตวิช โตตอบ และคณะ, รามเกียรติ์ วรรณคดีไทย, (Online). http://www.sema.go.th/files/Content/ Langqage%20Thai/k4/0005/ramayana/index.html (๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๑)


๖๔

๓.๔.๒ ดานศาสนา ความรูที่ไดรับจากเรื่องรามเกียรติ์ทางดานศาสนาก็คือ เรื่องรามเกียรติ์ เปนคติสอนใจ สอนใหทุกคนเปนคนดี ใหทุกคนตั้งอยูในศีลธรรม และใหระลึกอยู เสมอวา “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว” ถึงแมวาเรื่องรามเกียรติ์จะมีที่มาจากเรื่องรามายณะของ ประเทศอินเดีย และเปนคัมภีรหนึ่งในศาสนาพราหมณก็ตาม แตทุกศาสนาก็สอนใหทุก คนทําแตความดีงาม ๓.๔.๓ ดานสังคม ความรูที่ไดรับจากเรื่องรามเกียรติ์ทางดานสังคมก็คือ บทประพันธเรื่อง รามเกียรติ์นี้ไดสอนถึงการใชชีวิตอยูรวมกันในสังคม เชน สอนใหมีความกตัญู เปน ลูกที่ดีของบิดามารดา ปกครองคนอยางยุติธรรมและเปนประชาธิปไตย ยอมรับฟงเสียง ส ว นมาก เหมื อ นกั บ พระราม, สอนให รั ก เดี ย วใจเดี ย ว มี ค วามซื่ อ สั ต ย ต อ คู ค รอง เหมือนกับนางสีดา, สอนใหรูสํานึกผิดชอบชั่วดีและมีน้ําใจเปนนักกีฬา เหมือนกับ ทศกัณฐตอนที่รบแพพระราม และยังสอนใหรูจักประมาณตนไมใหหยิ่งทะนงตนวาเปน ผูมีอํานาจ ดังเชนทศกัณฐที่หยิ่งทะนงในความเปนอมตะของตน เปนตน ๓.๔.๔ ดานศิลปะและวัฒนธรรม ความรูที่ไดรับจากเรื่ องรามเกี ย รติ์ทางดานศิล ปะและวัฒ นธรรมก็ คื อ วรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นี้มีอิทธิพลตอศิลปะและวัฒนธรรมของไทย ในทางดานศิลปะ ทําใหเกิดชิ้นงานศิลปะตาง ๆ เปนจํานวนมาก อยางเชน ภาพวาดบนฝาผนังตามวัดหรือ สถานที่สําคัญ ๆ และ ยังไดนําบทประพันธเรื่องนี้มาใชในการแสดงของไทย เชน การ แสดงโขน ละคร หุน หนังตะลุง สวนในทางดานวัฒนธรรมทําใหเกิดสํานวนโวหาร หรื อ สุ ภ าษิ ต ต า ง ๆ มากมาย นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารใช คํ า เรี ย กชื่ อ ต า ง ๆ ซึ่ ง มี ที่ ม าจาก วรรณคดีเรื่องนี้ไปใชเปนชื่อคน สถานที่ สิ่งของ เปนตน


บทที่ ๔ บทสรุป รามเกีย รติ์ เปน งานวรรณกรรมชิ้ นหนึ่ งที่ เ ราได รับ มาจากเรื่ อ งรามายณะของ อินเดียนานมาแลว ในทํานองวาเลากันดวยปากเปลา เรียกวา “อักขาน” แตหลักฐาน เริ่ ม มาปรากฏชื่ อ ในตั ว ละครที่ เ ด น ชั ด โดยเฉพาะคํ า ว า “พระราม” ตั้ ง แต ส มั ย กรุ ง สุโขทัยเปนตนมา หลังจากนั้นก็มีบทบาทแพรหลายยิ่งขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ไดแก ชื่อของเมื องหลวงคืออยุ ธ ยา การนําชื่อของพระรามนําไปผนวกเขากั บ ชื่อขององค พระมหากษัตริย และชื่อของสถานที่ เชน วัดและบึง เปนตน รามเกียรติ์ในประเทศไทยถึงแมวาจะไดมาจากหลากหลายแหลงก็ตาม แต วรรณคดีเรื่องนี้ก็มีทั้งคุณคาและความสําคัญตอสังคมไทยในหลาย ๆ ดานเปนอยางมาก อาจกลาวไดวารามเกียรติ์นี้ไดกลมกลืนเขาไปในสังคมไทยแลว ดังเห็นไดจากการใช ภาษาหรือสํานวนในชีวิตประจําวันซึ่งมีที่มาจากเรื่องรามเกียรติ์ หรือคําเรียกชื่อตาง ๆ อยางเชนที่ไดกลาวไปขางตน และยังปรากฏแทรกอยูในงานศิลปกรรมหลากหลาย แขนง เชน วรรณกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม การแสดงโขนหรือละคร เปนตน นอกจากนี้รามเกียรติ์ยังเปนคติสอนใจใหทุกคนทําดี และปฏิบัติแตสิ่งที่ดีอีกดวย อยางไรก็ตาม รามเกียรติ์ถือวาเปนวรรณกรรมชิ้นเอกของชาติไทย และเปน สมบัติของคนไทยทั้งชาติ ฉะนั้นคนไทยทุกคนควรที่จะศึกษา เผยแพร และอนุรักษ วรรณกรรมชิ้นนี้ใหสืบทอดตอไปแกชนรุนหลัง และอยูคูกับสังคมไทยตลอดไป ขอคิดเห็น : ๑. จากการที่ไดศึกษาวิเคราะหตัวละครในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์นี้ สอนใหรู วา เราไมควรที่จะใชอํานาจหรือความสามารถของตนไปในทางที่ไมถูกไมควร เพราะ จะทําใหเราประสบกับความลมเหลวในชีวิตได ๒. เราควรที่จะทําแตในสิ่งที่ดีงาม ในสิ่งที่ถูกตอง ตั้งตนอยูในศีลธรรมอันดี และไมเบียดเบียนหรือละเมิดสิทธิของผูอื่น


๖๖

ขอเสนอแนะ: ๑. ควรศึกษาบุคลิกภาพและบทบาทของตัวละครตัวอื่น ๆ ในเรื่องรามเกียรติ์ นอกจากที่ไดกลาวไว ๒. ควรมี ก ารศึก ษาวิ เคราะห วรรณคดีเ รื่ องรามเกี ย รติ์ ฉบั บ อื่ น ๆ เช น ฉบั บ สมเด็จพระเจากรุงธนบุรี, ฉบับรัชกาลที่ ๒, ฉบับรัชกาลที่ ๔ และฉบับรัชกาลที่ ๖ เปนตน เพื่อใหเห็นความสัมพันธระหวางวัตถุประสงคของผูแตง ลักษณะตัวละคร ตลอดจนกลวิธีการแตง และการสรางตัวละครเหลานั้น


บรรณานุกรม กมลทิพย คลายบานใหญ และคณะ. [ม.ป.ป.]. “มองหญิงไทยผานนางในวรรณคดี: นางสีดา.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.geocities.com/thai_lit/ sida.htm สืบคน ๒๗ มกราคม ๒๕๕๑. “กําเนิดตัวละครในรามเกียรติ์.” ๒๕๔๙. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://blog.hunsa. com/km6337/blog/4195 สืบคน ๑๓ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. โกวิ ท ตั้ ง ตรงจิต ร. ๒๕๔๗. คุ ย เฟ อ งเรื่ อ งรามเกี ย รติ์ . พิ ม พ ค รั้ง ที่ ๑. กรุ ง เทพฯ: สุวีริยาสาสนน. “คุณคาของวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http:// www.aksorn.com/webguide/webguide_detail.php?content_id=959 สื บ ค น ๒๖ มกราคม ๒๕๕๑. “ตัวรายในวรรณคดีไทย รายจริงหรือ: ทศกัณฐ.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.geocities.com/thaivillains/tod.htm สืบคน ๒๗ มกราคม ๒๕๕๑. “ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: ทศกัณฐ.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/tosakan.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: นางสีดา.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/srida.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: พระราม.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/pra_ram.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: พระลักษมณ.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/pra_luck.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: พิเภก.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/phipek.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑.


๖๘

“ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: สุครีพ.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/sukreep.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: หนุมาน.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/hanuman.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ตัวละครในเรื่องรามเกียรติ์: องคต.” [ม.ป.ป.]. [Online]. เขาถึงไดจาก: http:// www.banramthai.com/html/aongkod.html สืบคน ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. เตวิ ช โตต อบ และคณะ. [ม.ป.ป.]. “รามเกี ย รติ์ วรรณคดี ไ ทย.” [ออนไลน ]. เขาถึงได จาก: http://www.sema.go.th/files/Content/Langqage%20Thai/k4/ 0005/ramayana/index.html สืบคน ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ทวีปมู (Mu) หรือ รีมูเลีย (LeMUria) นครอันตธาน.” ๒๕๕๐. [ออนไลน]. เขาถึงได จาก: http://www.dhammachak.net/board/viewtopic.php?t=29 สืบคน ๒๖ มกราคม ๒๕๕๑. “ทาวมาลีวราชตัดสินความ.” ๒๕๕๐. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.oursiam. net/gallery/display.php?category=art&code=ART0 0 0 3 1 สื บ ค น ๒ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๐. นิยะดา เหล าสุนทร. ๒๕๔๐. คั มภี ร นารายณ ๒๐ ปางกั บคนไทย. พิม พครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: แมคําผาง. “บทเรี ย นนาฏกรรมโขน: คุ ณ ค า ของตั ว ละครในนาฏกรรมโขน.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://art.hcu.ac.th/khon/ value.html สืบคน ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. บริษัท เศรษฐกิจรวมดวยชวยกัน จํากัด. [ม.ป.ป.]. “รัชกาลที่ ๑.” [ออนไลน]. เขาถึง ไดจาก: http://www.rakbankerd.com/01_jam/thaiinfor/country_info/index. html?topic_id=255&db_file= สืบคน ๒๗ มกราคม ๒๕๕๑. ประจักษ ประภาพิทยากร. ๒๕๒๕. ความรูพื้นฐานทางวรรณคดีและวรรณกรรมเอก ของไทย. พิมพครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: องคการคาของคุรุสภา. ประพันธ สุคนธะชาติ, ผูรวบรวม. ๒๕๓๑. นารายณสิบปาง. กรุงเทพฯ: อมรินทร พริ้นติ้งกรุพ.


๖๙

“ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: ทศกัณฐ.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http:// www.geocities.com/hanumarn2k/p11.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: นางสีดา.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http:// www.geocities.com/hanumarn2k/p6.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: พระราม.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http:// www.geocities.com/hanumarn2k/p5.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: พระลักษมณ.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.geocities.com/hanumarn2k/p7.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: พิเภก.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www. geocities.com/hanumarn2k/p13.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: สุครีพ.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http:// www.geocities.com/hanumarn2k/p24.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: หนุมาน.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http:// www.geocities.com/hanumarn2k/p22.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “ประวัติตัวละครรามเกียรติ์: องคต.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http:// www.geocities.com/hanumarn2k/p25.html สืบคน ๑๖ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. ปรีชา นุนสุข. ๒๕๒๔. อิทธิพลของมหากาพยรามายณะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต. พิมพครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. “พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร วัดพระศรีรัตนศาสดาราม.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.soonphra.com/content/viewtopic/viewtopic.php? topicdetailid=127&topicid=67 สืบคน ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. “พระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล าเจ าอยูหัว.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เข า ถึ ง ได จ าก: http://www.edutoday.in.th/upload-files/0005430/html/ dd75f228b7/1.htm สืบคน ๒๖ มกราคม ๒๕๕๑. พัชลินจ จีนนุน. ๒๕๔๗. “การวิเคราะหหนุมานในรามเกียรติ์ฉบับตาง ๆ.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.


๗๐

พิ กุ ล ทองน อ ย. ๒๕๐๔. รามเกี ย รติ์ ร อ ยแก ว ประกอบคํ ากลอน. พิ ม พค รั้ งที่ ๓. พระนคร: เขษมบรรณกิจ. พุทธยอดฟาจุฬาโลก, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๕๔๐. บทละครรามเกียรติ์. ๔ เลม. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร. มงกุฎเกลาเจาอยูหัว, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๔๘๔. บอเกิดรามเกียรติ์. พระนคร: โรงพิมพพระจันทร. มนตรี จันทรศิริ. ๒๕๔๗. ตํานานมหาเทพแหงสรวงสวรรค. กรุงเทพฯ: [ม.ป.ท.]. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร. โปรแกรมวิชา นาฏศิลป. [ม.ป.ป.]. “สุนทรียภาพของชีวิต: การรับรูและกระบวนการรับรู เชิ ง คุ ณ ค า .” [ออนไลน ]. เข า ถึ ง ได จ าก: http://human.rru.ac.th/naat/ Page3.htm สืบคน ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร. ๒๕๔๗. เอกสารการสอน ชุ ด วิ ช าภาษาไทย ๔: วรรณคดี ไ ทย หน ว ยที่ ๘ – ๑๕. พิ ม พ ค รั้ ง ที่ ๕. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มูลนิธิอนุรักษโบราณสถานในพระราชวังเดิม. [ม.ป.ป.]. “บุคคลสําคัญสมัยกรุงธนบุรี.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.wangdermpalace.com/thonburi/ impt_person_thai.html สืบคน ๒๗ มกราคม ๒๕๕๑. “รสวรรณคดี.” [ม.ป.ป.]. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ รสวรรณคดี สืบคน ๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. เลื่อนฤทธิ์, คุณหญิง. ๒๔๖๖. นารายณสิบปาง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพไท. วัดหัวลําโพง พระอารามหลวง. [ม.ป.ป.]. “ภาพจิตรกรรมฝาผนัง (รามเกียรติ์) ณ พระ อุโบสถ: หนุมานถวายตัว.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www. wathualampong.com/Ramayana/RR03.html สืบคน ๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๑. วิเชียร เกษประทุม. ๒๕๔๙. เลาเรื่องรามเกียรติ.์ กรุงเทพฯ: พ.ศ. พัฒนา. ศักดิ์ศรี แยมนัดดา. ๒๕๓๘. นารายณอวตาร. พิมพครั้งที่ ๑. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.


๗๑

ศูน ยก ารศึ กษานอกโรงเรี ยนภาคตะวันออกเฉียงเหนื อ. งานสารสนเทศ. [ม.ป.ป.]. “วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหา จักรีบรมราชวงศ.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://202.143.141.237/ nernec/topic7_old.php?page=37 สืบคน ๒๗ มกราคม ๒๕๕๑. สมพร สิงหโต. ๒๕๒๐. ความสัมพันธระหวางรามายณะของวาลมิกิและรามเกียรติ์ พระราชนิ พนธ ใ นรั ช กาลที่ ๑. กรุ ง เทพฯ: หน ว ยศึ ก ษานิ เ ทศก กรมการ ฝกหัดครู. สมเด็ จพระมหาวีร วงค (พิม พ ธมฺ ม ธโร). ๒๕๔๘. สากลศาสนา. พิ ม พ ครั้ง ที่ ๒. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย. สัจจาภิรมยอุดมราชภักดี (สรวง ศรีเพ็ญ), พระยา. ๒๕๑๗. เทวกําเนิด. กรุงเทพฯ: ป.พิศนาคะการพิมพ. สัญญา สุดล้ําเลิศ. ๒๕๒๘. “การศึกษาภาพรามเกียรติ์จากตูไทยโบราณสมัยอยุธยาและ ธนบุรี.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.


ภาคผนวก แผนภูมิโคตรวงศในเรื่องรามเกียรติ์


๗๓

แผนภูมิวงศกษัตริยกรุงศรีอยุธยา

ภาพที่ ๑๗ : แผนภูมิวงศกษัตริยกรุงศรีอยุธยา


๗๔

แผนภูมิวงศวานรนครขีดขิน

ภาพที่ ๑๘ : แผนภูมิวงศวานรนครขีดขิน


๗๕

แผนภูมิวงศพรหมและวงศอสูรกรุงลงกา

ภาพที่ ๑๙ : แผนภูมิวงศพรหมและวงศอสูรกรุงลงกา


๗๖



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.