มาเล็งเต้านม

Page 1

ม า เ ล็ ง

เ ต้ า น ม ตรวจสอบความรู้และเรียนรู้เพื่อป้องกันโรคร้าย อันดับ 1 ที่คร่าชีวิตหญิงไทย


CHECK YOUR KNOWLEDGE คุณรู้จริงแค่ไหน

คุณรู้เกี่ยวกับ “มะเร็งเต้านม” มากแค่ไหน ลองทดสอบดู ระวัง! บางข้ออาจมีค�ำตอบมากกว่า 1 ค�ำตอบ

ควรเริ่มตรวจเต้านม ด้วยตนเองตอนอายุเท่าไหร่? 20

21

การตรวจเต้านมด้วยตนเอง สามารถทำ�ท่าใดได้บ้าง?

2

การคลำ�หาก้อนเนื้อ ควรทำ�อย่างไร?

สิ่งผิดปกติใดบ้าง ที่ควรรีบไปพบแพทย์?


ใครมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านม ได้มากกว่ากัน?

ชายคนใด มีฮอร์โมนเอสโตรเจนมาก?

การใช้เคมีบำ�บัด สามารถรักษาด้วยวิธีใดได้บ้าง?

เลาะต่อมน�้ำเหลืองออกทั้งหมด เพื่อตรวจหาระยะมะเร็งเต้านม?

ต้องใส่เสื้อชั้นในแบบพยุงเต้านม กี่วันหลังผ่าตัด?

วิธีใดใช้ป้องกันแขนบวม หลังการผ่าตัด?

2 วัน

5 วัน

X 3


มะเร็งเต้านม Breast Cancer

สาเหตุ

• ยีนบางตัวมีการกลายพันธุ์แล้วเกิด เป็นเซลล์มะเร็ง • ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม การกิน และ ฮอร์โมนเพศหญิง

ปัจจัยเสี่ยง

• มีประจ�ำเดือนครั้งแรกเมื่ออายุน้อย • หมดประจ�ำเดือนเมื่ออายุมาก • ไม่มีบุตร หรือมีบุตรคนแรกเมื่ออายุ มากกว่า 30 ปี • มีแม่ พี่น้อง หรือลูก เป็นมะเร็งเต้านม ก่อนอายุ 50 ปี • ใช้ยาคุมก�ำเนิดตั้งแต่อายุน้อยและใช้ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน

4

อาการ

• มีก้อนเล็กๆ ที่เต้านม • มั ก ไม่ มี อ าการเจ็ บ ปวด บวม หรื อ อักเสบ • ก้อนเต้านมมีรูปร่างผิดปกติ • ผิ ว หนั ง บริ เ วณเต้ า นม มี ลั ก ษณะ หยาบและขรุขระ • มีการดึงรั้งของหัวนม

*ในบางรายเมือ ่ บีบหัวนมจะมีนำ�้ เหลืองหรือ เลือดไหลซึม* • อาจพบต่อมน�ำ้ เหลืองโตหรือมีอาการ

ปวดกระดูก


วิธีลดความเสี่ยง การเกิดมะเร็งเต้านม จากสถิตข ิ องสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบผูห ้ ญิงเป็นมะเร็ง เต้านมร้อยละ 37 ของมะเร็งทั้งหมด และยังมีอัตราการเสีย ชีวิตเป็นอันดับ 2 รองจากมะเร็งปอด

1 ยืดเส้นยืดสาย

4 จิบน�้ำส้มหรือน�้ำมะนาว

แค่ออกก�ำลังชนิดที่ไม่เหนื่อยนัก เพียง การดื่มน�้ำส้มหรือน�้ำมะนาวเป็นประจ�ำ 4 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ จะช่วยลดความเสี่ยงใน ทุกวัน มีผลดีกับสุขภาพในหลายๆ ด้าน การเป็นมะเร็งเต้านมลงได้มากถึง 60%

2 เลิกเมาค้าง

5 สัมผัสแสงแดด

การตากแดดวันละ 15 นาที ในช่วงเช้า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2-5 แก้วต่อวัน เพิม ่ ความเสีย ่ งในการเป็นมะเร็งเต้านมได้มาก หรือเย็นจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรค มะเร็งเต้านมได้ ถึง 40%

3 เปลี่ยนจากสเต๊กเนื้อเป็นทูน่า

6 อย่าลืมถั่วเหลือง

เนื้ อ แดงของสั ต ว์ มี ผ ลต่ อ การเพิ่ ม ผู ้ ห ญิ ง ที่ ท านถั่ ว เหลื อ งเป็ น ประจ� ำ ค ว า ม เ สี่ ย ง ใ น ก า ร เ ป ็ น ม ะ เ ร็ ง เ ต ้ า น ม จะช่วยลดความเสีย ่ งในการเกิดมะเร็งเต้านม ผู้เชี่ยวชาญแนะน�ำว่า ควรหันมาทานทูน่าส และมดลูกได้ เช่น เต้าหู้หรือน�้ำนมถั่วเหลือง เต๊ ก หรื อ ปลาแซลมอน ซึ่ ง มี ก รดไขมั น และ โอเมก้า 3 5


?

DO YOU

KNOW

จากสถิติ พบว่ามะเร็งเต้านมพบในเพหญิง มากกว่าเพศชายประมาณ 100 เท่า เพศชายนั้นพบบ่อยในช่วงอายุ 60-70 ปี โดยผู้ชายที่เป็นมะเร็งเต้านม มีอายุเฉลี่ย มากกว่าผู้หญิงที่เป็น 7-8 ปี ประมาณ 20% มีประวัติมะเร็งเต้านมในครอบครัว โดยจะเป็นญาติทางฝ่ายชายหรือหญิงก็ได้

6


สาเหตุการเกิดมะเร็งเต้านมในเพศชาย

มีระดับฮอร์โมนเพศหญิง ทีช ่ อ ื่ เอสโตรเจนสูงกว่าปกติ และระดั บ ฮอร์ โ มนเพศชายต�่ ำ ท� ำ ให้ มี ลั ก ษณะเหมื อ น เพศหญิ ง เช่ น ช่ ว งไหล่ แ คบกว่ า ช่ ว งเอว เต้ า นมใหญ่ เป็นหมันจากการไม่มีตัวอสุจิ หรือมีตัวอสุจิน้อยมาก

ปัจจัยการเกิดมะเร็งเต้านมในเพศชาย

การเพิ่มระดับฮอร์โมนเพศหญิง : กลุ่มเพศ ที่สามหรือกายเป็นชายแต่ใจเป็นหญิง ที่ชอบหา ฮอร์ โ มนเพศหญิ ง มากิ น มาฉี ด ให้ ห น้ า อกใหญ่ เหมือนผู้หญิง ก็ต้องยอมรับความเสี่ยงต่อมะเร็ง เต้านมมากกว่าผู้ชายปกติอย่างช่วยไม่ได้

อาการมะเร็งเต้านมในเพศชาย

พบบ่อยที่สุดคือ • คล�ำเจอก้อนที่เต้านมหรือเต้านมบวม ส่วน ใหญ่ไม่มีอาการเจ็บ • มี ข องเหลวออกจากหั ว นม ที่ พ บบ่ อ ยคื อ น�้ำปนเลือด • หัวนมบอด บุ๋มเข้าข้างใน • เต้ า นมหรื อ หั ว นมแดง หรื อ มี แ ผลเรื้ อ รั ง บริเวณหัวนม

วิธีการป้องกันมะเร็งเต้านมในเพศชาย

ปัจจุบันโรคมะเร็งเต้านมในเพศชายพบมากขึ้น เนื่องจากคนส่วนใหญ่ล้วนมีน�้ำหนักเกินมาตรฐาน ดังนั้นวิธีป้องกันที่ดีคือ การหมั่นส�ำรวจความผิด ปกติ ข องเต้ า นม และลดปั จ จั ย เสี่ ย งด้ ว ยการ ออกแรง ออกก�ำลังเป็นประจ�ำ ระวังอย่าให้ น�้ำหนักเกินหรืออ้วน และไม่ดื่มหนัก

7


ทีมรักษามะเร็งเต้านม

ศัลยแพทย์เต้านม นักฟื้นฟูผู้มีบทบาท หลังการผ่าตัด

ผู้ดูแลการรักษาโดยการใช้ยาเคมี

นักกายภาพบำ�บัด

นักโภชนาการบำ�บัด

นักบ�ำบัดฟื้นฟูร่างกาย หลังการผ่าตัด

ผู้ดูแลเรื่องการรับประทาน

รังสีแพทย์สาขารังสีรักษา

พยาบาล

ผู้ดูแลการรักษาโดยการฉายรังสี

8

อายุรแพทย์มะเร็งวิทยา

ผู้ดูแลคนส�ำคัญ


การตรวจประเมิน มะเร็งเต้านม เบื้องต้น การตรวจประเมินหาความผิดปกติของเต้านม เป็นวิธีหนึ่งที่จะ ช่วยให้สามารถตรวจพบมะเร็งเต้านมได้ในระยะต้นๆ ซึ่งท�ำให้มีโอกาส สูงในการรักษาได้ส�ำเร็จ โดยการตรวจประเมินมะเร็งเต้านมเบื้องต้น แบ่งได้ 3 วิธีคือ

การตรวจด้วยวิธีแมมโมแกรม (Mammogram)

เป็นการตรวจรังสีชนิดหนึ่งคล้ายกับการเอ็กซเรย์ แต่เครื่อง แมมโมแกรมจะใช้ ป ริ ม าณรั ง สี น ้ อ ยกว่ า และตรวจได้ ล ะเอี ย ดกว่ า การเอ็กซเรย์ การตรวจแบบแมมโมแกรมจะสามารถเห็นจุดหินปูน ในเต้านม ซึ่งบางครั้งอาจจะมีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถคล�ำหรือ อัลตราซาวด์พบได้ มีแค่การตรวจแบบแมมโมแกรมเท่านั้นที่มองเห็น *ผู ้ ห ญิ ง ที่ อ ายุ ม ากกว่ า 40 ปี ขึ้ น ไปควรเข้ า รั บ การตรวจ แมมโมแกรมทุก 1-2 ปี*

การตรวจด้วยอัลตราซาวนด์และ MRI

จะใช้ในกรณีที่ผลของแมมโมแกรมตรวจพบความผิดปกติและ ต้องการตรวจหาเพื่อให้แน่ชัดยิ่งขึ้น

การคลำ�เต้านมด้วยตนเอง

เป็นการตรวจหาความผิดปกติเบื้องต้นของเต้านม ควรตรวจ เป็นประจ�ำตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป

9


วิธีการตรวจมะเร็จเตานม ดวยตนเอง

อายุ 20 ขึ้นไป การตรวจหามะเร็งเตานมดวย ตนเองสามารถทำได

เป็นประจำทุกเดือนในผู้ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป

หลังหมด ประจำเดือน ชวงเวลาที่ดีที่สุดในการตรวจคือ ช่วงหลังหมดประจำเดือนแล้ว 5-10 วัน เพราะเป็นช่วงที่เต้านมไม่คัดตึง สามารถตรวจพบก้อนเนื้อได้ง่าย

1.ยืนหนากระจก

สังเกตความเปลี่ยนแปลง ของขนาดรูปร่าง สีผิว ตำแหน่งของเต้านม และหัวนม

ยกแขนประสานกันเหนือศีรษะ

หมุนตัวเพื่อเปรียบเทียบขนาด เต้านมทั้งสองข้างว่ามีการบิดเบี้ยว มีรอยบุ๋ม ผิดไปจากอีกข้างหรือไม่

ยืนเท้าเอว

โน้มตัวมาข้างหน้าเล็กน้อย สำรวจดูความเปลี่ยนแปลง อีกครั้ง


2.คลำเตานม คลำในลักษณะวงกลมหรือกนหอย โดยเริ่มคลึงจากรอบหัวนม และขยายวงไปจนทั่วเต้านม

คลำในลักษณะแนวขึ้นลง เริ่มคลำตั้งแตกระดูกไหปลาราลงมา โดยใช้นิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง ค่อยๆ กดลงบนผิวเบาๆ และค่อยๆ กดแรงขึ้น โดยการคลำให้คลำเต็มนิ้ว ไม่ใช้แค่ปลายนิ้ว

3.บีบหัวนม

ใช้นิ้วมือบีบที่หัวนมเบาๆ

ดูวามีสิ่งผิดปกติ เชน เลือด หนอง หรือน้ำไหลออกมาหรือไม ข้อมูลจาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลกรุงเทพ

โดยเริ่มจากใต้เต้านมไปยังรักแร้ และคลำในแนวขึ้นลง สลับกันไปแบบนี้จนทั่วเต้านม

4.ตรวจในทานอนราบ

ใชหมอนหรือผาหม หนุนไหลขางที่จะตรวจ

และใช้วิธีตรวจเดียวกับท่ายืน

** หากคลำเจอกอนเนื้อ

หรือเจอสิ่งผิดปกติควรรีบไปพบแพทยทันที


การตรวจหาระยะของ

มะเร็งเต้านม

การตรวจหาระยะของมะเร็งเต้านมเป็นปัจจัยส�ำคัญในการก�ำหนดแนวทางการ รักษาที่เหมาะสม โดยจะท�ำการหาขนาดของก้อนแรกเริ่ม การแพร่กระจายไปสู่ต่อม น�ำ้ เหลือง โดยเฉพาะในบริเวณรักแร้ กระดูกไหปลาร้า และอวัยวะต่างๆ ซึง ่ ในมะเร็งเต้า นมอาจพบการกระจายได้เกือบทุกอวัยวะ เช่น ปอด ตับ กระดูก และสมอง การตรวจหาระยะของมะเร็งเต้านมนั้นอาจประกอบด้วยขั้นตอนหรือเครื่องมือ ต่อไปนี้ (ขึ้นอยู่กับแพทย์ที่ดูแล)

การผ่าตัดต่อมน�้ำเหลืองที่รักแร้

เป็นการตัดต่อมน�้ำเหลืองบริเวณรักแร้ มาตรวจ ในบางรายอาจท�ำการตรวจแบบ เซนทิเนล (Sentinel lymph node biopsy) ซึง ่ เป็นการตรวจหาต่อมน�ำ้ เหลืองแรกทีน ่ า่ จะ มีการแพร่กระจายไป แต่หากตรวจแล้วไม่พบ เชื้ อ มะเร็ ง ก็ ไ ม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี ก ารเลาะ ต่อมน�้ำเหลืองรักแร้ออกทั้งหมด

เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) สนามแม่เหล็กไฟฟ้า

12

เป็นการดูภาพของอวัยวะต่างๆ เหมือน CT scan แต่ จ ะใช้ ส นามแม่ เ หล็ ก ในการ ตรวจจับสัญญาณต่างๆ ออกมาเป็นภาพ อาจมี ก ารฉี ด สารเพื่ อ ให้ เ ห็ น ภาพชั ด ขึ้ น MRI อาจให้ขอ ้ มูลทีใ่ กล้เคียงหรือแตกต่างกับ CT scan ดั ง นั้ น ในผู ้ ป ่ ว ยแต่ ล ะรายอาจมี การเลือกใช้ไม่เหมือนกัน


เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan)

ฉีด ดื่มหรือสวนทวารด้วย สารทึบรังสีก่อนการสแกน

CT-Scan

เป็นการเอกซเรย์ต่อเนื่องซ�้ำๆ ก่อนจะ ประกอบกั น เป็ น ภาพของอวั ย วะต่ า งๆ และเพื่ อ ให้ ภ าพที่ อ อกมามี ค วามชั ด เจน อาจมี ก ารฉี ด กิ น หรื อ สวนทวารด้ ว ย สารทึบรังสี ซึ่งจะช่วยให้สามารถมองเห็น ส่วนของมะเร็งที่กระจายได้ชัดเจนขึ้น

ฉีดสารเภสัชรังสีที่มีคุณสมบัติ คล้ายน้ำตาลก่อนการสแกน

PET-Scan

เพ็ทสแกน (PET-scan)

เป็นการตรวจบริเวณที่มีการใช้น�้ำตาล ในปริมาณมากๆ ด้วยการฉีดน�้ำตาลที่มีรังสี ปริมาณน้อยๆ เข้าร่างกาย บริเวณใดทีม ่ ก ี าร ใช้นำ�้ ตาลมาก เช่น สมอง ตับ หรือก้อนมะเร็ง จะให้สัญญาณภาพสว่างกว่าบริเวณอื่น

สแกนกระดูก (Bone scan)

ฉีดสารเภสัชรังสี ก่อนการสแกน

BONE Scan

เป็ น การฉี ด สารรั ง สี ป ริ ม าณน้ อ ยๆ ซึ่ ง มั ก จ ะ ไ ป จั บ บ ริ เ ว ณ ที่ ก ร ะ ดู ก มี ก า ร เปลี่ ย นแปลง เช่ น อุ บั ติ เ หตุ หรื อ มี ก าร แพร่กระจายของมะเร็ง แล้วใช้เครือ ่ งตรวจจับ รังสีออกมาเป็นภาพแสดงต�ำแหน่งที่ปกติ หรือผิดปกติ

13


วิธีการรักษามะเร็งเต้านม ภาพจินตนาการการรักษาโรคมะเร็งของคน ไทยมักวนเวียนอยูท ่ ี่ “การท�ำคีโม” แท้จริงแล้ววิธก ี าร รักษาโรคมะเร็งสามารถท�ำได้หลากหลายวิธี ไม่ว่า จะเป็นการผ่าตัด การบ�ำบัดเคมีหรือการใช้ยาบ�ำบัด

1

การผ่าตัด

ส�ำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง นอกจากการผ่าตัดตกแต่งเต้านมแล้ว การผ่าตัดยังเป็นอีก ทางเลือกหนึ่งในการรักษามะเร็งเต้านมระยะแรกและระยะการแพร่กระจาย ซึ่งการผ่าตัด จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

ผ่าตัดเต้านม

น อ ก จ า ก ก า ร ผ ่ า ทั้ ง เ ต ้ า บ า ง ค รั้ ง แ พ ท ย ์ จ ะ ผ ่ า อ อ ก ไ ป เพียงบางส่วน เรียกว่าการผ่าตัด แบบสงวนเต้ า นม ซึ่ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ ง ฉายรังสีหลังการผ่าตัดเสมอ ทั้งนี้ แพทย์จะพิจารณาจากปัจจัยขนาด ก้อนมะเร็ง ปริมาณก้อนในเต้านม และขนาดของเต้านม

14

ผ่าตัดต่อมน้ำ�เหลืองรักแร้

ผ่ า ต่ อ มน�้ ำ เหลื อ งเพื่ อ ดู ว ่ า มะเร็งอยู่ในระยะใด เนื่องจากมะเร็ง จะแพร่ ต ามระบบต่ อ มน�้ ำ เหลื อ ง ก า ร ผ ่ า ตั ด จ ะ ผ ่ า บ ริ เ ว ณ รั ก แ ร ้ แพทย์อาจตรวจน�้ำเหลืองเซนทิเนล เพี ย งบางต่ อ ม หากแพทย์ ไ ม่ พ บ เซลล์มะเร็ง ก็ไม่จ�ำเป็นต้องโดนเลาะ ต่อมน�้ำเหลืองออกทั้งหมด แต่ก็มี โอกาสทีผ ่ ลตรวจจะผิดพลาดเช่นกัน


2

การให้ยาเคมีบำ�บัดหรือการทำ�คีโม การรักษาชนิดนี้จะใช้รักษามะเร็ง เกื อ บทุ ก ระยะ อาจใช้ ก ่ อ นหรื อ หลั ง ผ่ า ตั ด วิ ธี ก ารรั ก ษาคื อ การให้ ย า ผ่ า นเส้ น เลื อ ดหรื อ ยาเม็ ด ซึ่ ง มี ฤ ทธิ์ ท� ำ ลายการแบ่ ง ตั ว ของเซลล์ ม ะเร็ ง บางครัง ้ อาจท�ำลายเซลล์ปกติบางส่วน ส่ ง ผลให้ เ กิ ด อาการหน้ า ซี ด ติ ด เชื้ อ ได้ง่ายและท�ำให้ผมร่วง

3

การฉายรังสีหรือการฉายแสง เ ป ็ น ท า ง เ ลื อ ก ใ น ก า ร รั ก ษ า ม ะ เ ร็ ง หลายระยะ โดยใช้เครื่องฉายแสงที่มีลักษณะ คล้ายเครือ ่ งเอ็กซเรย์ ปล่อยรังสีเข้าไปในส่วน ทีเ่ ป็นมะเร็งเพือ ่ ลดขนาดก้อนมะเร็งก่อนการ ผ่าตัดและหลังการผ่าตัดเต้านมออกทัง ้ หมด เพือ ่ ฆ่าเซลล์มะเร็งทีอ ่ าจเหลืออยูบ ่ ริเวณผนัง ทรวงอก นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การบรรเทา อาการหรือควบคุมโรคในกรณีที่เซลล์มะเร็ง มีการแพร่กระจายไปที่สมองหรือกระดูก

ระวั ง ผลข้ า งเคี ย ง! การฉายรั ง สี อ าจท� ำ ให้ ผิ ว หนั ง เป็ น ผื่นแดง แห้ง หรือด�ำคล�้ำ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการเจ็บและ เกิดแผล แต่ปัญหานี้มักพบเฉพาะในระยะการรักษาเท่านั้น

15


4

การให้ยาเคมีบำ�บัด

นอกจาก 3 วิธีข้างต้นที่คนไทยส่วนใหญ่คุ้นหูกันดี ยังทางเลือกในการรักษาอีก 2 วิธี คือ การรักษาทางฮอร์โมนและการให้ยาตรงเป้า

HE R2

HER 2

หรื อ การรั ก ษาด้ ว ยยาต้ า น ฮอร์ โ มน หนึ่ ง ในปั จ จั ย การเกิ ด โ ร ค ม ะ เ ร็ ง เ ต ้ า น ม คื อ ฮ อ ร ์ โ ม น เพศหญิง การใช้ยาต้านฮอร์โมน จะท� ำ ให้ เ ซลล์ ม ะเร็ ง ไม่ ส ามารถ น� ำ ฮ อ ร ์ โ ม น ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ใ น ร่างกายมาใช้ประโยชน์ได้

H 2RE

การรักษาทางฮอร์โมน

2REH 2RE E 2R H2REH H 2REH 2REH

EH 2R

HER2 HER2 HER2 HER2 HER2 HER2

การให้ยาตรงเป้า

คือการรักษาด้วยยาตรงเป้า ส� ำ หรั บ มะเร็ ง เต้ า นมที่ มี ตั ว รั บ เฮอร์-ทู (HER2) หรือยีนมะเร็งที่ มักพบในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ยี น ชนิ ด นี้ จ ะท� ำ ให้ เ ชื้ อ มะเร็ ง ลาม ได้เร็วยิ่งขึ้น ยาตรงเป้ามีทั้งชนิด ฉีดและกิน แต่การรักษาชนิดนีอ ้ าจ ไม่เหมาะกับผูป ้ ว ่ ยบางกลุม ่ อีกทัง ้ ยาตรงเป้ า ก็ ไ ม่ ส ามารถทดแทน การท�ำคีโมได้

ผูป ้ ว ่ ยควรปรึกษาแพทย์ผด ู้ แู ลว่าอาการของ ตนเหมาะกับการรักษาแบบใดและจะมีผลข้างเคียง อย่างไรบ้าง ซึ่งผู้ป่วยมีสิทธิ์ที่จะเข้ารับการรักษา หรือไม่รับการรักษาตามวิธีที่แพทย์เสนอก็ได้

16


การดูแล หลังการเจาะชิ้นเนื้อที่เต้านม ชม

48

ปิดแผล ด้วยวัสดุชนิดกันน�้ำ หลังเจาะชิ้นเนื้อแพทย์จะปิด แผล ส� ำ หรั บ การอาบน�้ ำ ถ้าวัสดุปิดแผลไม่เปียกน�้ำ หรือไม่เปือ ้ น ไม่ตอ ้ งเปิดเพือ ่ ท�ำแผล เมื่อครบ 48 ชั่วโมง จึงเปิดผ้าปิดแผล

สวมเสื้อชั้นใน แบบพยุงเต้านม ในช่ ว ง 48 ชั่ ว โมงแรก ควรสวมเสื้อชั้นในแบบพยุง เต้ า นมหรื อ เสื้ อ ชั้ น ในแบบ นักกีฬา (sport bra) ที่เป็น ชนิดตะขอหน้า

พารา

อาการปวด บริเวณที่เจาะ

สังเกตอาการ หลังกลับบ้าน

ให้ใช้ยาพาราเซตามอลหรือ ยาแก้ ป วดกลุ ่ ม NSAIDs แทนยาแอสไพริ น ที่ มี ฤ ทธิ์ ต ้ า น ก า ร ท� ำ ง า น ข อ ง เกล็ ด เลื อ ด ทุ ก 4 ชั่ ว โมง ตามแพทย์สั่ง

ถ้ า มี เ ลื อ ดหรื อ น�้ ำ สี เ หลื อ ง ซึมจากรอยแผล เต้านมบวม ขึ้นหรือมีอาการปวด บวม แดง ร้อน ให้รีบกลับมาพบ แพทย์

รอยช�้ำสีม่วง บริเวณเต้านม ห ลั ง 4 8 ชั่ ว โ ม ง อ า จ มี รอยช�้ำสีม่วงบริเวณเต้านม โดยเฉพาะในบริเวณที่ได้รับ การเจาะชิ้นเนื้อ แต่รอยช�้ำ นั้นจะค่อยๆ หายไปเอง

ไปฟังอย่าลืม!!! ตามที่แ ผลชิ้นเนื้อ พทย์น ัด

2

Mon

17


วิธีป้องกันแขนบวม หลังผ่าตัดและหลังได้รับรังสี รักษาเพื่อรักษามะเร็งเต้านม

1

2

ยกแขนข้ า งนั้ น ขึ้ น สู ง ใช้ มื อ อี ก ข้ า ง บี บ น ว ด ไ ล ่ จ า ก ป ล า ย นิ้ ว จ น ถึ ง รั ก แ ร ้ เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนน�้ำเหลืองให้กลับ เข้าสู่ล�ำตัว ท�ำวันละ 10-20 นาทีทุกวัน

ป้องกันไม่ให้น�้ำเหลืองคั่ง โดยห้ามใช้แขน ข้างนั้นๆ ยกของหนัก ให้ยกแขนสูงเสมอ เช่ น เวลานั่ ง ให้ ว างแขนบนโต๊ ะ หรื อ พนั ก เก้ า อี้ อาจใส่ ผ ้ า ยื ด รั ด แขนตามที่ แ พทย์ แนะน�ำ

ทำ�กายภาพ บำ�บัด

ยกแขน สูง

3

ระวังไม่ให้ เกิดแผลที่แขนข้างนั้น

เพราะจะมีโอกาสติดเชือ ้ ได้งา่ ย รวมถึงการ ถูกยุง แมลงอื่นๆ กัดต่อย ถ้ามีแผลต้อง รี บ ทาด้ ว ยน�้ ำ ยาฆ่ า เชื้ อ เช่ น โพวิ โ ดนไอโอดี น และดู แ ลท� ำ ความสะอาดแผล จนกว่าแผลจะหาย 18

TIps

วิ ธี ป ฏิ บั ติ ตั ว ดั ง ก ล ่ า ว อาจมี ร ายละเอี ย ดปลี ก ย่ อ ย แ ต ก ต ่ า ง กั น ใ น แ ต ่ ล ะ โรงพยาบาล ควรศึกษาแผ่นพับหรือ เอกสารค�ำแนะน�ำจากโรงพยาบาลทีไ่ ด้ รั บ การรั ก ษา รวมทั้ ง ปฏิ บั ติ ต ามค� ำ แนะน�ำของแพทย์ผู้ดูแลด้วย


สถาบันมะเร็งแห่งชาติ

National Cancer Institute

สถาบันมะเร็งแห่งชาติ

Thailand

เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทาง ในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข ขึน ้ ตรงกับกรมการ แพทย์ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ท่ี จ ะท� ำ ให้ ส ถาบั น เป็ น สถาบันชั้นน�ำด้านโรคมะเร็งระดับชาติ

บริการของสถาบัน

1. ตรวจหาความเสีย ่ งต่อการเกิดโรค มะเร็งและค้นหามะเร็งระยะเริ่มแรก 2. ตรวจรักษาผู้ที่มีอาการผิดปกติที่ สงสัยว่าเป็นมะเร็ง 3. ตรวจวินจ ิ ฉัยโรคมะเร็งเพิม ่ เติมเมือ ่ พบสิ่งผิดปกติจากการตรวจสุขภาพฯ 4. ติดตามเฝ้าระวังผูม ้ ผ ี ลการตรวจที่ เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง 5. บริการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคมะเร็ง 6. บริ ก ารดู แ ลขณะและหลั ง รั บ การ รักษา เพือ ่ ให้ผป ู้ ว ่ ยมีคณ ุ ภาพชีวต ิ ทีด ่ ต ี าม

สมควรสถานที่ตั้ง

268/1 ถ.พระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-202-6800, 02-202-6888 แฟกซ์ 02-3547027 E-mail :nciwebmaster@nci.go.th 19


Thailand

Download Free Application “รู้ทันโรคมะเร็ง”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.