“การปักปันเขตแดนยังไม่แล้วเสร็จ”?“แผนที่ฝรั่งเศสทำแต่ฝ่ายเดียว”!“เส้นเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕”?

Page 1

การจัดการความรูชุดที่๑ เรื่อง “การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ”? “แผนที่ฝรั่งเศสทําแตฝายเดียว”! “เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕”? “ไทยไมควรขึ้นทะเบียนรวม” โดย ม.ล.วัลยวิภา จรูญโรจน นายประกาสิทธิ์ แกวมงคล

สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๑


“การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ”? “แผนที่ฝรั่งเศสทําแตฝายเดียว” ! “เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕”? โดย

ม.ล.วัลยวิภา จรูญโรจน นายประกาสิทธิ์ แกวมงคล สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พื้นฐานความเขาใจเรื่องการคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของ กัมพูชา มี ๓ ประเด็นสําคัญที่เปนพื้นฐานของความเขาใจเรื่องการคัดคานการขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ทีมนักวิชาการเคยมีประสบการณศึกษาเรื่อง ปญหาเขตแดนไทย-ลาวมากอนแลวเมื่อ เดือน กันยายน พ.ศ.๒๕๔๙ – เดือนกุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๕๑ บริเวณปญหา ๓ บริเวณ ณ ที่นั่น เปนเรื่อง ของการประท ว งและความขั ด แย ง ระหว า งประชาชนกั บ รั ฐ การแก ป ญ หานั้ น นั ก วิ ช าการให ความสําคัญตอมิติเรื่องวัฒนธรรม และการมีสวนรวมของประชาชน แตกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชานั้น ประเด็นปญหาคือ ราชอาณาจักรไทยและราชอาณาจักรกัมพูชาตางถือแผนที่คนละฉบับ ดังนั้น มิติการทําความเขาใจ และการหาทางออกจึ ง เป น มิ ติ ข องเรื่ อ งเขตแดนเป น หลั ก นํ า มิ ติ อื่ น ๆ ไม ว า จะเป น วั ฒ นธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ ฯลฯ ประเด็นสําคัญ ๓ ประเด็นดังกลาว มีดังตอไปนี้ ประเด็นที่๑. ความหมายที่แตกตางกันระหวางคําวา “การปกปนเขตแดน”และ “การสํารวจ และจัดทําหลักเขตแดน” การปกปนเขตแดนของประเทศไทย ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๕ ประเทศไทยไดมีการปกปนแนวเขตแดนไวอยางแนชัดกับ ประเทศเพื่อนบานทั้งสี่ดานรวมกับประเทศชาติมหาอํานาจ ไดแก ดานไทย-ลาว และไทย-กัมพูชา ทํ า กั บ ประเทศฝรั่ ง เศส ส ว นด า นไทย-พม า และไทย-มาเลเซี ย ทํ า กั บ ประเทศอั ง กฤษ ซึ่ ง การ ดําเนิ นการในขณะนั้ นทั้งสองฝ ายไดจัดทํ าหลักฐานแสดงแนวเขตไวดวย อาทิเ ชน สนธิสั ญญา อนุสัญญา แผนที่ปกปน และหลักเขตแดน เพื่อใชในการอางสิทธิ์ดินแดน ทั้งนี้ หลักฐานดังกลาว ยังคงมีผลบังคับใชมาจนถึงปจจุบันและสืบสิทธิ์มายังประเทศเพื่อนบานภายหลังไดรับเอกราช สรุป ไดวา แนวเขตแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานไดกําหนดไวแนชัดตั้งแตในอดีตและ ไมสามารถเปลี่ยนแปลงแนวเขตแดนไปจากที่ตกลงกันไวได การสํารวจและปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบานนับตั้งแตในอดีตมา จนถึงปจจุบันแบงออกเปน ๒ ยุค ไดแก


ยุคแรก เปนการสํารวจและปกปนเขตแดนรวมกับประเทศมหาอํานาจ เรียกวา “การสํารวจ และปกปนเขตแดน” (Delimitation) ยุค ปจ จุ บั น เป น การสํ า รวจและจั ดทํ า หลัก เขตแดนร ว มกั บ ประเทศเพื่ อ นบ า นโดยตรง เรียกวา “การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน” (Demarcation) การกลาวอางวา “การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ” อางถึงขาราชการกระทรวงการตางประเทศ นายเชิดชู รักตะบุตร ผูเปนพยาน ได ใหถอยคําตอศาลปกครองวา “...การปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชา มี คณะกรรมาธิการรวมชายแดนไทย-กัมพูชาที่จัดตั้งขึ้นตามบันทึกความเขาใจระหวางประเทศไทย กับประเทศฝรั่งเศส ปค.ศ.๑๙๐๔ และปค.ศ.๑๙๐๗ รวมความยาวพื้นที่ชายแดนประเทศไทยทีต่ ดิ ตอ ประเทศกัมพูชา ๗๙๘ กิโลเมตร ที่ยังเจรจาปกปนเขตแดน ยังไมสําเร็จ ซึ่งรวมทั้งเขตแดนบริเวณ เขาพระวิหารดวย จึงเชื่อวายังไมมีการปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชาใน บริเวณเขตแดนปราสาทพระวิหาร โดยคณะกรรมาธิการรวมชายแดนไทย-กัมพูชา ซึ่งเปนที่ยอมรับ ของประเทศทั้งสองแตประการใด...” (อางคําสั่งศาลปกครองกลาง คําสั่งกําหนดมาตรการหรือวิธีการ คุมครองเพื่อบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษา,คดีหมายเลขดําที่ ๙๘๔/๒๕๕๑ วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๕๑ หนา ๑๕) และยังไดกลาวไวในสมุดปกขาว กระทรวงการตางประเทศ กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาท พระวิหารเปนมรดกโลก หนา ๒๒ กลาววา “...ขณะนี้ยังอยูระหวางการรอปกปน เขตแดนระหวาง หนวยงานที่เกี่ยวของของประเทศทั้งสองภายใตกรอบคณะกรรมการเขตแดนรวม” ผลเสียจากการอางวาการปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ • สิ่งสําคัญที่สุดคือ การอางวา”การปกปนเขตแดน(Delimitation)ยังไมแลวเสร็จ”นั้น น้ําหนัก ในการอางสิทธิเหนือดินแดนยอมนอยกวาการอางสิทธิเหนือดินแดนที่อยูในขั้นตอนของ” การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน” และทําลายความชอบธรรมในการอางอธิปไตยของชาติ เหนือดินแดนตลอดแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ณ บริเวณที่อาง • ทําใหอางความชอบธรรมในการเปลี่ยนแปลงเสนเขตแดนของประเทศ หรือจัดการปญหา เรื่องเขตแดนที่ไมมีความโปรงใสอยางกรณีนี้ • จะเปนการจงใจหรือไมก็ตาม การอางดังกลาวนี้เปนการเอื้อประโยชนใหกัมพูชาอางสิทธิ เหนือดินแดนไทย ขอเท็จจริง • การปกปนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชานั้น กระทําเสร็จสิ้นโดยสมบูรณ แลวตามสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔ (ร.ศ.๑๒๒)ซึ่งเปนหนังสือสนธิสัญญาใหญ แมต อมาภายหลั ง จะมี ก ารทํา สนธิ สัญ ญาปก ปน เขตแดนระหว า งสยาม-ฝรั่ ง เศสบริ เ วณ กัมพูชาอีกครั้งในป ค.ศ.๑๙๐๗ โดยเริ่มจากชองเสม็ดไปสิ้นสุดที่ชองเกล(หางจากเขาพระ วิหารมาทางทิศตะวันตกประมาณ ๙๐ กิโลเมตร) ดังนั้นเขตแดนอันเปนผลจากสนธิสัญญา ปกปนเขตแดนทั้ง ๒ ฉบับ จึงมาบรรจบกันที่ชองเกลนี้ และไมไดมีผลยกเลิกแนวเขตแดน บริเวณเขาพระวิหาร(สนธิสัญญา ๑๙๐๔) ซึ่งยังคงยึดถือตามสันปนน้ําแตประการใด จึง


สรุ ป ว า การป กป น เขตแดนระหว างประเทศไทยและประเทศกัม พู ช านั้ น ได เ สร็ จ สิ้ น โดย สมบูรณแลวโดยไมมีขอสงสัยใดๆ นับจนถึงปจจุบันเปนเวลาถึง ๑๐๔ ป(ค.ศ.๒๐๐๘) ประเทศกัมพูชาเปนอดีตประเทศในอารักขา(อาณานิคมอินโดจีน)ของฝรั่งเศส ดังนั้นเมื่อ ไดรับเอกราชแลวยอมเปนผูสืบสิทธิตางๆตอจากฝรั่งเศส สนธิสัญญาหรือพันธะกรณีใดๆที่ ฝรั่งเศสไดทําไวกับประเทศไทย(สยาม)ไมวาจะเปนสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔ และสนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๗ยอมมีผลผูกพันกัมพูชาดวย ดังนั้นกัมพูชาจะ ปฏิเสธการยอมรับผลของการปกปนฯที่เกิดขึ้นและเสร็จสิ้นมาแลวนั้นไมได ดังนั้นยอมยืนยันไดอยางแนนอนวา ไมมีพื้นที่ทับซอนระหวางไทยกับกัมพูชา เพราะไดมี การปกปนกันเอาไวชัดเจนแลวตามสนธิสัญญา แมวากัมพูชาจะอางแผนที่คนละฉบับกับ ไทย แตแผนที่ที่กัมพูชาใชนั้นไมถูกตองตรงตามสนธิสัญญา จึงไมสามารถใชเปนหลักฐาน อางอิงเหนือสนธิสัญญาได Joint Boundary Committee;JBC หรือคณะกรรมาธิการชายแดนรวมไทย-กัมพูชาเปน คณะทํางานที่ตั้งขึ้นตามบันทึกความเขาใจของรัฐบาลทั้งสองฝาย(Memorandum of Understanding;MOU) เมื่อวันที่ ๑๔ มิ.ย.พ.ศ.๒๕๔๓ ใหทําการสํารวจและจัดทําหลักเขต แดน(Demarcation)ทางบกตลอดแนว ตามที่ไดมีการเจรจาปกปนกันไวแลวตามสนธิสัญญา และอนุสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ (พ.ศ.๒๔๔๗) ไมใชทําหนาที่ปกปนเขตแดนตามที่บุคคลตางๆ กลาวอาง เพราะไดเสร็จสิ้นไปแลวตามคําอธิบายขางตน เจ า หน า ที่ ก องเขตแดน กรมสนธิ สั ญ ญาและกฎหมาย กระทรวงการต า งประเทศและ เจาหนาที่กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด ยอมเปนผูที่รูเรื่องนี้ตลอดจนเทคนิค ขั้นตอนตางๆดีที่สุด แตก็ยังพยายามพูดขอมูลอันเปนเท็จทําใหเกิดความเขาใจผิดและเกิด ความสับสนอยูตลอดเวลา

ประเด็นที่๒. การรับรองแผนที่ของกัมพูชาเปน “แผนที่คณะกรรมการปกปนสยามฝรั่งเศส” ประเด็นสําคัญของการอางคําวา”แผนที่คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔” คือ การบิดเบือนขอเท็จจริงและเปนการรับรองแผนที่ของกัมพูชา ตามที่กระทรวงการตางประเทศของไทยไดใชคําวา”แผนที่คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส” เรียกแผนที่ซึ่งกัมพูชาใชยึดถือเปนเสนเขตแดนระหวางประเทศไทยและประเทศกัมพูชา ดังปรากฏใน เอกสารแนบหมายเลข ๒ ในหนังสือกระทรวงการตางประเทศ หมายเลข กต.๐๘๐๓/๔๕๓ สงไปยังราช เลขาธิการ เรื่อง ผลการดําเนินการและการเจรจาของกระทรวงการตางประเทศกรณีกัมพูชาขอขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ และกลาวอีกหลายครั้งในสมุด ปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ เรื่อง กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เปน การกลาวในลักษณะยอมรับสถานภาพของแผนที่ของกัมพูชาวาเปนแผนที่ของคณะกรรมการปกปนรวม สยาม-ฝรั่งเศส ทําขึ้นรวมกันตามสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ และกัมพูชาเปนผูใชแผนที่ฉบับนี้ในปจจุบัน ในขณะเดียวกันทําใหแผนที่ L๗๐๑๗ ซึ่งประเทศไทยใชยึดถือนั้นมีสถานะดอยกวาแผนที่ของกัมพูชา


ขอเท็จจริง • แผนที่ของกัมพูชา มาตราสวน ๑/๒๐๐,๐๐๐ ดังกลาวเปนแผนที่ซึ่งฝรั่งเศสจัดทําขึ้นฝาย เดียวโดยไมไดรับการรับรองจากคณะกรรมการผสมสยาม-ฝรั่งเศส ตามสนธิสัญญา ค.ศ. ๑๙๐๔ แตประการใด เนื่องจากคณะกรรมการผสมชุดดังกลาวไดยุบเลิกไปในเดือนมีนาคม ๑๙๐๗ กอนที่จะมีการจัดทําแผนที่ฉบับดังกลาวขึ้นมาเปนเวลาถึง ๑ ป สวนแผนที่ฉบับนี้ (๑/๒๐๐,๐๐๐) ได ถู ก พิ ม พ ขึ้ น ที่ ก รุ ง ปารี ส ในระหว า งฤดู ร อ นป ค.ศ.๑๙๐๘ ดั ง นั้ น คณะกรรมการผสมที่ตั้งขึ้นตามสนธิสัญญา ๑๙๐๔ จึงไมมีโอกาสไดเห็นแผนที่ฉบับดังกลาว เลย ดั ง นั้ น ย อ มเป น ไปไม ไ ด ที่ จ ะกล า วว า แผนที่ ฉ บั บ นี้ ( ๑/๒๐๐,๐๐๐)เป น แผนที่ ข อง คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔ • แผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ฉบับดังกลาวนั้น กัมพูชาเคยใชเปนเอกสารแนบทายคําฟอง(แผนที่ ผนวก๑) ในคดีปราสาทพระวิหาร ตอศาลยุติธรรมระหวางประเทศ(The International Court of Justice)หรือศาลโลก ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๐๒-๒๕๐๕ ดังปรากฏวา ในคําขอทั้ง ๕ ขอ ที่กัมพูชาขอใหศาลชี้ขาดนั้น ศาลไดตัดสินใหกัมพูชาชนะเพียง ๓ ขอ(ขอ๓,๔,๕) คือ (ขอ๓) กัมพูชามีอธิ ปไตยเหนือพื้นที่ ที่ ตัว ปราสาทตั้งอยู (ข อ๔)ขอใหไทยถอนกองกําลังทหาร ตํารวจหรือยามออกจากออกจากบริเวณใกลเคียง (ขอ๕)ขอใหไทยคืนวัตถุโบราณที่หายไป จากปราสาทหลัง ค.ศ.๑๙๕๔ โดยไมไดระบุรายการวามีอะไรบาง(คําพิพากษาหนา๓๕/๓๗) สวนขอ๑ และขอ๒ นั้นศาลมิไดชี้ขาดวา แผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ นั้นเปนแผนที่ที่ทําขึ้นโดย ไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการผสมทั้งสองฝาย หรือมีสถานภาพตามกฎหมายที่ ถูกตอง และขอ๒ ศาลไมไดชี้ขาดวา เสนเขตแดนที่ปรากฏในแผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของ กัมพูชาเปนเสนเขตแดนที่ถูกตองระหวางไทยกับกัมพูชา • ผูพิพากษา ๓ ทาน ไดใหความเห็นตอแผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชาไวอยางชัดเจนวา ๑) แผนที่ผนวก๑ นั้นผิดพลาดไมถูกตองในบริเวณปราสาทพระวิหาร ๒) เสนเขตแดนที่ปรากฏในแผนที่ผนวก๑ นั้นคลาดเคลื่อน และ ๓) เสนสันปนน้ําตามสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ อยูที่ขอบหนาผาในบริเวณปราสาทคือ เสนเขตแดนปนปราสาททั้งหมดใหอยูในเขตไทย (อาง คําพิพากษาศาลโลก คดี ปราสาทพระวิหาร /ความเห็นแยงของ Sir Percy Spender, Wellington Koo, Moreno Quintana และยังมีคําพิพากษา(เอกเทศ)ของ Sir Gerald Fitzmaurice) ดังนั้นจึงสรุปไดวาแผนที่๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชา ไมใชแผนที่ของคณะกรรมการ ปกปนรวมสยาม-ฝรั่งเศสตามสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ เปนเสนเขตแดนที่ขัดแยงกับสนธิสัญญา ค.ศ.๑๙๐๔ และเปนเสนเขตแดนที่ไมทราบวาใครเปนผูลากไวโดยปราศจากอํานาจ จึงเปนแผน ที่โคมลอยที่เชื่อถือไมได (ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช คดีเขาพระวิหาร ๒๕๐๕ : โรงพิมพสํานัก ทําเนียบนายกรัฐมนตรี สี่แยกซังฮี้ ถนนสามเสน พระนคร หนา ๔๗/๔๘)


ประเด็นที่๓. การเขาใจผิดเรื่อง“เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕” จากการที่กระทรวงการตางประเทศของไทยและกรมแผนที่ทหารและหนวยราชการตางๆ ของไทยไดเกิดความเขาใจผิดวา เสนแสดงเขตที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๐๕ ใหกั้นแนวปราสาทพระวิหาร ซึ่งเปนการปฏิบัติตามคําตัดสินของศาลโลกที่ระบุวาไทยตอง ถอนกองกําลังออกจากบริเวณปราสาทพระวิหารนั้นเปนเสนเขตแดน หรือความเขาใจผิดวามติครม. ๒๕๐๕ นั้นเปนการเปลี่ยนเสนเขตแดนของไทย ดังปรากฏขอความตอไปนี้ในสมุดปกขาวของ กระทรวงการตางประเทศวา “...คณะรัฐมนตรีในขณะนั้น ไดมีมติใหคืนตัวปราสาทและพื้นที่โดยรอบ ปราสาทไปตามที่ศาลโลกตัดสิน และไดมีการกําหนดขอบเขตเสนเขตแดนไทยบริเวณนี้ตามที่ไทย ยึดถือใหม ซึ่งยังคงยึดถือตามสันปนน้ําเปนหลัก เพียงแตไดกันเอาเขตตัวปราสาทพระวิหารออกคืน ไปใหกัมพูชา เสนเขตแดนตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ นี้ ยังเปนเสนเขตแดนที่หนวยราชการตางๆ ของไทยยึดถือมาจนถึงปจจุบันนี้...” (อาง สมุดปกขาวกระทรวงการตางประเทศ มิถุนายน ๒๕๕๑ กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก หนา ก บทสรุปผูบริหาร) และตามที่กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการตางประเทศ ไดทําเอกสารกลาวหาวา รัฐบาลไทยโดย ฯพณฯ ถนัด คอมันตร รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ (เมื่อพ.ศ.๒๕๐๕) ไดมีหนังสือแจงเลขาธิการสหประชาชาติ และ ”....โดยไดสงแผนที่แสดงพื้นที่ตั้งของปราสาทพระ วิ ห าร ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ ที่ ม ติ ค ณะรั ฐ มนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (เอกสารแนบ๓) และขอให เ ลขาธิ ก าร สหประชาชาติแจงใหสมาชิกสหประชาชาติทราบวาไทยปฏิบัติตามคําพิพากษาโดยสละอธิปไตย (relinquished her sovereignty) เหนือพื้นที่ซึ่งเปนที่ตั้งปราสาทพระวิหารตามแผนที่ดังกลาว...” ( อาง กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กต. เอกสารชี้แจง เรื่อง ภูมิหลังและคําชี้แจงเกี่ยวกับการ สนับสนุนการขึ้นทะเบียนมรดกโลกปราสาทพระวิหาร ลง วันที่ ๒๗ มิ.ย. ๕๑ เวลา ๒๒.๐๐ น.) ขอเท็จจริง • ตามมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๐๕ และหนังสือสั่งการลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๐๕ ใหกระทรวงมหาดไทยไปจัดทําแนว ทําปายและกั้นรั้วลวดหนามรอบปราสาทพระ วิหารนั้น เปนการกั้นแนวเจตนาเพื่อเปนการแสดงแนวปฏิบัติการ(Operational Line)ของ เจาหนาที่ฝายไทย และเปนการปฏิบัติตามคําตัดสินของศาลโลกที่ระบุวาไทยตองถอนกอง กําลังออกจากบริเวณปราสาทพระวิหาร ไมใชเปนการกําหนดเสนเขตแดน(Border Line) ใหม (อาง มติครม.วันที่ ๑๐ ก.ค.๒๕๐๕ และหนังสือสั่งการของเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ มท.๘๑๗๖/๒๕๐๕ ถึงรมว.มหาดไทย เรื่อง การปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลกในคดี ปราสาทพระวิหาร ลงวันที่ ๑๑ ก.ค.๒๕๐๕) ดังนั้นมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ จึงไมใชการเปลี่ยนเสนเขตแดนของไทย เสนเขตแดน ของไทยที่เขาพระวิหารยังอยูที่สันปนน้ําเหมือนเมื่อกอนที่ศาลโลกตัดสินทุกประการ • แผนที่ แ สดงการกั้ น แนวเขตตามมติ ค ณะรั ฐ มนตรี ๒๕๐๕ ที่ ป รากฏอยู ใ นสมุ ด ปกขาว (เอกสารแนบ๓) ของกระทรวงการตางประเทศนั้น (รูปภาพที่๑) แสดงการลากเสนตามมติ คณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ ครอบคลุมบันไดทางขึ้นทั้งหมดใหเปนของกัมพูชา ซึ่งคลาดเคลื่อนไป จากหลักฐานอื่นๆที่ปรากฏ เชน หนังสือกระทรวงมหาดไทย ในขอเสนอทางเลือกที่๒ ที่ เสนอวา “...กําหนดพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผาครอบปราสาทพระวิหาร มีแนวเขตจากปกขวาของ


ตัวปราสาทพระวิหารตั้งแตชองบันไดหัก (ชองบันไดหักอยูในบริเวณปราสาทพระวิหาร) ลากเสนตรงผานชิดบันไดนาค ตรงไปจนถึงปราสาทพระวิหาร แลวลากเสนตรงขนานกับตัว ปราสาทพระวิ ห ารไปสุ ด ที่ ห น า ผาชั น ด า นหลั ง ปราสาทพระวิ ห าร จะเป น เนื้ อ ที่ บ ริ เ วณ ปราสาทพระวิหารประมาณ ๑/๔ ตารางกิโลเมตร...” (อาง หนังสือกระทรวงมหาดไทย เลขที่๑๑๔๖๗/๒๕๐๕ เรื่อง การปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลโลกในคดีปราสาทพระ วิหาร ลงวันที่ ๖ ก.ค.๒๕๐๕) และขอความดังกลาวปรากฏอยูในสมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศดวยเชนกัน ในหนาที่๒ วา”…มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๐๕ รัฐบาลไทยไดคืนตัว ปราสาทพระวิหารใหแกกัมพูชา โดยกําหนดขอบเขตพื้นที่ที่คืนใหแกฝายกัมพูชาทางทิศ เหนือที่ระยะ ๒๐ เมตร จากบันไดนาคไปทางตะวันออกจนถึงชองบันไดหัก และทางทิศ ตะวันตกที่ระยะ ๑๐๐ เมตรจากแกนของตัวปราสาทไปทางทิศใตจนจรดขอบหนาผา...” • การที่กระทรวงการตางประเทศกลาววาแนวดังกลาวเปนเสนเขตแดนจะเทากับเปนการยก พื้นที่รอบตัวปราสาทซึ่งนอกเหนือจากคําตัดสินของศาลโลกใหเปนของกัมพูชาโดยปริยาย การนําเอาแผนที่ที่ผิดมาใชอางดังนี้จะโดยจงใจหรือไมก็ตาม จะทําใหเกิดผลเสียหายตามมา อยางนอย ๓ ประการคือ ประการที่๑ ยกพื้นที่รอบตัวปราสาทนอกเหนือจากคําตัดสินของ ศาลโลกใหกัมพูชา ประการที่๒ ยกบันไดทางขึ้นปราสาทตั้งแตขั้นที่ ๑-๑๖๒ ซึ่งเคยเปน ของไทยใหกับกัมพูชา ประการที่๓ ละทิ้งการสงวนสิทธิของไทยเหนือปราสาทพระวิหาร และพื้นที่โดยรอบปราสาท • คณะรัฐมนตรีเมื่อ พ.ศ.๒๕๐๕ ไมไดยกบันไดทางขึ้นปราสาทใหกัมพูชา และไดทําประตู เหล็กกั้นบันไดทางขึ้น(รูปภาพที่๒) ซึ่งไทยครอบครองบันไดทางขึ้นหลักตั้งแตขั้นที่๑-๑๖๒ มาตั้งแตพ.ศ.๒๕๐๕ แมกัมพูชาจะอางวาการกั้นรั้วลวดหนามรอบตัวปราสาทและประตู เหล็กนี้ไทยเปนผูจัดทําขึ้นเพียงฝายเดียวก็ตาม แตกัมพูชาก็ยอมรับและปฏิบัติตามมาเปน เวลาหลายสิบป(พ.ศ.๒๕๐๕-๒๕๔๒) เปนการยืนยันวาประเทศไทยเปนผูครอบครองทาง ขึ้นหลักของปราสาทพระวิหารมากอนที่กัมพูชาจะนําเอาไปขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก • ศาสตราจารย ดร.สมปอง สุจริตกุล อดีตเจาหนาที่กระทรวงการตางประเทศ ผูปฏิบัติหนาที่ โดยตรงในขณะนั้ น เป น ผู ร า งหนั งสื อ แจ ง เลขาธิ ก ารสหประชาชาติ ฉ บั บ ดั ง กลา วให แ ก ฯพณฯ ดร.ถนัด คอมันตร ดวยตนเอง ยืนยันวา หนังสือฉบับดังกลาว(ซึ่งรางเอง)ไมมีการ แนบแผนที่แสดงที่ตั้งตัวปราสาทพระวิหารตามที่กระทรวงการตางประเทศกลาวอางแต อยางใด และในหนังสือฉบับดังกลาวก็ไมปรากฏวามีการแนบ(attach)เอกสารใดๆตรงตามที่ ศ.ดร.สมปอง สุจริตกุล ยืนยันทุกประการ (อาง Ministry of Foreign Affairs NOTE TO U.N. ACTING SECRETARY-GENERAL No.(0601)22239/2505 July 6,B.E.2505(1962))


ภาพที่๑ แผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกัมพูชา


ภาพที่๒ อางวาเปนเสนเขตแดนตามมติครม.๒๕๐๕


ภาพที่๓ ประตูเหล็กและรั้วลวดหนามตามมติครม.๒๕๐๕

ภาพที่๔ แผนที่แนบทายแถลงการณรวม รวมเอาบันไดของไทยไปดวยทั้งหมด


เอกสารแสดงการกําหนดบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (หนา๑)


เอกสารแสดงการกําหนดบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (หนา๒)


เอกสารแสดงการกําหนดบริเวณปราสาทพระวิหาร ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.๒๕๐๕ (หนา๓)


แผนที่นี้มีพิรธุ ๒ ประการ ๑) ศ.ดร.สมปอง สุจริตกุล ยืนยันวาหนังสือ ดร.ถนัด คอมันตร ไมมีการแนบแผนที่ใดๆทั้งสิ้น (ดูเนื้อหาในหนา๖ ของเลม) ๒) เปนแผนที่ซงึ่ ระบุแนวปฏิบัติการตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๕๐๕ (ไมตรงกับรายละเอียดในแบบที่๒)


ไทยไมควรขึ้นทะเบียนรวม เอกสารสํ าคัญที่ใชเ ปนหลักฐาน (นอกเหนือจากการสนับสนุนอยางแข็งขั นและการ รับรองอยางไมรักษาผลประโยชนของประเทศชาติ แลว) มี 1. รางขอมติ 32COM 8B.102 (หรือ Draft Decision 32COM) 2. Statement by Mr.Pongpol , Chairman of NWHCT at the 32nd Session of the WHC. July 7 , 2008 3. Joint Communiqué. June 18 , 2008 4. สมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ เรื่อง กรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลก ในชวงที่กัมพูชาขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกนั้น รัฐบาลไทยแสดง ทาทีสนับสนุนอยางแข็งขัน รวมทั้งใหการรับรองเสมือนไมรักษาผลประโยชนของประเทศชาติ อาจรวบรวมใหเห็นไดดังนี้ การสนับสนุนอยางแข็งขัน และการรับรองอยางไมรักษาผลประโยชนของประเทศชาติ • อางวา การขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกของกัมพูชา ไมเสียดินแดน และไมกระทบอธิปไตยเหนือดินแดนของไทย • อางวา กัมพูชามีสถานภาพการถือครองตัวปราสาทมาตั้งแตป พ.ศ.2505 ที่ไทยมอบ การถื อ ครองให ต ามคํ า พิ พ ากษาของศาลโลก โดยไม บ ง ชี้ หรื อ อาจจะเรี ย กได ว า ปฏิเสธการสงวนสิทธิของไทย • อางวา การปกปนเขตแดนยังไมแลวเสร็จ ซึ่งเปนเท็จ (มีเอกสารแนบ) • อางวา แผนที่ของกัมพูชาเปนแผนที่คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ซึ่งเปนเท็จ (มีเอกสารแนบ) • การบิดเบือนไปถือเอาเสนปฏิบัติการ (Operation Guide Lines) เปนเสนเขตแดนตาม มติครม. 2505 ซึ่งเปนเท็จ (มีเอกสารแนบ) • เบี่ยงเบนขอเท็จจริง รวมถึงหลีกเลี่ยงที่จะบอกถึงเรื่องพื้นที่กันชน (Buffer Zone) และ แผนจัดการพื้นที่รอบปราสาท ซึ่งเปนเรื่องที่คณะกรรมการมรดกโลกกําหนดไวตาม ขอบัญญัติ ปรากฏการณหลังมติขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลก เราจะเห็นทาทีของ นายปองพล อดิเรกสาร (ประธาน NWHCT) เสนอตอสังคม ใหไทยขึ้นทะเบียนรวมองคประกอบ ตางๆของปราสาทพระวิหารในฝงไทย Statement ของนายปองพล อดิเรกสาร ตอ WHC เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ.2551( ค.ศ.2008) มีสาระสําคัญที่หนา 3 ของเอกสาร ที่วา


“ The inscribtion of Preah Vihear should be further retended with the cooperation of Thailand and should be developed into a model case of transboundary nomination, and even a mixed cultural and natural nomination…” และยอหนาสุดทายวา “ We are thankful that the committee has agreed that would be desirable in the future to possible inscribtion to capture criteria (iii) and (iv). To do this I strongly believe, the cultural and natural landscapes on the northern part of the Temple which lie in the Thai territory……” ศ.ดร.อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธาน NWHCT เมื่อใหสัมภาษณขอคิดเห็นของทานตอ ทีมนักวิชาการ ไดเตือนเรื่องการขึ้นทะเบียนแบบ mixed cultural and natural nomination ทั้งๆ ที่เอกสาร Draft Decision 32 COM ยังไมออกเผยแพร รวมทั้งเตือนเรื่อง ICC ดวยวาเปน ประวัติก ารณ ไม เ คยมีที่ ไหน แม ที่ นั้ น จะมีปญ หาอยา งมาก เช น กรณี กรุ ง โรม-นครวาติกั น ,Statement ของนายปองพล อดิเรกสาร ตองเทียบกับรางขอมติ (Draft Decision) และสาระใน แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา (Joint Communiqué) จึงจะเห็นความจงใจของ “ผูกระทํา” รวมถึง หายนะที่จะเกิดขึ้นตอประเทศไทย ขยายความใน Joint Communiqué (แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา) • แถลงการณรวมขอที่๑ ในสวนของพื้นที่นั้นกลาววา “...ผังของการขึ้นทะเบียนครั้งนี้ถูก แสดงโดยหมายเลข๑ ในแผนที่ซึ่งเตรียมโดยเจาหนาที่ผูมีอํานาจของกัมพูชาที่แนบมา ดวยนี้ และหมายเลข๒ ซึ่งเปนพื้นที่กันชน(Buffer Zone)ทางดานทิศตะวันออกและทิศ ใตข องตัวปราสาท…” ในสว นของหมายเลข๑จะเห็นวาแทจริงแลวกัมพูชาไมมีสิท ธิ นอกเหนือจากตัวปราสาทเลย(โปรดดูคําอธิบายของนักวิชาการเรื่อง การเขาใจผิดเรื่อง เสนเขตแดนตามมติครม.๒๕๐๕) การยอมใหกัมพูชานําพื้นที่รอบตัวปราสาทไปขึ้น ทะเบียนเพียงฝายเดียวจึงเทากับเปนการยินยอมยกดินแดนใหกัมพูชา • แถลงการณรวมขอที่๒ กลาวไวราวกับกัมพูชาเปนเจาของพื้นที่วา “ดวยเจตนารมณ แหงมิตรไมตรี และการประนีประนอม ราชอาณาจักรกัมพูชายอมรับวาการยื่นเสนอขึ้น ทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกในขั้นนี้จะยังไมรวมพื้นที่กันชนทางดานทิศ เหนือและทิศตะวันตกของตัวปราสาท” หมายความวาในขั้นตอไปจะตองผนวกรวมพื้นที่ กันชนทางดานทิศเหนือและทิศตะวันตกรวมเขาไปดวย โดยพื้นที่ดังกลาวเปนดินแดน ไทย เทากับวาไทยจะตองยกพื้นที่อันเปนของไทยรวมเขาไปกับมรดกโลกของกัมพูชา ดวย แตในแผนที่ฉบับนี้กลับไมปรากฏเสนเขตแดนของไทย ยอมแสดงใหเห็นเจตนา อยา งชั ด แจงว ากั มพู ชาถื อ เอาพื้นที่ บ ริ เ วณเขาพระวิห ารทั้ งหมดอยูใ นเขตแดนของ กัมพูชา • แถลงการณรวมขอที่๓ กลาววา “แผนที่ที่กลาวถึงในยอหนาที่๑ กอนหนานี้จะใชแทน แผนที่ทั้งหมดตลอดจนรูปภาพอางอิงตางๆที่แสดงใหเห็นเขตคุมครอง(Core Zone) และการกําหนดเขตอื่นๆ(other zonage)ในบริเวณปราสาทพระวิหาร” ขอนี้เปนปญหา


มาก เพราะพื้นที่หมายเลข๓ ยังไมมีการระบุเขตที่ชัดเจนและจะเกิดปญหาการรุกล้ําเขต แดนไทยซึ่งเปนบริเวณอุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร • แถลงการณ ร ว มข อ ที่ ๔ กล า วว า “ในระหว า งที่ ยั ง ไม มี ผ ลของการปฏิ บั ติ ง านของ คณะกรรมาธิการเขตแดนรวม(JBC) พื้นที่รอบปราสาทดานทิศเหนือและทิศตะวันตกที่ กลาวถึงในหมายเลข๓ ตามแผนที่ขางบนนั้น พื้นที่นี้จะมีการจัดทําแผนบริหารจัดการ รวมกันโดยเจาหนาที่ผูมีอํานาจของกัมพูชาและไทย อยางสอดคลองกับมาตรฐานการ อนุรักษในระดับสากล เพื่อธํารงรักษาคุณคาอันเปนสากลของตัวปราสาท ทั้งนี้จะรวม เอาแผนบริหารจัดการพื้นที่นี้เขาไวในแผนบริหารจัดการขั้นสุดทายสําหรับตัวปราสาท และพื้นที่โดยรอบ ซึ่งจะถูกบรรจุเขาไวในศูนยมรดกโลกในการประชุมคณะกรรมการ มรดกโลก สมัยที่๓๔ ในวันที่ ๑ กุมภาพันธ ๒๐๑๐” ในขอนี้จะเห็นวาการบริหารจัดการ พื้นที่รวมจะจัดทําขึ้นโดยกัมพูชาและไทย แตผลจากการขึ้นทะเบียนมรดกโลกเมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ที่ผานมานั้น ปรากฏวาจะมีหนวยงานของ ๗ ประเทศเขามารวม ทําแผนบริหารจัดการพื้นที่โดยประเทศไทยจะเปนเพียงหนึ่งในนั้น ซึ่งจะเปนผลเสียและ จะเปนปญหายุงยากสําหรับไทยตามมาอีกมากมาย เชน อธิปไตยเหนือดินแดนเขาพระ วิหาร สิทธิสภาพนอกอาณาเขต การสํารวจและจัดทําหลักเขตแดน ปญหาสิ่งแวดลอม การบังคับใชกฎหมายอุทยานของไทย ฯลฯ • แถลงการณ ร ว มข อ ที่ ๕ กล า วว า “การสํ า รวจและจั ด ทํ า หลั ก เขตแดนของ คณะกรรมาธิการรวม(JBC)จะไมละเมิดตอสิทธิของทั้งสองประเทศ ตอการขึ้นทะเบียน มรดกโลกของกัมพูชานั้น ที่จะเปนปญหาจากแถลงการณรวมขอนี้คือ หากมีการสํารวจ และจัดทําหลักเขตแดนมาถึงบริเวณปราสาทพระวิหารนี้ กัมพูชาสามารถจะอางไดวา พื้นที่เขาพระวิหารทั้งหมดเปนดินแดนของกัมพูชา เพราะกัมพูชามีขอไดเปรียบดังนี้ ๑) กัมพูชามีทาทีที่ชัดเจนและยืนยันมาตลอดวาเขาพระวิหารอยูในเขตแดนของ กัมพูชา ตามแผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ โดยไมมีพื้นที่ทับซอนกับไทยแตอยางใด ๒) กัมพูชาใชประโยชนในพื้นที่เขาพระวิหารมากกวาไทยโดยมีหลักฐานยืนยัน เชน การตั้งชุมชนบานเรือนรานคาบริเวณทางขึ้นตัวปราสาท การตั้งชุมชนและวัดทาง ทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวปราสาท การตัดถนนจากบานโกมุยขึ้นมาที่ตัวปราสาท พระวิหาร ๓) ไทยไดรับรองแผนที่แนบทายแถลงการณรวมซึ่งกัมพูชาทําขึ้นโดยไมได คัดคาน ในกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร ๔) ทางการไทยยอมรั บ รองว า แผนที่ ๑/๒๐๐,๐๐๐ ของกั ม พู ช าเป น แผนที่ คณะกรรมการปกปนสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ.๑๙๐๔ (อธิบายแลวในเรื่อง การใชคําวาแผนที่ คณะกรรมการปกปนฯ) ๕) ทางการไทยยอมให ๗ ประเทศเขามาบริหารจัดการพื้นที่ ทั้งๆที่ไทยเคย ยืนยันมาตลอดวาพื้นที่ดังกลาวเปนของไทย เทากับไทยละทิ้งอธิปไตยเหนือเขาพระ วิหาร


๖) ไทยยอมละสิ ท ธิ โ ดยการยอมรั บ ว า ”การป ก ป น เขตแดนยั ง ไม แ ล ว เสร็ จ ” หมายความวา คณะกรรมาธิการเขตแดนรวมจะไมสามารถจัดทําหลักเขตแดนตามสัน ปนน้ําได แตอาจจะตองยึดตามแผนที่ของกัมพูชาซึ่งถูกรับรองโดยเจาหนาที่กระทรวง การตางประเทศของไทยวาเปนแผนที่ของคณะกรรมการปกปนรวมสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. ๑๙๐๔ ขยายความในรางขอมติ (Draft Decision) รางมติขอสําคัญๆ กับขอที่มีนัยเกี่ยวของกับการขึ้นทะเบียนรวมของไทย มีดังนี้ • รางมติขอ 8 รับรองแลวเรื่องการขึ้นทะเบียนรวม การที่ฝายไทยแสดงความปรารถนาขอขึ้นทะเบียนรวม ซ้ําแลวซ้ําอีกนั้น มีการรับรอง แลวในรางของมติการประชุมที่ควิเบค แคนาดา (รางมติขอ 8) จะเห็นวา มีการคนควา ทางโบราณคดี ทั้ ง ที่ ดํ า เนิ น การเสร็ จ แล ว 1 และที่ กํ า ลั ง ดํ า เนิ น การอยู ซึ่ ง จะส ง ให คณะกรรมการมรดกโลกพิจารณาในลักษณะการขึ้นทะเบียนขามพรมแดน (รางมติขอ 10) ดวยเหตุผลวา ประชาชนในพื้นที่โดยรอบไดใหคุณคาปราสาทพระวิหารมาชานาน และเปนการเสนอองคประกอบ เพื่อสะทอนใหเห็นความสมบูรณและภูมิทัศนของมรดก โลก ดังนั้น การขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกเพิ่มเติมโดยฝายไทยซึ่งเปนผูใหความรวมมือ กัมพูชาอยู จะเขาเกณฑขอที่ 3 และ 4 ซึ่งไดรับการรับรองแลว โดยมีคําตัดสินของ คณะกรรมการมรดกโลกที่แคนาดา (รางมติขอ 11) การใหคํารับรองจากการประชุม คณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 32 ที่เมืองควิเบคนี้ จึงเรียกรองเพิ่มเติมใหรัฐบาลผูให ความรวมมือ และหุนสวนระหวางประเทศอีกไมเกิน 7 ประเทศ เขาตรวจสอบและ ดําเนินการใหสอดคลองกับมาตรฐานการอนุรักษสากล (รางมติขอ 14) • นอกจากนี้ ในรางมติขอ ๑๔ ของคณะกรรมการมรดกโลกยังระบุวา ให รั ฐ ภาคี กั ม พู ช า โดยความร ว มมื อ กั บ ยู เ นสโก ให จั ด การประชุ ม คณะกรรมการชาติที่เปนผูคอยดูแลความปลอดภัย และการพัฒนาทรัพยสินไม ชากวาเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๒ โดยเชิญใหรัฐบาลไทยเขารวม รวมทั้งชาติ หุนสวนระหวางประเทศที่เหมาะสมไมเกิน ๗ ชาติ เพื่อตรวจสอบนโยบายทั่วไป 1

ดูรายงานขอมูลแหลงโบราณคดีและโบราณสถาน บริเวณเขาพระวิหาร อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ โดยกอง โบราณคดี สํานักศิลปากรที่ 11 อุบลราชธานี กรมศิลปากร ซึ่งในคํานําระบุวา สืบเนื่องมาจากการประชุม WHC สมัยที่ 31 มี มติใหทั้งสองประเทศรวมมือกันดําเนินการขอขึ้นทะเบียนมรดกโลกอีกครั้ง ใน พ.ศ. 2551 ซึ่งจากการประชุม ของคณะทํางาน ศึกษาขอมูลเชิงวิชาการ เพื่อแกไขรายงานเรื่องปราสาทพระวิหาร ของ ICOMOS เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2550 ณ หองประชุม กรมศิลปากร เพื่อใหเห็นหลักฐานทางโบราณคดีวา ภาพรวมของเขาพระวิหารในอดีตเปนศูนยกลางความเชื่อและศรัทธา มิใช เปนปราสาทที่ตั้งอยูอยางโดดเดี่ยว สําหรับชนชั้นปกครองและนักบวชมาประกอบพิธีกรรมและสักการะเทพเจาเทานั้น (สอด คลองกับมติขอ 15 อนึ่ง นอกจากรายงานขอมูลในทางโบราณคดีและโบราณสถานของกรมศิลปากรแลว ยังจะมีรายงานทางภูมิทัศน ซึ่งกําลังดําเนินการอยูโดยกรมอุทยาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งไดวาจางมหาวิทยาลัยมหิดล ทําแผนแมบท พื้นที่พัฒนารวม อยูขณะนี้ - (วัลยวิภา ชี้)


เกี่ยวกับการคุมครองความปลอดภัยของทรัพยสินที่มีคุณคาโดดเดนเปนสากล ใหสอดคลองกับมาตรฐานการอนุรักษของสากลดวย (“ Requests the State Party of Cambodia, in collaboration with UNESCO, to convene an international coordinating committee for the safeguarding and development of the property no later than February 2009, inviting the participation of the government of Thailand and not more than seven other appropriate international partners, to examine general policy matters relating to the safeguarding of the outstanding universal of the property in conformity with international conservation standards.”) • ศาสตราจารย ดร.อดุล วิเชียรเจริญ อดีตประธานคณะกรรมการมรดกโลกฝายไทย กอน หนานายปองพล อดิเรกสาร ไดตั้งขอสังเกตกลไกนี้ดวยวา ที่ผานมาไมเคยมีมรดกโลก แหงใด ใชกลไกนี้ เพราะจะทําใหชาติอื่น ๆ ที่รวมเขามาอีก ๖ ชาติ เขาแทรกแซง ปกปองกัมพูชา และกดดันไทยในการใชอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนที่ตองตกเปนพื้นที่ กันชน โดยที่กัมพูชาเปนผูกําหนดมาตรการทางกฎหมายและทางบริหารจัดการไวใน แผนบริหารจัดการพื้นที่ของทรัพยสินที่ขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลกแหงนี้ นอกจากนี้ การที่ท่ีประชุมไมมีการพูดถึงเรื่องนี้ แตพอถึงเวลานี้กลับมีมติ แสดงวา ฝาย ไทยไมมีการทวงติง ทั้ง ๆ ที่กระทบถึงสิทธิประโยชนของประเทศอยางชัดเจน2 ดวย เรื่องพื้นที่กันชน และแผนบริหารจัดการพื้นที่นี้ยังไมคิดวิตกกังวลวา จะมีวาระซอนเรน อยูอีก เพราะที่เห็นในเวลานี้ ก็ยังเปนเพียงรางของมติหรือ Draft Decision ซึ่งยังไมใช มติตัวจริงที่จะใหเห็นวาเปนอยางไรไดอีก • ใหกัมพูชาสงแผนที่แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมของทรัพยสินที่ขอขึ้นทะเบียน และแผนที่ กําหนดขอบเขตของพื้นที่กันชน ที่ระบุใน RGPP (รางมติขอ ๑๕ (a)) • เอกสารคําขอขึ้นทะเบียนลาสุดที่แสดงถึงความแตกตางจากเดิมอันสะทอนใหเห็นความ ครบถวนสมบูรณของทรัพยสิน (รางมติขอ15) ความหมายของขอนี้เปนอยางไรนั้นโปรด นึกถึงการเสนอขึ้นทะเบียนองคประกอบของปราสาทพระวิหารฝงไทย ในลักษณะการ ขึ้นทะเบียนขามพรมแดน ที่ ICOMOS ไทย และ นายปองพล อดิเรกสาร ประธาน คณะกรรมการมรดกโลกฝายไทย พยายามเสนอ และมีนายพิษณุ สุวรรณชฏ รองอธิบดี กรมเอเชียตะวันออก กระทรวงการตางประเทศ เปนตัวหลักในการดําเนินการ) “Full • สุดทาย กัมพูช าจะตองสงเพิ่มเติมแผนบริหารจัดการที่สมบูรณ ใชคําวา Management Plan” สําหรับการขึ้นทะเบียนมรดกโลก รวมทั้งแผนที่ที่ทําเปนยก สุดทาย ( a finalized map) ซึ่งตอนแรกไดสงแผนที่แสดงขอบเขตของตัวปราสาทที่ขอ 2

เมื่อดูขอ เท็จจริงจาก Draft Decision ขอ 5 อาจพิจารณาไดวาเปนวิธีการตลบหลังคําสั่งศาลปกครอง ของคณะกรรมการมรดกโลก ดวยความรวมมือของฝายไทย –(วัลยวภิ า ชี้)


ขึ้นทะเบียนแตยังไมกําหนด”พื้นที่ทับซอน” ขั้นตอมาคือกําหนดพื้นที่อนุรักษในพื้นที่ทับ ซอน และสุดทายสงแผนที่ใหมซึ่งแสดงขอบเขตพื้นที่ตางๆ พิกัดอางอิงทางภูมิศาสตร แทนแผนที่เดิมทั้งหมด จึงเปนขอสังเกตวา สอดคลองกับการวางแผนรวมกันใหมีการ เสนอรวมเขาไปอีกกับปราสาทพระวิหารที่ไดรับการขึ้นทะเบียนมรดกโลกแลว ถือวา เปนการประเคนใหกัมพูชาอยางสมบูรณ ความสมบูรณจะมีผลเมื่อทําใหเสร็จทันภายในเดือนกุมภาพันธ 2010 และจะมี มติจากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกครั้งที่ 34 แถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ทําใหคนไทยช็อคกันมาแลว แตการนําเอาผลของ แถลงการณรวมฉบับนั้นมาประกบกับรางมติ (Draft Decision) ของ WHC ยิ่งทําใหเกิด ความเสียหายอยางยิ่งตอประเทศชาติ คํานวณเฉพาะพื้นที่ไดคราวๆ ดังนี้ 1. ยกพื้นที่บริเวณพื้นที่รอบปราสาทใหกัมพูชา 2. ยกพื้นที่บริเวณเขาพระวิหาร ใหอยูในเขตแดนของกัมพูชาภายใตเหตุผล เพื่อ ความสมบู ร ณ แ ละความงดงามทางวั ฒ นธรรม-อารยธรรม (ตามร า งมติ ข อ 8,14,15 และ 16) 3. ยกพื้นที่บริเวณอุทยานแหงชาติเขาพระวิหารใหกัมพูชาดวยเหตุผลดานภูมิ ทัศน จะมากหรื อนอยอยูที่แผนพัฒนารว ม อันอาจจะครอบคลุ มบางสว นใน พื้นที่ 2 จังหวัด คือ ศรีษะเกษ และอุบลราชธานี(บานน้ํายืน) 4. พื้นที่ของไทย 4.6 ตารางกิโลเมตร ที่รัฐบาลไทยไมยอมยืนยันในอาณาเขตของ ตนตามแผนที่เสนเขตแดนของตน แตกลับไปรับรองยืนยันในแผนที่ของกัมพูชา แมจะรูและอางอยูเสมอวาถือแผนที่กันคนละฉบับ และเรียกพื้นที่นี้วา “พื้นที่ทับ ซอน” มีรัฐบาลเทานั้นที่ไดแสดงเจตนายินยอมใหพื้นที่อยูในการบริหารจัดการ ของ ICC ภายใตแผนแมบทมรดกโลกของกัมพูชา ทั้งหมดนี้ ยังไมไดคิดรวมถึงอธิปไตยของชาติ อธิปไตยของพลเมือง ความเปน ธรรม และประโยชนหลากหลายมิติ รวมถึงมิติทางวัฒนธรรม สัญชาติ และชาติพันธุ ที่ ตองถูกผลกระทบโดยตรง ชี วิ ต หรื อ ตํ า แหน ง ของบุ ค คลที่ ไ ม ป รารถนาดี ไม มี ค า พอจะทดแทนความ สูญเสียอันยิ่งใหญครั้งนี้ได


ความเสียหายรุนแรงยังไมจบสิ้น สมุดปกขาวของกระทรวงการตางประเทศ เรื่องกรณีการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหาร เปนมรดกโลก ซึ่งกลายเปนเอกสารหายากแลวในเวลานี้ ยิ่งทําใหเห็นความจริงที่เปนเรื่องความ เสียหายอยางรุนแรงวายังมีไมจบสิ้น คงมีใครเอาที่ดิน ๔.๖ ตารางกิโลเมตร (ประมาณ ๒,๙๐๐ ไร) ไปขายใหกัมพูชาตั้งแต เดือนเมษายน ๒๕๔๙ ! กัมพูชาประกาศกฤษฎีกากําหนดพื้นที่อนุรักษปราสาทพระวิหารตั้งแตเดือนเมษายน ๒๕๔๙ และพื้นที่พัฒนา ๔.๖ ตารางกิโลเมตร “ทับซอนอยูกับดินแดนไทย” และนาสังเกตวาในป นี้ (๒๕๔๙) กัมพูชาก็ไดขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเปนมรดกโลกอีกครั้งหนึ่งและไดรับ การเสนอวาจะใหเขาที่ประชุมสมัยที่ ๓๑ ณ เมืองไครสตเชิรช ประเทศนิวซีแลนด (อยาลืมวา เมื่อเดือนมกราคม ๒๕๔๘ กัมพูชายื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนไว แตศูนยมรดกโลกไดข อให กัมพูชาเสนอเอกสารประกอบการยื่นขอขึ้นทะเบียนใหม โดยเฉพาะแผนที่ที่เกี่ยวของกับพื้นที่ กันชน ซึ่งกัมพูชากําหนดพื้นที่ครอบคลุมทั้งของกัมพูชาและไทย คณะทํางานของศูนยมรดกโลก แนะนําวาหากกัมพูชาจะรวมมือกับไทยในเรื่องนี้ โดยขอใหไทยกําหนดพื้นที่กันชนในเขตของ ไทย ก็จะทําใหการยื่นขอขึ้นทะเบียนของกัมพูชามีน้ําหนักมากขึ้น กัมพูชาจึงยื่นเอกสารอีกครั้ง หนึ่งเมื่อวันที่ ๓๐ ม.ค. ๒๕๔๙) และพื้นที่นี้ถูกนําไปกําหนดเขตในแถลงการณรวมไทย-กัมพูชา ข อ ๒ และข อ ๔ ซึ่ ง เป น พื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ แ ละพื้ น ที่ กั น ชน (ดู ใ นสมุ ด ปกขาวของกระทรวงการ ตางประเทศ หนา๔๒ และ ๖) อันเปนผลผูกพันและยกเลิกตอ WHC ไมไดในขณะนี้ หรือแมแต ขอยกเลิกตอกัมพูชา ความพยายามเลี่ยงบาลีของหนวยงานที่มีบทบาทโดยตรง ๒ หนวยงาน คือ กระทรวง การตางประเทศ กับกรมแผนที่ทหาร ที่เลี่ยงไปใชคําวา “พื้นที่ทับซอน” และ “เสนเขตแดนตาม มติ ครม. ๒๕๐๕” หรือที่พยายามอธิบายวา “เสนเขตแดนที่ตางกัน” นั้น ความตางกันจึงไมใช จากแผนที่คนละฉบับหรือแผนที่ที่ตางกันเหมือนกอนป ๒๕๔๙ หากแตเปนตางกันเพราะการ ยอมรับเสนเขตแดนใหมของกัมพูชา ตามแผนที่ท่ีฝรั่งเศสทําแตฝายเดียว บวกกับเขตพื้นที่ อนุรักษปราสาทพระวิหารและพื้นที่พัฒนาตามประกาศกฤษฎีกา เดือนเมษายน ๒๕๔๙ ของ กัมพูชา


(เปนแผนที่และคําอธิบายของกระทรวงการตางประเทศ ในสมุดปกขาว หนา ๘ ) แลวจะจัดการอยางไรตอเรื่องที่เกิดขึ้นนี้ หากมีการขึ้นทะเบียนรวมของไทย ตอบไดวา ผลผู ก พั นนั้ นก็จ ะยิ่ ง หนั ก หนาต อไป การบริ ห ารจัด การพื้ นที่อนุ รักษ จะมี ป ญ หามาก เพราะ กัมพูชาจะถือวา ๑) ดินแดนเปนของตน ๒) โครงการเปนของตน และกําหนดโดยตน และ ๓) กรรมการดูแลมาตรฐานเปนนานาชาติที่กัมพูชาเชื้อเชิญมา การที่ไทยเขา ไปร ว มด ว ยอี ก ๑ ชาติจ ะต อ งรู ตัว ว า ไมใ ช ช าติเ จ าของดิ นแดน หรื อเจ า อธิปไตยแตอยางใด การขอขึ้นทะเบียนรวมของไทยที่ WHC กลาววาขอซ้ําแลวซ้ําอีกนั้น จึงเปนการกลบ เกลื่ อ นให แ นบเนี ย นเพราะคิ ด ว า จะไม มี ใ ครรู เ รื่ อ งการยอมยกดิ น แดน ๔.๖ ตารง กิโลเมตร ใหกัมพูชาไป แลวทําใหกัมพูชายืนยันไดวาการขึ้นทะเบียนของตนจะไมมี ผลกระทบต อ เขตแดน (สมุ ด ปกขาวของกระทรวงการต า งประเทศ หน า ๑๑) นักการเมืองและขาราชการไทยถึงออกมาโตอยูตลอดเวลาวาไมเสียดินแดน พูดได


เพราะว า ได รั บ รองดิ น แดน ๔.๖ ตารางกิ โ ลเมตร ว า เป น ของกั ม พู ช าตามประกาศ กฤษฎีกาเขตพื้นที่อนุรักษปราสาทพระวิหารของกัมพูชาไปเรียบรอยแลว แผนที่ใหมของกัมพูชา จึงเปนแผนที่ที่ปรับเปลี่ยนตามประกาศกฤษฎีกา เดือน เมษายน ๒๕๔๙ การที่ ฝายไทยไปยอมรับ แผนที่ใหมของกัมพู ชายอมมีผลใหมีการ เปลี่ ย นแปลงอาณาเขต ซึ่ ง ตามกฎหมายรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย และ กฎหมายระหวางประเทศคือสนธิสัญญา ไมอาจเปลี่ยนแปลงไดโดยงาย เพราะฉะนั้นคํา วา “การปกป นเขตแดนยั งไมแลวเสร็จ” จึงถู กนํ ามาใช ดว ยวัต ถุประสงคเ พื่อใหเ กิด ความชอบธรรม กันความผิด ในการเปลี่ยนแปลงอาณาเขตในครั้งนี้ ความคิดที่แยบยล มากกวานี้ที่จะแปลงความผิดใหเปนภาระผูกพันที่เกิดขึ้นกับเรื่องการขึ้นทะเบียนมรดก โลก คือ การดําเนินการใหฝายไทย “ขึ้นทะเบียนรวม” การขึ้นทะเบียนรวมดวยเงื่อนไขนี้แมจะอางเหตุผลความงดงามแหงวัฒนธรรมก็ ไมใชทางออกที่ดีสําหรับประเทศไทย เพราะการที่ประเทศไทยนําเอาโบราณสถานของ ไทยและดินแดนของประเทศไทยไปขึ้นทะเบียนรวมกับกัมพูชานั้นประเทศไทยจะตกอยู ในสภาพ หรือภาระผูกพัน ดังนี้ ๑) กั ม พู ช าจะเป น ผู บ ริ ห ารจั ด การหลั ก และสามารถบริ ห ารในส ว นที่ เ ป น โบราณสถานของไทยและพื้นที่ของไทย (๔.๖ ตารางกิโลเมตร หรือ ๒,๙๐๐ ไร) ซึ่งจะ ถูกรวมเขาไปกับพื้นที่อนุรักษและพื้นที่กันชน ซึ่งถูกอางวาเปนของกัมพูชาทั้งหมด ๒) ประเทศไทยไมมีสิทธิบริหารจัดการพื้นที่และโบราณสถานของไทยเองโดย ลําพัง แตไทยจะเปนเพียงหนึ่งในเจ็ดประเทศ(ICC) ที่จะเขามาจัดการมรดกอันเปนของ ไทย โดยอางความเปนมาตรฐานสากล

ผูมีสวนสรางปญหาทั้งหลาย พยายามผลักดันเรื่องนี้ดวยการดําเนินการอยาง เรงรีบใหทันภายในเวลาที่กําหนด กลาวคือไมเกินเดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๓ ในสังคมสมัยใหมและการเมืองแบบใหม ไมใชการเมืองเผด็จการเสียงขางมาก เรื่องเชนนี้จะถูกตรวจสอบ ไมชาก็เร็วก็จะรูวาพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรนั้น แมจะเปนที่ รกชัฏหางไกล แตก็เปนอาณาเขตของราชอาณาจักรไทย หมูบานในพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตร มี ๕ หมูบานคือ หมูบานภูมิซรอล หมูที่๒ ต.เสาธงชัย หมูบานภูมิซรอล๒ หมูที่๑๒ ต.เสาธงชัย หมูบานภูมิซรอลใหม หมูที่๑๓ ต.เสาธงชัย หมูบานชําเม็ง หมูที่๓ ต.เสาธงชัย และบานโนนเจริญ หมูที่๑๐ ต.เสาธงชัย ชาวบานอาศัยอยูตามชายขอบทางทิศเหนือ แถบริมถนน พื้นที่สวนใหญเปนปาเขา มี ที่ตั้งของที่ทําการอุทยานแหงชาติเขาพระวิหาร และศูนยบริการนักทองเที่ยว


หากพื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรนี้ เปนพื้นที่กันชนและตองอยูในการบริหาร จัดการมรดกโลกจากการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารของกัมพูชาแลว ปญหาที่ตามติดตอมา คือ เรื่องสิทธิชุมชน สิทธิมนุษยชน สัญชาติ ฯลฯ ทั้งหมดรวมอยูในกรอบความคิดเรื่องเขตแดน ที่หมายถึงประโยชนและความเป นธรรม เปนงานที่ทีมวิชาการนี้เคยไดสัมผัสและตระหนัก มาแลวจากกรณีเขตแดนไทยลาว แผนที่แสดงเขตชุมชนอําเภอกันทรลักษ


ทางแกไขเยียวยา • ผูที่ทําความเสียหาย หรือมีสวนทําความเสียหาย ๑) หยุดสรางปญหา ที่จะกอใหเกิดภาระผูกพันตอไป ๒) บอกความจริง เพื่อชวยกันหาทางแกไขและเยียวยาในวิถีทางที่ถูกตองตรง ประเด็น • ผูมีหนาที่แกปญหา ๑) พิจารณาวาใครสมควรจะเปนผูบอกเลิกหนังสือสัญญากับกัมพูชาโดยเร็ว ที่สุด ดวยเหตุผลใด อางอิงขอกฎหมายใด ๒) แถลงความจริงตอประชาชน ๓) สํารวจตรวจสอบความผิดพลาดทํานองนี้ ในกรณีอื่นๆ ๔) ชําระขอมูล และจัดการความรูเพื่อการเรียนรูและความถูกตอง อันจะเปน บทเรียนตอไปในอนาคต อนึ่ง แนวทางยกเลิกแถลงการณรวม(Joint Communiqué) ตอ WHC ทําไมได แลวตามรางมติขอ ๕ (Draft Decision) เพราะถูก suspensed สวนการเสนอขอเปลี่ยนแปลงมติของ WHC นั้น ตองขึ้นอยูกับกําหนดเวลา ป หนา (๒๕๕๒) แมจะเปนการชาเกินการณ และไมทันตอการดําเนินการของกัมพูชาบาง เรื่อง เชน ICC แตก็ควรคิดจะทํา พรอมกันนั้นการไมใหความรวมมือกับกัมพูชา เชน การไมสงแผนพัฒนารวม การอางพระราชกฤษฎีกาอุทยานแหงชาติเขาพระวิหารเพื่อ ปดชองเรื่องการใชประโยชนที่ดินก็สามารถกระทําได และที่สําคัญคือการไมขึ้นทะเบียน รวม ก็จะทําใหการขึ้นทะเบียนมรดกโลกของกัมพูชาไมสมบูรณตามระเบียบของ WHC ซึ่งมีความเปนไปได ที่จะถูกถอนหากทําไมทันตามกําหนดเวลา (ภายในกุมภาพันธ ๒๕๕๓) การประณาม WHC และ ยูเนสโก ก็เปนวิธีที่ใชไดสําหรับกรณีนี้ และมีขอมูล พรอม วิธีสุดทาย คือ การซื้อเวลาดวยการทวงคืนปราสาทพระวิหาร


เอกสารแนบ




ขอมูลเพิ่มเติมในบทความการจัดการความรูชุดที๑่ เรื่อง “ไทยไมควรขึ้นทะเบียนรวม” โดย ม.ล.วัลยวิภา จรูญโรจน และนายประกาสิทธิ์ แกว มงคล ขอมูลนี้ใชในการสนับสนุนวาไทยตองยึดถือและยืนยันแผนที่และเสนเขตแดนของไทย ตามสันปนน้ํา

Constitution of Cambodia CHAPTER 1 Sovereignty Article 2The territorial integrity of the Kingdom of Cambodia shall absolutely not be violated within its borders as defined in the 1/100,000 scale map made between the years 1933-1953 and internationally recognized between the years 1963-1969

รัฐธรรมนูญของกัมพูชาฉบับ 21 กันยายน พ.ศ. 2536 บทที่ 1 ขอ 2 บัญญัติวา บูรณ ภาพแหงดินแดนของกัมพูชาจะถูกละเมิดมิไดภายในแนวเขตแดนที่กําหนดไวในแผนที่มาตรา สวน 1:100,000 ที่จัดทําขึ้นในชวงป ค.ศ.1933-1953 และเปนที่ยอมรับจากนานาประเทศ ในป ค.ศ.1963 – 1969 กระทรวงการตา งประเทศ รว มกั บ กรมแผนที่ทหาร ไดศึก ษาแผนที่ ดังกลาว พบวา แผนที่ไดรับการจัดทําโดย Service Geographique de I’ Indochine ซึ่งคงจะ ใชแผนที่ซึ่งอางวาเปนของคณะกรรมการปกปนทั้งสองชุดเปนพื้นฐาน จากการเปรียบเทียบ พบวามีเขตแดนหลายชวงที่เหมือนกัน เชน ที่แหลมสารพัดพิษ และปราสาทพระวิหาร แตมีเขต แดนหลายชวงที่ตางกัน เชนที่คลองลึก หลักเขตที่ 41, 44, 45 จ.สระแกว เปนตน ในแงกฎหมายระหวางประเทศ รัฐธรรมนูญกัมพูชาเปนการประกาศฝายเดียว ไมมีผล ผูกพันไทย แตหากไทยไมแสดงทาทีอาจทําใหไทยเสียเปรียบตามหลักกฏหมายปดปาก ไทยจึง ตั้ ง ข อ สงวนโดย รมว.กต.ไทย ทํ า หนั ง สื อ ถึ ง สมเด็ จ กรนขุ น สิ ริ วุ ฒิ รอง นรม.และรมว . ตางประเทศ กัมพูชา เมื่อ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2537 และสงสําเนาใหเลขาธิการสหประชาชาติ ดวย




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.