ลักษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่ 21

Page 1

ลักษณะของห้องเรียน ในศตวรรษที่ 21


ลักษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่ 21

ภาพแห่งการใช้เทคโนโลยีและอินเทอร์เน็ต ที่ไม่อาจเลือนไปในวิวัฒนาการแห่งการศึกษา ซึ่งจาก ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมานั้น การศึกษาได้เป็นส่วนหนึ่งในการยกระดับคุณภาพชีวิต แต่อย่างไรก็ตามในช่วงการ ขยายตัวของยุคแห่งข้อมูลข่าว สาร (information age) อย่างในปัจจุบันนั้นการเรียนรู้ก็ยิ่งมีความสาคัญมากขึ้น กว่าแต่ก่อนย้อนหลังไปตั้งแต่ยุคกรีกโบราณ มาจนถึงยุคดิจิตอลในศตวรรษที่ 21 นี้ เป้าหมายอย่างหนึ่งที่สาคัญ ที่สุดของมนุษยชาติก็คือ การถ่ายทอดความรู้ และการสร้างสังคมให้ดีขึ้น ซึ่งเราก็ได้เห็นอย่างชัดเจนแล้วว่า ภาค การศึกษากาลังปรับเปลี่ยน กระบวนการพื้นฐานที่สาคัญในประวัติศาสตร์ จากการที่โรงเรียนต่างๆ กาลังก้าวสู่ยุค ดิจิตอล และการเข้ามาของระบบอีเลิร์นนิ่งในห้องเรียน ตลอดจนการทางาน และสนทนาเป็นกลุ่มแบบออนไลน์ (online discussion group) การใช้อีเลิร์นนิ่ง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา ระบบเครือข่ายไร้สายและเว็บ ทาให้เด็กนักเรียนตั้งแต่ ระดับประถมไปจนถึงผู้ใหญ่ ได้รับความรู้และทักษะในการเป็นส่วนหนึ่งในยุคดิจิตอล ซึ่งเป็นจุดพลิกผัน จากการที่ เรายึดติดกับตาราเรียนเล่มเก่าซึ่งบางครั้งบางคราว เป็นเล่มเดียวกันกับเมื่อสมัยพ่อแม่ของเรา โดยที่ผ่านมานั้น สิ่ง เหล่านี้ดูจะเป็นเรื่องปกติ แต่มาถึงยุคปัจจุบันนี้ดูเหมือนจะไม่สามารถตามทันความต้องการข้อมูลข่าวสารในยุค โลกาภิวัฒน์นี้เสียแล้วและเทคโนโลยียุคใหม่เหล่านี้ ได้กลายเป็นเครื่องมือชิ้นสาคัญที่จะเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ ขององค์กรธุรกิจ โรงเรียน มหาวิทยาลัยที่ต่างก็ได้หันมาใช้อินเทอร์เน็ต และโซลูชันแบบออนไลน์เพื่อปรับปรุง วิธีการเรียน และลดค่าใช้จ่ายตลอดจนการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น


อีเลิรน์ นิง่ กับพัฒนาการแห่งการเรียนรู้

ในวิวัฒนาการด้านการศึกษานั้น อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญ และมีประสิทธิภาพมาก ที่สุด ทุกวันนี้เด็กๆ นักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ได้เริ่มใช้อินเทอร์เน็ตเป็นประจาทุกวัน และบางคนอาจจะใช้ คอมพิวเตอร์หรือ PDA ในการทาการบ้านส่งอาจารย์ด้วยก็เป็นได้ ส่วนทางด้านมหาวิทยาลัยต่างๆ นั้น ได้มีการ เพิ่มจานวนเนื้อหาวิชาเรียนออนไลน์บนเว็บไซต์ และองค์กรเอกชนหลายแห่ง ก็ได้นาอีเลิร์นนิ่งมาใช้ในการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล โดยที่หลายต่อหลายกรณีพบว่า การเรียนออนไลน์แบบอินเตอร์แอคทีฟ และเว็บไซต์บน อินเทอร์เน็ตช่วยให้นักเรียนนักศึกษา และบุคคลทุกเพศทุกวัยได้เรียนรู้ และเชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่าง ลึกซึ้ง และก้าวต่อไปในการศึกษาเรื่องอื่นๆ และเป็นอย่างนี้ต่อไป อย่างไม่มีสิ้นสุด ในขณะเดียวกันที่แนวคิดการใช้อีเลิร์นนิ่ง ไม่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายนั้น เทคโนโลยีด้านบรอดแบนด์ ความเร็วสูง ก็ได้ก้าวเข้ามาแทนที่การเชื่อมต่อผ่านไดอัลอัพโมเด็มแบบเดิม ซึ่งได้ส่งผลกระทบถึงวิธีการเรียนรู้ จากการเรียนรู้แบบทางเดียว (asynchronous learning) โดยการดาว์นโหลดเอกสารมาอ่าน หรือการรับ-ส่งอีเมล์ ได้กลายมาเป็นการทางานร่วมกันแบบออนไลน์ (real-time collaboration) และนอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถดู วีดีโอการศึกษา ผ่านระบบวีดีโอสตีมมิ่ง ตลอดจนการสื่อสารผ่านห้องสนทนาออนไลน์ โดยใช้ระบบการประชุม ทางไกล และระบบโทรศัพท์ไอพี อีกทั้งยังสามารถที่จะเรียกดูเอกสารมัลติมีเดีย และใช้ระบบการถ่ายทอดเสียง และภาพผ่านทางเว็บ (webcast) ซึ่งสามารถฟังเสียง ดูภาพ และสนทนา (Chat) ได้พร้อมๆ กันอีกด้วยการ เชื่อมต่อแบบไร้สาย นับเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงการติดต่อสื่อสารของนักเรียน และโรงเรียน โดยที่หลายมหาวิทยาลัยทั่วโลก ได้นาเอาระบบแลนไร้สายมาติดตั้งในมหาวิทยาลัยเพือ่ ให้นักเรียนนักศึกษา


สามารถเข้าถึงเอกสาร และสื่อการสอนตลอดจนข้อมูลข่าวสารอื่นๆ จากทุกแห่งภายในวิทยาเขต ซึ่งข้อดีก็คือ ทางโรงเรียน หรือทางมหาวิทยาลัย ไม่จาเป็นต้องวางระบบสายเคเบิลใหม่ และนักเรียนนักศึกษา ก็สามารถ เข้าถึงความรู้ต่างๆ ได้เพียงการใช้นิ้วสัมผัสผ่านเมาส์คลิกเท่านั้นล่าสุดทางสานักข่าวซีเอ็นเอ็นได้รายงานว่า โรงเรียนหลายแห่งในประเทศสหรัฐอเมริกา กาลังหันมาส่งเสริมการใช้งานเทคโนโลยีเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์แบบไร้สาย หรือที่เรียกกันในแวดวงไอทีว่า เทคโนโลยีไร้สายแบบ Wi-Fi เพื่อเป็นการเพิ่มระดับการ เรียนรู้ของนักเรียน โดยที่โรงเรียนของรัฐจานวนมากในประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ะ และมีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาหรับเสริมการเรียนการสอน อย่างไรก็ตาม การใช้งานของเทคโนโลยี Wi-Fi กาลังกลายเป็นเครื่องมือ ที่ช่วยให้นักเรียนระดับประถม และมัธยม สามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตได้อย่างง่ายดาย ในทุกเวลาและทุกสถานที่ภายในโรงเรียน โดย แนวโน้มนี้ ได้เริ่มต้นจากมหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหรัฐ และขณะนี้ได้ขยายลงไปสู่สถาบันการศึกษาระดับที่ ต่าลงไปท่านผู้อ่านคงจะพอเห็นความเป็นไปในด้านอินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อสังคมความเป็นอยู่ของ เรา ไม่ว่าจะ เป็นการเล่น การเรียน การทางานและการใช้ชีวิตของเราไม่มากก็น้อย สิ่งที่เราต้องเตรียมพร้อมไว้ เสมอก็คือ การปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง และต้องก้าวตามให้ทันกับเทคโนโลยี ตลอดจนกระแสแห่งความ เป็นโลกาภิวัฒน์นี้ จึงจะสามารถที่จะใช้ชีวิต และนาพาธุรกิจของท่านให้ก้าวต่อไปในอนาคตได้


การเปลีย่ นแปลงในห้องเรียน

ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 จะเน้นไปที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และครูก็เป็นศูนย์กลางเช่นเดียวกัน แต่ครูจะไม่ทาหน้าที่เป็นเพียงผู้บรรยายอีกต่อไป แต่ทาหน้าที่เป็นผู้อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ โดย ที่นักเรียนกาลังเรียนรู้ผ่านการลงมือทา และครูทาหน้าที่เหมือนผู้ฝึกสอน ช่วยนักเรียนโดยให้นักเรียนเป็น ผู้ลงมือทาเอง นักเรียนจะเรียนรู้ที่จะใช้วิธีการสอบถาม (inquiry method)และเรียนรู้ที่จะทางานร่วมกับ ผู้อื่น นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งของโลกแห่งความเป็นจริงที่พวกเขาจะได้เรียนรู้ก่อนที่พวกเขาจะออกไปจาก ห้องเรียน


นักเรียนจะไม่ได้เรียนเป็นรายวิชาอีกต่อไป โดยพวกเขาจะทางานในลักษณะของโครงงานสห วิทยาการ (Interdisciplinary projects) ซึ่งใช้ข้อมูลข่าวสารและทักษะจากหลายสาขาวิชา และได้กล่าวถึง มาตรฐานเกี่ยวกับการศึกษาที่มีความจาเป็นอย่างมากตาราเรียนไม่ได้เป็นแหล่งข้องมูลหลักอีกต่อไปนักเรียน ใช้แหล่งข้อมูลที่หลากหลาย รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีเพื่อที่จะหาข้อมูลและรวบรวมข้อมูลที่พวกเขาต้องการ โดยที่พวกเขาอาจจะหาข้อมูลจากวารสารวิชาการต่างๆ การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ การสืบค้นข้อมูลจาก อินเตอร์เน็ต หรือใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประยุกต์สิ่งที่พวกเขาได้เรียนรู้มาหรือเพื่อค้นหาข้อมูลต่างๆ แทนที่การทาเพียงแค่โครงงานพิเศษ เทคโนโลยีจะถูกบูรณาการกันอย่างลงตัวในการสอนในทุกๆ วัน


ณ ห้องเรียนใหม่แห่งนี้ เป็นการจัดกลุ่มนักเรียนแบบยืดหยุ่น อยู่บนพื้นฐานของสิ่งที่แต่ละคนต้องการ เป็นมาตรฐาน ครูยังคงใช้การจัดการเรียนการสอนเป็นกลุ่ม แต่ไม่ใช่การเรียนการสอนในระดับชั้น ประถมศึกษาที่เราใช้กัน ครูประเมินนักเรียนเกี่ยวกับความต้องการในการเรียนการสอนและรูปแบบในการ เรียนรู้ หลังจากนั้นจึงใช้การเรียนการสอนและวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อที่จะได้ตอบสนองกับความ ต้องการของนักเรียนทุกคนในห้องเรียน การมุ่งประเด็นไปที่การเรียนรู้ของนักเรียนในห้องเรียนนั้นมีความแตกต่าง ประเด็นไม่ได้อยู่บน พื้นฐานการเรียนรู้โดยการจาและการนึกย้อนถึงข้อมูลต่างๆ อีกต่อไป แต่เป็นการเรียนรู้เพื่อที่จะเรียน ณ ตอนนี้ นักเรียนได้ใช้ข้อมูลที่ได้เรียนรู้มาและแสดงความชานาญหรือความรอบรู้ของเนื้อหาในโครงงานที่พวก เขาได้ไปสารวจข้อมูล วิธีในการค้นหาคาตอบ และวิธีการใช้ข้อมูล ( เราทาตลอดเวลาในห้องเรียน วิทยาศาสตร์) จุดที่เราเน้นจะมุ่งไปที่ห้องเรียนคือการสร้างผู้เรียนให้เรียนรู้ตลอดชีวิต ด้วยเป้าหมายในใจ เป้าหมายนี้ นักเรียนจะก้าวไปข้างหน้าในบทบาทของนักเรียนผ่านประสบการณ์การเรียนรู้แห่งความเป็นจริง เหมือนกับว่าการเรียนรู้ของนักเรียนเปลี่ยนแปลงไป และมีการประเมินสาหรับการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น ครูใช้วิธีที่ หลากหลายของการประเมินผลเชิงปฏิบัติการ (Performance – based assessment) เพื่อใช้ในการประเมิน การเรียนรู้ของนักเรียน การทดสอบเพื่อวัดความสามารถของนักเรียนในการจาและการนึกย้อนถึงข้อเท็จจริง นั้นจึงไม่มีอีกต่อไป ทั้งหมดหมายถึงการประเมินการเรียนรู้ของนักเรียน แทนที่ด้วยการที่ครูใช้โครงงานของ นักเรียน การนาเสนองาน และการประเมินผลเชิงปฏิบัติการ (Performance – based assessment) อื่นๆ เพื่อทาการตัดสินความสาเร็จของนักเรียนและความต้องการของนักเรียนแต่ละบุคคล เป้าหมายของห้องเรียน ในศตวรรษที่ 21 คือการเตรียมนักเรียนให้เป็นสมาชิกที่มีประสิทธิภาพในสถานที่ทางาน


เหมือนกับว่าห้องเรียนกาลังเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น ครูต้องปรับเปลี่ยนบทบาทและความ รับผิดชอบ ครูไม่ได้สอนแยกวิชาอีกต่อไป ครูในยุคปัจจุบันจะต้องเป็นผู้ร่วมสอน(co - teach) สอนเป็น ทีม(team teach) และร่วมมือกับสมาชิกของภาควิชาต่างๆ ผู้มีส่วนร่วมรวมไปถึง ผู้บริหาร คณะกรรมการ ผู้ปกครอง และนักเรียนร่วมกันแบ่งปันความรับผิดชอบกับครูในการให้ความรู้แก่นักเรียนครูควรรู้ว่าต้อง รวมกลุ่มหรือมีปฏิสัมพันธ์กับนักเรียนในการเรียนรู้ และดาเนินการสอนที่มีประสิทธิภาพโดยใช้วิธีการ สอนที่หลากหลาย เช่นเดียวกันกับการใช้เทคโนโลยี ครูจะต้องอยู่ข้างๆ นักเรียน ในขั้นตอนการเรียนรู้ ใน ฐานะผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต พวกเขาเป็นผู้มีส่วนร่วมที่มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ของพวกเขาเอง พวก เขาค้นหาทักษะการพัฒนาอย่างมืออาชีพซึ่งจะช่วยให้พวกเขาปรับปรุงทั้งการเรียนรู้และการแสดงออก ของพวกเขาเอง


การเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรมครู

บทบาทใหม่ของครูในห้องเรียนแห่งศตวรรษที่ 21 คือ ต้องการการเปลี่ยนแปลงในองค์ ความรู้ของครูและพฤติกรรมในห้องเรียนของครู ครูต้องมีความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ - ทาหน้าที่เป็นผู้อานวยความสะดวกในห้องเรียน ใช้ทรัพยากรและโอกาสที่เหมาะสม เพื่อที่จะสร้าง บรรยากาศในการเรียนรู้ซึ่งจะทาให้เด็กสร้างความรู้ด้วยตัวของพวกเขาเอง ครูต้องเข้ากับนักเรียนและรู้วิธีใน การดาเนินบทเรียนอย่างต่อเนื่อง และดาเนินการเรียนการสอนที่มีความหมายซึ่งจะทาให้เด็กมีความ กระตือรือร้นในการเรียนรู้


- สร้างความปลอดภัย ให้การสนับสนุน และ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในเชิงบวกสาหรับนักเรียนทุก คน แผนการดาเนินงานที่ต้องการนี้อยู่ในส่วนของครูเพื่อที่จะหลีกเลี่ยงความเสี่ยงด้านความปลอดภัย เพื่อสร้าง การจัดการห้องเรียนเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ และเพื่อให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษต่างๆ ได้เข้าถึงการศึกษา และการช่วยเหลืออื่นๆ ครูได้รับการฝึกฝนทักษะในการจัดการประสบการณ์ความรู้หลายๆด้าน เพื่อที่จะสร้างสิ่ง ที่เป็นด้านบวกและสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสาหรับนักเรียนทุกคนในห้องเรียน กระบวนการและ นโยบายของห้องเรียนเป็นส่วนสาคัญของการสร้างสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ในเชิงบวก ครูประเมินและมีเทคนิค การจัดการห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพในลักษณะที่สอดคล้องกัน ครูใช้กิจวัตรประจาวันและกระบวนการซึ่งทาให้ เวลาในการสอนมีมากขึ้น นักเรียนจะรู้ว่าอะไรคือสิ่งที่ครูคาดหวังจากพวกเขา และครูรู้ว่าจะจัดการอย่างไรกับ สิ่งรบกวนต่างๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบในแง่ลบกับนักเรียนในชั่วโมงการเรียนการสอน - แผนสาหรับระยะยาวและระยะสั้น - สนับสนุนการร่วมมือกันระหว่างนักเรียนในห้องเรียน รูปแบบของครูและส่งเสริมคุณค่าและ กระบวนการประชาธิปไตยซึ่งมีความจาเป็นสาหรับโลกแห่งความเป็นจริง


- ให้กาลังใจในความอยากรู้ของเด็ก และกระตุ้นเด็กจากภายในเพื่อเรียนรู้ ครูช่วยให้เด็กเป็นอิสระ มี ความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้มีความคิดวิพากษ์วิจารณ์ โดยการจัดเตรียมประสบการณ์ซึ่งจะพัฒนาความเป็น อิสระของนักเรียน เกี่ยวกับการวิจารณ์ ความคิดสร้างสรรค์ และทักษะการแก้ไขปัญหา ครูจะต้องมีเวลาที่ มากพอสาหรับเด็กเพื่อที่จะทางานให้ลุล่วงไปได้ และจะต้องมีความชัดเจนในความคาดหวัง เด็กนักเรียนมี ความกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมกับการเรียนรู้ของพวกเขาเอง ภายในบรรยากาศซึ่งเคารพต่อความต้องการ ในการพัฒนาในลักษณะที่เป็นลักษณะเฉพาะ และสนับสนุนการคาดหวังด้านบวกและความเคารพซึ่งกัน และกัน - ทาให้นักเรียนรู้สึกมีคุณค่า ครูเน้นไปที่ความพยายามในการร่วมมือกันในกลุ่มมากกว่าการ พยายามแข่งขันระหว่างบุคคลผ่านโครงงานการร่วมมือกันและจิตวิญญาณของทีม


- สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพกับนักเรียน ผู้ปกครอง เพื่อนร่วมงาน และผู้มีส่วนร่วมอื่นๆ ครูใช้การ เขียน การพูด และเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้านบวกและเพื่อให้บุคคล อื่นๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของนักเรียน - ใช้ภาษาเพื่อสนับสนุนการแสดงออกเฉพาะตัวการพัฒนาอัตลักษณ์ และการเรียนรู้ในตัวนักเรียน - ฟังอย่างใช้ความคิดและมีการตอบสนอง - สนับสนุนการตระหนักในด้านวัฒนธรรมและความละเอียดอ่อนของวัฒนธรรมให้กับนักเรียน ครู สนับสนุนให้เด็กเรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมอื่นๆ และค่อยๆ สอนที่ละเล็กทีละน้อยเกี่ยวกับความเคารพผู้อื่น และความแตกต่างของพวกเขา (Commitment to the Role of Teacher as a Facilitator of Learning, 2007 )


บทสรุป

ถ้านักเรียนเป็นสมาชิกที่มีประสิทธิภาพของสถานที่ทางานในศตวรรษที่ 21พวกเขาต้องทาให้ทักษะ ของศตวรรษที่ 20 มีความก้าวหน้ายิ่งขึ้นไป และต้องรอบรู้ในทักษะของศตวรรษที่ 21 ครูได้รับความ ไว้วางใจในการทาให้นักเรียนเข้าใจอย่างถ่องแท้ในทักษะเหล่านั้นเช่นเดียวกับสร้างรูปแบบต่างๆ เหล่านั้น ให้เกิดขึ้นในห้องเรียน ลักษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่21จะมีความแตกต่างจากห้องเรียนในอดีต เพราะว่าห้องเรียนในศตวรรษที่21 จะมุ่งประเด็นไปที่การผลิตนักเรียนทีมีประสิทธิภาพสูง เป็นผู้สื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ เป็นผู้คิดสร้างสรรค์ และเชี่ยวชาญในด้านเทคโนโลยี


บรรณานุกรม

ณัฏฐิณี ศรสุวรรณ.2558.ลักษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่ 21สาระน่ารู.้ (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.lri.co.th/knowledge_detail.php?knowledge_id=281. 20 พฤศจิกายน2559


หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง ลักษณะของห้องเรียนในศตวรรษที่ 21

จัดทาโดย นางสาวปรารถนา มากคช รหัส 5610111250016 สาขาการประถมศึกษา ชั้นปีที่ 4

เสนอ อาจารย์ทรงศักดิ์ สุริโยธิน

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์นี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการนาเสนอและจัดการ ฐานข้อมูลภาษาไทยเพื่อการเรียนรู้ (1544610) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.