บัณฑิตไทยในศตวรรษที่21

Page 1

บัณฑิตไทยในศตวรรษที่ 21 กับครูรุ่นใหม่กับการปฏิรูปหลักสูตรผลิตครูในศตวรรษ 21


คานา ปัจจุบันโลกที่เปลี่ยนแปลงตามเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ ทาให้การ ดารงชีวิตของผู้คนในสังคม การรู้เท่ากันให้ทันตามกระแสสังคมจึงเป็นสิ่งสาคัญ ดังนั้น “ครู” บุคคลที่มีบทบาทสาคัญในการสั่งสอนอบรมนักเรียนจึงเป็นตัวแปร สาคัญในการให้ความรู้แก่ผู้เรียนให้เท่าทันเทคโน โลยีและกระแสสังคมต่างๆ และด้วยเหตุและหลายปัจจัย จึงจาเป็นต้องพัฒนาครูให้เท่าทันเทคโน โลยีเพื่อ เตรียมรับมือการก้าวข้าม ไปในศตวรรษที่ 21 คณะผู้จัดทาจึงได้จัดทาการให้ ความรู้เกี่ยวกับครูในศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นแนวทางในการหาความรู้ หาก ผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ ที่นี้ คณะผู้จัดทา


สารบัญ

เรื่อง

หน้า

บัณฑิตในศตวรรษที่ 21

1-7

ทาไมต้องผลิตครูรุ่นใหม่

8-10

คุณลักษณะครูรุ่นใหม่ที่สาคัญและเป็นจุดเด่นในศตวรรษที่ 21

11-12

หลักสูตรผลิตครูรุ่นใหม่หลักสูตรผลิตครูรุ่นใหม่

13

บรรณานุกรม


1

บัณฑิตไทยในศตวรรษที่ 21 สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) หรือ สมศ. ได้ จัดการเสวนาในหัวข้อ คุณลักษณะบัณฑิตไทยใน ศตวรรษที่ 21 ในการประชุมวิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ประจาปี พ .ศ. 2558 การประกัน คุณภาพการศึกษา ภายใต้แนวคิด “ก้าวข้าม ขีดจากัด…สู่สหัสวรรษแห่งคุณภาพ” ซึ่งจากการประชุมดังกล่าว ได้มีการแสดงทรรศนะและมุมมองการพัฒนาจากนัก การศึกษา และผู้ใช้บัณฑิต จานวนมาก นายทองมา วิจิตรพงศ์พันธุ์ ประธาน กรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พฤกษา เรียลเอสเตท จากัด (มหาชน) กล่าวใน การเสวนาหัวข้อ คุณลักษณะบัณฑิ ตไทยในศตวรรษที่ 21 ในการ ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจาปี พ .ศ. 2558 ว่า ระบบการสอนทั่วไป ของประเทศไทยเป็นแบบ General ดังนั้นเพื่อรองรับตลาดในอนาคต การจัดการเรียน การสอนต้องให้ผู้เรียนได้เห็นในภาคปฏิบัติ เช่น การไปศึกษาดูงาน อย่างน้อยเทอมละ 1 ครั้ง รวมถึงมีการฝึกงาน ในการเรียนรู้ จาเป็นต้องไปศึกษาว่าในการปฏิบัติงานจริงมี อะไรบ้าง เราสามารถทาอะไรได้บ้าง เพื่อสะท้อนกลับมายังตัวเองว่า เราชอบหรือไม่ ปัจจุบันหน่วยงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ มักเกิดปัญหาคือ เมื่อรับนักศึกษาจบใหม่มาทางาน จะอยู่ได้ไม่นาน 3 เดือน 6 เดือน ไม่ถึงปี ก็ลาออก อาจเป็นเพราะไม่ชอบงาน งานไม่ เหมาะกับตัวเองหรือว่ามีช่องทางให้เลือกมากมายว่าอะไรที่เหมาะกับตนเอง


2

ขณะเดียวกันสถาบันการศึกษาต้องเข้าไปดูในแต่ละสาขาวิชาชีพด้วยว่า จาเป็นต้องมี การปรับตัวให้เข้ากับอุตสาหกรรมเช่นกัน เพื่อให้บัณฑิตที่จบไปมีความรู้ความเข้าใจและ ตัดสินใจได้ง่ายขึ้น รวมถึงด้านจิตใจ นักศึกษาต้องได้รับการอบรมให้มีธรรมาภิบาล โดยต้องไม่ มีส่วนได้ส่วนเสียในงาน คือต้องเป็นเป็นคนดี เรื่องนี้มีส่วนสาคัญ ไม่ว่าระบบงานที่ใดก็ตาม การทางานที่มีธรรมาภิบาล หรือ “เป็นคนดี ในงาน” ก็จะทาให้งานประสบค วามสาเร็จ และเกิดการเจริญก้าวหน้า ด้านนายพงษ์เดช ศรีวชิรประดิษฐ์ รองประธาน กรรมการบริหารสถาบันเสริมสร้างขีด ความสามารถมนุษย์ สภาอุตสาหกรรม เสนอมุมมองว่า การสร้างมนุษย์ที่จะทางาน ให้ได้ในศตวรรษที่ 21 ต้องเปลี่ยนใหม่ ทั้งหมด การปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมาเนื้อหา ของ การปฏิรูปการศึกษาแต่ละครั้งไม่ แตกต่างกัน ปฏิรูปทุกครั้งต้องยุบ ย้าย หน่วยงาน ซึ่งไม่ถูกต้อง ตนเองเสนอเพียง แค่เปลี่ยน 4 อย่าง ก็จะทาให้คุณภาพ การศึกษาไทยดีขนึ้


3


4

1. สร้างผู้เรียนให้เกิดแรงบันดาลใจ (Passion) คือต้องสร้าง กระบวนการเรียนรู้ให้คนเกิดแรงบันดาลใจ มีความต้องการที่ แท้จริง มีเป้าหมายชีวิตที่แท้จริง

2. หลักสูตรต้องมีการทา Demand curriculum เท่านั้น จากนี้ ไปต้องเป็น Apply science ที่สามารถเอาไปใช้ได้ มีการฝึกงาน ดู งาน ทาให้ชานาญเฉพาะด้าน

3. ทาสถาบันการศึกษาให้เป็น Learning organization ทา องค์กรให้น่าเ รียน น่าอยู่ อาจารย์ต้องทาหน้าที่ในฐานะผู้ดูแล สถานที่ให้เป็นสถานที่ศึกษาที่น่าเรียน น่าอยู่

4. ครูต้องเปลี่ยนจากผู้สอน (Instructor) เป็นผู้อานวยการสอน (Pure facilitator) เลิกยืนด้านหน้า ต้องยืนข้างๆ หรือหลัง นักศึกษา ทาให้เขายืนได้ด้วยตัวเอง


5 นอกจากนี้คนรุน่ ใหม่ต้องเป็น Global people ไม่ใช่ Thai people คือต้องมีความสามารถ 3 ด้าน ได้แก่ 1. ทางด้านภาษา คือ เป็น Multi languages คือ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษา อาเซียนและภาษาอะไรก็ได้อีกภาษา เช่น ภาษาจีน 2. Multi cultures คือการเรียนรู้หลายหลายวัฒนธรรม 3. Multi skills เช่นถ้าจบวิศวะ ต้องรู้การตลาด การเงิน บัญชี เป็นต้น ทาตัวให้มี ทักษะหลายทักษะ แล้วบัณฑิตของท่านจะมีงานทา


6

ศาสตราจารย์ ดร . ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์ ผู้อานวยการสมศ . กล่าวว่า ผู้สอนควรเน้นการเรียนรู้จาก การค้นคว้าเองของผู้เรียน โดยผู้สอนคอยช่วยแนะนา และ ช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้บัณฑิต แต่ละคนสามารถ ประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้ พร้อม ส่งเสริมทักษะ 7 ประการ เพื่อเป็นบัณฑิตในศตวรรษนี้

1.ทักษะด้านความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม เป็นทักษะพื้นฐานที่มนุษย์ในศตวรรษที่ 21 ทุก คนต้องเรียนรู้เพราะโลกจะยิ่งเปลี่ยนแปลงเร็วขึ้นเรื่ อย ๆ และมีความซับซ้อนมากขึ้น คนที่ อ่อนแอในทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรมจะเป็นคนที่ตามโลกไม่ทัน 2.ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการคิดที่ใช้เหตุใช้ผลพิจารณาไตร่ตรองอย่าง รอบคอบ ตลอดจนพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล แล้วตั้งสมมติฐานเพื่อหาสาเหตุของ ปัญหา และสามารถหาแนวทางแก้ไขปัญหานั้น ๆ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จะ นาไปสู่การคิดตัดสินใจอย่างรอบคอบ 3.ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ แม้ว่าผู้เรียนในยุคนี้ จะเก่งกว่าผู้สอนและ ผู้ปกครองในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แต่ผู้เรียนก็ยังต้องการคาแนะนาในการ ใช้เครื่องมือนี้ให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และสร้างสรรค์ และไม่นาไปใช้ในทางที่ทาร้ายตนเอง หรือทาลายอนาคตของตนเอง


7

4.ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่ออิ นเทอร์เน็ตจานวนมาก บัณฑิตจาเป็นต้องมีทักษะในการใช้ เทคโนโลยีการสื่อสาร และทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5.ทักษะอาชีพ และ ทักษะการเรียนรู้ จะต้องเริ่มตั้งแต่ชั้นประถม (หรืออนุบาล) ไป จนถึง ม . 6 และมหาวิทยาลัย โดยเรียนรู้ตามพัฒนาการของสมอง ผู้สอนจะต้อง ออกแบบการเรียนรู้แบบแก้ไขจากปัญหา (Problem based Learning) ตามความ สนใจของผู้เรียนแต่ละคน เพราะทักษะกลุ่มนี้เป็นสิ่งที่บัณฑิตต้องเรียนรู้ด้วยตนเองเอง 6.ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม หมายถึงการที่บัณฑิตมีความสามารถใน การประสานงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี มีทักษะของการเป็นผู้นา รวมทั้งการเป็นผู้ตามที่ ดี สามารถสื่อสารกับผู้อื่นในการดาเนินงานต่าง ๆ 7.ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม หมายถึงการจัดการความหลากหลายทาง วัฒนธรรม และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในความต่างของวัฒนธรรม ตลอดจนวิธีการ พัฒนา จัดการบริหาร และคงรั กษาความเป็นทีมที่มีวัฒนธรรมที่หลากหลายให้ทางาน อย่างมีประสิทธิภาพ

บัณฑิตสู่ครูรุ่นใหม่


8

ทาไมต้องผลิตครูรุ่นใหม่ 1. สังคมส่วนรวมมีความเชื่อว่า การศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคน ให้สามารถนา การพัฒนาประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ให้ เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกประเทศ ผลผลิตของระบบ การศึกษาคือพลเมืองของประเทศที่สามารถปรับตัวและสามารถแก้ปัญหาที่มีความหลากหลาย ในสถานการณ์ที่มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และสามารถริเริ่มพัฒนา ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ตลอดจนประเทศให้พัฒนาและ ก้าวหน้าไปได้อย่างมีหลักการบน พื้นฐานของความเข้าใจเหตุและผล ความถูกต้อง ความดีงาม และความเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม 2. สังคมส่วนใหญ่มีความเข้าใจว่า การศึกษาที่พึงประสงค์ในสังคมปัจจุบันจะต้องเป็น การศึกษาที่มุ่งพัฒนาคนให้สมดุลทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจและสังคม ทั้งในระดับ ความคิด ค่านิยมและพฤติกรรม ซึ่งต้องจัดให้สอดคล้องกับความต้องการของ บุคคล ชุมชน สังคม และประเทศชาติ โดยปรับแนวคิดในการพัฒนาการศึกษาให้เป็น กระบวนการที่ทาให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต โดยจัด การศึกษาที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา จัดในรูปแบบที่ หลากหลาย เพื่อสนองความต้องการ ความสามารถและความถนัดของผู้เรียน


9

3. คนส่วนมากมีความเชื่อว่า การจัดการศึกษาในลักษณะที่ต้องการจาเป็นจะต้องใช้ครูที่มี ลักษณะเฉพาะ มีความสามารถสูง (เป็นครูรุ่นใหม่ ระดับครูมืออาชีพ ) และได้รับการ ฝึกอบรมด้วยหลักสูตรและวิธีการสอนที่มีความเข้มข้นและมีคุณภาพมาอย่างดี สามารถทา หน้าที่ครูได้อย่างมีประสิทธิภาพมีศักดิ์ศรีและมีเกียรติ ในอดีตสังคมไทยเคยยกย่องครูโดย เปรียบเทียบเป็นปูชนียบุคคลที่รอบรู้ รู้จริง รู้แจ้ง ทั้งนี้เพราะครูในอดีตส่วนใหญ่คือ พระ อาลักษณ์ นักปราชญ์และผู้รู้ในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นที่ยอมรับในฐานะที่เป็น คนดี คนเก่ง ใน วิชาความรู้แขนงต่าง ๆ แต่ในปัจจุบันความรู้สึกผูกพันต่อครูดังกล่าวได้เสื่อมถอยลง อัน เนื่องมาจากครูต้องปรับพฤติกรรมตามสภาพทางเศรษฐกิจ สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ความ เชี่ยวชาญทางวิชาการและความเอาใจใส่ต่อเด็กลดถอยลง 4. จากสาระการปฏิรูปและกระแสสังคม เศรษฐกิจบ่งชี้วิสัยทัศน์ พบว่าในโลกยุคใหม่ใน สังคมแห่งการเรียนรู้ ( Learning Society ) ครูจะต้องมีบทบาทหน้าที่ซับซ้อนขึ้น ครู จะต้องมีความรู้ ประสบการณ์และก้าวทันสถานการณ์โลก จะต้องเป็นผู้มองกว้าง คิด ไกล ใฝ่รู้ ครูจะต้องจัดระบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา คือ ต้องสอนโดยยึดพื้นฐานความรู้ ความสามารถ ความสนใจและความต้องการของ ผู้เรียนเป็นหลัก ครูในอนาคตจึงต้องมีมาตรฐานคุณภ าพในระดับครูมืออาชีพที่ได้รับการ ยอมรับจากสังคมในระดับสูง ดังนั้น ครูจะต้องเตรียมพร้อมสาหรับสังคมยุคใหม่ ที่จะ ปรับเปลี่ยนไปทั้งในปัจจุบันและในอนาคตโดยเชื่อว่าครูในปัจจุบันและอนาคตจะต้องมี คุณลักษณะโดดเด่น ดี เก่ง ทันโลกและเป็นครูมืออาชีพ


10

5. จากการวิเคราะห์ พบว่า ในปัจจุบันวิกฤติในวงการครูทั้งในประเทศและต่างประเทศปัญหา หลักๆ จะคล้ายคลึงกัน ได้แก่ การที่คนดีคนเก่งไม่สนใจเข้าเรียนครูเป็นลาดับต้น ๆ เมื่อเรียน สาเร็จแล้วส่วนหนึ่งจะไม่ประกอบอาชีพครู ทาให้ไม่สามารถบารุงรักษาครูดี ๆ ไว้ได้ ทั้งนี้ เหตุผลหนึ่งเนื่องมาจากค่าตอบแทนของครูต่ามากเมื่อเทียบกับอาชีพอื่น ความตั้งใจและทุ่มเทต่อ การเรียนการสอนของครูก็ลดต่าลงประกอบกับการเรียนการสอนในสถาบันฝึกหัดครูมุ่งสอน เนื้อหามากกว่าให้คิดวิเคราะห์และปฏิบัติ การสอนไม่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ดังนั้นครูใน ปัจจุบันส่วนใหญ่จึ งขาดความเชี่ยวชาญในการสอนทั้งทางวิชาการและคุณลักษณะความเป็น ครู ความเอาใจใส่ต่อเด็กลดลง ความนิยมยกย่องของสังคมต่อครูจึงลดลงทาให้วิชาชีพครูตก ต่าลง รวมทั้งในต่างประเทศที่ประสบปัญหาวิกฤติครูดังกล่าวข้างต้นต่างก็พยายามแสวงหา แนวทางในการแก้ปัญหาของครู เช่นเดีย วกันซึ่งประสบความสาเร็จมาในระดับหนึ่งซึ่งเป็นกรณี ตัวอย่างให้เป็นบทเรียนสาหรับประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพของครู โครงสร้างการบริหาร จัดการเกี่ยวกับครูและระบบโรงเรียน ศักดิ์ศรีการยอมรับในวิชาชีพครูที่ถือว่าเป็นวิชาชีพชั้นสูงที่ ยั่งยืน ประโยชน์เกื้อกูลและการส่งเสริมพัฒนาบทบาทวิชาชีพครูทั้งตนเอง ระบบการศึกษาและ การบริหารจัดการโดยรวมที่สอดคล้องสัมพันธ์กับโครงสร้างด้านอื่นเช่นเศรษฐกิจ สังคม การ ดารงชีพ วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และจิตวิทยา


11

คุณลักษณะครูรุ่นใหม่ที่สาคัญและเป็นจุดเด่นในศตวรรษที่ 21 ควรมีคุณลักษณะดังนี้ 1. มีความสนใจเสาะแสวงหาความรู้ กระตือรือร้นที่อยากเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 2. มีความรอบรู้ด้านปรัชญาการศึกษา นโยบายทางการศึกษา กฎหมายการศึกษา มาตรฐาน วิชาชีพครู มาตรฐานการศึกษา จิตวิทยาการศึกษาและหลักสูตรการสอนทั่วไป 3. มีความรอบรู้ความสามารถที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์และทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดย สามารถเชื่อมโยงสภาพท้องถิ่นเข้ากับมาตรฐานสากลในลักษณะสหวิทยาการ 4. มีความรู้ความสามารถในวิธีการแสวงหาความรู้ 5. รู้จักและเข้าใจพัฒนาการของผู้เรียน 6. มีความรู้และทักษะในวิชาชีพที่สอนอย่างลุ่มลึก ชัดเจน สามารถสอนแล้วผู้เรียนเข้าใจมี ความสามารถเรียนรู้ได้และสนุกกับการ เรียนรู้ สอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง เต็ม ความสามารถ เต็มเวลา และเต็มหลักสูตร 7. มีความสามารถในการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมการเ รียนรู้ที่กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ และมีความสุข สนุกในการเรียนการสอนมีความสามารถในการสังเกตและรู้จักแก้ไข พฤติกรรม การเสริมแรงและการลงโทษที่เหมาะสม 8. มีทักษะในการสอนอย่างเชี่ยวชาญและสร้างสรรค์การเรียนรู้จนสามารถพัฒนาผู้เรียนได้ เต็มศักยภาพตามความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยปลุกเร้าให้ผู้เรียนแสดงความสามารถอย่าง เต็มที่ เน้นการจัดกิจกรรมที่หลากหลายเพื่อสนองผู้เรียนเป็นสาคัญ


12

9. มีความรู้และความเข้าใจในเป้าหมายและวิธีการของหลักสูตรและการสอน 10. มีความสามารถในการออกแบบ วางแผนการสอนการบริหารจัดการชั้นเรียน วิจัย และพัฒนาการสอน มีความเป็นผู้นาในการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการที่มีประสิทธิภาพและ มีความสามารถวัดผลประเมินผลพัฒนาการของการเรียนรู้ได้หลายวิธีได้อย่าง เหมาะสม สม่าเสมอ 11. มีความรัก ศรัทธาที่จะเป็นครู มีความเมตตากรุณาและเป็นกัลยาณมิตรของศิษย์ 12. มีจริยธรรม มีกริ ยามารยาทสุภาพเรียบร้อย วางตนอยู่ในศีลธรรมอันดีเปี่ยมด้วย คุณธรรมฝึกหัดปฏิบัติตนยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพครูโดยชี้แนะทางถูกต้องแก้ไขสิ่ง ผิดและยึดมั่นตามหลักศาสนา 13. มีบุคลิกภาพดีเป็นแบบอย่างที่ดีสาหรับเด็กและสาธารณชน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการดารงชีวิต

ในด้าน

14. มีความรับผิดชอบในหน้าที่มุ่งมั่นในการทางานทางานเป็นระบบและพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง 15. มีความสามารถในการปลูกฝังวินัย คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่ดี และถูกต้องต่อ ผู้เรียน 16.ความสามารถในการจัดระเบียบเนื้อหาสาระการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมกระ บวนการ เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับพัฒนาการผู้เรียนและมีความสามารถพัฒนา หลักสูตรท้องถิ่นได้ตรงความต้องการของท้องถิ่น


13

หลักสูตรผลิตครูรุ่นใหม่ควรมีหลักการสาคัญดังนี้ 1. เป็นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิตวิชาชีพครูสาขาต่าง ๆ ให้มีมาตรฐานตามเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพโดยให้มีความรู้ สติปัญญา มีความสามารถในการสอนและมีคุณธรรม จริยธรรม 2. เป็นการศึกษาที่มุ่งให้บัณฑิตสามารถบูรณาการ ประยุกต์พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการสอน ในสถานศึกษาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ท้องถิ่นและสากล 3. เป็นการศึกษาที่มุ่งให้บัณฑิตสร้างความเป็นเลิศในวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูงอย่างภาคภูมิ มั่นคงและน่าเชื่อถือ 4. เป็นการศึกษาที่เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างเต็มศักยภาพโดยอาศัยสื่อ นวัตกรรมและ แหล่งเรียนรู้ที่กว้างชวาทั้งในท้องถิ่น ในประเทศและต่างประเทศ เน้นการใช้เวลาอย่าง สร้างสรรค์ตลอดชีวิตและการเรียนรู้ที่เข้มข้นและหลากหลาย 5. เป็นหลักสูตรที่มีความสมดุลทั้งเนื้อหาสาระและกิจกรรม พัฒนาคุณลักษณะผู้เรียนใน ลักษณะหลักสูตรบูรณาการสัมพันธ์วิชา (Correlation and Integrated Curriculum Education Goal, 2000)


บรรณานุกรม THINSIAM DOTCOM. (2559). บัณฑิตไทยในศตวรรษที่ 21. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : HTTP://WWW.THINSIAM.COM/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B1 %E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A/25 232


บัณฑิตไทยในศตวรรษที่ 21 เสนอ อาจารย์ทรงศักดิ์ สุริโยธิน

จัดทาโดย นางสาวสุพัตรา แก้วลอย รหัส 035 นางสาวชุติมา สุราฤทธิ์ รหัส 045 สาขาวิชาการประถมศึกษา ชั้นปีที่4

รายวิชา 1544610 การนาเสนอและจัดการฐานข้อมูลภาษาไทยเพือ่ การเรียนรู้ วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทาลัยราชภัฏพระนคร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.