ChayanichV's Portfolio 2022

Page 1

LANDSCAPE ARCHITECTURE PORTFOLIO CHAYANICH VONGPIPAT SELECTED PROJECTS COMPLETED DURING YEAR 2018-2022 Faculty of Architecture Department of Landscape Architecture CHULALONGKORN UNIVERSITY


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

AWARDS CONSOLATION PRIZE : EKKAMAI POCKET PARK We!park compettition by We!park CERTIFICATE : NEW SPATIAL REALITY OF CITIES POST COVID-19.s Chamber of Certified Architects and Certified Engineers of the Republic of Macedonia CERTIFICATE : GARBAGE TRUCK STICKERS Department of Environmen Organization Bangkok

EXPERIENCES 2018-2020 RURAL VOLUNTEER DEVEOPMENT 81TH AND 85TH Working on Pulic relations 2020 RA (RESEARCH ASSISTANT) WITH PROFESSOR PASON CHATAKUL In The Exploratory and Data Research of Perennial Trees for Lanscape uses 2021 PARTICIPATED : INTERNATIONAL WORKSHOP ON URBAN LANDSCAPE (IWUL) “RESILENT CITY”

CHAYANICH VONGPIPAT (BAITOEY) 17 SEP 1999 BANGKOK, THAILAND CHAYANICH.V@GMAIL.COM (+66) 62-317-5775

EDUCATION CHULALONGKORN UNIVERSITY Faculty of Architecture Department of Landscape Architecture

HORTICULTURIST SURVEY TEAM in Lumpini park renovation project. RA (RESEARCH ASSISTANT) WITH PROFESSOR ARIYA ARUNINTA In JSPS with NRCT program; The Impact of Industrialization on the Cultural Landscape of the Wetlands: A Case Study of the Bangpakong River Basin, Chachoengsao, Thailand.

SKILLS HARD SKILLS 3D AND RENDERING Sketchup Rhino Enscape

DRAWING Autocad Rhino Hand drawing

GRAPHIC DESIGN Adobe Photoshop Adobe Illustrator

DOCUMENT Microsoft office

SOFT SKILLS Presentation Research and analysis Adaptability Team-worker

(ALL STUDIO DESIGN GET 4.00)

SAMSENWITTAYALAI SCHOOL King class at Science-Mathematics program

01

LANGUAGES THAI Native

ENGLISH Fair


PROFILE l CONTENTS

CLASSES PROJECTS

01

SANTIYAKORN GARDEN

04

02

THE PRAKARN CONNECTOR

10

03

RE TO SEE

16

THE VISION PARALLAX

22

INSIDE OUT - OUTSIDE IN

28

TO BE SCENE

32

SARN SANJAO

36

04 HAND DRAWING CLASSES PROJECTS

05

SITE : NAKHON NAYOK, THAILAND TYPE : DHAMMA RETREAT PLACE PLANING

SITE : SAMUT PRAKAN, THAILAND TYPE : WATERFRONT PUBLIC SPACE

SITE : BANGKOK, THAILAND TYPE : URBAN REGENERATION PROJECT

SITE : KHON KAEN, THAILAND TYPE : ZOO & THEME PARK PLANNIG

SITE : RAYONG, THAILAND TYPE : HOUSING PLANNIG

SITE : NONTABURI, THAILAND TYPE : CAFE

COMPETTITION PROJECTS

06

SITE : LADY TUBTIM SHRINE, BANGKOK, THAILAND TYPE : URBAN DESIGN REDEVELOPMENT

OTHERS

FLOW SPACE GREEN SYSTEMATIC TUK TUK DISTANCING

OTHERS PROJECT

07

39-44

HAND SKETCH INTERNATIONAL WORKSHOP AUTO CAD WORK SKETCH DESIGN WORK

46 47 49 51

02


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

CLASSES PROJECTS

01

SANTIYAKORN GARDEN

02

THE PRAKARN CONNECTOR

03

RE TO SEE

04 03

SITE : NAKHON NAYOK, THAILAND TYPE : DHAMMA RETREAT PLACE PLANING

SITE : SAMUT PRAKAN, THAILAND TYPE : WATERFRONT PUBLIC SPACE

SITE : BANGKOK, THAILAND TYPE : URBAN REGENERATION PROJECT

THE VISION PARALLAX

SITE : KHON KAEN, THAILAND TYPE : ZOO & THEME PARK PLANNIG


SANTIYAKORN GARDEN

01

SANTIYAKORN GARDEN

SITE : NAKHON NAYOK, THAILAND TYPE : DHAMMA RETREAT PLACE PLANING AREA : 63 RAI (100,800 SQ.M.) YEAR : 2021

04


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

SANTIYAKORN GARDEN จากการวิเคราะห์พื้นที่โครงการพบว่า โครงการมีพื้นที่อากาศถ่ายเทไม่สะดวก มีเสียงรบกวนจาก ปัจจัยภายนอก ปัจจัยเหล่านี้นำมาซึ่งความไม่สงบกายและใจ ทั้งนี้พื้นที่โครงการมีจุดแข็งคือมีบ่อน้ำเดิมอยู่หลายแห่ง กระจายทั้งไซต์ สามารถเป็นจุดสร้างความสงบได้ใน การออกแบบ สิ่งปลูกสร้างเดิมจะถูกประเมินโดยพยายาม เก็บอาคารเดิมไว้ให้ได้มากที่สุดเพื่อความประหยัด จากการวิเคราะห์พบว่าปัญหาหลักของพื้นที่คือการขาด พื้นที่แห่งความสงบ ที่เอื้อต่อการเกิดสมาธิ อันนำไปสู่การ เป็นผู้เจริญ นำมาซึ่งแนวคิดในการออกแบบคือ สันติยากร หรือบ่อเกิดแห่งความสงบ เพื่อดึงศักยภาพของไซต์ที่มีบ่อ น้ำเยอะ ให้เป็นบ่อเกิดแห่งความดีงามที่เกิดได้จากการเป็น ผู้สงบแล้ว และให้สามารถเข้าถึงได้ทุกศาสนา การเป็น Tranquility place แห่งนี้ จะเป็นพื้นที่ทำให้เกิดสมาธิ

ผู้ใช้งานหลักอย่างผู้มาปฏิบัติธรรมจะถูกแบ่งออกเป็น 4 ช่วงวัย ซึ่งแต่ละช่วงวัยมีความต้องการพื้นที่ทำสมาธิแตก ต่างกันตามประสบการณ์การเรียนรู้และการใช้ชีวิต โดย โปรแกรมที่เสนอแนะเพิ่มเติมจะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให ้เกิความสงบในแต่ละพื้นท สามารถแบ่ง โซนออกได้เป็น 4 โซน โดยใช้แนวแกนการวาง ผังของวัดเข้ามาเน้นส่วนของพุทธาวาสให้สำคัญยิ่งขึ้น พระภิกษุและแม่ชีจะถูกแยกออกเป็น 2 ฝั่งเพื่อให้ง่ายต่อการ เข้าไปใช้งานอาคารปฏิบัติธรรมหลัก อาคารสำคัญจะวางใน แนวแกนหลัก ที่พักส่วนตัวจะถูกล้อมให้เกิด Space ร่วมกัน มีการเก็บอาคารเดิมไว้ให้มากที่สุด บางอาคารจะถูกRenovate เพื่อให้เกิดประโยชน์ และประหยัดสูงสุเส้นทางจงกรมเน้น ความ Compact เส้น Service จะใช้เส้นทางเดิมและเพิ่ม เติมให้สามารถเข้าถึงอาคารหลักได้กรณีฉุกเฉิน เส้นทางเดิน จงกรมย่อยจะมีทั้งแบบเส้นตรง และแบบจงกรมกระจายตาม พื้นที่พื้นที่ปฏิบัติธรรมถูกแบ่งเป็น 4 ช่วง เริ่มจากพื้นที่รอง รับเด็ก ปละการรับรู้ช่วงวัยเด็ก เป็นการเริ่มการตื่นรู้ ทางขรุ ขระ จนเติบโตสู่ช่วงวัยชราที่ราบเรียบ จนข้ามสะพานผู้สงบ เพื่อเป็นนัยว่าไดผ่านการเป็นผู้สงบแล้ว ทางเดินจะเปิดให้เห็น มุมมองในไซต์และนอกไซต์สลับกัน โดยกระจายจุด Outdoor classroom ที่รองรับจำนวนคนในขนาดที่แตกต่างกัน ทั่วทั้งไซ์

05

ี่


SANTIYAKORN GARDEN

06


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

07


SANTIYAKORN GARDEN

08


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

09


SANTIYAKORN GARDEN

02

THE PRAKARN CONNECTOR SITE : SAMUT PRAKAN, THAILAND TYPE : WATERFRONT PUBLIC SPACE AREA : 48 RAI (76,800 SQ.M.) YEAR : 2021

10


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

THE PRAKARN CONNECTOR การสัญจรภายในโครงการไม่ซับซ้อน แต่ตรอกและซอย ทำให้การจนราจรติดขัดขวางพื้นที่การใช้งานและไม่เชื่อมต่อ กันโครงสร้างเดิมทันสมัยแต่มีนำนวนน้อย ไม่ทั่วถีงทุกพื้นที่ ในโครงการ ทำให้ทั้งโครงการไม่เป็นเรื่องราวเดียวกันอาคาร เดิมมีความสำคัญ เป็นอาคารใหญ่ แต่ไม่ได้มีการวางผังที่ เน้นให้เกิดความสำคัญ เมืองกับพื้นที่โครงการขาดการเชื่อม ต่อกันทั้งๆที่เป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญของการรวมคน User หลากหลายช่วงวัยและการใช้งาน ทุกคนต่างๆใช้พื้นที่ ตัวเองไม่เชื่อมถึงกัน กิจกรรมซ้อนทับพื้นที่กันทำให้การใช้ งานไม่เต็มประสิทธิภาพ การขาดการเชื่อมต่อการระหว่างคนกับคน คนกับพื้นที่สา ธารณะ และพื้นที่สาธารณะกับพื้นที่สาธารณะเกิดเป็นคอน เสปต์ The prakarn connector เชื่อมต่อปัญหาที่กล่าวไป เข้าไว้ด้วยกัน ภายใต้หลักการของ Inclusive city หรือเมือง ทั่วถึง ซึ่งดึงมา 4 หัวข้อ จาก 8 หัวข้อคือ เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม และการเข้าถึงบริการสาธารณะ กระจายโซนต่างๆไปทั่วไซต์แล้วเชื่อมกันด้วยทางสัญจร กระจายretail shopไปทั่วไซต์สนับสนุนของชุมชน เชื่อมต่อการออกแบบด้วยการต่อเส้นทางการวางผังเมือง เดิมเข้ามาในพื้นที่ในการดีไซน์ เเละแนวแกนสำคัญของอาคาร และอนุเสาวรีย์ ทางยกระดับเชื่อมนอกพื้นที่ไปยังเมือง และพื้นที่การเรียนรู้ ในพื้นททางใต้ดินเชื่อมในโครงการและจากจุดเปลี่ยนถ่ายจาก จุดนึงไปอีกจุดนึง running and biking track เชื่อมทุก พื้นที่ในโครงการบันไดสเต็ปลงไปในน้ำ ใช้วัสดุที่น้ำซึมผ่านได้ รองรับการเกิดน้ำท่วมทางรถไม่เข้าไปขวางในพื้นที่ให้พื้นที่ใน โครงการเชื่อมถึงกันนำอาคารเดิมออก แทนที่ด้วยพิพิธ ภัณฑ์ outdoor และ indoor ของเมืองสมุทรปราการ ก้อนแรกเป็นกิจกรรมแบบ แอคทีฟ ที่ผสานกับ flexible filed มีพื้นที่สำหรับคนเลี้ยงสุนัข พื้นที่นั่งรับประทานอาหาร พื้นที่ขายของของคนในพื้นที่ ฟิตเนสนอกและในร่มสนามกีฬา ก้อนสองเป็นพื้นที่เรียนรู้ ใช้เครนยกที่มักอยู่บนเรือสินค้าตั้ง เป็นเสาขึงทางเดินชมแม่น้ำที่เป็นโครงสร้างยื่นบนแม่น้ำเป็น สัญลักษณ์ของเมืองท่าผสานกับwaterfeature landscape และพื้นที่เรียนรู้ธรรมชาติที่น้ำท่วมถึง บวกกับอนุเสาวรีย์ร.5 กับพื้นที่ flexible field ก้อนสามเป็นพื้นที่กิจกรรมแบบแพสซีฟ เป็นสนามเด็กเล่น ก้อนสี่เป็นส่วน comercial มีท่าเรือข้ามฟากมาลงในไซต

11


THE PRAKARN CONNECTOR

12


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

13


THE PRAKARN CONNECTOR

14


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

15


RE TO SEE

02

RE TO SEE

SITE : BANGKOK, THAILAND TYPE : URBAN REGENERATION PROJECT AREA : 806 RAI (1,289,600 SQ.M.) YEAR : 2021

16


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

RE TO SEE จากการวิเคราะห์พื้นที่โครงการเราก็ได้พบปัญหาหลัก ปัญหาออกเป็นสามหมวดหลัก คือ คน วัฒนธรรม และพื้นที่ สาธารณะพื้นที่โครงการมีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานทำให้ เป็นพื้นที่ที่มากด้วยวัมนธรรมและความหลากหลายทั้งกับ สถานที่ที่เกิดเรื่องราวต่างๆขึ้นดังนั้น เพื่อคุณภาพขีวิตชุม ชนเมืองของพื้นที่ที่ศึกษา จึงทำให้เราเกิดวิสัยทัศน์ คือ การพัฒนา และอนุรักษ์ ย่านคลองผดุง-บางลำพู อย่าง ยั่งยืน นำมาซึ่งคอนเสปต์ รีทูซี เป็นการรีของเก่าเพื่อให้โครง การได้รับรู้ถึงเอกลักษณ์ และความเป็นตัวตนของย่าน ทำให้ เกิดความรักในพื้นที่ เกิด sense of place นำเสนอผ่านการ อนุรักษณ์และพัฒนาให้ชุมชนก้าวไปสู่อนาคตอย่างยั่งยืนซึ่ง นำไปสู้คอนเสปต์ย่อย 3 ซี

ซึ่งทั้ง 3 C ของเราซัพพอร์ตคอนเสปต์หลักในการ Re ของเก่ากลับมา เพื่อไป see สิ่งต่างๆ ที่เป็นเอกลักษณ์ของ ชุมชนพร้อมไปกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน

17


RE TO SEE

18


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

19


RE TO SEE

20


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

21


THE VISION PALLARAX

02

THE VISION PARALLAX

SITE : KHON KAEN, THAILAND TYPE : ZOO & THEME PARK PLANNIG YEAR : 2020

22


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

THE VISION PARALLAX พื้นที่ตั้งอยู่ห่างไกลจากบริเวณโดยรอบทำให้ยากในการ เข้าถึงเดิมเป็นพื้นที่ที่มีความชัน ทำให้เกิดแนวสันเขา และพื้น ที่กักเก็บน้ำตามธรรมชาติพื้นที่เดิมแห้งแล้งและขาดแคลนน้ำ ในการอุปโภคและบริโภคการจัดวางส่วนุแสดงสัตว์แบ่งแบบ ไม่มีระบบไม่เป็นไปตามธรรมชาติและถิ่นที่อยู่ จากการวิเคราะห์ไซต์พบว่าพื้นที่จุดกักเก็บน้ำมีศักยภาพพอ ที่จะทำเป็นพื้นที่สันทนาการและกักเก็บน้ำเพิ่มเติมมีจุดที่ สามารถมองเห็นวิวโดยรอบทั้งไซต์อยู่สองจุด เหมาะ จะทำเป็นจุดชมวิวย้ายโซนให้เหมาะสมตามถิ่นที่อยู่ของสัตว์ แบ่งตามความชันของพื้นที่เดิม แบ่งโซนใหม่โดยคำนึงถึงถิ่นที่อยู่เดิมของสัตว์ เพื่อให้ง่ายต่อ การรับรู้กรงเดิมบางส่วนยังสามารถใช้งานได้ แต่ต้องได้รับ การปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงามบางกรงไม่เหมาะสำหรับสัตว์ ในพื้นที่ จึงต้องมีการย้ายสัตว์เดิมออก แล้วใส่สัตว์ใหม่เข้าไป ใช้งานแทน แบ่งแยกตามโซนกรงใหม่มีเพื่อรองรับการใช้งาน ของสัตว์ต่าง ๆ ที่มีการแบ่งแยกตามถิ่นที่อยู่เรียบร้อยแล้ว ยึดเส้นทางสัญจรเดิมเพื่อให้ง่ายต่อการก่อสร้าง มีการเพิ่ม ทางสัญจรทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น มีลูปหลักที่ชัดเจน !พื่อกันการหลงทาง ในแต่ละโซนเป็นทางเดินแบบ One-way เพื่อให้ง่ายต่อการจำกัดจำนานผู้เข้าชม การเหลื่อมของมุมมอง ระยะเวลา และที่ว่าง การเข้าชม ในหนึ่งพื้นที่สเมือนการอยู่คนละ Space กัน แต่เสามารถชม พื้นที่ที่เห็นทั้งหมดได้ในเวลาเดียวกัน การเข้าชมที่มี Sapce ต่างกัน เห็นในระยะต่างกัน มีการแบ่ง Space ออกจากกัน แต่สเหมือนอยู่ในพื้นที่เดียวกัน การเข้าไปอยู่ในพื้นที่ที่มีการ แยกพื้นที่ระหว่างคนกับสัตว์ไปพร้อมกัน สเมือนอยู่ด้วยกัน

23


THE VISION PALLARAX

24


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

25


THE VISION PALLARAX

26


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

HAND DRAWING CLASSES PROJECTS

INSIDE OUT - OUTSIDE IN

05

SITE : RAYONG, THAILAND TYPE : HOUSING PLANNIG

TO BE SCENE

SITE : NONTABURI, THAILAND TYPE : CAFE

27


INSIDE - OUT OUTSIDE - IN

05

INSIDE OUT - OUTSIDE IN SITE : RAYONG, THAILAND TYPE : HOUSING PLANNIG AREA : 806 RAI (1,289,600 SQ.M.) YEAR : 2020

28


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

INSIDE OUT OUTSIDE IN

จากการวิเคราะห์โครงการพบว่าพื้นที่มีความชัน สามารถทำเป็นพื้นที่รับน้ำ จากพันธกิจของ PTTGC ที่มุ่งเน้น การมีส่วนร่วมและพัฒนาสังคม เพื่อแสดงถึงความรับผิด ชอบทางสังคม และความใส่ใจในสื่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน และบุคลากรที่มุ่งเน้นการพัฒนาเพื​ื่อสร้างองค์กร แห่งการเรียนรู้ และบรรยากาศการทำงานที่เป็นสุข เพื่อการ พัฒนาให้เป็นบุคลากรที่ทุ่มเทและผูกพันธ์ต่อองค์กร . จากโครงการฟื้นป่า สร้างแหล่งเรียนรู้ สู่วิถีชุมชนที่ยั่งยืน นำมาซึ่งคอนเสปต์ Inside out Outside in ทั้งในแง่ของ การหยิบยืมวิวภายนอกมาใช้ และกิจกรรมที่ให้พนักงานมี ปฏิสัมพันธ์กับชุมชน เพื่อให้เกิดพื้นที่ที่อยู่ร่วมกับชุมชนได้ อย่างยั่งยืน ไปพร้อมกับบรรยากาศการทำงานที่รื่นรมย์

29


INSIDE - OUT OUTSIDE - IN

30


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

01


TO BE SCENE

05

TO BE SCENE

SITE : NONTABURI, THAILAND TYPE : CAFE YEAR : 2020

32


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

TO BE SCENE TO BE SCEME ชื่อโครงการมาจากการนำคำว่า to Ge continued มารวมกับ Scenery เพื่อให้ในยุคสมัย ที่ความเป็นไทยเริ่มหดหายไปยังมีพื้นที่ ที่มีบรรยากาศแบบ ไทยสามารถคงอยู่และดำเนินต่อไปได้อย่างยั่งยืนแนวความ คิดของโครงการที่นำวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทยที่คุ้นเคย มาจัดองค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อให้เกิดภาพ ภูมิทัศนทีสวยงามแบบไทยในแต่ละพื้นที่มีบรรยากาศที่แตก ต่างกัน มีเรื่องราวที่แตกต่างกันเพื่อจุดประสงค์ในการใช้งาน ที่แตกต่างกันบริเวณดีเทลแรก จะเป็นส่วนของพื้นที่จัดเลี้ยง เมื่อขับรถเข้ามาก็จะเจอกับดรอปออฟ ตัวอาคารเป็นอาคาร สองชั้นที่พื้นที่ด้านล่างสามารถเปิดเป็นอินดอร์ หรือเซมิเอาท์ ดอร์ได้เพื่อให้ได้ขนาดพื้นที่ที่กว้างขึ้นเพื่อรองรับต่อจำนวน แขกที่มากขึ้นตามขนาดการจัดงาน นอกจากนี้พื้นที่อินดอร์จะอยู่ติดกับบริเวณพื้นที่ลานจัดเลี้ยง เอาท์ดอร์ ซึ่งล้อมด้วยต้นไม้ใหญ่ โดยให้facal pointเป็นต้น จามจุรี บริเวณเวทีในพื้นที่ลานด้านนอกจะมีสวนหมากสงเป็น แบลคกราวน์ ใช้กล้วยพัดในการช่วยสกรีนเพื่อสร้างความ ไพรเวทมากขึ้นอีกด้วยค่ะ บริเวณด้านหลังเวทีมีทางเชื่อมระ หว่างเซอวิส เพื่อให้สามารถเข้าถึงพื้นที่ลานจัดเลี้ยงได้โดยไม่ ต้องผ่านพื้นที่จัดงานอินดอร์ ในกรณีที่ผู้ใช้บริการมาเช่าแต ่ลานเอาท์ดอร์ค่ะ เซคชั่น แสดงให้เห็นถึงการแบ่งสเปซหลักๆค่ะ เป็นส่วนพื้นที่ drop off พื้นที่จัดงานภายใน และพื้นที่จัดงานภายนอกค่ะ จะเห็นว่ามีการใช้ไม้พุ่มในการช่วยทำให้สเปซภายในรู้สึกอบอุ่น มากขึ้น ภาพทัศนียภาพแสดงบริเวณทางเดินcovered walkway มองออกไปเห็นบริเวณลานจัดเลี้ยงที่มีเวทีและต้นจามจุรี พร้อมด้วยแบลคกราวน์ค่ะ พื้นที่บริเวณดรอปออฟหลักที่เป็นตัวกระจายเซอคูเลชั่น ใช้ต้นหูกระจงเป็น focal point ถ้าหากขับรถมาก็จะมีslope เตือนก่อน เพื่อให้คนขับชะลอตัวลง เนื่องจากภ้าหากมาจาก ทางรฟฟใต้ดินจะมีแกนต่อเนื่องไปยังพื้นที่ welcome spce พื้นที่welcome space ต้อนรับด้วยลานจัดแสดงนิทรรศ การภายนอกและน้ำตก ใช้ต้นหางนกยูงฝรั่งเป็น focal point นอกจากนี้ยังเป็นตัวกระจายเซอคูเลชั่นหลักที่ทางเดินจะล้อม ด้วยต้นลีลาวดีอีกด้วยค่ะ ภาพเซคชั่นแสดงพื้นที่ใหญ่ๆเป็น 4 ส่วน ได้แก่ พื้นที่ทางเข้า จากรถไฟฟ้า พื้นที่ดรอปออฟ พื้นที่เวลคัมหลัก และพื้นที่ ลานโล่งค่ะ ใช้ต้นไม้ใหญ่ในการกำหนดสเปซหลัก มีเรือนจัด เลี้ยงและเรือนสอนนาฏศิลป์เป็นฉากหลัง ภาพทัศนียภาพเป็นภาพแสดงบริเวณทางเดิน welcome spce ค่ะ

33


TO BE SCENE

34


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

COMPETTITION PROJECTS

SARN SANJAO

06

SITE : LADY TUBTIM SHRINE, BANGKOK, THAILAND TYPE : URBAN DESIGN REDEVELOPMENT

OTHERS

FLOW SPACE GREEN SYSTEMATIC TUK TUK DISTANCING

35


SARN SAN-JAO

06

SARN SANJAO

SITE : LADY TUBTIM SHRINE, BANGKOK, THAILAND TYPE : URBAN DESIGN REDEVELOPMENT YEAR : 2022

การพัฒนาพื้นที่ Block 33 ด้วยการทุบทำลายศาลเจ้าแม่ทับทิมของจุฬา ก็เป็นเหมือนการซ่อมตุ๊กตาที่มีรอยขาดด้วยการซื้อตุ๊กตาตัวใหม่ เราอาจได้ตุ๊กตาที่ใหม่ แต่ในขณะเดียวกันเราก็เสียคุณค่าและความทรงจำของสิ่งนั้นไป แต่หากเราซ่อมรอยขาดนั้นด้วยการปะผ้าชิ้นใหม่ และสอดประสานเนื้อผ้าของใหม่และเก่าให้เข้ากัน ก็จะทำให้ เราสามารถเก็บรักษาคุณค่าและความทรงจำขอสิ่งนั้นไว้ได้ ศาลเจ้าแม่ทับทิมที่ตั้งอยู่กลางที่ดิน Block 33 ซึ่งเป็นโครงการคอนโดมิเนียมและอาคารพาณิชย์ จึงไม่เหมาะสมที่จะตั้งอยู่ในพื้นที่เนื่องจากขาดการเชื่อมต่อกับชุม ชนใหม่ ซึ่งเป็นนิสิตและครุ่นใหม่ที่ไม่นับถือเจ้าแม่ทับทิมแล้ว การวางผังใหม่ซึ่งออกแบบโดยไม่คำนึงถึงการมีอยู่ของศาล ทำให้ศาลบดบังทางเข้าของอาคารพาณิชย์ และ กิจกรรมของศาลเจ้าที่เป็นพื้นที่ทางศาสนาซึ่งไม่สัมพันธ์กัการใช้งานของพื้นที่ใหม่ ทั้งยังสร้างมลภาวะทางเสียงและมลภาวะทางอากาศให้แก่ผู้พักอาศัยในโครงการ ด้วย เหตุนี้เอง จึงมีแนวคิดในการรื้อถอนศาลเจ้า เพื่อนำไปพัฒนาเป็นสวนสาธารณะแทน แนวคิดในการออกแบบ "สาน+ศาลเจ้า" จึงเป็นการรักษาของเดิม ด้วยการเพิ่มของใหม่โดยอาคารใหม่เพื่อช่วยให้ของเดิมสามารถดำรงอยู่ต่อไปในบริบทของสังคม สมัยใหม่ได้ โดยเริ่มจากการมองพื้นที่นี้ให้เป็น เหมือนวัดของคนไทย คือใช้แนวคิดของการเป็น "พื้นที่สาธารณะ+พื้นที่ทางศาสนา" โดยกำหนดศาลเจ้าเป็นศูนย์กลางของ โครงการ และสร้างอาคารหลังใหม่ตรงข้ามซึ่งออกแบบด้วยสัดส่วน ช่องเปิด เดิมของศาลเจ้า และสร้างแนวแกนเชื่อมกับอุทยาน 100 ปีจุฬา และแนวแกนที่เชื่อมต่อกับทาง เข้าด้านซอยจุฬา 9 และซอยจุฬา 5 อาคารหลังใหม่นี้มีการใช้งานเป็นร้านกาแฟเพื่อตอบรับกับการเป็นพื้นที่พาณิชย์ของโครงการ ภายในมีการตกแต่งเสาด้วยคำภาษาอังกฤษ ที่แปลจากอักษรจีนในศาลเจ้าเก่าเพื่อเชิญชวนให้คนเข้าไปดูศาลเจ้า ในเชิงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมได้กำหนดให้สวนนี้เป็นสวนสำหรับโครงการเป็นหลักแต่ก็เปิดให้คน ทั่วไปเข้าใช้ได้เช่นกัน ซึ่งสวนแห่งนี้เน้นความเป็น pocket space โดยการใช้ระดับของลานในการแบ่งคน ซึ่งเป็นพื้นที่นี้เองที่ช่วยเติมเต็มความต้องการของคนที่สวนจุฬา 100 ปีไม่สามารถให้ได้ ลานแต่ละลานออกแบบให้มีมุมมองที่หันเข้าหาศาลเจ้าทั้งหมดเพื่อให้ผู้ใช้รับรู้ถึงอาคารเก่าที่อยู่ในพื้นที่นี้มาก่อน สำหรับทางเข้าฝั่งอาคารพาณิชย์มี การออกแบบโดยใช้เส้นสายของอาคารพาณิชย์ที่ออกแบบไว้ และเส้นชิกแซกนี้เองก็ยังทำให้เกิดลำดับการมองไปที่ของใหม่และของเก่าและภาพสะท้อนน้ำของอาคาร ทั้งสองพร้อมกัน แนวคิดทั้งหมดที่ทางกลุ่มเรานำเสนอ เป็นวิธีที่ทำให้ศาลเจ้าสามารถอยู่ร่วมกับชุมชนใหม่ และอาคารใหม่ได้ โดยไม่ถูกทำลาย

36


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

37


SARN SAN-JAO

38


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

39


FLOW SPACE

06

OTHERS

FLOW SPACE GREEN SYSTEMATIC TUK TUK DISTANCING

40


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

06

OTHERS

FLOW SPACE GREEN SYSTEMATIC TUK TUK DISTANCING

ปัจจุบันพื้นที่เมืองได้เกิดการขยายตัวและพัฒนาอย่าง รวดเร็วในทุกด้าน โดยมีการขยายตัวของเส้นทงคมนาคมมา รองรับในรูปแบบต่าง ๆ เมื่อมีการใช้งานที่มากขึ้นจึงต้องการ ขนาดพื้นที่สัญจรขนาดที่ใหญ่มากขึ้น นำมาสู่การสร้างสิ่งปลูก สร้างขนาดใหญ่ในระบบคมนาคมที่ส่งผลทั้งทัศนียภาพ และ ตามมาซึ่งมลภาวะจากความหนาแน่นของทางสัญจร โดยเฉพาะ ถนนถนบางนา-ตราด ซึ่งเป็นถนนที่มีความสำคัญอย่างมาก ในแง่ของการเป็นถนนเศรษฐกิจที่มุ่งสู่เส้นทาง EEC ที่เชื่อมต่อ ไปยังพื้นที่ส่วนต่อขยายเมืองและแน่นไปด้วยการขยายตัวของ ประชากร แม้จะมีโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่เพื่ออำนวยความ สะดวกตลอดสาย แต่ก็ถูกทิ้งให้เป็นเพียงโครงสร้างแข็ง ที่มีไว้เพื่อการสัญจรเท่านั้น รวมไปถึงการออกแบบที่ละเลย การใช้งานของมนุษย์และธรรมชาติการออกแบบภายใต้หัวข้อ Green Infrastructure Green City นี้ จึงเป็นการออกแบบ ด้วยแนวคิด "Greensystematic" เป็นการออกแบบเพื่อแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมให้ ภูมิทัศน์เมืองมีความน่อยู่มากยิ่งขึ้น โดยการออกแบบนี้ มุ่งน้นให้เป็นเครือข่ายระบบเขียว โตยจะเป็นการทำให้พื้นที่ที่ มีปัญหา กลายเป็นพื้นที่เชื่อมต่อของธรรมชาติและ มนุษย์ด้วยรูปแบบของต้นไม่ใหญ่ และมีพื้นที่เชื่อมต่อสีเขียว ให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศสามารถเดินทางจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีก พื้นที่หนึ่งได้อย่างปลอดภัย สัตว์ในเมืองมีพื้นที่หลบภัยและอยู่ อาศัย รวมไปถึงการออกแบบให้เกิดการเชื่อมต่อทั้งแนวตั้งและ แนวนอนอย่างเป็นระบบ อกแบบให้เกิดความยั่งยืนด้วยการใช้ ระบบรดน้ำที่พึ่งพาธรรมชาติ และใช้วัสดุจากขยะรีไซเคิล

41


GREEN SYSTEMATIC

42


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

06 43

OTHERS

FLOW SPACE GREEN SYSTEMATIC TUK TUK DISTANCING


TUK TUK DISTANCING

44


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

OTHERS PROJECT

07 45

HAND SKETCH INTERNATIONAL WORKSHOP AUTO CAD WORK SKETCH DESIGN WORK


HAND SKETCHING

07

HAND SKETCH

46


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

07

INTERNATIONAL WORKSHOP

INTERNATIONAL WORKSHOP

47


IWUL WORKSHOP

48


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

07

AUTO CAD WORK 1

2

3

4

5

6

7 96000

8.00

8.00

8.00

8.00

8.00

8.00

8.00

A 2.10

ห้องน้ำผู้พิการ +39.20

ห้องน้ำ +39.30

บริการนวดแผนไทย +39.30

6.00

A.2

UP

FFL +39.20

DN

B แปลงปลูกผัก SLOPE 1:200

SLOPE

ทางเดิน

ทางเดินหลัก +39.20 TOC +39.30 TOC +39.30 BOC+39.20 BOC+39.20

Slope 1:1

11

แปลงปลูกผัก +40.20

SLOPE 1:200

+40.65

SLOPE

LD-07 DN.

36

C

Slope 1:12 ดูแบบขยายทางลาด

Healing land +40.70

+41.15 ทางเดินหลัก +39.20

+40.20

Slope 1:12

+40.70

Slope 1:12

+41.20

+41.45

+41.70

Slope 1:12

+41.65

10

Slope 1:12

Healing landscape +41.70

Pool deck

+41.65 +41.05

ศาลาโยคะ +41.80

Jacuzzi WL+41.60 BL+40.70

+42.10

10

+41.05 +40.95

สระว่ายน้ำเด็ก WL+41.10 BL+40.80 ม่านน้ำตก WL+41.20 BL+41.10

Healing landscape +41.70

A

+41.70

Slope 1:12 LS-01

+41.20

Outdoor shower +41.60

Slope 1:12

+42.20

Pool deck

ดูแบบขยาย Drainage

LD-04

+41.65

Healing landscape +41.70

+41.70

+41.20

D

SLOPE 1:200

SLOPE 1:200

SLOPE 1:200

Slope 1:12

Water feature +41.05

Water feature +41.05

สระว่ายน้ำ Lap pool WL+41.60 BL+40.40 +41.70

E

LD-06

ดูแบบขยาย Water Feature

B

LS-02 LD-08-17

ดูแ

BASE N

1 1

2

3

4

5

6

7

8

SCALE

2

3

4

5

9

96000

8.00 8.00

8.00

8.00

ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานโครงที่ โครงการ

สวนหลังคา

SLOPE

SLOPE 1:200

ทางเดินหลัก +39.20

1 Nos. ทางเดินหลัก +39.20

TOC +39.30 TOC +39.30 BOC+39.20 BOC+39.20

3+39.70 Nos. Michelia alba

Slope 1:12

SLOPE

C

Slope 1:12

+40.20

Slope 1:12

+41.15 +41.20

Slope 1:12

Jacuzzi WL+41.60 BL+40.70

SLOPE 1:200

SLOPE 1:200

SLOPE 1:200

10

ดูแบบค้ำยันและการปลูกที่ LA-105

Healing landscape +41.70

Pool deck

ศาลาโยคะ +41.80

+41.65 +41.05

Citharexylum spinosum

+41.20

+41.20 Outdoor shower +41.20

+41.05 3 Nos. +40.95 Ptychosperma macarthurii

10

Water feature +41.05

TOC +3 BOC+3

TOC +39.30 TOC +39.30 BOC+39.20 BOC+39.20

LP +39.10

RE +39.10 IE+38.80

LP +39.10

DN.

วิศวกรไฟฟ้า

RE +41.65 IE+41.35 TOW +42.60 BOW+41.20 RE +41.65 IE+41.35

มัณฑนากร

ศาลานั่งเล่น +41.30

สระว่ายน้ำ Lap pool WL+41.60 BL+40.40

ทางเดินหลัก +39.20

+40.20

TOC +40.30 RE +41.65 BOC+40.20 IE+41.35

+41.20

ศาลาโยคะ +41.80

Jacuzzi WL+41.60 BL+40.70 +42.20

Slope 1:12

TOC +41.80 TOC +41.80 BOC+41.70 BOC+41.70 Healing landscape +41.70

D

วิศวกรเครื่องกล

HP +41.70 TOC +41.80 BOC+41.70 +41.65 TOC +41.80 +41.05 BOC+41.70 TOC +41.80 BOC+40.40

Slope 1:12

+4 Slope 1:12 TOC +40.80 BOC+40.70RE +41.65 IE+41.35

+40.70

TOC +41.80 BOC+41.70

Pool deck

He

+41.70

TOC +41.80 BOC+41.70 TOC +41.80 BOC+40.40

Slope 1:12

แก้ไข

วันที่ รายละเอียด

Healing landscape TOC +41.80 +41.70 BOC+40.40

ตรวจ

TOW +42.60 BOW+41.20 RE +39.10 IE+38.80

+41.30

E

TOC +39.30 BOC+39.20

HP +41.70

สถาปนิก

Water feature +41.05

+41.70

TOC +39.30 BOC+39.20

TOC +39.30 BOC+39.20 TOC +39.30 TOC +39.30 BOC+39.20 BOC+39.20

Slope 1:12

ม่านน้ำตก WL+41.20 BL+41.10

ห้องเครื่องสระ +41.20

LA-110

สระว่ายน้ำเด็ก WL+41.10 BL+40.80

Slope 1:12

+40.70

Pool deck

+41.70

3 Nos. Cerbera odollam

วิศวกรสุขาภิบาล

Slope 1:12

Slope 1:12 1 Nos.

+41.65

TOC +39.30 BOC+39.20 RE +39.10 IE+38.80

DN

HP +39.20

+41.15

Outdoor shower +41.60

Slope 1:12

2 Nos. Ptychosper mamacarthurii 1 Nos. landscape Citharexylum spinosum Healing +41.70

+41.65

+42.10

Healing landscape +41.70

+41.70

+41.20

D

1 Nos. Dolichandrome serrulata

+41.45

+41.70

1 Nos. Citharexylum spinosum

3 Nos. Citharexylum spinosum

Healing landscape +40.70

TOC +39.30 BOC+39.20

TOC +39.30 BOC+39.20

TOC +39.30 BOC+39.20

วิศวกรโครงสร้าง

+41.15

TOC +39.30 BOC+39.20

TOC +39.30 BOC+39.20

TOC +39.30 BOC+39.20

HP +39.20

+40.70 +40.70

36

ทางเดินหลัก +39.20

1 Nos. Dolichandrome serrulata 1 Nos. Plumeria obtusa

1 Nos. Plumeria obtusa 1 Nos. Slope 1:12 +40.70 Cerbera odollam

แปลงปลูกผัก

SLOPE

SLOPE 1:200

Slope 1:12

TOC +39.30 BOC+39.20

นางสาวชญานิศ วงศ์พิพัฒน์ 6134405025 ภส.405

+41.15

3 Nos. Plumeria obtusa

DN.

SLOPE 1:200

4 Nos. Citharexylum spinosum+40.65

1 Nos. Dolichandrome serrulata

TOC +39.30 BOC+39.20 HP +39.20

แปลงปลูกผัก

วันที่

ภูมิสถาปนิก

+40.65

Healing landscape +40.20

+40.20

1 Nos. Cerbera odollam 2 Nos. Plumeria obtusa

อนุมัติ ผู้ควบคุมโครงการ

Slope 1:12

+40.65

SLOPE 1:200

11

แปลงปลูกผัก

+42.20

ทางเชื่อม +39.20

Plumeria obtusa

SLOPE

แปลงปลูกผัก

UP

TOC +39.30 BOC+39.20

B

เจ้าของ

2 Nos. Citharexylum spinosum 1 Nos. Plumeria obtusa

บริการนวดแผนไทย +39.30 FFL +39.20

11

B

ห้องน้ำผู้พิการ +39.20

6.00

สถานที่

DN

RE +39.10 IE+38.80

LP +39.10

LP +39.10

ห้องน้ำ +39.30

A.2

อาคารอุปการเวชกิจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

FFL +39.20

C

RE +39.10 IE+38.80

10

6.00

บริการนวดแผนไทย +39.30 UP

8.00

36

ห้องน้ำ +39.30

8.00

A

10

2.10

ห้องน้ำผู้พิการ +39.20

2.10

A A.2

8.00

8.00

SLOPE 1:200

8.00

SLOPE 1:200

8.00

SLOPE 1:200

8.00

SLOPE 1:200

8.00

E

แบบแสดง

TOC +41.80 BOC+40.40

TOC +41.80 TOC +41.80 BOC+41.70 BOC+40.40

TOC +41.80 BOC+40.40

TOC +41.80 BOC+40.40 LP +39.10

สระว่ายน้ำ Lap pool WL+41.60 BL+40.40 LP +39.10

ผังพื้น

49

TREE PLAN

แผ่นที่

SCALE

ตรวจ มาตราส่วน BY DRAWING

1:150

LP-01

รวม

รายการประกอบแบบ สัญลักษณ์

15/40 RE IE HP LP

รายละเอียด Area drain in planter Slope direction 1:200 Open gutter Rim elevation Invert elevation High point Low point

สัญลักษณ์ TOC BOC TOW BOW

รายละเอียด Top of curb Bottom of curb Tow of wall Bottom of wall

N

LEVE SCALE


AUTOCAD DRAWING

B

102 LA-

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

+40.65

วิศวกรโครงสร้าง วิศวกรสุขาภิบาล

3 3

FFL +1.40

3

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

นางสาวชญานิศ วงศ์พิพัฒน์ ภส.405

วิศวกรไฟฟ้า

รายการประกอบแบบ

+1.55

สัญลักษณ์

FFL +1.10 +1.75 +1.75

1

1 +1.90

3

FFL +1.75

วันที่

2

1

SLOPE 1:200

PLAN

1 LA-101

scale 1:100

มัณฑนากร วิศวกรเครื่องกล สถาปนิก แก้ไข

ครั้งที่ วันที่ รายละเอียด

ตรวจ

โครงการ

รวม

โครงการ

1/25

LA-101

ตรวจ มาตราส่วน BY DRAWING

นางสาวชญานิศ วงศ์พิพัฒน์ 6134405025 ภส.405

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

+41.15

รายละเอียด แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ พื้นไม้เทียมขนาด 1"x4" ตีเว้นร่อง ทาเคลือบกันซึม แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ

3

2

ภูมิสถาปนิก

+40.65

Healing landscape +40.20

ภูมิสถาปนิก

+0.20 +0.38 +0.56 +0.74 +0.92 +1.10

ผู้ควบคุมโครงการ

Slope 1:12

วันที่

อนุมัติ ผู้ควบคุมโครงการ

3

+39.70

12

เจ้าของ

1

1

แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ

พื้นไม้เทียมขนาด 1"x4" ตีเว้นร่อง ทาเคลือบกันซึม

อนุมัติ

ทางเชื่อม +39.20

A-102

เจ้าของ

+1.10

สถานที่

3

สถานที่

ดูแบบขยาย MATERIAL JOINT

LD-03

AREA DRAIN RE +0.00 IE +0.30 FFL +0.00 WL +1.20 BL +0.00

LA

อาคารอุปการเวชกิจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

1

3

3

+0.38 +0.56 +0.74 +0.92

FFL +1.70

+0.38

งานโครงที่ โครงการ

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

สวนหลังคา

นหลัก +39.20

+40.70 +40.70

วิศวกรโครงสร้าง

+41.15

5

วิศวกรสุขาภิบาล

SLOPE 1:200

+41.15

Slope 1:12

2.40 ม.

วิศวกรไฟฟ้า

+40.70

+41.20 Outdoor shower +41.20 ดูแบบขยาย Swimming Pool

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

มัณฑนากร

ห้องเครื่องสระ +41.20

แก้ไข

วันที่ รายละเอียด

+41.30

ตรวจ

+41.30

แบบแสดง

ผังพื้น

0.02 ม.

B

LA-103

TYPICAL SECTION

scale 1:25

ทรายหยาบบดละเอียด หนา 5 ซม. ท่อระบายน้ำ ยาแนวกันซึม แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ

0.02 ม. 0.12 ม. 0.08 ม. 0.16 ม.

รวม

IE +0.90

0.60 ม.

วิศวกรเครื่องกล สถาปนิก ครั้งที่ วันที่ รายละเอียด

B

LA-103

ตรวจ

โครงการ

โครงสร้างตามแบบวิศวกรรม

. . 5ม 0ม 0.1 0.40 ม. 0.3

1.00 ม.

วิศวกรไฟฟ้า

แก้ไข

น้ำระบายสู่ถังพักน้ำ

1.00 ม.

วิศวกรโครงสร้าง

มัณฑนากร

น้ำระบายสู่ถังพักน้ำ แผ่น Geotextile ท่อระบายน้ำ

+0.38

+0.20

BL +0.00 RE +0.00

นางสาวชญานิศ วงศ์พิพัฒน์ ภส.405

วิศวกรสุขาภิบาล

แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ Gutter ขนาด 0.30 x 0.30 ม. แผ่นกันซึม ท่อระบายน้ำ

SLOPE 1:200 FFL +1.40

WL +1.20

1.00 ม.

2/40

TYPICAL SECTION

scale 1:25

รวม

โครงการ

3/25

LA-103

ตรวจ มาตราส่วน BY DRAWING

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

LA-02

วันที่

ภูมิสถาปนิก

IE -0.30

E PLAN

สถานที่ เจ้าของ อนุมัติ

0.02 ม.

แผ่นที่

งานโครงที่ โครงการ

ผู้ควบคุมโครงการ

0.9 ม.

ดูแบบขยาย ศาลา

ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสร้างตามแบบวิศวกรรม ทรายหยาบบดละเอียด หนา 5 ซม. +0.92 ดินเดิมบดอัดแน่น +0.74 +0.56 +0.38 +0.20

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

สถาปนิก ศาลานั่งเล่น

WL +1.20 +1.10

0.9 ม.

วิศวกรเครื่องกล

LD-02

1.00 ม. 0.60 ม. 2.15 ม. แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ

SLOPE 1:200 FFL +1.40

0.02 ม. 0.38 ม.

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

dscape

ตรวจ มาตราส่วน BY DRAWING

1:150

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

6

7

8

8.00

. . 2ม ม 0.00.15 0.50 ม.

9

96000 8.00

8.00

2.40 ม.

8.00

ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานโครงที่ โครงการ

สวนหลังคา

อาคารอุปการเวชกิจ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

วันที่

TOW +42.60 BOW+39.20

ealing landscape +41.70

SLOPE 1:200

Slope 1:12

RE +41.65 TOW +42.60 IE+41.35 BOW+41.20

TOW +42.60 BOW+39.20

Healing landscape +40.70

+41.15

TOC +41.80 BOC+41.70 Outdoor shower TOC +41.80 +41.60 BOC+40.40 +41.70 TOC +41.30 TOC +41.80 BOC+41.20 BOC+40.40

+41.65

ม่านน้ำตก WL+41.20 BL+41.10

TOC +41.30 BOC+41.20

+41.15

Pool deck

+41.20 HP +41.20

RE +41.00 IE+40.70 TOW +42.10 BOW+40.70

วิศวกรสุขาภิบาล

TOW +42.10 BOW+40.70

Slope 1:12

TOW +41.10 BOW+39.20

TOW +42.10 BOW+40.70

TOC +41.30 BOC+41.20 +41.20 Outdoor shower +41.20

วิศวกรไฟฟ้า

+40.70

ห้องเครื่องสระ +41.20

TOC +41.30 BOC+41.20 TOW +44.20 BOW+41.20

Water feature +41.05

วิศวกรโครงสร้าง

TOC +41.10 BOC+40.70

+41.15

+41.05 +40.95

สระว่ายน้ำเด็ก WL+41.10 BL+40.80

TOC +41.10 BOC+40.70

HP +40.70

TOC +41.30 BOC+41.20

+41.65

+40.70 +40.70

RE +41.00 IE+40.70 TOW +42.10 TOW +42.10 Slope 1:12BOW+41.20 BOW+41.20

TOW +42.60 TOC +41.30 +42.10 BOW+41.20 BOC+41.20

TOC +41.80 +41.70 BOC+40.40

Slope 1:12

+41.45

+41.70

BOW+39.20

RE +39.10 IE+38.80 TOW +41.10 RE +39.10 BOW+39.20 IE+38.80

SLOPE 1:200

LP +39.10

นางสาวชญานิศ วงศ์พิพัฒน์ 6134405025 ภส.405 TOW +41.10

+41.15

วิศวกรเครื่องกล

TOW +44.20 RE +41.15 BOW+41.20 IE+40.85 TOC +41.30 TOC +41.30 BOC+41.20 BOC+39.20

สถาปนิก

Water feature +41.05 HP +41.20

มัณฑนากร

แก้ไข

ศาลานั่งเล่น

วันที่ รายละเอียด

+41.30

TOC +41.30 BOC+41.20

ตรวจ

RE +41.15 IE+40.85 TOC +41.30 TOC +41.30 BOC+41.20 BOC+39.20

+41.30 LP +39.10

RE +39.10 IE+38.80

EL AND DRAINAGE PLAN 1:150

0.02 ม.

1.55 ม. ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

งานโครงที่ โครงการ สถานที่ เจ้าของ อนุมัติ

วันที่

ผู้ควบคุมโครงการ ภูมิสถาปนิก นางสาวชญานิศ วงศ์พิพัฒน์ ภส.405

A

TYPICAL SECTION

วิศวกรโครงสร้าง

scale 1:25

วิศวกรสุขาภิบาล

LA-102 0.60 ม.

0.60 ม.

2.80 ม.

0.12 ม.

วิศวกรไฟฟ้า

WL +1.20

มัณฑนากร

ท่อระบายน้ำ ยาแนวกันซึม แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ 0.02 ม. ม. 0.20 0.02 ม.

+BL +0.00 RE +0.00

วิศวกรเครื่องกล สถาปนิก แก้ไข

+0.20

โครงสร้างตามแบบวิศวกรรม

ครั้งที่ วันที่ รายละเอียด

ตรวจ

น้ำระบายสู่ถังพักน้ำ

IE -0.30

โครงการ

แบบแสดง

ผังระดับ

A แผ่นที่

LA-04

รวม

4/40

ตรวจ มาตราส่วน BY DRAWING

TYPICAL SECTION

LA-102

scale 1:25

โครงการ

LA-102

รวม

2/25

ตรวจ มาตราส่วน BY DRAWING

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

SLOPE 1:200

ภูมิสถาปนิก

+40.65

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

อนุมัติ

ผู้ควบคุมโครงการ

IE +0.90 น้ำระบายสู่ถังพักน้ำ

0.9 ม.

1.50 ม.

แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ Gutter ขนาด 0.30 x 0.30 ม. แผ่นกันซึม WL +1.20 แผ่น Durazzo สี Arctic White หนา 2 ซม. ขัดเรียบ ท่อระบายน้ำ คอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสร้างตามแบบวิศวกรรม +1.10 ทรายหยาบบดละเอียด หนา 5 ซม. +0.92 ดินเดิมบดอัดแน่น +0.74 +0.56 โครงสร้างตามแบบวิศวกรรม +0.38 +0.20 +BL +0.00

PRODUCED BY AN AUTODESK STUDENT VERSION

LP +39.10

เจ้าของ

TOC +39.30 TOC +39.30 TOC +39.30 TOC +39.30 TOC +39.30 TOC +39.30 TOC +39.30 BOC+39.20 BOC+39.20 BOC+39.20 BOC+39.20 BOC+39.20 BOC+39.20 BOC+39.20 TOC +39.30 TOC +39.30 TOW +41.10 ทางเชื่อม ทางเดินหลัก +39.20 TOW +41.10 BOC+39.20 BOC+39.20 BOW+39.20 +39.20 BOW+39.20 RE +39.10 TOW +41.10 IE+38.80 +39.70 TOC +39.30 Slope 1:12 Slope 1:12 BOW+39.20 BOC+39.20 RE +39.10 IE+38.80 +40.65 +40.65 HP +39.70 Healing landscape +40.20 +40.20

SLOPE 1:200 FFL +1.40

0.02 ม. 0.12 ม. 0.08 ม. 0.16 ม.

สถานที่

39.30 TOC +39.30 39.20 BOC+39.20 ทางเดินหลัก +39.20

41.20

+0.20

8.00

งานโครงที่ โครงการ

FFL +1.40

3

1

ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1

3

9

ภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

FFL +1.10

1

FFL +1.40

8

50


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

07

51

SKETCH DESIGN


QUICK SKETCH DESIGN

4 HRS SKETCH DESIGN IN CLASS

52


CHAYANICH VONGPIPAT l PORTFOLIO 2022

53


SANTIYAKORN GARDEN

THANK YOU

54


CHAYANICH VONGPIPAT (BAITOEY) BANGKOK, THAILAND CHAYANICH.V@GMAIL.COM (+66) 62-317-5775


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.