การประชุมรับฟังความคิดเห็น
ร่างยุทธศาสตร์ชาติเบื้องต้น กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่1 งชาติ
สถานการณ์และแนวโน้ม ใน20 ปี ข้างหน้า
กรอบการนาเสนอ
กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน 2
สถานการณ์และแนวโน้ม ใน 20 ปีข้างหน้า
กระแสโลกาภิวัตน์ ส่งผลให้มกี ารเคลือ่ นย้ายเสรี ของคน เงินทุน ข่าวสาร เทคโนโลยี สินค้าและบริการ
ศูนย์รวมอานาตทางเศรษฐกิจย้ายมาเอเชีย การรวมกลุ่มของเศรษฐกิจ
การเปลี่ ยนแปลงอย่ างก้ าวกระโดดของ เทคโนโลยี ส่งผลต่อธุรกิจและชีวิตของประชาชน
ภาวะโลกร้อนและสภาพภูมิอากาศที่ผันผวน ก่อให้เกิดภัยธรรมชาติที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น เป็ นแรงกดดั นให้ มี การผลิ ตและการบริ โภคที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
กระแสการเปลี่ยนแปลงไปสู่การใช้พลังงาน สะอาดและพลังงานทดแทนมากขึ้น
ภัยความมั่นคงในรูปแบบใหม่ ก่อการร้าย ไซเบอร์ โรคอุบัติใหม่
การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลกและการแย่ง ชิงแรงงาน และเงินทุน หลักบริหารจัดการที่ดีของระบอบประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชนมีความเข้มข้น 3
ภัยธรรมชาติ
ปัญหาความมั่นคงซับซ้อนมากยิ่งขึน
เศรษฐกิจขยายตัวช้า
ความเสื่อมโทรม
สถานการณ์และแนวโน้ม ใน 20 ปีข้างหน้า
โครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างสมบูรณ์ วัยเด็กและวัยทางานลดลง
ความมั่นคงชายแดน
ความเหลื่อมลา้
ความเหลื่อมลาในหลายมิติ ส่งผลต่อการ สร้างความสามัคคีในสังคม และเป็น ข้อจากัดต่อการยกระดับศักยภาพทุนมนุษย์ ข้อจากัดด้านทรัพยากรธรรมชาติและ แรงงาน ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตและ ความเป็นอยู่ของประชาชน ความอ่อนแอของการบริหารราชการแผ่นดิน
4
ตัวอย่างยุทธศาสตร์ระยะยาวของต่างประเทศ
ประเทศไทย ยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี (2560-2579)
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ฝรั่งเศส แนวทางการพัฒนาประเทศฝรั่งเศส ระยะ 10 ปี (2015-2025)
กาน่า
เมียนมาร์
แผนพัฒนาประเทศ 20 ปี (2010 - 2030)
สิงคโปร์
วิสัยทัศน์ 2020
นามีเบีย
ยุทธศาสตร์พัฒนาสิงคโปร์น่าอยู่ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 20 ปี
ไต้หวัน
แผนยุทธศาสตร์ 10 ปีทอง (2008– 2018)
มาเลเซีย แผนพลิกโฉมประเทศ 20 ปี (2020 - 2050)
วิสัยทัศน์ 2030
5
สถานการณ์และแนวโน้ม ใน20 ปี ข้างหน้า
กรอบการนาเสนอ
กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน 6
กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์ รั ฐ จั ด ให้ มี ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ เ ป็ น เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่ งยืน เพื่อเป็น กรอบในการจัดทาแผนต่างๆ เกิดการผลักดันไปสู่ เป้าหมายเดียวกัน
มาตรา 142 การเสนอร่างพระราชบัญญั ติ งบประมาณรายจ่ ายประจ าปีงบประมาณ ต้ อง ค ว าม ส อด ค ล้ องกั บ ยุ ทธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ แล ะ แผนพัฒนาต่างๆ
มาตรา 162 คณะรัฐ มนตรีที่จ ะเข้ าบริหาร ราชการแผ่นดินต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา ซึ่ง ต้องสอดคล้องกับหน้าที่ของรัฐ แนวนโยบายแห่ง รัฐ และยุทธศาสตร์ชาติ
มาตรา 270
ให้ วุ ฒิ ส ภา มี ห น้ า ที่ แ ละอ านาจติ ด ตาม เสนอแนะ เร่งรัดการจัดทาและดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ มาตรา 275 ให้มีดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์ชาติให้แล้ว เสร็จ ภายใน 1 ปี
มาตรา 6 ยุทธศาสตร์ชาติอย่างน้อยต้องประกอบด้วย (1) วิสัยทีศน์พัฒนาประเทศ (2) เป้าหมายการพมนา ประเทศระยะยาว กาหนดระยะเวลา และตัวชีวัด (3) ยุทธศาสาตร์ด้านต่างๆ
มาตรา 8 ให้คณะกรรมการจัดให้
ประชาชน ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการรับฟังความ คิดเห็นเมื่อจัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติแล้วเสร็จ เบืองต้น เพื่อแก้ไขปรับปรุง
มาตรา 16 ให้แต่งตังคณะกรรมการ จัดทายุทธศาสตร์ชาติ ขึนเพื่อพิจารณา จัดทาร่างยุทธศาสตร์ชาติในด้านต่างๆ
มาตรา 28
ให้คณะกรรมการจัดทา ยุทธศาสตร์ชาติด้านต่างๆ แก้ไขเพิ่มเติมร่าง ยุทธศาสตร์ให้สอดคล้องกับผลการรับฟัง ความคิดเห็น
พรบ. จัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560
มาตรา 65
7
ระดับของแผน ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทย พ.ศ. 2561
1 2
3
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
“แผนแม่บทด้าน........”
แผนปฏิรูปประเทศ ด้าน ...
“แผนพัฒนา........”
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ
แผนความมั่นคง
“แผนปฏิบัติการด้าน ........... ระยะที่ ... (พ.ศ. .... - ....)”
แผนอื่น ๆ
8
กรอบระยะเวลาการดาเนินงานตามกฎหมาย 24 มกราคม 61
9 เมษายน 61
8 มิถุนายน 61
18 กรกฎาคม 61
การจัดทาร่าง ยุทธศาสตร์ชาติ แล้วเสร็จ
คจย. ด้านต่าง ๆ แก้ไข เพิ่มเติมร่างฯ และ เสนอต่อคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์ชาติ
ครม.พิจารณา ร่างยุทธศาสตร์ชาติ และเสนอต่อ สนช.
นรม. นาร่างฯ ที่ สนช. ให้ความเห็นชอบแล้ว ขึนทูลเกล้าฯ ถวาย
1
3
5
7
2
4
สศช. ดาเนินการ รับฟังความเห็น ร่างยุทธศาสตร์ชาติ แล้วเสร็จ
6
คยช. พิจารณา ร่างยุทธศาสตร์ชาติ และเสนอต่อ ครม.
สนช. พิจารณาให้ ความเห็นชอบ ร่างยุทธศาสตร์ชาติ
23 กุมภาพันธ์ 61
9 พฤษภาคม 61
8 กรกฎาคม 61
สถานการณ์และแนวโน้ม ใน20 ปี ข้างหน้า
กรอบการนาเสนอ
กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน 10
วิสัยทัศน์ประเทศไทย 2579 “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
การสร้างความมั่นคงในทุกระดับ
มีการขยายตัวของ สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต เป็นคนในศตวรรษที่ 21 ภาครัฐของประชาชน สร้างโอกาสและ เศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่สมบูรณ์ เพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม ความเสมอภาคทางสังคม
มั่นคง • มี ค วามมั่ น คงปลอดภั ย จากภั ย และการเปลี่ ย นแปลง ทังภายในประเทศและภายนอกประเทศและ มีความมั่นคง ในทุกมิติ ทังมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง • ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย • สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี ประชาชน มีความ มั่นคงในชีวิ ต มี งานและรายได้ ที่มั่ นคง มี ที่อยู่อาศัยและ ความปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สิน • มีความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และนา
มั่งคั่ง
ยั่งยืน
• การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ ด้านรายได้ และ • ประเทศไทยมีก ารขยายตัวของเศรษฐกิจอย่ างต่อเนื่อง ยกระดับเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สงู ความเหลื่อมลาของการ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยไม่ ใ ช้ พัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่าง ทรัพยากรธรรมชาติเกิน พอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เท่าเทียมกัน • มี ก ารผลิ ต และการบริ โ ภคเป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มและ • เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สร้างเศรษฐกิจและ สอดคล้องกับกฎระเบียบของประชาคมโลก สังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเชื่อมโยงในภูมภิ าค • คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มุ่ งประโยชน์ส่ วนรวมอย่าง ทังการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน ยั่งยืน ทุกภาคส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญา • มีความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาต่อเนื่อง อาทิ ของเศรษฐกิจพอเพียง 11 ทุนมนุษย์ ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน แ ล ะ ทุ น อื่นๆ
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
1. ด้านความมั่นคง เพื่อบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของ ประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย และ มีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ และ ทุกมิติ
2. ด้านการสร้างขีดความสามารถ ในการแข่งขัน เ น้ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ ศั ก ย ภ า พ ใ น หลากหลายมิ ติ ควบคู่ กั บ การขยาย โอกาสของประเทศไทยในเวทีโลก
3. ด้านพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ คนไทยในอนาคต มีความพร้อมทังกาย ใจ สติ ปั ญ ญา มี ทั ก ษะที่ จ าเป็ น ใน ศ ต ว ร ร ษ ที่ 2 1 มี ทั ก ษ ะ สื่ อ ส า ร ภาษาอั ง กฤษและภาษาที่ 3 และมี คุณธรรม
01
การปรับเปลี่ยนภาครัฐ ยึดหลัก “ภาครัฐ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เ พื่ อ ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ประโยชน์ส่วนรวม”
06
02
5. ด้านการสร้างการเติบโตบน คุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
05 03
04
ค า นึ ง ถึ ง ค ว า ม ยั่ ง ยื น ข อ ง ฐ า น ทรั พ ยา ก รธ รร มชาติ แ ละสิ่ ง แ วดล้ อ ม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนให้เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผ่านมาตรการต่าง ๆ ที่ มุ่งเน้นให้เกิดผลลัพธ์ต่อความยั่งยืน
4. ด้านการสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม
สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมลา ในทุกมิติ กระจายศูนย์กลางความเจริญทาง เศรษฐกิ จและสัง คม เพิ่ม โอกาสให้ทุ กภาค ส่วนเข้ามาเป็นกาลังของการพัฒนาประเทศ ในทุกระดับ
12
สถานการณ์และแนวโน้ม ใน20 ปี ข้างหน้า
กรอบการนาเสนอ
กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ประเทศไทย ยุทธศาสตร์ชาติ 6 ด้าน 13
ยุทธศาสตร์ที่ 14
ระยะ
01
1 2
ปรับสภาพแวดล้อม พร้อมแก้ปัญหา พ.ศ. 2560 - 2564 • ปัญหาได้รับการแก้ไขแบบ บูรณาการ • หน่วยงานด้านความมั่นคง ได้รับการพัฒนาศักยภาพ • ประชาชนมีความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน
ปัญหาเก่าหมดไป ปัญหาใหม่ไม่เกิด
ระยะ
02
พ.ศ. 2565 - 2569 • ประชาชนมีความมั่นคง ปลอดภัย • หน่วยงานด้านความมั่นคงมี ประสทธิภาพ • ประเทศมีบทบาทสาคัญระดับ ภูมิภาค
การรักษาความสงบภายในประเทศ • ให้สถาบันหลักมีความมั่นคง ยั่งยืน • ประชาชนอยู่ดีมีสุข มีความมั่นคงปลอดภัย • สังคมเข้มแข็ง สามัคคีปรองดอง
ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง • แก้ไขปัญหาเดิมที่มีอยู่อย่างตรงประเด็น • ป้องกันไม่ให้ปัญหาใหม่เกิดขึน • การบริหารจัดการและการพัฒนาประเทศโดย ใช้ SEP for SDGs
ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข
ประเทศชาติพัฒนา ปวงประชาร่วมผลักดัน
ระยะ
03
พ.ศ. 2570 - 2574 • ประชาชนมีส่วนร่วมในการ พัฒนา • ปัญหาความมั่นคงไม่ส่งผล ต่อการบริหารประเทศ • บ้านเมืองสงบเรียบร้อย การเมืองมีธรรมาภิบาล
3
พัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญ ภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคงของชาติ
4
บูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียน และนานาชาติรวมถึงองค์กรภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
• ยกระดับขีดความสามารถของกองทัพ • ติดตาม ป้องกัน แก้ไขปัญหาความมั่นคงทุก มิติทุกรูปแบบและทุกระดับแบบบูรณาการ
ระยะ
04
5
พ.ศ. 2575 - 2579 • ประชาชนมีความมั่นคงและมี ความสุข • บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติ • ประเทศไทยมีบทบาทเป็นที่ ยอมรับโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ
พัฒนากลไกการบริหารจัดการ ความมั่นคงแบบบูรณาการ
• สร้างเสริมความสงบ สันติสุข ความมั่นคง และความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน • ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่าง ประเทศที่จะรองรับปัญหาร่วมกันได้
• ยกระดับขีดความสามารถของกองทัพ • ติดตาม ป้องกัน แก้ไขปัญหาความมั่นคงทุก มิติทุกรูปแบบและทุกระดับแบบบูรณาการ 15
ยุทธศาสตร์ที่ 16
15,000 USD
GDP ร้อยละ 5 /ปี
01
02
03
เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีรายได้ต่อหัวมากกว่า 15,000 USD
อัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภายในประเทศ
ผลิตภาพการผลิตรวม เฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 3 ต่อปี
ต่อคนต่อปี
1 2
เฉลี่ยไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 ต่อปี
มหาอานาจทางการเกษตร เพิ่ ม ผลิ ต ภาพการผลิ ต ทั งเชิ ง ปริ ม าณ มู ล ค่ า ความ หลากหลายของสินค้าเกษตร และสร้างฐานอนาคตใหม่ ที่สร้างรายได้สูง
อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต เปลี่ยนแปลงพืนฐานโครงสร้างอุตสาหกรรมและบริการด้วย นวัตกรรมและเทคโนโลยีแห่งอนาคต เพิ่มบุคลากรที่มีทกั ษะ และความรู้ตามความต้องการของตลาด
3 4
แม่เหล็กการท่องเที่ยวระดับโลก
พัฒนาธุรกิจด้านการท่องเที่ยวให้มีมูลค่าสูง ด้วยอัตลักษณ์ และวัฒนธรรมไทย สร้างสรรค์คุณค่าทางเศรษฐกิจและ ความหลากหลายของการท่องเที่ยว
โครงสร้างพืนฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก พัฒนาด้านโครงข่ายคมนาคม พืนที่และเมือง รวมถึง เทคโนโลยี เพื่ออานวยความสะดวกและลดต้นทุนในการ เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน บุคลากร และเชื่อมโยง ประเทศไทยกับประชาคมโลก
04
ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 1 ใน 20
ของการจัดอันดับความสามารถ ในการแข่งขันของ IMD
5
สร้างนักรบเศรษฐกิจยุคใหม่
• สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการทีม่ ี ทักษะและมีความสามารถในการ แข่งขันที่มีอัตลักษณ์ชัดเจน • มีนวัตกรรมในการสร้างโมเดลธุรกิจ สินค้าและบริการ และกระบวนการ ผลิตและบริการ
17
ยุทธศาสตร์ที่ 18
ใจ
สติปัญญา
• มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ สังคมและผู้อื่น • มีคุณธรรมสาหรับ “คนไทย” • รักษาความเป็นไทย เข้าใจ สังคมไทยและสังคมโลก • ยอมรับความแตกต่าง
• มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 • มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและ ภาษาที่ 3 • มีนิสัยรักการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองตลอดเวลา
01
1 2
ปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝัง ค่านิยมวัฒนธรรมที่พึงประสงค์
พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ให้มีศักยภาพ มีทักษะความรู้ เป็นคนดี มีวินัย มีความรอบรู้ทางการเงิน มีความสามารถใน การวางแผนชีวิตที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย
กาย • มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน ตังแต่อยู่ในครรภ์ • มีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย • สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง • รักการเล่นกีฬา
3
โดยการพัฒนาระบบการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
4
ตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ ที่หลากหลาย
อาทิ ภาษา ตรรกะและคณิตศาสตร์ ดนตรี กีฬา สร้างเสริมศักยภาพผู้มีความสามารถพิเศษให้ สามารถต่อยอดการประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง
• ครอบครัวไทย จะต้องมีสั่งสอน ดูแลเยาวชนในครอบครัวได้ • ไม่ยอมรับการทุจริตคอร์รัปชั่น • ระบบนิเวศที่สนับสนุนการเรียนรู้ สังคมที่มีความสุข
04
03
02 ปฏิรูปการเรียนรู้แบบพลิกโฉม
สภาพแวดล้อม
5 6
เสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี ทังกาย ใจ สติปัญญา และสังคม ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการสร้าง เสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
สร้างสภาพแวดล้อมที่เอือต่อการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
7
เสริมสร้างศักยภาพการกีฬา ในการสร้างคุณค่าทางสังคม และพัฒนาประเทศ
ใช้กิจกรรมนันทนาการและกีฬาในการ เสริมสร้างสุขภาวะ พัฒนาทักษะด้านกีฬาสูค่ วามเป็นเลิศ และเป็นอาชีพในระดับนานาชาติ
ส่งเสริมบทบาทในการมีสว่ นร่วมของ ภาครัฐ ภาคเอกชน ครอบครัวและ ชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 19
ยุทธศาสตร์ที่ 20
1 2 1 2
ความแตกต่างของรายได้ ร้อยละ 10 ของคนรวย ที่สุด และจนที่สุด ไม่เกิน 15 เท่า ดัชนีความก้าวหน้าของ คน (HAI) ทุกจังหวัด ไม่ต่ากว่า 0.60
HAI
3 4
พัฒนาจังหวัดศูนย์กลาง ไม่น้อยกว่า 15 จังหวัด
แรงงานได้รับสวัสดิการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
5
สัดส่วนสตรีในทางการเมือง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 สัดส่วนสตรีในตาแหน่ง บริหารในหน่วยงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
6
การลดความเหลื่อมลา สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ • ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก กระจายการถือครองทรัพย์สิน โดยการปฏิรูประบบภาษี • สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย • ลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้าเพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุม่ ผู้ดอ้ ยโอกาสโดยตรง
การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม
• • • •
กาหนดจังหวัดหลักที่จะเป็นศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม กาหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละกลุม่ จังหวัดในมิติต่างๆ จัดระบบเมืองที่เอือต่อการสร้างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัย ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ทุกตาบลมี ผู้ประกอบการด้าน การเกษตร อย่างน้อย 5 กลุ่ม
7 8
ครัวเรือนมี ที่อยู่อาศัยที่มั่นคง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
9
ชุมชนท้องถิ่นเข้มแข็ง การพึ่งตนเองและ จัดการตนเองเพิ่มขึ้น
ดัชนีคุณภาพภาวะ ประชากรสูงอายุ ไม่ต่ากว่า ร้อยละ 70
3
การเสริมสร้างพลังทางสังคม
4
การเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนาการพึ่งตนเอง และการจัดการตนเอง
• • • •
สร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปัน ไม่ทอดทิงกัน และมีคุณธรรม จัดตังกองทุนที่มีการระดมทุนร่วมระหว่างรัฐ เอกชน วิชาการ ประชาชนและประชาสังคม เตรียมการรองรับสังคมสูงวัย ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร้างสรรค์สงั คม
• เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง • ปรับดุลอานาจระหว่างประชาชนกับนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐเพื่อสร้าง ประชาธิปไตยระดับฐานรากชุมชน
21
ยุทธศาสตร์ที่ 22
เติบโต สมดุล ยั่งยืน
ยุ ท ธศาสตร์
เป็นประเทศพัฒนาแล้วที่มีคุณภาพชีวิตและสิง่ แวดล้อมที่ดีที่สุดในอาเซียนในปี พ.ศ.2579
6 1
ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศไทย
2
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน บนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว บนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
5
3
สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน บนสังคมเศรษฐกิจที่เป็นมิตร ต่อสภาพภูมิอากาศ
4
พัฒนาพืนที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
พัฒนาความมั่นคงทางนา พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 23
ยุทธศาสตร์ที่ 24
เป้าหมายยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
1
ความพึงพอใจของประชาชน ต่อการให้บริการสาธารณะ ของภาครัฐ
1
2
อันดับ
10
30
80
2
ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็น ศูนย์กลาง ตอบสนองความ ต้องการ และให้บริการอย่าง สะดวกรวดเร็ว โปร่งใส ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการ โดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย และเชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพืนที่
รายจ่าย บุคลากรภาครัฐ
1
ไม่ต่ากว่า
ไม่เกิน ร้อยละ
ไม่น้อยกว่า ร้อยละ
สูง
ใน 20
ของโลก
3
ระดับ
ประสิทธิภาพของภาครัฐ จากการสารวจของ IMD
4
การรับรู้การทุจริตของ ประเทศไทย ของ CPI
3
ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เปิดกว้าง ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาค ส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประเทศ
5
บุคลากรภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม มีจิตสานึก มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็น มืออาชีพในการพัฒนาประเทศ
4
ภาครัฐมีความทันสมัย ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงและ มีขีดสมรรถนะสูง
6
ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทุกภาคส่วนร่วมต่อต้านการทุจริต
5 7 8
ดัชนีนิติธรรม ของ World Justice Project (WJP) ทุกองค์ประกอบ
ภาครัฐดูแลให้มีการปฏิบัติ ตามและบังคับใช้กฎหมาย อย่างเคร่งครัด กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิ มนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชน โดยเสมอภาค น่าเชื่อถือ โปร่งใส ตรวจสอบได้ 25
ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ ... http://www.nesdb.go.th
เอกสารประกอบการรับฟังความคิดเห็น ร่างยุทธศาสตร์ 20 ปี
PPT รับฟังความคิดเห็น ร่างยุทธศาสตร์ 20 ปี 26