วารสารสภาอุตสาหกรรมฯหนองบัวลำภู พย59

Page 1

พฤศจิกายน 2559 / November 2016

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงมีพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างยิ่ง ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงนมัสการ และทรงสนทนาธรรมกับพระสงฆ์ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ อย่างเช่นภาพเหตุการณ์ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จฯ พร้อมด้วย สมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงนมัสการ หลวงปู่ขาว อนาลโย ที่วัดถ้ำ�กลองเพล จ.หนองบัวลำ�ภู หลายต่อหลายครั้ง ยังคงอยู่ในความทรงจำ�ของพสกนิกรชาวไทยและ ชาวพุ​ุทธอยู่เสมอ แม้ถึงครั้งที่ หลวงปู่ขาว มรณภาพ เมื่อวันที่ 16 พ.ค. 2526 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชยังทรงรับศพหลวงปู่ขาวไว้ในพระบรม ราชานุเคราะห์ 7 วัน พระราชทานโกศโถฉัตรเบญจาตั้งประดับ และยังเสด็จฯ มาพระราชทานเพลิงศพหลวงปู่ขาวในวันที่ 11 ก.พ. 2527

ปีที่ 9 ฉบับที่ 102 ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559 เอกสารแจกฟรี ( Free Copy )


2 ฉบับพิเศษ

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559


ฉบับพิเศษ

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

สวัสดีเดือนพฤศจิกายนครับ

สวัสดีครับท่านผู้อ่านวารสารทุกท่าน ในสถานการณ์ทค่ ี นไทยต้องเผชิญกับความสูญเสีย ครัง้ ยิง่ ใหญ่ คนไทยทัง้ ประเทศเต็มไปด้วยความ โศกเศร้า เป็นความเศร้าโศกเสียใจถั่งโถมกับ คนไทยทัว่ ทัง้ แผ่นดิน เมือ่ สำ�นักพระราชวังออก แถลงการณ์ว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมพิ ลอดุลยเดช” เสด็จสวรรคต เมือ่ เวลา 15.52 ของวันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม 2559 ยังความ โทมนัสโศกาอาดูรแก่พสกนิกรชาวไทย ทุกคน เสียใจที่พระผู้อันเป็นที่รักและเทิดทูนของผู้คน ทัง้ แผ่นดิน เสด็จสวรรคต ชาวประชาชนคนไทย ทุกหมูเ่ หล่าต่างร่วมใจแสดงความอาลัย ด้วยน้อม รำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของ “รัชกาลที่๙” ที่พระองค์ทรงงานหนักเพื่อพวกเราชาวไทยมา ยาวนานถึง 70 ปี สุดอาลัยทัว่ หล้า “มหาราชของ ปวงชนชาวไทย” ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม รำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ หาทีส่ ดุ มิได้ คนไทย ต่างพร้อมใจกันอธิษฐานจิตว่า “จะขอเป็นข้ารอง พระบาททุกชาติไป” “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรามาธิบดี จักรีนฤ บดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร” พระ มหากษัตริยอ์ งค์รชั กาลที่ ๙ พระผูพ้ ระราชทาน โครงการมากกว่า 4,000 โครงการ ทัง้ การแพทย์ สาธารณสุข การศึกษา การศาสนา สังคม วัฒนธรรม รวมถึงเศรษฐิจ นับตัง้ แต่เถลิงถวัลยราชตราบจนเสด็จ สวรรคต นับเป็นพระมหากษัตริยท์ ท่ี รงครองราช ยาวนานทีส่ ดุ ในโลก ทรงเป็นพระมหากษัตริยน์ กั พัฒนา พระองค์ทรงงานหนักเพือ่ คนไทยทัง้ ชาติ ที่อาศัยใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของพระองค์

ซึ่งพระกรณียกิจของพระองค์ทุกด้าน เพื่อช่วย เหลือประชาชนทีย่ ากไร้ เพือ่ การพัฒนายกระดับ ประเทศไทยให้เป็นประเทศทีม่ น่ั คงและมัง่ คัง่ พระปรีชาสามารถและพระอัฉริยภาพ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ล อดุลยเดช ยังปรากฎเป็นทีป่ ระจักษ์แก่ชาวโลก อีกด้วย ทั่วโลกต่างชื่นชม ยกย่องว่าเป็น “พระ มหากษัตริย์นักพัฒนา” เป็นพระมหากษัตริย์ ของโลก ดังที่ปรากฎให้เห็นถึง รางวัลที่ทรงได้ รับการทูลเกล้าฯ ถวาย อยู่เนืองๆ ท่ามกลางความว่างโหวง ใจหายของผูค้ น ชาวไทย. ต่อจากนีไ้ ปทุกคนต้องเผชิญหน้ากับเส้น ทางทอดยาวที่ไม่คุ้นเคยด้วยตนเอง ทุกคนต้อง ร่วมมือกัน ประนีประนอมกัน จัดการชีวติ และ สังคมร่วมกันต่อไป ผมอยากจะเชิญชวนให้ทกุ ท่านไม่ลมื ง่าย ไม่ลืมคำ�สอนของพ่อ ปฏิบัติตัวเป็นคนดีถวาย พระองค์ท่าน เราต้องใช้แรงบันดาลใจที่ได้จาก พระองค์ท่านมาเป็นแรงผลักดันในการดำ�เนิน ชีวิต บางคนอาจยึดถือความดีบางรูปแบบจาก พระองค์ท่านมาเป็นแบบอย่างนี่กระมัง ที่เรียก ว่าความรูส้ กึ ใจหาย เมือ่ สิง่ ทีม่ คี ณ ุ ค่าทางจิตใจหรือ จิตวิญญาณของพสกนิกรชาวไทยได้หายไป คง เหลือแต่แนวทาง ความเป็นต้นแบบ ให้พวกเราได้ เดินตาม.. ปวงข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อม กระหม่ อ มรำ � ลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุณ หา ทีส่ ดุ มิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการฯ, ที่ ปรึกษาฯ, และสมาชิกสภาอุตสาหกรรมจังหวัด หนองบัวลำ�ภู

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน 2559 สวัสดีครับ พบกันอีกครั้งสำ�หรับ วารสารหอการค้าของเรา ช่วงนี้พวกเรา ทุกท่านต่างอยู่ในห้วงแห่งการถวายความ อาลั ย แด่ พ ระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรม หาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จสวรรคต อย่างไร ก็ตามเมื่อครั้งที่พระองค์ท่านยังมีพระชนม์ ชีพอยู่ พระองค์ทา่ นได้สอนให้ทกุ คนอยูอ่ ย่าง พอเพียง ดังคำ�สอนพระองค์ท่าน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “...การพั ฒ นาประเทศจำ � เป็ น ต้องทำ�ตามลำ�ดับขั้นต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วน ใหญ่เป็น เบื้องต้นก่อนโดยใช้วิธีการและ ใช้ อุ ป กรณ์ ท่ี ป ระหยั ด แต่ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิชาเมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและ ปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยความเจริญและฐานะ เศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลำ�ดับต่อไป หากมุ่ง แต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจ ขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียวโดยไม่ให้แผน ปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศ และของประชาชนโดยสอดคล้องดัวยก็จะ เกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจ กลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด..” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ ให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลาง ของชี วิ ต และเพื่ อ คงไว้ ซึ่ ง ทฤษฏี ข องการ พัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการ

3

ดำ � รงชี วิ ต ซึ่ ง อยู่ ร ะหว่ า งสั ง คมระดั บ ท้ อ ง ถิ่นและตลาดระดับสากล จุดเด่นของแนว ปรัชญานี้ คือ แนวทางที่สมดุล โดยประเทศ ชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็น สากลได้โดยปราศจากการต่อต้านกระแส โลกาภิวัฒน์ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มี พระราชดำ�ริว่า ไม่ได้มีความจำ�เป็นที่เรา จะกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ (NlC) โดยทรงอธิบายว่า ความพอเพียงและการ พึ่ ง ตนเองคื อ ทางสายกลางที่ จ ะป้ อ งกั น เปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับ การเชิดชูสูงสุดจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทย และนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศ สมาชิ ก ยึ ด เป็ น แนวทางสู่ ก ารพั ฒ นาแบบ ยั่งยืน แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า สวัสดีครับ

คณะผู้จัดทำ� วารสารข่าวและประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู • ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ : นายไพรัตน์ เอ็งอุทัยวัฒน์, นายไพรัช นุชิต, นายโสภณ ตันกิจเจริญ, นายพิศาล เชยคำ�แหง, นายประมง ทัศดร, ดร.พงษ์ศักดิ์ ศรีวรกุล, นายทิชากร นิลกษาปน์, นายณัฐพงษ์ พีรวรกุล, นางรัชณีนันท์ ตรังตานุกูลกิจ, • คณะกรรมการวารสาร : นายวิทวัส วทานิโยบล, นายทิชากร นิลกษาปน์, นายณพล เชยคำ�แหง, นายธนวิทย์ คงสุริยะ, นายยศวัจน์ ชวลิตสกุลชัย, นายสมพงษ์ ไทตระกูลชัย • ฝ่ายกฎหมาย : นายวิวัฒน์ ขันธ์วิชัย • บรรณาธิการผู้พิมพ์โฆษณา : สภาอุตสาหกรรมจังหวัดหนองบัวลำ�ภู • บรรณาธิการบริหาร : นายสรรพงศ์ ทัศดรกุลพัฒน์ • คณะทำ�งาน : คณะกรรมการสภาอุตสาหกรรมจังหวัดหนองบัวลำ�ภู • เจ้าของ : สภาอุตสาหกรรมจังหวัดหนองบัวลำ�ภู และหอการค้าจังหวัดหนองบัวลำ�ภู • ที่ตั้ง : 151 หมู่ 2 ถ.วิจารณ์รังสรรค์ (อาคารลิ้มชัยอุทิศ) ต.หนองบัว อ.เมือง จ.หนองบัวลำ�ภู

โทร. 085-252-0091, 084-390-2864, 093-323-8178 E-mail : panadda083359@gmail.com, pnaddanamphumi@gmail.com, Nongbualamphuchamber@gmail.com วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู


4 ฉบับพิเศษ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงเป็นพระมหากษัตริยท์ ท่ี รงมี พระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างยิง่ ทัง้ ยังได้เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงนมัสการและ ทรงสนทนาธรรมกับพระสงฆ์ในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ทัว่ ประเทศ อย่างเช่นภาพเหตุการณ์ท่ี พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เสด็จฯ พร้อมด้วย สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ ไปทรงนมัสการ หลวงปูข่ าว อนาลโย ทีว่ ัดถ้ำ�กลองเพล จ.หนองบัวลำ�ภู หลาย ต่อหลายครั้ง ยังคงอยู่ในความทรงจำ�ของพสกนิกรชาวไทยและชาวพุทธอยูเ่ สมอ • ครัง้ ที่ 1 วันที่ 25 มกราคม 2500 เสด็จฯ ไปทรงประกอบพิธวี างศิลากฤษ์ ณ โรงเรียนพิศาลวิทยา อำ�เภอหนองบัวลำ�ภู จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบนั อำ�เภอเมือง จังหวัด หนองบัวลำ�ภู • ครัง้ ที่ 2 วันที่ 25 มกราคม 2511 เสด็จฯ เปิดศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อำ�เภอหนองบัวลำ�ภู จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบัน อำ�เภอเมือง จังหวัดหนองบัวลำ�ภู) • ครัง้ ที่ 3 วันที่ 11 พฤศจิกายน 2518 เสด็จฯ ไปทรงเยีย่ มราษฎรบ้านนาดี อำ�เภอ สุวรรณคูหา จังหวัดอุดรธานี (ปัจจุบนั อำ�เภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำ�ภู) ชาวอำ�เภอสุวรรณคูหา จังหวัดหนองบัวลำ�ภู ต่างปลาบปลืม้ ทีใ่ นครัง้ หนึง่ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ได้เสด็จมา ทรงเยีย่ ม ฐานปฏิบตั กิ าร ทีบ่ า้ นโคก ต.บ้านโคก อำ�เภอสุวรรณคูหา จังหวัด หนองบัวลำ�ภู เมือ่ วันอังคารที่ 14 ตุลาคม 2518 โดย พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาท เสด็จพระราชดำ�เนินโดยเฮลิคอปเตอร์ พระทีน่ ง่ั พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี จากทีป่ ระทับแรมเขือ่ นน้�ำ อูน ตำ�บลแร่ อำ�เภอ พังโคน จังหวัดสกลนคร ไปทรงเยีย่ มหน่วยทหารและตำ�รวจ ในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี และหนองคาย เวลา 11.15 น. เสด็จ ถึงสนามหญ้าฐานปฏิบัติการยุทธการผสม พลเรือน ตำ�รวจ ทหาร บ้านโคก ตำ�บลบ้านโคก กิง่ อำ�เภอสุวรรณคูหา จังหวัด อุดรธานี (ในสมัยนัน้ ยังไม่แยกเป็นจังหวัดหนองบัวลำ�ภู) พลโท เปรม ติณสูลานนท์ แม่ทัพภาคที่ 2 (ยศ ในสมัยนั้น) นาย วิเชียร เวชสวรรค์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดอุดรธานี และนายศรีธรรมา สมณะ นายอำ�เภอนากลาง เฝ้าฯกราบบังคมทูลรายงานตาม ลำ�ดับ แล้วทรงพระราชดำ�เนินทอดพระเนตรฐานปฏิบัติการ ประทานถุงยังชีพแก่ทหาร ตำ�รวจ พลเรือน ประจำ�ฐานปฏิบตั กิ าร • ครัง้ ที่ 4 วันที่ 27 พฤศจิกายน 2519 • ครัง้ ที่ 5 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2521 • ครัง้ ที่ 6 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2522 • ครัง้ ที่ 7 วันที่ 22 พฤศจิกายน 2522 • ครัง้ ที่ 8 วันที่ 15 พฤศจิกายน 2523 • ครัง้ ที่ 9 วันที่ 13 พฤศจิกายน 2525 • ครัง้ ที่ 10 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2526 • ครัง้ ที่ 11 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2526 ในการเสด็จฯ ครั้งที่ 4-11 เพื่อมนัสการหลวงปู่ ขาว อนาลโย สนทนาธรรม และทรงเยี่ยมราษฎรที่มาเฝ้าฯ รอรั บ เสด็ จ ณ วั ด ถ้ ำ � กลองเพล ตำ � บลโนนทั น อำ � เภอ หนองบัวลำ�ภู • ครัง้ ที่ 12 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2527 เสด็จฯ พระราชทาน เพลิงศพหลวงปูข่ าว อนาลโย • ครัง้ ที่ 13 วันที่ 26 พฤษภาคม 2532 เสด็จฯ ไปทรง บรรจุอฐั ธิ าตุหลวงปูข่ าว อนาลโย และทรงเปิดพิพธิ ภัณฑ์อฐั บริขารหลวงปูข่ าว อนาลโย วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559


ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

คำ�สอนของพระบาท

ฉบับพิเศษ

5

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขอน้อมนำ� 9 คำ�สอนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มาเผยแพร่เพื่อเป็นประโยชน์และสิริมงคลแก่ชีวิต ซึ่งพระบรม ราโชวาทที่คัดเลือกมานี้สามารถนำ�ไปปรับใช้ได้จริงในชีวิตประจำ�วันและแก้ไข ปัญหาการทำ�งานได้ดว้ ย 1. คนดี

5. คุณธรรมของคน

“ประการแรก คือ ความซื่อสัตย์ ประการที่สอง คือ การรู้จักข่มใจฝึกใจตนเอง ให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัตย์ความดีนั้น ประการที่สาม คือ การอดทน อดกลั้น และ อดออมทีจ่ ะไม่ประพฤติลว่ งความสัตย์สจุ ริต ประการทีส่ ่ี คือ การรูจ้ กั ละวางความชัว่ ความ ทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนรวมคุณธรรมสี่ประการนี้ “ในบ้านเมืองนั้น มีทั้งคนดี และคนไม่ดี ไม่มีใครที่จะทำ�ให้ทุกคนเป็นคนดีได้ ถ้าแต่ละคนพยายามปลูกฝังและบำ�รุงให้เจริญงอกงาม จะช่วยให้ประเทศชาติบงั เกิดความ ทัง้ หมด การทำ�ให้บา้ นเมืองมีความปกติสขุ เรียบร้อย จึงมิใช่การทำ�ให้ทกุ คนเป็นคนดี หาก สุขความร่มเย็นและมีโอกาสทีจ่ ะปรับปรุงพัฒนาให้มน่ั คงก้าวหน้าต่อไป” (พระบรมราโชวาท ในพิธบี รวงสรวง สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า 5 เมษายน แต่อยู่ที่การส่งเสริมคนดี ให้คนดีปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอำ�นาจ 2535) ไม่ให้กอ่ ความเดือดร้อนวุน่ วายได้” (พระบรมราโชวาทในพิธเี ปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ จังหวัด 6. ความเพียร ชลบุรี 11 ธันวาคม 2512) “ความเพียรทีถ่ กู ต้องเป็นธรรม และพึงประสงค์นน้ั คือความเพียรทีจ่ ะกำ�จัดความเสือ่ ม ให้หมดไป และระวังป้องกันมิให้เกิดขึ้นใหม่ อย่างหนึ่ง กับความเพียรที่จะสร้างสรรค์ความ ดีงาม ให้บังเกิดขึ้นและระวังรักษามิให้เสื่อมสิ้นไป อย่างหนึ่ง ความเพียรทั้งสองประการนี้ เป็นอุปการะอย่างสำ�คัญ ต่อการปฏิบตั ติ น ปฏิบตั งิ าน ถ้าทุกคนในชาติจะได้ตง้ั ตนตัง้ ใจอยูใ่ น ความเพียรดังกล่าว ประโยชน์และความสุขก็จะบังเกิดขึน้ พร้อม ทัง้ แก่สว่ นตัวและส่วนรวม” (พระราชดำ�รัสพระราชทานในพิธกี าญจนาภิเษก ทรงครองราชย์ ครบ 50 ปี พ.ศ. 2539)

7. แก้ปญ ั หาด้วยปัญญา

2. อนาคตทำ�นายได้

“ทุกสิง่ ทุกอย่าง ทีเ่ กิดทีเ่ ป็นอยูแ่ ก่เราในวันนี้ ย่อมมีตน้ เรือ่ งมาก่อน ต้นเรือ่ งนัน้ คือ เหตุ สิง่ ทีไ่ ด้รบั คือ ผล และผลทีท่ า่ นมีความรูอ้ ยูข่ ณะนี้ จะเป็นเหตุให้เกิดผลอย่างอืน่ ต่อไปอีก คือ ทำ�ให้สามารถใช้ความรูท้ ม่ี อี ยูท่ �ำ งานทีต่ อ้ งการได้ แล้วการทำ�งานของท่าน ก็จะเป็นเหตุ ให้เกิดผลอื่นๆ ต่อเนื่องกันไปอีก ไม่หยุดยั้ง ดังนั้นที่พูดกันว่า ให้พิจารณาเหตุผลให้ดีนั้น กล่าวอีกนัยหนึง่ ก็คอื ให้พจิ ารณาการกระทำ�หรือกรรมของตนให้ดนี น่ั เอง คนเราโดยมากมัก นึกว่าอนาคตจะเป็นอย่างไรเราทราบไม่ได้แต่ทจ่ี ริงเราย่อมจะทราบได้บา้ งเหมือนกัน เพราะ อนาคต ก็คอื ผลของการกระทำ�ในปัจจุบนั ” (พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8 กรกฎาคม 2519)

“ปัญหาทุกอย่างไม่วา่ เล็กหรือใหญ่ มีทางแก้ไขได้ ถ้ารูจ้ กั คิดให้ดี ปฏิบตั ใิ ห้ถกู การคิด ได้ดีนั้น มิใช่การคิดได้ด้วยลูกคิด หรือด้วยสมองกลเพราะโลกเราในปัจจุบันจะวิวัฒนาการ ไปมากเพียงใดก็ตาม ก็ยงั ไมมีเครือ่ งมืออันวิเศษชนิดใด สามารถขบคิดแก้ไขปัญหาต่างๆได้ อย่างสมบูรณ์การขบคิดวินจิ ฉัยปัญหา จึงต้องใช้สติปญ ั ญา คือคิดด้วยสติรตู้ วั อยูเ่ สมอ เพือ่ หยุดยั้งและป้องกันความประมาทผิดพลาด และอคติต่างๆมิให้เกิดขึ้นช่วยให้การใช้ปัญญา พิจารณาปัญหาต่างๆ เป็นไปอย่างเทีย่ งตรง ทำ�ให้เห็นเหตุเห็นผลทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกันเป็นกระบวนการ ได้กระจ่างชัด ทุกขัน้ ตอน” (พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1 สิงหาคม 2539)

3. ความดี

“การทำ�ดีนน้ั ทำ�ยากและเห็นผลช้า แต่กจ็ �ำ เป็นต้องทำ� เพราะหาไม่ความชัว่ ซึง่ ทำ�ได้งา่ ย จะเข้ามาแทนทีแ่ ละจะพอกพูนขึน้ อย่างรวดเร็วโดยไม่ทนั รูส้ กึ ตัว แต่ละคนจึงต้องตัง้ ใจและเพียร พยายามให้สดุ กำ�ลัง ในการสร้างเสริมและสะสมความดี” (พระบรมราโชวาทพระราชทาน แก่ผู้สำ�เร็จการศึกษา ที่โรงเรียนนายร้อยตำ�รวจ สวนอัมพร 14 สิงหาคม 2525)

8. คนเราจะต้องรับและจะต้องให้

“คนเราจะเอาแต่ได้ไม่ได้ คนเราจะต้องรับและจะต้องให้ หมายความว่าต่อไป และ เดีย๋ วนีด้ ว้ ยเมือ่ รับสิง่ ของใดมา ก็จะต้องพยายามให้ ในการให้นน้ั ให้ได้โดยพยายามทีจ่ ะสร้าง ความสามัคคีให้หมูค่ ณะและในชาติ ทำ�ให้หมูค่ ณะและชาติประชาชนทัง้ หลายมีความไว้ใจซึง่ กันและกันได้ ช่วยทีไ่ หนได้กช็ ว่ ย ด้วยจิตใจทีเ่ ผือ่ แผ่โดยแท้” (พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นกั ศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 20 เมษายน 2521)

4. การทำ�งาน

“เมือ่ มีโอกาสและมีงานทำ� ควรเต็มใจทำ�โดยไม่จ�ำ เป็นต้องตัง้ ข้อแม้ หรือเงือ่ นไขอันใด ไว้ให้เป็นเครือ่ งกีดขวาง คนทีท่ �ำ งานได้จริงๆ นัน้ ไม่วา่ จะจับงานสิง่ ใด ย่อมทำ�ได้เสมอ ถ้ายิง่ มี ความเอาใจใส่ มีความขยัน และความซือ่ สัตย์สจุ ริต ก็ยง่ิ จะช่วยให้ประสบผลสำ�เร็จในงาน ทีท่ �ำ สูงขึน้ ” (พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา 8 กรกฎาคม 2530)

9. พูดจริง ทำ�จริง

“ผู้หนักแน่นในสัจจะพูดอย่างไร ทำ�อย่างนั้น จึงได้รับความสำ�เร็จ พร้อมทั้งความ ศรัทธาเชือ่ ถือและความยกย่องสรรเสริญ จากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วทำ� คือ พูดจริง ทำ�จริง จึงเป็นปัจจัยสำ�คัญในการส่งเสริมเกียรติคณ ุ ของบุคคลให้เด่นชัด และสร้างเสริมความดี ความ เจริญ ให้เกิดขึน้ ทัง้ แก่บคุ คลและส่วนรวม” (พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 10 กรกฎาคม 2540) วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู


6 ฉบับพิเศษ

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

ประมวลภาพปวงชนน้อมใจส่งเสด็จ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชสู่สวรรคาลัย

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู


ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

ฉบับพิเศษ

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

7


8

ฉบับพิเศษ

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” รากฐานการวางแผนการเงินของคนไทยอย่างแท้จริง

หลายๆท่ า นคงเคยได้ ยิ น คำ � ว่ า “เศรษฐกิจพอเพียง” มาบ่อยครัง้ ซึง่ หลายๆ คนก็อาจจะเข้าใจกันผิดเพี้ยนไปบ้างว่า เช่น จะขยันไปทำ�ไม ทำ�งานแค่พอประมาณ หรือ บางคนก็บอกว่าเรากินน้อย ใช้นอ้ ย ก็อยูอ่ ย่าง พอเพียงก็ดแี ล้ว อย่าไปโลภมาก บ้าง ซึง่ ใคร ทีค่ ดิ แบบนีอ้ ยู่ แสดงว่าท่านยังไม่เข้าใจคำ�ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” จริงๆเลย ซึ่งในหลวงรัชกาลที่ 9 ของเรานั้น ทรงมีพระราชดำ�ริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง นี้มาตั้งแต่วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2517 ( นับถึงปัจจุบันก็เป็นเวลามากกว่า 40 ปี ) โดยทรงมีพระราชดำ�ริว่าด้วยเศรษฐกิจพอ เพียงตอนหนึ่งว่า “…การพัฒนาประเทศจำ�เป็นต้อง ทำ�ตามลำ � ดั บ ขั ้ น ต้องสร้า งพื้น ฐานคือ ความพอมี พอกิ น พอใช้ของประชาชน ส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและ อุ ป กรณ์ ที่ ป ระหยั ด แต่ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อม พอสมควร และปฏิบตั ไิ ด้แล้ว จึงค่อยสร้าง ค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจ ขั้นที่สูงขึ้นโดยลำ�ดับต่อไป…” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗) ซึ่ ง ก่ อ น ที่ จ ะ ท ร า บ ว่ า ป รั ช ญ า เศรษฐกิจพอเพียงนั้นมีอะไรบ้าง ก็อยากถึง แนวคิดจุดเริ่มต้นของแนวคิดเศรษฐกิจพอ เพียงนี้มาได้อย่างไร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึง แนวการดำ�รงอยูแ่ ละปฏิบตั ติ นของประชาชน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับ ชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและ บริหารประเทศให้ดำ�เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพือ่ ให้กา้ วทัน ต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์

ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จำ�เป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และ ความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ�วิชาการ ต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำ�เนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริม สร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจ ในทุกระดับ ให้มีสำ�นึกในคุณธรรม ความ ซือ่ สัตย์สจุ ริต และให้มคี วามรอบรูท้ เ่ี หมาะสม ดำ�เนินชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เป็นอย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึง ประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ไี ม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ น่ื เช่น การผลิต และการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล หมายถึง การ ตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจาก เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำ�นึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำ�นั้นๆ อย่าง รอบคอบ 3. การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี หมายถึง การเตรี ย มตั ว ให้ พ ร้ อ มรั บ ผลกระทบและ การเปลีย่ นแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดย คำ � นึ ง ถึ ง ความเป็ น ไปได้ ข องสถานการณ์ ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจ และดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับ พอเพียง 2 ประการ ดังนี้ 1. เงือ่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความ รอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบ ด้าน ความรอบคอบที่จะนำ�ความรู้เหล่านั้น มาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบ การวางแผนและความระมั ด ระวั ง ในการ ปฏิบัติ 2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริม สร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มี ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำ�เนินชีวิต หลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งกั บ การวางแผน การเงินของคนไทย จากข้อมูลที่กล่าวมาแล้ว จะเห็นว่า หลักเศรษฐกิจพอเพียงที่พระองค์ทรงให้ไว้ กับปวงชนชาวไทยนั้น แม้ว่าพระองค์จะเน้น ที่ภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก เพราะอยากให้ คนส่วนใหญ่ของประเทศมีความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ เสียก่อน แต่หลักเศรษฐกิจพอ เพียงก็ยังสามารถมาประยุกต์ให้กับคนใน ทุกๆสาขาอาชีพได้เช่นกัน เพราะเป็นเน้นที่ การพึ่งตนเองให้ได้เป็นหลัก ดังนั้นจึงเรียกได้ว่า หลักเศรษฐกิจ พอเพียง คือ พื้นฐานที่สำ�คัญของการ จัดการในทุกๆอาชีพเลยทีเดียว แล้วถ้า พิจารณาหลักเศรษฐกิจพอเพียงกับเรื่อง วางแผนการเงิน จะยิง่ เห็นได้ชดั เจนเลยว่า มันเป็นเรื่องเดียวกันเลย โดยเปรียบเทียบ ได้ดังนี้ 1. ความพอประมาณ ก็ คือการใช้ จ่ายอย่างประหยัด ตามรายได้ที่เรามี อย่า ใช้จ่ายเกินตัว อย่าเป็นหนี้ แต่ถ้ามีรายจ่าย เยอะ ก็ต้องหาเยอะตามไปด้วย ที่สำ�คัญคือ อย่าทำ�ให้ต้องไปเบียดเบียนผู้อื่น เช่น ไปกู้

คนอื่นมา และไม่สามารถใช้หนี้ได้ เป็นต้น 2. ความมีเหตุผล ก็เสริมข้อแรก คือ การจะใช้เงินนั้น มีเหตุผลที่ดีพอมั้ย เช่น จะซื้อรถ เพื่ออะไร อะไรคือ Need หรือ เป็น Want คืออยากได้มากกว่า แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าจะรวยไม่ได้ สรุปง่ายๆคือ ถ้า มีเหตุผลอยากใช้เงินซื้ออะไรก็ต้องหารายได้ ให้มากพอนั่นเอง 3. มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ข้อนี้จะตรง กับความไม่ประมาทในการใช้ชีวิต ซึ่งถ้าเป็น เรื่องการเงิน ก็ได้แก่การจัดการความเสี่ยง ทั้งหลาย เช่น รถ บ้าน เรามีประกันเพียงพอ มั้ย หรือ ถ้าเจ็บป่วยเป็นโรคร้ายแรงหรือโรค มะเร็ง เรารับมือไหวมั้ย หรือใครจะช่วยเรา รวมไปถึงการมีเงินสำ�รองฉุกเฉินที่มากพอ เพราะหากตกงานกะทันหัน เรามีเงินเตรียม ไว้กี่เดือน รวมไปถึงเรื่องความขยันก็ได้ เช่น ช่วงที่เราอายุน้อยๆ ก็ต้องรีบทำ�งานหาเงิน เยอะๆ เพื่อเตรียมเงินไว้ใช้ในยามเกษียณ อย่างเพียงพอ ก็ถือเป็นการสร้างภูมิคุ้มกัน ของเรา ก็ได้ หรือใครที่เป็นนักลงทุน ก็อาจ ต้องศึกษาสินค้าการเงินนั้นให้ดี เพราะถ้า เรามีความรูม้ าก เราก็ถอื ว่าเรามีภมู คิ มุ้ กันมาก หรือ อาจจะมองเป็นการกระจายการลงทุน Asset Allocation ก็ได้ ก็ถือว่าเป็นการ กระจายความเสีย่ ง ซึง่ ก็เป็นการลดความเสีย่ ง ในการลงทุน ก็เท่ากับว่าเรามีภูมิคุ้มกันด้าน การเงินมากขึ้นไปด้วย ส่วน 2 เงือ่ นไข ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งการ มีความรู้ และ มีคุณธรรม ถ้าเป็นมุมมอง ด้านวางแผนการเงิน ก็คือ การมีความรู้ใน เรื่องที่ลงทุน อย่างดีพอ รวมไปถึงมีความรู้ ในการหารายได้เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งต้องมีพร้อม ด้วยคุณธรรม ไม่โกง ไม่เอาเปรียบผู้อื่น ซึ่ ง ถ้ า ทำ � ไ ด้ แ บ บ นี้ รั บ ร อ ง ว่ า สถานะทางการเงินของคนไทยทุกคนต้อง แข็งแรงอย่างยั่งยืนแน่นอน


ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

ฉบับพิเศษ

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

9


10 ฉบับพิเศษ

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559


ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

ฉบับพิเศษ 11

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู


12 ฉบับพิเศษ

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559


ฉบับพิเศษ 13

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

“โครงการส่วนพระองค์

สวนจิตรลดา”

“โครงการส่ ว นพระองค์ ส วน จิตรลดา” นับเป็นโครงการทีค่ นไทยได้รบั พระ เมตตาจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ที่ ทรงห่วงใยพสกนิกรชาวไทย ให้มคี วามเป็น อยูท่ ด่ี ้ี การตั้ง โครงการอยู่ใ นบริ เวณพระ ตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน อันเป็นทีป่ ระทับของ พระองค์ สะท้อนให้เห็นชัดเจนว่าพระองค์ทา่ น ทรงให้ความสำ�คัญ และมีพระราชประสงค์ ดู แ ลให้ โ ครงการเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพอย่ า ง ใกล้ชดิ ขณะเดียวกันพระองค์ยงั ทรงเปิดกว้าง ให้ผสู้ นใจเข้าไปเยีย่ มชมโครงการเพือ่ นำ�ความ รู้ไปพัฒนาตนเองไปให้เกิดความก้าวหน้าแก่ ชีวติ ของตนเองสืบไป โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา เป็นโครงการที่ดำ�เนินการโดยไม่มุ่งหวังผล ตอบแทน ตามพระราชประสงค์ในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ โดยแบ่งเป็นโครงการ ไม่ใช่ธรุ กิจ และโครงการกึง่ ธุรกิจ โครงการไม่ ใช่ ธุร กิ จ เป็ น โครงการ ที่ เ กี่ ย วกั บ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการ ผลิตทางการเกษตร มุ่งเน้นการดำ�เนินงาน โดยยึดแนวพระราชดำ�ริเกี่ยวกับ “เศรษฐกิจ พอเพียง” ซึ่งให้ความสำ�คัญกับการพัฒนา คุณภาพชีวติ ของเกษตรกรในระยะยาว ให้พง่ึ พา ตนเองได้ และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เช่นโครงการป่าไม้สาธิต โครงการนาข้าว ทดลอง โครงการปลานิล ที่รู้จักกันในนาม “ปลานิลสายพันธุจ์ ติ รลดา” โครงการกึง่ ธุรกิจ เป็นการศึกษาทดลอง เกี่ยวกับการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร และจำ�หน่ายโดยไม่แสวงผลกำ�ไร ไม่แข่งขัน ทางธุรกิจ และนำ�รายได้มาใช้พฒ ั นาโครงการ ส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา ตัวอย่างโครงการกึ่งธุรกิจ เช่น กลุ่ม งานอุตสาหกรรมนม ซึง่ ประกอบด้วย โรงโคนม สวนจิตรลดา ศูนย์รวมนมสวนจิตรลดา โรง

นมผงสวนดุสิต โรงนมเม็ดสวนดุสิต โรงเนย แข็งสวนจิตรลดา โรงนมยูเอชที สวนจิตรลดา ซึง่ ประชาชนคนไทยต่างเรียกกันว่า “นมในหลวง” ดืม่ กันด้วยความรูส้ กึ รสชาติทด่ี ี และมีคณ ุ ภาพ ทัง้ นมถุงพาสเจอร์ไรส์ นมยูเอชทีกล่องสีเหลือง ที่ประทับตราว่า “สวนจิตรลดา” ทั้งรสจืด ช็อกโกแลต และสละ นอกจากนีย้ งั มีนมผง นม อัดเม็ด และยังมีนมโรงเรียนรสจืด ทีเ่ ติมสาร ฟลูออไรด์ กลุ่ ม งานอุ ต สาหกรรมนมเป็ น โครงการหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นความเมตตา ของพระองค์ ทีพ่ ระองค์ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สร้างขึ้น เพื่อแก้ปัญหานมสดล้น ตลาด เช่น โรงนมผง ที่สามารถแปรรูปนม สดให้เก็บไว้ได้นาน โดยพระราชทานพระราช ทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นทุนในการก่อสร้าง และยังมีการตัง้ ศูนย์รวมนม เพือ่ รับซือ้ นมสด จากเกษตรกรผูเ้ ลีย้ งโคนม ในการเสด็ จ พระราชดำ � เนิ น เปิ ด โรงงานเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2512 และ พระราชทานชื่อว่า “โรงนมผงสวนดุส ิต” มี พ ระราชกระแสรั บ สั่ ง ในพิ ธี เ ปิ ด โรงงาน ว่า “โรงงานนี้เป็นโรงงานตัวอย่าง และจะ ดำ�เนินการเป็นตัวอย่างสำ�หรับกสิกร และ ผู้ ท่ี ส นใจในการผลิ ต นมในประเทศไทย โรงงานนี้เป็นแห่งแรกที่ทำ�ขึ้นในเมืองไทย และก็เป็นที่น่าภูมิใจว่าคนไทยได้ออกแบบ และเป็นผู้สร้าง ขอให้ถือว่าโรงงานนี้เป็น โรงงานตัวอย่าง ใครอยากได้ความรู้ ใครอยาก ที่จะทำ�กิจการโคนมให้สำ�เร็จ ให้ก้าวหน้า และเป็นประโยชน์แก่ตน แก่เศรษฐกิจของ บ้านเมือง ก็ให้มาดูกจิ การได้ทกุ เมือ่ ” จากพระราชกระแสรับสัง่ นี้ นอกจาก เจ้าหน้าที่ประจำ�โรงนม และศูนย์รวมนม จะทำ�หน้าที่ผลิตนมคุณภาพให้ประชาชนมี โอกาสดื่มกันแล้ว ยังเป็นแหล่งความรู้ให้คน ไทยจำ�นวนมากทีเ่ ข้ามาดูงาน ณ ทีแ่ ห่งนี้

ตั ว อย่ า งโครงการส่ ว นพระองค์ สวนจิตรลดา โครงการไม่ใช่ธรุ กิจ ปี 2504 โครงการนาข้าวทดลอง และ โครงการป่าไม้สาธิต ปี 2508 -2509 โครงการเพาะเลีย้ ง ปลานิล โครงการกึง่ ธุรกิจ โครงการในอุตสาหกรรมนม ปี 2505 โรงโคนมสวนจิตรลดา ปี 2512 ศูนย์รวมนมสวนจิตรลดา โรง นมผงสวนดุสติ ปี 2527 โรงนมเม็ดสวนดุสติ ปี 2530 โรงเนยแข็งสวนจิตรลดา ปี 2546 โรงนมยูเอชที สวนจิตรลดา โครงการอืน่ ๆ ปี 2514 โรงสีขา้ วตัวอย่างสวนจิตรลดา ปี 2527 โรงผลิตอบแห้ง โรงน้�ำ ผลไม้สวนจิตรลดา ปี 2528 โรงปุย๋ อินทรีย์ และงานทดลอง ผลิตภัณฑ์เชือ้ เพลิง ปี 2529 โรงหล่อเทียนหลวง โรงขีผ้ ง้ึ ปี 2529 วิจยั และพัฒนาศึกษาความ เป็นไปได้ในการนำ�น้ำ�กากมูลหมัก ซึ่งเป็น ผลพลอยได้จากการผลิตกก๊าซชีวภาพ มาเพาะ เลีย้ งสาหร่ายเกลียวทอง ปี 2531 วิจยั และพัฒนาการเพาะเห็ด ปี 2532 โรงบดแกลบ ปี 2535 โรงน�ำ้ ผลไม้บรรจุกระป๋อง โรง กระดาษสา ปี 2540 โรงน�ำ้ ดืม่ ปี 2544 โรงผลิตภัณฑ์ขนมอบ โรงนมผงสวนดุสติ เมื่ อ เกิ ด ภา วะ น ม ส ดล้ น ตล า ด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชดำ�ริ ให้ท�ำ การศึกษาความเป็นไปได้ในการแปรรูป น้�ำ นมดิบเป็นนมผง เพือ่ ให้เก็บไว้ได้นาน ทรง โปรดเกล้าฯให้หม่อมราชวงศ์เทพฤทธิ์ เทวกุล

เป็นผู้ออกแบบโรงนมผง ซึ่งถือว่าเป็นโรงนม แผงแห่งแรกของไทย ที่ออกแบบและสร้าง โดยคนไทย เพื่อเป็นตัวอย่างสำ�หรับกสิกร และผูส้ นใจผลิตนมในไทย โรงนมเม็ดสวนดุสติ โรงนมเม็ด ก่อตัง้ ขึน้ ในปี 2527 เพือ่ นำ�นมผงมาผลิตเป็นนมผงอัดเม็ด แปลงนาข้าวทดลอง โครงการนาข้ า วทดลองในพื้ น ที่ พระตำ�หนักจิตรลดรโหฐาน เริ่มในปี 2505 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้กรมการข้าว (เดิม) ทดลอง นำ�พันธุ์ข้าวต่างๆ จากทั่วประเทศมาปลูกใน แปลกนาข้าวทดลอง ทัง้ แบบนาดำ� นาหว่าน โรงสีขา้ วตัวอย่าง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง โปรดเกล้าฯให้สร้างยุง้ ฉาง และโรงสีขา้ วตัวอย่าง สวนจิตรลด โดยเสด็จพระราชดำ�เนินเปิดโรง สีข้าวตัวอย่างอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2512 ไบโอดีเซล ปี 2528 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระกระแสรับสั่งที่ให้ศึกษาต้นทุนการ ผลิตแอลกอฮอล์จากอ้อยเพื่อเป็นพลังงาน ทดแทน ซึง่ อาจเป็นทางแก้ไขหากเกิดเหตุการณ์ น้ำ�มันขาดแคลน หรืออ้อยราคาตกต่ำ� โดย พระองค์ พ ระราชทานพระราชทรั พ ย์ ส่ว น พระองค์ จำ�นวน 925,500 บาท เพือ่ จัดสร้าง อาคาร และอุปกรณ์ตา่ งๆ ต่อมามีผลผลิต เช่น แอลกอฮอล์แข็งสำ�หรับอุน่ อาหาร เจลล้างมือ โดยไม่ต้องล้าน้ำ�ออก น้ำ�หมอ น้ำ�มันนวด นอกจากนี้ยังนำ�แอลกอฮอล์ท่ีความเข้มข้น 99.5% ผสมกับน�ำ้ มันเบนซิน เพือ่ ผลิตแก๊สโซ ฮอล์ สำ�หรับโครงการไบโอดีเซล จากน�ำ้ มัน พืช หรือน�ำ้ มันสัตว์ ทีใ่ ช้แล้ว ยังเป็นทางเลือก สำ�หรับการใช้พลังงานในปัจจุบนั

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู


14 ฉบับพิเศษ

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

พระกระยาหารทรงโปรดของพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ เรื่องเล่าที่เราไม่เคยรู้

จะมีใครรูบ้ า้ งว่า “พระกระยาหาร ของพระราชา” เป็นอย่างไร เลิศหรูราคา แพงแค่ไหน? “พระกระยาหารของพระราชา” ในความคิดของคนทั่วไป หรือที่เคยเห็น ในภาพยนตร์ จะต้องหรูหราราคาแพง แต่ สำ�หรับพระพระราชา พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาล ที่ 9 อันเป็นที่รักของคนไทยนั้น พระองค์ ทรงโปรดพระกระยาหารทีแ่ สนจะเรียบง่าย ในหนังสือใกล้เบือ้ งพระยุคลบาท ที่ เขียนโดย…ลัดดา ซุบซิบ (วันที่ ๓ มิถนุ ายน ๒๕๔๕/ผูจ้ ดั การรายสัปดาห์ ) ได้ เ ล่ าเรื่องราวพระะกระยาหาร ทรงโปรดของพระองค์ท่านไว้ว่า…ขออย่า ได้แปลกใจไปเลย ทีเ่ มนูพระกระยาหารใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั แต่ละมือ้ หา ได้วเิ ศษเลอเลิศอย่างทีเ่ ข้าใจกันไม่ แต่เป็น อาหารธรรมดาทีไ่ พร่ฟา้ ข้าแผ่นดินทัง้ หลาน บริโภคกันทุกวันนัน่ เอง ในหลวงโปรดเสวยอาหารอ่ อ น

แบบอาหารฝรัง่ อาหารไทยโปรดผัดผัก ทุกชนิด เช่น ผัดคะน้า ผัดถัว่ งอก ผัด ถัว่ ลันเตา โดยใส่ผกั ให้มากๆ หมูเนือ้ ใส่ น้อยๆ อาหารว่าง เคยโปรดหูฉลามและ บะหมี่ จะใส่หน้าหมูแดง หน้าเป็ด หน้าปู ได้ทง้ั นัน้ แต่ตอ้ งไม่ใส่ผกั ชี ใบหอม ต้นหอม และตังฉ่าย เครือ่ งดืม่ โปรดโอวัลตินเป็น พิเศษ เคยเสวยวันหนึง่ ๆ หลายครัง้ น้�ำ ชา กาแฟ ไม่มากนัก พระกระยาหารหรื อ เครื่อ งเสวย ประจำ�วันมีเครื่องกลางวัน ซุปอาสาเรน (ซุปใสใส่ไข่) สปาเกตตีมลิ านเนส แกงจืด เซ่งจี๊ ผัดไก่เล่าปี่ ปูเค็มต้มกะทิ หลนปลา กุเรา ผัดเผ็ดปลาดุกทอดฟู กล้วยหักมุก เชือ่ ม ไอศกรีม ผลไม้ ยามดึ ก เมื่ อ เสด็ จ กลั บ จากพระ ราชกิจ มหาดเล็กจะตั้งเครื่องว่างจำ�พวก หู ฉ ลามหรื อ บะหมี่ ถ วายอี ก ครั้ ง หนึ่ ง หัวหน้าส่วนพระเครือ่ งต้น ณ พระตำ�หนักจิตร ลดาฯ คนปัจจุบนั ชือ่ เอกสิทธิ์ วัชรปรีชานนท์

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

มีพระเครือ่ งต้นอยู่ ๓ ห้อง ผูก้ �ำ กับดูแลอย่าง ไม่เป็นทางการ ในแต่ละห้องมี ลูกหลานกุก๊ แต่รชั สมัย ร.๖ เป็นคนจีนชือ่ เยีย่ หง แซ่หา่ น ดูแลพระเครือ่ งต้นฝรัง่ สมิง ดวงทิพย์ ดูแล พระเครือ่ งต้นหวาน ท่านผูห้ ญิงประสานสุข ตันติเวชกุล มารดาวัย ๘๐ ต้น ของ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล ดูแลพระเครือ่ งต้นไทย ขณะที ่ อาจารย์ว ัน ดี ณ สงขลา อาจารย์ประจำ�วิทยาลัยในวังหญิง เจ้าของ หนังสือตำ�นานอาหารสามแผ่นดิน ได้เล่า ถึงเรื่องราวพระกระยาหารทรงโปรดของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรม โกศไว้ว่า “พระกระยาหารทรงโปรดใน รัชกาลที่ 9 นัน้ หลักๆ พระองค์ทรงโปรด ผักทุกชนิด มาทำ�อาหาร เช่น ผัดคะน้า ผัดถัว่ งอก ผัดถัว่ ลันเตา และจะใส่ผกั ให้มาก ส่วนเนือ้ สัตว์จะน้อย โดยจะเสวยกับข้าว กล้องเป็นหลัก”

นอกจากนี้ อีกสิง่ ทีห่ ลายท่านอาจ ยังไม่ทราบคือพระองค์ท่านทรงไม่เสวย ปลานิล ด้วยเพราะทรงเป็นผูเ้ ลีย้ งปลานิล คนแรกในประเทศไทย โดยใช้สระว่ายน้ำ� ในพระตำ�หนักสวนจิตรลดาเป็นบ่อเลี้ยง แล้ ว แจกจ่ า ยพั น ธุ์ไ ปให้ ก รมประมงเพื่อ เพาะเลีย้ ง แจกจ่ายสูป่ ระชาชนกระทัง่ บ้าน เมืองเรามีปลานิลให้เห็นอย่างในทุกวันนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน พระบรมโกศ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ อันเป็นทีร่ กั ยิง่ ของปวงชนชาวไทย ทีม่ พี ระ จริยวัตรอันงดงามในทุกด้าน ไม่เว้นแม้ กระทั่ ง ด้ า นการเสวยพระกระยาหารที่ เรียบง่าย ทัง้ั ยังทรงงานหนักค้นคว้า ศึกษา หาข้อมูลด้านอาหารการกิน มาช่วยให้ ประชาชนชาวไทย อยูด่ กี นิ ดี มาโดยตลอด เห็นแบบนีแ้ ล้ว พวกเราดีใจมาก ทีไ่ ด้ เกิดมาเป็นคนไทย “เกิดในแผ่นดินรัชกาล ที่ 9” #ขอเป็นข้ารองบาททุกชาติไป


๑๓

ฉบับพิเศษ 15

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

สิ่งประดิษฐ์ของ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ “พระบิดาแห่งการประดิษฐ์ไทย”

ที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อน..

พระราชกรณียกิจต่างๆ ในพระบาทสมเด็จพระปริมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชฯ ล้วน แต่ท�ำ เพือ่ หวังให้ประชาชนของพระองค์อยูด่ กี นิ ดี ทรงเป็นกษัตริยผ์ มู้ อี จั ฉริยภาพในด้านต่างๆ มากมาย รวมถึงการประดิษฐ์สง่ิ ต่างๆ เพือ่ บำ�บัดทุกข์ภยั ให้ประชาชนคนไทย สิทธิบตั รที่ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ทรงประดิษฐ์เครือ่ งมือและจดสิทธิบตั รเสร็จสิน้ แล้ว มี 11 ชิน้ และ อีก 2 ชิน้ อยูใ่ นระหว่างยืน่ คำ�ขอจดสิทธิบตั ร มีดงั นี้ 1. เครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำ�หมุดซ้ำ�แบบทุ่นลอย (เป็นสิ่งประดิษฐ์ชื่อ “กังหันน้ำ�ชัยพัฒนา”) ยืน่ คำ�ขอวันที่ 2 มิ.ย. 2535 ประกาศวันที่ 1 ส.ค. 2535 2. การใช้น้ำ�มันปาล์มกลัน่ บริสทุ ธิเ์ ป็นน้ำ�มันเชือ้ เพลิงเครือ่ งยนต์ดเี ซล (เป็นสิง่ ประดิษฐ์ชอ่ื “น้ำ�มันไบโอดีเซล”) ยืน่ คำ�ขอวันที่ 9 เม.ย. 2544 ประกาศวันที่ 18 เม.ย. 2544 3. กระบวนการปรับปรุงสภาพดินเปรีย้ วเพือ่ ให้เหมาะแก่การเพาะปลูก (โครงการแกล้งดิน) ยืน่ คำ�ขอวันที่ 21 มิ.ย. 2550 ประกาศวันที่ 5 ก.ค. 2550 4. ระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำ�ด้วยรางพืชร่วมกับเครือ่ งกลเติมอากาศ ยืน่ คำ�ขอวันที่ 15 ก.ค. 2553 ประกาศวันที่ 29 ก.ค. 2553 5. เครือ่ งกลเติมอากาศแบบอัดอากาศและดูดน้ำ� ยืน่ คำ�ขอวันที่ 16 ม.ค. 2544 ประกาศวันที่ 19 ม.ค. 2544 6. อุปกรณ์ควบคุมการผลักดันของเหลว (ร่วมกับ มูลนิธโิ ครงการหลวง) ยืน่ คำ�ขอวันที่ 27 ธ.ค. 2545 ประกาศวันที่ 29 ก.ค. 2546 7. การดัดแปรสภาพอากาศเพือ่ ให้เกิดฝน (เป็นสิง่ ประดิษฐ์ชอ่ื “ฝนหลวง”) ยืน่ คำ�ขอวันที่ 28 ส.ค. 2545 ประกาศวันที่ 30 ส.ค. 2545 8. เครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ ยืน่ คำ�ขอวันที่ 4 พ.ค. 2553 ประกาศวันที่ 11 ส.ค. 2553 9. โครงสร้างเครือ่ งกำ�เนิดไฟฟ้าพลังงานจลน์ ยืน่ คำ�ขอวันที่ 4 พ.ค. 2553 ประกาศวันที่ 11 ส.ค. 2553 10. ภาชนะรองรับของเสียทีข่ บั ออกจากร่างกาย ยืน่ คำ�ขอวันที่ 16 ม.ค. 2546 ประกาศวันที่ 20 ก.พ. 2546 11. การใช้น�ำ้ มันปาล์มกลัน่ บริสทุ ธิเ์ ป็นน�ำ้ มันหล่อลืน่ สำ�หรับเครือ่ งยนต์ 2 จังหวะ ยืน่ คำ�ขอวันที่ 23 ส.ค. 2545 ประกาศวันที่ 11 ต.ค. 2545

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู


16 ฉบับพิเศษ

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

ประเทศไทยอีกครัง้ หนึง่ พระองค์ทรงเสด็จฯ ถึงประเทศไทยเมือ่ วันที่ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2488 อันตรงกับวันพระราชสมภพ ซึง่ ทรง มีพระชนมายุครบ 18 ปีบริบรู ณ์ ร้อยโทเจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลยเดช ใ น ค ร า ว ที่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว ภู มิพ ลอดุ ล ยเดชมหาราช ได้ทรงมีโ อกาสนิว ัติส ู่ป ระเทศไทย ใน ปีพุทธศักราช 2488 พร้อมด้วยพระบรม เชษฐาและพระบรมราชชนนีนั้น ต่อมาใน วันที่ 20 พฤษภาคม พุทธศักราช 2589 พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว อานั น ท มหิดล รัชกาลที่ 8 (พระบรมเชษฐาธิราช) ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลยเดช เป็น ร้อยโท เจ้าฟ้า ภูมิพลอดุลยเดช นายทหารพิเศษ ประจำ� กรมทหารราบที่ 1 กองพันที่ 1 มหาดเล็ก รักษาพระองค์ ตามเสด็ จ พระราชกรณี ย กิ จ พระบาท

เกร็ดประวัติศาสตร์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที่ 9 ก่อนขึ้นครองราชย์ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราชผู้เป็นที่รักของ ปวงชนชาวไทย ขึน้ ครองราชสมบัตติ อ่ จาก พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่หัว อานั น ท มหิดล รัชกาลที่ 8 (พระบรมเชษฐาธิราช) ซึ่งขณะนั้นพระองค์มีพระชนมายุเพียง 19 พรรษาเท่านัน้ ทรงเป็น “กษัตริยห์ นุม่ ” มิง่ ขวัญของปวงชนชาวไทย ซึง่ ช่วงเวลา ก่อนที่พระองค์จะเสด็จขึ้นครองราชย์น้นั มีเรื่องราวบางส่วนที่น่าสนใจรวบรวมไว้ พอสังเขป ดังนี้ เจ้าฟ้าภูมพิ ลอดุลยเดช ครั้ น เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระ ปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7 ทรงประกาศ สละราชสมบัติ เมือ่ วันที่ 2 มีนาคม พุทธศักราช 2477 รัฐบาลไทยในขณะนัน้ ได้กราบทูลเชิญ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล ซึง่ เป็นพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จเถลิงถวัลย ราชสมบัตสิ บื สันตติวงศ์ เป็นกษัตริยล์ �ำ ดับ ที่ 8 แห่งบรมราชวงศ์จกั รี ภายหลังจากทีพ่ ระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติแล้ว ในวันที่ 10 กรกฎาคม พุทธศักราช 2478 พระบาท

สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราชได้รบั สถาปนาฐานันดรศักดิข์ น้ึ เป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพล อดุลยเดช เสด็จเยีย่ มประเทศไทย พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช ทรงใช้ชวี ติ วัยเยาว์ ศึกษาอยู่ในต่างประเทศเสียเป็นส่วนใหญ่ ในปีพทุ ธศักราช 2481 ขณะทรงพระชนมายุ 11 พรรษา ได้เสด็จพระราชดำ�เนินพร้อม ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันท มหิดล รัชกาลที่ 8 (พระบรมเชษฐาธิราช) ในโอกาสเสด็จพระราชดำ�เนินกลับมาเยีย่ ม ประเทศไทย ในครัง้ นัน้ ทรงประทับ ณ พระ ตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน หลังจากเสด็จฯ ประทับในประเทศไทยเป็นเวลา 2 เดือน จึงเสด็จพระราชดำ�เนินกลับประเทศสวิต เซอร์แลนด์เพือ่ ไปศึกษาต่ออีกครัง้ การศึกษาในระดับสูง ครัน้ ถึงปีพทุ ธศักราช 2488 พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชฯ ทรง สอบไล่ได้ บาคคาโลเรอาต์ (Baccalaureat) ทีโ่ รงเรียนยิมนาสเดอโลซานน์ (Gymnase de

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

Lausanne) ในครั้งนั้นพระองค์ทรงได้รับ ประกาศณียบัตร บาเซอร์เลีย เอสเลตรส์ (BachelieresLettres) และในปีเดียวกันนัน้ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงเข้า รับการศึกษาระดับสูงต่อ ณ มหาวิทยาลัย โลซานน์ โดยทรงศึกษาในแขนงวิชาสห วิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ เสด็จนิวตั สิ ปู่ ระเทศไทย ในปีพทุ ธศักราช 2482 ในระหว่าง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชฯ ทรงประทับอยู่ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์โดยตลอดจนกระทัง่ สงครามสงบลง และในปีพุทธศักราช 2488 ทาง รั ฐ บาลได้ ก ราบบั ง คมทู ล เชิ ญ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล ซึง่ ขณะนัน้ ทรงพระชนมายุครบ 20 พรรษา เสด็จฯ กลับมาประทับเป็นมิ่งขวัญของชาวไทย และทรงปฏิ บัติพระราชภารกิจในฐานะ องค์ พ ระประมุ ข ของชาติ ด้ ว ยพระองค์ เอง ซึ่งในการเสด็จนิวัติสู่ประเทศไทยใน ครั้งนี้ ทำ�ให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงมีโอกาสนิวัติกลับ

สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั อานันทมหิดล พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ซึ่งขณะนั้นทรง ดำ�รงพระอิสริยยศเป็นพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงตามเสด็จ พระบรมเชษฐาธิราชไปประกอบพระราช กรณียกิจทุกแห่ง ไม่ว่าจะเป็นการไปเยี่ยม เกษตรกรในจังหวัดใกล้เคียง เช่น นนทบุรี ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา หรือเมื่อครั้งทรง เสด็จฯ เยีย่ มชาวไทยเชือ้ สายจีนเป็นครัง้ แรก ณ สำ�เพ็ง จ.พระนคร เมื่อ พ.ศ.2489 ซึ่ง สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (พระเชษฐา ภคิน)ี ได้ทรงตรัสไว้ในหนังสือ “เจ้านายเล็ก ๆ ยุวกษัตริย์” โดยบรรยายไว้ใต้พระบรม ฉายาลั ก ษณ์ ขณะทรงกล้องถ่ายภาพว่า “ช่างภาพที่ติดตามทุกหนทุกแห่ง และฝึก อาชีพเป็นกษัตริยโ์ ดยไม่รตู้ วั ” ขอบคุณข้อมูลจาก : หนังสือพระ ราชธรรม พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลย เดช, หนังสือ “เจ้านายเล็ก ๆ ยุวกษัตริย”์


ฉบับพิเศษ 17

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

“หนั ง สื อ ของในหลวง” พระอัจฉริยภาพด้านภาษาและวรรณกรรม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หัวภูมิพล อดุลยเดช ทรงเป็นพระมหากษัตริยน์ กั อักษรศาสตร์ ทรงสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับเรื่องศัพท์ ที่มา ของศัพท์ และรากศัพท์ อีกทั้งยังสนพระราช หฤทัยและค้นคว้าเกี่ยวกับศัพท์ภาษาบาลีและ สันสกฤต เพราะทรงเข้าพระราชหฤทัยว่า หาก เข้าใจศัพท์และทีม่ าของศัพท์แล้วจะช่วยให้เข้าใจ ความหมายของธรรมะได้ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง ยิ่ ง ขึ้ น แม้ว่าพระองค์จะทรงเจริญพระชันษาในต่าง ประเทศ แต่ก็ทรงมีพระอัจฉริยภาพในการใช้ ภาษาไทยอย่างยอดเยีย่ ม พระเกียรติคุณด้านวรรณศิลป์ เป็นที่ ประจักษ์ชัดจากภาษาและถ้อยคำ�ที่ปรากฏใน วรรณกรรม หรือในพระบรมราโชวาทและพระ ราชดำ�รัสในโอกาสต่างๆ ล้วนแสดงให้เห็นถึง ถึงพระปรีชาญาณเป็นอย่างยิ่ง พระอัจฉริยภาพด้านภาษาของพระองค์ นัน้ ปรากฏแก่สายตาชาวไทยในพระราชนิพนธ์ หลายต่อหลายเรือ่ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ พระราช นิพนธ์เรื่อง “พระมหาชนก” ที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จดั พิมพ์เนือ่ งในโอกาสการจัดงาน ฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ 50 ปี ในปีพทุ ธศักราช 2539 นัน้ ถือเป็นพระราชนิพนธ์ทส่ี �ำ คัญยิง่ สำ�หรับ คนไทย ดังพระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ว่า “...หนั ง สื อ นี้เ ป็ น ที่รัก ของข้ า พเจ้ า หนังสือนี้ไม่ีมที่เปรียบและจะเป็นที่ร่าเริงใจ ของผูอ้ า่ นต้องการใหเห็นว่า สำ�คัญทีส่ ดุ คนเรา ทำ�อะไรต้องมีความเพียร ขอจงมีความเพียร ที่บริสุทธิ์ ปัญญาเฉียบแหลม กำ�ลังกายที่ สมบูรณ์...” ที ่ มาของพระราชนิพ นธ์เรื่อง พระ มหาชนก คือเมือ่ ปีพทุ ธศักราช 2520 พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงสดับพระธรรมเทศนา เรือ่ ง“พระมหาชนก”ของสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วิน ธัมมสาโร) วัดราชผาติการาม ตอนที่ “พระ มหาชนกเสด็ จ ประพาสอุท ยานในกรุงมิถิลา ทอดพระเนตรเห็นต้นมะม่วง 2 ต้น ต้นหนึง่ มีผล พระองค์ทรงลิ้มรสมะม่วงอันโอชา และเสด็จฯ เยี่ยมอุทยาน เมื่อเสด็จกลับ ทอดพระเนตร เป็นต้นมะม่วงทีม่ ผี ล ถูกข้าราชบริพารดึงทึง้ จน โค่นล้ม ส่วนต้นทีไ่ ม่มผี ล ยังคงตัง้ ตระหง่านสง่างาม พระมหาชนกจึงทรงบังเกิดธรรมสังเวช และดำ�ริ จะเสด็จออกผนวช”

พระองค์จงึ ทรงบังเกิดความสนพระราช หฤทัย และทรงศึกษาค้นคว้าเรือ่ งพระมหาชนก ในพระไตรปิฎก (พระสุตนั ตปิฎก) ขุททกนิกาย ชาดก เล่มที่ 5 ภาคที่ 2 และทรงแปลเป็นภาษา อังกฤษตรงจากมหาชนกชาดก ตัง้ แต่ตน้ เรือ่ ง โดย ทรงดัดแปลงเล็กๆ น้อยๆ เพือ่ ให้เข้าใจง่ายยิง่ ขึน้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระ ปรีชาสามารถในการสอดแทรกสัจธรรมในตัว ละครพระมหาชนกที่ได้มีความเพียรพยายาม อุ ต สาหะอดทนในการว่ า ยนำ้� โต้ ค ลื่น อยู่ใ น มหาสมุทรกว้างใหญ่ที่มองไม่เห็นฝั่ง ผู้อ่านจะ ได้แง่คิดและรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระองค์ท่านที่ได้ทรงฝ่าฟันอุปสรรคนานัปการ ตลอดระยะเวลา 50 ปี แห่งการครองสิริราช สมบัติ เพือ่ ให้ประชาชนชาวไทยได้อยูเ่ ย็นเป็นสุข ตลอดจนได้ทรงแนะทิศทางที่ปวงชนสามารถ ดำ�รงชีวติ ได้ดว้ ยความพากเพียรโดยไม่ทอ้ แท้ ผลงานพระราชนิ พ นธ์ ข องพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังมีอีกมากมายที่ทำ�ให้ ชาวไทยรูส้ กึ ภาคภูมใิ จในพระปรีชาขององค์พระ ประมุข อีกทัง้ เนือ้ หายังมีคติสอนใจแก่ผอู้ า่ น เช่น เรือ่ ง “ทองแดง” หรือ “The Story of Thong daeng” ซึ่งเป็นพระราชนิพนธ์ที่พระองค์ทรง เปิดตัวในปีพทุ ธศักราช 2545 ทรงกล่าวถึงความ ฉลาดแสนรูข้ อง ทองแดง ทีค่ นไทยยกให้เป็นสุนขั ประจำ�รัชกาล นอกจากนีพ้ ระองค์ยงั ทรงมีผลงานแปล หนังสืออีก 2 เรือ่ ง คือ นายอินทร์ ผูป้ ดิ ทองหลัง พระ (A Man Called Intrepid), ติโต (Tito) และ เศรษฐศาสตร์ตามนัยของพระพุทธศาสนา บทที่ 4 เล็กดีรสโต จาก Small is Beautiful เหตุผลทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเลือกวรรณกรรมต่างๆ เหล่านีม้ าแปล เพราะ ทรงมีพระราชประสงค์ให้คนไทยมีความเป็นอยูท่ ่ี ดี โดยมีกระแสรับสัง่ ถึงวรรณกรรมทัง้ สองเรือ่ งว่า “อยากให้คนไทยเห็นว่าถ้าเราทำ�ดี เรา จะไม่เป็นเหมือนเขา” โดยเฉพาะเรื ่ อ ง ติ โ ต ของ ฟิ ล ลิ ส ออตี (Phyllis Auty) เรื่องราวชีวประวัติของ อดีตประธานาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย ติโต หรือ โยซิป โบรซ ผูท้ ต่ี อ่ สูเ้ พือ่ ชาติซง่ึ ถูกคุกคามในช่วง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 พระราชนิพนธ์เรือ่ ง นายอินทร์ ผูป้ ดิ ทอง หลังพระ และ ติโต นอกจากจะแสดงให้ประจักษ์

ถึงพระอัจฉริยภาพในการแปลแล้ว ยังจะเข้าใจ ถึงพระราชประสงค์ทจ่ี ะให้คนไทยได้รจู้ กั เรือ่ งราว ของมหาบุรษุ โลกอีกด้วย วิธีการแปลของพระองค์จะทรงอ่าน รวดเดียวจนจบว่า ผูเ้ ขียนนัน้ ต้องการสือ่ ความ คิดใด และจึงทรงอ่านรายละเอียดทีละตอน เพือ่ ถ่ายทอดความคิด ทรงแปลวันละเล็กละน้อย โดย ทรงกำ�กับด้วยว่าวันใดแปลจากตอนใดถึงตอน ใด ทรงใช้เวลามาก เป็นการแปลที่ละเอียดและ

มีขอ้ ความทีเ่ ป็นพระราชวินจิ ฉัยทีท่ รงแทรกเอา ไว้ในหลายๆ ตอน เพือ่ อธิบายเพิม่ เติมให้คนอ่าน ไทยได้เข้าใจชัดเจนยิง่ ขึน้ พระอั จ ฉริ ย ภาพด้ า นภาษาและ วรรณกรรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้กลายเป็นแรงบันดาลใจทีส่ �ำ คัญสำ�หรับบรรดา กวีหรือนักเขียนชาวไทย ทีย่ ดึ เอาพระองค์เป็น แบบอย่างในการสร้างสรรค์ผลงานทีม่ คี ณ ุ ค่าแก่ สังคมไทยจนถึงปัจจุบนั

พิพิธภัณฑ์ ที่รวบรวมพระราชประวัติและ

พระราชกรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที๙่

๑. พิพิธภัณฑ์การเกษตรเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

๒. พิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงที่ ๑ (ฝาง)

๓. พิพิธภัณฑ์อู่เรือหลวงเฉลิมพระเกียรติ ๘๔ พรรษา

๔. หออัครศิลปิน

สถานที่ตั้ง: หมู่ ๑๓ ถนนพหลโยธิน หลักกิโลเมตรที่ ๔๖-๔๘ ตรงข้ามโรงพยาบาลนวนคร ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ๑๒๑๒๐ โทรศัพท์: ๐๒-๕๒๙-๒๒๑๒ สถานที่ตั้ง: พิพิธภัณฑ์โรงงานหลวงที่ ๑ (ฝาง) 72 หมู่ 12 บ้านยาง ตำ�บลแม่งอน อำ�เภอ ฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 50320 โทรศัพท์: ๐๕-๓๐๕-๑๐๒๑ สถานที่ตั้ง: กรมอู่ทหารเรือ เลขที่ 2 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์: ๐๒-๔๗๕-๕๓๖๘

สถานที่ตั้ง: ถ.เลียบคลองห้า ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์: ๐๒-๙๘๖-๕๐๒๐-๔ ๕. หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ภูมิพลอดุลยเดช

สถานที่ตั้ง: หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี โทรศัพท์: ๐๒-๙๐๒-๗๙๔๐ ต่อ ๑๑๑, ๑๑๓

๖. หอรัชมงคล สวนหลวง ร.๙

๗. ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ

๘. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ

๙. พิพิธภัณฑ์เฉลิมพระเกียรติ เขื่อนภูมิพล

สถานที่ตั้ง: สวนหลวง ร.๙ แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ ๑๐๒๕๐ โทรศัพท์: ๐-๒๓๒๘-๑๓๘๕-๖ , ๐-๒๓๒๘-๑๓๙๒ สถานที่ตั้ง: โครงการศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ 98/1 หมู่ 2 บ้านท่าด่าน ตำ�บล หินตั้ง อำ�เภอ เมืองนครนายก นครนายก 26000 โทรศัพท์: ๐๓-๗๓๘-๔๐๔๙ สถานที่ตั้ง: ถ.สายฉะเชิงเทรา-กบินทร์บุรี อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา 24120 โทรศัพท์: ๐๓-๘๕๙-๙๑๐๕-๖ สถานที่ตั้ง: อาคารเฉลิมพระเกียรติ เขื่อนภูมิพล หมู่ 6 ตำ�บลสามเงา อำ�เภอสามเงา จังหวัดตาก 63130 โทรศัพท์: ๐๕-๕๕๔-๙๕๑๐

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู


18 ภาคพิเศษ

พระอัจฉริยภาพ

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

“ในหลวง” รัชกาลที่ ๙

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทานความรักอันยิง่ ใหญ่แก่อาณาประชาราษฎร์ พระราชภารกิจอันหนักเพือ่ ประโยชน์สขุ ของอาณาประชาราษฎร์ ปรากฏเป็นทีป่ ระจักษ์เทิดทูน พระเกียรติคณ ุ ทัง้ ในหมูช่ าวไทยและชาวโลก จึงทรงได้รบั การสดุดแี ละการทูลเกล้าฯถวายปริญญา กิตติมศักดิเ์ ป็นจำ�นวนมาก ทุกสาขาวิชาการ ทัง้ ยังมีพระอัจฉริยภาพด้านดนตรีอย่างสูงส่ง ทรง พระราชนิพนธ์เพลงอันไพเราะนับแต่พระเยาว์จนถึงปัจจุบนั รวม ๔๗ เพลง ซึง่ นักดนตรีทง้ั ไทย และต่างประเทศนำ�ไปบรรเลงอย่างแพร่หลาย เป็นที่ประจักษ์ในพระอัจฉริยภาพจนสถาบัน ดนตรีในออสเตรเลีย ได้ทลู เกล้าฯถวายสมาชิกภาพกิตติมศักดิแ์ ด่พระองค์ นอกจากนัน้ ยังทรงเป็นนักกีฬาชนะเลิศรางวัลเหรียญทอง ในการแข่งขันกีฬาชีเกมส์ ทรงได้รับยกย่องเป็น “ อัครศิลปิน” ของชาตินอกจากทรงพระปรีชาสามารถด้านดนตรีแล้ว ยังทรงสร้างสรรค์งานจิตกรรมและวรรณกรรมอันทรงคุณค่าไว้เป็นทรัพย์สนิ ทาง ปัญญาของชาติ เช่น ทรงพระราชนิพนธ์แปลเรื่อง ติโตนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ และพระราชนิพนธ์เรื่อง ชาดก พระมหาชนก พระราชทานคติธรรมในการดำ�รงชีวติ ด้วยความวิรยิ อุตสาหะ อดทนจน พบความสำ�เร็จแก่พสกนิกรทัง้ ปวง ปวงชนชาวไทยต่างมีความจงรักภัคดีเป็นทีย่ ง่ิ ดังปรากฏว่า ในวาระสำ�คัญ เช่น ศุภวาระ เถลิงถวัลยราชครบ ๒๕ ปี พระราชพิธรี ชั ดาภิเษก ๙ มิถนุ ายน ๒๕๑๔ พระราชพิธมี หามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐ พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ทรงดำ�รงค์ สิรริ าชสมบัตยิ าวนานกว่าพระมหากษัตริยท์ กุ พระองค์ ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๑ มหามงคลสมัย ฉลองสิรริ าชสมบัตคิ รบ ๕๐ ปี ๙ มิถนุ ายน ๒๕๓๙ และในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ นี้ รัฐบาลและประชาชนชาวไทย ได้พร้อมใจ กันจัดงานเฉลิมพระเกียรติและถวายพระพรชัยมงคล ด้วยความกตัญญูกตเวที สำ�นึกในพระ มหากรุณาธิคณ ุ ล้นเกล้าล้นกระหม่อม อย่างสมพระเกียรติทกุ

“อัครศิลปิน”

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงมี พระอัจฉริยภาพในศิลปะด้านต่างๆ เมือ่ วันที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๙ คณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ สำ�นักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ น้อมเกล้าฯ ถวายพระราชสมัญญา “อัคร ศิลปิน” แด่พระองค์ ณ พระตำ�หนักจิตรลดา รโหฐานพระราชวังดุสติ พระราชสมัญญา “อัครศิลปิน” แปล ตามศัพท์ว่า “ผู้มีศิลปะอันเลอเลิศ” หรือ “ผูเ้ ป็นใหญ่ในศิลปิน” พระองค์ทรงเป็นเลิศใน ศิลปะทั้งมวล ทรงได้รับการยกย่องสดุดีพระ เกียรติคณ ุ ทัง้ จากพสกนิกรและศิลปินทัว่ โลก ในพระปรีชาสามารถอย่างหาที่เปรียบมิได้ ทรงเป็นเอตทัคคะในศิลปะหลายสาขา อาทิ ด้านจิตรกรรม จิตรกรรมฝีพระหัตถ์ มีจ�ำ นวนถึง ๔๗ ภาพ สามารถจำ�แนกได้ ใน ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ได้แ ก่ ภาพเหมือนจริง (realistic) เอ็กซ์เพรสชัน่ นิสม์ (expressionism) และศิลปะแบบนามธรรม (abstractionism) ด้านประติมากรรม ประติมากรรมฝี พระหัตถ์เป็นประติมากรรมลอยตัว (round relief) ได้แก่ รูปปัน้ ดินน�ำ ้ มันเป็นรูปผูห้ ญิงเปลือย นัง่ คุกเข่า และพระรูปปัน้ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ด้านการถ่ายภาพ ทรงสนพระราช

หฤทัยในการถ่ายภาพมาตั่งแต่ยังทรงพระ เยาว์ ทรงฝึกฝนด้วยพระองค์เองจนทรงเป็น นักถ่ายรูปผู้มีพระปรีชาสามารถยิ่ง ทรงสน พระราชหฤทัยทีจ่ ะคิดค้นหาเทคนิคใหม่ ๆ ใน การถ่ายภาพอยูเ่ สมอ ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์สว่ น ใหญ่เป็นภาพสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินนี าถ พระบรมวงศานุวงศ์ และภาพถ่าย สถานทีท่ พ่ี ระองค์เสด็จเยีย่ มราษฎร เป็นต้น ด้านหัตถศิลป์ ทรงสนพระราชหฤทัย ในงานช่ า งได้ ท รงประดิ ษ ฐ์ ข องเล่ น ด้ ว ย พระองค์เอง เช่น เครื่องร่อน และเรือรบ จำ�ลอง เป็นต้น โปรดทีจ่ ะต่อเรือใบฝีพระหัตถ์ ทีส่ �ำ คัญมี ๓ ประเภท ได้แก่ เรือใบประเภท เอ็นเตอร์ไพรส์ (International Enterprise Class) เรือใบประเภทโอเค (Internatinal OK Class) และเรือใบประเภทม็อธ (Interna-

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

tional Moth Class) ด้านดุรยิ างคศิลป์ ทรงพระปรีชาสามารถ ในการทรงเครือ่ งดนตรีหลายชนิดโดยมีเครือ่ ง ดนตรีทโ่ี ปรด ปรานเช่น แซกโซโฟน คลาริเน็ต และทรัมเป็ต นอกจากนีย้ งั ทรงกีตาร์และเปียโน โดยพระองค์ท่านได้ทรงดนตรีกับนักดนตรีท่ี มีชอ่ื เสียงระดับโลกมากมาย อาทิ เบนนี่ กูด๊ แมน (Benny Goodman) ยอดนักคลาริเน็ตชือ่ ก้องโลก หลุยส์ อาร์มสตรอง (Louis Armstrong) นักเป่าทรัมเป็ต เจ๊ก ทีการ์เดอร์ (Jack Teagarder) นักตีระนาดเหล็กสากล สแตน เก็ตส์ (Stan Getz) นักเป่าแซกโซโฟนชือ่ ดัง ทรงสน พระราชหฤทัยวิชาดนตรีอย่างจริงจังและทรง ศึกษาอย่างลึกซึง้ จนถึงการ เขียนโน้ตและการ บรรเลงแบบคลาสสิก ด้านวรรณศิลป์ และวาทศิลป์ พระ

อัจฉริยภาพด้านวรรณศิลป์จะเห็นได้จากผล งานพระราชนิพนธ์ซง่ึ ถึงแม้จะมี จำ�นวนไม่มาก แต่ก็เป็นผลงานที่แสดงทั้งความสนพระราช หฤทัยในเรือ่ งต่าง ๆ และพระปรีชาสามารถใน การถ่ายทอดเรือ่ งนัน้ ๆ ออกมาเป็นตัวอักษร พระราชนิพนธ์เล่มแรก ได้แก่ พระราชานุกจิ รัชกาลที่ ๘ พระราชนิพนธ์แปล ได้แก่ นาย อินทร์ผปู้ ดิ ทองหลังพระ และติโต นอกจาก นี้ยังทรงเขียนบทความที่พระราชนิพนธ์แปล และเรียบเรียงอีกจำ�นวน ๑๐ บทความ ด้านภูมิสถาปัตยกรรม งานภูมิทัศน์ และการออกแบบของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั เป็นงานทีม่ กั จะพระราชทาน พระราชดำ�ริ พระราชวินจิ ฉัย หรือพระราช ประสงค์ให้คณะทำ�งานรับไปปฏิบตั ิ โดยมีได้ ทรงปฏิบตั เิ องดังเช่นงานช่างกลุม่ อืน่ ๆ


ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559

ฉบับพิเศษ

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

19


20 ฉบับพิเศษ

วารสารประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรม-หอการค้า จังหวัดหนองบัวลำ�ภู

ประจำ�เดือน พฤศจิกายน พุทธศักราช 2559


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.