Corporate identity Media Arts Manual

Page 1


ค�ำน�ำ

ค�ำน�ำ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี โครงการร่วบริหารหลักสูตร จึงได้เปิดหลักสูตร ศิลปบัณฑิต สาขาวิชามีเดียอาตส์ (Bachelor of Fine Arts Program in Media Arts ) ขึ้น เพื่อผลิต บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ และคุณภาพ โดยแบ่งเป็น 3 เอกวิชา คือ แอนิเมชั่น (Animation) ,เทคนิคภาพเพื่อการผลิต ภาพยนตร์ (Visual Effects) และ การถ่ายภาพถ่ายดิจิทัลและการออกแบบกราฟิก (Digital Photography and Graphic Design) โดยทางสาขาวิชามีเดียอาตส์ จะมุ่งเน้นให้บัณฑิตมีความสามารถทางปัญญาแห่งศาสตร์ทางศิลปะและการออกแบบ ที่เน้นทางด้านแอนิเมชั่น ด้านเทคนิคภาพเพื่อการผลิตภาพยนตร์ และด้านการถ่ายภาพถ่ายดิจิทัลและการออกแบบกราฟิก ซึ่ง ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน จากสถานการณ์ทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จาเป็นต้องพัฒนาคนให้มีคุณภาพคุณธรรม มีความรอบรู้ และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ด้วยเหตุนี้ การจัดการศึกษาจึงควรตอบสนองพันธกิจของสถาบันเพื่อเป็นการ เตรียมทรัพยากรบุคคลให้รองรับต่อการพัฒนาประเทศ และบุคลากรที่จะสามารถนาพาประเทศไปสู่ความก้าวหน้าได้จาเป็น ต้องประกอบด้วย ความรู้ ความสามารถ และความช�ำนาญเพียงพอในการประกอบวิชาชีพและมีจรรยาบรรณของวิชาชีพนั้นๆ ทั้งหมดทั้งมวลย่อมเกิดจากเนื้อหาสาระของหลักสูตรที่มีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ก้าวทันต่อสถานการณ์ ปัจจุบันและสามารถมองเห็นอนาคตในภายหน้าได้ ดังนั้นทางสาขาวิชามีเดียอาตส์จึงได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรเพื่อก้าวให้ทันต่อกระแสโลก และเพื่อเตรียมพร้อม ส�ำหรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งจากเดิมนั้นทางสาขาวิชามีเดียอาตส์มีวิชาเอก 3 สาขาวิชาซึ่งก็คือ แอนิเมชั่น (Animation) ,เทคนิคภาพเพื่อการผลิตภาพยนตร์ (Visual Effects) และ การถ่ายภาพถ่ายดิจิทัลและการออกแบบกราฟิก (Digital Photography and Graphic Design) โดยในหลักสูตรใหม่นี้ทางสาขาวิชามีเดียอาตส์ได้มีการปรับเปลี่ยนวิชา เอกทั้ง 3 สาขาวิชาขึ้นใหม่เป็น การออกแบบกราฟิก (Graphic Design) ,แอนิเมชันและวิชวลเอฟเฟกต์ (Animation and Visual Effect) และการออกแบบภาพยนตร์ (Movie Design) เพื่อให้ภาพลักษณ์ขององค์กรที่มีมาตรฐาน เป็นไปอย่างมีเอกภาพ จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการออกแบบและจัดท�ำ คู่มือการใช้ระบบเอกลักษณ์ เพื่อให้เป็นมาตรฐานส�ำหรับการน�ำเอกลักษณ์ขององค์กรไปใช้ในสื่อต่างๆ ทั้งภายในองค์กร การท�ำธุรกิจ และสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์ที่ปรากฎสู่สาธารณชน ให้สอดคล้องกันและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ของ ภาควิชามีเดียอาตส์ อย่างสมบูรณ์


ค�ำน�ำ

บทน�ำ วัตถุประสงค์หลักในการจัดท�ำคู่มือการใช้ระบบเอกลักษณ์องค์กร คือ การควบคุมการถ่ายทอดภาพลักษณ์ของ องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการน�ำไปใช้ในสื่อต่างๆ ที่ปรากฎสู่สาธารณชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในคู่มือนี้ได้ มีการก�ำหนดมาตรฐานใ้ห้เป็นไปแนวทางในการปฏิบัติตามได้อย่างชัดเจน มีเอกภาพ ข้อก�ำหนดมาตรฐานในระบบเอกลักษณ์ องค์กรดังกล่าวมิได้เป็นข้อก�ำหนดที่เป็นข้อบังคับหรือการจ�ำกัดตายตัว แต่มีความมุ่งหมายให้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ ที่มี ความยืดหยุ่นและหลากหลาย เพื่อใช้ประยุกต์ในการออกแบบชิ้นงานต่างๆ ให้ได้คุณภาพอยู่บนบรรทัดฐานเดียวกัน เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กรต่อไปในอนาคต กรุณาศึกษาคู่มือการใช้ระบบเอกลักษณ์องค์กรอย่างละเอียดในเรื่องขององค์ประกอบทางกราฟิกของระบบ เอกลักษณ์องค์กรและการน�ำไปใช้งาน ซึ่งเป็นพื้นฐานส�ำหรับสร้างความเข้าใจ แนวทางการใช้ระบบเอกลักษณ์องค์กรต่อไป เพื่อให้สามารถน�ำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เรื่องที่พึงให้ความส�ำคัญและระมัดระวังคือ ความถูกต้องในการน�ำองค์ประกอบทางกราฟิกในระบบเอกลักษณ์ ไปใช้ งานเมื่อมีความต้องการในการใช้งานดังกล่าว กรุณาใช้เฉพาะต้นแบบของตราสัญลักษณ์องค์กรและตัวอย่างสีท่ีก�ำหนดไว้ใน คู่มือนี้เท่านั้น


ค�ำน�ำ

ค�ำจ�ำกัดความ


สารบัญ ค�ำน�ำ บทน�ำ ค�ำจ�ำกัดความ องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบอัตลักษณ์องค์กร

001

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 - รูปแบบมาตรฐาน - สัดส่วนและขนาด - สัดส่วนทางการเขียนแบบ - รูปแบบสามมิติ - พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ - ข้อก�ำหนดการใช้สี - ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ - ข้อห้าม

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

- รูปแบบมาตรฐาน (ภาษาอังกฤษ) 016 - สัดส่วนและขนาด 017 - พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ 018 - ข้อก�ำหนดการใช้สี 019 - ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ 020

002

003 004 005 006 007

008 012


สารบัญ

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

- รูปแบบมาตรฐาน (ภาษาไทย) 024 - สัดส่วนและขนาด 025 - พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ 026 - ข้อก�ำหนดการใช้สี 027 - ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ 028 - ข้อห้าม 032

ตัวอักษร - ภาษาอังกฤษ 034 - ภาษาไทย 035 - ชุดตัวอักษรที่ใช้ส�ำหรับเว็บไซต์ (ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ) 036

สี

องค์ประกอบทางกราฟิก สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์

037 038 039


สารบัญ

การน�ำไปใช้

- นามบัตร - กระดาษจดหมาย - ซองจดมาย - ซองเอกสาร - ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ - ข้อห้าม

เอกสารส�ำนักงาน 042

043 045 046 028

032

สื่อโฆษณา

- แผ่นพับ 047 - โปสเตอร์ขนาด A3, A4 049 - ภาพปิด/เปิด สื่อวิดีโอ 052

เบ็ดเตล็ด

- เสื้อ 053 - ถุงผ้า 055 - Case iPhone4/4s iPhone5 056 - สมุดโน้ตขนาด A5 057 - สมุดฉีกขนาด A4 058 - แฟ้มเอกสาร 060 - ดีวีดีและปก 061 - ซีดีและปก 062 - แก้วน�้ำ 063


องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบ อัตลักษณ์องค์กร 1. ตราสัญลักษณ์องค์กรแบบที่ 1

001 องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบอัตลักษณ์องค์กร ประกอบด้วยสิ่งที่มีส่วนในการสร้างบุคลิกภาพ (Personality) ของภาควิชามีเดียอาตส์ อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ 1. ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 2. ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ) 3. ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 3 (ภาษไทย) 4. สี 5. กราฟิกประกอบ

2. ตราสัญลักษณ์องค์กรแบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

3. ตราสัญลักษณ์องค์กรแบบที่ 2 (ภาษาไทย)

4. สี (Corporate Colour)

5. กราฟิกประกอบ (Graphic Element)


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

002 รูปแบบมาตรฐาน ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญที่สุด ในองค์ประกอบทางกราฟิกของระบบอัตลักษณ์ของ สาขาวิชา มีเดียอาตส์ รูปแบบของตราสัญลักษณ์องค์กรเป็นการสื่อความหมายของ ค�ำว่า M edia Arts ซึ่งหมายถึง สื่อมีเดียทางศิลปะ สามารถ สร้างสรรค์ได้ ไม่มีวันจบ สื่อสารออกมาในรูปของ M + A ซึ่งเป็นอักษรย่อภาษา อ ังกฤษ เมื่อเอามารวมกันจะเห็นถึง เครื่องหมาย Infinity ส่วนตรงบริเวณเท้าของฟ้อนต์นั้นจะมีลักษณะโค้งมนแสดงถึง รากฐานที่มั่นคง แข็งแรง มีความอ่อนช้อย ไม่แข็งกระด้าง ในการเลือกใช้สีเขียว หมายถึงความเจริญงอกงาม ความก้าวหน้า ดูเป็นมิตร เข้ากับทั้งวัยเด็กและผู้ใหญ่ อ่อนโยนเป็นกันเอง สื่อได้จากการเลือกโทนที่อ่อน และในการไล่โทนของ Gradient จะแสดงถึงความหรูหรา มีความทันสมัยและเป็นผู้ดี


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ลักษณะที่ 1

003 สัดส่วนและขนาด เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการเทียบสัดส่วนของตราสัญลักษณ์ องค์กร อย่างง่ายๆ โดยสังเกตจากตารางสี่เหลี่ยม อย่างไรก็ตาม วิธีนี้ไม่แนะน�ำให้ใช้กับงานที่ต้องการความละเอียดสูง เช่น สิ่งพิมพ์ทุกชนิด


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ลักษณะที่ 2

004 สัดส่วนทางการเขียนแบบ เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการสร้างภาพตราสัญลักษณ์องค์กร โ ดย ก�ำหนดค่าความสูงของตราสัญลักษณ์องค์กร เท่ากับ 100 ส่วน สัดส่วนทางการเขียนแบบนี้ก�ำหนดขึ้น เพื่อแสดงแนวทางในการ สร้างตราสัญลักษณ์องค์กรเท่านั้นในการน� ำตราสัญลักษณ์ องค์กรไปใช้ในงานเขียนแบบประเภทต่างๆ ข อแนะน�ำให้ใช้ต้นฉบับ มาตรฐาน ซึ่งฝ่ายประชาสัมพันธ์ไ ด้จัดเตรียมไว้ให้แล้ว


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

005 รูปแบบ 3 มิติ เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการสร้างภาพตราสัญลักษณ์องค์กร โ ดย ก�ำหนดค่าความสูงของตราสัญลักษณ์องค์กร เท่ากับ 100 ส่วน สัดส่วนทางการเขียนแบบนี้ก�ำหนดขึ้น เพื่อแสดงแนวทางในการ สร้างตราสัญลักษณ์องค์กรเท่านั้นในการน� ำตราสัญลักษณ์ องค์กรไปใช้ในงานเขียนแบบประเภทต่างๆ ข อแนะน�ำให้ใช้ต้นฉบับ มาตรฐาน ซึ่งฝ่ายประชาสัมพันธ์ไ ด้จัดเตรียมไว้ให้แล้ว


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

006 พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ เป็นพื้นที่ว่างที่ก�ำหนดขึ้นรอบสัญลักษณ์ เพื่อมิให้ ถูกรบกวนจากสภาพแวดล้อมภายนอกเมื่อน�ำไปใช้งาน โดยมีขอบเขตที่ก�ำหนดไว้ตายตัวให้เหมาะสมต่อการใช้งาน ในรูปแบบต่างๆจึงไม่อนุญาตให้เปลี่ยนสีหรือปรับเปลี่ยน ขนาดของพื้นที่นี้โดยเด็ดขาด พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำถูกก�ำหนดเป็น สัดส่วนโดยเทียบกับระยะ ซึ่งมีขนาดเท่ากับเส้นหน้าของตัว M ในตราสัญลักษณ์องค์กร


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

007 ข้อก�ำหนดการใช้สี ส�ำหรับการใช้งานในสภาพที่ปกติ แนะน�ำให้ใช้ตราสัญลักษณ์ องค์กรชนิดสีเต็มเป็นหลัก แต่สามารถใช้ตราสัญลักษณ์อ งค์กร ชนิดสีเดียวแทนได้ในหลายๆ กรณีเช่นกัน ได้แก่ กรณีที่ต้องการ พิมพ์เพียงสีเดียว หรือกรณีที่ระบบการพิมพ์ ไม่ละเอียดพอ เป็นต้น

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ชนิดสีเต็ม

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ชนิดสีเดียว สีเขียว

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ชนิดสีเดียว สีด�ำ

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ชนิดสีเดียว สีเทา

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ชนิดสีเดียว สีขาว


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

008 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควร พิจารณาเลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อ สร้างภาพโดยรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อ ก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้ หมายเหตุ : กรณีหากจ�ำเป็นต้องใช้ตราสัญลักษณ์องค์กรแบบที่ 1 ชนิดสีเดียวที่มีสี เดียวกันกับสีของพื้นหลัง แนะน�ำให้ใช้เทคนิคในการพิมพ์ ยกตัวอย่างเช่น : การเคลือบ UV เฉพาะจุด (เคลือบเฉพาะตราสัญลักษณ์) การเคลือบด้านเฉพาะจุด (เคลือบเฉพาะตราสัญลักษณ์)


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

009 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควร พิจารณาเลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อ สร้างภาพโดยรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อ ก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ชนิดสีเต็ม บนพื้นหลังที่เป็นสีขาว และด�ำ

ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ชนิดสีเต็ม บนพื้นหลังที่เป็นสีเอกลักษณ์หลักและสีอื่นๆ


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

010 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควร พิจารณาเลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อ สร้างภาพโดยรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด หรือเลือก พื้นที่ที่สามารถท�ำให้ตราสัญลักษณ์องค์กรไม่ถูกกลืนไปกับ พื้นหลัง โ ดยมีข้อก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

011 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควร พิจารณาเลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อ สร้างภาพโดยรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อ ก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

012 ข้อห้าม


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

013 ข้อห้าม


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

014 ข้อห้าม


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1

015 ข้อห้าม


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

016 รูปแบบมาตรฐาน (ภาษาอังกฤษ) ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญใน องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบอัตลักษณ์ของ ภาควิชามีเดียอาตส์ รูปแบบของตราสัญลักษณ์องค์กร เป็นแบบ ผสมระหว่างตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ก ับตัวอักษร ภาษาอังกฤษ Media Arts ซึ่งได้ท�ำการออกแบบใหม่เพื่อให้มี ความสอดคล้อง กับ Symbol ด้านบน ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 สามารถใช้งานได้ดีกับงานหลาย ลักษณะ ทั้งที่ต้องการ ให้ดูเป็นทางการ หรือที่เกี่ยวกับงานโฆษณาหรืองาประชาสัมพันธ์


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

017 สัดส่วนและขนาด เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการเทียบสัดส่วนของตราสัญลักษณ์ องค์กร อย่างง่ายๆ โดยสังเกตจากตารางสี่เหลี่ยม (Grid) อย่างไรก็ตาม วิธีนี้ไม่แนะน�ำให้ใช้กับงานที่ต้องการความ ละเอียดสูง เช่นส ิ่งพิมพ์ทุกชนิด


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

018 พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ เป็นพื้นที่ว่างที่ก�ำหนดขึ้นรอบสัญลักษณ์ เพื่อมิให้ ถูกรบกวนจากสภาพแวดล้อมภายนอกเมื่อน�ำไปใช้งาน โดยมีขอบเขตที่ก�ำหนดไว้ตายตัวให้เหมาะสมต่อการใช้งาน ในรูปแบบต่างๆจึงไม่อนุญาตให้เปลี่ยนสีหรือปรับเปลี่ยน ขนาดของพื้นที่นี้โดยเด็ดขาด พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำถูกก�ำหนดเป็นสัดส่วนโดยเทียบกับระยะ ซึ่งมี ขนาดเท่ากับเส้นหน้าของตัว M ในตราสัญลักษณ์องค์กร


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

019 ข้อก�ำหนดการใช้สี


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

020 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้สีเต็มบนพื้นสีขาวหรือสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพโดย รวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

021 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้สีเต็มบนพื้นสีขาวหรือสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพโดย รวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้ หมายเหตุ : กรณีหากจ�ำเป็นต้องใช้ตราสัญลักษณ์องค์กรแบบที่ 2 ชนิดสีเดียวที่มีสี เดียวกันกับสีของพื้นหลัง แนะน�ำให้ใช้เทคนิคในการพิมพ์ ยกตัวอย่างเช่น : การเคลือบ UV เฉพาะจุด (เคลือบเฉพาะตราสัญลักษณ์) การเคลือบด้านเฉพาะจุด (เคลือบเฉพาะตราสัญลักษณ์)


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

022 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพโดย รวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด หรือเลือกพื้นที่ที่สามารถ ท�ำให้ตราสัญลักษณ์องค์กรไม่ถูกกลืนไปกับพื้นหลัง โดยมี ข้อก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

023 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพ โดยรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อก�ำหนดของ การน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

024 รูปแบบมาตรฐาน (ภาษาไทย) ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญใน องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบอัตลักษณ์ของภาควิชา มีเดียอาตส์ รูปแบบของตราสัญลักษณ์องค์กร เป็นแบบผสม ระหว่างตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 1 ก ับตัวอักษรภาษาไทย มีเดียอาตส์ ซึ่งได้ท�ำการออกแบบใหม่เพื่อให้มีความสอดคล้อง กับ Symbol ด้านบน ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 สามารถ ใช้งานได้ดีกับงานหลาย ลักษณะ ทั้งที่ต้องการให้ดูเป็นทางการ หรือที่เกี่ยวกับงานโฆษณาหรืองาประชาสัมพันธ์


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

025 สัดส่วนและขนาด เป็นวิธีหนึ่งที่ใช้ในการเทียบสัดส่วนของตราสัญลักษณ์ องค์กร อย่างง่ายๆ โดยสังเกตจากตารางสี่เหลี่ยม (Grid) อย่างไรก็ตาม วิธีนี้ไม่แนะน�ำให้ใช้กับงานที่ต้องการความ ละเอียดสูง เช่นส ิ่งพิมพ์ทุกชนิด


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

026 พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำ เป็นพื้นที่ว่างที่ก�ำหนดขึ้นรอบสัญลักษณ์ เพื่อมิให้ ถูกรบกวนจากสภาพแวดล้อมภายนอกเมื่อน�ำไปใช้งาน โดยมีขอบเขตที่ก�ำหนดไว้ตายตัวให้เหมาะสมต่อการใช้งาน ในรูปแบบต่างๆจึงไม่อนุญาตให้เปลี่ยนสีหรือปรับเปลี่ยน ขนาดของพื้นที่นี้โดยเด็ดขาด พื้นที่ห้ามล่วงล�้ำถูกก�ำหนดเป็นสัดส่วนโดยเทียบกับระยะ ซึ่งมีขนาดเท่ากับเส้นหน้าของตัว M ในตราสัญลักษณ์องค์กร


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

027 ข้อก�ำหนดการใช้สี


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

028 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้สีเต็มบนพื้นสีขาวหรือสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพโดย รวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

029 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้สีเต็มบนพื้นสีขาวหรือสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพโดย รวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อก�ำหนดของการน�ำไปใช้งาน ดังนี้ หมายเหตุ : กรณีหากจ�ำเป็นต้องใช้ตราสัญลักษณ์องค์กรแบบที่ 2 ชนิดสีเดียวที่มีสี เดียวกันกับสีของพื้นหลัง แนะน�ำให้ใช้เทคนิคในการพิมพ์ ยกตัวอย่างเช่น : การเคลือบ UV เฉพาะจุด (เคลือบเฉพาะตราสัญลักษณ์) การเคลือบด้านเฉพาะจุด (เคลือบเฉพาะตราสัญลักษณ์)


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

030 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพ โดยรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อก�ำหนดของ การน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาไทย)

031 ข้อก�ำหนดการน�ำไปใช้บนพื้นหลังลักษณะต่างๆ การน�ำตราสัญลักษณ์องค์กร ไปใช้ในสื่อต่างๆ ควรพิจารณา เลือกใช้ชนิดสีเต็มบนพื้นสีขาวและสีด�ำเป็นหลัก เพื่อสร้างภาพ โดยรวมขององค์กรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีข้อก�ำหนดของ การน�ำไปใช้งาน ดังนี้


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

032 ข้อห้าม ข้อห้ามนี้ สามารถน�ำไปปรับใช้ได้ทั้งตราสัญลักษณ์องค์กร ทั้ง แบบที่ 2 และ 3


ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2 (ภาษาอังกฤษ)

033 ข้อห้าม ข้อห้ามนี้ สามารถน�ำไปปรับใช้ได้ทั้งตราสัญลักษณ์องค์กร ทั้ง แบบที่ 2 และ 3


ตัวอักษร

034 ภาษาอังกฤษ ชุดตัวอักษรที่ก�ำหนดให้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เป็น หนึ่ง ในองค์ประกอบของระบบอัตลักษณ์องค์กรที่มีความ ส�ำคัญ อย่างมาก มีส่วนช่วยสร้างอารมณ์ ความรู้สึก และ ถ่ายทอด คุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรได้เป็นอย่างดี เฮลเวติก้า นิว (Helvetica Neue) เป็นชุดตัวอักษรที่มีลักษณะทันสมัย อ่านง่าย มีความเรียบง่าย แต่ เหมือนมีความเรียบหรูซ่อนอยู่ จึงเหมาะที่จะน�ำมาใช้เป็นองค์ ประกอบของโลโก้ (โดยผู้ออกแบบโลโก้ได้ท�ำการเพิ่มรายละเอียด ของฟ้อนต์ให้เข้ากับสัญลักษณ์ด้านบนโดยการเพิ่มเท้าของ

หมายเหตุ: จากสัญลักษณ์องค์กรค�ำว่า Media Arts ทางผู้ออกแบบได้ท�ำการดัดแปลงฟ้อนต์ให้มี

ฟ้อนต์ ลงไปในตัวอักษร)

รูปแบบ ลักษณะ และอารมณ์ตามภาพสัญลักษณ์หลักที่มีลักษณะที่มีทั้งเส้นตรงและเส้นโค้ง ดังนั้น ตัวอักษรจึงได้มีการเพิ่ม Serif ที่มีลักษณะโค้งลงไปเพื่อให้สอดคล้องกับสัญลักษณ์หลัก ซึ่งสื่อถึงความ มั่นคง จากเส้นตรง และความอ่อนช้อย จากเส้นโค้ง ***(จ�ำนวนของชุดตัวอักษรในงานแต่ละงานไม่ควรเกิน 3 ชุดตัวอักษร)***

** ฟ้อนต์นี้เหมาะส�ำหรับงานพิมพ์เท่านั้น**


ตัวอักษร

035 ภาษาไทย ชุดตัวอักษรที่ก�ำหนดให้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เป็น หนึ่ง ในองค์ประกอบของระบบเอกลักษณ์องค์กรที่มีความ ส�ำคัญ อย่างมาก มีส่วนช่วยสร้างอารมณ์ ความรู้สึก และ ถ่ายทอด คุณลักษณะต่างๆ ขององค์กรได้เป็นอย่างดี กุลสตรี (Kunlasatri) เป็นชุดตัวอักษรที่มีลักษณะทันสมัย อ่านง่าย มีความเรียบง่าย ให้ ความรู้สึกถึงความมั่นคงแข็งแรง พร้อมกับความอ่อนช้อย จึง เหมาะที่จะน�ำมาใช้เป็นองค์ประกอบของโลโก้ (โดยผู้ออกแบบโลโก้ ได้ท�ำการเพิ่มรายละเอียด ของฟ้อนต์ให้เข้ากับสัญลักษณ์ด้านบน

หมายเหตุ: จากสัญลักษณ์องค์กรค�ำว่า มีเดียอาตส์ ทางผู้ออกแบบได้ท�ำการดัดแปลงฟ้อนต์ให้มี

โดยการเพิ่มเท้าของฟ้อนต์ ลงไปในตัวอักษร)

รูปแบบ ลักษณะ และอารมณ์ตามภาพสัญลักษณ์หลักที่มีลักษณะที่มีทั้งเส้นตรงและเส้นโค้ง ดังนั้น ตัวอักษรจึงได้มีการเพิ่ม Serif ที่มีลักษณะโค้งลงไปเพื่อให้สอดคล้องกับสัญลักษณ์หลัก ซึ่งสื่อถึงความ มั่นคง จากเส้นตรง และความอ่อนช้อย จากเส้นโค้ง ***(จ�ำนวนของชุดตัวอักษรในงานแต่ละงานไม่ควรเกิน 3 ชุดตัวอักษร)***

** ฟ้อนต์นี้เหมาะส�ำหรับงานพิมพ์เท่านั้น**


ตัวอักษร

036 ชุดตัวอักษรที่ใช้ส�ำหรับเว็บไซต์ (ภาษาไทย , อังกฤษ) ชุดตัวอักษรที่ก�ำหนดให้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย เป็นชุดตัว อักษรที่เหมาะส�ำหรับการน�ำไปใช้ในการออกแบบเว็บไซต์ เนื่องจากฟ้อนต์ที่ใช้ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นจะต้องเป็นชุด ตัวอักษร ที่มีความเป็นสากล เมื่อใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื่องจะต้องไม่เกิดปัญหาในการอ่าน ไม่ว่าจะเป็นทั้งระบบ Windows / Mac

ทาโฮมา (Tahoma) เป็นชุดตัวอักษรที่ไม่มีปัญหาในการเปิดบนเว็บไซต์เนื่องจาก เป็นชุดตัวอักษรที่มีความเป็นสากล สามารถเปิดได้ทั้งในระบบ Windows / Mac


สี สีเขียว : ความเจริญงอกงาม ความก้าวหน้า ดูเป็นมิตร โทนอ่อน : เข้ากับทั้งวัยเด็กและวัยผู้ใหญ่ได้ ง่าย อ่อนโยน และเป็นกันเอง

037 ระบบการใช้สี การใช้สีในองค์ประกอบทางกราฟิกของระบบอัตลักษณ์ เป็นสิ่ง

สีขาว : ความบริสุทธิ์ ความอ่อนโยน เปิดเผย ความดีงาม

ส�ำคัญ ซึ่งต้องน�ำไปใช้ให้ถูกต้องตามข้อก�ำหนด อย่างเคร่งครัด สีมาตรฐานในระบบเอกลักษณ์ที่ก�ำหนดให้ใช้เป็นสีหลักส�ำหรับ องค์ประกอบทางกราฟิกขององค์กร ได้แก่

สีเทา : ความสุภาพ สุขุม ถ่อมตน สีเขียว สีขาว สีเทา สีด�ำ

C : 41 M : 0 Y : 100 K : 0 C:0

M:0 Y:0

K : 0

C : 68 M : 61 Y : 59

K : 46

C : 70 M : 68 Y : 64

K : 74

สีด�ำ : ความเข้มแข็ง หนักแน่น อดทน มีพลัง


องค์ประกอบทางกราฟิก

038 องค์ประกอบทางกราฟิก ลายเส้นดังตัวอย่างนี้ เป็นองค์ประกอบหนึ่งในระบบ อัตลักษณ์องค์กร ใช้เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ที่แสดงถึงความ เคลื่อนไหว เส้นที่ผสมผสาน อย่างอ่อนโยน และพริ้วไหว ก�ำหนดไว้เพื่อให้เลือกใช้ในความต้องการในด้านต่างๆ มิได้เป็น องค์ประกอบที่บังคับให้ใช้ร่วมกับตราสัญลักษณ์องค์กรทุกครั้ง

เป็นองค์ประกอบทางกราฟิกที่ได้แรงบั​ันดาลใจมาจากลายเส้นที่เห็นได้จาก สีน�้ำเมื่อ ถูกผสมลงกับน�้ำ จะสื่อถึงการผสมผสาน และการเคลื่อนไหว ซึ่งสีเป็นส่วนหนึ่งที่ ส�ำคัญเมื่อสื่อถึงความเป็น "ศิลปะ" ที่เป็นจุดเด่นของสาขาวิชามีเดียอาตส์


สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์

039 สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์ สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์ ถูกก�ำหนดขึ้นให้ใช้งาน ประกอบในเอกสารหรือสื่อต่างๆ โดยเฉพาะงานระบบป้าย เพื่อให้ ระบบอัตลักษณ์องค์กรมีความสมบูรณ์ และเพิ่มประสิทธิภาพใน การใช้งานให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สัญลักษณ์เสริมสามารถเลือกน�ำ ไปใช้เป็นสีต่างๆตามสีมาตรฐานในระบบอัตลักษณ์


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์

040 สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์ สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์ ถูกก�ำหนดขึ้นให้ใช้งาน ประกอบในเอกสารหรือสื่อต่างๆ โดยเฉพาะงานระบบป้าย เพื่อให้ ระบบอัตลักษณ์องค์กรมีความสมบูรณ์ และเพิ่มประสิทธิภาพใน การใช้งานให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สัญลักษณ์เสริมสามารถเลือกน�ำ ไปใช้เป็นสีต่างๆตามสีมาตรฐานในระบบอัตลักษณ์


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์

041 สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์ สัญลักษณ์เสริมในระบบอัตลักษณ์ ถูกก�ำหนดขึ้นให้ใช้งาน ประกอบในเอกสารหรือสื่อต่างๆ โดยเฉพาะงานระบบป้าย เพื่อให้ ระบบอัตลักษณ์องค์กรมีความสมบูรณ์ และเพิ่มประสิทธิภาพใน การใช้งานให้กว้างขวางยิ่งขึ้น สัญลักษณ์เสริมสามารถเลือกน�ำ ไปใช้เป็นสีต่างๆตามสีมาตรฐานในระบบอัตลักษณ์


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เอกสารส�ำนักงาน

042

0.4

0.5

cm.

1.2

cm.

cm. 0.4

cm.

0.4

cm.

นามบัตร การน�ำระบบอัตลักษณ์องค์กรมาใช้ในงานออกแบบชิ้นงาน

0.5

cm.

ต่างๆ เป็นสิ่งที่จะต้องให้ความส�ำคัญ และระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึง 0.2

วัตถุประสงค์หลัก เพื่อถ่ายทอดบุคลิกภาพส�ำคัญขององค์กรที่

0.4

เน้นความเรียบง่าย ทันสมัย ภาพแสดงการออกแบบนามบัตรโดยใช้ตราสัญลักษณ์องค์กร

cm.

0.5

cm.

1.2

cm.

SIZE : 9 X 5.5 cm.

cm.

แบบที่ 2 ร่วมกันองค์ประกอบทางกราฟิก

0.5

cm.

0.2

cm.

SIZE : 9 X 5.5 cm.


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เอกสารส�ำนักงาน

043 กระดาษจดหมาย การน�ำระบบอัตลักษณ์องค์กรมาใช้ในงานออกแบบชิ้นงาต่างๆ เป็นสิ่งที่จะต้องให้ความส�ำคัญ และระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึง วัตถุประสงค์หลัก เพื่อถ่ายทอดบุคลิกภาพส�ำคัญขององค์กรที่ เน้นความเรียบง่าย ทันสมัย ภาพแสดงการออกแบบกระดาษจดหมาย ซึ่งเป็นเอกสารอย่าง เป็นทางการ โดยใช้ตราสัญลักษณ์องค์กร แบบที่ 2


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เอกสารส�ำนักงาน

1 cm. 1 cm.

044 กระดาษจดหมาย การน�ำระบบอัตลักษณ์องค์กรมาใช้ในงานออกแบบชิ้นงาน ต่างๆ เป็นสิ่งที่จะต้องให้ความส�ำคัญ และระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึง วัตถุประสงค์หลัก เพื่อถ่ายทอดบุคลิกภาพส�ำคัญขององค์กรที่ เน้นความเรียบง่าย ทันสมัย ภาพแสดงการออกแบบกระดาษจดหมาย โดยใช้ตราสัญลักษณ์ องค์กร แบบที่ 2 ชนิดสีเดียว และองค์ประกอบทางกราฟิก


เอกสารส�ำนักงาน

1 cm.

1 cm.

1 cm.

1 cm.

1 cm. 2 cm.

045 ซองจดหมาย การน�ำระบบอัตลักษณ์องค์กรมาใช้ในงานออกแบบชิ้นงาน ต่างๆ เป็นสิ่งที่จะต้องให้ความส�ำคัญ และระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึง วัตถุประสงค์หลัก เพื่อถ่ายทอดบุคลิกภาพส�ำคัญขององค์กรที่ เน้นความเรียบง่าย ทันสมัย

1 cm. 2 cm. 1 cm.

ภาพแสดงการออกแบซองจดหมาย โดยใช้ตราสัญลักษณ์ องค์กร แบบที่ 2 ชนิดสีเดียว

ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เอกสารส�ำนักงาน 1 cm.

1 cm.

1 cm.

1 cm.

1 cm.

046

2.5 cm.

ซองเอกสาร การน�ำระบบอัตลักษณ์องค์กรมาใช้ในงานออกแบบชิ้นงาน ต่างๆ เป็นสิ่งที่จะต้องให้ความส�ำคัญ และระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึง วัตถุประสงค์หลัก เพื่อถ่ายทอดบุคลิกภาพส�ำคัญขององค์กรที่ เน้นความเรียบง่าย ทันสมัย 1 cm. 2.5 cm.

ภาพแสดงการออกแบซองเอกสาร โดยใช้ตราสัญลักษณ์ องค์กร แบบที่ 2 ชนิดสีเดียว


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สื่อโฆษณา

047 แผ่นพับ ภาพแสดงการออกแบบสิ่งพิมพ์บนแผ่นพับ ขนาด 36X17 cm. พับ 3 ตอน ซึ่งเป็นสื่อประชาสัมพันธ์โดยใช้องค์ประกอบทาง กราฟิกของระบบอัตลักษณ์องค์กร


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สื่อโฆษณา

048 แผ่นพับ ภาพแสดงการออกแบบสิ่งพิมพ์บนแผ่นพับ ขนาด 36X17 cm. พับ 3 ตอน ซึ่งเป็นสื่อประชาสัมพันธ์โดยใช้องค์ประกอบทาง กราฟิกของระบบอัตลักษณ์องค์กร


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สื่อโฆษณา

049 โปสเตอร์ ขนาด A3 / A4 ภาพแสดงการออกแบบสิ่งพิมพ์บนโปสเตอร์ ขนาด A3 / A4 ซึ่งเป็นสื่อประชาสัมพันธ์โดยใช้องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบ อัตลักษณ์องค์กร


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สื่อโฆษณา

050 โปสเตอร์ ขนาด A3 / A4 ภาพแสดงการออกแบบสิ่งพิมพ์บนโปสเตอร์ ขนาด A3 / A4 ซึ่งเป็นสื่อประชาสัมพันธ์โดยใช้องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบ อัตลักษณ์องค์กร


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สื่อโฆษณา

051 โปสเตอร์ ขนาด A3 / A4 ภาพแสดงการออกแบบสิ่งพิมพ์บนโปสเตอร์ ขนาด A3 / A4 ซึ่งเป็นสื่อประชาสัมพันธ์โดยใช้องค์ประกอบทางกราฟิกของระบบ อัตลักษณ์องค์กร


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

สื่อโฆษณา

052 ภาพปิด/เปิด สื่อวิดีโอ การน�ำระบบอัตลักษณ์องค์กรมาใช้ในงานออกแบบชิ้นงานต่างๆ เป็นสิ่งที่จะต้องให้ความส�ำคัญ และระมัดระวัง โดยค�ำนึงถึง วัตถุประสงค์หลัก เพื่อถ่ายทอดบุคลิกภาพส�ำคัญขององค์กรที่ เน้นความเรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากล ภาพแสดงการออกแบบภาพปิดหรือเปิดสื่อวิดีโอ ซึ่งเป็นสื่อ โฆษณาโดยใช้ตราสัญลักษณ์องค์กรแบบที่ 1 ชนิดสีเต็ม


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

053 เสื้อ ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

054 เสื้อ ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

055 ถุงผ้า ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

056 Case iPhone 4/4s iPhone5

ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

057 สมุดโน้ต ขนาด A5 ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น

ปกหน้า

ปกหลัง

กระดาษ


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

058 สมุดฉีกขนาด A4 ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น

ปกหน้า

ปกหลัง

กระดาษ


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

059 สมุดฉีกขนาด A4 ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น

ปกหน้า

ปกหลัง

กระดาษ


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

060 แฟ้มเอกสาร ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

061 ดีวีดีและปก ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

062 ซีดีและปก ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


ภาพแสดงตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบ

เบ็ดเตล็ด

063 แก้วน�้ำ ภาพแสดงการออกแบบสิ่งของเบ็ดเตล็ด ซึ่งน�ำระบบอัตลักษณ์ องค์กรมาออกแบบลงบนเครื่องใช้ เสื้อผ้า อุปกรณ์ และวัสดุ ต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นส่วนส่งเสริมบุคลิกภาพขององค์กร ที่เน้นความ เรียบง่าย ทันสมัย และมีความเป็นสากลทั้งสิ้น


การน�ำไปใช้



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.