Tonkla Archeep

Page 1

คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

www.tonkla-archeep.com



คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ


เพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน เพื่ออาชีพและความสุขที่ยั่งยืน โครงการต้นกล้าอาชีพ คือโครงการของรัฐบาลเพื่อการพัฒนาทักษะและฝีมือแรงงาน เพื่อสนับสนุนผู้ว่างงานและผู้สำ�เร็จการศึกษาใหม่ ให้มีโอกาสมีงานทำ�มากขึ้น โดยผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำ�ความรู้ ความสามารถกลับไปทำ�งานในท้องถิ่นบ้านเกิดของตัวเอง ซึ่งเท่ากับเป็นการขับเคลื่อน และพัฒนาศักยภาพของชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมให้ประชาชนใช้ชีวิตอย่างมีความสุขได้ในระยะยาว เพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ และสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้อีกด้วย


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

สารบัญ

หลักการและเหตุผล

กรอบความคิด

วัตถุประสงค์

กลุ่มเป้าหมาย

แนวทางการดำ�เนินงาน

ขั้นตอนและวิธีการ

การบริหารโครงการ

กำ�หนดการลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม

๑๒

กลุ่มเป้าหมายผู้กำ�ลังอยู่ในข่ายจะถูกเลิกจ้างงานจากภาคอุตสาหกรรม

๑๓

สถานที่ติดต่อ

๑๓

แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ กรณีผู้ผ่านการอบรมแล้วประสงค์จะกลับไปในชุมชนภูมิลำ�เนา

๑๔

แบบฟอร์มแจ้งความประสงค์จะกลับภูมิลำ�เนาของผู้เข้ารับ การฝึกอบรมตามโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานเพื่อ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน

๑๗

แบบฟอร์มการรายงานตัวและการรับรองเพื่อไปประกอบอาชีพ ในภูมิลำ�เนาของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ตามโครงการเพิ่มศักยภาพ ผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน

๑๘

แนวทางการเบิกจ่ายและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

๒๐

แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ กรณีผู้ผ่านการอบรมแล้วประสงค์จะกลับไปในชุมชนภูมิลำ�เนา

๒๑

ผังการทำ�งานของโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน

๒๒


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๒ สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ๑. หลักการและเหตุผล

สืบเนื่องจากผลกระทบจากภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจของประเทศ จึงเกิดการว่างงานขึ้น ทั้งเกิดจากการเลิกจ้าง ผู้สำ�เร็จการ ศึกษาใหม่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน และการว่างงานตามธรรมชาติ ซึ่งในปี พ.ศ.๒๕๕๑ มีแรงงานที่ว่างงานแล้วประมาณ ๕ แสนคน และ คาดว่าในปี พ.ศ.๒๕๕๒ จะมีเพิ่มขึ้นเป็นประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน ดังนั้น เพื่อบรรเทาปัญหาการว่างงาน รัฐบาลจึงกำ�หนดมาตรการส่ง เสริมการจ้างงานในระยะสั้น การเร่งรัดบรรจุกำ�ลังคนในตำ�แหน่งงานว่าง และการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานเพื่อสร้างโอกาสในการมี งานทำ�ขึ้น โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนนี้ จึงเป็นโครงการตามมาตรการเร่งด่วน ที่จะ เพิ่มศักยภาพให้ผู้ว่างงานให้มีความสามารถและทักษะเพิ่มขึ้น มีความตื่นตัว รับรู้ในความสำ�คัญของการสร้างงาน สร้างธุรกิจในระดับ ชุมชนท้องถิ่น ผู้ผ่านการฝึกอบรมจะสามารถนำ�ความรู้และทักษะกลับไปทำ�งานในภูมิลำ�เนาได้ หลักการในการฝึกอบรม จะคำ�นึงถึง ภูมลิ �ำ เนาบ้านเกิด ครอบครัว พืน้ ความรูแ้ ละทักษะทีไ่ ด้รบั จากการทำ�งานในอาชีพเดิม ภาค/จังหวัด และศักยภาพความเจริญในแต่ละ เขตพื้นที่ทั้งด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม การฝึกอบรมจะเป็นการต่อยอดความรู้และทักษะเพื่อพัฒนาความชำ�นาญเฉพาะทางใน วิชาชีพ รองรับการกลับไปสร้างงาน ทำ�งานที่เป็นประโยชน์ในท้องถิ่นบ้านเกิด ซึ่งจะเชื่อมโยงกับการขับเคลื่อนพัฒนาศักยภาพของ หมู่บ้านและชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงให้มีมาตรฐานและเป็นรูปธรรมชัดเจนยิ่งขึ้น เช่นการจัดทำ�วิสาหกิจชุมชน การเพิ่มผู้ ประกอบการอิสระรายย่อยในชุมชน หรือพัฒนาทักษะวิชาชีพเพื่อคืนกลับเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม และ/หรือมีทางเลือกใหม่เข้าสู่ภาค อุตสาหกรรมด้วยคุณภาพฝีมือแรงงานที่สอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม และ/หรือปรับเปลี่ยนตนเองเป็นผู้ประกอบ การตามความสนใจและความถนัด รวมทั้งมีความรู้ความสามารถด้านการเกษตรเพื่อยังชีพตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อดำ�รงตน และครอบครัวอยูอ่ ย่างมีความสุขได้ ในระยะยาวยังสามารถช่วยเพิม่ ขีดความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของประเทศและสร้าง มูลค่าทางเศรษฐกิจได้อีกด้วย

๒. กรอบความคิด

การพัฒนาศักยภาพของผูว้ า่ งงานให้มคี วามรูแ้ ละทักษะใหม่ๆเพิม่ ขึน้ เพือ่ ใช้ในการเลือกประกอบอาชีพ โดยโครงการเพิม่ ศักยภาพ ผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนจะเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม และเสนอแนะแหล่งทุนเพื่อการ ประกอบอาชีพในชุมชนถิ่นกำ�เนิด ทั้งการเป็นผู้ประกอบการ การทำ�วิสาหกิจชุมชน การประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว เป็นการช่วยให้ผู้ว่างงานนำ�ความสามารถกลับไปพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตนเอง ช่วยยกระดับชุมชน และร่วมกันสร้างชุมชนที่ยั่งยืน ทั่วประเทศ

๓ วัตถุประสงค์

๑. เพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ผู้ที่กำ�ลังอยู่ในข่ายจะถูกเลิกจ้างงาน ผู้ถูกเลิกจ้างงาน และผู้สำ�เร็จการศึกษาใหม่ที่ยังไม่มี งานทำ� ให้มีความรู้และทักษะเพื่อพัฒนาความชำ�นาญเฉพาะทางในวิชาชีพต่างๆ ให้สามารถกลับไปสร้างงาน สร้างรายได้ สร้าง ประโยชน์ให้แก่หมู่บ้านชุมชนถิ่นกำ�เนิดได้ ๒. เพือ่ ช่วยสนับสนุนผูว้ า่ งงาน ผูถ้ กู เลิกจ้างงาน และผูส้ �ำ เร็จการศึกษาใหม่ให้มรี ายได้ในช่วงเวลาหนึง่ เพือ่ ใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ แก่ตนเอง สามารถหาทางเลือกใหม่ๆในการเลือกประกอบอาชีพ เพื่อรับผิดชอบตนเองและไม่เป็นภาระกับครอบครัวและสังคม

๔. กลุ่มเป้าหมาย

ผู้ว่างงาน จำ�นวนประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ คน โดยให้ความสำ�คัญกับผู้ที่จะกลับภูมิลำ�เนาก่อน แบ่งออกเป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้ ๑. ผู้ว่างงานสนใจฝึกอบรมอาชีพ รวมทั้งประชาชนผู้สนใจเข้ารับการอบรมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อนำ�ความรู้กลับไปใช้ ในหมู่บ้านชุมชนท้องถิ่น ๒. ผู้ที่กำ�ลังอยู่ในข่ายจะถูกเลิกจ้างงาน และภาคธุรกิจต้องการให้เพิ่มทักษะโดยมีข้อตกลงให้ทำ�งานต่อหลังการฝึกอบรม

2


๓. ผู้ถูกเลิกจ้างแรงงานจากภาคอุตสาหกรรมและประสงค์จะเพิ่มพูนทักษะมากขึ้นและหลากหลาย เพื่อพัฒนาและยกระดับ มาตรฐานฝีมือแรงงานของตนเอง ๔. ผู้สำ�เร็จการศึกษา ให้มีความพร้อมในการเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีคุณภาพ

๕. แนวทางการดำ�เนินงาน

๑. กำ�หนดให้มีสถาบันจัดฝึกอบรม (Service Provider) ที่หลากหลาย ประกอบด้วย กลุ่มผู้รับผิดชอบ ๓ กลุ่มหลัก ได้แก่ ๑) มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และ สถานศึกษาในสังกัดสำ�นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ๒) กลุ่มเครือข่ายภาคประชาสังคม เช่น เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน สถาบันองค์กรพัฒนาชุมชน มูลนิธิ สมาคม องค์การ เอกชน และภาคธุรกิจเอกชน เป็นต้น ๓) กลุ่มส่วนราชการอื่น ที่มีกิจกรรมด้านการฝึกอบรม เช่น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมส่งเสริมการเกษตร เป็นต้น แต่ละหน่วยเสนอหลักสูตรฝึกอบรมที่ได้มาตรฐานสอดคล้องกับศักยภาพและความต้องการของกลุ่มเป้าหมายแต่ละประเภท พร้อมทั้งชี้ให้เห็นโอกาสในการมีงานทำ�เมื่อผ่านการฝึกอบรมแล้ว โดยข้อเสนอประกอบด้วย เนื้อหาสาระหลักสูตรและวิธีการที่ชัดเจน ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ขนาด/จำ�นวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมต่อหลักสูตร สถานที่ฝึกและค่าใช้จ่ายต่อหัว เริ่มฝึกอบรมได้ตั้งแต่ เดือนเมษายน เป็นต้นไป ๒. โครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วย ส่วนสำ�คัญ ๒ ส่วน ส่วนแรก ได้แก่ ความรู้พื้นฐานในการประกอบอาชีพ เช่น ทัศนคติ ความรับผิดชอบ วินัยในการทำ�งาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความยั่งยืนในชุมชน ฯลฯ และส่วนที่สอง ได้แก่ ความรู้ความ สามารถในวิชาชีพ เช่น การเกษตรเพื่อยังชีพ การใช้พลังงานทดแทน การค้าขาย การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประกอบอาชีพ เช่น การบัญชี เป็นต้น หลักสูตรการฝึกอบรมควรมีลักษณะเบ็ดเสร็จสามารถประกอบอาชีพได้เมื่อสิ้นสุดการฝึกอบรม ทั้งการประกอบ อาชีพในภาคเกษตร การประกอบอาชีพในวิสาหกิจชุมชน การประกอบอาชีพในสาขาบริการ เช่น การท่องเที่ยว การดูแลผู้สูงอายุ การทำ�งานธุรการ การประกอบอาชีพในภาคอุตสาหกรรมและบริการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกำ�ลังคนในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ ภาคเศรษฐกิจและสังคมเมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัว ตลอดทั้งการประกอบอาชีพอิสระในชุมชน ๓. สร้างความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรการฝึกอบรมกับการจ้างงาน และการประกอบอาชีพภายใต้โครงการต่างๆ ของแผน ฟื้นฟูเศรษฐกิจ เช่น โครงการคืนครูให้นักเรียน การจ้างงานภายใต้โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน เป็นต้น ตลอดจน ความร่วมมือกับสถานประกอบการต่างๆ ๔. การจัดระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศเพื่อรองรับหลักสูตรการฝึกอบรมที่มีการจัดหมวดหมู่ มีรหัสชัดเจนในแต่ละ หลักสูตร สถานที่ จำ�นวนผู้เข้าฝึกอบรม เป็นต้น ข้อมูลการลงทะเบียนผู้ว่างงานที่สามารถกำ�หนดให้มีการลงทะเบียนได้ทั่วประเทศ เช่น ที่สำ�นักงานแรงงานจังหวัด และสถาบันการศึกษา เป็นต้น ทั้งนี้ ระบบฐานข้อมูลผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถขจัดการลงทะเบียน ซํ้าซ้อนได้ด้วย ๕. ให้มีการประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อที่หลากหลายเพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายอย่างกว้างขวางและทั่วถึง โดยจะเน้นสร้าง ความเข้าใจในหลักการของโครงการ วิธีการลงทะเบียนเข้าโครงการฯ การเปิดตัวโครงการฯ และการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเป็น ระยะๆ และจัดให้มีหน่วยบริการข้อมูลข่าวสารของโครงการ (call center) ๖. จัดระบบติดตามการปฏิบัติงาน และการประเมินผลโครงการอย่างใกล้ชิด ตลอดจนอำ�นวยความสะดวกในการส่งผู้ผ่านการ อบรมในแต่ละรุ่นลงสู่พื้นที่ชุมชนถิ่นกำ�เนิด และสนับสนุนให้เกิดการทำ�วิสาหกิจชุมชน และ/หรือธุรกิจ และการจ้างงานในพื้นที่ โดย ประสานด้านแหล่งทุนและการให้คำ�ปรึกษาต่างๆ เช่น กรณีจะประกอบอาชีพใหม่ เป็นต้น ๗. ค่าใช้จ่ายสำ�หรับการฝึกอบรมจัดสรรโดยตรงให้สถาบันจัดฝึกอบรม (Service Provider) ตามจำ�นวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้ลง ทะเบียนไว้ อัตราการเบิกจ่ายเงินเพื่อสนับสนุนการจัดฝึกอบรมให้เป็นไปตามระเบียบของทางราชการ หากมีผู้เข้ารับการฝึกอบรมออก กลางคันต้องรายงานให้คณะกรรมการบริหารฯ ทราบโดยด่วน

๖. ขั้นตอนและวิธีการ

๑. การกำ�หนดวิธีการดำ�เนินงานเกี่ยวกับหลักสูตรฝึกอบรม ๑) การจัดหาสถาบันจัดฝึกอบรม (Service Provider)

3


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

มีการจัดประชุมชีแ้ จงให้แก่กลุม่ หน่วยงานทีส่ นใจจะเป็นสถาบันจัดฝึกอบรมรวม ๓ กลุม่ ได้แก่ ๑. กลุม่ มหาวิทยาลัย/สถาบัน การศึกษา ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถานศึกษาในสังกัด สำ�นักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา รวม ๓๒ หน่วยงาน ๒. กลุ่มเครือข่ายภาคประชาสังคม และ ๓. กลุ่มส่วนราชการอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานด้านฝึกอบรม เข้าประชุมรวม ๕๑ หน่วยงาน นอกจากนี้ ได้มีการติดต่อให้ข้อมูลแก่หน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และกลุ่มผู้สนใจอีกเป็นจำ�นวนมาก โดยสถาบันจัดฝึกอบรมทั้ง ๓ กลุ่ม ได้เสนอหลักสูตรฝึกอบรมรวมทั้งสิ้นกว่า ๑๔,๐๐๐ หลักสูตร ๒) การวิเคราะห์กลั่นกรองหลักสูตรฝึกอบรม การวิเคราะห์กลั่นกรองหลักสูตรฝึกอบรมให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรที่คณะกรรมการบริหารโครงการฯให้ความเห็น ชอบประกอบด้วยส่วนสำ�คัญ ๒ ส่วน ได้แก่ ความรู้พื้นฐานในการประกอบอาชีพ และ ความรู้ความสามารถในวิชาชีพ และ มีลักษณะเบ็ดเสร็จ สามารถประกอบอาชีพในวิสาหกิจชุมชน ประกอบอาชีพในสาขาบริการ เช่น การท่องเที่ยว การดูแล ผู้สูงอายุ การทำ�งานธุรการ การประกอบอาชีพในภาคอุตสาหกรรมและบริการเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถของกำ�ลังคนในการ สร้างมูลค่าเพิม่ แก่ภาคเศรษฐกิจและสังคมเมื่อเศรษฐกิจฟื้นตัว รวมทั้งการประกอบอาชีพอิสระในชุมชน คณะอนุกรรมการ กลัน่ กรองหลักสูตรฝึกอบรม มีส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นหลักในการดำ�เนินงาน และมี ผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภาคธุรกิจเอกชนและส่วนราชการร่วมเป็นคณะทำ�งาน ๓) เกณฑ์ในการวิเคราะห์กลั่นกรองหลักสูตรฝึกอบรม (๑) เป็นหลักสูตรระยะสัน้ ไม่เกิน ๑ เดือนและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการทีม่ งุ่ ให้ผฝู้ กึ อบรมกลับไปทำ�งานประกอบอาชีพ ในภูมิลำ�เนาได้ (๒) เป็นหลักสูตรที่อบรมเสร็จสิ้นแล้วสามารถนำ�ไปประกอบอาชีพได้ และสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย (๓) มีข้อมูลครบถ้วน มีรายละเอียดเกี่ยวกับสถาบันจัดฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมาย สาขาอาชีพ สาระของหลักสูตร ระยะเวลา สำ�หรับการฝึกอบรม เวลาเริม่ การฝึกอบรม ความสามารถในการจัดฝึกอบรมในแต่ละรุน่ (Min-Max) จำ�นวนรุน่ ทีส่ ามารถ จัดได้ และสถานที่ตั้งของหน่วยฝึกอบรม เป็นต้น ๔) ยืนยันการฝึกอบรมตามหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมที่ผ่านการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรฯจะส่งให้สถาบันจัดฝึกอบรมพิจารณายืนยัน ขอจัดฝึกอบรมและ/หรือเพิม่ เติมรายละเอียดทีจ่ �ำ เป็นก่อนนำ�เข้าเสนอบน Web Page ของโครงการเพือ่ ให้ผวู้ า่ งงานลงทะเบียน เลือกหลักสูตรฝึกอบรมตามความสนใจ ๒. การกำ�หนดวิธีการดำ�เนินงานเกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จากจำ�นวนผู้ว่างงานในปี พ.ศ.๒๕๕๑ ซึ่งมีจำ�นวนถึง ๕ แสนคน และคาดว่าในปี พ.ศ.๒๕๕๒ จะเพิ่มขึ้นเป็นประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน นั้น เป็นประเด็นสำ�คัญที่ทำ�ให้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานฯ คำ�นึงถึงแนวทางการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ สำ�คัญในการปฏิบัติงาน ซึ่งโครงการฯ ได้จัดทำ�ระบบฐานข้อมูลและระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับกระบวนการปฏิบัติ งานในทุกส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง โดยระบบสารสนเทศจะทำ�หน้าทีเ่ ป็นศูนย์กลางระหว่างโครงการฯ ผูว้ า่ งงาน สถาบันจัดฝึกอบรม และองค์กร ผู้จ้างงาน เป็นต้น การทำ�งานของระบบได้ออกแบบบนพื้นฐานการทำ�งานของโครงการฯ ตั้งแต่ต้นกระบวนการ คือเริ่มรับสมัครผู้ว่างงาน ไปจนจบ กระบวนการของโครงการฯ คือการติดตามผลการฝึกอบรม และส่งกลับผู้ผ่านการอบรมกลับไปยังชุมชนท้องถิ่น โดยระบบจะออกแบบ แยกเป็นระบบย่อย (Module) เพื่อง่ายต่อการจัดการและการขยายระบบ และสามารถอำ�นวยความสะดวกให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับระบบ ในการเข้าถึงระบบย่อยเพื่อใช้งานตามวัตถุประสงค์ของการปฏิบัติงานต่างๆ โดยรายละเอียดของระบบประกอบด้วย ๑) ระบบฐานข้อมูลสำ�หรับผู้ว่างงานที่สมัครเข้าร่วมโครงการฯ เป็นระบบเก็บและจัดการฐานข้อมูลของผูว้ า่ งงานทีส่ มัครเข้าร่วมโครงการฯ ซึง่ จะนำ�ข้อมูลทีไ่ ด้ไปใช้ในการบริหารและจัดการ โครงการฯร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการตั้งแต่ต้นจนจบ ๒) ระบบบริหารจัดการขัอมูลและประกาศของโครงการฯ เป็นระบบบริหารจัดการเนื้อหา (Content Management System) เพื่อแสดงความเคลื่อนไหว ของโครงการฯ ตั้งแต่ต้นจน จบโครงการฯ รวมทั้งเป็นช่องทางเข้าสู่ระบบย่อยเพื่อเข้ามาทำ�งานตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง

4


๓) ระบบลงทะเบียนสำ�หรับผู้ว่างงาน เพื่อเข้ารับสิทธิการฝึกอบรม

๔) ระบบตรวจสอบตัวตนของผู้ลงทะเบียน

๕) ระบบการคัดกรองผู้มีคุณสมบัติตามเกณฑ์เข้ารับการฝึกอบรม

๖) ระบบการคัดเลือกผู้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตร

๗) ระบบบริหารจัดการหลักสูตร

๘) ระบบการติดตามและรายงานผลการฝึกอบรมสำ�หรับสถาบันจัดฝึกอบรม

๙) ระบบการติดตามและรายงานตัวของผู้ผ่านการฝึกอบรมและกลับไปปฏิบัติงานในท้องถิ่น

๑๐) Help Desk

๓. การกำ�หนดแนวทางหลักเกณฑ์การจัดสรรและวิธีการเบิกจ่ายงบประมาณ

๑) ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม (๑) ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม ๕,๐๐๐ บาท/คน/เดือนโดยเฉลี่ย

เป็นระบบให้ผู้ว่างงานลงทะเบียนรายละเอียดส่วนตัว ชื่อ รหัสบัตรประจำ�ตัวประชาชน ภูมิลำ�เนาเดิมและที่อยู่ปัจจุบันที่ ติดต่อได้ อาชีพเดิมและสถานที่ทำ�งาน เริ่มว่างงานเมื่อใด ความต้องการฝึกอบรมและการประกอบอาชีพหลังการฝึกอบรม เป็นต้น ระบบจะเก็บข้อมูล เลขประจำ�ตัวประชาชน ข้อมูลประกันสังคม เพื่อใช้ในการยืนยันตัวตนของผู้ว่างงาน ณ สถานที่จัดฝึก อบรมตามทีผ่ ู้ว่างงานได้รับสิทธิให้เข้าฝึกอบรม ซึ่งสถานที่จัดฝึกอบรมจะตรวจสอบสำ�เนาบัตรประชาชนได้ตามต้องการ

เป็นระบบคัดกรองผู้ว่างงานที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเข้ารับการฝึกอบรมโดยคัดเลือกตามเกณฑ์กลุ่มเป้าหมาย ๔ กลุ่ม คือ ผู้ ว่างงานที่สนใจฝึกอบรมอาชีพ ผู้ที่กำ�ลังอยู่ในข่ายถูกเลิกจ้าง ผู้ถูกเลิกจ้างแรงงานจากภาคอุตสาหกรรม และผู้สำ�เร็จการ ศึกษา ซึ่งระบบสามารถคัดกรองและแยกผู้ว่างงานออกเป็นกลุ่มดังกล่าวข้างต้นได้ เพื่อการจัดการและติดตามผล นอกจาก นี้ ระบบสามารถกำ�หนดสิทธิการเข้ารับการฝึกอบรม เช่น ผู้อยู่ในกองทุน กยศ. เป็นต้น

เป็นระบบคัดแยกผู้เข้าร่วมโครงการออกเป็น ๔ กลุ่มตามความต้องการประกอบอาชีพหลังฝึกอบรม ได้แก่ ปฏิบัติงานใน กองทุนเศรษฐกิจพอเพียงของหมู่บ้าน ประกอบอาชีพของตนเอง ปฏิบัติงานเป็นลูกจ้างของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน หรือกลับเข้าทำ�งานในหน่วยเดิม ซึ่งระบบจะทำ�การคัดเลือกและกำ�หนดให้ผู้ว่างงานสามารถเข้ารับการฝึกอบรมได้เฉพาะใน หลักสูตรที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของการประกอบอาชีพเท่านั้น ซึ่งจะให้มีตัวเลือก ๕ หลักสูตร แต่ได้รับสิทธิฝึกอบรมเพียง ๑ หลักสูตรต่อคนเท่านั้น

เป็นระบบที่ใช้ในการบริหารและจัดการจำ�นวนผู้สมัครเข้ารับการอบรมตามจำ�นวนที่นั่งในแต่ละหลักสูตรของแต่ละสถาบัน ได้แก่ การกำ�หนดตารางการจัดฝึกอบรม การจัดจำ�นวนรอบการฝึกอบรม การจัดที่นั่งของแต่ละรอบ การจองที่นั่ง การขึ้น บัญชีสำ�รองรายชื่อในกรณีที่นั่งเต็ม เป็นต้น เป็นระบบอำ�นวยความสะดวกให้แก่สถาบันจัดฝึกอบรมในการรายงานผลการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมทั้งในภาพ รวมและในรายละเอียด รวมทั้งการประเมินผลหลักสูตรและการจัดฝึกอบรม เพื่อให้โครงการสามารถติดตามผลการปฏิบัติ งานของสถาบันจัดฝึกอบรมได้อย่างใกล้ชิดและรวดเร็วทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด เป็นระบบช่วยอำ�นวยความสะดวกในการรายงานความเคลื่อนไหวของผู้ผ่านการฝึกอบรมเมื่อกลับไปปฏิบัติงานในท้องถิ่น หรือในหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้โครงการสามารถติดตามและประเมินผลผู้ผ่านการฝึกอบรมตามเกณฑ์ที่กำ�หนดได้ เป็นระบบช่วยอำ�นวยความสะดวกในการบริหารจัดการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามที่คณะรัฐมนตรีในการประชุมปรึกษาหารือ เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม และ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๒ ได้มีมติอนุมัติในหลักการ กรอบแผนงานโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานฯ จำ�นวน ๖,๙๐๐ ล้านบาท โดยมีกรอบรายการค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย ดังนี้ กำ�หนดให้จา่ ยให้สถาบันจัดฝึกอบรม เช่น ส่วนราชการ มหาวิทยาลัย ภาคประชาสังคม มูลนิธิ สมาคม องค์กรเอกชน เป็นต้น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดอบรม เช่น ค่าวิทยากร ค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่าสาธารณูปโภค (ค่าไฟฟ้า ค่านํ้าประปา) และค่าใช้ จ่ายอื่นๆ โดยต้องปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ (๒) ค่าเบี้ยเลี้ยงระหว่างการอบรม ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือนโดยเฉลี่ย จ่ายตามวันที่เข้าอบรมจริง จำ�นวน ๑๖๐ บาท/คน/วัน โดยผู้ เข้าอบรมแต่ละคนต้องแสดงหลักฐานการรับเงินรายบุคคล

5


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

(๓) ค่าพาหนะเดินทางระหว่างการอบรม ๗๒๐ บาท/คน/เดือน โดยเฉลี่ยจ่ายตามวันที่เข้าอบรมจริง จำ�นวน ๓๐ บาท/คน/วัน โดยผู้เข้าอบรมแต่ละคนต้องแสดงหลักฐานการรับเงินรายบุคคล (๔) ค่าพาหนะเดินทางมาเข้ารับการฝึกอบรมครั้งแรก ในอัตราเหมาจ่าย ๑,๐๐๐ บาท/คน

๒) ค่าใช้จ่ายในกรณีผ่านการอบรมแล้ว ผู้ผ่านการฝึกอบรมประสงค์จะกลับไปประกอบอาชีพในภูมิลำ�เนา

สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี จะเป็นหน่วยเบิกจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพและค่าเดินทางกลับ ภูมิลำ�เนาให้แก่ผู้ผ่านการฝึกอบรมแล้ว และประสงค์จะกลับไปทำ�งานในชุมชนภูมิลำ�เนา โดยมีกระบวนการ ดังนี้

ทั้งนี้ เป้าหมายในการดำ�เนินโครงการ ๖ เดือนแรก (เม.ย.-ก.ย. ๒๕๕๒) กำ�หนดฝึกอบรม ผู้ว่างงานจำ�นวนประมาณ ๒๔๐,๐๐๐ คน

กรณีผา่ นการฝึกอบรมแล้วและประสงค์จะกลับภูมลิ �ำ เนา สามารถขอรับเงินอุดหนุนเพือ่ การประกอบอาชีพจากโครงการฯ ดังนี้ (๑) เงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ จำ�นวน ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือน เป็นเวลาไม่เกิน ๓ เดือน ทั้งนี้ต้องได้รับอนุมัติจากคณะ กรรมการบริหารฯ (๒) ค่าพาหนะเดินทางกลับภูมิลำ�เนา เหมาจ่ายในอัตรา ๑,๐๐๐ บาท/คน ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารฯ และ จะได้รับเงินค่าพาหนะเดินทางกลับภูมิลำ�เนา พร้อมกับเงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพในเดือนแรก โดยการรับรองการ กลับไปทำ�งานในภูมิลำ�เนาจากฝ่ายปกครองในพื้นที่ (กำ�นัน/ผู้ใหญ่บ้าน หรือประธานชุมชน และนายอำ�เภอ หรือผู้อำ�นวย การเขต หรือนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยา แล้วแต่กรณี) ๑) ให้ Service Provider แจกแบบฟอร์มให้ผู้ผ่านการอบรมที่ประสงค์จะกลับภูมิลำ�เนาเพื่อไปประกอบอาชีพลงทะเบียน ตามแบบฟอร์มที่กำ�หนด พร้อมทั้ง ส่งสำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน และสำ�เนาหน้าสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารของ ผู้เข้ารับการอบรม ตามที่คณะกรรมการบริหารฯกำ�หนดและให้ Service Provider รวบรวมส่งเอกสารดังกล่าวทั้งหมด ให้สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ๒) สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีรวบรวมรายชื่อผู้ผ่านการอบรมและประสงค์จะกลับภูมิลำ�เนาเพื่อไปประกอบอาชีพ เสนอคณะกรรมการบริหารฯ พิจารณาอนุมัติ ๓) สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีแจ้งผลการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารฯ ต่อสำ�นักงบประมาณเพื่อขอรับการ จัดสรรงบประมาณ ๔) สำ�นักงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ๕) ผู้ผ่านการอบรมฯ ต้องไปรายการตัวต่อพนักงานฝ่ายปกครอง เพื่อรับรองการกลับไปประกอบอาชีพหรือทำ�ประโยชน์ให้ ชุมชน ภายในวันที่ ๗ ของเดือน ดังนี้ (๑) กรณีที่มีภูมิลำ�เนาอยู่ในเขตที่มีกำ�นัน/ผู้ใหญ่บ้าน ให้กำ�นัน/ผู้ใหญ่บ้าน และนายอำ�เภอรับรอง (๒) กรณีทม่ี ภี มู ลิ �ำ เนาอยูใ่ นเขตเทศบาลหรือเมืองพัทยา ให้ประธานชุมชน และนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยา รับรอง แล้วแต่กรณี (๓) กรณีที่มีภูมิลำ�เนาอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ประธานชุมชน และผู้อำ�นวยการเขตรับรอง ๖) ให้นายอำ�เภอ หรือนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยา หรือผู้อำ�นวยการเขต ในกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี มี หนังสือแจ้งการรับรองตามข้อ ๕) ส่งให้สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีภายในวันที่ ๑๕ ของเดือน ๗) กรณีผู้ผ่านการอบรม รายงานตัวภายหลังวันที่ ๗ ของเดือนให้พนักงานฝ่ายปกครองตาม ๖) แจ้งสำ�นักงานปลัดสำ�นัก นายกรัฐมนตรีทราบในเดือนถัดไป

๗. การบริหารโครงการ

คณะกรรมการบริหารโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน ๑. องค์ประกอบ ๑.๑ นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ประธานกรรมการ รองนายกรัฐมนตรี ๑.๒ นายไพฑูรย์ แก้วทอง รองประธานกรรมการ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน ๑.๓ นายกนก วงษ์ตระหง่าน รองประธานกรรมการ ทีป่ รึกษานายกรัฐมนตรี

6


๑.๔ นายมีชยั วีระไวทยะ รองประธานกรรมการ นายกสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน ๑.๕ นายสุมทิ แช่มประสิทธิ ์ กรรมการ ทีป่ รึกษารองนายกรัฐมนตรี ๑.๖ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงบประมาณ กรรมการ ๑.๗ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรรมการ ๑.๘ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ กรรมการ ๑.๙ ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรรมการ ๑.๑๐ ปลัดกระทรวงแรงงาน กรรมการ ๑.๑๑ ปลัดกระทรวงวัฒน ธรรม กรรมการ ๑.๑๒ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ ๑.๑๓ ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี กรรมการ ๑.๑๔ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ ๑.๑๕ ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กรรมการ ๑.๑๖ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรรมการ ๑.๑๗ เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา กรรมการ ๑.๑๘ เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา กรรมการ ๑.๑๙ อธิบดีกรมการปกครอง กรรมการ ๑.๒๐ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ กรรมการ ๑.๒๑ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กรรมการ ๑.๒๒ อธิบดีกรมการจัดหางาน กรรมการ ๑.๒๓ อธิบดีกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กรรมการ ๑.๒๔ อธิบดีกรมบัญชีกลาง กรรมการ ๑.๒๕ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กรรมการ ๑.๒๖ ประธานสภาหอการค้าไทย กรรมการ ๑.๒๗ ผูอ้ �ำ นวยการธนาคารออมสิน กรรมการ ๑.๒๘ ผูจ้ ดั การธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กรรมการ ๑.๒๙ กรรมการผูจ้ ดั การธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) กรรมการ ๑.๓๐ นายวิสทุ ธิ์ ศรีสพุ รรณ กรรมการ ๑.๓๑ ผูต้ รวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรี กรรมการและ (นายพันธุช์ ยั วัฒนชัย) เลขานุการ ๑.๓๒ นายพานิช จิตร์แจ้ง กรรมการและ ผูต้ รวจราชการกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ผูช้ ว่ ยเลขานุการ ๑.๓๓ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักบริหารการปกครองท้องที่ กรมการปกครอง กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ ๑.๓๔ ผูอ้ �ำ นวยการกองคลัง สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ ๑.๓๕ ผูอ้ �ำ นวยการส่วนตรวจสอบและพัฒนาขีด กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ สมรรถนะและศักยภาพของหน่วยงานสำ�นัก ตรวจราชการสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี (นายพีระ ทองโพธิ)์ ๒. อำ�นาจหน้าที่ ๒.๑ วางนโยบาย มาตรการ กำ�หนดขอบเขตและรูปแบบการบริหารจัดการ เพือ่ ให้มกี ารดำ�เนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๒ ออกระเบียบ ประกาศ และอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการดำ�เนินงานเพือ่ รองรับการปฏิบตั งิ าน และการจัดสรรงบประมาณทีม่ ี ประสิทธิภาพและคุม้ ค่า รวมทัง้ ประเมินและติดตามผลการดำ�เนินงานเชิงวิชาการและวิจยั ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง

7


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

๒.๓ ในกรณีจ�ำ เป็นให้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการ คณะทำ�งาน บุคคล เพือ่ ดำ�เนินการอย่างใดอย่างหนึง่ ตามทีค่ ณะกรรมการมอบ หมาย และหรือเสนอให้บคุ คล กลุม่ บุคคลองค์กร หรือสถาบันการศึกษาดำ�เนินการแทนโดยวิธกี ารจัดจ้างตามระเบียบราชการได้ ๒.๔ ให้สว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานภาครัฐอืน่ สนับสนุนการดำ�เนินงานของคณะกรรมการอย่างเต็มความสามารถ และรวดเร็ว เพือ่ ให้การดำ�เนินงานตามขอบเขตดังกล่าวข้างต้นสามารถบรรลุเป้าหมาย ๒.๕ รายงานผลการปฏิบตั งิ าน ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั งิ านให้นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีทราบเป็นระยะๆ

คณะอนุกรรมการดำ�เนินการโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน ๑. องค์ประกอบ

๑.๑ นายกนก วงษ์ตระหง่าน ประธานอนุกรรมการ ทีป่ รึกษานายกรัฐมนตรี ๑.๒ นายพันธุช์ ยั วัฒนชัย รองประธานอนุกรรมการ ผูต้ รวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรี ๑.๓ นางสุวรรณี คำ�มัน่ รองประธานอนุกรรมการ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๑.๔ นายวีระชัย ถาวรทนต์ อนุกรรมการ ทีป่ รึกษารัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน ๑.๕ นางศิรพิ รรณ ชุมนุม อนุกรรมการ รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๑.๖ นายนิพนธ์ สุรพงษ์รกั เจริญ อนุกรรมการ ๑.๗ นายเอ็นนู ซือ่ สุวรรณ อนุกรรมการ ๑.๘ นางสมสุข บุญญะบัญชา อนุกรรมการ ๑.๙ นางวารุณี วารัญญานนท์ อนุกรรมการ ๑.๑๐ นางวิภาจรีย์ พุทธมิลนิ ประทีป อนุกรรมการ ๑.๑๑ นางกิตติมา อังกินนั ท์ อนุกรรมการ ๑.๑๒ ผูแ้ ทนกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน อนุกรรมการ ๑.๑๓ ผูแ้ ทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ ๑.๑๔ ผูแ้ ทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย อนุกรรมการ ๑.๑๕ ผูแ้ ทนกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง อนุกรรมการ ๑.๑๖ ผูแ้ ทนกรมประชาสัมพันธ์ สำ�นักนายกรัฐมนตรี อนุกรรมการ ๑.๑๗ ผูแ้ ทนกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน อนุกรรมการ ๑.๑๘ ผูแ้ ทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ อนุกรรมการ ๑.๑๙ ผูแ้ ทนกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย อนุกรรมการ ๑.๒๐ ผูแ้ ทนกระทรวงอุตสาหกรรม อนุกรรมการ ๑.๒๑ นางปภัสวดี วีรกิตติ อนุกรรมการและเลขานุการ ๑.๒๒ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักยุทธศาสตร์ และการวางแผนพัฒนาทางสังคม อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๑.๒๓ ผูอ้ �ำ นวยการกองคลัง สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ ๑.๒๔ ผูอ้ �ำ นวยการส่วนตรวจสอบและพัฒนาขีดสมรรถนะ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ และศักยภาพของหน่วยงาน สำ�นักตรวจราชการ สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ๒. อำ�นาจหน้าท่ี ๒.๑ วิเคราะห์กลัน่ กรอง แผนงาน/โครงการฝึกอบรม จัดกลุม่ หลักสูตรฝึกอบรม และพิจารณาความเชือ่ มโยงของหลักสูตรฝึก อบรมกับการสร้างงานในชุมชน และนำ�เสนอต่อ คณะกรรมการบริหารฯ ๒.๒ เสนอแนวทางและขัน้ ตอนการพัฒนาระบบการบริหารการจัดฝึกอบรมต่อ คณะกรรมการบริหารฯ ๒.๓ กำ�กับติดตามการจัดฝึกอบรมให้เป็นไปตามเป้าหมายทีก่ �ำ หนด

8


๒.๔ ดำ�เนินการประชาสัมพันธ์ให้เข้าใจหลักการและขัน้ ตอนวิธกี ารของโครงการ ๒.๕ จัดทำ�ระเบียบ ประกาศ กำ�หนดหลักเกณฑ์ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำ�เนินงานและการใช้จา่ ยเงินของโครงการนำ�เสนอต่อคณะ กรรมการบริหารฯ ๒.๖ ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ๆตามทีค่ ณะกรรมการบริหารมอบหมาย

คณะอนุกรรมการกลัน่ กรองหลักสูตรภายใต้โครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน ๑. องค์ประกอบ

๑.๑ นางสุวรรณี คำ�มัน่ รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ๑.๒ นางศิรพิ รรณ ชุมนุม รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ๑.๓ ผูแ้ ทนกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ๑.๔ นายนิพนธ์ สุรพงษ์รกั เจริญ ๑.๕ นายวิจติ ร ณ ระนอง ๑.๖ นางสมสุข บุญญะบัญชา ๑.๗ ผูแ้ ทนกระทรวงอุตสาหกรรม ๑.๘ ผูแ้ ทนสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ๑.๙ ผูแ้ ทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ๑.๑๐ นางชุตนิ าฎ วงศ์สบุ รรณ ๑.๑๑ นางสาวสุลดั ดา ศิรฤิ กษ์พพิ ฒ ั น์ ๑.๑๒ นางสาวจินางค์กรู โรจนนันต์ ๑.๑๓ นางปภัสวดี วีรกิตติ ๑.๑๔ นางสาวกัญญา ไกรเวช ๑.๑๕ นางสาวสุพฒ ั นา ทองสุนทร ๑.๑๖ นางสาวสุกนั ตา สุขสมบูรณ์

๒. อำ�นาจหน้าที่

คณะอนุกรรมการจัดทำ�และพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ ๑. องค์ประกอบ

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ

อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

๒.๑ กำ�หนดเกณฑ์การจัดกลุม่ หลักสูตรการฝึกอบรมให้สอดคล้องตามกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของโครงการฯ ๒.๒ ประสานงานกับคณะอนุกรรมการจัดทำ�และพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศเพือ่ ให้การจัดทำ�ระบบฐานข้อมูลและ สารสนเทศ ของโครงการฯ มีความสอดคล้องกันระหว่างข้อมูลด้านหลักสูตรการฝึกอบรม ข้อมูลผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม และข้อมูลเพือ่ การ ติดตามและประเมินผล ๒.๓ กลัน่ กรองหลักสูตรการฝึกอบรม ๒.๔ นำ�เสนอหลักสูตรทีไ่ ด้กลัน่ กรองแล้วต่อคณะอนุกรรมการดำ�เนินการ ๒.๕ แต่งตัง้ คณะทำ�งานเพือ่ ช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านได้ตามความจำ�เป็น ๒.๖ ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ

๑.๑ นายประเสริฐ คันธมานนท์ ๑.๒ นางสาวส่งศรี บุญพา ๑.๓ นายนิพนธ์ เจริญกิจการ ๑.๔ นายมนัส ทานะมัย ๑.๕ นางวิภาจรีย์ พุทธมิลนิ ประทีป ๑.๖ นางนงคราญ ชาญวานิชพร ๑.๗ นางมณีรตั น์ นิลพันธ์ ๑.๘ นายอุดม หงส์ชาติกลุ

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ

9


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

๑.๙ นางชุตกิ าญจน์ หงษ์พทิ กั ษ์กลุ ๑.๑๐ นายโกเมศ พรทิพย์เสถียร ๑.๑๑ จ่าสิบเอกจิระศักดิ์ เขียนนิล ๑.๑๒ นางวรารัตน์ ม่วงปาน

อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

๒. อำ�นาจหน้าที่

คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์และสือ่ สารสาธารณะ ๑. องค์ประกอบ

๒. อำ�นาจหน้าที่

๒.๑ ศึกษาความต้องการของโครงการฯ และจัดทำ�ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศเพือ่ ให้สอดคล้องตามกับวัตถุประสงค์และ เป้าหมายของโครงการฯ ๒.๒ กำ�หนดแนวทางในการดำ�เนินงานด้านระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ และนำ�แนวทางดังกล่าวมาจัดทำ�แผนงานและ แผนงบประมาณตามเป้าหมายโครงการ ๒.๓ ดูแลภาพรวมการจัดเก็บข้อมูล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำ�เนินงาน เพือ่ เชือ่ มโยงสูก่ ารพัฒนาอย่างเป็นระบบ ๒.๔ ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน สือ่ มวลชน และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ ให้ได้มาซึง่ การบูรณาการงานด้าน สารสนเทศ ๒.๕ แต่งตัง้ คณะทำ�งานเพือ่ ช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านได้ตามความจำ�เป็น ๒.๖ ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ

๑.๑ นายอุดม หงส์ชาติกลุ ๑.๒ นายชลิต ลิมปนะเวช ๑.๓ ร้อยเอก วรพจน์ อัสสานุวงศ์ ๑.๔ นางสาวจินางค์กรู โรจนนันต์ ๑.๕ นายอนันต์ศกั ดิ์ บุญเครือพันธุ ์ ๑.๖ นางราตรี พยนต์รกั ษ์ ๑.๗ นายพีระ ทองโพธิ ์ ๑.๘ นางสาวภาวนา ทองศรี ๑.๙ นางสาวพรโสภิต จงมีสขุ ๑.๑๐ นายสุกติ ติ เอือ้ มหเจริญ ๑.๑๑ นายบูรณิศ ยุกตะนันทน์ ๑.๑๒ นางปภัสวดี วีรกิตติ ๑.๑๓ นายจตุพร เณรนุม่ ๑.๑๔ นางสาวสุภาวดี เชิดมณี ๑.๑๕ นางสาวพรศรี อังควิชยั

ประธานอนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการ อนุกรรมการและเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ อนุกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

๒.๑ กำ�หนดแนวทางการประชาสัมพันธ์ เพือ่ สร้างความเข้าใจและแสดงผลงานของโครงการฯ จัดทำ�แผนงานและแผนงบ ประมาณเพือ่ ให้บรรลุผลตามเป้าหมายของโครงการฯ ๒.๒ กำ�กับ ดูแลภาพรวมงานด้านสือ่ และโสตทัศน์ทเ่ี กีย่ วข้องกับโครงการฯเพือ่ เผยแพร่แก่สอ่ื มวลชนและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ๒.๓ มุง่ สร้างให้ส�ำ นักงานโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน เป็นศูนย์กลางข่าวสาร ทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงการฯ ให้แก่ ประชาชน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง สือ่ มวลชนทัว่ ไป ๒.๔ ศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบเรือ่ งประเด็นปัญหาต่างๆ และประมวลผลจากข่าว ทีส่ อ่ื มวลชนทุกแขนงทัง้ ภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศเผยแพร่ เพือ่ สรุปเสนอแนะความเห็นแบบบูรณาการต่อคณะอนุกรรมการดำ�เนินการ เพือ่ ประกอบการพิจารณาตัดสิน ใจและวินจิ ฉัยสัง่ การ ๒.๕ ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน สือ่ มวลชน และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ ให้ได้มาซึง่ การบูรณาการด้านการ สือ่ สารสาธารณะ

10


๒.๖ แต่งตัง้ คณะทำ�งานเพือ่ ช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านได้ตามความจำ�เป็น ๒.๗ ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ๆ ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการ

ผังแสดงโครงสร้างการบริหารโครงการ คณะกรรมการบริหาร โครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน รองนายกรัฐมนตรีฯ (นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ) ประธานกรรมการ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงาน (นายไพฑูรย์ แก้วทอง) รองประธานกรรมการ ทีป่ รึกษานายกรัฐมนตรี (นายกนก วงษ์ตระหง่าน) รองประธานกรรมการ นายกสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (นายมีชยั วีระไวทยะ) รองประธานกรรมการ ผูต้ รวจราชการสำ�นักนายกรัฐมนตรี (นายพันธุช์ ยั วัฒนชัย) กรรมการและเลขานุการ

คณะอนุกรรมการดำ�เนินการโครงการฯ ทีป่ รึกษานายกรัฐมนตรี (นายกนก วงษ์ตระหง่าน) ประธานอนุกรรมการ นางปภัสวดี วีรกิตติ อนุกรรมการและเลขานุการ

คณะอนุกรรมการกลัน่ กรองหลักสูตร

คณะอนุกรรมการจัดทำ�และพัฒนา ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ

คณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์ และสือ่ สารสาธารณะ

รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจฯ นางสุวรรณี คำ�มัน่ ประธานอนุกรรมการ

นายประเสริฐ คันธมานนท์ ประธานอนุกรรมการ

นายอุดม หงส์ชาติกลุ ประธานอนุกรรมการ

สำ�นักงานโครงการ งานบริหารทัว่ ไป ฝ่ายจัดการฝึกอบรม

งานชุดฝึกอบรม

งานแผนและโครงการ

ฝ่ายสือ่ สารสาธารณะและประชาสัมพันธ์

งานการเงินและบัญชี

11

ศูนย์บริการสอบถาม (Call Center)

งานประชาสัมพันธ์ และสารสนเทศ


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

๘. กำ�หนดการลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรม

โครงการฯจะจัดให้มีการลงทะเบียนเข้ารับการฝึกอบรมทุกเดือน เดือนละ ๑ ครั้ง ครั้งละไม่น้อยกว่า ๗ วัน ในการลงทะเบียน เข้ารับการฝึกอบรม ผูส้ มัครสามารถเลือกหลักสูตรฝึกอบรมได้ไม่เกิน๕หลักสูตร ในแต่ละเดือนระบบสารสนเทศของโครงการฯจะทำ�การ สุม่ คัดเลือกผูเ้ ข้าฝึกอบรมในแต่ละหลักสูตรและช่วงเวลาของหลักสูตรทีผ่ สู้ มัครได้ท�ำ การเลือกไว้ ตลอดระยะเวลาของโครการฯ ผูส้ มัคร เข้าฝึกอบรมหนึง่ คนจะมีสทิ ธิไ์ ด้เข้าฝึกอบรมเพียงหนึง่ หลักสูตรเท่านัน้ เมือ่ การสุม่ คัดเลือกผ่านช่วงเวลาของหลักสูตรทีผ่ สู้ มัครทำ�การ เลือกไว้ไปแล้ว ผูส้ มัครทีย่ งั ไม่ได้รบั การคัดเลือกเข้าอบรมสามารถสมัครเข้ามาเลือกหลักสูตรฝึกอบรมใหม่ได้อกี เมือ่ โครงการประกาศเพิ่ม เติมหลักสูตรใหม่ หลักสูตรที่ประกาศใช้ในการรับลงทะเบียนในเดือนมีนาคม๒๕๕๒นี้ เป็นหลักสูตรที่ใช้ฝึกอบรมเดือนเมษายน พฤษภาคม และ มิถุนายน ๒๕๕๒ กำ�หนดรับลงทะเบียนมีดังนี้ ครั้งที่ ๑ ๑๘-๒๔ มี.ค. ๒๕๕๒ ๑๘-๓๑ มี.ค. ๒๕๕๒ ๒๕ มี.ค. ๒๕๕๒ ๒๖ มี.ค. ๒๕๕๒ ๒๗-๒๙ มี.ค. ๒๕๕๒ ๓๐ มี.ค. ๒๕๕๒ ๓๐-๓๑ มี.ค. ๒๕๕๒ ๑ เม.ย. ๒๕๕๒

จัดให้มีการลงทะเบียนรับสมัคร (Key in) ทั่วประเทศ ๗ วัน คัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมโดยวิธีสุ่ม ประกาศรายชือ่ ผูเ้ ข้าฝึกอบรม (พร้อมชือ่ ผูส้ �ำ รอง) ทาง e-mail, internet, SMS และประกาศติดที่สถานที่ฝึกอบรมและสถานที่ราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้ฝึกอบรมรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน ประกาศรายชื่อให้ผู้ได้สำ�รองไปรายงานตัว ผู้ได้สำ�รองรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน เริ่มฝึกอบรม

ครั้งที่ ๒ ๑๘-๒๔ เม.ย. ๒๕๕๒ จัดให้มีการลงทะเบียนรับสมัคร (Key in) ทั่วประเทศ ๗ วัน ๑๘ เม.ย.-๒ พ.ค. ๒๕๕๒ ๒๕ เม.ย. ๒๕๕๒ คัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมโดยวิธีสุ่ม ๒๖ เม.ย. ๒๕๕๒ ประกาศรายชื่อผู้เข้าฝึกอบรม (พร้อมชื่อผู้สำ�รอง) ทาง e-mail, internet, SMS และประกาศติดที่สถานที่ฝึกอบรมและสถานที่ราชการที่เกี่ยวข้อง ๒๗-๒๙ เม.ย. ๒๕๕๒ ผู้ฝึกอบรมรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน ๓๐ เม.ย. ๒๕๕๒ ประกาศรายชื่อให้ผู้ได้สำ�รองไปรายงานตัว ๓๐ เม.ย.-๒ พ.ค. ๒๕๕๒ ผู้ได้สำ�รองรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน ๓ พ.ค. ๒๕๕๒ เริม่ ฝึกอบรม ครั้งที่ ๓ ๑๘-๒๔ พ.ค. ๒๕๕๒ ๑๘-๓๑ พ.ค. ๒๕๕๒ ๒๕ พ.ค. ๒๕๕๒ ๒๖ พ.ค. ๒๕๕๒ ๒๗-๒๙ พ.ค. ๒๕๕๒ ๓๐ พ.ค. ๒๕๕๒ ๓๐-๓๑ พ.ค. ๒๕๕๒ ๑ มิ.ย. ๒๕๕๒

จัดให้มีการลงทะเบียนรับสมัคร (Key in) ทั่วประเทศ ๗ วัน คัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมโดยวิธีสุ่ม ประกาศรายชือ่ ผูเ้ ข้าฝึกอบรม (พร้อมชือ่ ผูส้ �ำ รอง) ทาง e-mail, internet, SMS และประกาศติดที่สถานที่ฝึกอบรมและสถานที่ราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้ฝึกอบรมรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน ประกาศรายชื่อให้ผู้ได้สำ�รองไปรายงานตัว ผู้ได้สำ�รองรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน เริ่มฝึกอบรม

ครั้งที่ ๔ ๑๘-๒๔ มิ.ย. ๒๕๕๒ ๑๘ มิ.ย.-๑ ก.ค. ๒๕๕๒ ๒๕ มิ.ย. ๒๕๕๒ ๒๖ มิ.ย. ๒๕๕๒ ๒๗-๒๙ มิ.ย. ๒๕๕๒ ๓๐ มิ.ย. ๒๕๕๒ ๓๐ มิ.ย.-๑ ก.ค. ๒๕๕๒ ๒ ก.ค. ๒๕๕๒

จัดให้มีการลงทะเบียนรับสมัคร (Key in) ทั่วประเทศ ๗ วัน คัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมโดยวิธีสุ่ม ประกาศรายชือ่ ผูเ้ ข้าฝึกอบรม (พร้อมชือ่ ผูส้ �ำ รอง) ทาง e-mail, internet, SMS และประกาศติดที่สถานที่ฝึกอบรมและสถานที่ราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้ฝึกอบรมรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน ประกาศรายชื่อให้ผู้ได้สำ�รองไปรายงานตัว ผู้ได้สำ�รองรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน เริ่มฝึกอบรม

12


ครั้งที่ ๕ ๑๘-๒๔ ก.ค. ๒๕๕๒ ๑๘-๓๑ ก.ค. ๒๕๕๒ ๒๕ ก.ค. ๒๕๕๒ ๒๖ ก.ค. ๒๕๕๒ ๒๗-๒๙ ก.ค. ๒๕๕๒ ๓๐ ก.ค. ๒๕๕๒ ๓๐-๓๑ ก.ค. ๒๕๕๒ ๑ ส.ค. ๒๕๕๒

จัดให้มีการลงทะเบียนรับสมัคร (Key in) ทั่วประเทศ ๗ วัน คัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมโดยวิธีสุ่ม ประกาศรายชือ่ ผูเ้ ข้าฝึกอบรม (พร้อมชือ่ ผูส้ �ำ รอง) ทาง e-mail, internet, SMS และประกาศติดที่สถานที่ฝึกอบรมและสถานที่ราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้ฝึกอบรมรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน ประกาศรายชื่อให้ผู้ได้สำ�รองไปรายงานตัว ผู้ได้สำ�รองรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน เริ่มฝึกอบรม

ครั้งที่ ๖ ๑๘-๒๔ ส.ค. ๒๕๕๒ ๑๘-๓๑ ส.ค. ๒๕๕๒ ๒๕ ส.ค. ๒๕๕๒ ๒๖ ส.ค. ๒๕๕๒ ๒๗-๒๙ ส.ค. ๒๕๕๒ ๓๐ ส.ค. ๒๕๕๒ ๓๐-๓๑ ส.ค. ๒๕๕๒ ๑ ก.ย. ๒๕๕๒

จัดให้มีการลงทะเบียนรับสมัคร (Key in) ทั่วประเทศ ๗ วัน คัดเลือกผู้เข้าฝึกอบรมโดยวิธีสุ่ม ประกาศรายชือ่ ผูเ้ ข้าฝึกอบรม (พร้อมชือ่ ผูส้ �ำ รอง) ทาง e-mail, internet, SMS และประกาศติดที่สถานที่ฝึกอบรมและสถานที่ราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้ฝึกอบรมรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน ประกาศรายชื่อให้ผู้ได้สำ�รองไปรายงานตัว ผู้ได้สำ�รองรายงานตัวที่สถานที่ฝึกพร้อมแสดงบัตรประจำ�ตัวประชาชน เริ่มฝึกอบรม

๙. กลุ่มเป้าหมายชะลอการเลิกจ้างในภาคอุตสาหกรรม

กลุ่มเป้าหมายนี้ หมายถึง แรงงานที่อยู่ในสถานประกอบการที่เป็น SMEs และเป็นสถานประกอบการที่ได้รับผลกระทบจาก ภาวะเศรษฐกิจ เป็นกลุม่ เสีย่ งทีม่ แี นวโน้มจะเลิกจ้างงาน และมีความประสงค์จะพัฒนาทักษะฝีมอื ให้กบั พนักงานเพือ่ สามารถประกอบ ธุรกิจได้อย่างต่อเนือ่ งเมือ่ ภาวะเศรษฐกิจฟืน้ ตัว โดยให้ความสำ�คัญกับสาขาการผลิตและบริการทีม่ โี อกาสฟืน้ ตัวเร็ว เช่น อุตสาหกรรม ท่องเที่ยวและบริการต่อเนื่อง บริการดูแลผู้สูงอายุ อาหารแปรรูป เสื้อผ้า เครื่องหนัง ชิ้นส่วนยานยนต์ อะไหล่ โลจิสติกส์ ซึ่งสถาน ประกอบการที่ต้องการเข้าร่วมโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานฯ ต้องดำ�เนินการ ดังนี้ ๑. สถานประกอบการต้องจัดทำ�ข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณา ได้แก่ ชื่อและที่อยู่ของสถานประกอบการ เป็นสถานประกอบ การในระบบประกันสังคม มีข้อมูลสถานะการเงิน ข้อมูลการสั่งซื้อ-ส่งออก ข้อมูลจำ�นวนและรายชื่อพนักงาน/ลูกจ้างที่ต้องการอบรม เพิ่มทักษะ ๒. สถานประกอบการ นำ�ส่งข้อมูลตามข้อ ๑ ให้กับองค์กรผู้แทนภาคการผลิต และบริการ ที่สังกัดหรือที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย เพือ่ ตรวจรับรองความ ถูกต้องของข้อมูล ๓. องค์กรผูแ้ ทนภาคการผลิต และบริการประสานกับ สถาบันจัดฝึกอบรมทีเ่ ป็นหน่วยงานราชการ เพือ่ หารือจัดเนือ้ หาหลักสูตร ที่เหมาะสม และรวบรวมส่งให้คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรพร้อมทั้งนำ�ส่งข้อมูลตามข้อ1ที่ผ่านการรับรองแล้วเพื่อพิจารณาและ นำ�เสนอคณะกรรมการบริหารโครงการ ฯ เพื่ออนุมัติการเข้าร่วมโครงการ ต่อไป ๔. สถานประกอบการที่ได้เข้าร่วมโครงการฯ จะต้องจัดทำ�ข้อตกลงร่วม(MOU) เพื่อยืนยันการไม่เลิกจ้างเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี โดยทำ� MOU กับ SP และมีองค์กรที่ให้การรับรองข้อมูลลงนามเป็นพยาน

๑๐. สถานที่ติดต่อ

ศูนย์ปฏิบัติการตามโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานฯ (โครงการต้นกล้าอาชีพ) อาคารสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ชั้น ๒ ห้อง ๒๐๑ โทรศัพท์ ๐๒-๒๘๒-๖๙๘๒ และ ๐๒-๒๘๒-๓๖๒๑ www.tonkla-archeep.com Call Center 1111

13


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

ระเบียบคณะกรรมการบริหารโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงาน เพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน ว่าด้วยการบริหารโครงการ ตามทีค่ ณะรัฐมนตรีในการประชุมเมือ่ วันที่ ๑๓ มกราคม และ ๒๘ มกราคม ๒๕๕๒ ได้มมี ติอนุมตั ใิ นหลักการกรอบแผนงาน โครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน และเห็นชอบในหลักการแต่งตัง้ คณะกรรมการบริหาร โครงการตามคำ�สัง่ สำ�นักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๓/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๒ โดยมอบให้ส�ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีเป็น หน่วยงานประสานการใช้จา่ ยงบประมาณเพือ่ ดำ�เนินการโครงการดังกล่าว ตามนโยบาย มาตรการ ขอบเขต และรูปแบบการบริหาร จัดการทีค่ ณะกรรมการบริหารโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนกำ�หนด เพือ่ ให้การบริหารจัดการโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนบรรลุผลตาเป้าประสงค์ ทีก่ �ำ หนดไว้ และเป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี อาศัยอำ�นาจตามคำ�สัง่ สำ�นักนายกรัฐมนตรี ที่ ๒๓/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๒ ข้อ ๒.๒ จึงกำ�หนดระเบียบไว้ ดังนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนีเ้ รียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการบริหารโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคม ในชุมชน ว่าด้วยการบริหารโครงการ” ข้อ ๒ ระเบียบนีใ้ ห้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๒ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการนี”ิ้ หมายความว่า ผูว้ า่ งงานทีส่ นใจฝึกอบรมอาชีพ รวมทัง้ ประชาชนผูส้ นใจเข้ารับการ ฝึกอบรมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ นำ�ความรูก้ ลับไปใช้ในหมูบ่ า้ นชุมชนท้องถิน่ ผูท้ ก่ี �ำ ลังอยูใ่ นข่ายจะถูกเลิกจ้างงานและภาคธุรกิจ ต้องการให้เพิม่ ทักษะโดยมีขอ้ ตกลงให้ท�ำ งานต่อหลังการฝึกอบรม ผูถ้ กู เลิกจ้างแรงงานจากภาคอุตสาหกรรมและประสงค์จะเพิม่ พูนทักษะ มากขึน้ และหลากหลายเพือ่ พัฒนาและยกระดับมาตรฐานฝีมอื แรงงานของตนเองผูส้ �ำ เร็จการศึกษาทีต่ อ้ งการพัฒนาตนเองให้มคี วามพร้อม ในการเข้าสูต่ ลาดแรงงานอย่างมีคณ ุ ภาพ “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการบริหารโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคม ในชุมชน “สถาบันจัดฝึกอบรม” หมายความว่า สถาบันการศึกษา เครือข่ายภาคประชาสังคม มูลนิธิ สมาคม องค์กรเอกชน ภาคธุรกิจ เอกชน และส่วนราชการ “หลักสูตรฝึกอบรม” หมายความว่า หลักสูตรทีส่ ถาบันจัดฝึกอบรมเสนอและได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารโครงการ เพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน “ภูมลิ �ำ เนา” หมายความว่า สถานทีอ่ ยูข่ องบุคคลตามกฎหมาย หรือทีอ่ าศัยทีป่ รากฏตามทะเบียนบ้าน หรือสถานทีท่ ผ่ี เู้ ข้ารับการ ฝึกอบรมประสงค์จะไปอยูเ่ พือ่ ประกอบอาชีพ “ประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา” หมายความว่า การประกอบอาชีพอิสระ หรือเข้าร่วมโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับ ชุมชนของรัฐบาล หรือตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร “เงินอุดหนุนเพือ่ การประกอบอาชีพ” หมายความว่า เงินช่วยเหลือผูท้ ผ่ี า่ นการอบรมตามโครงการ และกลับไปประกอบอาชีพ ในภูมลิ �ำ เนา “สำ�นักงาน” หมายความว่า สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ข้อ ๔ ให้ประธานกรรมการบริหารโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงานเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนเป็นผู้รักษา การตามระเบียบนี้ และให้มอี �ำ นาจตีความและวินจิ ฉัยปัญหาเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามระเบียบนี้

14


หมวด ๑ หลักการ และวัตถุประสงค์

ข้อ ๕ โครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนเป็นโครงการตามมาตรการเร่งด่วน ทีจ่ ะ เพิม่ ศักยภาพให้ผวู้ า่ งงานให้มคี วามรูแ้ ละทักษะเพิม่ ขึน้ มีความตืน่ ตัว รับรูใ้ นความสำ�คัญของการสร้างงาน สร้างธุรกิจในระดับชุมชน ท้องถิน่ ผูผ้ า่ นการฝึกอบรมจะสามารถนำ�ความรูแ้ ละทักษะกลับไปทำ�งานในภูมลิ �ำ เนาได้ หลักการในการฝึกอบรม จะคำ�นึงถึงภูมลิ �ำ เนา บ้านเกิด ครอบครัว พืน้ ความรูแ้ ละทักษะทีไ่ ด้รบั จากการทำ�งานในอาชีพเดิม และศักยภาพความเจริญในแต่ละเขตพืน้ ที่ ข้อ ๖ โครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนมีวตั ถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพือ่ ช่วยเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงาน ผูท้ ก่ี �ำ ลังอยูใ่ นข่ายจะถูกเลิกจ้างงาน ผูถ้ กู เลิกจ้างงาน และผูส้ �ำ เร็จการศึกษาใหม่ทย่ี งั ไม่มงี านทำ� ให้มคี วามรูแ้ ละทักษะเพือ่ พัฒนาความชำ�นาญเฉพาะทางในวิชาชีพต่างๆ ให้สามารถกลับไปสร้างงาน สร้างรายได้ สร้าง ประโยชน์ให้แก่หมูบ่ า้ นชุมชนถิน่ กำ�เนิดได้ ๒) เพือ่ ช่วยสนับสนุนผูว้ า่ งงาน ผูถ้ กู เลิกจ้างงาน และผูส้ �ำ เร็จการศึกษาใหม่ให้มรี ายได้ในช่วงเวลาหนึง่ เพือ่ ใช้เวลาให้เกิด ประโยชน์แก่ตนเอง สามารถหาทางเลือกใหม่ๆ ในการประกอบอาชีพ เพือ่ รับผิดชอบตนเองและไม่เป็นภาระกับครอบครัวและสังคม

หมวด ๒ การขอรับการจัดสรรงบประมาณ

ข้อ ๗ การจัดทำ�แผนปฏิบตั กิ ารและแผนการใช้จา่ ยเงินงบประมาณในภาพรวมทัง้ โครงการ ให้ส�ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี เป็นผูด้ �ำ เนินการ ข้อ ๘ ให้สถาบันจัดฝึกอบรมเป็นผูข้ อรับการจัดสรรงบประมาณจากสำ�นักงบประมาณโดยตรงตามกรอบวงเงินงบประมาณทีไ่ ด้ รับอนุมตั จิ ากคณะกรรมการ กรณีสถาบันจัดฝึกอบรมเป็นเครือข่ายภาคประชาสังคม มูลนิธิ สมาคม องค์กรเอกชน และภาคธุรกิจเอกชน ให้เสนอของบ ประมาณผ่านส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้อง

หมวด ๓ การบริหารจัดการโครงการ

ข้อ ๙ คุณสมบัตขิ องผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม (๑) มีสญ ั ชาติไทย (๒) อายุตง้ั แต่ ๑๘ ปี - ๖๐ ปี นับถึงวันสมัคร (๓) เป็นผูว้ า่ งงานตามกลุม่ เป้าหมายของโครงการ ข้อ ๑๐ หลักสูตรฝึกอบรม หลักสูตรฝึกอบรมควรมีลกั ษณะ (๑) เป็นหลักสูตรทีส่ อดรับตรงตามวัตถุประสงค์เป้าหมายของโครงการ (๒) ระยะเวลาไม่เกิน ๑ เดือน (๓) เนือ้ หาของหลักสูตรนำ�ไปสูก่ ารประกอบอาชีพได้ (๔) มีขอ้ มูลครบถ้วนตามทีค่ ณะกรรมการเห็นชอบ เช่น จำ�นวนผูเ้ ข้าอบรม จำ�นวนรุน่ วันเริม่ และวันสิน้ สุดการฝึกอบรม งบประมาณต่อคน สถานทีอ่ บรม ข้อ ๑๑ ให้สถาบันจัดฝึกอบรมเสนอขออนุมตั หิ ลักสูตรฝึกอบรมต่อคณะกรรมการ ข้อ ๑๒ การลงทะเบียนเพือ่ เข้ารับการฝึกอบรม ให้ผวู้ า่ งงานลงทะเบียนผ่านทางเว็บไซด์ หรือสถาบันจัดฝึกอบรม หรือหน่วยงาน ของกระทรวงแรงงานระดับจังหวัด ข้อ ๑๓ ให้สถาบันจัดฝึกอบรมมีหน้าทีร่ บั รายงานตัวและจัดทำ�ทะเบียนผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม ดำ�เนินการฝึกอบรม จ่ายค่าเบีย้ เลีย้ ง ค่าพาหนะระหว่างการอบรม และค่าพาหนะในการเดินทางมาอบรมครัง้ แรก โดยรายงานผลการฝึกอบรม และการเบิกจ่ายงบประมาณ ให้คณะกรรมการทราบ ทัง้ นี้ หากมีเงินเหลือให้น�ำ ส่งคืน ข้อ ๑๔ ให้สถาบันฝึกอบรมแจกแบบฟอร์มให้ผู้ผ่านการอบรมที่ประสงค์จะกลับไปประกอบอาชีพในภูมิล�ำ เนาลงทะเบียนตาม แบบฟอร์มทีก่ �ำ หนด พร้อมทัง้ ส่งสำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน และสำ�เนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารตามทีก่ �ำ หนดของผูเ้ ข้ารับการฝึก อบรม และให้ สถาบันฝึกอบรม รวบรวมส่งเอกสารดังกล่าวทัง้ หมดให้ส�ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี

15


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

ข้อ ๑๕ การรับรองผูท้ ก่ี ลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา ผูผ้ า่ นการอบรมต้องไปรายงานตัวต่อพนักงานฝ่ายปกครอง เพือ่ รับรอง การกลับไปประกอบอาชีพภายในวันที่ ๗ ของเดือน ดังนี้ ๑) กรณีทม่ี ภี มู ลิ �ำ เนาอยูใ่ นเขตทีม่ กี �ำ นัน หรือผูใ้ หญ่บา้ น ให้ก�ำ นัน หรือผูใ้ หญ่บา้ น และนายอำ�เภอรับรอง ๒) กรณีทม่ี ภี มู ลิ �ำ เนาอยูใ่ นเขตเทศบาลหรือเมืองพัทยา ให้ประธานชุมชน และนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยา รับรอง แล้วแต่กรณี ๓) กรณีทม่ี ภี มู ลิ �ำ เนาอยูใ่ นเขตกรุงเทพมหานคร ให้ประธานชุมชน และผูอ้ �ำ นวยการเขตรับรอง ๔) ให้นายอำ�เภอ หรือนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยา หรือผูอ้ �ำ นวยการเขต ในกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี มีหนังสือแจ้งการรับรอง ส่งให้ส�ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ภายในวันที่ ๑๕ ของเดือน ๕) กรณีผผู้ า่ นการอบรมรายงานตัวภายหลังวันที่ ๗ ของเดือน ให้พนักงานฝ่ายปกครอง ตาม ๔) แจ้งสำ�นักงานปลัดสำ�นัก นายกรัฐมนตรีทราบในเดือนถัดไป

หมวด ๔ ค่าใช้จา่ ยในการฝึกอบรม และการกลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา

ข้อ ๑๖ โครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงาน ได้ก�ำ หนดอัตราค่าใช้จา่ ย ดังนี้ ๑) ค่าใช้จา่ ยในการจัดฝึกอบรม (๑) สถาบันจัดฝึกอบรมจะได้รบั ค่าใช้จา่ ยในการจัดฝึกอบรมไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท/คน/เดือน หรือโดยเฉลีย่ ๒๕๐ บาท/คน/วัน โดยสถาบันจัดฝึกอบรมทีเ่ ป็น เครือข่าย ภาคประชาสังคม มูลนิธิ สมาคม องค์กรเอกชน และภาคธุรกิจเอกชนให้ใช้ จ่ายและจัดทำ�หลักฐานการใช้จา่ ยตามระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จา่ ยในการฝึกอบรมของทางราชการ โดยอนุโลม (๒) ให้สถาบันจัดฝึกอบรมจ่ายค่าเบีย้ เลีย้ งระหว่างการอบรม ให้แก่ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือน หรือโดย เฉลีย่ จ่ายตามวันทีเ่ ข้าอบรมจริง จำ�นวน ๑๖๐ บาท/คน/วัน (๓) ให้สถาบันจัดฝึกอบรมจ่ายค่าพาหนะเดินทางเหมาจ่ายระหว่างการอบรมให้แก่ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ๗๒๐ บาท/คน/เดือน หรือโดยเฉลีย่ จ่ายตามวันทีเ่ ข้าฝึกอบรมจริง จำ�นวน ๓๐ บาท/คน/วัน (๔) ให้สถาบันจัดฝึกอบรมจ่ายค่าพาหนะในการเดินทางมาเข้ารับการฝึกอบรมครั้งแรกให้แก่ผ้เู ข้ารับการอบรมในอัตรา เหมาจ่าย ๑,๐๐๐ บาท/คน ๒) ค่าใช้จา่ ยในกรณีผา่ นการอบรมแล้ว ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมทีป่ ระสงค์จะกลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา สำ�นักงานปลัด สำ�นักนายกรัฐมนตรีจะจ่ายเงินอุดหนุนเพือ่ การประกอบอาชีพ และค่าพาหนะเดินทางกลับภูมลิ �ำ เนา ดังนี้ (๑) เงินอุดหนุนเพือ่ การประกอบอาชีพ จำ�นวน ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือน เป็นเวลาไม่เกิน ๓ เดือน ทัง้ นีต้ อ้ งได้รบั อนุมตั ิ จากคณะกรรมการบริหารฯ (๒) ค่าพาหนะเดินทางกลับภูมลิ �ำ เนา เหมาจ่ายในอัตรา ๑,๐๐๐ บาท/คน

หมวด ๕ การติดตามและรายงานผลการดำ�เนินงาน

ข้อ ๑๗ ให้ส�ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีตดิ ตามผลการดำ�เนินการฝึกอบรม การกลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา และจัด ทำ�รายงานสรุปผลการดำ�เนินโครงการ ข้อจำ�กัด ปัญหา อุปสรรค รวมทัง้ ให้ขอ้ คิดเห็น ข้อเสนอแนะ นำ�เสนอต่อคณะกรรมการบริหาร โครงการ ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒

(นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ) รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการบริหารโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงาน

เพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน

16


แบบฟอร์มแจ้งความประสงค์จะกลับภูมลิ �ำ เนาของผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม ตามโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน (ให้ผเู้ ข้ารับการอบรมยืน่ กับสถาบันจัดฝึกอบรมก่อนกลับภูมลิ �ำ เนาเพือ่ ประกอบอาชีพ)

ประวัตสิ ว่ นตัว ชือ่ -นามสกุล : ................................................................................................................................................................................................................................. ทีอ่ ยูต่ ามทะเบียนบ้าน เลขที่ ............................................ หมูท่ ่ี ..................................................................... ถนน ..............................................................

ตำ�บล/แขวง ............................................................................. อำ�เภอ/เขต ........................................................ จังหวัด .......................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................................................................... e-mail ........................................................................................................................................... ทีอ่ ยูป่ จั จุบนั เลขที่ ................................................................ หมูท่ ่ี ..................................................................... ถนน .............................................................. ตำ�บล/แขวง ............................................................................. อำ�เภอ/เขต ........................................................ จังหวัด .......................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................................................................... โทรศัพท์ ............................................................. มือถือ ............................................................ บ้านทีอ่ าศัยเป็น อาศัยกับครอบครัว บ้านตัวเอง บ้านเช่า หอพัก อืน่ ๆ ระบุ ....................................................... วัน เดือน ปีเกิด ...................................................................... อายุ ................................................................. ปี ส่วนสูง ................................................. ซม. นํา้ หนัก .............................................................................. กก. สัญชาติ .............................................................. เชือ้ ชาติ ........................................................ ศาสนา ....................................................................................... บัตรประชาชนเลขที่ ....................................... สถานทีอ่ อกบัตร ........................................ บัตรหมดอายุ ...........................................................................

มีความประสงค์จะกลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา ทีบ่ า้ นเลขที่ .............................................................................. หมูท่ ่ี ..................................................................... ถนน .............................................................. ตำ�บล/แขวง ............................................................................ อ�ำ เภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ........................................................ รหัสไปรษณีย์ .......................................................................... บ้านทีอ่ าศัยเป็น อาศัยกับครอบครัว บ้านตัวเอง บ้านเช่า หอพัก อืน่ ๆ ระบุ ประสงค์จะกลับไปประกอบอาชีพ หรือเข้าร่วมโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับชุมชนของรัฐบาล (ระบุรายละเอียด) ...................... .................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................. ข้าพเจ้าได้แนบเอกสารดังต่อไปนีม้ าด้วย สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน สำ�เนาหน้าสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารของผูเ้ ข้ารับการอบรมตามทีก่ �ำ หนด ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความดังกล่าวทัง้ หมดในใบแจ้งความประสงค์จะกลับภูมลิ �ำ เนาของผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน นีเ้ ป็นความจริงทุกประการ

ลงชือ่ .............................................................ผูแ้ จ้งความประสงค์ (................................................................) ................/................/................

1. การประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา หมายความว่า การประกอบอาชีพอิสระ หรือเข้าร่วมโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับชุมชน 2. ให้สถาบันฝึกอบรมรวบรวมเอกสารแบบฟอร์มทีผ่ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมแจ้งความประสงค์กลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนาส่งไปทีส่ �ำ นักงานโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงาน เพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี แขวงจิตรลดา เขตดุสติ กรุงเทพมหานคร 10300

17


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

แบบฟอร์มการรายงานตัวและการรับรองเพือ่ ไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนาของผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม ตามโครงการเพิม่ ศักยภาพผูว้ า่ งงานเพือ่ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน (ให้ฝา่ ยปกครองรวบรวมแบบฟอร์มพร้อมทัง้ หนังสือส่งไปทีส่ �ำ นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี) ชือ่ -นามสกุล : ................................................................................................................................................................................................................................. วัน เดือน ปีเกิด ....................................................................... อายุ ....................... ปี ส่วนสูง ........................ ซม. นํา้ หนัก ....................................... กก. สัญชาติ ...................................................................................... เชือ้ ชาติ .............................................................. ศาสนา ......................................................... บัตรประชาชนเลขที่ ............................................................... สถานทีอ่ อกบัตร ............................................. บัตรหมดอายุ .............................................. ทีอ่ ยูต่ ามทะเบียนบ้าน เลขที่ ............................................ หมูท่ ่ี ................................................................... ถนน .............................................................. ตำ�บล/แขวง ............................................................................. อำ�เภอ/เขต ........................................................ จังหวัด .......................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................................................................... e-mail ........................................................................................................................................... ทีอ่ ยูป่ จั จุบนั เลขที่ ................................................................ หมูท่ ่ี ..................................................................... ถนน .............................................................. ตำ�บล/แขวง ............................................................................. อำ�เภอ/เขต ........................................................ จังหวัด .......................................................... รหัสไปรษณีย์ ........................................................................... โทรศัพท์ ............................................................. มือถือ ............................................................ บ้านทีอ่ าศัยเป็น อาศัยกับครอบครัว บ้านตัวเอง บ้านเช่า หอพัก อืน่ ๆ ระบุ .......................................................

ได้กลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนาตัง้ แต่ วันที.่ ...........เดือน...............................พ.ศ......................................โดยเดินทางจาก ทีบ่ า้ นเลขที่ .............................................................................. หมูท่ ่ี ..................................................................... ถนน .............................................................. ตำ�บล/แขวง ............................................................................ อ�ำ เภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ........................................................ ถึงบ้านเลขที่ ............................................................................ หมูท่ ่ี ..................................................................... ถนน .............................................................. ตำ�บล/แขวง ............................................................................ อ�ำ เภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ........................................................ รหัสไปรษณีย์ .......................................................................... ในวันที.่ ............เดือน...............................พ.ศ.......................... ซึง่ เป็นสถานที่ กลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา บ้านทีอ่ าศัยเป็น อาศัยกับครอบครัว บ้านตัวเอง บ้านเช่า หอพัก อืน่ ๆ ระบุ โดยประกอบอาชีพ หรือเข้าร่วมโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพือ่ ยกระดับชุมชนของรัฐบาล (ระบุรายละเอียด) .................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................................................................................................................................................

ข้าพเจ้าขอรับรองว่า ข้อความดังกล่าวข้างต้นนีเ้ ป็นความจริงทุกประการ

ลงชือ่ .............................................................ผูก้ ลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา (................................................................) ................/................/................

18


ขอรับรองว่า (ชือ่ -นามสกุล)................................................................................................................ได้มารายงานตัว และมาประกอบอาชีพใน ภูมลิ �ำ เนาจริง เดือนที่ ............. วันที่ ............. เดือน ............. พ.ศ. ............. ลงชือ่ ..................................................................................... (..............................................................................) ตำ�แหน่ง ............................................................................ (กำ�นัน หรือผูใ้ หญ่บา้ น หรือประธานชุมชนหมูท่ .่ี ...............ตำ�บล........................หรือชุมชน...................หรือเทศบาล..................หรือ กทม.) ................... /................... /................... ลงชือ่ ..................................................................................... (..............................................................................) ตำ�แหน่ง ............................................................................ (นายอำ�เภอ หรือนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยา หรือผูอ้ �ำ นวยการเขตในกรุงเทพมหานคร) หมายเหตุ : การรับรองผูท้ ก่ี ลับไปประกอบอาชีพในภูมลิ �ำ เนา ผูผ้ า่ นการอบรมต้องไปรายงานตัวต่อพนักงานฝ่ายปกครอง เพือ่ รับรองการกลับไปประกอบอาชีพภายใน วันที่ ๗ ของเดือน ดังนี้ ๑) กรณีทม่ี ภี มู ลิ �ำ เนาอยูใ่ นพืน้ ทีท่ ม่ี กี �ำ นัน หรือผูใ้ หญ่บา้ น ให้ก�ำ นัน หรือผูใ้ หญ่บา้ น และนายอำ�เภอรับรอง ๒) กรณีทม่ี ภี มู ลิ �ำ เนาอยูใ่ นเขตเทศบาลหรือเมืองพัทยา ให้ประธานชุมชน และนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยารับรอง ๓) กรณีทม่ี ภี มู ลิ �ำ เนาอยูใ่ นเขตกรุงเทพมหานคร ให้ประธานชุมชน และผูอ้ �ำ นวยการเขตรับรอง ๔) ให้นายอำ�เภอ หรือนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยา หรือผูอ้ �ำ นวยการเขต ในกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณีมหี นังสือแจ้งการรับรองส่งให้ส�ำ นักงาน ปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี ภายในวันที่ ๑๕ ของเดือน ๕) กรณีผผู้ า่ นการอบรมรายงานตัวภายหลังวันที่ ๗ ของเดือน ให้พนักงานฝ่ายปกครองแจ้งสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีทราบในเดือนถัดไป

19


คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ

แนวทางการเบิกจ่ายและค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ๑. เสนอหลักสูตร ๒. อนุมั ติ​ิหลักสูตร

คณะกรรมการ บริหารฯ สปน.

๓. เสนอแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่าย งบประมาณในภาพรวมของทั้งโครงการ ๔. แจ้งผลการอนุมั ติหลักสูตรต่างๆ และ กรอบวงเงินของ SP ๖. แจ้งผลการอนุมั ติ งบประมาณ

Service Provider (SP) ส่วนราชการ(SP) ภาคเอกชน ส่วนราชการ NGO มหาวิทยาลัย(SP)

๕. การขอและอนุมั ติ งบประมาณ

สำ�นักงบประมาณ

ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

๑. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมของหน่วยฝึกอบรม ๕,๐๐๐ บาท/คน/เดือน ๒. ค่าเบี้ยเลี้ยงของผู้เข้าอบรม ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือน (๑๖๐ บาท/คน/วัน) ๓. ค่าพาหนะระหว่างฝึกอบรมของผู้เข้าอบรม ๗๒๐ บาท/คน/เดือน(๓๐ บาท/คน/วัน) ๔. ค่าเดินทางของผู้เข้าอบรม เหมาจ่าย ๑,๐๐๐ บาท/คน

หมายเหตุ ส่วนราชการ/มหาวิทยาลัย ที่ได้รับค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ๕,๐๐๐ บาท /คน/เดือน ต้องปฏิบัติตาม

ระเบียบของทางราชการ เว้นแต่ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะระหว่างฝึกอบรมและค่าเดินทางของผู้อบรม

20


แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ กรณีผู้ผ่านการอบรมแล้วประสงค์จะกลับไปในชุมชนภูมิลำ�เนา คณะกรรมการ บริหารฯ ๒. สปน.รวบรวมรายชื่อผู้ที่จะ กลับภูมิลำ�เนา เสนอ คณะกรรมการบริหารฯ อนุมัติ

๓. คณะกรรมการบริหารฯ อนุมัติ

๑. ลงทะเบียนตามแบบฟอร์ม แจ้งภูมิลำ�เนา ที่จะกลับแล้วให้ หน่วยฝึกอบรม(SP) ส่งให้ สปน. พร้อมสำ�เนาบัตรประจำ�ตัว ประชาชน/ทะเบียนบ้าน และสำ�เนา สมุดบัญชีเงินฝากของธนาคารตามที่กำ�หนด

ผู้ผ่านการอบรม ๕. โอนเงินให้แก่ ผู้ผ่านการอบรม ที่กลับภูมิลำ�เนา

สำ�นักงานปลัด สำ�นัก นายกรัฐมนตรี(สปน.)

๔. ขอจัดสรร งบประมาณ ๕. อนุมัติงบประมาณ

๑. เดินทางกลับ ภูมิลำ�เนาหรือ ชนบท

ประกอบ อาชีพใน ภูมิลำ�เนา หรือชนบท

๒. ให้ท้องถิ่น รับรอง

สำ�นักงบประมาณ

๔. มีหนังสือราชการแจ้ง รับรองมายัง สปน.

รายงานตัวต่อกำ�นัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ประธาน ชุมชน และให้รับรองการกลับไปประกอบ ๓. ให้อำ�เภอ/ อาชีพในภูมิลำ�เนาหรือชนบท

เขตรับรอง

นายอำ�เภอหรือนายกเทศมนตรี หรือนายกเมืองพัทยาหรือ ผู้อำ�นวยการเขต รับรอง

เงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพในการกลับไปภูมิลำ�เนาหรือชนบท ๑. เงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ เดือนที่ ๑ จำ�นวน ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือน และ ค่าเดินทางกลับภูมิลำ�เนาเหมาจ่าย ๑,๐๐๐ บาท/คน ๒. เงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ เดือนที่ ๒ จำ�นวน ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือน ๓. เงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ เดือนที่ ๓ จำ�นวน ๔,๘๐๐ บาท/คน/เดือน ทั้งนี้ ให้สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการประกอบอาชีพ ให้แก่ผู้ผ่านการอบรมที่กลับภูมิลำ�เนา ตามที่คณะกรรมการบริหารกำ�หนด ตามข้อ ๑, ๒ และ ๓ เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารฯ แล้ว

21


ผังการทำ�งานของโครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชน

22


°“√‡¢â“√—∫°“√Ωñ°Õ∫√¡

‡°≥±å°≈—πË °√ÕßÀ≈—° Ÿµ√ 1. Õ¥√—∫µ√ßµ“¡«—µ∂ÿª√– ߧ凪ѓÀ¡“¬ 2. √–¬–‡«≈“‰¡à‡°‘π 1 ‡¥◊Õπ 3. ‡π◊ÕÈ À“À≈—° Ÿµ√𔉪 Ÿ°à “√ª√–°Õ∫Õ“™’扥â 4. ¡’¢Õâ ¡Ÿ≈§√∫∂â«π : ®”π«πºŸ‡â ¢â“Õ∫√¡ Min-Max/®”π«π√ÿπà /«—π‡√‘¡Ë - ‘πÈ ÿ¥/ ß∫ª√–¡“≥µàÕ§π/ ∂“π∑’ÕË ∫√¡

µ√«® Õ∫√“¬™◊ËÕÀ≈—° Ÿµ√∑’Ë π„® ·≈– ¡—§√≈ß∑–‡∫’¬π‡¢â“√–∫∫

°≈—πË °√ÕßÀ≈—° Ÿµ√µ“¡§«“¡‡À¡“– ¡ ¢Õß°≈ÿࡇªÑ“À¡“¬ ‡ πÕ§≥–°√√¡°“√∫√‘À“√ »™.

23

®à“¬‡ß‘π§à“‡∫’¬È ‡≈’¬È ß §à“æ“Àπ–√–À«à“ßÕ∫√¡ ·≈–§à“æ“À𖇥‘π∑“ß¡“∑’ΩË °ñ Õ∫√¡ „À⺇⟠¢â“Ωñ°Õ∫√¡

Service Provider

®—¥Ωñ°Õ∫√¡æ√âÕ¡‡Õ° “√ ª√–°Õ∫°“√Õ∫√¡

√“¬ß“πµ—«æ√âÕ¡∫—µ√ª√–™“™π ≥ ∂“π∑÷ËΩñ°Õ∫√¡ ·≈–‡¢â“√—∫°“√ Ωñ°Õ∫√¡ ºŸâ«à“ßß“π

§ÿ≥ ¡∫—µ‘ 1. ¡’ —≠™“µ‘‰∑¬ 2. Õ“¬ÿµ—Èß·µà 18-60 ªï π—∫∂÷ß«—π ¡—§√ 3. ‡ªìπºŸâ«à“ßß“πµ“¡√“¬≈–‡Õ’¬¥‚§√ß°“√

ºŸâ«à“ßß“π

§≥–°√√¡°“√∫√‘À“√‚§√ß°“√

Õπÿ¡—µ‘À≈—° Ÿµ√Ωñ°Õ∫√¡ ∂“π∑’ËÕ∫√¡ ®”π«πºŸâÕ∫√¡ œ≈œ

ªπ.

‡ πÕ·ºπ°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π·≈–·ºπ°“√ „™â®à“¬ß∫ª√–¡“≥¿“æ√«¡ ·≈–·®âߺ≈°“√ Õπÿ¡—µ‘À≈—° Ÿµ√ ·≈–«ß‡ß‘π§à“„™â®à“¬¢Õß SP

√–∫∫ “√ π‡∑»

ÕÕ°√“¬ß“π°“√Ωñ°Õ∫√¡ ºŸâ‡¢â“Ωñ°Õ∫√¡ §à“„™â®à“¬„π°“√Ωñ°Õ∫√¡ §à“‡∫’Ȭ‡≈’È¬ß §à“æ“À𖇥‘π∑“ß√–À«à“ßÕ∫√¡ ·≈–§à“æ“À𖇥‘π∑“ß¡“Ωñ°Õ∫√¡

ÿ¡à ºŸâ‰¥â√∫— ‘∑∏‘‡¢â“Ωñ°Õ∫√¡‚¥¬°√–®“¬ µ“¡À≈—° Ÿµ√°≈ÿ¡à ‡ªÑ“À¡“¬¿“§®—ßÀ«—¥ ®”π«π∑’πË ßË— √–∫∫ “√ π‡∑»

√–∫∫ “√ π‡∑»

∫—π∑÷°¢âÕ¡Ÿ≈À≈—° Ÿµ√Ωñ°Õ∫√¡ ‡¢â“√–∫∫

°“√Õπÿ¡—µ‘À≈—° Ÿµ√·≈–¥”‡π‘π°“√Ωñ°Õ∫√¡ °“√∫—π∑÷°¢âÕ¡Ÿ≈·≈–√“¬ß“πº≈

Service Provider

‡ πÕÀ≈—° Ÿµ√Ωñ°Õ∫√¡ µ“¡§«“¡æ√âÕ¡¢Õß ∂“∫—π

°“√°≈—Ëπ°√ÕßÀ≈—° Ÿµ√

ߪ.

‚Õπ‡ß‘π‡¢â“ GFMIS ¢Õß Service Provider

Õπÿ¡—µ‘ß∫ª√–¡“≥

ë §à“„™â®“à ¬„π°“√Ωñ°Õ∫√¡‰¡à‡°‘π 5,000 ∫“∑/§π/‡¥◊Õπ À√◊Õ‚¥¬‡©≈’¬Ë 250 ∫“∑/§π/«—π ‚¥¬ªØ‘∫µ— µ‘ “¡ √–‡∫’¬∫¢Õß√“™°“√ ë §à“‡∫’¬È ‡≈’¬È ß√–À«à“ß°“√Õ∫√¡ 160 ∫“∑/§π/«—πÕ∫√¡ ë §à“æ“À𖇥‘π∑“ß√–À«à“ß°“√Õ∫√¡ 30 ∫“∑/§π/«—πÕ∫√¡ ë §à“æ“À𖇥‘π∑“ß¡“‡¢â“Õ∫√¡§√—ßÈ ·√°‡À¡“®à“¬ 1,000 ∫“∑/§π

°“√Õπÿ¡—µ‘ß∫ª√–¡“≥

º—ß°“√∑”ß“π¢Õß‚§√ß°“√‡æ‘Ë¡»—°¬¿“溟â«à“ßß“π‡æ◊ËÕ √â“ß¡Ÿ≈§à“∑“߇»√…∞°‘®·≈– —ߧ¡„π™ÿ¡™π

คู่มือการฝึกอบรม โครงการต้นกล้าอาชีพ


°“√°≈—∫‰ªª√–°Õ∫Õ“™’æ„π¿Ÿ¡‘≈”‡π“

°“√µ‘¥µ“¡º≈

24

‡∫‘°‡ß‘πÕÿ¥Àπÿπ‡æ◊ÕË °“√ª√–°Õ∫Õ“™’ æ ·≈–§à“‡¥‘π∑“ß°≈—∫¿Ÿ¡≈‘ ”‡π“

ë ‡ß‘πÕÿ¥Àπÿπ‡æ◊ÕË °“√ª√–°Õ∫Õ“™’æ 4,800 ∫“∑/‡¥◊Õπ ‰¡à‡°‘π 3 ‡¥◊Õπ ë §à“æ“À𖇥‘π∑“ß°≈—∫¿Ÿ¡≈‘ ”‡π“ ‡À¡“®à“¬ 1,000 ∫“∑/§π

√–∫∫ “√ π‡∑»

®—¥∑”¢âÕ¡Ÿ≈ √ÿª√“¬ß“πº≈ °“√¥”‡π‘π°“√Ωñ°Õ∫√¡ ·≈–°“√ °≈—∫‰ªª√–°Õ∫Õ“™’æ„π¿Ÿ¡≈‘ ”‡π“

µ√«® Õ∫À¡“¬‡≈¢∫—µ√ª√–™“™π À¡“¬‡≈¢∫—≠™’‡ß‘πΩ“°∏𓧓√·≈– ·®âß∏𓧓√‚Õπ‡ß‘π‡¢â“∫—≠™’ª√–™“™π ªπ.

√ÿª√“¬ß“π°“√°≈—∫‰ªª√–°Õ∫Õ“™’æ„π ¿Ÿ¡‘≈”‡π“-™◊ËÕ-À¡“¬‡≈¢∫—µ√ª√–™“™πÀ¡“¬‡≈¢∫—≠™’∏𓧓√ °“√ª√–°Õ∫Õ“™’æ √–∫∫ “√ π‡∑»

√–∫∫ “√ π‡∑»

√ÿª√“¬ß“π à߇¢â“√–∫∫ ™◊ËÕ À¡“¬‡≈¢∫—µ√ª√–™“™π À¡“¬‡≈¢∫—≠™’ ‡ß‘πΩ“°∏𓧓√·≈–º≈°“√Ωñ°Õ∫√¡

‚§√ß°“√¥”‡π‘πß“π¿“¬„µâ°“√®—¥´◊ÈÕ®—¥®â“ߢÕß ”π—°ß“πª≈—¥ ”π—°π“¬°√—∞¡πµ√’

ªπ.

µ‘¥µ“¡º≈°“√¥”‡π‘π°“√Ωñ°Õ∫√¡ ·≈–°“√°≈—∫‰ªª√–°Õ∫Õ“™’æ„π ¿Ÿ¡≈‘ ”‡π“ ·≈–√“¬ß“πº≈„Àâ §≥–°√√¡°“√∫√‘À“√

ºŸâ°≈—∫∑”ß“π„π¿Ÿ¡‘≈”‡π“

π“¬Õ”‡¿Õ À√◊ÕºŸâÕ”π«¬°“√‡¢µ À√◊Õ𓬰‡∑»¡πµ√’ À√◊Õ𓬰‡¡◊Õßæ—∑¬“

∫—π∑÷°√“¬ß“π°“√¬◊π¬—π æ√âÕ¡ àßÀπ—ß ◊Õ √—∫√Õß (·∫∫øÕ√å¡) „Àâ ªπ.

√“¬ß“πµ—«°—∫ΩÉ“¬ª°§√Õß„πæ◊Èπ∑’Ë

ºŸâºà“π°“√Ωñ°Õ∫√¡

¬◊π¬—π°“√°≈—∫¡“¿Ÿ¡‘≈”‡π“ ‡æ◊ËÕª√–°Õ∫Õ“™’æ °”π—π À√◊ÕºŸâ „À≠à∫â“π À√◊Õª√–∏“π™ÿ¡™π

‡¥‘π∑“ß°≈—∫‰ªª√–°Õ∫ Õ“™’æ„π¿Ÿ¡‘≈”‡π“ ºŸâºà“π°“√Ωñ°Õ∫√¡

§≥–°√√¡°“√∫√‘À“√‚§√ß°“√

√—∫∑√“∫√“¬ß“π°“√Ωñ°Õ∫√¡

Service Provider

∫—π∑÷°¢âÕ¡Ÿ≈‡¢â“√–∫∫‡æ◊ËÕ√“¬ß“π°“√Ωñ°Õ∫√¡ ·≈–√«∫√«¡·∫∫øÕ√å¡°“√°≈—∫‰ª ª√–°Õ∫Õ“™’æ„π¿Ÿ¡‘≈”‡π“ æ√âÕ¡ ”‡π“∫—µ√ª√–™“™π ·≈– ”‡π“Àπâ“ ¡ÿ¥∫—≠™’‡ß‘πΩ“°∏𓧓√ ¢ÕߺŸâ‡¢â“√—∫°“√Õ∫√¡„Àâ ªπ.

Service Provider

ߪ.

Õπÿ¡—µ‘ß∫ª√–¡“≥

¢Õ√—∫®—¥ √√ß∫ª√–¡“≥‡ß‘πÕÿ¥Àπÿπ ‡æ◊ËÕ°“√ª√–°Õ∫Õ“™’æ ·≈–‡¥‘π∑“ß°≈—∫¿Ÿ¡‘≈”‡π“ ªπ.

°√¡∫—≠™’°≈“ß



www.tonkla-archeep.com

หนึ่งในโครงการจากสำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.