1
สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม
การประชุมเริ่ม ก่อนที่เราจะพบกัน
ยกระดับจิต เพื่อยกระดับการสนทนา
Vol. 1 - June 2015
เรื่องจากปก
2
การประชุมเริ่ม ก่อนที่เราจะพบกัน
By : Citizen K
“อีก ๑๐ ปี เราอายุเท่าไร สภาพร่างกาย ศักยภาพเป็น อย่างไร สังคมและชาติจะเป็นอย่างไร เราต้องคิดและท�ำ อะไรกันบ้างในตอนนี้” “วินยั ในการประชุมเป็นเครือ่ งสะท้อนว่า ผูค้ นให้ความส�ำคัญ และความหมายกับการประชุมเพียงใด และเป็นปัจจัย ก�ำหนดโอกาสแห่งความส�ำเร็จในการสนทนา และการท�ำงานร่วมกันอีกด้วย เพราะเมือ่ คนร่วมประชุมมีวนิ ยั ในการ ประชุม จะเกิดพลังความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจมาร่วมงาน” — บางส่วนบางตอนในบันทึกการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารถอดบท เรียน พัฒนายุทธศาสตร์ และต่อยอดสมัชชาสุขภาพ ณ จังหวัดพิษณุโลก พ.ศ. 2555
3
ข้าพเจ้าติดตามบันทึกการ อบรมที่น�ำกระบวนการเรียนรู้โด ยอาจารย์ ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ จาก มูลนิธกิ ารเรียนรูแ้ ละพัฒนาประชา สังคม เสมอๆ เป็นการเดินทาง ภายนอกและภายใน ไปในเวลา เดียวกัน การเดินทางภายนอกหมาย ถึง ข้าพเจ้าได้มโี อกาสพบปะพีน่ อ้ ง นักปฏิบตั กิ ารทางสังคม ผูม้ คี วาม มุง่ มัน่ ตัง้ ใจรับใช้ประโยชน์สว่ นรวม ท�ำงานด้านต่างๆ ต่อเนือ่ งเป็นเวลา หลายสิบปี มากบ้างน้อยบ้างตาม อายุชีวิต และอายุงาน พี่น้องทั้ง หลายได้แบ่งปันชีวติ งาน และเรือ่ ง ราวต่างๆ ในสังคม ให้ขา้ พเจ้าได้ เรียนรูต้ าม เห็นตาม และรูส้ กึ ตาม ไปด้ว่ ย ส่วนการเดินทางภายในนัน้ เป็นการเดินทางในกระบวนการ เรี ย นรู ้ ที่ อ าจารย์ ชั ย นวั ฒ น์ เคร่งครัดให้เรามีวนิ ยั ในการสนทนา การประชุม มีสติ สมาธิ ครุน่ คิด ใคร่ครวญ้คำ� ถามส�ำคัญ ๆ ของตน และของสังคม ….
ข้าพเจ้าเห็นว่า โอกาสทีไ่ ด้ รับนีส้ มควรทีจ่ ะแบ่งปันให้ผอู้ นื่ ด้วย จึงขอคัดสรรบางตอนของบันทึก จากการอบรมต่างๆ มาน�ำเสนอให้ ผูส้ นใจได้รว่ มเดินทางภายนอกและ ภายใน ไปกับข้าพเจ้าด้ว่ ย โดยใน เบือ้ งต้น ข้าพเจ้าขอน�ำการบันทึก จากการประชุมเชิงปฏิบตัิ การ ถอด บทเรียน พัฒนายุทธศาสตร์ และ ต่อยอดสมัชชาสุขภาพ (สนับสนุน โดย สช.) ในพืน้ ทีภ่ าคเหนือตอน ล่าง ที่จัดขึ้นที่พิษณุโลก พ.ศ. 2555 ราว ๑ เดือน ก่อนการ ประชุม อาจารย์ชยั วัฒน์ให้ขา้ พเจ้า ช่วยพิมพ์และส่งประเด็นค�ำถาม ๕ ข้อให้ผเู้ ข้าประชุมทุกท่านไปเตรียม คิดมาก่อน ค�ำถามทีอ่ าจารย์ชยั วัฒน์สง่ ไปให้เป็นเสมือนการบ้าน หรือวาระ การประชุม ทีจ่ ะช่วยให้ผเู้ ข้าร่วม กิจกรรมได้รู้ว่า แก่นและทิศทาง
ของการประชุมนีอ้ ยูต่ รงไหน เพือ่ ทีจ่ ะได้เตรียมตัว ทัง้ ใจ ความคิด และข้อมูลให้พร้อมส�ำหรับเข้าร่วม กิจกรรม ค�ำถามทัง้ ๕ ข้อ คือ ๑. ในฐานะผู้น�ำ เราจะ ฟูมฟัก (บ่มเพาะ) ความงอกงาม และพัฒนาศักยภาพของตนเอง อย่ า งไร ระหว่ า งที่ ท� ำ การ เปลีย่ นแปลงชุมชน และสังคม? ๒. ที ม งานของท่ า น แข็งแกร่งในการท�ำงาน และมี ศักยภาพที่จะเดินหน้าเพียงใด? ท่านมีอะไรเป็นตัวชีว้ ดั ว่า ทีมงาน ของท่านเข้มแข็ง และเติบโตไป พร้อมกับการท�ำงาน? (เมือ่ เผชิญ อุปสรรคและปัญหา ความเข้มแข็ง ของทีมงานนัน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร? มีใครเป็นคนสร้าง หรือเกิดขึน้ เอง โดยธรรมชาติ หรือด้วยเหตุปจั จัย ใด? ๓. ตัวท่านสามารถนิยามและค้น พบแหล่ ง พลั ง หรื อ จุ ด ก� ำ เนิ ด พลังงาน (ความเข้มแข็งทีส่ ดุ ของ ท่าน) ซึ่งเป็นฐานของการปฏิบัติ
4 งานและชีวติ ของท่านหรือไม่ เล่าให้เห็นภาพ ๔. เมือ่ เราอยูห่ า่ งไกลกัน ทัง้ ทางภูมศิ าสตร์ และ อีกทั้งยังมีความแตกต่างกันทางความคิด และความ สนใจ ท�ำอย่างไรเราจึงจะร่วมมือกันได้อย่างยัง่ ยืน? ท่าน มีประสบการณ์ตรงเรือ่ งนีท้ จี่ ะแลกเปลีย่ นบ้างไหม? ๕. ท่านมีประสบการณ์อะไรลึก ๆ ในการสร้าง ความสัมพันธ์ทดี่ กี บั ทีมงาน และกับเครือข่าย? ท่านมี กระบวนการอะไร มีเทคนิคอะไรในการสร้างความ สัมพันธ์ทดี่ ี และมีคณ ุ ภาพ?.. และถ้าท่านจะขยายความ สัมพันธ์ทดี่ ี มีคณ ุ ภาพให้เติบใหญ่และกว้างขวางออกไป ท่านมีอะไรจะแนะน�ำเพือ่ น ๆ บ้างไหม? ๑ วัน ก่อนการอบรม ข้าพเจ้าเดินทางพร้อมกับอาจารย์ชยั วัฒน์จาก กรุงเทพ ไปถึงพิษณุโลก ราวสามทุม่ เศษ และกว่าจะไป ถึงโรงแรมทีพ่ กั ก็ใกล้สที่ มุ่ แต่อาจารย์ชยั วัฒน์ยงั คงตัง้ ใจ จะท�ำตามความคิดเดิม คือ เริม่ สนทนากับผูเ้ ข้าอบรม ที่เดินทางมาเตรียมความพร้อมล่วงหน้าส�ำหรับการ ประชุมนัดส�ำคัญนี้ เมือ่ ถึงโรงแรมและเช็คอินแล้ว อาจารย์ปรีเ่ ข้าไป ทักทายและพูดคุยกับกลุม่ พี่ ๆ น้อง ๆ ทีม่ าจากหลาย จังหวัดในภาคเหนือตอนล่าง เรานัง่ เก้าอี้ ล้อมเป็นวงใน ล้อบบี้โรงแรม ความสงบ เอาจริงเอาจังเริ่มต้นขึ้น ข้าพเจ้ารู้สึกได้ทันทีว่า การประชุมครั้งนี้ไม่ธรรมดา อาจารย์ชยั วัฒน์จริงจังและใส่ใจกับการอบรมครัง้ นีม้ าก อย่างมีนยั ยะส�ำคัญ อาจารย์ชยั วัฒน์ทกั ทายทุกคนเรียงตัวเลยทีเดียว และถามถึงการเตรียมตัวพร้อมกับการประชุมในวันรุง่ ขึน้ “อ่านค�ำถามทีส่ ง่ ไปให้หรือยัง อ่านแล้วรูส้ กึ หรือคิด เห็นอย่างไร”
ในความเงียบ ทุกคนก�ำลังครุน่ คิดกับค�ำถาม หลายคน สะท้อนว่า ค�ำถามยาก ซับซ้อน และไม่คอ่ ยได้มใี ครถาม กัน เป็นค�ำถามทีม่ งุ่ ให้เราค้นลึกเข้าไปภายในตน เห็น ตัวเองในปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ นื่ ทัง้ ในทีมงาน และเครือข่าย อาจารย์ชยั วัฒน์เสริมว่า “พวกเรา ผูท้ ำ� งานเพือ่ เปลีย่ นแปลงสังคม มักมองข้ามตัวเอง เรามักมองไปข้าง นอก เห็นสิง่ ทีน่ า่ จะเปลีย่ น ปรับปรุงแก้ไข แต่เรามัก มองข้ามตัวเอง มองข้ามความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด เพือ่ นร่วมงาน และเครือข่าย” ดังนัน้ การทีจ่ ะอบรมเพือ่ พัฒนาต่อยอด เราจ�ำ ต้องเหลียวมองตัวเอง ความสัมพันธ์และการท�ำงานที่ ผ่านมา ในทีม และกับเครือข่าย เดิมที คืนก่อนวันอบรม อาจารย์ชยั วัฒน์ตงั้ ใจ ว่าจะมีผู้เข้าอบรมมาถึงสถานที่ก่อน เพื่อนั่งล้อมวง สนทนา เป็นการอุน่ เครือ่ ง แต่เมือ่ คนมาไม่คอ่ ยพร้อม เพรียงอย่างที่นัดแนะไว้ในตอนต้น ดูเหมือนจะท�ำให้ อาจารย์ยงิ่ แจ่มชัดว่า วาระส�ำคัญจากนี้ คือ ท�ำให้เรือ่ ง วินยั ในการประชุม เข้มข้นขึน้ ในหมูผ่ คู้ นทีท่ ำ� งานเพือ่ การเปลีย่ นแปลงสังคม อาจารย์ชยั วัฒน์สะท้อนความรูส้ กึ ว่า “ส�ำหรับ ผม การพบกันทุกครัง้ ต้องมีความหมาย ผมจึงให้เวลา และรักษาเวลาทุกครัง้ ทีเ่ ราพบกัน แต่เราหลายคนไม่ ท�ำให้การพบกันมีความหมาย ไม่ตงั้ ใจ ไม่ใส่ใจ เรามา ประชุมแบบตามสะดวก เข้า-ออก ตามตนสะดวก ท�ำ อย่างนีจ้ นเป็นนิสยั ท�ำให้การประชุมไม่พร้อมเพรียง ไม่ เกิดความสร้างสรรค์ นานวันเข้าก็นา่ เบือ่ ไม่มอี ะไรใหม่ พูดแบบเดิม ๆ ท�ำแบบเดิม ๆ นีไ่ ม่เพียงเป็นนิสยั ของ ปัจเจก แต่กลุม่ รวมถึงองค์กรก็มกั ปฏิบตั กิ นั อย่างนีใ้ น การประชุมเราขาดวินยั อย่างยิง่ ” “เราพูดซ�้ำซาก วนเวียน “เรียนรู้ ร่วมมือ บูรณาการ” พูดกันอย่างนีท้ กุ เวที แต่กย็ งั เห็นอยูท่ เี่ ดิม ท�ำแบบเดิม ๆ พูดเดิม ๆ”
5
“การเรียนรูค้ อื อะไร … เรียนรู้ คือไม่ทำ� ผิดพลาดซ�ำ้ ซาก หรือไม่ทำ� ในสิง่ ทีย่ ำ�่ อยูก่ บั ที่ ถ้าเราท�ำอะไรแบบเดิม ๆ ย�ำ่ กับที่ แล้วจะบอกได้อย่างไรว่า เรามาเรียนรูก้ นั ” วินยั ในการประชุมเป็นเครือ่ งสะท้อนว่า ผูค้ นให้ ความส�ำคัญ และความหมายกับการประชุมเพียงใด และเป็นปัจจัยก�ำหนดโอกาสแห่งความส�ำเร็จในการ สนทนา และการท�ำงานร่วมกันอีกด้วย เพราะเมือ่ คน ร่วมประชุมมีวนิ ยั ในการประชุม จะเกิดพลังความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจมาร่วมงาน อาจารย์ชวนพวกเราคิดต่อไปถึงอนาคต “อีก ๑๐ ปีขา้ งหน้าเราจะเป็นอย่างไร สังคมและชาติจะเป็น อย่างไร เราต้องคิดและท�ำอะไรกันบ้างในตอนนี้ และจะ ย�ำ่ อยูก่ บั ที่ พูดค�ำเดิม ๆ ไม่ได้อกี ต่อไป” ถึงตรงนี้ ความ เงียบดูจะเสียงดังทีส่ ดุ สีหน้าหลายคนดูครุน่ คิด อีก ๑๐ ปีขา้ งหน้า บางคนจะมีอายุ ๕๐ บางคน ก็ ๖๐ และอีกจ�ำนวนหนึง่ ก็ ๗๐ ปี ขวบวัยเจริญขึน้ แต่
พลังกายถดถอยลง แล้วในวันนี้ วันทีม่ โี อกาส เราท�ำ อะไรอยู่ พร้อมรับอนาคตมากน้อยเพียงใด เราสนทนากันกว่าครึง่ ชัว่ โมง อาจารย์ชยั วัฒน์ “อุน่ หัวใจ” ของพวกเราให้เห็นความหมายของการพบ กันในครัง้ นี้ จนเวลาล่วงเลยราวสีท่ มุ่ ครึง่ เราทุกคนก็ แยกย้ายกันไปพักผ่อน
6
ยกระดับจิต
เพื่อยกระดับการสนทนา
บันทึกจากการประชุมเชิงปฏิบต ัิ การ ถอดบทเรียน พัฒนายุทธศาสตร์ และ ต่อยอดสมัชชาสุขภาพ (สนับสนุน โดย สช.) ในพืน ้ ทีภ ่ าคเหนือตอนล่าง ทีจ ่ ด ั ขึน ้ ทีพ ่ ษ ิ ณุโลก พ.ศ. 2555
By : Citizen K
เช้าวันที่ ๑๕ กรกฎาคม เข็มนาฬิกาขยับใกล้เวลา ๙.๐๐ น. ผูเ้ ข้าอบรมโดยเฉพาะผูท้ ี่ คุน้ เคยกับกระบวนการของอาจารย์ ชั ย วั ฒ น์ เ ริ่ ม ทยอยเดิ น เข้ า ห้ อ ง ประชุม คนหน้าใหม่จำ� นวนหนึง่ จึง พลอยรูส้ กึ ว่า ต้องรีบเดินตามเข้ามา ด้วย “อาจารย์เคร่งครัดเรื่องการ ตรงต่อเวลา” หลายคนตระหนัก เรือ่ งนีด้ ี โดยเฉพาะผูท้ ผี่ า่ นการอุน่ หัวใจไปแล้วตัง้ แต่เมือคืน
เมือ่ เปิดประตูเข้ามาในห้อง ประชุม ภาพทีเ่ ห็นเบือ้ งหน้า ท�ำให้ หลายคนยิ้ม ใจที่เกร็งอยู่คลาย ออก “โอ้ ดีจงั เลย เหมือนห้องนัง่ เล่นที่บ้าน” บางคนกล่าว แล้วก็ เลือกทีน่ งั่ เป็นเบาะ ทีว่ างล้อมวง รอบโต๊ะเตี้ย ๆ ในห้องโล่งกว้าง ก�ำแพงกระจกเปิดรับวิวตัวเมือง พิษณุโลก ท้องฟ้า และแสงแดด ตามธรรมชาติให้เข้ามาภา ยในตัว ห้องด้วย แต่ตอนแรกโต๊ะแต่ละตัว
ยั ง กระจั ด กระจาย ดู ห ่ า งกั น อาจารย์ จึงบอกให้พวกเราขยับโต๊ะ ให้ใกล้กนั เข้ามา เพือ่ รักษาช่องไฟ ความสัมพันธ์ให้รู้สึกใกล้ชิดกัน พอดี ๆ แม้ เ ราจะได้ สิ ท ธิ ใ นการ เลือกที่นั่งตามชอบ แต่ก็มีกติกา บ้าง อาจารย์ชยั วัฒน์ให้ “รุน่ พี”่ ซึง่ หมายถึง ผู้ท่ีผ่านการอบรมกับ อาจารย์ชัยวัฒน์และ คุ้นเคยกับ กระบวนการสนทนาพอสมควร ไป
7 นั่งประจ�ำทุกโต๊ะ เพื่อร่วมน�ำพา และเรียนรู้กับผู้มาใหม่ที่ยังไม่คุ้น กับกระบวนการ เป็นการสร้าง บรรยากาศความสัมพันธ์อย่างพี่ น้อง ดูแลและเรียนรูไ้ ปด้วยกันส่วน ผูท้ มี่ าจากจังหวัดเดียวกัน หรือคุน้ เคยกั น บ้ า งแล้ ว ก็ ใ ห้ แ ยกกั น นั่ ง คนละโต๊ะ เพือ่ จะได้เปิดโอกาสให้ ตนเองรูจ้ กั เพือ่ นใหม่ ข้ามจังหวัด และสายพันธุ์การท�ำงาน (แบบ เครือข่ายข้ามสายงาน bridging network) เมื่ อ ถึ ง เวลาอั น สมควร อาจารย์ เ ริ่ ม การประชุ ม ด้ ว ย กิจกรรมสิง่ ทีส่ ำ� คัญยิง่ ส�ำหรับการ เรียนรู้ และการประชุม นัน่ คือ การ ยกระดับจิตให้มสี ติและสมาธิสงู สุด เท่าที่จะท�ำได้ ส�ำหรับการเรียนรู้ และประชุม
“ก่อนการประชุม เราต้อง ท�ำจิตของเราให้มีคุณภาพ ให้มี ศักยภาพสูงสุด เพือ่ การประชุมทีม่ ี ความหมาย คุณภาพของจิตอยูท่ ี่ ความช้า เราต้องท�ำใจให้ช้าลง เหมือนขนนกทีค่ อ่ ย ๆ พริว้ ตามลม จนนิง่ สนิทแนบพืน้ ” การสนทนา และการด�ำรง อยูร่ ว่ มกัน ไม่ใช่เรือ่ งของเทคนิค วิธี การ หรือแม้แต่กระบวนการ หัวใจ ในการอยูด่ ว้ ยกัน และสนทนา คือ คุณภาพของจิต อย่างทีเ่ ราได้สมั ผัส กันไปแล้วในภาวะทีน่ งิ่ เงียบร่วมกัน ก ร ะ บ ว น ก า ร ส� ำ คั ญ ที่ อาจารย์ชยั วัฒน์พาท�ำ คือ ให้ทกุ คนผ่อนกายและใจ มีความเงียบทัง้ ภายในและภายนอก เพือ่ เป็นปัจจัย ให้เกิดสติและสัมปชัญญะ
พวกเราร่วมท�ำสมาธิและ รักษาความสงบในบรรยากาศการ ประชุมราว ๕ นาที จากนัน้ อาจารย์ ชั ย วั ฒ น์ แ นะน� ำ กระบวนการ “เช็คอิน” การเช็คอินเป็นกระบวน การทีช่ วนให้เราเช็คหัวใจตัวเองว่า เราพร้อมหรือยังส�ำหรับการเรียนรู้ การประชุมทีก่ ำ� ลังจะเริม่ ขึน้ แล้ว บอกให้เพือ่ นในวงสนทนาได้รบั รูว้ า่ เราพร้อมเพียงใด เช็คตัวเองว่าเรา มาทัง้ กายและใจส�ำหรับการประชุมนี้ กติกาของกระบวนการเช็ค อิน คือ ให้ทกุ คนรับฟังเวลาทีผ่ อู้ นื่ พูด เราจะไม่แย่งหรือขัดคอกัน ส่วนผู้ที่ต้องการจะพูด มีอะไรจะ บอกก็ให้หยิบเอาปากกา ซึ่งเรา หมายร่วมกันว่า เป็นสัญลักษณ์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทีผ่ ทู้ ถี่ อื ปากกาเท่านัน้ จะ
8
มีสทิ ธิพ์ ดู ถือปากากตลอดเวลาทีพ่ ดู เพือ่ เตือนให้เรามี สติรตู้ วั กับการพูดด้วยว่า พูดอะไรอยู่ พูดเพือ่ อะไร และ พูดโดยให้เวลากับผูอ้ นื่ ได้พดู ด้วย กระบวนการอย่างนีม้ งุ่ หวังให้เราทุกคน ไม่วา่ ผูฟ้ งั และผูพ้ ดู มีสติทงั้ การฟังและ พูด เมือ่ ทุกคนเข้าใจกติกาดีแล้ว รวมทัง้ มีรนุ่ พีค่ อย ช่วยพาท�ำในครัง้ แรก อาจารย์กป็ ระเดิมโจทย์แรกให้เรา สนทนากัน “เรารูแ้ ละเห็นก�ำหนดการประชุมก่อนหรือ ไม่ เห็นแล้วรูส้ กึ อย่างไร ก�ำหนดการมีอะไรชวนคิด และ อ่านค�ำถามทีใ่ ห้ไป ๕ ข้อแล้ว รูส้ กึ อย่างไร” ในกลุม่ สนทนา หลายคนบอกว่า สะดุดใจกับ ค�ำถาม คิดว่าค�ำถามยากและซับซ้อน ต้องใช้การครุน่ คิด ลึก ๆ ต้องทบทวนตัวเอง และต้องสติในการตอบด้วย บางคนจดบันทึกค�ำตอบทีค่ ดิ ไว้แล้วล่วงหน้า นอกจาก นัน้ ก�ำหนดการก็มสี ว่ นกระตุน้ ให้หลายคนสนใจใคร่รู้ เช่น ทฤษฏีใหม่ ๆ หรือหัวข้อ “ผูน้ ำ� ในโลกอนิจจัง” และ “พลังวิถแี ห่งเต๋า”
แม้สำ� หรับหลายคน การสนทนาในลักษณะนีจ้ ะ
ยังเป็นเรือ่ งใหม่ แต่เพียงครึง่ วันเช้า ทุกคนก็จนู ใจเข้ากับ กระบวนการนีไ้ ด้อย่างรวดเร็ว ทุกคนรักษากติกาการ เช็คอินได้เป็นอย่างดี และอาจด้วยเหตุนี้ ทีท่ ำ� ให้เกิด สนามพลังการสนทนาบางอย่างในห้องประชุมนัน้ ในฐานะของผู้สังเกตและจดบันทึกการเรียนรู้ (ในการอบรม) ข้าพเจ้าถูกฝึกให้ฟงั เสียงตัวเอง ฟังเสียง การสนทนาในกลุม่ ย่อย และฟังบรรยากาศโดยภาพรวม ทีแ่ วดล้อมทัง้ หมด เมื่อข้าพเจ้าถอยมาฟังบรรยากาศการสนทนา ของทัง้ ห้อง ข้าพเจ้าสัมผัสได้ถงึ พลังความสงบนิง่ บาง อย่าง แม้จะมีผคู้ นพูดแลกเปลีย่ นตามโจทย์ ในโต๊ะต่าง ๆ ทัง้ ๖ ตัว แต่เสียงคนพูดนัน้ ไม่ได้ทำ� ลายความสงบงาม ภายในห้องประชุมเลยสีหน้าของผูพ้ ดู และน�ำ้ เสียงดูมี ความตัง้ ใจ ลุม่ ลึก มีสติกบั สิง่ ทีก่ ำ� ลังพูด ส่วนคนฟังก็ให้ ความสนใจ ใส่ใจกับการฟังเต็มที่ หลังจากการสนทนาในกลุ่มย่อย (ทุกครั้ง) อาจารย์ชยั วัฒน์จะให้โจทย์เพือ่ ยกระดับการครุน่ คิดขึน้ ไปอีกขัน้ อาจารย์ไม่ถามว่าคุยอะไรกัน ไม่ให้ตวั แทน
9
กลุม่ มาน�ำสรุปการสนทนา แต่คำ� ถามของอาจารย์ชวนให้ เราถอยออกมามองเข้าไปในประสบการณ์ทเี่ พิง่ ผ่านไป ครุน่ คิดกับประสบการณ์นนั้ ๆ แล้วถอดบทเรียนจาก ประสบการณ์ เป็นการฝึกให้เราเห็นตัวเองในขณะทีพ่ ดู และ “ด�ำรงอยู”่ ในการกระท�ำต่าง ๆ (คือ มีสติรตู้ วั เสมอ ๆ) “ค�ำว่า “คิด” “ครุน่ คิด” “ใคร่ครวญ” เหมือนกัน หรือไม่” อาจารย์ถาม ห้องประชุมเงียบไปครูห่ นึง่ ก่อนทีห่ ลายเสียงจะ ประสานขึน้ “ไม่เหมือน” มีผอู้ ธิบายว่า ครุน่ คิดและใคร่ครวญเป็นการคิดที่ ลึกซึง้ ละเอียดกว่าการคิด และใช้เวลา เหมือนเป็นการ ทบทวน ส่วนการคิดนัน้ ค่อนข้างมีลกั ษณะฉาบฉวยและ รวดเร็ว การครุน่ คิดเป็นสิง่ ทีอ่ าจารย์ชยั วัฒน์ชวนให้ทำ� ตลอดเวลา นับแต่เริม่ ต้นการประชุม ครุน่ คิดกับค�ำถาม ครุ่นคิดกับสิ่งที่จะพูด และครุ่นคิดกับประสบการณ์
เป็นการยกระดับคุณภาพการคิดการเห็น และการ สนทนาให้มคี ณ ุ ภาพสูงขึน้ การครุน่ คิดเป็นการทีเ่ ราถอยออกมามองกลับ เข้าไปในเรือ่ งราว และประสบการณ์ เห็นให้กว้างและ รอบด้าน ลึกและไกล เห็นความเชือ่ มโยงของสิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด และนีค่ อื สิง่ ทีเ่ รามักพูดกันเสมอว่า การเห็นภาพใหญ่ และภาพรวม ส�ำหรับโจทย์แรกทีใ่ ห้ครุน่ คิดจากบทเรียนสด ๆ ทีส่ นทนากัน คือ “บรรยากาศในการสนทนา กระบวนการ เช็คอิน บรรยากาศทัง้ ห้อง ต่างกับการประชุมทีเ่ ราคุน้ และเคยท�ำ ๆ กันมาหรือไม่ ต่างกันตรงไหน” ผู้เข้าอบรมร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นและข้อ สังเกตว่า “การนัง่ กับพืน้ บนเบาะ ไม่เป็นพิธรี ตี รอง ท�ำให้บรรยากาศดูเบา ๆ รูส้ กึ สบาย ผ่อนคลาย ซึง่ ต่าง กับการประชุมโดยทัว่ ไป และทีเ่ พิง่ ท�ำมา เรานัง่ ประชุม บนเก้าอี้ คนนัง่ ติด ๆ กัน เป็นแถว มีพธิ กี ารมาก ท�ำให้ อึดอัด ไม่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ นอกจากนัน้ การประชุมไม่ ออกแบบการสนทนาทีด่ พี อ ทุกคนมุง่ น�ำเสนองานของ
10
แต่ละคนว่าท�ำอะไรกันมาบ้าง ไม่มคี ำ� ถามเพือ่ การเรียน รู้ หรือชวนให้คดิ เชือ่ มโยง และเราไม่ได้คดิ ร่วมกัน เหล่า นี้ ท�ำให้การประชุมน่าเบือ่ ไม่คบื หน้า” สิง่ ทีพ่ วกเราสะท้อนออกมา ไม่วา่ จะเป็นความ รูส้ กึ และความคิดเห็นทีเ่ กิดจากประสบการณ์สด ๆ อาจารย์ชยั วัฒน์สรุปให้เห็นว่า นีค่ อื การถอดบทเรียน “การเรียนรู้ หมายถึง การไม่ทำ� ผิดซ�ำ้ ไม่ทำ� แบบ เดิม ๆ ทีไ่ ม่นำ� ผลทีด่ ี เราต้องถอดบทเรียน คือ ถอยมอง สิง่ ทีเ่ ราท�ำและพูด เห็นจุดอ่อน จับหลักหรือหาแก่นให้ได้
เอาประสบการณ์ ยกเป็ น ทฤษฏี วิ ธี ก าร หลั ก การ” อาจารย์ชยั วัฒน์กล่าว หากเราทบทวนค�ำถามนีใ้ ห้ลกึ ลงไป (ค�ำถามว่า บรรยากาศในการสนทนา กระบวนการเช็ ค อิ น บรรยากาศทัง้ ห้อง ต่างกับการประชุมทีเ่ ราคุน้ และเคย ท�ำ ๆ กันมาหรือไม่ ต่างกันตรงไหน) เราจะพบ ว่า อาจารย์ชยั วัฒน์ตง้ั ใจใช้คำ� ถามนี้ ชีใ้ ห้เราเห็นบริบท และเจตนารมณ์ในการประชุมครัง้ นี้ และยังให้โจทย์นี้ เป็นบทเรียนแบบอย่าง ให้เราเห็นความหมายและความ ส�ำคัญของการเตรียมการประชุมอีกด้วย
11 เรือ ่ งจากปก
วาทะ แกนดอล์ฟ พ่อมดขาวแห่ง Lord of the Rings “พ่อมดด�ำ ซารูมาน เชือ ่ ว่า อ�ำนาจทิย ่ ง ิ่ ใหญ่เท่านัน ้ ทีจ ่ ะ ยับยัง ้ ความชัว่ ร้ายได้ แต่นน ั่ ไม่ใช่สง ิ่ ทีข ่ า้ เห็น ข้าพบว่าการ กระท�ำเล็ก ๆ น้อย ๆ ในชีวต ิ ของคนธรรมดาสามัญต่าง หากทีจ ่ ะช่วยขจัดความมืดออกไปได้ เป็นการกระท�ำเล็ก ๆ ที่ กอปรด้วยความรักและความเมตตา” “Saruman believes it is only great power that can hold evil in check, but that is not what I have found. I found it is the small everyday deeds of ordinary folk that keep the darkness at bay… small acts of kindness and love.”
12 อ�ำนาจในสภา อ�ำนาจของผูแ้ ทน ตามระบอบประชาธิ ป ไตย อ� ำ นาจ ข้าราชการ อ�ำนาจสถาบันต่าง ๆ อันอาจจัด ได้ว่าเป็นอ�ำนาจอันยิ่งใหญ่ในสังคมไม่ สามารถหยุดยั้งความชั่วที่ก�ำลังกลืนกิน สังคมของเราได้ และก็ไม่รวู้ า่ หากความ มืดบอดหรือ “คราส” (eclipse) ได้อม ประเทศแล้ว อีกนานเพียงใดทีค่ วามมืด มิดจะคลาย ให้เราได้เห็นแสงสว่าง ที่ ผู ้ ค นใฝ่ ฝ ั น ถึ ง “ฟ้ า สี ท องผ่ อ งอ� ำ ไพ ประชาชนจะเป็นใหญ่ในแผ่นดิน” เมือ่ อ�ำนาจอันยิง่ ใหญ่ไม่อาจรับมือ กับความชัว่ ได้ ก็คงได้เวลาทีอ่ ำ� นาจเล็ก ๆ หรืออ�ำนาจจิ๋ว ของคนเล็กคนน้อยใน สังคมจะลุกขึน้ มาท�ำอะไรเล็ก ๆ น้อย ๆ ร่วมกัน ในรูปแบบอันหลากหลาย และ กระท�ำด้วยความรัก ความเมตตาต่อตัว เอง ต่อเพือ่ นร่วมชาติ และต่อลูกหลานใน อนาคต
ในวันนี้ เราได้เห็นคนหลายกลุม่ ลุกขึน้ มาท�ำใน สิง่ ทีต่ นพอท�ำได้ ชวนกันท�ำ ไม่วา่ จะออน์ไลน์ บนถนน ทีห่ น้าสถานทูต —- เราแต่ละคนจะแผลงอ�ำนาจจิว๋ ใน ตนในวิธกี ารรูปแบบไหนบ้าง ข้าราชการผูห้ วังดีตอ่ ชาติ ต�ำรวจน�ำ้ ดี ทหาร พนักงานบริษทั (ท่านได้โอกาสแสดง ความสร้างสรรค์เรื่องการแสดงความรับผิดชอบต่อ สังคม (CSR) โรงเรียน นักเรียน ครู มหาวิทยาลัย อาจารย์ พ่อค้า แม่ขาย และทุกคนทีเ่ ป็นผูม้ สี่ ว่ นสร้าง ชาติ —- ท่านจะแสดงออกอย่างไรเพือ่ ขับไล่ “ราหู” ทีก่ ำ� ลังจะอมความดีงามในแผ่นดิน
วอลท์ วิทแมน ภาพจากวิกพิ เี ดีย http://en.wikipedia.org/wiki/Walt_Whitman ถึงตรงนี้ คิดถึงกวีบทหนึง่ “I hear America Singing” ของ วอลท์ วิทแมน กวีชาวอเมริกนั ในยุคสร้าง ชาติ โดยย่อแล้ว วิทแมนกล่าวสรรเสริญ ผูค้ นทุกหมู่ เหล่าทีม่ สี ว่ นสร้างสังคม ไม่วา่ จะเป็นช่างไม้ คนเรือ คน ท�ำรองเท้า คนสร้างอาคาร แม่ แม่บา้ น แต่ละคนขับขาน บทเพลงต่าง ๆ กัน แต่ทุกบทเพลงประสานกันเป็น อเมริกา
13
I hear America singing, the varied carols I hear, Those of mechanics, each one singing his as it should be blithe and strong, The carpenter singing his as he measures his plank or beam, The mason singing his as he makes ready for work, or leaves off work, The boatman singing what belongs to him in his boat, the deckhand singing on the steamboat deck, The shoemaker singing as he sits on his bench, the hatter singing as he stands, The wood-cutter’s song, the ploughboy’s on his way in the morning, or at noon intermission or at sundown, The delicious singing of the mother, or of the young wife at work, or of the girl sewing or washing, Each singing what belongs to him or her and to none else, The day what belongs to the day—at night the party of young fellows, robust, friendly, Singing with open mouths their strong melodious songs.
14
จะเปลี่ยนโลก เปลี่ยน
15
นตัวเองก่อน
มหาตมา คานธี
16
www.thaicivicnet.com