รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 1

Page 1

Tourism Digital Economy

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

01


สารบัญ 03 05 08 22 24 26 32 38

บทบรรณาธิการ สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย ไตรมาสที่ 3/2558 แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว ไตรมาสที่ 4/2558 และปี 2559 ความสำ�คัญของการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจ ของประเทศ การบริหารจัดการความเสี่ยง.. ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย Tourism Digital Economy ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว

08

26

32

ฉบับที่ 1

กรกฎาคม - กันยายน 2558 คณะที่ปรึกษา: นายพงษ์ภาณุ เศวตรุณห์ ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นางสาววรรณสิริ โมรากุล รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นายนเร เหล่าวิชยา รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา บรรณาธิการอำ�นวยการ: นางสาววรรณสิริ โมรากุล รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา บรรณาธิการบริหาร: นายอารัญ บุญชัย ผู้อำ�นวยการสำ�นักเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กองบรรณาธิการ: นายอนันต์ วงศ์เบญจรัตน์ นายมงคล วิมลรัตน์ นางสาวเบญจรัตน์ มรรยาทอ่อน นางสาวโสภา จำ�นงค์รัศมี นางสาววัสยา ลิ้มธรรมมหิศร นายธเนศ ศุภรสหัสรังสี นายอิทธิฤทธิ์ กิ่งเล็ก นางสาวจิราวดี อ่อนวงศ์ นายอภิศักดิ์ เชี้ยวบางยาง จัดทำ�โดย: สำ�นักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เลขที่ 4 ถนนราชดำ�เนินนอก แขวงวัดโสมมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพฯ 10100


บทบรรณาธิการ

บทบรรณาธิการ ยินดีตอ้ นรับทุกท่านเข้าสูฉ่ บับปฐมฤกษ์ของรายงานภาวะเศรษฐกิจ การท่องเที่ยวของประเทศไทย ซึ่งเป็นความริเริ่มและความตั้งใจ ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาที่มองเห็นถึงความจำ�เป็น ในการนำ�เสนอสถิติ ข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับ ภาวะเศรษฐกิจการท่องเที่ยวทั้งของไทยและของต่างประเทศ (รายไตรมาส) แก่ผทู้ สี่ นใจทัง้ ในวงการท่องเทีย่ วและบุคคลภายนอก ได้รับรู้และเข้าใจเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ด้านการท่องเที่ยว ที่เป็นปัจจุบัน องค์ประกอบของรายงานแต่ละฉบับเริม่ ด้วยการรายงานสถานการณ์ การท่ อ งเที่ ย วโลกในไตรมาสปั จ จุ บั น จากข้ อ มู ล ขององค์ กร ด้านการท่องเที่ยวระหว่างประเทศที่เชื่อถือได้ พร้อมประเด็นร้อน ด้านการท่องเทีย่ วของโลกในแต่ละช่วงเวลา ตามมาด้วยสถานการณ์ การท่องเทีย่ วไทยทีน่ �ำ เสนอในรูปแบบข้อมูล สถิติ และบทวิเคราะห์ ถึงการเดินทางเข้าออกประเทศของนักท่องเที่ยวต่างชาติ ในช่วง ไตรมาสที่ 3 ของปี 2558 (กรกฎาคม - กั น ยายน 2558) การคาดการณ์จำ�นวนนักท่องเที่ยวที่จะเกิดขึ้นในไตรมาสต่อไป พร้อมตัวเลขการเปลีย่ นแปลงตัวชีว้ ดั เศรษฐกิจการท่องเทีย่ วทีส่ �ำ คัญ เพื่อแสดงให้เห็นถึงทิศทางท่องเที่ยวในประเทศไทย นอกจากนั้น ยั ง มี ข้ อ มู ล พร้ อ มการวิ เ คราะห์ ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ของการท่องเที่ยวที่มีต่อเศรษฐกิจมหภาคของประเทศทั้งในรูป ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติด้านการท่องเที่ยว (TGDP) และการจ้างงาน ที่มาจากบัญชีประชาชาติด้านการท่องเที่ยว (Tourism Satellite Account: TSA) เพื่อประโยชน์ในเชิงนโยบาย สุ ด ท้ า ยที่ มี ความสำ � คั ญ ไม่ แ พ้ กั น คื อ การนำ � เสนอบทความ ด้านการท่องเที่ยวที่น่าสนใจฉบับละ 2 บทความ โดยฉบับแรก นี้เป็นเรื่องที่รัฐบาลชุดปัจจุบันให้ความสำ�คัญในลำ�ดับต้นๆ คือ เศรษฐกิจดิจิตอลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว (Tourism Digital Economy) และการบริหารจัดการความเสีย่ งของอุตสาหกรรม การท่องเทีย่ วไทยเพือ่ ให้ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับความเสีย่ งต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการท่องเทีย่ วพร้อมข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำ�หรับ การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพทั้งภาครัฐและเอกชน

TOURISM DIGITAL ECONOMY กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานภาวะ เศรษฐกิจท่องเทีย่ วจะเป็นประโยชน์กบั ผูส้ นใจทุกท่าน หากมีขอ้ ติชม ประการใด ทีมบรรณาธิการยินดีและพร้อมที่จะรับฟังเพื่อนำ�ไป ปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความสมบูรณ์มากขึ้น

สำ�นักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

03


Tourism Digital Economy

การท่องเทีย่ วยังคงมีความสำ�คัญต่อเศรษฐกิจโลก และมีการ ขยายตัวอย่างต่อเนือ่ ง

โดยมีการขยายตัวของ GDP ด้านการท่องเที่ยวโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 มีส่วนแบ่ง ทางเศรษฐกิจสูงถึง 7.8 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 3.5 ของ GDP โลก และก่อให้เกิดการจ้างงานถึง 284 ล้านคนทัว่ โลก โดยภูมภิ าคต่างๆ มีจ�ำ นวนนักท่องเทีย่ ว เพิ่มขึ้นยกเว้นทวีปแอฟริกาที่มีจำ�นวนนักท่องเที่ยวติดลบร้อยละ 5 จีนยังคงเป็นประเทศ ทีม่ นี กั ท่องเทีย่ วเดินทางไปเทีย่ วประเทศอืน่ สูงสุด เช่นเดียวกับอินเดีย แอฟริกาใต้ และอียปิ ต์ ตรงกันข้ามกับรัสเซียและบราซิล ทีก่ ารใช้จา่ ยด้านการท่องเทีย่ วลดลงจากภาวะเศรษฐกิจ และค่าเงินที่ลดค่าลงอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งส่งผลต่อจำ�นวนนักท่องเที่ยวรัสเซียในไทย ที่ลดลงตั้งแต่ต้นปีเฉลี่ยร้อยละ 30 ต่อเดือน

การท่องเทีย่ วมีความสำ�คัญต่อเศรษฐกิจไทย

ไตรมาสที่ 3 ปี 2558 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเติบโตในอัตราค่อนข้างสูง มูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมทางตรงทางการท่องเทีย่ ว (Tourism Direct GDP : TDGDP) ประมาณ ร้อยละ 5.45 เมื่อเทียบกับ GDP รวมของประเทศ สัดส่วนดังกล่าวนี้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นมา โดยลำ�ดับ และก่อให้เกิดการจ้างงานในไตรมาสนีป้ ระมาณ 4.45 ล้านคน หรือร้อยละ 11.64 ของการจ้างงานของประเทศโดยรวม และดุลการท่องเที่ยวเกินดุลถึง 284.22 ล้านบาท

สถานการณ์การท่องเที่ยวของไทยในไตรมาส 3 ยังคงเติบโต

ด้วยจำ�นวนนักท่องเทีย่ ว 7.27 ล้านคน เพิม่ ขึน้ จากไตรมาสเดียวกันของปีทแี่ ล้วร้อยละ 24.34 โดยร้อยละ 70.07 เป็นนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจีนเพียง ประเทศเดียวมีนักท่องเที่ยวมาไทย 2.1 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 28.99 ของนักท่องเที่ยว ทัง้ หมดของไตรมาสนี้ รายได้จากการท่องเทีย่ วในไตรมาสนีม้ ปี ระมาณ 357.05 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจากไตรมาสเดียวกันของปีที่แล้วร้อยละ 33.06 โแต่การขยายตัวของจำ�นวน นักท่องเทีย่ วและรายได้จากการท่องเทีย่ วไตรมาสนีข้ ยายตัวในอัตราทีต่ �ำ่ กว่าไตรมาสทีผ่ า่ นมา

คาดการณ์จำ�นวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาไทย ในไตรมาส 4 และทัง้ ปี 2558 จนถึงปีหน้าเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง

โดยมีจำ�นวน 7.7 ล้านคนในไตรมาส 4 ทำ�ให้มีจำ�นวนนักท่องเที่ยวทั้งปี 2558 ประมาณ 29.8 ล้านคน ก่อให้เกิดรายได้ 1.42 ล้านล้านบาท และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจนถึง ปี 2559 เป็น 32 ล้านคน คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 8

04

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก

สถานการณ์ การท่องเที่ยวโลก

จำ�นวนนักท่องเที่ยวโลกยังคงขยายตัวอย่าง ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ผลพวงจากการฟื้ น ตั ว ของ เศรษฐกิจยุโรปและความผันผวนของค่าเงิน ในสกุลต่างๆ

ข้อมูลจากรายงานของ UNWTO World Tourism Barometer ระบุวา่ ตัง้ แต่ตน้ ปีมาจนถึงเดือนสิงหาคม 2558 จำ�นวนนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทาง ระหว่างประเทศยังคงเติบโตอย่างต่อเนือ่ ง ในอัตราร้อยละ 4 ต่อปี โดยมีจำ�นวนทั้ง สิ้น 810 ล้านคน มากกว่าช่วงเวลาเดียวกัน ในปีท่ผี ่านมา 33 ล้านคน ซึ่งมาจากการฟื้นตัวอย่างต่อเนื่องของ เศรษฐกิจยุโรปตั้งแต่ช่วงต้นปีและค่าเงินยูโรที่อ่อนค่าลงส่งผลให้ จำ�นวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศในยุโรปเพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ประกอบกั บ จุ ด แข็ ง ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วของสหภาพยุ โ รปที่ มี แหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของนักท่องเที่ยวหลายแห่ง โดยเฉพาะ ประเทศสมาชิก EU ประเทศ จาก 44 ประเทศ และในทวีปยุโรป มีการขยายตัวของจำ�นวนนักท่องเทีย่ วสูงถึงร้อยละ 6 หรือมากกว่า ซึ่งเป็นการขยายตัวที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยโดยรวมของทั้งทวีป

การขยายตัวที่เกิดขึ้นเป็นผลพวงจากการแข็งค่าเงินสกุลดอลลาร์ สหรั ฐ ฯ ที่ กระตุ้ น ให้ มี ก ารเดิ น ทางออกนอกประเทศมากขึ้ น ตลาดนักท่องเที่ยวจีนยังคงครองอันดับหนึ่งด้วยการขยายตัวของ จำ�นวนนักท่องเที่ยวที่เดินทางออกนอกประเทศในอัตราที่เป็น ตัวเลขสองหลัก ส่งผลให้ญปี่ นุ่ ไทย สหรัฐอเมริกา และแหล่งท่องเทีย่ ว ในทวีปยุโรปหลายประเทศได้รับประโยชน์กันทั่วหน้า เช่นเดียวกับ ประเทศต่างๆ ทีเ่ ป็นตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) อย่างอินเดีย แอฟริกาใต้ และอียิปต์ ที่มีรายงานว่ามีการเติบโตของการใช้จ่าย ด้านการท่องเที่ยวในอัตราสูงที่เป็นตัวเลขสองหลักเช่นกัน รวมถึง ประเทศพัฒนาแล้วอย่างเช่น สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร ที่มีการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัด อันเนื่อง มาจากเศรษฐกิจที่ดีและค่าเงินที่แข็งค่าขึ้น ซึ่งเป็นไปในทิศทาง ตรงกันข้ามกับการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวของประเทศรัสเซีย และบราซิลที่ลดลงอย่างชัดเจน สะท้อนให้เห็นถึงข้อจำ�กัดทาง เศรษฐกิจใน 2 ตลาดนี้ ประกอบกับค่าเงินรูเบิลและเงินเรียล ที่ลดลงเมื่อเทียบกับค่าเงินสกุลอื่น

สำ�หรับจำ�นวนนักท่องเที่ยวของกลุ่มประเทศในภูมิภาคอื่นๆ ก็มี การขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ในอัตราที่เท่ากันคือร้อยละ 4 ยกเว้น ประเทศในทวีปแอฟริกาเท่านั้นที่จำ�นวนนักท่องเที่ยวระหว่าง ประเทศลดลงร้อยละ 5 โดยในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก ประเทศ ในกลุ่มโอเชียเนียอย่างออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ยังคงขยายตัว นำ�หน้าในอัตราร้อยละ 7 และตามมาด้วยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในอัตราร้อยละ 6 โดยเฉพาะประเทศไทยที่ขยายตัวในอัตราที่สูง จากเดิมที่หดตัวในปีก่อนหน้า สำ�หรับนักท่องเที่ยวในทวีปอเมริกา

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

05


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวยังคงมีความสำ�คัญ ต่อการเติบโตของเศรษฐกิจโลก และการจ้างงาน

World Travel & Tourism Council (WTTC) วิเคราะห์ผลกระทบ ทางเศรษฐกิ จ ของการเดิ น ทางและท่ อ งเที่ ย วโลกในปี 2558 จากข้อมูลทีม่ อี ยูจ่ นถึงปัจจุบนั สรุปได้วา่ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (GDP) ด้านการท่องเที่ยวและเดินทางของโลกคาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.5 ซึ่งสูงกว่าการขยายตัวของ GDP รวมของโลกที่คาดว่า จะเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2.5 โดยมีส่วนแบ่งทางเศรษฐกิจโลกมูลค่า ถึง 7.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 3.5 ของ GDP โลก และก่อให้เกิดการจ้างงานถึง 284 ล้านคนทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ตัวเลขการคาดการณ์ดงั กล่าวลดลงจากทีเ่ คยคาดการณ์ไว้เมือ่ ต้นปี 2558 ร้อยละ 0.2 เนือ่ งจากการคาดการณ์การเติบโตเศรษฐกิจโลกที ่ ลดลงจากร้อยละ 2.9 เป็นร้อยละ 2.5 อันเป็นผลจากราคาสินค้าตกต่�ำ ซึง่ กระทบไปยังอัตราแลกเปลีย่ นของประเทศหลักๆ อย่างเช่น บราซิล เยอรมัน และประเทศในทวีปแอฟริกา การลดลงของการใช้จ่าย ภายในประเทศและการลงทุนทางด้านการท่องเที่ยว ในขณะที่ จำ�นวนนักท่องเที่ยวยังคงเป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้แต่ต้นปี

World Total Travel & Tourism Growth 2015

Source : World travel & Tourism Council (WTTC). Economic Impact of Travel & Tourism 2015. Autumn Update. Nov. 2015

วิ กฤติ การณ์ ด้านเศรษฐกิ จในรั ส เซี ยส่ งผล กระทบต่อการท่องเทีย่ วของไทย

ความขั ด แย้ ง ระหว่ า งรั ส เซี ย กั บ นาโตบานปลายเมื่ อ รั ส เซี ย ส่งกองกำ�ลังเข้าควบคุมไครเมีย อันเป็นส่วนหนึง่ ของประเทศยูเครน และผนวกไครเมียเข้าเป็นส่วนหนึง่ ของประเทศ ฝ่ายนาโตคว่�ำ บาตร เอเชียใต้เป็นภูมิภาคที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจการท่องเที่ยว เศรษฐกิจการเมืองรัสเซียหลายระลอก แต่ส่วนใหญ่มีผลกระทบ สูงทีส่ ดุ ถึงร้อยละ 7.7 ซึง่ มาจากการขยายตัวของจำ�นวนนักท่องเทีย่ ว ในวงแคบ เนื่องจากสมาชิกนาโตส่วนหนึ่งมีพื้นที่ติดกับรัสเซีย และรายได้จากการท่องเทีย่ วทีส่ งู ขึน้ ของประเทศอินเดียซึง่ มีขนาด การคว่ำ�บาตรกระทบต่อทั้ง 2 ฝ่าย จึงทำ�ในขอบเขตจำ�กัด เศรษฐกิจการท่องเที่ยวใหญ่ที่สุดในภูมิภาค ผลกระทบต่อเศรษฐกิจรัสเซียมาจากเรือ่ งราคาน้�ำ มันดิบ เนือ่ งจาก Regions : Total Travel & Tourism GDP Growth 2015 เศรษฐกิจรัสเซียขึน้ กับการส่งออกน้�ำ มันกับก๊าซธรรมชาติ ในขณะที ่ ราคาน้�ำ มันดิบ West Texas Intermediate (WTI) อยูท่ ่ี115 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรลเมื่อเดือนมิถุนายน 2557 ก่อนปรับตัวลงอย่างต่อเนื่อง ลงไปที่ 45 ดอลลาร์สหรัฐฯ เมื่อมกราคม 2558 และจากต้นปี 2558 เป็นต้นมาจนถึงสิน้ ไตรมาสที่ 3 เคลือ่ นไหวอยูท่ รี่ ะดับ 40-50 ดอลลาร์สหรัฐฯ โดยเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของอุปทานเป็นหลัก ในขณะทีก่ ารบริโภคน้�ำ มันของโลกไม่ได้ลดลง และคาดว่าราคาน้�ำ มัน น่าจะทรงตัวในระดับต่ำ�อีกระยะหนึ่ง และอาจผันผวนครั้งคราว เศรษฐกิจรัสเซียขึน้ กับการส่งออกน้�ำ มันกับก๊าซธรรมชาติเป็นหลัก ความกังวลจากมาตรการคว่ำ�บาตรและราคาน้ำ�มันอ่อนตัวกระทบ ต่อค่าเงินรูเบิลอย่างรุนแรง โดยรวมแล้วรูเบิลอ่อนค่าราวร้อยละ 50 Source : World travel & Tourism Council (WTTC). Economic Impact เป็นเหตุผลทำ�ให้ชาวรัสเซียลดการท่องเที่ยวต่างประเทศ of Travel & Tourism 2015. Autumn Update. Nov. 2015 ข้อมูลอัตราการเปลี่ยนแปลงของนักท่องเที่ยวรัสเซีย ช่วงเดือน มกราคม - กันยายน 2558 ของกรมการท่องเทีย่ ว ให้ภาพอย่างชัดเจน ว่านับจากเดือนมกราคม 2558 เป็นต้นมา จำ�นวนนักท่องเที่ยว จากรัสเซียลดลงทุกเดือนกว่าร้อยละ 30 (สูงสุดคือเดือนมีนาคม ลดลงถึงร้อยละ 59.23) 06

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก

เหตุการณ์ระทึกขวัญในกรุงปารีสกับผลกระทบ ต่ออุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว

กรุงปารีสไม่เป็นเพียงเมืองหลวงที่เป็นศูนย์กลางทางวัฒนธรรม ด้านการเงินและการเมืองของประเทศฝรัง่ เศส แต่ยงั เป็นศูนย์กลาง ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวที่สร้างรายได้ให้กับประเทศถึงร้อยละ 8 ของรายได้รวม มีจ�ำ นวนนักท่องเทีย่ วกว่า 22 ล้านคนมาพำ�นักในปี 2557 เหตุการณ์การโจมตีของผูก้ อ่ การร้ายเมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน ทีผ่ า่ นมา ทำ�ให้มผี เู้ สียชีวติ 130 คน และได้รบั บาดเจ็บกว่า 300 คน ซึ่งส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวของประเทศฝรั่งเศส อย่างแน่นอน เหตุการณ์การก่อการร้ายของโลกไม่ได้เกิดขึ้นเป็นครั้งแรกที่นี่ แต่ทผี่ า่ นมา โลกเผชิญกับการโจมตีในลักษณะเดียวกันมาแล้วหลาย ครั้งกับเมืองที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญ อาทิ เหตุการณ์ โจมตี ตึกแฝดของประเทศสหรัฐอเมริกาในปี 2544 ระเบิดในกรุงมาดริก ประเทศสเปนในปี 2548 เช่นเดียวกับระเบิดในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเมือ่ ปี 2549 รวมทัง้ ระเบิดทีเ่ กิดขึน้ ในการวิง่ มาราธอน ในกรุงบอสตัน สหรัฐอเมริกาในปี 2556 ซึ่งนักท่องเที่ยวมอง การก่อการร้ายทีเ่ กิดขึน้ เหล่านัน้ เปรียบเสมือนหายนะทางธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว หรือน้ำ�ท่วม เป็นต้น แต่การโจมตีครั้งนี้หลาย ฝ่ายมองว่ามีความแตกต่างจากที่ผ่านมา เนื่องจากเป็นเหตุการณ์ ที่เกิดจากกลุ่มก่อการร้ายข้ามชาติที่มีเครือข่ายโยงใยถึงการสู้รบ ในตะวันออกกลางและมีความเข้มแข็งกว่าเดิม ซึง่ นักท่องเทีย่ วเอง ก็รบั รูไ้ ด้ถงึ ความรูส้ กึ ดังกล่าว และไม่เพียงต่อประเทศฝรัง่ เศสเท่านัน้ แต่ความรู้สึกหวั่นวิตกในการเดินทางท่องเที่ยวขยายวงกว้างไป สู่ประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป ผลกระทบที่มีต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวฝรั่งเศสที่เกิดขึ้นทันทีก็คือ ราคาหุ้นของธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางลดลง เช่น โรงแรม ในเครือ Accor ที่มีราคาหุ้นลดลงสูงสุดร้อยละ 5 หุ้นของโรงแรม InterContinental ลดลงร้อยละ 2 หุ้นของสายการบิน Air France ลดลงร้อยละ 5.7 และหุน้ ของ IAG ซึง่ เป็นบริษทั แม่ของสายการบิน British Airways และ Iberia ลดลงร้อยละ 3 รวมถึงธุรกิจการจองทีพ่ กั และการเดินทางระหว่างประเทศ อย่างเช่น OTA major Expedia ราคาหุ้นลดลงร้อยละ 5.5 Priceline ลดลงร้อยละ 4 สายการบิน Delta ลดลงร้อยละ 4.5 และโรงแรม Hilton ซึ่งราคาหุ้นลดลง มากที่สุดระหว่างโรงแรมด้วยกันคือ ร้อยละ 7.5 นอกจากนั้น ยั ง มี ก ารยกเลิ ก การเดิ น ทางผ่ า นตั ว แทนท่ อ งเที่ ย ว โรงแรม และสายการบินต่างๆ โดยเฉพาะสายการบิน Air France ที่เพิ่ง ออกมาประกาศตัวเลขความสูญเสียของรายได้ในเดือนพฤศจิกายน จากเหตุการณ์ดังกล่าวสูงถึง 54 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งผลกระทบ มากคือการเดินทางในประเทศเข้าออกกรุงปารีส

สำ�หรับผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย แต่ละปีมีนักท่องเที่ยว ชาวฝรัง่ เศสเดินทางเข้าประเทศไทยประมาณ 6 แสนคน อยูใ่ นอันดับ4 (ร้อยละ 2.55) ของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป โดยมีการขยายตัว อย่างต่อเนื่อง แม้ในปีที่ผ่านมาเศรษฐกิจยุโรปตกต่ำ�ทำ�ให้จำ�นวน นักท่องเที่ยวยุโรปที่เดินทางเข้าประเทศไทยลดลงร้อยละ 2.38 แต่ จำ�นวนนักท่องเที่ยวชาวฝรั่งเศสยังคงเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.38 ซึ่งเป็น 1 ในกลุม่ 6 ประเทศแถบยุโรปทีย่ งั มีจ�ำ นวนนักท่องเทีย่ วเพิม่ สูงขึน้ ในขณะที่อีก 11 ประเทศที่เ หลื อ มี จำ� นวนนั ก ท่ อ งเที่ย วลดลง ก่อให้เกิดรายได้จากนักท่องเทีย่ วฝรัง่ เศสแต่ละปีกว่า 40,000 ล้านบาท ซึ่ ง ในระยะสั้ น ส่ ง ผลกระทบทั น ที ท างจิ ตวิ ท ยาของผู้ ที่ วางแผน เดินทางท่องเทีย่ ว ทัง้ ผูเ้ ดินทางท่องเทีย่ วต่างชาตทีเ่ ดินทางมาไทย และคนไทยเดินทางออกนอกประเทศที่มีสูงถึง 1 แสนคนโดย ประมาณในแต่ละปี ในขณะเดียวกัน อาจจะส่งผลกระทบต่อการวางแผนเดินทางระยะยาว ของนักท่องเที่ยวตลาดยุโรป ประกอบกับข่าวหนังสือแจ้งเตือน จากหน่วยข่าวกรองรัสเซียว่ามีสมาชิกกลุ่ม ISIS จำ�นวน 10 คน เดินทางเข้ามาตามแหล่งท่องเทีย่ วของไทย อาทิ พัทยา ภูเก็ต และ กรุงเทพฯ จะยิ่งเป็นการซ้ำ�เติมต่อความเชื่อมั่นถึงความปลอดภัย ของนักท่องเที่ยวงทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติท่ีมีอยู่เดิมลดลงอีก ซึ่งภาคเอกชนไทยคาดว่าจะมีการยกเลิกการเดินทางในระยะยาว ไปถึงช่วงปีใหม่ที่ถือเป็น High season ด้านการท่องเที่ยวของไทย อย่างแน่นอน เพราะนักท่องเที่ยวยังไม่มั่นใจเรื่องความปลอดภัย กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แต่หลายฝ่ายยังคงเชื่อว่าจะฟื้นตัวกลับมา ได้หากรัฐบาลสร้างหลักประกันความเชื่อมั่นโดยดำ�เนินการตาม มาตรการที่กำ�หนดไว้อย่างเคร่งครัด อาทิ การตรวจสอบอย่าง เข้มงวดในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวของชาวต่างชาติและตรวจสอบ พื้นที่ที่มีคนจากประเทศต้องสงสัยเป็นกลุ่ม ISIS พักอาศัยอยู่ การประสานข้อมูลจากแหล่งข่าวทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทัง้ เพิม่ ความเข้มข้นในกระบวนการตรวจสอบคัดกรองผูท้ เ่ี ดินทาง เข้าประเทศไทย

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

07


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

สถานการณ์ การท่องเที่ยวไทย ไตรมาสที่ 3/2558 จำ�นวนนักท่องเที่ยวไตรมาสที่ 3/2558

ในไตรมาสที่ 3/2558 มีนักท่องเที่ยวจำ�นวน 7,274,428 คน (แผนภาพที่ 1) ส่วนใหญ่เป็นนักท่องเทีย่ วจากภูมภิ าคเอเชียตะวันออก และยุโรป ขณะที่นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื่นๆ มีสัดส่วนเฉลี่ย ภูมภิ าคละประมาณร้อยละ 3 เท่านัน้ โดยนักท่องเทีย่ วทีเ่ ดินทางมา มากทีส่ ดุ 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน มาเลเซีย และญีป่ นุ่ (แผนภาพที่ 2) สำ�หรับรายได้ด้านการท่องเที่ยวมีมูลค่า 357,050.76 ล้านบาท (แผนภาพที่ 1) ส่วนใหญ่เป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวภูมิภาค เอเชียตะวันออกและยุโรปขณะที่นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื่นๆ สร้างรายได้เฉลี่ยภูมิภาคละประมาณร้อยละ 4 และนักท่องเที่ยว ที่สร้างรายได้สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน มาเลเซีย และ ออสเตรเลีย (แผนภาพที่ 3) 08

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

แผนภาพที่ 1 แนวโน้มจำ�นวนและรายได้จากการท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

แผนภาพที่ 2 นักท่องเที่ยวที่มีจำ�นวนมากที่สุด 10 อันดับแรก ไตรมาสที่ 3 ปี 2558P

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

09


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

แผนภาพที่ 3 นักท่องเที่ยวที่สร้างรายได้มากที่สุด 10 อันดับแรก ไตรมาสที่ 3 ปี 2558

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

รายได้ขยายตัวร้อยละ 31.25 โดยภูมิภาคยุโรปปรับตัวดีขึ้น

การฟื้นตัวของการท่องเที่ยวในปีก่อนหน้ามีอิทธิพลต่อการเติบโตของรายได้ ในปีนี้ การชุมนุมในปีที่ผ่านมาส่งผลกระทบต่อนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรปมากกว่าเอเชียตะวันออก

รายได้จากการท่องเที่ยว

ไตรมาสที่ 3/2558 มีรายได้จากการท่องเทีย่ ว 357,050.76 ล้านบาท (แผนภาพที่ 4) ขยายตัวร้อยละ 33.06 จากร้อยละ 42.49 ในไตรมาส ที่แล้ว (แผนภาพที่ 5) โดยภูมิภาคเอเชียตะวันออกปรับตัวลดลง ขณะทีภ่ มู ภิ าคยุโรป และภูมภิ าคอืน่ ๆ ปรับตัวดีขนึ้ นอกจากนีย้ งั พบว่า จำ�นวนนักท่องเที่ยวและวันพักนักท่องเที่ยวมีอิทธิพลต่อรายได้ มากกว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ย (แผนภาพที่ 6) ภูมภิ าคเอเชียตะวันออก สร้างรายได้ 207,865.26 ล้านบาท (แผนภาพ ที่ 4) ขยายตัวร้อยละ 50.54 ปรับตัวลดลงจากทีข่ ยายตัวร้อยละ 85.89 ในไตรมาสที่แล้ว (แผนภาพที่ 5) จากการลดลงในเกือบทุกตลาด โดยเฉพาะตลาดหลัก เช่น จีน มาเลเซีย เกาหลี เป็นต้น โดยเป็น ผลจาก 2 ปัจจัย คือ การฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวในช่วงเวลา เดียวกันของปีก่อนจากที่หดตัวกว่าร้อยละ 12 ในช่วงครึ่งแรกของ ปี 2557 ทำ�ให้อัตราการขยายตัวของรายได้ของไตรมาสนี้ต�่ำ กว่า ไตรมาสก่อนหน้า นอกจากนี้ยังได้รับผลกระทบจากเหตุระเบิด บริเวณแยกราชประสงค์ ในเดือนสิงหาคมที่ส่งผลให้นักท่องเที่ยว เดือนกันยายนชะลอตัวลง 10

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

ภูมิภาคยุโรป สร้างรายได้ 76,960.74 ล้านบาท (แผนภาพที่ 4) ขยายตัวร้อยละ 10.21 ปรับตัวดีขนึ้ จากไตรมาสทีแ่ ล้ว (แผนภาพที่ 5) โดยปรับตัวดีขนึ้ ในเกือบทุกตลาด โดยเฉพาะ ฝรัง่ เศส เยอรมนี และ อังกฤษ เป็นต้น ยกเว้นรัสเซียที่ยังคงหดตัวต่อเนื่องจากไตรมาส ที่แล้ว จากปัญหาเศรษฐกิจภายในประเทศ ภูมิภาคอื่นๆ สร้างรายได้ 72,224.76 ล้านบาท (แผนภาพที่ 4) ขยายตัวร้อยละ 19.50 ดีขนึ้ เล็กน้อยจากไตรมาสทีแ่ ล้ว (แผนภาพที่ 5) จากการปรับตัวดีขึ้นของภูมิภาคอเมริกา ขณะที่ภูมิภาคอื่นๆ เช่น เอเชียใต้และโอเชียเนีย ปรับตัวลดลงจากทั้งระดับการใช้จ่าย ทีล่ ดลงและวันพักนักท่องเทีย่ วทีป่ รับตัวลดลง นอกจากนีค้ วามสนใจ ต่อแหล่งท่องเทีย่ วอืน่ เช่น ญีป่ นุ่ และเกาะบาหลีเป็นผลให้นกั ท่องเทีย่ ว ออสเตรเลียลดลง


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

แผนภาพที่ 4 รายได้จากนักท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

แผนภาพที่ 5 อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้จากนักท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

แผนภาพที่ 6 อัตราการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลด้านการท่องเที่ยวที่สำ�คัญ

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

11


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

จำ�นวนนักท่องเที่ยว

ไตรมาสที่ 3 / 2558 นักท่องเทีย่ วมีจ�ำ นวน 7,274,428 คน ขยายตัว ร้อยละ 24.34 ลดลงจากที่ขยายตัวร้อยละ 36.92 ในไตรมาสที่แล้ว (แผนภาพที่ 7 และ 8) ตามทิศทางของนักท่องเที่ยวภูมิภาค เอเชียตะวันออก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากเหตุการณ์ในปีก่อนหน้าและ เหตุระเบิดบริเวณแยกราชประสงค์ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา

ภูมภิ าคยุโรป มีจ�ำ นวน 1,071,722 คน (แผนภาพที่ 7) ขยายตัวร้อยละ 4.71 ปรับตัวดีขึ้นจากเดิมที่หดตัวร้อยละ 9.83 ในไตรมาสที่แล้ว (แผนภาพที่ 8) จากการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยวเกือบทุกตลาด โดยเฉพาะฝรั่งเศส เยอรมนี และอังกฤษ ซึ่งเป็นผลจาก 2 ปัจจัย คือ การหดตัวของนักท่องเทีย่ วในช่วงเวลาเดียวกันของปีกอ่ นหน้า และความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยว ขณะที่รัสเซียยังคง ภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีจำ�นวน 5,096,900 คน (แผนภาพที่ 7) หดตัวต่อเนื่อง ขยายตัวร้อยละ 32.34 จากทีข่ ยายตัวร้อยละ 60.50 ในไตรมาสทีแ่ ล้ว (แผนภาพที่ 8) จากการลดลงของนักท่องเที่ยวเกือบทุกประเทศ ภูมิภาคอื่นๆ มีจำ�นวน 1,105,806 คน (แผนภาพที่ 7) ขยายตัว จากเหตุระเบิดบริเวณแยกราชประสงค์ โดยเฉพาะจีน และฮ่องกง ร้อยละ 13.35 จากร้อยละ 8.54 ในไตรมาสที่แล้ว (แผนภาพที่ 8) ที่ ได้รับผลกระทบรุนแรง นอกจากนี้ ยังเป็นผลจากการฟื้นตัว จากความเชื่อมั่นที่เพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะภูมิภาค ของภาคการท่องเที่ยวในช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า ตะวันออกกลางที่ขยายตัวสูงในช่วงวันอีดอิดิ้ลฟิตริ

แผนภาพที่ 7 จำ�นวนนักท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

แผนภาพที่ 8 อัตราการเปลี่ยนแปลงของจำ�นวนนักท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

12

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

แผนภาพที่ 9 สัดส่วนจำ�นวนนักท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

เหตุระเบิดบริเวณแยกราชประสงค์มีผลให้นักท่องเที่ยวไตรมาสที่ 3 ขยายตัวลดลงจากไตรมาสก่อนหน้า นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกและยุโรป ผลกระทบจากการหดตัวในปีที่ผ่านมาเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำ�ให้นักท่องเที่ยวเติบโตสูง

ผลกระทบจากเหตุระเบิดบริเวณแยกราชประสงค์ ภายหลังเหตุ ระเบิดบริเวณแยกราชประสงค์ (17 ส.ค. 58) มีผลทำ�ให้จำ�นวน นักท่องเที่ยวเฉลี่ยรายวันลดลงถึงร้อยละ 33 ในเดือนถัดไป และ มีผลให้ในไตรมาสที่ 3 / 2558 นักท่องเที่ยวขยายตัวร้อยละ 24.34 โดยขยายตัวลดลงจากร้อยละ 36.92 ในไตรมาสก่อนหน้า (แผนภาพที่ 8) จากการชะลอตัวของนักท่องเที่ยวเอเชียตะวันออก เป็นหลัก ซึ่งเป็นกลุ่มที่ตื่นตระหนกต่อเหตุการณ์ต่างๆ ได้ง่าย โดยในช่วงเวลาเดือนสิงหาคม - กันยายนประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออก 9 ประเทศออกคำ�แนะนำ�การเดินทาง (Travel Advisory) เกี่ยวกับเหตุการณ์ ดั ง กล่ า วในประเทศไทย และในจำ�นวนนี้ มี 2 ประเทศคือ ไต้หวัน และฮ่องกง ห้ามการเดินทางมาประเทศไทย และเป็นเหตุให้นักท่องเที่ยวของทั้ง 2 ประเทศข้างต้น หดตัว ในเดือนกันยายน ประกอบกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีระยะทางไม่ไกลจากประเทศไทย สามารถเดินทางมาท่องเที่ยว ประเทศไทยได้งา่ ยค่าใช้จา่ ยในการเดินทางและท่องเทีย่ วไม่สงู และ หลายประเทศได้ รับสิทธิพิเศษในการตรวจลงตราหนังสือเดินทาง จึงทำ�ให้นกั ท่องเทีย่ วเอเชียตะวันออกมีโอกาสในการเลือ่ น / ยกเลิก การเดินทางสูงเมือ่ เกิดเหตุการณ์ตา่ งๆ ดังนัน้ แม้วา่ นักท่องเทีย่ วจีน ในเดือนกันยายนจะยังคงขยายตัวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปีที่แล้ว แต่ขยายตัวเพียงร้อยละ 25.50 ต่ำ�กว่าเดือนสิงหาคม ที่ขยายตัวร้อยละ 78.04

นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกและยุโรป ในไตรมาสที่ 3 / 2558 มีนักท่องเที่ยวจำ�นวน 7,274,428 คน (แผนภาพที่ 7) เป็นนักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก และยุโรป สูงสุด 2 อันดับแรก เท่ากับร้อยละ 70.07 และ 14.73 (แผนภาพที่ 8) ของนักท่องเที่ยวทั้งหมด ขณะที่นักท่องเที่ยวจาก ภูมิภาคอื่นๆ มีสัดส่วนเฉลี่ยประมาณร้อยละ 3 เท่านั้น นักท่องเที่ยวขยายตัวสูงสุดในไตรมาสที่ 2 จากการเติบโตของ นักท่องเที่ยวจีน และผลกระทบจากสถานการณ์ในปีก่อนหน้า นับตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 เป็นต้นมา นักท่องเที่ยวเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยขยายตัวสูงสุดในไตรมาสที่ 2 ร้อยละ 36.92 ซึ่งเป็นผลจาก หลายปัจจัยทัง้ จากการเติบโตในอัตราทีส่ งู ของนักท่องเทีย่ วตลาดหลัก เช่น จีน และมาเลเซีย รวมถึงผลจากสถานการณ์การเมืองของไทย ในช่วงครึง่ แรกของปี 2557 ทีส่ ง่ ผลกระทบให้ภาคการท่องเทีย่ วชะลอตัว เป็นเหตุให้ฐานจำ�นวนนักท่องเทีย่ วต่�ำ กว่าปกติ

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

13


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

ปั ญ หาเศรษฐกิ จ ในภู มิ ภาค การเติ บ โตอย่ า งก้ า วกระโดดของ นักท่องเทีย่ วจีนและมาเลเซียได้ชว่ ยบรรเทาผลกระทบและขับเคลือ่ น ภาคการท่องเทีย่ วไทย และส่งผลให้การท่องเทีย่ วฟืน้ ตัวและเติบโต ต่อเนื่อง นอกจากนี้ ในมิติของการสร้างรายได้เริ่มปรากฏสถานการณ์ ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น นั้ น คื อ รายได้ ส่ ว นใหญ่ ม าจากนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ภูมิภาคเอเชียตะวันออก และยุโรป จากเดิมที่มีสัดส่วนร้อยละ 74 ในปี 2553 เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ 78 ในปี 2557 และทีน่ า่ สนใจคือ รายได้ กท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรปจากเดิมที่มีสัดส่วนรายได้เท่ากับ ความเสีย่ งจากการกระจุกตัวของนักท่องเทีย่ ว ของนั ที่ ผ่า นมามากกว่ า ร้ อ ยละ 80 ของนั ก ท่ อ งเที่ย วของไทยเป็ น ร้อยละ 39 ในปี 2553 แต่ลดลงเหลือร้อยละ 35 ในปี 2557 ขณะที่ นักท่องเทีย่ วภูมภิ าคเอเชียตะวันออก และยุโรป มาโดยตลอด โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออกมีสัดส่วนรายได้เพิ่มขึ้นจาก นักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออกที่มีสัดส่วนสูงถึง 3 ใน 5 ร้อยละ 35 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 43 ในปี 2557 (แผนภาพที่ 10) ของจำ�นวนนักท่องเทีย่ วทัง้ หมด นักท่องเทีย่ วกลุม่ นีม้ คี วามอ่อนไหว สถานการณ์ ดั ง กล่ า วแสดงให้ เ ห็ นว่ า ภาคการท่ อ งเที่ ย วไทย ต่อเหตุการณ์ตา่ งๆ โดยจำ�นวนจะลดลงอย่างรุนแรงเมือ่ เกิดเหตุการณ์ ในปัจจุบันขับเคลื่อนด้วยนักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออก ทีก่ ระทบกับการท่องเทีย่ ว และจะฟืน้ ตัวอย่างรวดเร็วเมือ่ เหตุการณ์ เป็นหลักทั้งในด้านจำ�นวนและรายได้ และแนวโน้มการพึ่ง พา สิ้นสุดจึงทำ�ให้จำ�นวนนักท่องเที่ยวของไทยจะผันผวนและรุนแรง นักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออกเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ เมื่อเกิดเหตุการณ์ต่างๆ เช่นเมื่อเกิดสถานการณ์ชุมนุมในประเทศ นั ก ท่ อ งเที่ ย วจากจี น ซึ่ ง มี สั ด ส่ ว นสู ง ถึ ง ร้ อ ยละ 29.46 หรื อ เข้าสู่ช่วงวิกฤตนักท่องเที่ยว ภูมิภาคยุโรปหดตัวเพียงร้อยละ 2.33 เกือบ 1 ใน 3 ของนักท่องเที่ยวต่างชาติท่มี าประเทศไทย ทำ�ให้ ขณะที่นักท่องเที่ยวจากเอเชียตะวันออกหดตัวกว่าร้อยละ 21.43 ภาคการท่องเที่ยวมีความเสี่ยงต่อความผันผวนของจำ�นวนนักท่อง เป็นเหตุให้นักท่องเที่ยวโดยรวมของไทยหดตัวสูงถึงร้อยละ 15.94 เทีย่ วจากภูมภิ าคนี้ หากเกิดเหตุการณ์ทก่ี ระทบต่อความเชือ่ มัน่ ของ แต่ในอีกด้านหนึ่งเมื่อนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรปหดตัวเนื่องจาก นักท่องเทีย่ ว

ความเสี่ยงจากการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น นักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออกอ่อนไหวง่าย และฟื้นตัวเร็ว

แผนภาพที่ 10 สัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

14

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

วันพักเฉลี่ย

วันพักเฉลีย่ ลดลง 0.06 วัน (แผนภาพที่ 11) สถานการณ์วนั พักเฉลีย่ ปรับตัวดีขน้ึ จากไตรมาสทีแ่ ล้ว ทัง้ นีแ้ ม้วา่ วันพักเฉลีย่ ของนักท่องเทีย่ ว ในทุกภูมิภาคจะเพิ่มขึ้น แต่ผลจากการเติบโตของนักท่องเที่ยว ภูมิภาคเอเชียตะวันออก ส่งผลให้วันพักเฉลี่ยโดยรวมของประเทศ มีแนวโน้มลดลง และมีความผันผวน เนื่องจากนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ มีวันพักเฉลี่ยประมาณ 7 วัน ขณะที่นักท่องเที่ยวยุโรปพักนานกว่า ถึง 17 วัน เมือ่ สัดส่วนนักท่องเทีย่ วภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเพิม่ ขึน้ จึงทำ�ให้วันพักเฉลี่ยโดยรวมลดลง (แผนภาพที่ 12) ประกอบกับ นักท่องเที่ยวของไทยกลุ่มนี้มีความอ่อนไหวต่อเหตุการณ์ต่างๆ จึงทำ�ให้วันพักในรอบปีที่ผ่านมาผันผวน

แผนภาพที่ 11 การเปลี่ยนแปลงของวันพักเฉลี่ย

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

แผนภาพที่ 12 สัดส่วนนักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออก และวันพักเฉลี่ย

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

15


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย

ไตรมาสที่ 3 / 2558 มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ 5,247.15 บาท / วัน (แผนภาพที่ 13) ขยายตัวร้อยละ 7.65 ต่ำ�กว่าไตรมาสก่อนหน้า ทีข่ ยายตัวร้อยละ 8.05 (แผนภาพที่ 14) ตามการใช้จา่ ยนักท่องเทีย่ ว ภูมิภาคเอเชียตะวันออก และภูมิภาคอื่นๆ ยกเว้นยุโรปที่ค่าใช้จ่าย เฉลี่ยมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้น ภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย ของนักท่องเที่ยวคนละ 5,714.36 บาท / วัน (แผนภาพที่ 13) ขยายตัวร้อยละ 9.18 ต่ำ�กว่า ไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 9.27 (แผนภาพที่ 14) เป็นผล มาจากตามการใช้จ่ายที่ลดลงของนักท่องเที่ยวที่ไม่ใช่ตลาดหลัก เช่น ลาว สิงคโปร์ ฮ่องกง เกาหลี ไต้หวัน ขณะที่นักท่องเที่ยว ตลาดหลัก เช่น จีน มาเลเซีย ญีป่ นุ่ การใช้จา่ ยปรับตัวดีขนึ้ เล็กน้อย

ภูมภิ าคยุโรป มีคา่ ใช้จา่ ยเฉลีย่ คนละ 4,138.82 บาท/วัน (แผนภาพ ที่ 13) ขยายตัวร้อยละ 2.83 สูงกว่าไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 1.40 (แผนภาพที่ 14) ตามการใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยว เกือบทุกตลาด ภูมภิ าคอืน่ ๆ มีคา่ ใช้จา่ ยเฉลีย่ คนละ 5,523.54 บาท / วัน (แผนภาพ ที่ 13) ขยายตัวร้อยละ 3.53 สูงกว่าไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัว ร้อยละ 3.10 (แผนภาพที่ 14) ตามการใช้จ่ายที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ของนักท่องเที่ยวในเกือบทุกภูมิภาค เช่น อเมริกา เอเชียใต้ และ โอเชียเนีย ยกเว้นตะวันออกกลาง

แผนภาพที่ 13 ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยว

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

แผนภาพที่ 14 อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายเฉลี่ย

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

16

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

ข้อเสนอแนะ

จากสถานการณ์ทอ่ งเทีย่ วในไตรมาสที่ 3 ซึง่ พบว่าการกระจุกตัวของ นักท่องเทีย่ วจากภูมภิ าคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจากประเทศจีน สูงถึงเกือบ 1 ใน 3 ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติท้ังหมดของ ประเทศไทย และในขณะที่นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคนี้ซึ่งรวมถึง จีนมีความอ่อนไหวต่อสถานการณ์ต่างๆ ทั้งภายในประเทศไทย ระหว่ า งประเทศ และแม้ แ ต่ ภายในประเทศของนั ก ท่ อ งเที่ ย ว ชาวต่างชาติเหล่านี้ ดังนั้นเพื่อสร้างเสถียรภาพให้กับอุตสาหกรรมท่องเที่ยว กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬาจำ�เป็นต้องมีมาตรการดูแลตลาดหลักเหล่า นี้เป็นพิเศษ รวมทั้งติดตามดูแลนักท่องเที่ยวจากประเทศเหล่านี้ เป็นการเฉพาะ เพือ่ ให้การเดินทางท่องเทีย่ วเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเกิดความพึงพอใจสูงสุดตลอดจนสร้างช่องทางการสื่อสาร ทีส่ ามารถสือ่ สารกับนักท่องเทีย่ วเหล่านีอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ หากมี เหตุการณ์เกิดขึ้นเพื่อลดผลกระทบให้มากที่สุด รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

17


18

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

2557 Q1 -16.98 +6.52 -10.18 -9.02

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +34.30 +37.51 +29.44 +6.87 +10.32 +13.17 +12.04 +15.96 +8.26 -2.18 +3.56 +7.09 +22.06 +24.31 +21.40 +9.32

2557 -8.26 -2.07 -6.52 -6.54

Country of Residence East Asia Europe Other Grand Total

2556 +26.01 +12.85 +4.10 +18.76

2556 2557 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 3,886,450 3,994,306 4,363,811 3,852,901 3,226,582 2,069,802 1,026,192 1,092,721 1,966,867 2,204,727 1,051,652 1,043,107 1,043,644 1,155,272 944,571 7,007,904 6,063,605 6,500,176 6,975,040 6,375,880

Country 2556 2557 of Residence East Asia 16,097,468 14,767,849 Europe 6,155,582 6,028,171 Other 4,293,675 4,013,663 Grand Total 26,546,725 24,809,683

จำ�นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

Q2 -21.43 -2.33 -8.29 -15.94

Q3 -11.74 -6.33 -6.52 -10.00

Q4 +18.14 -8.60 -1.59 +7.33

Q2 Q3 Q4 3,138,149 3,851,322 4,551,796 1,002,241 1,023,541 1,797,662 956,611 975,565 1,136,916 5,097,001 5,850,428 7,486,374

(หน่วย : ร้อยละ) 2558P Q1 Q2 Q3 +51.63 +60.50 +32.34 -14.04 -9.83 +4.71 +10.27 +8.54 +13.35 +22.79 +36.92 +24.34

2558P Q1 Q2 4,892,480 5,036,626 1,895,093 903,767 1,041,580 1,038,322 7,829,153 6,978,715

(หน่วย : คน) Q3 5,096,900 1,071,722 1,105,806 7,274,428

สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย


2556 +0.08 +0.05 -0.01 -0.17

Country of Residence East Asia Europe Other Grand Total

2557 -0.13 -0.12 -0.13 -0.02

2557 6.71 16.40 11.43 9.83

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

2556 6.84 16.52 11.56 9.85

Country of Residence East Asia Europe Other Grand Total

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +0.05 +0.05 +0.15 -0.05 -0.30 +0.41 +0.45 +0.07 -0.38 +0.27 +0.15 -0.07 -0.52 -0.24 -0.07 +0.11

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 6.84 7.21 6.96 6.32 16.38 18.10 17.56 15.28 11.30 12.05 11.90 11.04 10.33 9.89 9.54 9.63

2557 Q1 -0.06 -0.31 +0.03 +0.33

2557 Q1 6.78 16.07 11.33 10.66

จำ�นวนวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

Q2 -0.37 -0.91 -0.50 -0.13

Q2 6.84 17.19 11.55 9.76

Q3 -0.11 -0.61 -0.29 -0.13

Q3 6.85 16.95 11.61 9.41

Q4 +0.14 +0.77 +0.22 -0.14

Q4 6.46 16.05 11.26 9.49

2558P Q1 Q2 +0.06 +0.41 +0.93 +1.03 +0.40 +0.57 -0.71 -0.36

2558P Q1 Q2 6.84 7.25 17.00 18.22 11.73 12.12 9.95 9.40

(หน่วย : วัน) Q3 +0.29 +0.40 +0.21 -0.06

(หน่วย : วัน) Q3 7.14 17.35 11.82 9.35

สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

19


20

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

2556 +6.10 +4.15 +4.42 +5.09

Country of Residence East Asia Europe Other Grand Total

2557 +6.27 +1.94 +5.05 +4.17

2557 5,163.34 4,221.65 5,314.24 4,808.92

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

2556 4,858.50 4,141.21 5,058.97 4,616.49

Country of Residence East Asia Europe Other Grand Total

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +6.21 +7.13 +6.71 +5.29 +4.39 +4.22 +3.17 +3.81 +4.63 +5.48 +3.18 +4.03 +5.90 +5.87 +5.04 +4.20

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 4,962.43 4,571.77 4,954.65 4,964.61 3,939.09 3,770.78 3,858.49 4,774.63 4,913.35 4,779.31 5,017.55 5,513.53 4,473.93 4,365.03 4,625.35 4,982.57

2557 Q1 +3.36 +4.70 +3.68 +2.89

2557 Q1 5,129.14 4,124.38 5,094.40 4,603.26

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

Q2 +4.48 +3.73 +4.24 +3.59

Q2 4,776.64 3,911.48 4,981.80 4,521.83

Q3 +5.63 +4.32 +6.33 +5.38

Q3 5,233.79 4,025.02 5,335.30 4,874.36

Q4 +8.80 -2.72 +4.57 +3.57

Q4 5,401.74 4,644.83 5,765.25 5,160.59

(หน่วย : บาท/คน/วัน) 2558P Q1 Q2 Q3 +9.56 +9.27 +9.18 +0.67 +1.40 +2.83 +3.00 +3.10 +3.53 +7.62 +8.05 +7.65

(หน่วย : บาท/คน/วัน) 2558P Q1 Q2 Q3 5,619.61 5,219.54 5,714.36 4,151.82 3,966.42 4,138.82 5,246.98 5,136.40 5,523.54 4,954.25 4,886.02 5,247.15

สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย


2556 +35.28 +17.90 +8.55 +22.69

Country of Residence East Asia Europe Other Grand Total

2557 -4.36 -0.89 -2.90 -2.85

2557 Q1 -14.94 +9.42 -6.63 -3.40 Q2 -22.13 -3.78 -8.39 -14.07

Q3 -8.25 -5.68 -3.00 -6.44

Q4 +31.39 -6.61 +4.97 +9.55

Q2 Q3 Q4 102,529.96 138,075.42 158,835.71 67,389.09 69,830.26 134,014.80 55,027.91 60,439.0 73,786.19 224,946.96 268,344.68 366,636.70

(หน่วย : ร้อยละ) 2558P Q1 Q2 Q3 +67.60 +85.89 +50.54 -8.46 -3.08 +10.21 +17.57 +17.42 +19.50 +23.35 +42.49 +33.06

(หน่วย : ล้านบาท) 2558P Q1 Q2 Q3 188,057.53 190,594.82 207,865.26 133,758.05 65,313.62 76,960.74 64,120.41 64,614.12 72,224.76 385,935.99 320,522.56 357,050.76

(Country of Residence) ที่ได้รับจากกรมการท่องเที่ยว ซึ่งจะมีความแตกต่างจากข้อมูลจำ�แนกประเทศตามสัญชาติ (Country of Nationality) ที่กรมการท่องเที่ยวจัดทำ�และเผยแพร่ เป็นรายเดือน นอกจากนี้ เนื่องจากข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลเบื้องต้นโดยจะแสดงด้วยตัวอักษร P หมายถึง preliminary และจะมีการปรับปรุงย้อนหลังให้มีความถูกต้องและสมบูรณ์ตาม แหล่งข้อมูลล่าสุด โดยจะแสดงตัวอักษร R หมายถึง revised หรือปรับปรุง กำ�กับไว้ด้านหลัง

หมายเหตุ ข้อมูลจำ�นวนนักท่องเที่ยว วันพักเฉลี่ย ค่าใช้จ่ายเฉลี่ย และรายได้จากการท่องเที่ยวรายไตรมาสที่จัดทำ�ขึ้นในรายงานฉบับนี้ เป็นข้อมูลที่จำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู ่

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +43.69 +48.34 +41.16 +11.64 +13.09 +20.68 +18.63 +20.93 +9.63 +5.50 +8.24 +10.68 +23.07 +28.49 +26.59 +15.23

2557 2556 2557 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 511,647.46 131,917.88 131,662.06 150,483.43 120,890.00 112,206.37 417,360.48 133,548.93 70,038.64 74,037.14 143,495.61 146,126.33 243,790.23 58,408.91 60,065.62 62,305.42 70,292.18 54,537.13 1,172,798.17 323,875.72 261,766.3 286,825.99 334,677.79 312,869.83

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

2556 534,953.37 421,120.32 251,072.13 1,207,145.82

Country of Residence East Asia Europe Other Grand Total

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

สถานการณ์การท่องเที่ยวไทย

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

21


แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว

แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว ไตรมาสที่ 4/2558 และปี 2559 จำ�นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในไตรมาสที่ 4 ปี 2558

การพยากรณ์โดยใช้แบบจำ�ลองที่พัฒนาขึ้นเพื่อการพยากรณ์จำ�นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และเทคนิคการคำ�นวณค่าจากวิธี stochastic simulation รวมทั้งการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพ จากผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยวพบว่าในไตรมาสที่ 4 ปี 2558 จะมีจำ�นวนนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติประมาณ 7.7 ล้านคน และสร้างรายได้ประมาณ 382.89 พันล้านบาท และคาดว่า ในปี 2558 จะมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติทั้งสิ้น 29.8 ล้านคน โดยปัจจัยทีก่ อ่ ให้เกิดการขยายตัว ในไตรมาสที่ 4 ได้แก่ สถานการณ์การท่องเที่ยวของโลกในภาพรวมยังคงขยายตัวต่อเนื่อง การเข้าสู่ฤดูการท่องเที่ยว และเสถียรภาพการเมืองภายในประเทศ สำ�หรับปัจจัยที่มีผลด้านลบ ต่อการท่องเที่ยวในไตรมาสที่ 4 ได้แก่ สถานการณ์การก่อการร้ายสงครามในตะวันออกกลาง สถานการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศจีน

22

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว

จำ�นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2559

จากการพยากรณ์ โ ดยใช้ แ บบจำ � ลองในการพยากรณ์ จำ � นวน นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวต่ า งชาติ และเทคนิ ค การคำ � นวณค่ า จากวิ ธี stochastic simulation รวมทั้งการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงคุณภาพ จากผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยว คาดว่าในปี 2559 จะมีจำ�นวน นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติประมาณ 32 ล้านคน ขยายตัวจาก ปี 2558 ประมาณร้อยละ 8 โดยปัจจัยที่ส่งเสริมการขยายตัว ได้แก่ สถานการณ์การท่องเทีย่ วของโลกในปี 2559 ทีค่ าดว่าจะยังคง ขยายตัวต่อเนือ่ งในระดับ 3-4 % ราคาน้ำ�มันในตลาดโลกยังคงอยู่ ในระดับต่� ำ และการเมืองภายในประเทศยังคงมีเสถียรภาพ สำ�หรับ ปัจจัยทีม่ ผี ลด้านลบต่อการท่องเทีย่ ว ได้แก่ สถานการณ์การก่อการร้าย ที่คาดว่าจะมีความรุนแรงขึ้น สงครามในตะวันออกกลางที่ยังไม่มี ท่าทีว่าจะสงบลง และสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในประเทศจีน นอกจากนี้ จากแนวโน้มการใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวในปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวจีนที่ชื่นชอบการซื้อสินค้า/บริการ ต่างคาดว่า จะก่อให้เกิดรายได้ประมาณ 1.67 ล้านล้านบาท

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

23


ความสำ�คัญของการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจของประเทศ

ความสำ�คัญของการท่องเที่ยว ต่อเศรษฐกิจของประเทศ อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ยวเติบ โตในอัตราค่อ นข้างสูง มูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมทางตรงของการท่องเที่ยว (Tourism Direct GDP: TDGDP) ประมาณร้อยละ 5.45 เมือ่ เทียบกับ GDP รวมของ ประเทศ สัดส่วนดังกล่าวนีม้ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ มาโดยลำ�ดับ และก่อให้ เกิดการจ้างงานในไตรมาสที่ 3 ประมาณ 4.45 ล้านคน หรือร้อยละ 11.64 ของการจ้างงานของประเทศโดยรวม และดุลการท่องเที่ยว เกินดุลถึง 284.22 ล้านบาท

มูลค่าของ Tourism Direct GDP ในไตรมาสที่ 3 ปี 2558 มีคา่ เท่ากับ 180,361 ล้านบาท โดยที่ไตรมาสที่ 2 และ 1 มีมลู ค่าเท่ากับ 170,629 และ 194,571 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เมือ่ เทียบกับช่วงไตรมาสเดียวกัน ของปีที่แล้ว เพิ่มขึ้นร้อยละ 21.89, 27.20 และ 18.12 ตามลำ�ดับ เมื่อเทียบเป็นสัดส่วนต่อ GDP รวมของประเทศที่ประมวลผลโดย สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แล้ว GDP ของการท่องเทีย่ ว หรือ TDGDP ในไตรมาสที่ 3 มีสดั ส่วน คิดเป็นร้อยละ 5.45 ของ GDP รวมของประเทศ สำ�หรับ ในไตรมาสที่ 2 และ 1 ค่าของ TDGDP ของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วมีสดั ส่วนเท่ากับ ร้อยละ 5.20, 5.72 ของ GDP รวมของประเทศ ตามลำ�ดับ และเมื่อ รวมกับผลิตภัณฑ์มวลรวมทางอ้อมด้านการท่องเที่ยว (Tourism Indirect GDP : TIGDP) แล้ว GDP ทั้งทางตรงและทางอ้อม ด้านการท่องเทีย่ วของไตรมาสที่ 3, 2 และ 1 จะเท่ากับ 14.50, 13.81 และ 15.28 ตามลำ�ดับ จึงกล่าวได้วา่ บทบาทของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วมีความสำ�คัญ โดยเพิ่ ม ขึ้ นมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เมื่ อ เที ย บกั บ เศรษฐกิ จ โดยรวม ของประเทศ โดยทีส่ าขาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วทีม่ ีมลู ค่า GDP ในสัดส่วนทีค่ อ่ นข้างสูงที่ ได้แก่ สาขาทีพ่ กั อาศัย (Accommodation for Tourist) บริการอาหารและเครื่องดื่ม (Food and beverage servicing industry) และบริการที่เป็นเฉพาะกรณีของประเทศไทย (Country-specific tourism industries) เช่น สปา นวดแผนไทย เป็นต้น 24

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

การจ้างงานของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว

การจ้างงานของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวในไตรมาสที่ 3 ปี 2558 มีจ�ำ นวนประมาณ 4.45 ล้านคน เทียบกับระยะเดียวกันของปีทแี่ ล้ว 4.0 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.31 และเมื่อเทียบกับจำ�นวนผู้มีงาน ทำ�รวมทัง้ หมดในไตรมาสนีต้ ามรายงานของสำ�นักงานสถิตแิ ห่งชาติ ซึ่งมีจำ�นวน 38.33 ล้านคน การจ้างงานในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 11.64 เมือ่ เทียบกับการจ้างงานของประเทศ โดยรวม ส่วนในไตรมาสที่ 2 และ 1 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมี การจ้างงานเท่ากับ 4.45 และ 4.49 ล้านคน ตามลำ�ดับ และเมือ่ เทียบ กับจำ�นวนผู้มีงานทำ�รวมทั้งประเทศซึ่งเท่ากับ 37.75 และ 37.61 ล้านคน ในไตรมาสที่ 2 และ 1 ดังกล่าว ตามลำ�ดับแล้ว สัดส่วน การจ้างงานของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วมีคา่ ประมาณเท่ากับร้อยละ 11.81 และ 11.94 ตามลำ�ดับ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วจึงมีบทบาท ทีค่ อ่ นข้างสำ�คัญต่อการจ้างงานของประเทศ อย่างไรก็ตามแนวโน้ม ความสำ�คัญค่อนข้างที่จะคงที่ตลอดระยะเวลา 5 ที่ผ่านมา

ดุลการท่องเทีย่ ว

เมื่อนำ�รายได้จากการท่องเที่ยวที่ได้รับจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ ที่เข้ามาเที่ยวในประเทศไทย หักลบด้วยรายจ่ายของนักท่องเที่ยว คนไทยที่ ไปเที่ยวต่างประเทศ มีผลทำ�ให้ดุลบริการท่องเที่ยว ของประเทศไทย ในไตรมาสที่ 3 เกินดุลคิดเป็นมูลค่าสูง ถึง 284,225 ล้านบาท ส่วนในไตรมาสที่ 2 และ 1 มีมลู ค่าเกินดุลเท่ากับ 244,684 และ 309,726 ล้านบาท ตามลำ�ดับ เมือ่ เทียบกับดุลบริการ ทั้งหมดของประเทศตามรายงานของธนาคารแห่งประเทศไทย ในไตรมาสที่ 3, 2 และ 1 ของปีนที้ มี่ มี ลู ค่า 59,318, 30,531.09 และ 127,703 ล้านบาท ตามลำ�ดับ ดุลบริการท่องเทีย่ วสูงกว่าดุลบริการ โดยรวมถึง 4.79, 8.01 และ 2.43 เท่า ในไตรมาสที่ 3, 2 และ 1 ดังกล่าวตามลำ�ดับ สะท้อนให้เห็นว่าตลอดทั้งสามไตรมาสในปีนี้ ดุลบริการการท่องเที่ยวมีส่วนสำ�คัญค่อนข้างมากต่อการทำ�ให้เกิด ดุลบริการของประเทศมีค่าเกินดุลดังกล่าว


The United Nations Statistics Division, the Statistical Office of the European Communities, the Organization for Economic Co-operation and Development และ World Tourism Organization (WTO) ได้ร่วมกันกำ�หนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทำ�บัญชีประชาชาติการท่องเที่ยว (Tourism Satellite Account : TSA) โดยมีรูปแบบและลักษณะที่เป็นบัญชีบริวาร (Satellite Account) มีความเชือ่ มโยงและสอดคล้องกับบัญชีประชาชาติ (National Accounts) สำ�หรับเป็นข้อมูลเศรษฐกิจมหภาคด้านการท่องเทีย่ วโดยรวม เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลชีว้ ดั ความสำ�คัญและ บทบาทของภาคเศรษฐกิจการท่องเที่ยวของประเทศ เพื่อใช้วิเคราะห์ วัดผลกระทบของภาคการท่องเที่ยวที่มีต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวม เช่น ผลกระทบของรายจ่ายของการท่องเที่ยวต่อ GDP ของประเทศ ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือมูลค่าเพิ่มในแต่ละสาขาการผลิต การเปลี่ยนแปลงของการจ้างงาน และผลกระทบต่อการคลังของประเทศ เช่น รายรับจากภาษี เป็นต้น และเพื่อใช้เปรียบเทียบบทบาทและความสำ�คัญของภาคเศรษฐกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทยกับประเทศอื่นๆ ที่มีการจัดทำ�บัญชีประชาชาติการท่องเที่ยวเช่นเดียวกัน สำ�หรับประเทศไทย กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ได้จัดทำ� TSA ของประเทศไทยมาตั้งแต่ปี 2556

เครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยวไตรมาส 3 พ.ศ. 2558 จากบัญชีประชาชาติการท่องเที่ยว (Tourism Satellite Account)

ความสำ�คัญของการท่องเที่ยวต่อเศรษฐกิจของประเทศ

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

25


Tourism Digital Economy

การบริหารจัดการความเสี่ยง.. ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย ความเสี่ยงของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว Tourism Risk Management

อุตสาหกรรมท่องเทีย่ วเป็นอุตสาหกรรมทีม่ คี วามสำ�คัญอย่างยิง่ ต่อ การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยในปี 2557 มีนกั ท่องเทีย่ ว ชาวต่างชาติ 24.8 ล้านคน ก่อให้เกิดรายได้จากการท่องเทีย่ วสูงถึง 1.17 ล้านล้านบาท และในปี 2558 คาดว่าอาจสูงถึง 29.8 ล้านคน รายได้จากการท่องเที่ยวอาจสูงถึง 1.42 ล้านล้านบาท เป็นแหล่ง เงินตราต่างประเทศที่สำ�คัญ นอกจากนี้ยังมีการเดินทางท่องเที่ยว ของคนไทยอีกปีละกว่า 130 ล้านคน-ครั้ง สร้างรายได้ปีละกว่า 7 แสนล้านบาท และในปี 2560 ภายใต้ยทุ ธศาสตร์การท่องเทีย่ วไทย ปี 2558-2560 ตัง้ เป้ารายได้จากการท่องเทีย่ วสูงถึง 2.5 ล้านล้านบาท ก่อให้เกิดการจ้างงานจำ�นวนมากทั้งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว และอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่นๆ

26

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

อย่ า งไรก็ ต าม อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วเป็ น อุ ต สาหกรรมที่ มี ความอ่อนไหวสูง เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ นักท่องเที่ยว ก็จะส่งผลให้จำ�นวนนักท่องเที่ยวลดลงอย่างมากใน ช่วงเวลาอันสั้น ทำ�ให้เกิดการลดลงของรายได้ของประเทศจาก การท่องเที่ยว ส่งผลกระทบไปถึงผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว และแรงงานที่ทำ�งานในภาคอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นอย่างมาก และนำ�มาซึง่ มาตรการเยียวยาช่วยเหลือนักท่องเทีย่ วและผูป้ ระกอบการ ด้านการท่องเทีย่ ว ด้วยเงินงบประมาณจำ�นวนมหาศาลของรัฐบาล


การบริหารจัดการความเสี่ยง..ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย

องค์การการท่องเที่ยวโลกของสหประชาชาติ (World Trade Organization: UNWTO) จัดประเภทความเสี่ยงในอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวออกตามแหล่งที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง ประกอบด้วย 1. ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากมนุษย์และองค์กรทีอ่ ยูน่ อกสาขาท่องเทีย่ ว ได้แก่ การก่ออาชญากรรมต่างๆ ตัง้ แต่การล้วงกระเป๋า การฉ้อโกง ไปจนถึ ง การขู่ กรรโชก การทำ � ร้ า ยร่ า งกาย การค้ า มนุ ษ ย์ การก่อการร้าย ความขัดแย้งทางสังคม การเมือง และศาสนา รวมไปถึงการเกิดสงครามที่นับว่ารุนแรงที่สุด 2. ความเสี่ยงที่เกิดจากการให้บริการของสาขาท่องเที่ยวและสาขา ที่เกี่ยวเนื่อง ที่มาจากความบกพร่องในการให้บริการและระบบ สุขาภิบาลที่ด้อยมาตรฐานด้านความปลอดภัย จนก่อให้เกิด ความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สิน 3. ความเสี่ยงที่เกิดจากนักเดินทางเอง ในการทำ�กิจกรรมและ การเดินทางที่ก่อให้เกิดอันตราย ความไม่พร้อมในเรื่องของ สุขภาพ ขาดความระมัดระวังในทรัพย์สินของตน และการมี พฤติกรรมที่ขัดต่อธรรมเนียมปฏิบัติของคนในท้องถิ่นหรือ กฎหมายจนเกิดข้อพิพาทและความขัดแย้ง 4. ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากความเสียหายทางกายภาพหรือสิง่ แวดล้อม เช่น ภัยธรรมชาติ โรคระบาด ภัยทีเ่ กิดจากลักษณะทางธรรมชาติ ของแหล่งท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะพืชและสัตว์ทเ่ี ป็นอันตราย เป็นต้น

ความสำ�คัญของการบริหารจัดการความเสีย่ ง ของอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว

เหตุการณ์ภัยพิบัติต่างๆ ที่ไม่คาดฝันหรือไม่อาจทำ�นายได้ เช่น • ทั้งภัยทางธรรมชาติ (Natural Disaster) เช่น คลื่นยักษ์สึนามิ แผ่นดินไหวน้ำ�ท่วม รวมทั้งโรคร้ายแรงอุบัติภัยใหม่ (โรคซาร์ส ไข้หวัดนก ไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ H1N1) • ภัยพิบัติจากมนุษย์ (Human Disaster) เช่น การก่อวินาศกรรม การก่อจราจล การบุกยึดสนามบิน • ภัยพิบัติจากเทคโนโลยี (Technology Disaster) เช่น ระบบ คอมพิวเตอร์หรือระบบอินเตอร์เน็ตล้มเหลว การลักลอบเจาะ ข้อมูล (Hacking) และความเสีย่ งด้านอืน่ ๆ ล้วนสร้างความเสียหาย ต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ซึ่งมักจะมีความรุนแรง และส่ ง ผลกระทบต่ อ การท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ต่ อ นั ก ท่ อ งเที่ ย วและ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย ง (Risk Management) เป็ น กระบวนการบริหารจัดการที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก ประเทศต่างๆ ได้ นำ � ไปปฏิบัติเพื่อช่วยให้ประเทศหรือองค์กรลดความเสียหาย

จากความเสี่ยงให้ได้มากที่สุด และทำ�ให้สามารถบรรลุเป้าหมาย ของการพัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวหรือเป้าหมายขององค์กร ภายใต้ปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่มีการเปลี่ยนแปลงโดยตลอด การบริหารความเสีย่ งเป็นเครือ่ งมือทีส่ ามารถนำ�มาใช้กบั อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ เดินทาง มีกจิ กรรมหลากหลายภายใต้สภาพแวดล้อมทีแ่ ตกต่าง และ เกี่ยวข้องกับผู้คนจำ�นวนมาก หลากหลายสัญชาติ จึงมีความเสี่ยง อยู่ไม่น้อย หากขาดการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม องค์กรด้านการท่องเทีย่ วระหว่างประเทศ อาทิ UNWTO และองค์กร ความร่วมมือ APEC (APEC International Center for Sustainable Tourism : AICST) จึงได้จัดทำ�คู่มือการบริหารจัดการเหตุการณ์ วิกฤติในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว (Tourism Risk Management - An Authoritative Guide to Managing Crisis in Tourism) โดยให้ขอ้ มูลที่ เป็นประโยชน์ตอ่ การบริหารจัดการความเสีย่ งสำ�หรับแหล่งท่องเทีย่ ว หรือธุรกิจรวมทั้งวิธีปฏิบัติซึ่งคู่มือดังกล่าวยังเสนอแนะกรอบการ ทำ�งานของแหล่งท่องเที่ยวและธุรกิจในการนำ�การบริหารจัดการ วิกฤติ (Crisis Management) ที่เกิดจากความเสี่ยงไปใช้สำ�หรับ การป้องกันการเตรียมความพร้อมการตอบสนองต่อเหตุการณ์ และการปฏิบัติเพื่อการฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวหรือธุรกิจ ประเทศต่างๆ ในโลกต่างให้ความสำ�คัญต่อการนำ�การบริหาร จัดการความเสี่ยงมาใช้กับอุตสาหกรรมโดยรวม และอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวของแต่ละประเทศโดยเฉพาะ อาทิ ประเทศออสเตรเลีย มีการจัดทำ� “แผนรองรับสถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวแห่งชาติ” (The National Tourism Incident Response Plan: NTIRP) เพื่อ ใช้เป็นแผนการดำ�เนินงานของชาติในกรณีเกิดสถานการณ์รุนแรง ฉับพลันต่อภาคการท่องเที่ยวของประเทศ แผนดังกล่าวกำ�หนด ขอบเขต และขั้ น ตอนการดำ � เนิ น งานของรั ฐ บาลออสเตรเลี ย ทั้งในระดับสหพันธรัฐและระดับมลรัฐเพื่อดำ�เนินการความร่วมมือ กับภาคการท่องเที่ยวทั้งหมดในการหามาตรการและแนวทาง การแก้ไขปัญหาโดยฉับพลันและรวดเร็ว ประเทศสิงคโปร์ ได้ริเริ่ม โครงการบริหารแผนธุรกิจต่อเนื่องแห่งชาติ (National Business Continuity Management Programme) เพือ่ สนับสนุนให้ภาคธุรกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมจัดทำ�แผนธุรกิจต่อเนื่อง ที่จะสามารถ ทำ�ให้ภาคธุรกิจเอกชนมีความมั่นใจได้ว่าธุรกิจของตนจะสามารถ ดำ�เนินการไปได้อย่างต่อเนือ่ งถึงแม้จะมีเหตุการณ์ทเี่ ป็นปัจจัยเสีย่ ง เกิดขึ้น เป็นต้น

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

27


Tourism Digital Economy

ความเสี่ยงกับการท่องเที่ยวในประเทศไทย

ที่ผ่านมา การท่องเที่ยวในประเทศไทยเผชิญกับความเสี่ยงที่ส่งผล กระทบต่อการท่องเที่ยวของประเทศที่มาจากหลายสาเหตุ ได้แก่ ความเสี่ยงที่เกิดจากความเสียหายทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อม เช่น เหตุการณ์คลื่นสึนามิถล่มพื้นที่ชายฝั่งทะเลอันดามันเมื่อ ปี 2547 เหตุการณ์น�้ำ ท่วมใหญ่ในปี 2554 ภัยพิบตั ทิ เี่ กิดจากโรคภัย ไข้เจ็บ อาทิ การระบาดของไข้หวัดนก (H1N1) ในปี 2551 และ โรคซาร์สในปี 2546 เป็นต้น ส่งผลให้จ�ำ นวนนักท่องเทีย่ วและรายได้ จากการท่องเทีย่ วของปีตอ่ มาลดลงหรือเพิม่ ขึน้ ในอัตราต่�ำ กว่าปกติ ความเสี่ยงที่เกิดจากมนุษย์และองค์กรที่อยู่นอกสาขาท่องเที่ยว เช่น การชุมนุมประท้วงและรัฐประหารในช่วงปี 2549-2550 และ ปีที่ผ่านมา หรือกรณีความไม่สงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่� ำ (วิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอร์เกอร์ในปี 2551 และภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ�ของสหภาพยุโรปในปี 2556) เป็นต้น ซึง่ เป็นความเสีย่ งทีส่ ง่ ผลกระทบต่อจำ�นวนนักท่องเทีย่ วและรายได้ จากการท่องเที่ยวโดยตรง นอกจากนี้ ยังมีความเสี่ยงที่อาจจะยัง ไม่ส่งผลทันทีและชัดเจนต่อจำ�นวนนักท่องเที่ยวและรายได้จาก การท่องเที่ยว แต่จะส่งผลในระยะยาวต่อภาพลักษณ์ด้านการ ท่องเทีย่ วทีเ่ ป็นลบ อาทิ ปัญหากลุม่ ผูม้ อี ทิ ธิพลในพืน้ ทีท่ ง้ั ชาวไทย และชาวต่างชาติที่ก่อให้เกิดปัญหาการผูกขาด และการให้บริการ อย่างเอารัดเอาเปรียบ การข่มขูแ่ ละประทุษร้ายต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของนักท่องเที่ยวทั้งทางตรงและทางอ้อม ปัญหาอาชญากรรม ที่ เ กิ ด กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ดั ง เช่ น ที่ เ ป็ น ข่ า วคราวการฆาตกรรม นักท่องเทีย่ วชาวอังกฤษ 2 คนบนเกาะเต่า เมือ่ เดือนกันยายน 2557 ที่ทำ�ให้สื่อในประเทศอังกฤษกล่าวถึงความไม่ปลอดภัยในการ มาเทีย่ วเมืองไทย รวมทัง้ มีการเปิดเผยสถิตนิ กั ท่องเทีย่ วชาวอังกฤษ ทีถ่ กู ฆาตกรรมในประเทศไทยตัง้ แต่ปี 2552 ภัยจากการก่อการร้าย ข้ามประเทศก็ถือเป็นความเสี่ยงที่กำ�ลังเป็นประเด็นสำ�คัญ และ สร้ า งความวิ ต กให้ กั บ หลายฝ่ า ย นั บ ตั้ ง แต่ เ หตุ ก ารณ์ ร ะเบิ ด บริ เ วณแยกราชประสงค์ เ มื่ อ เดื อ นสิ ง หาคมที่ ผ่ า นมา รวมทั้ ง ข่าวจดหมายเตือนเรื่องการหลบซ่อนของกลุ่มก่อการร้ายสากล ในประเทศไทย เป็นต้น

28

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

ความเสี่ยงที่เกิดจากความบกพร่องของการให้บริการ ความเสี่ยงที่เกิดจากการให้บริการที่พบบ่อยครั้งคือความปลอดภัย ในการเดิ น ทางบนท้ อ งถนนซึ่ ง เมื่ อ ปลายปี ที่ ผ่ า นมา องค์ การ ด้านความปลอดภัย (Make Road Safe & FIA Foundation) ได้ทำ�บันทึกชื่อ “การเดินทางที่เลวร้าย Bad Trip: International tourism and road death in developing world” ส่งไปยังประเทศ ต่างๆ โดยแจกแจงสถิตกิ ารเสียชีวิตของนักท่องเที่ยวชาวอเมริกัน ในประเทศไทยจากอุบัติเหตุบนท้องถนน (ส่วนใหญ่เป็นรถยนต์ และรถจักรยานยนต์) สูงเป็นอันดับ 2 รองจากประเทศฮอนดูรัส คือมีอัตราการตายสูงถึง 50 คน ต่อนักท่องเที่ยว 1 แสนคน ซึง่ มากกว่าอัตราการตายของคนไทย 18.7 คน ต่อประชากร 1 แสนคน โดยระบุสาเหตุเพราะประเทศไทยไม่มีนโยบายและมาตรการที่เป็น รูปธรรมในการจัดการความปลอดภัยทางถนนให้กับนักท่องเที่ยว ขาดการลงทุนด้านความปลอดภัยของภาครัฐ รวมทั้งขาดระบบ ติดตามกำ�กับดูแลอย่างทั่วถึง เช่นเดียวกับการให้บริการเดินทาง ทางเรือทีม่ อี บุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง อาทิ เหตุการณ์เรือชนกัน เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2556 จนทำ�ให้มีนักท่องเที่ยวชาวจีน เสียชีวติ 2 ราย บาดเจ็บ 8 ราย และเหตุการณ์เรืออับปางกลางทะเล พั ท ยาเมื่ อ เดื อ นพฤศจิ กายนปี เ ดี ย วกั น ทำ � ให้ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เสียชีวิต 6 ราย บาดเจ็บ 16 ราย เป็นต้น


การบริหารจัดการความเสี่ยง..ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย อัตราการเปลี่ยนแปลงของจำ�นวนนักท่องเที่ยว และรายได้จากการท่องเที่ยว ในช่วงที่เกิดวิกฤตจากความเสี่ยง 10 ปีที่ผ่านมา (2548-2557)

บทบาทของภาครัฐและเอกชนต่อการบริหาร ความเสี่ยงของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

APEC International Centre for Sustainable Tourism หรือ AICST ได้ให้คำ�แนะนำ�ในคู่มือปฏิบัติการการบริหารจัดการวิกฤติ ด้านการท่องเที่ยวถึงบทบาทของรัฐบาลของแต่ละประเทศในการ บริหารจัดการความเสี่ยงไว้ว่า รัฐบาลจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบ ในการจัดทำ�นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการความเสี่ยง และภัยพิบัติที่เกิดขึ้น รวมถึงการผลักดันนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งจะต้องมีการจัดตั้งกลไกการทำ�งานในระดับประเทศที่รบั ผิดชอบ โดยตรงในการจัดทำ�นโยบายความปลอดภัยด้านการท่องเที่ยว ทั้งในระดับประเทศและในแต่ละพื้นที่หลัก ตามความจำ�เป็นโดย มีทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม มีการจัดทำ�แผนความมั่นคงและ ความปลอดภัยด้านการท่องเทีย่ วของประเทศ โดยหน่วยงานหลักที่ รับผิดชอบด้านการท่องเทีย่ วของประเทศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ อืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องและกลุม่ อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว ซึง่ อาจเรียกแตกต่าง กันไป เช่น แผนรองรับสถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวแห่งชาติ แผนการบริหารจัดการธุรกิจต่อเนื่องแห่งชาติด้านการท่องเที่ยว แผนเพือ่ รองรับสถานการณ์หรือวิกฤตการณ์ฉกุ เฉิน แผนการป้องกัน โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญ และแผนการให้ความช่วยเหลือ ด้านการ ป้องกันภัยพิบัติแห่งชาติฝ่ายพลเรือน เป็นต้น

บทบาทในการบริหารจัดการความเสี่ยงของภาคเอกชนจะอยู่ใน ลักษณะของการให้ความร่วมมือกับภาครัฐและชุมชนในการพัฒนา แผนการบริหารจัดการความเสี่ยงและการผลักดันไปสู่การปฏิบัติ ในขณะเดียวกัน ภาคเอกชนควรมีการจัดทำ�แผนความต่อเนื่อง ทางธุรกิจ (Business Continuity Plan) ที่เหมาะสมและสอดคล้อง กับจุดมุง่ หมายขององค์กร บทบาทและความรับผิดชอบขององค์กร นั้ น มี การซั ก ซ้ อ มการปฏิ บั ติ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งตามแผนดั ง กล่ า ว เพื่อลดความรุนแรงของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากความเสี่ยง และ มีความพร้อมในการฟืน้ ฟูธรุ กิจจากภาวะวิกฤตให้กลับสูส่ ภาวะปกติ ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งปัจจุบันภาคเอกชนด้านการท่องเที่ยวยังไม่มี การตื่นตัวในประเด็นนี้มากนัก อีกองค์กรหนึ่งที่ควรกล่าวถึงซึ่งมีบทบาทสำ�คัญในการบริหาร จัดการความเสี่ยง คือ สื่อสารมวลชน โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดเหตุ ภัยพิบัติ การให้ข้อมูล ข่าวสารสถานการณ์สามารถส่งผลกระทบ ต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวได้ท้งั ในทางบวกและทางลบการสื่อสาร ที่มีป ระสิ ท ธิ ภ าพกรณี เ กิ ด ภั ย พิ บัติต้อ งยื น อยู่บ นหลั ก การของ การนำ�เสนอข่าวด้วยความซือ่ สัตย์และโปร่งใส และเป็นการนำ�เสนอข่าว ที่ช่วยในการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่แสดงให้เห็นถึงความปลอดภัย และความมัน่ คงของนักท่องเทีย่ ว เช่น การให้ขา่ วในเชิงบวกเกีย่ วกับ มาตรการที่รัฐบาลกำ�ลังดำ�เนินการเพื่อฟื้นฟูให้ทุกอย่างกลับคืนสู่ สภาพปกติ เป็นต้น รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

29


การบริหารจัดการความเสี่ยง..ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย

เหตุฉกุ เฉินในระดับอุตสาหกรรม และระดับองค์กรด้านการท่องเทีย่ ว เพือ่ ให้สามารถดำ�เนินธุรกิจได้อย่างต่อเนือ่ ง อย่างเป็นรูปธรรมและ เชื่อมโยงกับแผนในระดับชาติ

การบริหารจัดการความเสี่ยง ด้านการท่องเที่ยวในประเทศไทย

อย่างไรก็ตาม นับว่าเป็นนิมติ ทีด่ ที กี่ ระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา ได้เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการบริหารความเสีย่ งด้านการท่องเทีย่ ว โดยในแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวไทย พ.ศ. 2558-2560 ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2558 นั้นได้ กำ�หนดกลยุทธ์พฒ ั นาความปลอดภัยด้านการท่องเทีย่ ว ประกอบด้วย 1. ผลักดันแนวทางการแก้ไขป้ญหาการหลอกลวงนักท่องเที่ยว ปัญหาทัวร์ศูนย์เหรียญ ปัญหามัคคุเทศก์เถื่อน และการทำ�ร้าย ต่อชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยว 2. ส่ ง เสริ ม ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ นำ� เที่ ย วและ มัคคุเทศก์ เพื่อเป็นเครือข่ายในการสอดส่องผู้ประกอบธุรกิจ นำ�เทีย่ วและมัคคุเทศก์ทมี่ พี ฤติกรรมเสีย่ งต่อการกระทำ�ความผิด 3. พัฒนากลไกและปรับปรุงประสิทธิภาพการทำ�งานของศูนย์รับ แจ้งเหตุของตำ�รวจท่องเที่ยว และศูนย์บริการนักท่องเที่ยวทาง โทรศัพท์ 1155 4. จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือเยียวยานักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ​ิ 5. จัดตั้งศาลแผนกคดีนักท่องเที่ยวในศาลยุติธรรมเพื่ออำ�นวย ความสะดวกให้แก่นกั ท่องเทีย่ วชาวต่างชาติในการดำ�เนินคดีตา่ งๆ 6. สนับสนุนมาตรการจัดการความปลอดภัยในการเดินทาง 7. ผลักดันให้มีการกำ�หนดมาตรฐานการให้บริการและมาตรฐาน ความปลอดภัยทางการท่องเที่ยวในกิจกรรมการท่องเที่ยว ทุกรูปแบบ ซึง่ แม้จะไม่ครอบคลุมความเสีย่ งทุกประเภท แต่กเ็ ป็นการดำ�เนินการ ที่มุ่งเน้นภัยที่มีผลกระทบโดยตรงต่อนักท่องเที่ยว และเป็นปัญหา ทีอ่ ตุ สาหกรรมท่องเทีย่ วของไทยเผชิญอยูใ่ นปัจจุบนั เป็นการเริม่ ต้น ที่ดีที่จะนำ�ไปสู่การบริหารความเสี่ยงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว อย่างสมบูรณ์ในอนาคต

ปัจจุบันยังไม่มีกลไกการบริหารจัดการความเสี่ยงเฉพาะด้านการ ท่องเทีย่ วของประเทศ แต่มกี ลไกการบริหารจัดการความเสีย่ งโดยรวม ที่มีทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติโดยหน่วยงานหลัก ได้แก่ คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช) คณะกรรมการป้ อ งกั น อุ บั ติ ภั ย แห่ ง ชาติ (กปอ.) กรมป้ อ งกั น และบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ สถาบัน การแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กองบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ กองอำ�นวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ที่มีทั้งในส่วนกลาง ระดับจังหวัด ระดับอำ�เภอ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา ระดับเทศบาล และองค์กรบริหารส่วนตำ�บล รวมทั้ง หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของกระทรวงการท่องเที่ยวและ กี ฬ ามี บ ทบาทหน้ า ที่ ใ นการให้ ความรู้ แ ละเผยแพร่ ความรู้ ด้ า น ความปลอดภัยเมือ่ เกิดสาธารณภัยแก่นกั ท่องเทีย่ วและผูป้ ระกอบการ ข้อเสนอการบริหารความเสี่ยง ในอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว กำ�หนดมาตรการดูแลสถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ให้ มี ความปลอดภั ย รวมถึ ง การฟื้ น ฟู แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ ไ ด้ รั บ เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวมีความ ครบถ้วนสมบูรณ์ สามารถป้องกันและลดผลกระทบต่ออุตสาหกรรม ผลกระทบจากสาธารณภัย ท่องเทีย่ วทีม่ มี ลู ค่าสูงถึง 2.5 ล้านล้านบาท ในปี 2560 กระทรวง ในส่วนของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวนั้น ยังมีการตื่นตัวด้าน การท่องเทีย่ วและกีฬาจำ�เป็นต้องมีบทบาทในการบริหารความเสีย่ ง การบริหารความเสี่ยงค่อนข้างน้อย หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้ครอบคลุมประเด็นต่างๆ เพิ่มขึ้น ยังมิได้ด�ำ เนินการศึกษาและวางแผนด้านการบริหารความเสีย่ งและ ซึ่งแนวทางที่ควรดำ�เนินการได้แก่ การจัดทำ�แผนดำ�เนินธุรกิจต่อเนือ่ งสำ�หรับอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว 1. ด้านมาตรฐานแหล่งท่องเทีย่ วและบริการด้านการท่องเทีย่ ว เช่น โดยเฉพาะ ยังไม่มีการจัดทำ�แผนรองรับกรณีเกิดภัยพิบัติและ พัฒนามาตรฐานการให้บริการด้านการท่องเที่ยวทุกประเภท พัฒนาระบบการบริหารความเสีย่ งในแหล่งท่องเทีย่ วสำ�คัญ เป็นต้น 30

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


การบริหารจัดการความเสี่ยง..ของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวไทย

2. ด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมทั่วไปและความมั่นคง ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว เช่น สร้างระบบอาสาสมัครดูแล ความปลอดภัยนักท่องเที่ยว จัดทำ�ระบบรับร้องเรียนและระบบ ให้ความช่วยเหลือทีท่ นั สมัยและมีประสิทธิภาพ พัฒนาจิตสำ�นึก ผู้ให้บริการสาธารณะแก่นักท่องเที่ยว จัดทำ�คู่มือท่องเที่ยว ปลอดภัยแจกจ่ายให้กับนักท่องเที่ยว เป็นต้น 3. ด้านความปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ เช่น พัฒนาระบบรับแจ้งเหตุ และแจ้งเตือนภัยในแหล่งท่องเที่ยว พัฒนาบุคลากรของชุมชน หรือองค์กรท้องถิ่นให้มีความพร้อมในการเข้าถึงผู้ประสบภัย และช่วยเหลือนักท่องเที่ยวได้อย่างปลอดภัย ส่งเสริมและ สนับสนุนให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแก่นกั ท่องเทีย่ ว จัดตัง้ คณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงในระดับพื้นที่แหล่งท่องเที่ยว อบรมให้ความรู้แก่ บริษัทนำ�เที่ยว ผู้ประกอบการที่ให้บริการแก่นักท่องเที่ยว และ มั ค คุ เ ทศก์ ในด้ า นการป้ อ งกั น และช่ ว ยเหลื อ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ที่ประสบภัยธรรมชาติ และอาสาสมัครช่วยเหลือนักท่องเที่ยว เป็นต้น 4. ด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมร้ายแรง เช่น จัดทำ�สถิติ อาชญากรรมร้ายแรงในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเพื่อการวางแผน จัดทำ�ระบบฐานข้อมูลจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเพื่อ

การพัฒนาและเตือนอันตรายแก่นกั ท่องเทีย่ ว สร้างระบบเครือข่าย ความร่วมมือในการเฝ้าระวังภัยจากอาชญากรรมร้ายแรง เป็นต้น 5. ด้านความปลอดภัยด้านความมั่นคง เช่น จัดทำ�แผนบริหาร ความเสีย่ งในด้านการท่องเทีย่ วภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบ จั ด ทำ � ระบบฐานข้ อ มู ล หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งและเครื อ ข่ า ย ความร่วมมือที่จะต้องประสานความร่วมมือในสถานการณ์ ความไม่สงบ จัดทำ�หลักเกณฑ์และแนวทางการให้ความช่วยเหลือ เบือ้ งต้นแก่นกั ท่องเทีย่ วทีไ่ ด้รบั ความเสียหายส่งเสริม และสนับสนุน ให้ผู้ประกอบการในภาคธุรกิจท่องเที่ยวจัดทำ�แผนดำ�เนินธุรกิจ ต่อเนื่อง เป็นต้น กลไกการกำ�กับดูแลด้านการบริหารความเสี่ยงด้านการท่องเที่ยว ปัจจัยสำ�คัญที่มีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหาร ความเสี่ยงในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวนั้น นอกเหนือจากกากำ�หนด กลยุทธ์ที่เหมาะสมแล้ว การบูรณาการการทำ�งานร่วมกันของ ทุ ก ภาคส่ ว น รวมทั้ ง การเชื่ อ มโยงเข้ า กั บ บทบาทหน้ า ที่ ข อง หน่ ว ยงานหลั ก ที่ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงกั บ การจั ด การกั บ ภัยพิบัติต่างๆ องค์ประกอบสำ�คัญอีกประการหนึ่งคือการมีกลไก ในการขั บ เคลื่ อ นการดำ � เนิ น การตามยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห าร ความเสี่ยง

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

31


ในโลกของอินเทอร์เน็ต สามารถเปลี่ยนวิถีชีวิต ในการดำ�เนินธุรกิจได้ อย่างคล่องตัว

32

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


Tourism Digital Economy

TOURISM DIGITAL ECONOMY เศรษฐกิจดิจิตอลด้านการท่องเที่ยว

ความหมายและความสำ�คัญของเศรษฐกิจดิจิตอล

“Digital Economy” เป็นคำ�ศัพท์ที่เกิดขึ้นเมื่อ 20 ปีที่แล้ว (ปี 2538) โดย Don Tapscott’s ผู้เขียนหนังสือขายดีที่ชื่อ “The Digital Economy: Promise and Peril in the Age of Networked Intelligence” ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความสำ�คัญของอินเทอร์เน็ตในการเปลี่ยนวิธีการ ดำ�เนินธุรกิจ โดยให้นิยามไว้ว่าหมายถึง เศรษฐกิจที่มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจอาศัยเทคโนโลยี สารสนเทศหรือไอที ในบางครั้งอาจเรียกในชื่ออื่นอีกเช่น The Internet Economy, The New Economy, Web Economy สำ�หรับประเทศไทย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ได้ให้ความหมายของเศรษฐกิจ ดิจิตอลไว้ว่า เป็นระบบเศรษฐกิจและสังคมที่มีการติดต่อสื่อสาร การผลิต การอุปโภคบริโภค การใช้สอย การจำ�หน่ายจ่ายแจก การพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ การทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ การคมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ การศึกษา การเกษตร อุตสาหกรรม การสาธารณสุข การเงิน การลงทุน การภาษีอากร การบริหารจัดการข้อมูลและเนื้อหา หรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ สังคมอืน่ ใด หรือการใดๆ ทีม่ กี ระบวนการหรือการดำ�เนินงานทางดิจติ อลหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการวิทยุคมนาคม กิจการโทรคมนาคม กิจการ สือ่ สารดาวเทียม และการบริหารคลืน่ ความถี่ โดยอาศัยโครงสร้างพืน้ ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร รวมทัง้ เทคโนโลยีทม่ี กี ารหลอมรวม หรือเทคโนโลยีอน่ื ใดในทำ�นองคล้ายคลึงกัน เทคโนโลยีดิจิตอลเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วันของประชากรในโลกมานานแล้ว และ มีความสำ�คัญมากขึน้ อย่างทวีคณ ู ในอนาคต เนือ่ งจากผูค้ นต่างมองเห็นประโยชน์ทชี่ ว่ ยให้พวก เขาสามารถติดต่อกันได้อย่างสะดวกสบายโดยไม่มพี รมแดนขวางกัน้ จากข้อมูล Digital, Social and Mobile in 2015 Report ในปี 2558 มีประชากรโลกกว่าร้อยละ 50 ใช้โทรศัพท์มือถือ ใกล้เคียงกับการใช้อินเทอร์เน็ตที่มีการใช้เกือบร้อยละ 50 แต่มากกว่าการใช้สังคมออนไลน์ (Social Media) และสังคมบนมือถือ (Mobile Social) เท่าตัว อย่างไรก็ตาม การใช้ผ่าน สังคมบนมือถือมีแนวโน้มได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นรวดเร็วกว่าการใช้ในรูปแบบอื่นๆ เมื่อดู จากจำ�นวนการใช้ที่เพิ่มขึ้นจากปี 2557 ในอัตราร้อยละ 23 ทั้งนี้ ความนิยมของผู้คนในทวีป อเมริกาเหนือและยุโรปตะวันตกต่อการใช้อนิ เทอร์เน็ตในการสือ่ สารสูงสุดเมือ่ เทียบกับภูมภิ าค อื่นของโลก โดยมีคนที่ใช้อินเทอร์เน็ตสูงถึงกว่าร้อยละ 80 ของจำ�นวนประชากร ในขณะที่ ทวีปเอเชียยังคงนิยมใช้น้อย โดยเฉพาะในแถบเอเชียใต้มีการใช้น้อยที่สุดในโลกเพียง ร้อยละ 19 ของประชากร รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

33


Tourism Digital Economy

เศรษฐกิจดิจิตอลกับการท่องเที่ยว

อุตสาหกรรมการเดินทางและท่องเที่ยวมีความสำ�คัญกับเศรษฐกิจโลก มาอย่างต่อเนือ่ ง และมีแนวโน้มจะเติบโตขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ 4 ทุกปีภายใน ช่วงสิบปีข้างหน้า ในปี 2557 มีจำ�นวนคนที่เดินทางข้ามพรมแดนทั้ง เพือ่ ทำ�ธุรกิจ มาพักผ่อน เพือ่ การศึกษา และอืน่ ๆ สูงถึง 1,133 ล้านคน และ คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ อีกเท่าตัวในปี 2573 ซึง่ สภาการท่องเทีย่ ว และเดินทาง ของโลก (World Travel & Tourism Council : WTTC) มองว่าแรงขับเคลือ่ น หนึง่ ทีเ่ ป็นหัวใจสำ�คัญนำ�ไปสูค่ วามยัง่ ยืนของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วก็คอื ความก้ า วหน้ า ทางด้ า นเทคโนโลยีท่ีจะเชื่อมโลกให้ใกล้กันมากขึ้น (Global Connectivity) โดยเฉพาะการใช้โทรศัพท์มอื ถือทีเ่ ข้ามามีบทบาท เปลี่ยนโฉมหน้าของการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้คนไปโดยสิ้นเชิง เทคโนโลยีดจิ ติ อลไม่ใช่เรือ่ งใหม่ส�ำ หรับการท่องเทีย่ วทีผ่ า่ นมา และปัจจุบนั มีการนำ�ดิจิตอลเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งการใช้ค้นหาข้อมูลแหล่งท่องเที่ยว การซือ้ แพ็คเกจทัวร์ การจองตัว๋ เครือ่ งบิน รถไฟ เรือโดยสาร การเช่ารถยนต์ การสืบค้นข้อมูลการเดินทางจาประสบการณ์การท่องเที่ยวของผู้อื่น ที่นิยมแบ่งปันกันมากขึ้น (http://travelmarketinsider.com/tag/ tourism-social-media-statistics/) มูลค่าการขายบริการการเดินทาง ออนไลน์สงู ถึง 524 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และเติบโตร้อยละ 8.4 คิดเป็น 1 ใน 4 ของยอดขายบริการการเดินทางทั่วโลก นักเดินทางส่วนใหญ่ (ร้อยละ 68) จะค้นหาข้อมูลออนไลน์กอ่ นการตัดสินใจผ่านทาง Search Engine บนมือถือ หรือแท็บเล็ต หรือเว็บไซด์ของโรงแรม และธุรกิจ การเดินทางโดยตรงแต่จะใช้บริการการจองโดยเฉพาะโรงแรมทีพ่ กั ผ่าน ตัวแทนท่องเทีย่ วออนไลน์ (Online Travel Agency : OTA) มากกว่า ซึง่ การจองผ่าน OTA นีไ้ ด้รบั ความนิยมเพิม่ ขึน้ ตามลำ�ดับเนือ่ งจากรูปแบบ การนำ�เสนอที่น่าสนใจ มีข้อมูลในรายละเอียดเกี่ยวกับโรงแรมที่พัก สามารถเปรียบเทียบราคาของห้องพักโรงแรมในแต่ละแหล่งได้ครอบคลุม มากกว่า ทัง้ ทีร่ าคาการจองผ่าน OTA เท่ากับหรือน้อยกว่าการจองโดยตรง กับโรงแรมด้วยเป็นเงือ่ นไขของการเป็นสมาชิกเครือข่าย OTA ทีก่ �ำ หนดไว้ ที่สำ�คัญคือ ข้อมูลในอินเทอร์เน็ตเข้ามามีส่วนในการสร้างความสนใจ ของนักท่องเทีย่ วทีจ่ ะเดินทางสูงถึงร้อยละ 61 ใกล้เคียงกับข้อมูลที่ได้รบั จากการบอกเล่าของเพื่อน ครอบครัว และเพื่อนร่วมงาน

ที่มา : http//wearesocial.net/blog/2015/01/ digital-social-mobile-worldwide-2015/

34

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

ในอนาคตเป็นทีค่ าดการณ์กนั ว่า เกือบครึง่ หนึง่ ของอุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว จะหันมาให้ความสนใจกับสือ่ สังคมออนไลน์นบั ว่าเป็นโอกาสทองสำ�หรับ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของธุรกิจท่องเที่ยว โดยเครือข่าย สังคมออนไลน์ท่จี ะยังคงได้รับความนิยมของนักเดินทาง และเข้ามา มีบทบาทต่ออุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วต่อไปคือ Facebook / Twitter ซึ่งเติบโตเร็วมาก / Pinterest ที่มีการนำ�เสนอในลักษณะของรูปภาพ สวยงามซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่ของกลุ่มผู้หญิงเป็นส่วนใหญ่ / YouTube ที่มีการเติบโตเกือบสองเท่าตัว / Google ที่ยังคงเป็น Search Engine หลักของนักเดินทางตัง้ แต่การสร้างความสนใจในการเดินทาง การวางแผน การเดินทาง การจองสิง่ อำ�นวยความสะดวกต่างๆ การแสดงความคิดเห็น และแบ่งปันประสบการณ์การเดินทาง และที่เป็นดาวรุ่งพุ่งแรงไม่แพ้ Pinterest ในการส่งเสริมการตลาดก็คือ การนำ�เสนอข้อมูลต่างๆ ในรูปแบบวีดโิ อทีม่ ภี าพเคลือ่ นไหวทีส่ วยงามน่าสนใจประกอบพร้อมเสียง


Tourism Digital Economy

เศรษฐกิจดิจิตอลด้านการท่องเที่ยวของไทย

ประเทศไทยเริ่มมีการนำ�เทคโนโลยีดิจิตอลมาใช้ในอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวประมาณ 10 ปีที่แล้ว เพื่อรองรับการขยายตัวด้านการ ท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมทำ�ธุรกรรม การเดินทางโดยใช้เทคโนโลยีดจิ ติ อลผ่านทางเว็บไซด์และแอพพลิเคชัน่ บนมือถือ จากการสำ�รวจพฤติกรรมผูใ้ ช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ปี 2558 โดยสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ETDA พบว่ากลุม่ คนไทยวัยทำ�งานและสูงอายุคอื Gen X (อายุระหว่าง 35-50) และ Baby Boomer (อายุ 51-69 ปี) มีการใช้บริการออนไลน์ ทางการเดินทางมากทีส่ ดุ แต่ตอ้ งให้ความสำ�คัญเช่นเดียวกันกับกลุม่ Gen Y (อายุระหว่าง 15-34 ปี) ที่นิยมใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด ถึงวันละเกือบ 8 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ผ่านทางโทรศัพท์มือถือเพื่อใช้ พูดคุยในสังคมออนไลน์ (Facebook / Line /Google /Instagram/ ความเข้าใจของภาครัฐและเอกชนต่อเศรษฐกิจ Twitter) และมีแนวโน้มซื้อขายทางออนไลน์เพิ่มขึ้น ซึ่งจะเป็นฐาน ดิจิตอล ภาครัฐเห็นความสำ�คัญของเศรษฐกิจดิจิตอลในการเป็นเครื่องมือ ลูกค้ากลุ่มใหญ่ในอนาคต สร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมาโดยตลอด เช่นเดียวกับ การนำ�เทคโนโลยีดจิ ติ อลมาใช้ดา้ นการท่องเทีย่ วของไทยมีทงั้ ทีเ่ ป็น รัฐบาลชุดปัจจุบนั ทีม่ พี ลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี หน่วยงานภาครัฐผ่านทางเว็บไซด์ของหน่วยงานหลัก อาทิ กระทรวง ได้กำ�หนดไว้เป็นส่วนหนึ่งของนโยบายรัฐบาลที่จะส่งเสริมภาค การท่องเที่ยวและกีฬาที่เน้นการให้ข้อมูลสำ�หรับการวางนโยบาย เศรษฐกิจดิจติ อลและวางรากฐานของเศรษฐกิจดิจติ อลของประเทศ และแผน และการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ที่เน้นข้อมูล อย่างจริงจังภายใต้กลไกการขับเคลื่อนในรูปของกระทรวงดิจิตอล ทางด้านการตลาดและบริการสำ�หรับนักท่องเทีย่ ว สำ�หรับภาคเอกชน เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม และคณะกรรมการเศรษฐกิจดิจติ อลแห่งชาติ มีการนำ�เสนอข้อมูลข่าวสารด้านตลาดการท่องเทีย่ วและการจำ�หน่าย ทีม่ นี ายกรัฐมนตรีเป็นประธาน มีองค์ประกอบมาจากกระทรวงต่างๆ สิ น ค้ า และบริ การผ่ า นทางเว็ บ ไซด์ ข องบริ ษัท ทั ว ร์ และบริ ษัท รัฐวิสาหกิจและตัวแทนองค์กรภาคเอกชน (3 สถาบัน) และผูท้ รงคุณวุฒ ิ ทีเ่ ป็นตัวแทนในการรับจองบริการต่างๆ ทางการท่องเที่ยวที่มีอยู่ ทำ � หน้ า ที่ ชี้ นำ � ทิ ศ ทางการพั ฒ นาให้ แ ก่ ห น่ ว ยงานทั้ ง ภาครั ฐ เป็นจำ�นวนมากทั้งบริษัทระดับโลก(Global network) อย่างเช่น และภาคเอกชนเพื่ อ รั บ ไปดำ � เนิ น การต่ อ ไป ซึ่ ง เป็ น ที่ คาดว่ า Expedia / Sabre holdings / Voyages-snfc.com / Opodo/ จะช่ ว ยให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจนโยบายและแนวทางการทำ � งาน The Priceline group / Orbitz worldwide / Travelgenio /Wotif / ร่ ว มกั น อย่ า งเป็ น บู ร ณาการระหว่ า งหน่ ว ยงานต่ า งๆ มากขึ้ น TripAdvisor / Virtualtourist / GLOBOsapiens / IgoUgo และบริษทั ซึ่งหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องได้ขานรับกับนโยบายดังกล่าว ในประเทศที่มีการพัฒนาเว็บไซด์เพื่อเป็นตัวแทนในการนำ�เสนอ โดยมีความเคลื่อนไหวในการดำ�เนินมาตรการในส่วนที่เกี่ยวข้อง สินค้าและบริการของเครือข่ายสมาชิก อาทิ hotelthailand.com อาทิ กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ดูแลด้าน e-commerce ซึ่งเป็นเว็บไซด์ของคนไทยใช้สำ�หรับจองโรงแรมในประเทศไทย ได้ วางรากฐานการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ดิ จิ ต อลไว้ 3 ประการ เช่นเดียวกับ sawasdde.com/asiaroom.com/asiatravel.com/ ได้แก่ การนำ�ระบบดิจิตอลมาใช้ในการให้บริการของกระทรวงฯ sawadee.com ซึง่ มีทง้ั ผลดีและผลเสียต่ออุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว การส่ ง เสริ ม การส่ ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดิ จิ ต อล และการส่ ง เสริ ม ของไทย ผลดีก็คือ ช่วยเพิ่มช่องทางการจำ�หน่ายสินค้าและบริการ และผลักดันธุรกิจ e-commerce ในประเทศให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง ด้านการท่องเที่ยว โดยเฉพาะโรงแรมอิสระที่จะมีโอกาสแข่งกับ สำ�หรับด้านการท่องเทีย่ ว กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา ได้ก�ำ หนด โรงแรมเครือข่าย (Chain Hotels) ทีม่ เี ครือข่ายการตลาดทีก่ ว้างขวาง ให้การพัฒนาเศรษฐกิจดิจติ อลเป็นแนวทางการดำ�เนินงานหนึง่ ภายใต้ ทัว่ โลก แต่ตอ้ งยอมเสียค่าคอมมิชชัน่ หรือส่วนลดทางการค้าให้กบั แผนพัฒนาการท่องเทีย่ วแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เพือ่ การพัฒนา OTAs ทั้งหลาย โดยปกติอยู่ระหว่างร้อยละ 10-25 หรือเฉลี่ย โครงสร้างพืน้ ฐานและสิง่ อำ�นวยความสะดวกเพือ่ การท่องเทีย่ ว รวมทัง้ ร้อยละ 20 และไม่สามารถขายโดยตรงให้กบั ผูบ้ ริโภคในราคาทีส่ งู กว่า การสร้างภาพลักษณ์และส่งเสริมการตลาด เช่น การสนับสนุน ซึ่งทำ�ให้แต่ละปีอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของไทยสูญเสียโอกาสใน การใช้ e-commerce ในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การจัดทำ� การสร้างรายได้เพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวนมหาศาล สาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้ และเชื่อมโยงระบบข้อมูลและการให้บริการด้านการท่องเที่ยวที่มี ธุรกิจในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต้องหันมาใช้บริการจาก OTA คุณภาพผ่านเว็บไซด์ การปรับปรุงช่องทางการจัดจำ�หน่ายและ คือ ขาดศักยภาพและข้อจำ�กัดในการจัดทำ�เว็บไซด์ที่ครอบคลุม การประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุมเครือข่ายออนไลน์ที่นักเดินทางให้ เนือ้ หาข้อมูลครอบคลุมครบถ้วนและตรงกับความต้องการเพือ่ เป็น ความนิยมมากขึ้น เป็นต้น ทางเลือกของผู้สนใจเดินทาง รวมทั้งไม่สามารถจัดทำ�เว็บไซด์ที่ เหมาะกับการใช้งานผ่านอุปกรณ์พกพาต่างๆ ที่กำ�ลังเป็นที่นิยม รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว 35


Tourism Digital Economy

โอกาสและข้อจำ�กัดของเศรษฐกิจดิจิตอล ของการท่องเที่ยวไทย โอกาส

• มีกลไกและแนวทางการผลักดันเศรษฐกิจดิจิตอลทั้งระดับประเทศ และ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่ชัดเจน • มีความพร้อมทางเทคโนโลยี โดยประเทศไทยอยูใ่ นกลุม่ ทีเ่ รียกว่า Break Out ซึง่ เป็นกลุม่ ทีม่ ศี กั ยภาพทีจ่ ะพัฒนาเศรษฐกิจดิจติ อลทีเ่ ข้มแข็งได้ และสามารถ พัฒนาตนเองไปสู่จุดที่มีระดับการพัฒนาดิจิตอลสูง (Stand Out) ทำ�ให้ ประเทศไทยนำ�หน้าประเทศในกลุ่มอาเซียนยกเว้นมาเลเซียและสิงคโปร์ นอกจากนั้นประเทศไทย ยังติดอันดับหนึ่งในโลกสำ�หรับความครอบคลุม ของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ของโลก • นักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาตินยิ มการทำ�ธุรกรรมทางการท่องเทีย่ ว ผ่านทางออนไลน์มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง • การประมูลคลื่นความถี่ 4G ที่เพิ่งมีการประมูลเสร็จสิ้นไปจะช่วยเพิ่ม สมรรถนะของสัญญาณการส่งข้อมูลผ่านอุปกรณ์เครือข่ายมือถือและ สำ�หรับภาคเอกชน หลังจากรัฐบาลได้ประกาศนโยบาย อินเทอร์เน็ตได้มากขึ้น เรื่องนี้การผลักดันแนวคิดเศรษฐกิจดิจิตอลก็เริ่มแพร่ ขยายไปสูว่ งกว้าง โดยเฉพาะในแวดวงเอกชน ซึง่ ส่วนใหญ่ ตอบรับเศรษฐกิจดิจิตอลในทางบวก (www.thairath. ข้อจำ�กัด co.th/content/472008) โดยมองว่าการพัฒนาเศรษฐกิจ • ร้อยละ 99.9 ของสถานประกอบการในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นธุรกิจ ดิจติ อลเป็นเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ เองอยูแ่ ล้วในวงการธุรกิจเพือ่ SMEs ซึ่งส่วนใหญ่ขาดความรู้ถึงประโยชน์ที่จะได้รับและวิธีการบริหาร ให้สามารถเท่าทันโลก และมองเห็นประโยชน์ ในการ จัดการ รวมทั้งขาดเงินทุนในการปรับเปลี่ยนมาสูก่ ารใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ นำ�มาใช้เป็นเครือ่ งมือในการผลิต การขาย และการบริโภค • การติดต่อสื่อสารมีแนวโน้มเคลื่อนที่ได้มากขึ้นรวมทั้งมีความรวดเร็ว และ ให้มปี ระสิทธิภาพและสะดวกรวดเร็วยิง่ ขึน้ ช่วยในเรือ่ ง เป็นปัจจุบันมากขึ้นด้วยเทคโนโลยีมือถือ และการพัฒนาแอพพลิเคชั่น ของการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในรูปแบบต่างๆ ทำ�ให้ผู้บริโภคสนใจ และมีความต้องการที่จะติดต่อและ รวมทัง้ ช่วยให้ภาคธุรกิจสามารถเชือ่ มโยงกับตลาดโลก พูดคุย แบ่งปันข้อมูล และประสบการณ์ผา่ นทางการใช้แอพพลิเคชัน่ ต่างๆ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขันของธุรกิจ สร้างโอกาส ที่มีความหลากหลายมากขึ้น การเข้าถึงการศึกษาและองค์ความรู้ได้มากขึ้น รวมทั้ง • ขาดการจัดทำ�ระบบข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจดิจิตอลด้านการท่องเที่ยว เป็นการเผยแพร่วัฒนธรรมของประเทศไปสู่สายตา เพือ่ ใช้ในการกำ�หนดนโยบายทัง้ ของภาครัฐและเอกชน ชาวโลกโดยไม่มีค่าใช้จ่าย อย่างไรก็ตาม ภาคเอกชน • ขาดความพร้อมของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT Readiness) จากการ อยากเห็นความชัดเจนของเป้าหมายทางด้านเศรษฐกิจ จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการเดินทางและท่องเที่ยวของ ดิจิตอลของประเทศพร้อมเงื่อนไขทางด้านเวลาที่จะ WEF ที่ ถื อ เป็ น จุ ด อ่ อ นของไทย คื อ สั ด ส่ ว นผู้ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต และ บรรลุเป้าหมายดังกล่าว พร้อมแนวทางทีช่ ดั เจนเริม่ จาก อัตราส่วนการเป็นสมาชิกอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Broadband internet) การผลักดันการบริหารงานภาครัฐเป็น e-government ต่อประชากร 100 คน รวมทั้งการใช้ ICT ระหว่างธุรกิจกับธุรกิจที่ยังมีน้อย ที่มีการนำ�เสนอข้อมูลให้สาธารณชนรับทราบอย่าง • จากข้อมูลสถิติด้านภัยคุกคามไซเบอร์ของไทยปี 2557 ที่รวบรวมโดย โปร่งใสและทัว่ ถึงส่งเสริมให้มกี ารใช้ระบบ e-commerce ThaiCERT พบว่า การหลอกลวงซื้อขายออนไลน์เป็นภัยคุกคามไซเบอร์ ในการทำ�ธุรกิจมากขึน้ สร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึง อันดับ 2 ของไทย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 25.2 ของภัยคุกคามไซเบอร์ เทคโนโลยี ดิ จิ ต อลด้ ว ยราคาที่ ไ ม่ แ พง พร้ อ มด้ ว ย ทีเ่ กิดขึน้ ทุกประเภท ปัญหาทางด้านการท่องเทีย่ วส่วนใหญ่เป็นการโอนเงิน การพัฒนาซอฟต์แวร์ และแอพพลิเคชัน่ โดยการพัฒนา ซื้อแพ็คเกจทัวร์แต่ไม่ได้รับบริการจริง หรือได้รับบริการที่ไม่เป็นไปตาม นักคิด ปลูกฝังความรู้ความเข้าใจในการใช้ประโยชน์ ข้อตกลง เนือ่ งจากปัจจุบนั มีธรุ กิจทีใ่ ห้บริการออนไลน์เกิดขึน้ กว่า 5 แสนราย เทคโนโลยีดิจิตอลในทางที่ถูกให้กับเยาวชน ตลอดจน แต่มที จ่ี ดทะเบียนพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์กบั กระทรวงพาณิชย์ เพียง 13,932 ราย การวางระบบอิ น เตอร์ เ น็ ต ให้ มี ความปลอดภั ย และ จำ�นวน 15,736 เว็บไซด์ ซึ่งนับว่าน้อยมาก รวมทั้งส่วนใหญ่ยังไม่มีการไป เหมาะสมกับสถานการณ์ และประเภทของผู้ใช้ จดทะเบียนการขายสินค้าผ่านระบบออนไลน์กบั สำ�นักงานคุม้ ครองผูบ้ ริโภค (สคบ.) ซึง่ ธุรกิจที่ให้บริการออนไลน์จะต้องดำ�เนินการตามกฎหมายเช่นกัน 36

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


Tourism Digital Economy

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

• อุตสาหกรรมท่องเที่ยวนับได้ว่ามีส่วนสำ�คัญกับการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศทั้งในปัจจุบันและแนวโน้ม ในอนาคต รวมทัง้ มีความพร้อมของแนวทางการพัฒนาทีก่ �ำ หนด ไว้ภายใต้ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาท่องเทีย่ ว จึงควรได้รบั ความสำ�คัญ ในการเป็นสาขานำ�ร่อง (Pioneer) สำ�หรับจัดทำ�ยุทธศาสตร์ และแนวทางการผลักดันเศรษฐกิจดิจิตอลของประเทศ • ควรมี ห น่ ว ยงานดู แ ลด้ า นการดำ � เนิ น การธุ ร กิ จ ออนไลน์ ด้านการท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดการค้าที่เป็นธรรม • เร่งพัฒนาซอฟท์แวร์และแอพพลิเคชั่นด้านการท่องเที่ยวที่ สามารถตอบสนองต่อพฤติกรรมความต้องการของผู้บริโภค (นักท่องเทีย่ ว) ด้วยประสิทธิภาพการใช้งานและต้นทุนทีแ่ ข่งขันได้ • ส่งเสริมให้คนไทยใช้อินเทอร์เน็ตและอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง มากขึ้น รวมทั้งการนำ� ICT มาใช้ทั้งในรูปของ B2B และ B2C • ส่งเสริมธุรกิจ SMEs ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวให้สามารถนำ� ICT มาใช้ในการบริหารจัดการได้จริง โดยการสร้างให้เห็นถึง ความสำ�คัญ การให้องค์ความรู้เกี่ยวกับ ICT แนวคิด วิธีการ และการนำ�มาใช้ประโยชน์ในเชิงธุรกิจด้านการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ การสนั บ สนุ น เงิ น ลงทุ น ในการปรั บ เปลี่ ย น โดยใช้ รู ป แบบ การบ่มเพาะธุรกิจ (Incubator) เป็นเครือ่ งมือหลักในการส่งเสริม • พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยวให้มีความรู้ ความ สามารถทางด้าน ICT และด้านภาษาต่างประเทศ (อังกฤษ รัสเซีย จีน ญีป่ นุ่ เป็นหลัก) ผ่านทางหลักสูตรการเรียนการสอน ของสถาบันการศึกษาที่สอนด้านการท่องเที่ยว และหลักสูตร การอบรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • จัดทำ�ฐานข้อมูลด้านการท่องเที่ยวที่มีเนื้อหา รูปแบบ และ ช่ อ งทางการนำ � เสนอตามแนวโน้ ม พฤติ ก รรมผู้ บ ริ โ ภค (นักท่องเที่ยว) และสามารถเลือกได้หลายภาษา • สนั บ สนุ น ให้ ภ าคเอกชนร่ ว มมื อ กั น จั ด ทำ � ข้ อ มู ล ด้ า นการ ท่องเทีย่ วออนไลน์และการเชือ่ มโยงระบบบริการต่างๆ ด้านการ ท่องเที่ยวทางเว็บไซด์ (OTA) ที่มีเนื้อหา รูปแบบ และช่องทาง

การนำ�เสนอตามแนวโน้มพฤติกรรมผูบ้ ริโภค (นักท่องเทีย่ ว) โดย เฉพาะโทรศัพท์มือถือที่ได้รับความนิยมมากขึ้น และสามารถ เลือกได้หลายภาษา เพือ่ เพิม่ และขยายช่องทางการจัดจําหน่าย ผ่านเครือข่ายธุรกิจ และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การท่องเทีย่ ว ผ่านช่องทางต่างๆ ให้มากขึ้น ส่งเสริมให้มีการนําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้พัฒนา การอำ�นวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพมากขึ้น เช่น ขัน้ ตอนการขอวีซา่ และการตรวจลงตราแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-visa) ระบบตรวจสอบคนเข้าเมืองทั้งจุดเข้า-ออกชายแดน และสนามบิน เป็นต้น พั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ รวบรวมข้ อ มู ล และ กิจกรรมทางด้านการท่องเที่ยวทั้งหมดไว้ด้วยกันในลักษณะ Thailand Gateway เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาสืบค้น ข้อมูลและใช้บริการด้านการท่องเที่ยว เช่น เชื่อมโยงการจอง บัตรโดยสารระหว่างเครื่องบิน รถไฟ และรถโดยสารประจําทาง และการซือ้ - ขาย ระหว่างผูป้ ระกอบการและนักท่องเทีย่ ว เป็นต้น ผ่านทางเว็บไซต์กลางทีส่ ามารถสืบค้นได้ถงึ ระดับพืน้ ที่ ทันสมัย สามารถเข้าถึงได้ง่ายจากอุปกรณ์ดิจิตอลประเภทต่างๆ พัฒนา Tourism Intelligence Center (TIC) ที่เป็นคลังข้อมูล และรวบรวมผลงานวิจยั ด้านการท่องเทีย่ วของประเทศ และระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ อาทิ ระบบวิเคราะห์ ประมาณการณ์แนวโน้ม และระบบ GIS เป็นต้น เร่งทบทวน ปรับปรุง และยกร่างกฎหมายที่ชัดเจนในเรื่อง ความมั่นคงปลอดภัยของระบบดิจิตอล และการคุ้มครองข้อมูล ประเภทต่างๆ รวมทั้งสนับสนุนให้มีการบังคับใช้กฎหมาย อย่างเข้มงวดเพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นให้กับผู้ใช้บริการ

สิ่งสำ�คัญที่สุดที่ภาครัฐต้องตระหนักอย่างยิ่งคือเศรษฐกิจดิจิตอล ของโลกเติบโตและขยายตัวอย่างรวดเร็ว ประเทศไทยไม่สามารถ ดำ�เนินการแบบค่อยเป็นค่อยไปอีกต่อไปแล้ว เพราะโลกไร้พรมแดน สำ�หรับเศรษฐกิจดิจติ อลโอกาสทีต่ า่ งชาติจะเข้ามาครอบงำ�ได้งา่ ยมาก ดังจะเห็นได้จากกรณี agoda ที่ผู้จะจองห้องพักในประเทศไทย จำ�นวนมากจองผ่าน ซึง่ หมายถึงประเทศไทยต้องสูญเสียประโยชน์ มหาศาล

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

37


Tourism Digital Economy

THAILAND TOURISM INDICATORS

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว

35%

78%

38

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว


2556 Y +26.01 +12.85 +9.64 +5.26 -1.60 +2.60 +3.39 +18.76

Country of Residence East Asia Europe The Americas South Asia Oceania Middle East Africa Grand Total

2557 Y -8.26 -2.07 -4.99 -8.50 -7.40 -5.42 +0.08 -6.54

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +34.30 +37.51 +29.44 +6.87 +10.32 +13.17 +12.04 +15.96 +11.17 +4.43 +9.37 +12.47 +15.49 -0.80 +5.91 +3.09 +4.70 -7.62 -3.51 +0.63 -0.86 -5.61 +2.88 +16.02 -5.59 -3.38 +9.34 +12.53 +22.06 +24.31 +21.40 +9.32

2557 Q1 -16.98 +6.52 -3.98 -14.99 -10.89 -12.56 -8.94 -9.02

2557 2556 2557 Y Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 14,767,849 3,886,450 3,994,306 4,363,811 3,852,901 3,226,582 6,028,171 2,069,802 1,026,192 1,092,721 1,966,867 2,204,727 1,048,911 315,931 242,616 216,248 329,168 303,367 1,213,785 306,308 361,006 322,705 336,499 260,382 943,930 241,992 237,119 264,149 276,114 215,645 644,265 151,642 163,631 202,073 163,827 132,596 162,772 35,779 38,735 38,469 49,664 32,581 24,809,683 7,007,904 6,063,605 6,500,176 6,975,040 6,375,880

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

2556 Y 16,097,468 6,155,582 1,103,963 1,326,518 1,019,374 681,173 162,647 26,546,725

Country of Residence East Asia Europe The Americas South Asia Oceania Middle East Africa Grand Total

จำ�นวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

Q2 -21.43 -2.33 -7.04 -12.27 +0.90 -17.05 +1.66 -15.94

Q3 -11.74 -6.33 -6.24 -10.18 -8.88 +0.21 +3.38 -10.00

Q4 +18.14 -8.60 -3.62 +3.07 -10.06 +5.87 +2.78 +7.33

Q2 Q3 Q4 3,138,149 3,851,322 4,551,796 1,002,241 1,023,541 1,797,662 225,534 202,754 317,256 316,713 289,850 346,840 239,249 240,695 248,341 135,736 202,497 173,436 39,379 39,769 51,043 5,097,001 5,850,428 7,486,374

(หน่วย : ร้อยละ) 2558P Q1 Q2 Q3 +51.63 +60.50 +32.34 -14.04 -9.83 +4.71 +6.84 +16.46 +21.02 +16.59 +16.62 +21.78 -1.73 -5.64 -0.08 +26.82 +3.87 +11.85 +3.82 +0.49 +1.72 +22.79 +36.92 +24.34

2558P Q1 Q2 4,892,480 5,036,626 1,895,093 903,767 324,108 262,666 303,582 369,349 211,904 225,751 168,159 140,983 33,827 39,573 7,829,153 6,978,715

(หน่วย : คน) Q3 5,096,900 1,071,722 245,380 352,975 240,495 226,502 40,454 7,274,428

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

39


40

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

2557 Y -0.13 -0.12 -0.24 +0.04 -0.43 -0.02 -0.23 -0.02

Country 2556 of Residence Y East Asia +0.08 Europe +0.05 The Americas -0.12 South Asia +0.04 Oceania -0.18 Middle East +0.21 Africa +0.16 Grand Total -0.17

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

2557 Y 6.71 16.40 14.72 7.31 12.79 11.88 11.33 9.83

2556 Y 6.84 16.52 14.96 7.27 13.22 11.90 11.56 9.85

Country of Residence East Asia Europe The Americas South Asia Oceania Middle East Africa Grand Total

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +0.05 +0.05 +0.15 -0.05 -0.30 +0.41 +0.45 +0.07 -0.51 +0.25 +0.24 -0.20 -0.20 +0.36 +0.13 -0.13 -0.44 +0.09 -0.08 -0.25 +0.08 +0.18 +0.54 +0.02 -0.14 +0.48 +0.14 +0.30 -0.52 -0.24 -0.07 +0.11

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 6.84 7.21 6.96 6.32 16.38 18.10 17.56 15.28 14.24 16.54 15.57 14.09 6.81 7.78 7.50 6.91 13.11 13.90 13.74 12.23 11.25 12.05 12.65 11.44 11.87 12.37 11.47 10.78 10.33 9.89 9.54 9.63

จำ�นวนวันพักเฉลี่ยนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

2557 Q1 -0.06 -0.31 -0.15 +0.24 -0.56 +0.15 -0.34 +0.33

2557 Q1 6.78 16.07 14.09 7.05 12.55 11.40 11.53 10.66

Q2 -0.37 -0.91 -0.93 -0.22 -1.06 -0.29 -0.56 -0.13

Q2 6.84 17.19 15.61 7.56 12.84 11.76 11.81 9.76

Q3 -0.11 -0.61 -0.15 -0.12 -0.64 -0.39 -0.73 -0.13

Q3 6.85 16.95 15.42 7.38 13.10 12.26 10.74 9.41

Q4 +0.14 +0.77 +0.13 +0.32 +0.42 +0.44 +0.50 -0.14

Q4 6.46 16.05 14.22 7.23 12.65 11.88 11.28 9.49

2558P Q1 Q2 +0.06 +0.41 +0.93 +1.03 +0.39 -0.11 +0.66 +0.73 +0.50 +1.26 +0.57 +0.58 +0.48 +1.37 -0.71 -0.36

2558P Q1 Q2 6.84 7.25 17.00 18.22 14.48 15.50 7.71 8.29 13.05 14.10 11.97 12.34 12.01 13.18 9.95 9.40

(หน่วย : วัน) Q3 +0.29 +0.40 +0.33 +0.17 +0.29 +0.45 +0.33 -0.06

(หน่วย : วัน) Q3 7.14 17.35 15.75 7.55 13.39 12.71 11.07 9.35

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว


2556 Y +6.10 +4.15 +3.01 +4.29 +5.72 +6.14 +3.53 +5.09

Country of Residence East Asia Europe The Americas South Asia Oceania Middle East Africa Grand Total

2557 Y +6.27 +1.94 +4.35 +4.22 +5.82 +6.30 +4.47 +4.17

2557 Y 5,163.34 4,221.65 4,833.91 5,546.59 5,591.79 5,556.79 5,368.71 4,808.92

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

2556 Y 4,858.50 4,141.21 4,632.33 5,321.86 5,284.05 5,227.52 5,138.83 4,616.49

Country of Residence East Asia Europe The Americas South Asia Oceania Middle East Africa Grand Total

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +6.21 +7.13 +6.71 +5.29 +4.39 +4.22 +3.17 +3.81 +1.39 +6.69 +1.86 +2.43 +4.31 +6.88 +2.66 +3.47 +8.37 +5.16 +4.44 +5.46 +7.06 +5.34 +4.64 +7.15 +1.87 +2.79 +3.56 +4.52 +5.90 +5.87 +5.04 +4.20

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 4,962.43 4,571.77 4,954.65 4,964.61 3,939.09 3,770.78 3,858.49 4,774.63 4,719.82 4,054.93 4,531.46 5,118.92 5,148.99 5,126.27 5,186.13 5,862.95 5,022.22 5,026.49 5,303.48 5,762.66 4,910.28 5,298.34 5,115.78 5,588.13 5,002.46 4,970.92 4,919.23 5,575.71 4,473.93 4,365.03 4,625.35 4,982.57

2557 Q1 +3.36 +4.70 +3.29 +2.27 +4.47 +6.19 +3.83 +2.89

2557 Q1 5,129.14 4,124.38 4,875.09 5,265.63 5,246.75 5,214.42 5,194.15 4,603.26

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

Q2 +4.48 +3.73 +6.06 +4.45 +3.91 +1.89 +4.01 +3.59

Q2 4,776.64 3,911.48 4,300.78 5,354.53 5,222.85 5,398.36 5,170.25 4,521.83

Q3 +5.63 +4.32 +6.74 +6.43 +5.02 +7.96 +6.45 +5.38

Q3 5,233.79 4,025.02 4,837.02 5,519.81 5,569.50 5,522.82 5,236.47 4,874.36

Q4 +8.80 -2.72 +1.90 +1.48 +8.84 +7.01 +3.06 +3.57

Q4 5,401.74 4,644.83 5,216.41 5,949.62 6,272.16 5,979.69 5,746.53 5,160.59

Q3 5,714.36 4,138.82 4,933.39 5,752.69 5,829.83 5,787.37 5,355.05 5,247.15

(หน่วย : ร้อยละ) 2558P Q1 Q2 Q3 +9.56 +9.27 +9.18 +0.67 +1.40 +2.83 +0.63 -1.12 +1.99 +3.32 +3.81 +4.22 +4.41 +4.45 +4.67 +5.63 +8.79 +4.79 +0.78 +0.09 +2.26 +7.62 +8.05 +7.65

2558P Q1 Q2 5,619.61 5,219.54 4,151.82 3,966.42 4,906.00 4,252.82 5,440.69 5,558.47 5,477.99 5,455.07 5,507.76 5,872.65 5,234.74 5,175.15 4,954.25 4,886.02

(หน่วย : บาท/คน/วัน)

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

41


42

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

2556 Y +35.28 +17.90 +12.04 +10.38 +2.63 +10.85 +8.54 +22.69

2557 Y -4.36 -0.89 -2.44 -4.11 -5.20 +0.37 +2.47 -2.85

หมายเหตุ : ข้อมูลจำ�แนกตามประเทศถิ่นที่อยู่ ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

Country of Residence East Asia Europe The Americas South Asia Oceania Middle East Africa Grand Total

Country 2556 2557 of Residence Y Y East Asia 534,953.37 511,647.46 Europe 421,120.32 417,360.48 The Americas 76,504.62 74,635.47 South Asia 51,322.91 49,213.69 Oceania 71,208.47 67,509.16 Middle East 42,374.10 42,530.92 Africa 9,662.03 9,900.99 Grand Total 1,207,145.82 1,172,798.17

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +43.69 +48.34 +41.16 +11.64 +13.09 +20.68 +18.63 +20.93 +8.81 +13.12 +13.15 +13.59 +17.03 +11.17 +10.64 +4.70 +9.77 -2.23 +0.19 +4.00 +6.90 +0.94 +12.45 +24.54 -4.95 +3.32 +14.63 +20.98 +23.07 +28.49 +26.59 +15.23

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 131,917.88 131,662.06 150,483.43 120,890.00 133,548.93 70,038.64 74,037.14 143,495.61 21,233.88 16,271.89 15,257.37 23,741.48 10,740.61 14,397.78 12,551.90 13,632.62 15,933.09 16,567.10 19,248.49 19,459.79 8,376.80 10,447.02 13,077.10 10,473.18 2,124.53 2,381.83 2,170.56 2,985.11 323,875.72 261,766.32 286,825.99 334,677.79

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

2557 Q1 -14.94 +9.42 -1.86 -10.00 -10.88 -5.91 -8.16 -3.40 Q2 -22.13 -3.78 -6.95 -10.95 -3.16 -17.52 +0.95 -14.07

Q3 -8.25 -5.68 -0.88 -5.93 -8.77 +4.85 +3.04 -6.44

Q4 +31.39 -6.61 -0.88 +9.44 +1.26 +17.64 +10.84 +9.55

Q3 207,865.26 76,960.74 19,066.26 15,329.43 18,769.81 16,660.29 2,398.97 357,050.76

(หน่วย : ร้อยละ) 2558P Q1 Q2 Q3 +67.60 +85.89 +50.54 -8.46 -3.08 +10.21 +10.49 +14.35 +26.08 +31.74 +32.75 +29.83 +6.68 +8.22 +6.88 +40.65 +18.56 +21.51 +8.99 +12.26 +7.26 +23.35 +42.49 +33.06

2557 2558P Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 112,206.37 102,529.96 138,075.42 158,835.71 188,057.53 190,594.82 146,126.33 67,389.09 69,830.26 134,014.80 133,758.05 65,313.62 20,838.23 15,141.26 15,122.78 23,533.20 23,024.23 17,314.60 9,666.09 12,820.66 11,807.37 14,919.57 12,734.58 17,019.53 14,199.49 16,044.33 17,561.24 19,704.10 15,148.53 17,363.94 7,882.09 8,617.15 13,711.01 12,320.67 11,086.39 10,216.83 1,951.23 2,404.51 2,236.60 3,308.65 2,126.68 2,699.22 312,869.83 224,946.96 268,344.68 366,636.70 385,935.99 320,522.56

(หน่วย : ล้านบาท)

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว


+4.72 +5.66 +13.11 +8.07

+1.39 +3.99 +2.91 +2.63

2556 2557 +5.53 -0.84 +4.15 +5.60 +6.72 +6.57 +5.21 +1.39

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

ภูมิภาค กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ รวม

ภูมิภาค 2556 2557 กรุงเทพฯ 68.34 67.50 ภาคกลาง 45.35 50.95 ภาคเหนือ 43.54 50.11 ภาคตะวันออก 49.09 50.48 เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก 61.57 62.96 ภาคตะวันตก 54.55 58.54 ภาคใต้ 58.44 61.35 รวม 56.30 58.93 61.31 51.15 58.92 55.58

54.34 48.33 49.34 48.80

64.64 61.34 58.43 59.16

+6.70 +10.39 +14.99 +9.27

+3.51 +4.45 +13.78 +7.00

+3.24 +3.54 +14.10 +9.62

+5.50 +4.25 +9.08 +6.05

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +2.37 +7.43 +10.00 +2.30 +6.09 +4.93 +4.50 +1.06 +10.35 +3.25 +5.58 +9.80 +8.63 +2.79 +15.55 +3.84

66.05 57.36 67.06 61.65

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 70.00 72.20 62.08 69.07 49.69 44.33 37.62 49.74 51.42 38.43 34.41 49.92 51.58 45.55 45.02 54.21

อัตราการเข้าพักของสถานพักแรมในประเทศ และการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)

-0.72 +5.91 +3.20 +2.07

2557 Q1 -4.13 +3.90 +7.38 +1.47

65.33 63.27 70.26 63.72

2557 Q1 65.87 53.59 58.80 53.05

+0.40 +2.82 +0.86 +0.15

Q2 -8.91 +5.50 +5.29 +1.06

61.71 53.97 59.78 55.73

Q2 63.29 49.83 43.72 46.61

+2.76 +5.34 +4.73 +4.07

Q3 +1.66 +7.76 +6.58 +2.14

57.10 53.67 54.07 52.87

Q3 63.74 45.38 40.99 47.16

+3.07 +3.58 +2.84 +4.37

Q4 +8.02 +5.27 +7.02 +0.87

67.71 64.92 61.27 63.53

Q4 77.09 55.01 56.94 55.08

67.69 59.66 64.97 60.75

61.67 59.23 57.43 56.79

Q3 66.38 52.34 45.92 51.10

+5.08 +4.85 +3.43 +4.86

+5.98 +5.69 +5.19 +5.02

+4.57 +5.56 +3.36 +3.92

(หน่วย : ร้อยละ) 2558P Q1 Q2 Q3 +9.60 +5.74 +2.64 +5.46 +5.57 +6.96 +3.42 +4.86 +4.9 +3.98 +3.45 +3.94

70.41 68.12 73.69 68.58

2558P Q1 Q2 75.47 69.03 59.05 55.40 62.22 48.58 57.03 50.06

(หน่วย : ร้อยละ)

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

43


44

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว

+7.75 +10.01 +27.14 +14.31

+3.15 +11.25 +5.52 +6.17

2556 2557 +9.48 +3.23 +6.24 +7.52 +14.00 +16.10 +13.81 +4.00 +20.60 +16.54 +28.50 +17.91

-1.50 +9.94 +21.89 +10.40

+4.34 +3.27 +33.22 +11.94

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 +13.34 +17.41 +7.27 -2.95 +11.59 +9.96 +6.23 +1.07 +18.72 +10.23 +19.30 +10.88 +13.51 +10.06 +13.73 +17.65

+10.02 +16.94 +31.09 +17.21

2557 Q1 60,256.11 6,967.05 27,250.03 14,349.73

-3.79 +19.82 +6.37 +8.24

2557 Q1 +5.39 +5.96 +25.79 +3.71

16,386.25 14,385.17 21,446.06 14,094.93 10,457.64 10,109.81 17,645.92 11,542.21 31,083.93 26,181.97 34,845.60 42,729.04 168,723.98 158,017.73 170,271.92 177,189.10

2556 Q1 Q2 Q3 Q4 57,172.14 70,868.59 74,425.35 40,622.08 6,575.18 7,989.08 6,726.55 11,427.94 21,662.88 18,964.40 13,685.08 29,307.72 13,835.77 12,974.09 12,503.80 14,976.60

66,868.17 68,972.35 14,650.69 47,846.65 53,230.85 9,633.28 132,282.60 139,588.77 40,171.10 660,714.67 701,451.48 163,701.04

2556 2557 243,088.16 250,931.26 32,718.75 35,180.27 83,620.08 97,084.33 54,290.26 56,463.65

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว

ภูมิภาค กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ รวม

ภูมิภาค กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ รวม

+8.51 +5.31 +3.44 +1.10

Q2 -5.21 +7.86 +6.96 +4.48

Q4 44,660.16 12,064.31 33,142.20 15,585.72

+3.82 +12.27 +7.60 +7.71

Q3 +5.93 +11.97 +19.89 +3.75

+3.34 +9.52 +4.85 +7.75

Q4 +9.94 +5.57 +13.08 +4.07

14,935.29 22,161.48 11,350.73 19,325.36 28,171.21 36,534.29 170,208.06 183,473.52

Q2 Q3 67,175.79 78,839.20 8,617.09 7,531.82 20,284.69 16,407.41 13,555.80 12,972.40 17,780.65 11,012.55 32,154.23 170,580.80

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศของชาวไทย และอัตรการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y) Q3 86,589.24 8,712.43 18,144.72 14,854.22

+13.69 +16.10 +9.70 +12.46

+17.22 +13.61 +15.21 +11.56

+8.33 +16.14 +8.94 +10.66

(หน่วย : ร้อยละ) 2558P Q1 Q2 Q3 +13.22 +6.90 +9.83 +11.77 +11.18 +15.67 +12.73 +15.33 +10.59 +13.12 +11.49 +14.5

16,023.92 20,841.63 16,178.93 13,400.89 12,511.50 13,182.65 46,875.88 37,044.42 30,689.26 199,260.27 190,301.13 188,351.45

2558P Q1 Q2 68,222.48 71,814.05 7,786.79 9,580.46 30,717.89 23,395.28 16,232.42 15,113.79

(หน่วย : ล้านบาท)

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว


NOTE


NOTE



Tourism Digital Economy


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.