archmsu2019thesis_Manuchet Sirisawat

Page 1

ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง (อาศรมศึกษิต)

มนุเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีการศึกษา2562



ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง (อาศรมศึกษิต)

มนุเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีการศึกษา2562



PALLIATIVE CARE CENTER (ASRM SUK SIT)

MANUCHET SIRISAWAT

A THESIS IS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE BACHELOR DEGREE IN ARCHITECTURE MAJOR ARCHITECTURE FACULTY OF ARCHITECTURE, URBAN DESIGN AND CREATIVE ARTS MAHASARAKHAM UNIVERSITY 2019



คณะกรรมการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ได้ พิ จ ารณาวิ ท ยานิ พ นธ์ ข อง นายมนุ เ ชษฐ์ ศิ ริ ส วั ส ดิ์ แล้ ว เห็ น สมควรรั บ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รปริ ญ ญาสถาปั ต ยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะกรรมการรับรองวิทยานิพนธ์ ................................................................ คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พลเดช เชาวรัตน์) ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ ................................................................ (อาจารย์ ดร. นิลปัทม์ ศรีโสภาพ)

หัวหน้าสานักวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์

................................................................ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมฤต หมวดทอง) มหาวิ ท ยาลั ย อนุ มั ติ ใ ห้ รั บ วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บั บ นี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต ร ปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม



ชื่อวิทยานิพนธ์ ชื่อผู้ทำวิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา สาขาวิชา ปีการศึกษา

ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง (อาศรมศึกษิต) มนุเชษฐ์ ศิริสวัสดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อมฤต หมวดทอง สถาปัตยกรรม 2562

บทคัดย่อ ความเจ็บป่วยเป็นปัญหาสำคัญทีท่ ุกคนรวมถึงผู้ป่วย ที่เข้าถึงระยะสุดท้ายไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ผูป้ ่วยระยะสุดท้าย จำนวนไม่น้อยต้องการรักษาหรือบรรเทาอาการเจ็บปวดที่โรงพยาบาลเป็นประจำ และ อีกหลายคนต้องใช้เวลาในช่วงสุดท้าย ของชีวิตในโรงพยาบาลจนทำให้บา้ งโรงพยาบาลไม่มีพื้นทีส่ ำหรับผู้ปว่ ยท่านอื่นที่ต้องการรักษา การรักษาแบบประคับประคอง จึงเป็นเรื่องที่สำคัญทำให้มูลนิธิ อาศรมศึกษิต มีความประสงค์ก่อตั้งโครงการทีม่ ี การออกแบบให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายมี คุณภาพ ชีวิตที่ดใี นวาระสุดท้ายจึงได้นำแนวคิดเรื่อง“การเยียวยาสุขภาพแบบ องค์รวม”ซึ่งกล่าวถึงการสร้างพื้นที่ การเชื่อมโยงระหว่าง ด้านการรักษากาย จิตใจและการอยู่ร่วมกันเป็นสังคม ให้สอดคล้องกับฟังก์ชั่นบ้านพักผู้ป่วยระยะสุดท้าย วิทยานิพนธ์นศี้ ึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับลักษณะพฤติกรรมของผู้ป่วยระยะสุดท้าย และหลักการ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย และมีการศึกษากลุม่ ญาติผู้ป่วยทีต่ ้องเข้ามามีส่วนร่วมในการ ดูแลผูป้ ่วย เพื่อนำไปสู่การวิเคราะห์หาข้อมูล ในการออกแบบด้าน แนวคิดและกำหนดพื้นที่ใช้สอยเพื่อหาแนวทางในการออกแบบบ้านพักผู้ป่วยและญาติให้ดีที่สุด ทั้งนีก้ ารออกแบบทั้งหมจะต้อง อยูใ่ นหลักการออกแบบ สถานพยาบาล 1. 2. 3. 4.

โครงการและการออกแบบสถาปัตยกรรมอาคาร ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง (อาศรมศึกษิต) มีข้อมูลโครงคร่าว ดังนี้ ลักษณะโครงการเป็นสถานพยาบาลเฉพาะทาง ที่มีการรองรับผู้ป่วย 24 เตียง มีองค์ประกอบ คือ บ้านพักอยู่ป่วย ส่วนพื้น ที่ส่วนกลางต่างๆได้แก่ พื้นที่การรักษาแพทย์แผนทางเลือกไทย - จีน, หอพักของเจ้าหน้าที่, สำนักงานบริหาร และ พื้นที ประกอบพิธีกรรมทางด้านศาสนา โดยโครงการมีพื้นที่ใช้สอยรวม 5,100 ตารางเมตรโดยประมาณ ที่ตั้งโครงการตั้งอยูบ่ นพื้นทีอ่ าศรมศึกษิต ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลกขนาดที่ดินทั้งหมดของโครงการ ขนาด 9 ไร่1 งาน 60 ตารางวาหรือพื้นที่ 15,000 ตารางเมตรโดยประมาณ แนวคิด การนำเอาวิธีการรักษาแบบประคับประคองซึ่งประกอบด้วย การรักษา กาย ใจ และสังคมมาใช้ในการรักษา และ การออกแบบผนวกกับการเอาหลักความเชื่อทางศาสนา และธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ในการบำบัดทางด้านร่างกายและจิตใจ ทำให้ผู้ป่วยมีจิตใจและร่างกายที่สงบทำให้ผู้ป่วยจากไปอย่างสงบ รูปแบบอาคารเป็นอาคารประเภทผัง โดยมีการแยกอาคารออกเป็น 3 ส่วน โดยส่วนที่ 1 เป็นส่วนการในการรักษาแพทย์ แผนทางเลือก และสำนักงานเป็นอาคารสูง 2 ชั้น ส่วนที่ 2 คือบ้านพักอาศัยสำหรับผู้ป่วย และญาติเป็น จำนวน 24 หลัง ส่วนที่ 3 เป็นส่วน ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และเป็นพื้นที่เก็บศพ ทั้ง 3 ส่วนจะแยกออกจากกัน เพื่อความเป็นส่วนตัว ในการพักผ่อนของผู้ป่วย

การออกแบบเน้นการนำเอาธรรมชาติ มาใช้ให้เกิดบริบทในโครงการที่เหมาะสมต่อการพักผ่อนให้ได้มากที่สุดเช่นการนำ เอาต้นไม้สีเขียว การจัดสวนในพื้นที่กลางอาคาร การนำเอาสระบัวทีม่ ีอยู่เดิมในพื้นที่ มาออกแบบรวมให้เกิดการ เชื่อมโยงอาคาร ต่างๆเข้าด้วยกัน จนถึงการเอาพื้นที่ทุ่งข้าว บริบทรอบโครงการ มาทำให้เกิดความสอดคล้องในการมองเห็นของผู้ป่วย เพื่อให้ ผู้ป่วยได้รับรู้ถึงธรรมชาติมากที่สดุ และเกิดการบำบัดความรู้สึกดีในการพักผ่อน นอกจากการออกแบบพื้นที่ธรรมชาติแล้วยังมีการ ออกแบบเพื่อคำนึงถึงการใช้งานของผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ แพทย์ พยาบาลอีกด้วย เช่นพื้นที่ทางสัญจรที่คำนึงถึงระยะของเตียงเข็น รถเข็น และทางสัญจรเฉพาะเจ้าหน้าที่ เพื่อที่จะสามารถนำอุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆไปดูแลรักษาผูป้ ่วยได้อย่างรวดเร็ว ร่วมถึง ทางสัญจร เคลื่อนย้ายศพผู้เสียชีวติ และขยะติดเชื้อให้อยู่ในพื้นที่ ที่บุคคลทั่วไป และผู้ป่วยไม่สามารถมองเห็นได้



สารบัญ บทที่1: ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ .......................................................................................................................................................................... 2 วัตถุประสงค์โครงการ.................................................................................................................................................................................................................... 3 วัตถุประสงค์การศึกษา ................................................................................................................................................................................................................. 3 ขอบเขตโครงการ.............................................................................................................................................................................................................................. 3 ขอบเขตการศึกษา ........................................................................................................................................................................................................................... 3 บทที่2:วรรณกรรมที่เกีย่ วข้อง......................................................................................................................................................................................................................... 4 ทฤษฎี ...................................................................................................................................................................................................................................................... 8 กรณีศึกษา .....1..............................................................................................................................................................................................................................10 กรณีศึกษา .....2..............................................................................................................................................................................................................................12 กรณีศึกษา .... 3 ..............................................................................................................................................................................................................................14 กรณีศึกษา .....4..............................................................................................................................................................................................................................16 บทที่3:ความเป็นไปได้ดา้ นที่ตั้งโครงการ...............................................................................................................................................................................................18 นโยบายโครงการ...........................................................................................................................................................................................................................19 บทที่4: รายละเอียดโครงการ .......................................................................................................................................................................................................................22 ผู้ใช้สอย ...............................................................................................................................................................................................................................................22 ลักษณะผู้ใช้สอย ............................................................................................................................................................................................................................23 พฤติกรรมผู้ใช้สอย .......................................................................................................................................................................................................................24 การวิเคราะห์ช่วงเวลาช่วงเวลากิจกรรม ........................................................................................................................................................................26 รายละเอียดพื้นที่ใช้สอย ...........................................................................................................................................................................................................27 การคำนวณพื้นที่ของโครงการ..............................................................................................................................................................................................30 ตารางราคาห้องพักในโครงการ............................................................................................................................................................................................34 ระบบในอาคารและเทคโนโลยีอาคาร .............................................................................................................................................................................35 บทที่5:การวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ............................................................................................................................................................................................................38 การวิเคราะห์บริบทที่ตั้งโครงการ .......................................................................................................................................................................................40 จิตภาพโครงการ ............................................................................................................................................................................................................................46



สารบัญ บทที่6 : แนวความคิดและผลการออกแบบ........................................................................................................................................................................................48 แนวความคิด............................................................................................................................................................ 48 การนำเสนอผลการออกแบบร่างครั้งที่1 .................................................................................................................. 52 การนำเสนอผลการออกแบบร่างครั้งที่2 .................................................................................................................. 56 ผลการออกแบบขั้นสมบูรณ์ ..................................................................................................................................... 64 บทที่7 : สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ............................................................................................................................ 84 สรุปผลการศึกษา ..................................................................................................................................................... 84 สรุปผลการออกแบบ................................................................................................................................................ 84 ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................ 84 บรรณานุกรม ........................................................................................................................................................... 85 ประวัตผิ ู้ศึกษา ......................................................................................................................................................... 87



1

ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง (อาศรมศึกษิต) Palliative Care center (Asrm Suk Sit)

ภาพประกอบ : pinterestcom


2 ศูนย์ดูแลแบบประคับประคอง (อาศรมศึกษิต) Palliative Care center (Asrm Suk Sit) บทที่ 1 ความเป็นมาของโครงการ และ ความส�ำคัญของปัญหา

จํานวนผู ้ป่วยระยะสุ แสนคน/ปี)ี ) จ�ำนวนผู ป้ ว่ ยระยะสุดดท้ท้ายที ยทีเ่ เ� สีสียยชีชีวติ วติ ( (3 3 แสนคน/ป

อัตราการ ครองเตียง ระยะ 6 ปี ที�ผ่านมาทั�วประเทศ 80 78 76 74 72 70

ผู้ป่วยที�ได้รับการรักษาแบบ Palliative care 14 % 40,000

68 66

ข้อมูล : รายงานทรัพยากรสาธารณสุข ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข (2560) 2554

2555

2556

2557

2558

2559

ข้อมูลจากเว็บไซต์ : Hfocus เจาะลึกเรื่องสุขภาพสืบค้น 3/9/62

ชุดข้อมูล 1ดท้าย (Hospice care) มีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องด้วยโรคภัยไข้เจ็บและปัญหา ปัจจุบันจากการส�ำรวจสถิติผู้ป่วยระยะสุ สุขภาพของผู้สูงอายุที่มากขึ้น ท�ำให้โรงพยาบาลมีผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ท�ำการรักษาแบบปกติโดยการรักษาแบบปกตินี้ท�ำให้ผู้ป่วยระยะ สุดท้ายที่ไม่มีผลต่อการรักษาได้รับความทุกข์ ทรมานโดยไม่จ�ำเป็น จนท�ำให้เกิดปัญหาโรงพยาบาลมีการรับผู้ป่วยมากจนเกินไป และไม่ สามารถมีพื้นที่รับผู้ป่วยประเภทอื่นได้เพียงพอ ซึ่งปัญหาผู้ป่วยระยะสุดท้ายนี้ เรียกว่า “ ปัญหาผู้ป่วยครองเตียง ” และปัญหานี้ยังคง มากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากรูปแบบการอยู่อาศัยในปัจจุบันในไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง จากครอบครัวใหญ่ เป็น ครอบครัวเดียว มากขึ้น เช่นการแยกตัวในการประกอบอาชีพในเมืองหลวงท�ำให้ผู้ป่วยในระยะสุดท้ายมีการดูแลจากครอบครัวที่น้อยลงไปเรื่อยๆ การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการให้บริการสุขภาพ ส�ำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง ผู้ป่วยที่เจ็บป่วย อย่างมาก ( serious illness ) ด้วยโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาด หรือในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษา และผู้ป่วยที่อยู่ในวาระ สุดท้ายของชีวิต การดูแลผู้ป่วยดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพจึงต้องใช้หลักการดูแลแบบประคับประคอง ( Palliative care ) โดยมีเป้า หมายเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถด�ำรงชีวิตในระยะเวลาที่เหลืออยู่อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่มีความทุกข์ทรมานจากอาการรบกวนทั้งทาง ร่างกายและจิตใจ มีความหวังและก�ำลังใจ ไม่ท้อแท้ ไม่สิ้นหวัง รวมทั้งช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถปรับตัวได้ต่อความเจ็บป่วย เมื่อผู้ป่วยอยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต ก็ให้การดูแลที่ช่วยให้ผู้ป่วยได้ท�ำ ภารกิจต่างๆที่ยังห่วงใยให้ส�ำเร็จ ช่วยให้ผู้ป่วยเสียชีวิตอย่างสม ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในสถานที่ที่ผู้ป่วยเลือกเอง โดยประสบกับความทุกข์ทรมานน้อยที่สุด รวมทั้งให้การดูแลความเศร้าโศก ของครอบครัวหลังจากการเสียชีวิต ทั้งนี้เมื่อผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าจะมีระยะเวลาที่จะมีชีวิตอยู่ได้อีกประมาณ 6 เดือน แพทย์จะ เริ่มมีการดูแลแบบประคับประคอง ดูแลอาการไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บปวดทรมาน ดูแลทางใจ และทางจิตวิญญาณของผู้ป่วย มีทั้งการประคับ ประคองด้วยการใช้ยา และครอบครัวซึ่งมีส่วนช่วยได้อย่างมาก ประกอบกับสังคมไทยในปัจจุบันเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น การที่ลูก หลานหรือญาติจะเข้ามาให้การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายบางครั้งมีข้อจ�ำกัดทั้งเรื่องเวลา และความรู้ที่มีไม่เพียงพอ การจัดตั้งศูนย์ดังกล่าวก็ จะเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยเหลือผู้ป่วย ช่วยให้ความรู้ทั้งครอบครัว และสังคมว่าจะต้องดูแลผู้ป่วยที่อยู่ในระยะท้ายของชีวิตได้อย่างไร

ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส ( 2553 )


3

รักษากาย เพื่อสงบกาย

ภาพประกอบ : pinterestcom

วัตถุประสงค์โครงการ 1. เพื่อบริการด้านสุขภาพผู้ป่วยระยะ สุดท้าย (Hospice care) แบบองค์ รวมทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม ด้วย วิธีการรักษาแบบ Palliative care 2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพที่ดีในช่วง บั้นปลายชีวิต 3. เพื่อให้ครอบครัวและญาติได้ รับมือกับการสูญเสียของผู้เสียชีวิต 4. เพื่อลดปัญหาผู้ป่วยครองเตียง

รักษาใจ เพื่อสงบใจ

ภาพประกอบ : pinterestcom

วัตถุประสงค์การศึกษา 1 . เพื่อศึกษา การรักษาแบบ Palliative care 2. เพื่อศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรม อาคารบ้านพักผู้ป่วยระยะสุดท้าย

วัขอบเขตโครงการ ตถุป ขอบเขต 1. เป็นศูนย์บริการสุขภาพผู้ป่วย Hospice ด้วยวิธีการรักษา แบบ Palliative Careโดยเน้นการออกแบ บงานสถาปัตยกรรมให้ความสะดวก สบายในแก่ผู้ป่วย Hospice

ในสภาพแวดล้อมที่ดี เพื่อสงบจิต

ภาพประกอบ : pinterest.com

ขอบเขตการศึกษา 1. ศึกษาพฤติกรรมของผู้ป่วย ระยะสุดท้าย 2. ศึกษาการออกแบบศูนย์การ รักษา 3. ศึกษาการออกแบบพื้นให้ผู้ ป่วยได้เกิดการบ�ำบัดทางจิตใจ และ สังคม


4 การจัดสิ่ งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา (Healing Environment) ประเภทของสิ่งแวดล้อม • สิ่งแวดล้อมทางสังควัฒนธรรม ขนบธรรมเนียประเพณี ภูมิปัญญา ศิลปกรรม ซึ่งสิ่งเหล่า นี้เป็นสิ่งที่มี คุณค่าต่อผู้รับบริการ ผู้ป่วย ญาติ บุคลากรของโรงพยาบาล • สิ่งแวดล้อมทางด้านจิตใจ ความรู้สึก ความทรงจ�ำที่เกิดจาก ประสบการณ์ จะเป็นตัวก�ำหนด ทัศนคติ ความเชื่อ คุณค่า และ เจตนา ในการกระท�ำของผู้คนทั้ง ทางกาย วาจา และจิตใจ

ภาพประกอบ : pixabay.com

คือการจัดการให้สิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมทางสังคม และ สิ่งแวดล้อมทางด้านจิตใจ ให้มีความ เหมาะสมต่อการดูแลผู้ป่วย โดยมี เป้าหมายที่ส�ำคัญ คือ •เพื่อให้เกิดความปลอดภัย Safety •เพื่อให้เอื้อต่อการเรียนรู้ Leaning •เพื่อให้เอื้อต่อการเยียวยา Healing

ภาพประกอบ : pixabay.com

การปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อ การเยียวยา •สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) •สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment) •สภาพแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) •สิ่งแวดล้อมทางด้านจิต (Psychological environment)

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและกรณี

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและกรณีศึกษา สังคมเริ่มมีความคาดหวังกับการแพทย์มากขึ้น จนบางครั้งไม่สามารถยอมรับความตายได้ หรื อ มองว่ า ความตายเป็ น เรื่ อ งผิ ด ปกติ จ นบางครั้ ง ก็ ลื ม ไปว่ า เทคโนโลยี นั้ น ก็ มี ขี ด จ� ำ กั ด เช่ น กั น หลายๆครั้งที่แพทย์สามารถยื้อชีวิตผู้ป่วยเอาไว้ได้ แต่การยื้อชีวิตผู้ป่วยโดยใช้เทคโนโลยีต่างๆีนั้น บางครั้งไม่เพียงแต่ไม่ท�ำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นแต่กลับเป็นการเพิ่มความทรมานแก่ผู้ป่วย ยิ่งเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากเท่าไหร่ การตัดสินใจเรื่องการรักษาพยาบาลก็ถูกมองว่า เป็นหน้าที่ของผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์มากขึ้น เพราะมองว่าเป็นเรื่องที่สลับซับซ้อน ยากเกินกว่า คนทั่วไปจะเข้าใจ จนบางครั้งก็มองข้ามความจริงที่ว่าผู้ป่วยแต่ละคนควรมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจ แนวทางการรักษาของตนเอง เนื่องจากแต่ละคนก็มีความเชื่อ ค่านิยม และบริบทอื่นๆของชีวิตที่แตก ต่างกัน ( อ.นพ.กิติพล นาควิโรจน์ 2550 )

สถาปัตยกรรม กับการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม ท่ามกลางความเจริญทางด้านอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มนุษย์สามารถสร้างสรรค์ และผลิตนวัตกรรมใหม่ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้เป็นจำ�นวนมาก แต่สำ�หรับเรื่อง การเจ็บป่วยกลับมีสถิติของผู้ป่วยเพิ่มสูงขึ้นทุกปี (กรมกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2554) อีกทั้งยิ่งนับวันยิ่งเกิดโรคใหม่ที่ทวีความรุนแรง เรื่องของการเจ็บป่วยจึงกลายเป็นปัญหาที่สำ�คัญ ไม่น้อยไปกว่าปัญหาอื่นการแพทย์แผนปัจจุบันเป็นที่ได้รับความนิยม เนื่องจากสามารถรักษาอาการ เจ็บป่วย ซึ่งสามารถเห็นผลได้อย่างรวดเร็วแต่สำ�หรับโรคเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความ ดันโลหิตเป็นต้น การแพทย์แผนปัจจุบันกลับไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้นอกจากนั้นแพทย์แผน ปัจจุบันจะใช้วิธีการรักษาเฉพาะที่โรคและอวัยวะที่เจ็บป่วยเท่านั้น ปัญหาเรื่องการเจ็บป่วยจึงไม่ได้ แก้ปัญหาที่ต้นเหตุ แต่กลับแก้ที่ปลายเหตุ ดังนั้นการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวมซึ่งให้ความสำ�คัญกับเรื่องการเจ็บป่วยนั้นมี ส่วนเชื่อมโยงกับมิติทางกาย จิตใจ สังคมและสิ่งแวดล้อมจึงเป็นทางออกหนึ่งของการรักษา อาการเจ็บป่วยซึ่งพระพุทธองค์กล่าวไว้ว่า “ปสฺสทฺโธ กาโย อสารทฺโธ สมาหิตํ จิตฺตํเอกคฺคํ” แปลความว่า “กายผ่อนคลายไม่เครียด ใจเป็นสมาธิ รวมเป็นหนึ่งเดียว” (พระพรหมคุณาภรณ์, 2532) หมายถึง เมื่อใจไม่เครียด ร่างกายก็จะเกิดความผ่อนคลายทำ�ให้ร่างกายและใจรวม กันเป็นหนึ่งเดียวในสภาวะที่เรียกว่าสมาธิ (กรมกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2554)

สิ่งแวดล้อม กาย

จิตใจ

สังคม


5 คุณภาพของอากาศ - Air Quality

องค์ประกอบของสุขภาพแบบองค์รวม จากความหมายของสุขภาพแบบองค์รวมที่ได้กล่าวมาแล้วจะมีองค์ประกอบ ได้แก่ กาย จิตใจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยที่องค์ประกอบทางด้านกายนั้น เป็นส่วนที่เป็นแพทย์จะต้องใช้วิทยาการ ความรู้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันรักษาผู้ป่วยโดยตรงดังนั้นจึงเหลือเพียง 3 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. จิตใจ การวิจัยตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่า “สภาพจิตใจที่วิตกกังวล เศร้าโศก ผิดหวัง ท้อแท้ ไม่ยอมปล่อยวาง ความเหงา ความหว้าเหว่ เป็นต้น อารมณ์เหล่านี้เป็นสาเหตุท�ำให้เกิด “ความเครียด” เมื่อเกิดความเครียดปฏิกิริยาของร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนด้านลบ”จะท�ำให้สาเหตุของ โรคต่างๆ (วิธาน ฐานะวุฑฒ์, 2553) 2. สังคม มนุษย์เป็นสัตว์สังคม การต้องพึ่งพาซึ่งกันและกันของมนุษย์เป็นธรรมชาติที่มนุษย์ไม่ สามารถปฏิเสธได้ เมื่อเป็นดังนี้ความสุขและความทุกข์ของมนุษย์จึงเกี่ยวข้องกันอย่างยิ่งกับการ ที่จะต้องมีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้และตลอดไปจนถึงการอยู่รอดหรือไม่ของ มนุษย์ก็ยังคงเกี่ยวพันกับเรื่องนี้ด้วย “ปี ค.ศ.1989 ดร.เดวิด สไปเกล และคณะท�ำการวิจัยที่มหา วิทยาลัยสแตนด์ฟอร์ด เป็นงานวิจัยที่เขียนลงใน วารสารการแพทย์ชื่อดัง คือ The Lancet ท�ำการ ศึกษาคนไข้2กลุ่มกลุ่มที่ได้พูดคุยกันระหว่างคนไข้ด้วยกันเองผลออกมาว่ามีอัตราการรอดชีวิตเยอะ กว่า2เท่ากับกลุ่มที่มีการรักษาแบบเดี่ยว” (วิธาน ฐานะวุฑฒ์, 2553) 3. สภาพแวดล้อม สิ่งแวดล้อมนับเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ช่วยในการเยียวยาผู้ป่วย รวมทั้งญาติและ บุคลากรภายในโรงพยาบาล ซึ่ง Jain Malkin สถาปนิกผู้เชี่ยวชาญในการออกแบบสถานพยาบาล เคยกล่าวไว้ว่า “คุณภาพของสภาพแวดล้อมมี อิทธิพลต่อการเร่งหรือหน่วงเหนี่ยวการเยียวยาได้ อย่างไม่ต้องสงสัย” (โกศล จึงเสถียรทรัพย์, 2553)

การปรับปรุงคุณภาพอากาศจะ เห็นได้ว่า คุณภาพอากาศมีตัวแปร ที่ส�ำคัญในชุดแรก คือ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และความเร็ว ของกระแสลมซึ่ ง มี ค วามสั ม พั น ธ์ กัแบบแยกไม่ออก โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ประเทศในเขตร้อนชื้น อย่างประเทศไทยของเราความร้อน กบั ความชนื้ มาค่กู นั ตลอด ถ้า เราจะพจิ ารณาจากปัญหาตวั แปร แรกคือ อุณหภูมิ ความร้อน/ความ เย็น ที่วัดได้ด้วเทอร์โมมิเตอร์ทั่วไป โดยปกติก็จะบอกได้แต่เพียงว่าช่วง อุณหภูมิที่เราจะรู้สึกสบายไปจนถึง ช่วงที่รู้สึกว่าร้อน ซึ่งแต่ละคนก็จะมี ช่วงสบายที่แตกต่างกันไปบ้างตาม แต่ลักษณะธาตุปราณของแต่ละคน

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

ภาพประกอบ:(Kirimaya, เขาใหญ 20.9.62)่

การจัดการสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเยียวยา การจัดสิง่ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเยียวยาส�ำหรับผูป้ ว่ ย ผูม้ ารับบริการ เจ้าหน้าทีใ่ ห้มคี วามอบอุน่ เหมือนบ้าน ทีส่ ามารถรับรู ้ด้วยประสาท สัมผัสทัง้ 5 ของคน คือ การเห็น การรับกลิน่ การลิม้ รส การได้ยนิ การรับรู ้/สัมผัส และเป น็ การบูรณาการและสรา้ งความสมดุลย์ ระหว่าง ความปลอดภัย การเรียนรู ้ ความเชือ่ วัฒนธรรม สังคมความเป น็ อยู่ ภูมิ สถาป ัตย์ และความพอเพียง การจัดการสิง่ แวดล้อมเพือ่ สรา้ งการเรียนรู ้

เป น็ การสรา้ งสิง่ แวดล้อมทีช่ ว่ ยให้ผูป้ ว่ ย ญาติ ประชาชนทัว่ ไป หรือ บุคลากรได้เรียนรู ้ ท�ำความเข้าใจ สามารถน�ำสิง่ ทีพ่ บเห็นไปใช ้ ใน ชีวติ ประจ�ำวัน เพือ่ สรา้ งเสริมสุขภาพให้ดี ลดการเจ็บปว่ ยทีไ่ ม่จำ� เป น็ มีประเด็นส�ำคัญทีค่ วรพิจารณา คือ 1. โอกาสสรา้ งการเรียนรู ้ ใน แต่ละจุด 2.เนือ้ หาการเรียนรูท้ เี่ ป น็ ประโยชน์ 3. กลุม่ เป ้าหมายทีจ่ ะได้ประโยชน์ และ 4. ตรงความต้องการของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย


6

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

ความสัมมพัพันนธ์ขธ์ององค์ ประกอบการเยี ยวยาสุยวยาสุ ขภาพแบบองค์ รวม รวม ความสั ขององค์ ประกอบการเยี ขภาพแบบองค์

เมื เมื่อ่อวิวิเเคราะห์ คราะห์จจากการทบทวนวรรณกรรม ากการทบทวนวรรณกรรม ตัตัววแปรที แปรที่ส่ส�ำ�ำคัคัญ ญของการท� ของการท�ำำให้ ให้เเกิกิดดการเยี การเยียยวยาสุ วยาสุขขภาพแบบองค์ ภาพแบบองค์รรวม วม ซึซึ่ง่งจะเป็ จะเป็นนตัตัววก�ก�ำำหนด หนด และ และ ท�ท�ำำให้ เ กิ ด โรงพยาบาลที เ ่ อื อ ้ ต่ อ การเยี ย วยาสุ ข ภาพแบบองค์ ร วม ได้ แ ก่ ให้เกิดโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม ได้แก่ 1. 1. ตัตัววแปรต้ แปรต้นน คืคืออ กาย กาย จิจิตตใจ ใจ และสั และสังงคม คม เมื เมื่อ่อพิพิจจารณาตามภาพจะเห็ ารณาตามภาพจะเห็นนลูลูกกศรที ศรที่ว่วิ่งิ่งไปยั ไปยังงองค์ องค์ปประกอบของสุ ระกอบของสุขขภาพองค์ ภาพองค์รรวมส่ วมส่ววนน อือื่น่น คืคืออ สิสิ่ง่งแวดล้ แวดล้ออมม จึจึงงเป็ เป็นนเหตุ เหตุสส�ำ�ำคัคัญ ญให้ ให้เเกิกิดดโรงพยาบาลที โรงพยาบาลที่เ่เอือื้อ้อต่ต่ออการเยี การเยียยวยาสุ วยาสุขขภาพแบบองค์ ภาพแบบองค์รรวม วม กาย กาย การที การที่ผ่ผู้ปู้ป่ว่วยได้ ยได้รรับับการรั การรักกษา ษา จากแพทย์ ท ม ่ ี ค ี วามเข้ า ใจเรื อ ่ งการเยี ย วยาสุ ข ภาพแบบองค์ ร วม ผู ป ้ ว ่ ยก็ จ ะเป็ น ส่ ว นหนึ ง ่ ที จ ่ ะสร้ า งสิ ง ่ แวดล้ อ มที เ ่ อื อ ้ ต่ อ การเยี ย วยาต่ อ จากแพทย์ที่มีความเข้าใจเรื่องการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม ผู้ป่วยก็จะเป็นส่วนหนึ่งที่จะสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเยียวยาต่อไป ไป จิจิตตใจ การที แ ่ พทย์ พยาบาล ญาติ คนใกล้ ช ด ิ และจิ ต อาสา น้ อ มน� ำ ผู ป ้ ว ่ ยให้ เ กิ ด จิ ต ใจที ด ่ ง ี าม เห็ น เรื อ ่ งการเจ็ บ การป่ ว ยเป็ น เรื อ ่ งธรรมดา ใจ การที่แพทย์ พยาบาล ญาติ-คนใกล้ชิด และจิตอาสา น้อมน�ำผู้ป่วยให้เกิดจิตใจที่ดีงาม เห็นเรื่องการเจ็บการป่วยเป็นเรื่องธรรมดา แล้ แล้ววนันั้น้น ก็ก็จจะท� ะท�ำำให้ ให้ผผู้ปู้ป่ว่วยไม่ ยไม่เเครี ครียยดด ซึซึ่ง่งจะส่ จะส่งงผลให้ ผลให้รร่า่างกายไม่ งกายไม่เเจ็จ็บบป่ป่ววยจากจิ ยจากจิตตใจเพิ ใจเพิ่ม่มขึขึ้น้นสัสังงคม คม การที การที่แ่แพทย์ พทย์ พยาบาล พยาบาล ญาติ ญาติ--คนใกล้ คนใกล้ชชิดิด และ และ จิจิตตอาสามี จ ต ิ ใจที ด ่ ก ี จ ็ ะสามารถสร้ า งสรรค์ บ รรยากาศ สถานที ่ หรื อ กิ จ กรรมที เ ่ อื อ ้ ให้ ผ ป ้ ู ว ่ ยได้ ส ม ั ผั ส กั บ สิ ง ่ แวดล้ อ มที ด ่ ผ ี ว ้ ู จ ิ ย ั จึ ง สรุ อาสามีจิตใจที่ดีก็จะสามารถสร้างสรรค์บรรยากาศ สถานที่ หรือกิจกรรมที่เอื้อให้ผู้ป่วยได้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่ดีผู้วิจัยจึงสรุปป ตัตัววแปรต้ แปรต้นน ได้ ได้แแก่ก่ สัสังงคม คม ส่ส่ววนองค์ นองค์ปประกอบทางด้ ระกอบทางด้าานกาย นกาย และใจนั และใจนั้น้นจะต้ จะต้อองเป็ งเป็นนส่ส่ววนหนึ นหนึ่ง่งขององค์ ขององค์ปประกอบทางสั ระกอบทางสังงคม คม กล่ กล่าาวคื วคืออ สัสังงคมในที คมในที่​่ นีนี้จ้จะต้ ะต้อองเป็ งเป็นนสัสังงคมที คมที่ม่มีจีจิติตใจดี ใจดีงงามและสนั ามและสนับบสนุ สนุนนส่ส่งงเสริ เสริมมให้ ให้รร่า่างกายและจิ งกายและจิตตใจผู ใจผู้ป้ป่ว่วยให้ ยให้ดดีขีขึ้นึ้น ซึซึ่ง่ง สัสังงคมประกอบด้ คมประกอบด้ววยแพทย์ ยแพทย์ พยาบาล พยาบาล ญาติ ญาติ-คนใกล้ คนใกล้ชชิดิด และจิ และจิตตอาสา อาสา นอกจากนี นอกจากนี้ย้ยังังมีมีอองค์ งค์ปประกอบทางสั ระกอบทางสังงคมที คมที่ส่ส�ำ�ำคัคัญ ญทีที่ท่ท�ำ�ำให้ ให้เเกิกิดดโรงพยาบาลที โรงพยาบาลที่เ่เอือื้อ้อต่ต่ออการเยี การเยียยวยาสุ วยาสุขขภาพแบบองค์ ภาพแบบองค์รรวม วม ก็ก็คคือือ เจ้ า ของโครงการ ในที น ่ ค ้ ี อ ื ผู อ ้ ำ � นวยการโรงพยาบาลราชพฤกษ์ ซึ ง ่ เป็ น ผู ก ้ ำ � หนดนโยบายในส่ ว นต่ า งๆของโรงพยาบาล เจ้าของโครงการ ในที่นี้คือผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นผู้ก�ำหนดนโยบายในส่วนต่างๆของโรงพยาบาล 2. 2. ตัตัววแปรตาม แปรตาม คืคืออ สิสิ่ง่งแวดล้ แวดล้ออมม ได้ ได้แแก่ก่ ต้ต้นนไม้ ไม้ อากาศแสง อากาศแสง สีสี เสี เสียยงง กลิ กลิ่น่น นํนํ้า้า และที และที่ว่ว่า่างง หมายถึ หมายถึงง สิสิ่ง่งแวดล้ แวดล้ออมต้ มต้อองอาศั งอาศัยยทัทั้ง้งกาย กาย จิจิตตใจ และสั ง คมเป็ น เหตุ เ บื อ ้ งต้ น จึ ง จะเกิ ด โรงพยาบาลที เ ่ อื อ ้ ต่ อ การเยี ย วยาสุ ข ภาพแบบองค์ ร วม ใจ และสังคมเป็นเหตุเบื้องต้นจึงจะเกิดโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม เมื เมื่อ่อทราบความส� ทราบความส�ำำคัคัญ ญของตั ของตัววแปรในการสร้ แปรในการสร้าางสิ งสิ่ง่งแวดล้ แวดล้ออมคื มคืออ โรงพยาบาลที โรงพยาบาลที่เ่เอือื้อ้อต่ต่ออการเยี การเยียยวยาสุ วยาสุขขภาพแบบองค์ ภาพแบบองค์รรวม วม ซึซึ่ง่งตัตัววแปร แปร ต้ต้นนประกอบด้ ว ย 2 ตั ว แปร ได้ แ ก่ ตั ว แปรต้ น ที ห ่ นึ ง ่ คื อ ประกอบด้วย 2 ตัวแปร ได้แก่ ตัวแปรต้นที่หนึ่ง คือ “เจ้ “เจ้าาของโครงการ” ของโครงการ” และตั และตัววแปรต้ แปรต้นนทีที่ส่สอง อง คืคืออ “สั “สังงคม” คม” ในที ในที่น่นี้ขี้ขอเรี อเรียยกว่ กว่าา “ผู “ผู้ใ้ใช้ช้โโครงการ” ครงการ” ผูผู้ว้วิจิจัยัยค้ค้นนพบว่ พบว่าางานสถาปั งานสถาปัตตยกรรมจะเกิ ยกรรมจะเกิดดการ การ เยี ย วยาสุ ข ภาพแบบองค์ ร วมได้ น ้ ั น ต้ อ งเกิ ด จากกระบวนการเรี ย นรู ้ แ ละการมี ส ่ ว นร่ ว มของเจ้ า ของโครงการและผู ้ ใ ช้ โ ครงการโดยมี ค ณะผู เยียวยาสุขภาพแบบองค์รวมได้นั้นต้องเกิดจากกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของเจ้าของโครงการและผู้ใช้โครงการโดยมีคณะผู้​้ วิวิจจัยัยเป็ เป็นนส่ส่ววนส� นส�ำำคัคัญ ญในการแปรผลจากนามธรรมทางความคิ ในการแปรผลจากนามธรรมทางความคิดดทีที่ไ่ได้ด้จจากกระบวนการเรี ากกระบวนการเรียยนรู นรู้ไ้ไปสู ปสู่ค่ความเป็ วามเป็นนรูรูปปธรรมทางสถาปั ธรรมทางสถาปัตตยกรรม ยกรรม โดย โดย ผ่ผ่าานกระบวนการวิ เ คราะห์ แ ละสั ง เคราะห์ เพื อ ่ ให้ ไ ด้ ม าซึ ง ่ แนวทางการออกแบบโรงพยาบาลที เ ่ อื อ ้ ต่ อ การเยี ย วยาสุ ข ภาพแบบองค์ ร นกระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อให้ได้มาซึ่งแนวทางการออกแบบโรงพยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวม วม และน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการออกแบบต่ อ ไป (วารสารวิ ช าการ คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ 2 556) และน�ำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบต่อไป (วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์2556) การรักษาพยาบาลผูป้ ว่ ยวาระสุดท้าย ใครมีอานาจตัดสินใจ

การรั ยวาระสุ ดท้ายป้ ว่ใครมี ดสินจใจะพูดคุยกับผูป้ ว่ ยเพือ่ ให้ขอ้ มูลต่าง ๆ เกีย่ วกับความเจ็บปว่ ยนัน้ ตลอดจน กษาพยาบาลผู ในเวชปฏิบป้ตั โิว่ ดยทั ว่ ไป หากผู ยยังรูอส้ กานาจตั ึ ตัวดี แพทย์

ขัน้ ตอนในการรั ในเวชปฏิ บตั โิ ดยทัป้ ว่ วไป หากผู ว่ ยยัางจะรั รูส้ กึ บตัการรั วดี แพทย์ ขอ้ มูลต่ากงการของการ ๆ เกีย่ วกับความเจ็ บปว่ ยนั น้ ตลอดจนขั กษาและผู ่ ยจะตั ดสิปน้ ใจว่ กษาหรืจอะพูไม่ดอคุย่ยากังไรบผูทัป้ ง้ ว่ นียเพื เ้ ป อ่น็ ให้ ไปตามหลั informed consent แต่ในน้ ตอนในการรั ษาและผู ดสินใจว่ท้าจะรั บการรั อไม่อย่าดงไร ทัง้ นีเ้ ป น็ คไปตามหลั การของการ informedบตั consent แต่ในกรณี กรณีทผี่ ูป้ วก่ ยไม่ รูส้ กึ ตัปว้ ว่ เช่ยจะตั น ในวาระ ายของชี วติ กษาหรื ผูท้ สี่ ามารถตั สินใจแทนก็ อื ญาติ ปกัญหาที เ่ กิดขึน้ ในทางปฏิ กิ ค็ อื หากญาติ มคี วามทผี่ ู ้ ปวเห็ ่ ยไม่ ตัว นเช่นแพทย์ ในวาระ ท้ายของชีวติ ังความเห็ ผูท้ สี่ ามารถตั ดสินใจแทนก็ ัญหาทีเ่ กิดในกรณี ขึน้ ในทางปฏิ บตั กิ คน็ ็ อือย่หากญาติ มคี วามเห็ ตรง น รไมู่ส้ ตกึ รงกั พยาบาลควรจะฟ นจากญาติ คนไหน คดุอื ลญาติ ยพินจิ ปของแพทย์ นคี้ วรจะเป างไร ทีจ่ ะไม่ ให้เกิดนป ไม่ ัญหา กันกับแพทย์ นไหน ดุาลงสงบ ยพินจิ ของแพทย์ ในกรณี คี้ วรจะเป น็ อย่างไร ทีจ่ ะไม่ ให้เกิดนปควรแก่ ัญหากักบารพิ ญาติจารณา รวมทัง้ ญาติ พยาบาลควรจะฟ รวมทัง้ บทบาททีังความเห็ จ่ ะช่วยให้นจากญาติ ผูป้ ว่ ยได้จคากไปอย่ ซึง่ เป น็ ประเด็ นทันง้ ทางด้ านกฎหมายและจริ ยธรรมอั บทบาททีจ่ ะช่วยให้ผูป้ ว่ ยได้จากไปอย่างสงบ ซึง่ เป น็ ประเด็นทัง้ ทางด้านกฎหมายและจริยธรรมอันควรแก่การพิจารณา กฎหมายก็ได้บญั ญัตริ บั รองไว้วา่ มิให้ถอื ว่าการกระทานัน้ เป น็ ความผิดและให้พน้ จากความรับผิดทัง้ ปวง ดังทีป่ รากฏใน มาตรา 12 ของ กฎหมายก็ ได้บญั งญัชาติ ตริ บั พ.ศ. รองไว้2551 วา่ มิใดัห้งถนีอื ้ ว่มาตรา าการกระทานั น้ เป สน็ ทิความผิ ดและให้ พน้ จากความรั บผิดทัจง้ ะรั ปวงบบริ ดังกทีารสาธารณสุ ป่ รากฏใน มาตรา พ.ร.บ.สุขภาพแห่ 12 บุคคลมี ธิทาหนั งสือแสดงเจตนาไม่ ประสงค์ ขทีเ่ ป น็ 12 ของ .บ.สุอ่ ขยืภาพแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 ดังนี้ มาตรา 12อบุเพืคอ่ คลมี ทิ ธิทาหนังสือแสดงเจตนาไม่ บริการสาธารณสุ น็ ไปเพียง ไปเพีพ.ยรงเพื ดการตายในวาระสุ ดท้ายของชี วติ ตน หรื ยุตกิ สารทรมานจากการเจ็ บปว่ ยได้ประสงค์จะรับ(แสวง บุญเฉลิมวิภขาสทีเ่ ป27.11.62) เพือ่ ยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวติ ตน หรือเพือ่ ยุตกิ ารทรมานจากการเจ็บปว่ ยได้ (แสวง บุญเฉลิมวิภาส 27.11.62)


7

ทฤษฎี และ แนวทางในการออกแบบการจัดการสภาพแวดล้อม

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

ทฤษฎี และ แนวทางในการออกแบบการจัดการสภาพแวดล้อม

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ Physical Environment เป็นสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบกายเรา บางทีเราก็สังเกตเห็นได้ บางทีเราก็ไม่ทันได้สังเกตมัน แต่สิ่งที่ปรากฏรอบกายเราทั้งหมดล้วนมีผล ต่อสภาวะจิตใจทั้งสิ้น เช่น แสง สี เสียง ภูมิทัศน์ อากาศ และแรงสนับสนุนทางสังคม เว็บไซต์ การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา(30.9.62)

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ Physical Environment

เป็นสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบกายเรา บางทีเราก็สังเกตเห็นได้ บางทีเราก็ไม่ทันได้สังเกตมัน แต่สิ่งที่ปรากฏรอบกายเราทั้งหมด ล้วนมีผลต่อสภาวะจิตใจทั้งสิ้น เช่น แสง - Environmental Light แสงสว่างถือเป็นปัจจัยส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันระบบแสงสว่างที่ดี ต้องให้ แสงที่เหมาะสมกับลักษณะของกิจกรรมที่ท�ำในพื้นที่ ทั่วไปของสถานพยาบาลควรแสงสว่างที่สม�ำ่เสมอ ไม่สว่างจ้าและไม่มืดจนเกินไป ในพื้นที่ต้องการความสงบอาจจัดให้มีแสงเท่าที่จ�ำเป็นส่วนในที่ที่อาจเกิดอันตราย เช่น บันไดหรือทางเดินข้ามถนนในจอดรถก็ควรจัด ให้มีแสงที่สว่าง เพียงพอ สี - Color in The Environment สภาพแวดล้อมของชีวิตประจ�ำวันประกอบไปด้วยสีสันหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นสีของต้นไม้ ดอกไม้ รถยนต์ อาคาร เก้าอี้ ข้าวของเครื่องใช้ และเครื่องประดับตกแต่งต่างๆ เพียงแต่เราจะรู้สึกคุ้นชินกับมันเสียจนบางทีเราก้ไม่ทัน สังเกตและให้ความส�ำคัญกับมันมากนัก สีสันของอาคารมีส่วนสร้างความสดชื่นมีชีวิตชีวา ในขณะเดียวกัน การศึกษาเรื่องคุณสมบัติ ของสีที่มีผลต่ออารมณ์ ภูมิทัศน์ - Environmental Landscapeโดยทั่วไปค�ำว่า “ภูมิทัศน์” (Landscape) หมายถึง ภาพรวมของพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ที่ มนุษย์รับรู้ได้ถึงระยะห่างโดยทางสายตา อาจเป็นพื้นที่ธรรมชาติที่ประกอบด้วยรูปทรงของแผ่นดิน น�ำ้ ต้นไม้ สัตว์ และสรรพสิ่งที่ มนุษย์สร้างที่เรียกว่าภูมิทัศน์ธรรมชาติ หรือภาพรวมของเมืองหรือส่วนของเมือง เรียกว่าภูมิทัศน์เมือง บางทีเราอาจคุ้นเคยกับค�ำว่า “วิว” ซึ่งมีความหมายแคบเฉพาะภาพส่วนของธรรมชาติที่มีความสวยงาม โดยที่ความหมายจากภาษาอังกฤษกับความเข้าใจแบบไทย ก็สื่อออกไปคนละแบบ ภูมิทัศน์หรือภูมิสถาปัตยกรรม ถ้ามองในแบบมหภาค ก็เป็นการออกแบบชุมชนเมืองกันเลยทีเดียว แต่ถ้ามอง แบบจุลภาคก็อาจเป็นแค่การจัดสวนก็ได้ เสียง - Environmental Noiseเสียงที่เกิดขึ้นจากแหล่งก�ำเนิดใด ๆ ก็ตาม สามารถจ�ำแนกออกเป็นเสียงที่เป็นมลภาวะกับเสียงที่ ฟังแล้วเกิดสุขภาวะ หรือเสียงที่พึงประสงค์กับเสียงที่ไม่พึงประสงค์นั่นเอง ตามที่ได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้นว่า ผัสสะที่มากระทบโสต ประสาทของเรานั้น ทันทีที่มันมากระทบ เราจะเปรียบเทียบกับชุดข้อมูลเดิมที่มีอยู่ แล้วตัดสินว่าเสียงที่เราได้ยินนั้นมันไพเราะเสนาะหู หรือไม่ไพเราะ ดังพอดีในระดับที่รับได้หรือดังเกินไปเป็นมลภาวะเสียงในสถานพยาบาล เป็นเสียงที่มีลักษณะเฉพาะที่ส่งผลกระทบต่อ ทั้งผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ การพิจารณาปัญหาเรื่องเสียงมีหลายปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบทั้งเรื่อง จังหวะ (เสียงที่ดังเป็นจังหวะซ�ำ้ ๆ ท�ำให้ เกิดความเครียดเรื้อรังได้) เวลา (เสียงดังในเวลาเช้ารบกวนการนอน) คุณภาพของอากาศ - Air Quality จะเห็นได้ว่า คุณภาพอากาศมีตัวแปรที่ส�ำคัญในชุดแรก คือ อุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์ และ ความเร็วของกระแสลม ซึ่งมีความสัมพันธ์กันแบบแยกไม่ออก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศในเขตร้อนชื้นอย่างประเทศไทยของเรา ความร้อนกบั ความชนื้ มาค่กู นั ตลอด ถ้าเราจะพจิ ารณาจากปัญหาตวั แปรแรกคือ อุณหภูมิ ความร้อน/ความเย็น ที่วัดได้ด้วย เทอร์โมมิเตอร์ทั่วไป โดยปกติก็จะบอกได้แต่เพียงว่าช่วงอุณหภูมิที่เราจะรู้สึกสบายไปจนถึงช่วงที่รู้สึกว่าร้อน หนังสือ Healing Environmentการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (โกเมธ นาควรรณกิจ 1-40 )


8

ตารางแสดงหัวข้อวัตถุประสงค์การศึกษาและกรณีศกึ ษา ชือ่ โครงการ

วัตถุประสงค์ในการศึกษา ศึกษาการออกแบบ พืน้ ทีก่ ารรักษา

ศึกษาแนวคิด การออกแบบ

1. ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์

2. โครงการศูนย์เรียนรู้และพัฒนา สุขภาวะผู้สูงอายุแบบครบวงจร และบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย

3. โรงพยาบาลราชพฤกษ์

4. Jockey Club Home for Hospice

รูปภาพจาก : บริษัทสํานกงานสถาปนิกอาศรมศิลป์จํากัด

ตัวอย่างที1่ ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ หน้าที่ 10-11

ตัวอย่างที2่ hospice ศูนย์เรียนรูแ้ ละพัฒนาสุขภาวะผูส้ งู อายุแบบครบ วงจรและบริบาลผูป้ ว่ ยระยะท้าย มหาวิทยาลัยมหิดล หน้าที่ 12-13


9 วัตถุประสงค์ในการศึกษา ศึกษารูปแบบการ รักษาประคับประคอง

ศึกษาการวาง ผังในโครงการ

รูปภาพประกอบ ตัวอย่างโครงการ

รูปภาพจาก : ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์

รูปภาพจาก : บริษัทสํานกงานสถาปนิกอาศรมศิลป์จํากัด

รูปภาพจาก : เว็บไซต์ โรงพยาบาลราชพฤกษ์ (สืบค้น 02.09.62)

รูปภาพจาก :เว็บไซต์ pinterest (สืบค้น 02.09.62)

รูปภาพจาก : เว็บไซต์ โรงพยาบาลราชพฤกษ์ (สืบค้น 02.09.62)

ตัวอย่างที3่ โรงพยาบาลราชพฤกษ์ ขอนแก่น หน้าที่ 14-15

รูปภาพ :เว็บไซต์ pinterest (สืบค้น 02.09.62)

ตัวอย่างที4่ jockey club home for hospice หน้าที่ 16-17


10

จากการวิเคราะห์ตัวอย่างโครงการ ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์มีดั่งต่อไปนี้ - ศึกษาการออกแบบพื้นที่การรักษา โดยทางโครงการมีการออกแบบพื้นที่การ รักษาออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆด้วยกัน คือ -1 ส่วนรักษา opd ที่ผู้ป่วยใกล้เข้าสู่ ระยะสุดท้ายเพื่อง่ายต่อการดูแลรักษาใน ระยะต่อไป -2 ส่วนผู้ป่วยในซึ่งมีอายุไขประมาณ 2 สัปดาห์ หรือมีค่า pps 20% โดยพื้นที่หลักกว่า40% จะเป็นพื้นที่ ผู้ป่วยในของโครงการ โดยผู้ป่วยจะได้รับ การดู แ ลเป็ น พิ เ ศษจากแพทย์ อ ย่ า งใกล้ ชิดและมีการดูแลให้มีความสอดคลองกับ ธรรมชาติในการบ�ำบัดและมีการใช้ศาสนา มาช่วยในการรักษาทางใจ ตาแนวทาง - (การรักษาแบบประคับประครอง)และ เป็น - (แนวทางการการออกแบบ)ไปด้วย - ศึกษาการวางผังโครงการ โดยโครงการ มีการวางผัง โดยแบ่งเป็น ส่วน opd ห้อง ตรวจและห้องรักษา ส่วนพนักงานและ ส�ำนักงาน เป็นส่วนกลาง และจุดส�ำคัญ คือส่วนผู้ป่วยใน เป็นจุดสุดท้ายเพื่อความ เป็นส่วนตัวและดูแลได้ง่าย โดยตัวอาคาร ทั้งหมดนี้ จะเป็นอาคารหลังเดียวกัน เพื่อ ง่ายต่อการเข้าถึงในการดูแลรักษา แต่ ท�ำให้เจ้าหน้าที่และผู้ป่วยรู้สึกมีความเป็น ส่วนตัวน้อยลงในการรักษาและท�ำงานใน

1

2

3

รูปภาพที่ 1. สวนส่วนกลางบริเวณให้บริการผู ้ ปว่ ยนอก พืน้ ทีบ่ ริหารและห้องอาหารส่วนกลาง เพือ่ เกิดบริบททีด่ ใี นพืน้ ทีเ่ หล่านัน้

รูปภาพที่ 2. ห้องพักผูป้ ว่ ยใน โดยในภาพจะเป น็ พืน้ ทีส่ ว่ นเตียงนอน และ มีการเชือ่ มต่อกับ ธรรมชาติ และ ห้องรับแขก ห้องนอนแขก

รูปภาพที่ 3. อาคารพืน้ ทีเ่ ก็บศพ เก็บโล่ง เพือ่ รอ ขนย้ายศพไปท�ำพิธที วี่ ดั ต่อไป โดยอาคารนีก้ จ็ ะมี พืน้ ทีส่ ำ� หรับท�ำพีธที างศาสนาเบือ้ งต้น


11

กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง (ในประเทศ) 1 ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์

ชื่อโครงการ : ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ ที่ตั้งโครงการ : ซอยคลองหลวง 25 หมู่5 ถนนพหลโยธิน ต. คลองหนึ่ง อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี 12120. ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ เป็นสถาน ที่กึ่งบ้าน กึ่งโรงพยาบาลที่ให้ญาติได้มา ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ร่วมกับแพทย์และ พยาบาล ให้ผู้ป่วยได้จากไปอย่างสงบตามวิธี ธรรมชาติ โดยไม่ต้องทุกข์ทรามารจากการ รักษาที่ไม่จ�ำเป็น โดยมุ่งเน้นไปทางการรักษา แบบ ( Palliative care ) หรือการรักษา แบบประคับประคองซึ่งท�ำให้ผู้ป่วยเสียชีวิต อย่างสงบ

4

5

รูปภาพที่ 4. พืน้ ทีท่ างศานาของโครงการเพือ่ ประกอบกิจทางศาสนาและท�ำสมาธิของ ครอบครัวและยังมีพนื้ ทีศ่ านาอืน่ ๆอีก

รูปภาพที่ 5. พืน้ ทีส่ วนและศาลาหน้าโครงการ เพือ่ ให้ผูป้ ว่ ยและครอบครัวเกิดความรูส้ กึ ไม่มมี า ในโรงพยาบาล

ข้อเสียของโครงการจากการวิเคราะห์ 1 . พื้นที่พักของพยาบาลที่ไม่เหมาะสม เนื่องด้วยไม่ได้รับการวิเคราะห์ความต้องการ ของพยาบาลอย่ า งเพี ย งพอท� ำ ให้ พื้ น ที่ พั ก ของแพทย์ แ ละพยาบาลมี ค วามแออั ด 2 . พื้นที่โถงหน้าห้องพักผู้ป่วยยังมีการ ออกแบบ ในรูปแบบโรงพยาบาลซึ่งท�ำให้ผู้ ป่วยรู้สึกยังอยู่ในโรงพยาบาล ส่วนที่ออกแบบให้เข้ากับการรักษา ข้อมูลจาก : ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ จ.ปทุมธานี


12

จากการวิเคราะห์โครงการ ศูนย์เรียนรูแ้ ละ พัฒนาสุขภาวะผูส้ งู อายุแบบครบวงจรและ บริบาลผูป้ ว่ ยระยะท้าย มหาวิทยาลัยมหิดล - ศึกษาการออกแบบพื้นที่การรักษา โดยโครงการนี้เป็นโครงการใหญ่การรักษา และการออกแบบพื้นที่ การรักษาจะออก เป็น 4 อย่างดั่งนี้ - 1. พื้นที่ส่วน opdการรักษาผู้ป่วยทั้ง ผู้ป่วยทั่วไปและผู้ป่วยที่จะเข้าสู่ระยะ สุดท้าย - 2. การออกแบบพื้นที่การบ�ำบัดโดยมี ส่วนแพทย์ทางเลือก จีนและไทยเพื่อลด อาการปวด - 3. พื้นที่ออกแบบส�ำหรับผู้สูงอายู ที่ต้องการการรักษาแบบประคับประครอง - 4. ออกแบบพื้นที่ส�ำหรับผู้ป่วยระยะ สุดท้ายที่มีความใกล้ชิดกับธรรมชาติเป็น พิเศษ - แนวทางการการออกแบบ เป็นการ ออกแบบโครงการโดยค�ำนึงถึงความเป็น ส่วนตัวเป็นหลัก จึงมีอาคารเป็นหลังๆ แยกส่วนกัน - ศึกษาการวางผังโครงการ เนื่องจาก ต้องมีความเป็นส่วนตัวและการเพิ่มพื้นที่ ธรรมชาติสอดแทรกตามอาคาร จึงท�ำให้ เกิดการออกแบบพื้นที่ อาคารที่กระจาย ตามจุดที่ผู้ป่วยหรือผู้ใช้งานต้องการ เช่น ผู้ป่วยที่ต้องการวิว และความเป็นส่วนตัว มาก และยังมีศาลาธรรมส�ำหรับ ผู้ป่วย และญาติในการบ�ำบัดทางจิตใจซึ่งสอด คลองกับ- แนวการออกแบบการรักษา

1

2

3

รูปภาพที่ 1. อาคารผูป้ ว่ ยนอกหรือผูป้ ว่ ย opd และประกอบไปด้วยส่วนบ�ำบัดต่างๆ และห้อง สมุดและโรงอาหารกลาง

รูปภาพที่ 2. อาคารห้องพักผูป้ ว่ ยใน โดยลักษณะ เป น็ บ า้ นแฝดแบ่งเป น็ 4หอ้ งพักทีจ่ ดั อยู ่ในบริบท ทีล่ อ้ มรอบไปด้วยธรรมชาติ

รูปภาพที่ 3. ศาลาหรือพืน้ ทีป่ ฎิบตั ธิ รรม เป น็ พืน้ ทีส่ ว่ นกลางที่ สามารถพาผูป้ ว่ ยและครอบครัว มาท�ำกิจกรรมทางธรรม


13

กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง (ในประเทศ) 2 โครงการ Hospice ศูนย์เรียนรู้และ พัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุแบบครบ วงจร

ชื่อโครงการ : โครงการศูนย์เรียนรู้และ พัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุแบบครบวงจรและ บริบาลผู้ป่วยระยะท้าย มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัทออกแบบ : อาศรมศิลป์ จบประมาณ การก่อสร้าง 1,029 ล้านบาท ที่ตั้งโครงการ : ต�ำบลบางปลา อ�ำเภอ บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ บนพื้นที่ จ�ำนวน 72 ไร่

รูปภาพจาก : บริษัทสํานกงานสถาปนิกอาศรมศิลป์จํากัด

4

5

รูปภาพที่ 4. อาคารห้องท�ำพิธศี พ เนือ่ งจากจัด ระบบสังคมในโครงการท�ำใหต้ อ้ งมีพนื้ ทีพ่ ธิ ศี พให ้ ในอืน่ ๆในโครงการเข้าร่วมงานศพ เมือ่ มีผูเ้ สียชีวติ

รูปภาพที่ 5. อาคารทีอ่ ยูข่ องผูส้ งู อายุ โดยจะจัด อาคารให เ้ กิดการอยู ร่ ว่ มกันให เ้ กิดเป น็ สงคม ขนาดเล็ก

ศูนย์ที่พักอาศัยส�ำหรับผู้สูงอายุครบ วงจร ร่วมกับการขยายขอบเขตความรับ ผิดชอบ และเพื่อสมรรถภาพของศูนย์เรียน รู ้ แ ละพั ฒ นาสุ ข ภาพผู ้ สู ง อายุ แ บบครบ วงจรและบริบาลผู้ป่วยระยะท้าย ซึ่งเป็น โครงการที่คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล รามาธิบดี มีแนวคิดให้มีการบูรณาการให้ มี การคงศักยภาพทุกด้านทั้งร่างกาย จิตใจ และสมอง เพื่อสุขภาวะของผู้สูงอายุ การ ป้องกัน ค้นพบโรคในระยะต้น ดูแลรักษา ฟื้นฟู และเมื่อในที่สุดสังขารนี้ไม่อาจยืน หยัดอีกต่อไปให้จากไปอย่างสงบสมศักดิ์ศรี

ข้อมูล รูปภาพจาก : บริษัทสํานกงานสถาปนิกอาศรมศิลป์จํากัด


14

จากการวิเคราะห์โครงการ โรงพยาบาล ราชพฤกษ์ (ใหม่)จ.ขอนแก่น - ศึกษาการออกแบบพื้นที่การรักษาและ - แนวคิดการออกแบบ โรงพยาบาลที่เอื้อให้เกิดการเยียวยาทาง ด้านจิตใจ -1. การออกแบบให้มีพื้นที่สีเขียว โดยรอบพื้นที่โครงการเพื่อให้ร่มเงาเกิด บรรยากาศร่มรื่นชื่นใจ และช่วยป้องกัน มลภาวะทางอากาศทั้งเสียง ควัน และฝุ่น จากภายนอกโครงการ โดยการปลูกไม้ รุกขชาติเป็นแนวล้อมรอบโครงการ เช่น ไม้ยาง ไม้ตะเคียนเป็นต้น -2 สอดแทรกธรรมชาติเข้าไปยังงาน สถาปัตยกรรม ความสดชื่น ผ่อนคลาย และปลูกไม้ยืนต้นบริเวณโถงภายในภายใน อาคาร โดยเปิดมุมมองจากพื้นที่ต่างๆ เช่น โถงพักคอย ห้องพักผู้ป่วยแผนกผู้ป่วย หนัก (ICU) ห้องพักแผนกไตเทียม เป็นต้น เพื่อให้เกิดความสงบ และร่มรื่น โดยหลักๆมีการออกแบบ จากทฤษฎีโรง พยาบาลที่เอื้อต่อการเยียวยาสุขภาพแบบ องค์รวม โดยข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ จาก วารสาร วิชาการ( อภิเชษฐ์ อัศวบุญญาเดช 2556 )

1

2

3

รูปภาพที่ 1. การน�ำเอาต้นไม้มาใชร้ อบๆโครงการ เพือ่ ลด มลภาวะมลพิษทีอ่ ยุร่ อบๆโครงการเข้า โครงการ

รูปภาพที่ 2 การสรา้ งพืน้ ที่ โถงทางเข้าให้รูส้ กึ อบอุน่ และแตกต่างจากโรงพยาบาลทัว่ ไป

รูปภาพที่ 3 การสรา้ งจุดมุมมองน�ำสายตาเพือ่ สรา้ งภาพลักษณ์ ใรมุมมองหนึง่ ทีแ่ ต่ตา่ งจากโรง พยาบาล


15

กรณีศึกษาอาคารตัวอย่าง (ในประเทศ) 3 โรงพยาบาลราชพฤกษ์ (ใหม่)

ชื่อโครงการ : โรงพยาบาลราชพฤกษ์ ที่ตั้งโครงการ : ถนน มิตรภาพ ต�ำบล ใน เมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น ขอนแก่น งบประมาณการก่อสร้าง : พันกว่าล้านบาท โรงพยาบาลราชพฤกษ์ เป็น โรงพยาบาล เอกชน เต็มรูปแบบแห่ง แรกในจังหวัดขอนแก่น กว่า 25 ปี จาก กลุ่มแพทย์เป็นส่วนใหญ่ เรามุ่งเน้นดูแล คนขอนแก่น และคนอีสาน ช่วยแบ่งปัน ภาระความแออั ด จากโรงพยาบาลภาครั ฐ ที่อาจดูแลได้ไม่เพียงพอ คนจึงหันมาใช้ บริการของโรงพยาบาลเอกชนเป็นทางเลือก ข้อมูลจาก : เว็บไซต์ โรงพยาบาลราชพฤกษ์ (สืบค้น 02.09.62)

4

5

รูปภาพที่ 4 บรรยากาศเสมือนอยูบ่ า้ นทีม่ สี ภาพ แวดล้อมทีด่ ี เพือ่ ชโลมจิตใจในการรักษา

รูปภาพที่ 5 การตกแต่งภายในอาคารจะตกแต่งไป ด้วยไม้เทียมเพือ่ สรา้ งบรรยายกาศทีด่ ี และยัง ท�ำความสะดาดและดูแลได้ง่าย

ข้อมูลจาก : เว็บไซต์ โรงพยาบาลราชพฤกษ์ (สืบค้น 02.09.62)


16

จากการวิเคราะห์โครงการ jockey club home for hospice - ศึกษาการออกแบบพื้นที่การรักษา - ลักษณะห้องพื้นที่ห้องจะมีการเชื่อม ต่อสู่ธรรมชาติ สวนหรือพื้นที่ผ่อนคล้ายได้ ทั้งหมดเช่นลักษณะของห้องชั้นบน ห้อง ก็ จ ะมี พื้น ที่ ร ะเบี ย งที่ มีก ารเชื่อมต่อไปยัง สวนได้เลย โดยการออกแบบนี้จะต้อง ค�ำนึงถึงการออกแบบสวนใ้ดีทุกๆชั้นด้วย - ศึกษาแนวคิดการออกแบบ การออกแบบอาคารจะเน น้ ไปทางด า้ นการ ออกแบบให้ทนั สมัย รูปลักษณ์ทแี่ ปลกตาไป จากสถารพยาบาลทัว่ ไปในเมือง แต่ยงั คง พืน้ ทีภ่ ายในใหร้ ูส้ กึ ผ่อนคล้ายโดยการน�ำว้ สั ดุ ไม้เทียม หรือการน�ำสีทมี่ คี วามสบายตา และอบอุน่ มาใช ้ - รูปแบบการรักษาแบบประคับประคอง โดยการรักษาจะใช เ้ ครือ่ งมือแพทย์ ในการยืด ชีวิตให น้ อ้ ยที่สุดตามหลักของการรักษาอีก ด้วย และในโครงการยังมีการฝ กึ อบรมและ สอนการดูแลแบบประคับประคองอรกด ว้ ย เพือ่ ให้ขยาย บุคลากรในการรักษาอีกด้วย

1

2

3

รูปภาพที่ 1. พืน้ ทีห่ อ้ งพักอาศัย โดยมีการออก แบบให้มกี ารเชือ่ มต่อกับธรรมชาตสามารถออกไป ส่วนได้ทางระเบียง

รูปภาพที่ 2 รูปลักษณ์อาคารออกแบบให้ดทู นั สมั ยและให ค้ วามรู ส้ ึกให ้ ไ ม่เหมือ นอยู ่ ในโรง พยาบาล

รูปภาพที่ 3. จุดส�ำคัญอีกอย่างคือท�ำเลทีต่ งั้ โครงการ โดย ทางโครงการตัง้ อยูบ่ นตีนเขาและ หน า้ โครงการหันไปทางแม่น�ำ้สายหลักตัวเมือง


17

กรณี ศึกษาอาคารตัวอย่าง (ต่างประเทศ) 4 jockey club home for hospice

ชื่อ : Jockey Club Home for Hospice บริษัทออกแบบ : AGC Design ที่ตั้งโครงการ : ประเทศจีน เขตบริหาร พิเศษฮ่องกง ศูนย์ที่พักอาศัยส�ำหรับผู้ป่วย ระยะสุดท้าย โดยอาคารมีการออกแบบให้ ดูทันสมัย ให้แตกต่างจากโรงพยาบาลอื่นๆ ให้ผู้อยู่อาศัยไม่รู้สึกอยุ่ในพื้นที่โรงพยาบาล และอาคารยังออกแบบให้ห้องพักและส่วน ต่างๆมีการสอดคล้องกับพื้นที่ธรรมชาติให้ มากที่สุด รูปภาพ :เว็บไซต์ pinterest (สืบค้น 02.09.62)

4

5

รูปภาพที่ 4. การออกแบบพืน้ ทีเ่ พือ่ บ�ำบัดผูป้ ว่ ย ในโครงการ โดยมีการออกแบบพืน้ ทีส่ วนให้มกี าร เชือ่ มต่อกับห้องทุกห้องและทุกชัน้ ให้มากทีส่ ดุ

รูปภาพที่ 5. ภายในอาคารจะตกแต่งไปด้วยไม้เพือ่ ให้รูส้ กึ อบอุน่ และออกแบบให้ ผูป้ ว่ ยเหมือนได้อยุ่ ในบ้านของตนเอง

ข้อมูลจากและรูปภาพ :เว็บไซต์ AGC Design (สืบค้น 02.09.62)


18 บทที่ 3 ความเป็ นไปได้ของโครงการ และแนวทางนโยบาล ความเป็นไปได้ด้านนโยบายและแผน ศูนย์ชีวิตอันอุดม อาศรมศึกษิต

คลินกิ กายภาพ ร.พ. พุทธชินราช กรมส่งเสริ มและพัฒนา คุณภาพชีวติ กลุม่ แพทย์ กลุม่ วัยเกษียณ

ร.พ.มหาวิทยาลัย นเรศวร

บ.ประกันชีวติ

สถาบันวิจยั ระบบ สาธารณะสุข(สวรส.)

กรมกิจการ ผูส้ ูงอายุ

ศูนย์ชวี ติ อันอุดม อาศรมศึกษิต เป น็ ศูนย์ที่ร ว่ มมือระหว่างกลุม่ แพทย์และ กลุม่ วัยเกษียณแล ว้ มีจุดประสงค์เดี่ยว กันในการก่อตัง้ สถานทีด่ แู ลรักษาผู ป้ ว่ ย ระยะสุดท า้ ยและผู ส้ ูงอายุเพือ่ รองรับผู ้ ปว่ ยทีม่ ากขึน้ โดยมีความประสงค์จะจัด ตัง้ เพือ่ รองรับผู ป้ ว่ ยเหล่านีใ้ ห ม้ คี วามสุข ทัง้ ด้านร่างกาย และจิตใจ รวมไปทิง้ การ ทีค่ รอบครัวและคนอันเป น็ ทีร่ กั ได้รบั ผล แหล่งความสุขนีด้ ว้ ย ในช่วงบัน้ ปลาย ชีวติ

ความเป น็ ไปได้ด้านนโยบายและแผน รพ.มหาวิทยาลัยนเรศวร เมือ่ วันที่ 29 มกราคม เวลา 08.30 น. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทย์ ชินภัทร์ จิระวรพงศ์ รอง คณบดีฝา่ ยวิจยั เป น็ ประธานเป ดิ โครงการฝ กึ ปฏิบตั กิ ารด้านการสือ่ สารในผูป้ ว่ ยระยะสุดท้าย : Work Shop Communication in Palliative Care ณ ห้องเอกาทศรถ 9 ชัน้ 3 อาคารสิรนิ ธร โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร การจัดโครงการในครัง้ นีไ้ ด้รบั เกียรติจาก ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทย์กติ พิ ล นาควิโรจน์ ภาค วิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี และทีมอาจารย์ภาควิชาเวชสาสตร์ ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป น็ วิทยากรในการบรรยาย มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ทมี รักษาพยาบาลมีความรู ้ ความเชีย่ วชาญ ในการสือ่ สารกับผูป้ ว่ ยหรือญาติให้มคี วามเข้าใจ และก้าวผ่าน ความรูส้ กึ เสียใจหรือทุกข์ใจกับความเปลีย่ นแปลง ความสูญเสียครัง้ ส�ำคัญของชีวติ และช่วยให้สามารถ ผ่านพ้นเหตุการณ์ ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การระดมทุน ในการสร้างโครงการเกิดจากความต้องการขยายการรักษาของ รพ.พุธชินราชและ รพ.มหาวิทยาลัยนเรศวรโดยมีการระดมทุนจากบริษัทต่างๆที่เกี่ยวข้องทางการแพทย์ ทั้งมีส่วนรวม ในการก่อสร้าง และด้านการปฎิบัติการทางการแพทย์ ด้านบ�ำบัดและรักษา การดูแลต่างๆอีกด้วย

รูปที1่

รูปที2่

รูปที3่

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทย์ ชินภัทร์ จิระวรพงศ์ ( 2557 ) รูปภาพ 1-3 จากเว็บต์ ไซต์: โรงพยาบาลพุธชินราช 20.11.62

การดูแลผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองตามการรับรูข้ องพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ผูป้ ว่ ยทีไ่ ด้รบั การวินจิ ฉัยว่าเป น็ โรคทีร่ กั ษาไม่หายหรือปว่ ยในระยะสุดท้าย ย่อมมีผลกระทบต่อทัง้ ตัวผูป้ ว่ ยเองและครอบครัวในหลายๆ ดา้ น ทัง ้ ด้านรา่ งกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ซึง่ เป น็ สาเหตุแห่งความทุกข์ทรมาน และท้ายทีส่ ดุ อาจท�ำให้ผูป้ ว่ ยไม่สามารถจากไปอย่าง สงบได้1 การดูแลผูป้ ว่ ยแบบประคับประคองจึงเป น็ องค์ประกอบส�ำคัญในการให้บริการสุขภาพ โดยให้ความส�ำคัญต่อศักดิศ์ รีของความเป น็ มนุษย์เป น็ การดูแลความต้องการของผูป้ ว่ ยโดยไม่พยายามเร่งรัดหรือเหนีย่ วรัง้ การตาย เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ยและครอบครัว เพือ่ ให้เผชิญหน้ากับความเจ็บปว่ ยทีค่ กุ คามชีวติ และความทุกข์ทรมานจากการเจ็บปวด การใชช้ วี ติ อย่างมีคณ ุ ค่าจนถึงวาระสุดท้ายของชีวติ และจากไปอย่างสงบสมศักดิศ์ รีของความเป น็ มนุษย์ ผูป้ ว่ ยและครอบครัวจึงมีความต้องการได้รบั การดูแครอบคลุมในมิตอิ งค์รวมจากทีม สุขภาพ ช่วยเยียวยาบรรเทาความทุกข์ทงั้ ทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ตามความต้องการ ของผูป้ ว่ ยและครอบครัวรวมไปถึงการดูแลครอบครัวในช่วงเวลาเศรา้ โศกจากความสูญเสียคนอันเป น็ ทีร่ กั วารสารพยาบาลทหารบก : (นฤมล ศิริรตั นพงศ์ธร 2560) 221-228


19 หลักการดูแลผูป้ ว่ ยระยะสุดท้าย และการสมมติฐานการวิจยั ของโรงพยาบาลพุธชินราช เพือ่ น�ำไปสูก่ ารก่อตัง้ โครงการ การดูแลผูป้ ว่ ยในระยะสุดท้าย พยาบาลต้องให้ความรู ้ ในเบือ้ งต้นเกีย่ วกับโรคและอาการของผูป้ ว่ ยต่อผูดู้ แลอย่างชัดเจน รวมทัง้ ช่วยแก้ ป ัญหาในครอบครัวเพือ่ ช่วยให้มเี วลาในการดูแลผูป้ ว่ ย และให้ผดู​ู ้ แลมีความเข้าใจว่าเป น็ การดูแลเพือ่ คงคุณภาพชีวติ ของผูป้ ว่ ยจากโรคที่ คุกคามต่อชีวติ ซึง่ พยาบาลมีบทบสทส�ำคัญในการดูแลแบบประคับประคองโดยยึดหลักส�ำคัญ 5ประการ ได้แก่ 1. เคราพเป ้าหมายเจตจ�ำนงของผูป้ ว่ ย 2. ดูแลผูป้ ว่ ยแบบองค์รวม ต�ำนึงถึง ร่างกาย จิตใจ จิตสังคม จิตวิญญาณ 3. ตอบสนองความต้องการของครอบครัวผูป้ ว่ ย 4. ช่วยให้ผูป้ ว่ ยสารมารถเข้าถึงสถานบริการสารธาณสุขและผู ้ ให้บริการทีเ่ หมาะสม 5. หาวิธที างทีท่ ำ� ให้เกิดการดูแลผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายทีด่ ที สี่ ดุ วารสารพยาบาลทหารบก: (นฤมล ศิริรตั นพงศ์ธร 2560) 221-228

สมมติฐานการวิจยั 1. ประสบการณ์ในการท�ำงานทีต่ า่ งกัน มีการดูแลรักษาผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายตามการรับรูข้ องพยาบาลวิชาชีพต่างกัน 2. การศึกษาทีต่ า่ งกัน มีการดูแลรักษาผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายตามการรับรูข้ องพยาบาลวิชาชีพต่างกัน 3. พยาบาลประจ�ำหอผูป้ ว่ ยทีต่ า่ งกัน มีการดูแลรักษาผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายตามการรับรูข้ องพยาบาลวิชาชีพต่างกัน 4. พยาบาลทีเ่ คยเข้ารับการอบรม และไม่เคยเข้ารับการอบรม มีการดูแลรักษาผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายตามการรับรูข้ องพยาบาล วิชาชีพต่างกัน

ในการศึกษาวิจยั เรือ่ ง การดูแลผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ตามการรับรูข้ องพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย นเรศวร จากผลการวิจยั พบว่าการปฏิบตั งิ านตามการรับรูข้ องพยาบาลวิชาชีพในการดูแลผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ด้าน ร่างกาย และด้านจิตใจ อยู่ในระดับบ่อยครัง้ สอดคล้องกับแนวคิดของการดูแลมนุษย์ทมี่ งุ่ เน้นการมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู ้ ให้การดูแลซึง่ มัก เป น็ พยาบาลกับผูร้ บั การดูแล ซึง่ อาจเป น็ ทัง้ ผูป้ ว่ ยและญาติ โดยต่างฝา่ ยต่างมีการรับรูแ้ ละสัมผัสได้ถงึ พลังทีเ่ กิดจากการดูแลเอือ้ อาทรของ พยาบาลต่อผูป้ ว่ ยหรือญาติ ซึง่ ครอบคลุมทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ในระดับลึกซึง้ ถึงแก่นแท้ความเป น็ บุคคลของผู ้ ป ว่ ยและผลของพลังปฏิสมั พันธ์ วารสารพยาบาลทหารบก: (นฤมล ศิริรตั นพงศ์ธร 2560) 221-228 คลินกิ กายภาพ

บ. ประกันชีวติ

กรม กิจการผูส้ งู อายุ

โดยหน่วยงานย่อยหรือกลุม่ ทีม่ าร่วมในการก่อตัง้ โครงการเป น็ กลุม่ ทีเ่ ป น็ หน่วยงานที่ มีความเกีย่ วข้องกับผูป้ ว่ ย ทัง้ การรักษา การอ�ำนวยความสะดวกให้กับผูป้ ว่ ยในโครงการ เช่น คลินกิ กายภาพ หรือ หน่วยงานการบริการกายภาพบ�ำบัดและยังมีหน่วยงาน สังคมสงเคราะห์ ทีม่ บี ทบาทในการดูแลผูส้ งู อายุทปี่ ว่ ย เช่นการดู การได้รบั เงินสงเคราะห์ในจัดงานศพเมือ่ เสียชีวติ และการให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำสิทธิประโยชน์ของผูร้ บั บริการ ตามมาตรา 11 ในพระราชบัญญัตผิ ูส้ งู อายุ พ.ศ 2546 แก้ ไขเพิม่ เติม 2553 ช่วยบรรเทาหรือป ้องกันการขยายตัวของป ัญหาทางสังคมและป ัญหาส่วนบุคคลทีเ่ กิดขึน้ เฉพาะรายบุคคลและรายกลุม่ ให้ค�ำปรึกษา แนะน�ำแก้ ไขป ัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ให้กับผูท้ ปี่ ระสบป ัญหา ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ เช่น หาอาชีพให้ ให้บริการทางด้าน สวัสดิการอืน่ ๆ และให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินและทางการแพทย์ : ใชว้ ธิ กี ารสัมภาษณ์และวิธกี ารอืน่ ๆ สอบถามผูป้ ระสบป ัญหา เกีย่ วกับข้อมูล ทัว่ ไปและป ัญหาทีเ่ กิดขึน้ ช่วยเหลือผูป้ ระสบป ัญหาโดยการศึกษาประเมินและวิเคราะห์ลกั ษณะป ัญหาพรอ้ มกับแนะน�ำวิธกี าร แก้ ไขป ัญหานัน้ ๆ ก�ำหนดบุคคลทีต่ อ้ งได้รบั ความช่วยเหลือทางการเงิน ทางการบ�ำบัด ทางสังคมการฟ ื ้นฟูสมรรถภาพ ทางสังคม การ เฝ ้าระวังและป ้องกันป ัญหาทางสังคมอืน่ ๆ ทีม่ ผี ลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของผูป้ ระสบป ัญหา รวมทัง้ การช่วยเหลือด้านอืน่ ๆ เว็บไซต์ : unigang.com


20 ความเป็นไปได้ด้านที่ตั้งโครงการ

Possibility of location

โครงการ ศูนย์ดแู ลผูป้ ่ วยระยะสุดท้ายในไทย

ความเป็ นไปได้ดา้ นที่ต้ งั โครงการ Possibility of location 1. ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ จ.ปทุมธานี ภาคกลาง

2. ศูนย์เรียนรู้และพัฒนาสุขภาวะผู้สูงอายุแบบ ครบวงจรและ บริบาลผู้ป่วยระยะท้าย จ. สมุทรปราการ ภาคกลาง- ภาคใต้ 3. ศูนย์บริการและฝึกอบรมบ้านกึ่งวิถี โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จ. ขอนแก่น ภาคอีสาน

การวิเคราะห์ พื้นที่รองรับของศูนย์บริการโดยการจัดตั้งโครงการประเภทการดูแล รักษาผู้ป่วยระยะสุดท้ายนี้มีอยู่ 3 ที่ โดยอยู่ในพื้นที่ภาคกลาง 2 โครงการคือศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ ที่รองรับผู้ ป่วยจากโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เป็นหลัก และ ศูนย์เรียนรู้และพัฒนาสุขภาวะผู้ สูงอายุแบบ ครบวงจรและ บริบาลผู้ป่วยระยะท้ายรองรับผู้ป่วยจากโรงพยาบาลใน มหาวิทยาลัยมหิดล ภาคอีสาน 1 โครงการ คือ ศูนย์บริการและฝึกอบรมบ้านกึ่งวิถี โรงพยาบาล ศรีนครินทร์ โดยจ�ำนวนโครงการที่ดูแลการรักษาผู้ป่วยระยะสุดท้ายยังมีจ�ำนวนไม่ เพียงพอต่อผู้ป่วย และพื้นที่ ที่ยังไม่มีการรองรับคือ ภาคเหนือซึ่ง ท�ำให้การก่อตั้ง โครงการของ อาศรมศึกษิตมีความเป็นไปได้ในการก่อตั้งสูง

เศรษฐกิจ

1

ข้อมูลจาก : ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ จ.ปทุมธานี

2

ข้อมูล รูปภาพจาก : บริษัทสํานกงานสถาปนิกอาศรมศิลป์จํากัด

3

ขอ้ มูลจากเว็บไซต์ : โรงพยาบาลศรีนครินทร์

เนื่องด้วยที่ตั้งศูนย์บริการผู้ป่วยระยะสุดท้าย มีไม่เพียงพอต่อ ความต้ อ งการขอผู ้ ป ่ ว ยและจากการวิ เ คราะห์ ก ารจั ด ตั้ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล้ ว พบว่ า พื้ น ที่ แ ถบบริ เวณภาคเหนื อ ยั ง ไม่ มี ก ารจั ด ตั้ ง ศู น ย์ ดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยระยะสุ ด ท้ า ยโดยเฉพาะแต่ มี จ� ำ นวนผู ้ ป ่ ว ยครองเตี ย ง เป็นอันดับต้นๆ กลุ่มอาศรมศึกษิตและแพทย์โรงพยาบาลพุธชินราช จึงเล็งเห็นว่า พื้นที่จ.พิษณุโลกมีความเหมาะสมที่จะจัดตั้งศูนย์ดูแลระยะสุดท้าย แบบประคับประครอง และพิษณุโลกยังสามารถรองรับผู้ป่วยจาก ภาคอีสารและ ภาคกลางได้อีกด้วย ทางด้านที่ตั้งของตัวจังหวัดพิษณุโลกเนื่องด้วยเป็นภาคเหนือ ตอนล่างภาคกลางตอนบนและยังติดกับภาคอีสานโดยมีการเชื่อมต่อ กับเพื่อนบ้านอีกด้วยซึ่งเป็นสีแยกอินโดจิน ท�ำให้จังหวัดพิษณุโลก เป็นจุดยุทธศาสตร์การรองรับผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ดี


21 ภาค

2560 เตียง

เตียงต่อประชากร

ผูป้ ่ วยใน

รวมทัง� ประเทศ

150839

432

10098736

41586284

76

กรุงเทพ

27212

205

1434588

7180736

72

ภาคกลาง

41414

406

2564602

10834577

72

ภาคเหนือ

26145

446

1778969

7378517

77

ภาคตระวันออกเฉียงเหนือ

37543

534

2850184

10842330

79

ภาคใต้

18795

496

1470413

5350124

77

จํานวนวันผูป้ ่ วยใน อัตราการครองเตียง

ข้อมูลตารางจาก : กระทรงสถานะสุ ขภาพ

โดยฐานผู ้ ใชส้ อยหลักของจุดทีต่ งั้ ของโครงการคือผูป้ ว่ ยระยะสุด ท้ายทีอ่ ยุบ่ ริเวณภาคเหนือทัง้ หมดมี จ.น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ สุโขทัย ตาก ล�ำพูน เชียงใหม่ แม่ฮอ่ งสอน เชียงราย พะเยา ล�ำปาง ทีม่ ผี ูเ้ สีย ชีวติ จากการปว่ ยเป น็ โรคระยะสุดท้าย 4 หมืน่ กว่าคน ไม่รวม กับพืน้ ทีก่ ารรองรับจากภาคอืน่ ๆ ความเป็ วรจัดดตัตั้ง้ งโครงการ โครงการ ความเป็นนไปได้ ไปได้บบริริเเวรจั

ประเทศลาว ประเทศลาว

รัศมีการครอบคลุม การให้บริการ

จุดการตัง้ โครงการ ได้มกี ารจัดตัง้ โครงการในพืน้ ทีข่ อง อาศรม ศึกษิตเป น็ กลุม่ จัดตัง้ โครงการซึง่ มีทดี่ นิ ของอาศรมอยูแ่ ล้วและเป น็ พืน้ ที่ ทีเ่ หมาะสมกับการตัง้ โครงการ เพราะเป น็ ส่วนหนึง่ ของกลุม่ อาศรม ในการจัดเตรียมพืน้ ทีไ่ ว้สำ� หรับจัดตัง้ โครงการ

เส้นทางเชื่อมต่อกับ หลายๆจังหวัด

อ.พรหมพิราม

ต. มะตูม


22

บทที่ 4 รายละเอียดโครงการ ผู้ใช้สอยหลักของโครงการ

ข้อมูลจาก : Hfocus เจาะลึกเรื่องสุขภาพ

ผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่มีค่า PPS ต�่ำกว่า 40-50 % ซึ่งประกอบไปด้วย โรคหัวใจ โรคมะเร็ง ทางเดินหายใจ AIDS โรคเบาหวาน และอื่นๆ ประเภทโรคที่ต้องการการรักษาแบบ Palliative care ซึ่งผู้ป่วยที่ มีค่า PPS 30 - 40 % จะมีระยะ เวลาก่อนเสียชีวิต ประมาณ 1 – 2 เดือน ภาค อีสาน 92,100

กว่าคน/ปี

ภาคกลาง 115,200 กว่าคน/ปี

ภาคเหนือ 41,400

กว่าคน/ปี

ภาคใต้ 41,400

จํานวนผูเ้ สียชีวิตระยะสุดท้ายแต่ละภาค

กว่าคน/ปี

ผู ้ ใชส้ อยรอง

ผู ้ ใชส้ อยกลุม่ พนักงาน

กลุ่มครอบครัวของผู้ป่วย

- กลุ่มพนักงานเจ้าหน้าที่ - พยาบาล - แพทย์ - กลุ่มผู้บริหาร

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

สัดส่วนของผูใ้ ช้สอยโครงการ

15%

60 % ผูใ้ ช้สอยหลัก 60%

ผูใ้ ช้สอยรอง 25 25%

ภาคกลาง

ภาคอีสาน

ภาคเหนือ

ภาคใต้

กลุม่ พนักงาน 15% ผูใ้ ช้สอยหลัก

ผูใ้ ช้สอยรอง

พนักงาน

ข้อมูลตารางจาก : กระทรงสถานะสุ ขภาพ


23

ระดับ PPS

การเคลือ่ นไหว

การปฏิบตั กิ จิ กรรม

การดูแลตนเอง

การรับประทานอาหาร

ระดับ ความรูส้ กึ

50%

นัง่ นอนเป น็ ส่วนใหญ่

ไม่สามารถท�ำงานได้เลยมี อาการลุกลามของโรค

ช่วยเหลือในการปฏิบตั กิ จิ กรรม บางอย่าง

ปกติหรือลดลง

รูส้ กึ ตัวดี หรือสับสน

40%

นอนอยุบ่ นเตียงเป น็ ส่วนใหญ่

ท�ำกิจกรรมได้นอ้ ยมากมีการ ลุกลามของโรคมากขึน้

ต้องการความช่วยเหลือเป น็ ส่วนใหญ่

ปกติหรือลดลง

30%

อยูบ่ นเตียงตลอด

ไม่สามารถกิจกรรมใดมีการ ลุกลามของโรค

ต้องการ การดูแลทัง้ หมด

20%

อยูบ่ นเตียงตลอด

ไม่สามารถท�ำกิจกรรมใดๆมี ลุกลามของโรคมากขึน้

ต้องการ การดูแลทัง้ หมด

10%

อยูบ่ นเตียงตลอด

ไม่สามารถท�ำกิจกรรมใดๆมี ลุกลามของโรคมากขึน้

ต้องการ การดูแลทัง้ หมด

0%

เสียชีวติ

รูส้ กึ ตัวดี หรือสับสน ง่วง/ซึม ปกติหรือลดลง รูส้ กึ ตัวดี หรือสับสน ง่วง/ซึม จิบน�ำไ้ ด้เล็กน้อย รูส้ กึ ตัวดี หรือสับสน ง่วง/ซึม รับประทานอาหารไม่ รูส้ กึ ตัวดี ได้ หรือสับสน ง่วง/ซึม

ข้อมูลจากเว็บไซต์ : คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว

ความเจ็บปวดทางด้านร่างกาย ทีต่ อ้ งดูแลเป น็ พิเศษ

การสูญเสีย ภาพลักษณ์ การสูญเสีย อิสระการ พึ�งพาตนเอง

การสูญเสีย บทบาทหน้าที�

การสูญเสีย สุขภาพ

ความเจ็บปวด ทางใจ

การสูญเสีย ครอบครัว

มะเร็ มะเร็ ง ง

ความวิตก กังวลเรื�อง เศรษฐกิจ

กลัวความทุก ทรมาน กลัวไม่รูว้ า่ จะ เผชิญกับอะไร

AIDS AIDS

โรคหั วและ โรคหั วและ หลอดเลื หลอดเลื อด อด โรคปอดอุ โรคปอดอุ ด ด กั�นเรืกัอ� �นรัเรื ง อ� รัง


24

รายละเอียดโครงการ

พฤติกรรมและความต้องการของผูใ้ ช้

ลักษณะผู ้ ใชส้ อยโครงการ

ผูป้ ว่ ยระยะสุดท้าย กลุม่ ครอบครัวของผูป้ ว่ ย

กลุม่ พนักงาน พยาบาลและแพทย์ กลุม่ ผูบ้ ริหารและพนักงาน

ความต้องการขอผู ้ ใชส้ อยของโครงการ -มีความต้องการความสงบในบัน้ ปลายชีวติ - ลดอาการเจ็บปวดของโรค - ต้องการอยูบ่ า้ น - การดูแลด้านร่างกาย และ จิตใจ - ความต้องการอยูก่ บั ผูป้ ว่ ยในวาระสุดท้าย - ต้องการอบรมหรือ พืน้ ทีท่ างศาสนารับมือเพือ่ พ้น ทุกข์จากการเสียคนทีร่ กั - พืน้ ทีต่ รวจ รักษา - พืน้ ทีพ่ กั อาศัย - แพทย์แผนทางเลือก - อบรมวิธกี ารรักษาแบบประคับประคอง - การบริหาร ดูแลจัดการ

กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ - การท�ำกิจกรรมบ�ำบัด ต่าง จีน,ไทย - กิจกรรมทางศาสนา - การอยูร่ ว่ มกับครอบครัว -การใช พ้ นื้ ทีท่ สี่ งบ - กิจกรรมทางศาลนา - อบรม - พืน้ ที่ ทีอ่ ยูร่ ว่ มกับผูป้ ว่ ยตลอดเวลา - ห้องตรวจรักษา - พืน้ ทีบ่ ำ� บัด - ห้องแพทย์แผนทางเลือก - ห้องพักอาศัยพยาบาลและแพทย์ - การดูแล และ บริหาร - ปฏิบตั หิ น้าทีต่ า่ งๆ

ข้อมูลจาก : คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว

พฤติกรรมของผู้ใช้สอย USER BEHAVIOR

ความเจ็บปวดทางกาย ที่ตอ้ งการดูแลเป็ นพิเศษ

ผูป้ ่ วยระยะสุ ดท้าย

ครอบครัวและญาติ

เจ้าหน้าที่หรื อแพทย์


25

1

2

1

2

ผู้ป่วยระยะสุดท้ายของ . ชีวิตทุกคน ปรารถนา ที่จะมีความสุขทางกาย ใจ ที่ได้อยุ่ กับคนอันเป็นที่รักและจากไปโดย เจ็บปวดน้อยที่

ครอบครับญาติเมือ่ มีการสูน . เสียคนทีร่ กั ไป ย่อมได้ รับความทุกข์และต้อง พ้นจากทุกข์ นัน้ ทัง้ การ ปล่อยวางทางใจ และ การเข้าใจทางความเป น็ จริง .

3

4

3

4

การบ�ำบัด หรือมีผูเ้ ชีย่ วชาญ. . ด้านการดูแล ทางด้านลด อาการเจ็บปวด และการดูแลบ�ำบัด ทางด้านจิตใจ มีความจ�ำเป น็ ในการ รักษาแบบประคับประครอง โดยให้ผู ้ ปว่ ยมีความรูส้ กึ ทีด่ ที สี่ ดุ .

การดูแลจากแพทย์มคี วาม . ส�ำคัญมาในการดูแล รักษา โดยจะมีการประเมินอาการ .

5

STAFF BEHAVIOR นอกจากผู ป้ ว่ ยและญาติ ที่ ต อ้ งการสภาพแวดล อ้ ม ธรรมชาติทดี่ แี ล่ว อีกส่วนส�ำคัญอีกอย่างทีต่ อ้ งค�ำนึงถึงก็คอื พืน้ ทีห่ รือ สภาพแวดล้อมทีด่ ตี อ่ เจ้าหน้าที่ โดยมีการพูดถึงสภาพแวดล้อม แสง ลม และก็สที มี่ ผี ลต่อเจ้าหน้าที่ ซึง่ ท�ำให้มผี ลต่ออารมณ์ของผู ้ ให้การ รักษาและสามารถประทบกับการรักษาอีกด้วย หนังสือ : การออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให เ้ อือ้ ต่อการเยีย่ วยา

ภาพประกอบ 1-5 : pixabay.com 10.11.62

แพทย์เจ้าของ คนไข้

แพทย์ pain team

พยาบาล ดูแลคนไข้

ผู้ป่วย ครอบครัว

เภสัชกร

นักสังคม สงเคราะห์

นักกายภาพ กิจกรรมบําบัด

ผู้นาํ จิต วิญญาณ ข้อมูลจาก : คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว


26

การวิเคราะห์ช่วงเวลากิจกรรม ของผูใช้ ้

กิจกรรม

ผู ้ ใชร้ ว่ ม กิจกรรม

การดูแลรักษาผู ้ ปว่ ย กิจกรรมบ�ำบัด

การตรวจร่างกาย

การนัง่ สมาธิ/ พิธธี รรมทาง ศาสนา บริหาร

องค์ ประกอบที่ ต้องการ

ช่วงเวลา

ระยะเวลา

- ผูป้ ว่ ยระยะ สุดท้าย - เจ้าหน้าที่

- ห้องพักบ้าน พัก

24 ชัว่ โมง

15-30 นาที

- ผูป้ ว่ ย - ครอบครัวผู ้ ปว่ ย -เจ้าหน้าที่ - ผูป้ ว่ ยระยะ สุดท้าย - แพทย์

- สระน�ำบ้ ำ� บัด - พืน้ ทีอ่ อกก�ำลัง กาย - ห้องแพทย์ - ห้องตรวจ ร่างกาย -ห้อง x-ray

- ครอบครัว - ผูป้ ว่ ย - แพทย์

- ศาลาปฎิบตั ิ ธรรม - พืน้ ทีส่ งบ

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

- พนักงาน ฝา่ ย - อาคารและ ต่างๆ ห้องปฏิบตั งิ าน

10.00น.16.00น.ทุกวัน

30-60 นาที

10.00น.16.00น.ทุกวัน

30-45นาที

11.00น.-16.00น. ทุกวัน

1-2 ชัว่ โมง

08.00 น.-18.00น.

8-10ชัว่ โมง

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62

ความสัมพันธ์ และ เส น้ ทางสัญจรระหว่างพืน้ ทีใ่ ชส้ อย ออก เข้า - ออก

ห้องบําบัด แพทย์ ทางเลือก

ห้อง ผูป้ ่ วย

พิธีศพ / เก็บศพ

ครอบครัว/ญาติผปู้ ่ วย

โภชนาการ

คลังยา / จ่ายกลาง / พัสดุ

ห้อง ผูป้ ่ วย ต้องการดูแลพิเศษ

ห้องพักทาง ศาสนา

ผูป้ ่ วย

ส่วนต้อนรับ คัดกรอง

ตรวจโรค และอาการ

รับรอง คัดแยกผูป้ ่ วย

พืน� ที�ทาง ศาสนา

เจ้าหน้าที� พยาบาล

สํานักงาน

ให้คาํ ปรึกษา ผูป้ ่ วย- ญาติ

อุปกรณ์การแพทย์ / เวชภัณฑ์ วัสดุ

พักผ้าเปื �อน / ขยะ ขยะและของสกปรก

พืน� ที� เตรียมการ พยาบาล แพทย์

พืน� ที� พักห้องพัก เจ้าหน้าที� / นอนเวร

ซักฟอง / จ่ายกลาง /ขยะ

เข้า - ออก

ความสัมพันธ์ และ เส น้ ทางสัญจรระหว่างพืน้ ทีใ่ ชส้ อย ตามผัง ทีแ่ สดงในข้างต้น เกิดจากการวิเคราะการใช ้งาน ของผูป้ ว่ ยและพนักงาน และการวิเคราะแผนกผูป้ ว่ ยใน โรงพยาบาล มาปรับใช ้ ในโครงการเพราะมีบา้ งส่วนที่ เพิม่ เต็มเข้ามานอกเหนือจาก แผนกผูป้ ว่ ยใน เช่น พืน้ ทีท่ างศาสนา ห้องพักพิเศษส�ำหรับผูน้ ำ� ศาสนา พิธศี พ และพืน้ ทีพ่ กั ผ่อนส�ำหรับญาติผูป้ ว่ ยทีเ่ ข้ามาดูแล ในโครงการ และมีการออกแบบผังเพือ่ ค�ำนึงถึงพนักงาน พยาบาลและแพทย์สามารถเข้าถึงทุกจุดได้สะดวกและ รวดเร็วทีส่ ดุ ใช้


27

รายละเอียดพืน้ ทีใ่ ชส้ อย

รายละเอียดครุภัณฑ์ เตียงคนป่วยไฟฟ้า รุ่น Libra Design ของเตียง และ ราวข้างเตียงที่แตกต่าง ให้ความรู้สึกสวยงาม ทันสมัย ด้วยการ ออกแบบโดยใช้ไม้แท้ที่ผ่านการอบฆ่าเชื้อเคลือบด้วยลามิเนต 150 * 200

รูปภาพประกอบ

รถเข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอเนกประสงค์ ส�ำหรับให้ญาติ หรือ ผู้ดูแล สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้ เอง60 * 50รับน�้ำหนักได้ : 120 กิโลกรัม ความสูงของที่นั่ง จากพื้น :47 ซ.ม เตียงส�ำหรับ แพทย์แผนจีน เพื่อประกอบ การรักษาเพื่อบรรเทา อาการเจ็บปวดมีการ นวดแผนจีน ฝั่งเข็มครอบแก้ว เตียงขนาด 80 * 200 สูง 75

2

เตียงไว้เคลื่อนย้าย ผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาในส่วน

8

3

เตียงส�ำหรับ แพทย์แผนไทย เพื่อประกอบ การรักษาเพื่อบรรเทา อาการเจ็บปวดมีการ นวดแผนไทย นวดต่างๆเช่น ลูกประคบสมุนไพร เตียงขนาด 80 * 200 สูง 75 อุปกรณ์ เครื่อง X-rays เตียงนอน X-rays ล�ำตัวเครื่อง X-rays หน้าอกมีขนาดห้อง เพื่อประกอบและวางอุปกรณ์ 5.4 * 4

7

1

9

4

5

6

10

ต่างๆ 80 * 200

กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ( 2558 ) ภาพประกอบ 1-7 : pixabay.com 10.11.62 ภาพประกอบ 8-10 : pinterest 10.11.62


28

รายละเอียดพืน้ ทีใ่ ชส้ อย รายละเอียดครุภัณฑ์

รูปภาพประกอบ

โลงศพเพื่อท�ำพิธีทางศาสนา โดยมีขนาดต่างๆเพื่อน�ำไปใส่ ศพในการจัดท�ำพิธีการ โดยขนาดของโลงมีผลต่อการออกแบบ ห้องเก็บโรง

ขนาดตู้แช่เย็นศพ สแตนเลส 6 ศพตู้ ไว้ส�ำหรับเก็บศพ ผู้ป่วยที่เสียชีวิตในโครงการ โดยเป็นการเก็บศพเพื่อรอเตรียม ท�ำพิธี ทางศาสนาตู้ ขนาด 140 * 240 * 170

สแตนเลส ล่างมือท�ำความสะอาด 60 * 150 *100 ส�ำหรับห้องเก็บศพ ท�ำความสะอาดศพ เพื่อไว้ส�ำหรับ ล้างมือ หรือล้างอุปกรณ์ต่างๆ ในห้อง

สแตนเลส เตียงล้างศพท�ำความสะอาดศพ 70 * 200 * 75 เป็นเตียงล้างศพท�ำความสะอาดศพ ผู้เสียชีวิต

กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ( 2558 ) ภาพประกอบ : pixabay.com 10.11.62


29

Universal Design

ตัวอย่าง คูม่ อื ขนาดเฟอร์นิเจอร์สถานพยาบาล ภาพประกอบ : pinterest

10.11.62

กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ( 2558 )


30

ตัวอย่างคูม่ อื การออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพ เพือ่ การหาพืน้ ทีภ่ ายใจอาคาร

บ้านพัก ห้องผูป้ ่ วย / รับแขก / ห้องนอนญาติ ลําดับ เฟอร์นิเจอร์ 1 เตียงผูป้ ่ วย 2 ตูเ้ สือ� ผ้า 3 ชุดเตรียมเครื�องดื�ม 4 สุขา 5 ชุดรับแขก 6 เตรียมอาหาร-ล้าง ภาชนะ (ผูเ้ ฝ้าไข้) 7 ตูเ้ ย็น 8 ตูเ้ ก็บของ (ต่อความยาว 1 เมตร) 9 สุขาสําหรับญาติ 10 เตียงญาติ 11 โต๊ะเก้าอีอ� เนกประสงค์สาํ หรับ(ผูเ้ ผ้าไข้) รวม

หน่วย 1 2 1 1 1 1 1 2 1 1 1

ขนาดต่อหน่วย 10.5 1.5 3 4.5 6 7.5 1.5 1.5 4.5 3.75 4

circulation 30 % 3.15 0.45 0.9 1.35 1.8 2.25 0.45 0.45 1.35 1.125 1.2

ขนาดทัง� หมด 13.65 3.9 3.9 5.85 7.8 9.75 1.95 3.9 5.85 4.875 5.2 66.625

หน่วย 1 1 1 1 1 1 1 1

ขนาดต่อหน่วย 10.5 1.5 3 6 4.5 7.5 1.5 1.5

circulation 30 % 3.15 0.45 0.9 1.8 1.35 2.25 0.45 0.45

ขนาดทัง� หมด 13.65 1.95 3.9 7.8 5.85 9.75 1.95 1.95 46.8

บ้านพักขนาดเล็ก / รับแขก ลําดับ เฟอร์นิเจอร์ 1 เตียงผูป้ ่ วย 2 ตูเ้ สือ� ผ้า 3 ชุดเตรียมเครื�องดื�ม 4 เก้าอีย� าว ชุดรับแขกสําหรับญาตินอนเฝ้าไข้ 5 สุขา 6 เตรียมอาหาร-ล้าง ภาชนะ (ผูเ้ ฝ้าไข้) 7 ตูเ้ ย็น 8 ตูเ้ ก็บของ (ต่อความยาว 1 เมตร) รวม

ห้องพัก / ห้องผูป้ ่ วย ลําดับ เฟอร์นิเจอร์ 1 เตียงผูป้ ่ วย 2 ตูเ้ สือ� ผ้า 3 ชุดเตรียมเครือ� งดื�ม 4 สุขา 5 ตูเ้ ก็บของ (ต่อความยาว 1 เมตร) 6 โต๊ะเก้าอีอ� เนกประสงค์ รวม

หน่วย 1 1 1 1 2 1

ขนาดต่อหน่วย 10.5 1.5 3 4.5 1.5 4

circulation 30 % 3.15 0.45 0.9 1.35 0.45 1.2

ขนาดทัง� หมด 13.65 1.95 3.9 5.85 3.9 5.2 34.45


31

พืน้ ทีศ่ าลาพิธศี พ ลําดับ เฟอร์นิเจอร์ 1 เก้าอี � 2 เตียงวางศพทําพิธี 3 โรงศพ 4 เตียงทําความสะอาด 5 ตูเ้ ย็นเก็บศพ 6 ชุดโต๊ะทํางานเจ้าหน้าที� 7 ตูเ้ ก็บของ 8 ชุดเฟอร์เจอ์ 9 ห้องนํา� รวม

หน่วย 30 7.5 10 7.5 10 4 1.5 6 9

ขนาดต่อหน่วย 1 1 2.5 1 1 1 1 1 1

circulation 30 % 0.3 0.3 0.75 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3 0.3

ขนาดทัง� หมด 39 9.75 32.5 9.75 13 5.2 1.95 7.8 11.7 130.65

พืน้ ที่ ส่วนบริหาร ลําดั บ

ชื�อพืน� ที�

1 ห้องผูอ้ าํ นวยการ 2 ห้องรองผูอ้ าํ นวยการ 3 ห้องผูช้ ่วยผูอ้ าํ นวยการ 4 ส่วนสํานักงานและอํานวยการ 5 ห้องพัสดุ 6 ห้องแพทย์ 7 ห้องพยาบาล 8 ห้องผูจ้ ดั การ 9 ห้องฝ่ ายการเงิน 10 ห้องหัวหน้าฝ่ ายการเงิน 11 ห้องประชุม 12 ห้องนโยบาย 13 ห้องฝ่ ายบุคคล 14 พักเจ้าหน้าที� 15 ส่วนเตรียมอาหาร 16 ห้องเก็บของ รวมพืน� ที�

หน่วย

1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

Circulatio ขนาดต่อหน่วย ขนาดทัง� หมด n 30%

25 12 12 40 25 20 20 16 24 16 36 20 20 30 12 12

7.5 7.2 3.6 12 7.5 6 6 4.8 7.2 4.8 10.8 6 6 9 3.6 3.6

32.5 31.2 15.6 52 32.5 26 26 20.8 31.2 20.8 46.8 26 26 39 15.6 15.6

457.6


32

ตัวอย่างคูม่ อื การออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพ เพือ่ การหาพืน้ ทีภ่ ายใจอาคาร

ลําดับ ชื�อพืน� ที� 1เคาน์เตอร์สว่ นบําบัด 2โถงตอนรับรองรับคน 40 3ห้องเก็บผ้า 4ห้องเก็บเวชภัณฑ์ 5ห้องอุปกณ์ 6ห้องพักเจ้าหน้าที� 7ห้องอรรถบําบัด/ห้องอเนกประสงค์ 8ห้องตรวจ 9ห้องตรวจใหญ่ 10ห้องล้างพักของสกปก 11 EXERCISE 12 WORK SHOP 13ห้องให้คาํ ปรึกษา 14ห้องนํา� ชาย/หญิงสําหรับพืน� ที�สระ 15พืน� ที�ฝึกเดินในร่ม 16สระ 18ห้ �าชาย/หญิ ง 17ห้อองนํ งสมุ ด 19 shop 18ห้ องนํ�าชาย/หญิง 20ต้ อ นรับ 19 shop 21พือน� นรั ที�พบกั ค่อย 20ต้ 22สําน� นัทีก�พงาน 21พื กั ค่อย 23ห้าอนังอเนกประสงค์ 22สํ กงาน 24เคาน์ เตอร์พยาบาล เวชระเบียน 23ห้องอเนกประสงค์ 25เวรเปล 24เคาน์ เตอร์พยาบาล เวชระเบียน 26เค้ า เตอพยาบาล 25เวรเปล 27ห้อางตรวจ 26เค้ เตอพยาบาล 28ห้ อ งตรวจใหญ่ เตรียง 27ห้องตรวจ 30ห้อองตรวจใหญ่ งพักแพทย์ เตรียง 28ห้ 31ห้อองพั งเก็กบแพทย์ ยา/จัดยา/เคาน์เตอร์รบั ยา 30ห้ 33เคาน์ แพทย์ แผนจีนเตอร์รบั ยา 31ห้ องเก็เตอร์ บยา/จั ดยา/เคาน์ 34ฝั�งเข็มเตอร์ /รมยา 10 แเตรี ยงน 33เคาน์ แพทย์ ผนจี 35แพทย์ ผนไทย1010เตรีเตรี 34ฝั � งเข็มแ/รมยา ยงยง 35แพทย์แผนไทย 10 เตรียง รวมพืน� ที� รวมพืน� ที�

หน่วย 1 1 2 1 1 3 1 2 1 1 1 1 1 2 1 1 1 2 21 11 11 11 11 11 11 11 12 21 11 11 11 11 1 1

ขนาดต่อหน่วย 12 30 9 16 16 36 20 9 12 5 80 80 9 25 60 80 48 80 40 48 25 40 30 25 30 30 40 30 20 40 50 20 15 50 9 15 12 9 18 12 25 18 9 25 80 9 80 80

Circulatio ขนาดทัง� หมด n 30% 3.6 15.6 9 39 2.7 23.4 4.8 20.8 4.8 20.8 10.8 140.4 6 26 2.7 23.4 3.6 15.6 1.5 6.5 24 104 24 104 2.7 11.7 7.5 65 18 78 24 104 14.4 124.8 24 104 12 52 14.4 124.8 7.5 32.5 12 52 9 39 7.5 32.5 39 99 39 12 52 9 39 6 26 12 52 15 65 6 26 4.5 19.5 15 65 2.7 23.4 4.5 19.5 3.6 15.6 2.7 23.4 5.4 23.4 3.6 15.6 7.5 32.5 5.4 23.4 2.7 11.7 7.5 32.5 24 104 2.7 11.7 24 104 24 104 1684 1684


33

ลําดับ ชื�อพืน� ที� 1 บ้านพัก/ห้องผูป้ ่ วย1 /ห้องญาติ1/รับแขก 2 บ้านพัก/ห้องผูป้ ่ วย1 /รับแขก 3 ห้องพัก/ห้องผูป้ ่ วย1 4 ห้องพักพยาบาล

หน่วย 5 10 20 15

ขนาดต่อหน่วย Circulation 30% ขนาดทัง� หมด 66.6 19.98 432.9 46.8 14.04 608.4 34 10.2 884 34 10.2 663

รวมพืน� ที�

2588

ลําดับ ชื�อพืน� ที� 1 ศาลาปฏิบตั ิธรรม 2 ห้องทางศาสนาอื�นๆ 3 พืน� ทิธีศพ พืน� ที�รวม

หน่วย 1 3 1

ลําดับ

หน่วย

ชื�อพืน� ที�

ขนาดต่อหน่วย Circulation 30% ขนาดทัง� หมด 96 28.8 124.8 30 9 117 130 39 169 410.8 ขนาดต่อหน่วย

1

1 อาคารโภชนาการ

400

Circulation 30%

120

ขนาดทัง� หมด

พืน� ที�รวม

ชื่อพืน้ ที่ ส่ วนพื้นที่หอ้ งพักผูป้ ่ วย

ขนาดพืน้ ที่ (ตร.ม.)

สัดส่วนการบริการของโครงการ

1,925

บริ การการรักษา

1,684

ที่พกั บุคลากร

663

ศาลาพิธีศพและทางศาสนา

410

ส่ วนบริ หาร

457

รวม

5139

520 520

อาคารบริหาร ศาลาพิธีศพ

� ักบุคลากร ทีพ

ทีจ่ อดรถ 1 คันต่อ 250 ตร.ม. = 20 คัน 650 ตร.ม สัดส่วนอาคารต่อพืน้ ทีว่ า่ งธรรมชาติ 50 / 50 (ตามแนวคิดการออกแบบเพือ่ เยีย่ วยา) 5139 * 2 = 10,278 + 650 (พืน้ ทีจ่ อดรถ) = 10,928 ตารางเมตร

บริการรักษา

ส่วนผู้ป่วยระยะ สุดท้าย


34 ราคาค่าพัก และ ค่าดูแลผู้ป่วย ข้อมูลราคา : โรงพยาบาลกลาง ส�ำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร

อัตราค่าบริการพยาบาล

บ้านพัก ขนาด 80 ตารางเมตร

การพยาบาลผูป้ ว่ ยทัว่ ไป ชัว่ โมงละ 150 บ. 12 ชัว่ โมง

1800.00 บาท

คืนละ

12,000.00 บาท

8 ชัว่ โมง

1200.00 บาท

สัปดาห์

84,000.00 บาท

การพยาบาลผูป้ ว่ ยระยะสุดวิกฟตและผูป้ ว่ ยทีเ่ ฝ ้าเสียง อันตราย ชัว่ โมงละ200

บ้านพักขนาด 54 ตารางเมตร

12ชัว่ โมง

2400.00บาท

คืนละ

8,000.00 บาท

8 ชัว้ โมง

1600.00 บาท

สัปดาห์

56,000.00 บาท

พพยาบาลเทคนิค ชัว่ โมงละ 100 บาท

พห้องพัก ขนาด 27.40 ตารางเมตร

12ชัว่ โมง

1800.00บาท

คืนละ

4,000.00 บาท

8 ชัว้ โมง

1200.00บาท

สัปดาห์

28,000.00 บาท

ค่าใชจ้ า่ ยทัง้ หมด ค่าห้องพักกับค่าดูแลจากพยาบาล ต่อวัน / สัปดาห์ บ้านพัก ขนาด 80 ตารางเมตร -ราคาพยาบาล คืนละ

13,200 - 13,800

สัปดาห์

92,400 - 96,600

บ้านพัก ขนาด 54 ตารางเมตร - ราคาพยาบาล คืนละ

9,200 - 9,800

สัปดาห์

64,400 - 68,600

บ้านพัก ขนาด 27.40 ตารางเมตร - ราคาพยาบาล คืนละ

5,200 - 5,800

สัปดาห์

36,400 - 40,600

ราคาพยาบาลเพือ่ การดูแลทัว่ ไปและเป น็ พิเศษ เป น็ ราคากลางของ โรงพยาบาลกลางส�ำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เพือ่ หาราคาเพือ่ ใช ้ ในการปะรมาณ ราคาการใช บ้ ริการ ค่าทีพ่ กั อาศัยห้องพักส�ำหรับผูป้ ว่ ยในโครงการ ประมาณราคาจากห้อง vip ของโรงพยาบาลพุธทชิน ราช โดยราคาทีแ่ สดงตามตารางที3่ เป น็ การ ประมาณราคาเบือ้ งต้น แต่ละห อ้ งพักที่มีราคาต่างกันออกไปตามขนาดพื้นที่ ใชส้ อยและฟ ังก์ชนั่ เช่นห้องพักขนาดใหญ่เหมาะ ส� ำ หรั บ ผู ป้ ว่ ยที่ มี ญ าติ พี่ น อ้ งหรือ ครอบครั วใหญ่ ท�ำให้ตอ้ งมี ห้องพักส�ำหรับญาติและ พืน้ ทีส่ ว่ นนัง่ รับแขก

ค่าห้องพัก โดยประมาณและขึน้ อยูก่ บั การรักษาตามอาการเพิม่ เติม และจ�ำนวนการรักษาแพทย์แผนทางเลือก


35

ระบบโครงสรา้ งอาคารและเทคโนโลยีในอาคาร

อาคารส�ำนักงานและบริการ 1

2

3

อาคารส�ำนักงานและบริการ โดยอาคารจะเป น็ post tensioned slab ดดยสามารถที่จะเดินงานระกับอาคารไดง้ า่ ยเงินท่ออากาศทีใ่ ช ้ ในโรง พยาบาล ส่วนงานภายในอาคารหรือการน�ำเทคโนโลยีมาใช น้ นั้ เป น็ ลักษณะการออกแบบให้มบี รรยากาศทีเ่ หมือนอยุบ่ า้ น โดยการน�ำเอาไม้ เทียมมาใช ้ ในโครงการและไม้จริงในบ้างส่วนเพือ่ ความรูส้ กึ สบายตา ส่วนอาคารบ้านพักเป น็ ลักษณะอาคารกึง่ ไม้กึง่ ปูนเพือ่ โครงสรา้ งทีแ่ ข็ง แรงและมีความสวยงามของไม้

อาคารบ้านพักผูป้ ว่ ย

ภาพประกอบ 1-6 : pixabay.com 10.11.62


36 ระบบปรับอากาศทีใ่ ช ้ ในโครงการ ห้องฉุกเฉินจะเป น็ พืน้ ทีร่ องรับผูป้ ว่ ยหลากหลายประเภทเป น็ อย่างมาก สถานพยาบาลแต่ละแห่งจึงควรพิจารณาคัดกรองผู ้ ปว่ ยผ่านระบบคัดกรองอย่างเข้มงวด เพือ่ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดการติดเชือ้ ทางอากาศภายในพืน้ ทีห่ อ้ งฉุกเฉิน เนือ่ งจากห้องฉุกเฉิน โดยทั่ ว ไปจะไ ม ่ ได ้อ อกแบบติ ด ตั้ ง แ ผงกรองอากาศที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง พอที่ จ ะกรองเชื้ อ แบคที เ รี ย ได ้ ส�ำหรับพืน้ ทีห่ อ้ งฉุกเฉิน จะต้องควบคุมตัวแปรต่าง ๆ เบือ้ งต้นดังนี้ 1. แรงดันอากาศบริเวณผูป้ ว่ ยรอตรวจ < - 2.5 Pa. 2. อัตราการถ่ายเทอากาศ > 12 ACH 3. อัตราการเติมอากาศจากภายนอก > 2 ACH 4. อุณหภูมิ 21 - 24 oC 5. ความชืน้ สัมพัทธ์ < 65% RH ไดอะแกรมแสดงตัวอย่างระบบอากาศ ไดอะแกรมแสดงตัวอย่างระบบปรับอากาศและระบายอากาศ ส�ำหรับพืน้ ทีห่ อ้ งฉุกเฉิน

ไดอะแกรมแสดงตัวอย่างระบบ Negative Pressure ส�ำหรับห้องแยกผูป้ ว่ ยภายในห้องฉุกเฉิน ซึง่ น�ำ อากาศเย็นจาก ภายในพืน้ ทีห่ อ้ งฉุกเฉินมาระบายผ่านห้องแยกนี้ ก่อนทิง้ ออกสู่ บรรยากาศภายนอก ท�ำให้ประหยัด พลังงานจากการใช ้งาน ระบบ Negative Pressure ได้ ไดอะแกรมแสดงระบบปรับอากาศและระบายอากาศส�ำหรับ หออภิบาลผูป้ ว่ ยหนัก

ลักษณะการแพร่เชือ้ ต่างๆ ตามหลักการพบว่าการแพร่กระจายของเชือ้ จุลชีพในสถานพยาบาลสามารถแพร่กระจายได้ 3 ทาง คือ การสัมผัส(contact) ทางอากาศ (airborne) และทางฝอยละออง (droplet) โดยทีเ่ ชือ้ จุลชีพชนิดหนึง่ อาจแพร่กระจายได้มากกว่า 1 ช่องทาง (Hierholzer, 1996) ดังนัน้ ใน การควบคุมการแพร่กระจายเชือ้ ในสถานพยาบาล ผูป้ ฏิบตั งิ านจึงจ�ำเป น็ ต้องเข้าใจกลไกการแพร่กระจายของเชือ้ จุลชีพแต่ละชนิดด้วย 1. การแพร่กระจายเชือ้ โดยการสัมผัส (contact transmission) 2. การแพร่กระจายเชือ้ ทางฝอยละออง (Droplet transmission) 3. การแพร่กระจายเชือ้ ทางอากาศ (airborne transmission)

หนังสือคูม่ อื การปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในสถานพยาบาล : สถาบันบ�ำราศนราดูรกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข(2560) 2-55


37 ระดับความส่องสว่างภายในอาคาร ของสมาคมไฟฟ ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย

คูม่ อื การออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและสภาพแวดล้อมหอพักผูป้ ว่ ยใน (2558)

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ใช ้กับอาคารเพือ่ เตือนภัยในเรือ่ งไฟไหม้ ป ้องกันชีวติ และทรัพย์สนิ ข้อกาหนดการติดตัง้ ทัว่ ไปให้เป น็ ไป ตามกฎและมาตรฐานแจ้งเหตุเพลิงไหม้ของ วสท.และอุปกรณ์ทใี่ ช ้ ทุกชนิดเป น็ ไปตามข้อบังคับและข้อกาหนดของ NFPAภายในพืน้ ทีต่ อ้ งติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับสัญญาณ (Heat andSmokeDetector) ครอบคลุมทุกพืน้ ที่ และติดตัง้ อุปกรณ์แจ้งเหตุ(StrobeHorn) เป น็ ต้น สาหรับในสถานทีส่ าหรับผูป้ ว่ ยทีม่ ปี ัญหาเกีย่ วกับการ ได้ยนิ ต้องติดตัง้ อุปกรณ์แจ้งเหตุชนิดแสงกระพริบสีขาวระหว่าง 1-2 ครัง้ ต่อวินาทีระยะห่างระหว่างอุปกรณ์แจ้งเหตุชนิดแสงต้องไม่ เกิน 30 เมตรอุปกรณ์แจ้งเหตุดว้ ยมือจะต้องติดตัง้ ในตาแหน่งที่ เห็นชัดเจน และอยู่ในพืน้ ทีท่ กุ ทางเข้าออกและทางหนีไฟ สามารถเขา้ ถึงได้สะดวกโดยระยะห่างระหว่างอุปกรณ์แจ้งเหตุดว้ ย มือไม่เกิน 60 เมตร (วัดตามแนวทางเดิน)

แสดงระยะการติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับความรอ้ น (HEAT DETECTOR)

คูม่ อื การออกแบบอาคารสถานบริการสุขภาพและสภาพแวดล้อมหอพักผูป้ ว่ ยใน (2558)


38 บทที่ 5 วิเคราะห์ทตี่ ้งั โครงการ อ.พรหมพิราม

ประเทศลาว

จังหวัด พิษณุโลก

พิษณุโลก อยู่ในช่วงภาคเหนือตอนล่างภาคกลางตอนบน และยังเป น็ จังหวัดทีม่ ี โรงพยาบาลทีม่ กี ารรักษาแบบ Palliative careและมี แผนทีจ่ ะสรา้ งท�ำศูนย์ดแู ล เป น็ ทัง้ พืน้ ทีร่ องรับผูป้ ว่ ยทัง้ เหนือ อีสาน กลาง ประเทศเพือ่ นบ้านอีกด้วย และพิษณุโลกเป น็ พืน้ ทีศ่ นู ย์กลางสีแ่ ยกอินโด การ สัญจรเชือ่ มต่อกับ จังหวัดอืน่ ๆหลายส่วน นอกจากนัน้ แล้วยังมีธรรมชาติและ สภาพแวดล้อมทีด่ ี

อ.พรหมพิรามเป น็ พืน้ ทีโ่ ล้งกว้างคนใน พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ทำ� การ เกษตร พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่นนั้ จึง เป น็ ทุง่ นาและมีสภาพ พืน้ ทีธ่ รรมชาติทดี่ ี

ต. มะตูม

อ.พรหมพิราม เป น็ พืน้ ที่ ทีม่ ธี รรมชาติและยังมีอยู่ในระยะทาง จากจุดอ�ำเภอเมืองทีเ่ หมาะสม ไม่ใกล้ชมุ ชนจนเกินไปและไม่ไกลจากสถาน ระยะจากที่ตั้งจนถึงในเขตจุดสำ�คัญใน ทีส่ ำ� คัญมากเกินไปเป น็ พืน้ ที่ ทีเ่ งียบสงบและมีถนนสายหลัก วิง่ ผ่านกลาง ตัวเมืองระยะทาง 25 กิโลเมตร ใช้ระยะ อ�ำเภอพรหมพิราม เวลาในการเดินทาง 30 นาทีวัดที่ใกล้ที่ ที่สุดวัดบ้านวังปลาดุก2.2 กิโลเมตรใช้เวลา ประมาณ 5 นาที

เส้นทางทางเข้าจากถนนสายหลัก เส้น 12 เข้าสู่ถนนสายรองตามแนวคลองจากแม่นำ� ้นา่ น

12 ทางไปสุโขทัย

ทางเข้าเมือง

ถนนรอง เข้าพืน� ที� แม่นาํ� สายรอง จากนํา� น่าน

รูปภาพโดรน : วรวุฒิ พวงพันธ์ (20.10.62)


39

ภาพประกอบ แถนทางเข้าพืน้ ทีต่ งั้ โครงการ

ภาพประกอบแสดงหน้าพืน้ ที่ จัดตัง้ โครงการ ซึง่ เป น็ พืน้ ทีเ่ ดิมของกลุม่ อาศรมศึกษิต

ภาพประกอบแสดงหน้าพืน้ ที่ จัดตัง้ โครงการ ซึง่ เป น็ พืน้ ทีเ่ ดิมของกลุม่ อาศรมศึกษิต ภาพประกอบแสดงหน้าพืน้ ที่ จัดตัง้ โครงการ ซึง่ เป น็ พืน้ ทีเ่ ดิมของกลุม่ อาศรมศึกษิต


40 จากการวิเคราะห์ที่ดินของ อาศรม พบว่า พื้นที่บริบทรอบๆของอาศรม เป็นพื้นที่โล่งของทุ่งข้าว มีสภาพ แวดล้อมที่พร้อมต่อการตั้งเป็นพื้นที่ ในการ จัดตั้งอาคารเพื่อรักษาหรืออยุ่ อาศัย โดยพื้นที่ บริเวนนั้นยังมีราคาที่ถูก และรอบห่างจากตัวเมืองไม่ใกล้มาก โดยมาระยะ เวลาการเดินทางจาก ใน ตัวเมืองถึงที่ตั้งโครงการ 22กิโลเมตร หรือเวลาการเดินทาง 25-30 นาทีมี วัดประจ�ำพื้นที่อยุ่ห่างจาก ตัว พื้นที่1.5 กินโลเมตรหรือ 5นาทีในการ เดินทาง จากถนนหมายเลขที่ 12 ซึ่งเป็น ถนนหลักเข้ามาใน พื้นที่ มีระยะจาก ถนนใหญ่ 600 เมตร ซึ่งเป็นระยะที่ไม่ ไกลจนเกินไป แต่ไกลพอที่จะไม่มี เสียงรบกวนจาก ถนนหลัก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ถนนรองไปเข้าไปในที่ ตั้ง มีไฟทางที่นอน ท�ำให้ในเวลากลาง คืนไม่มีไฟในการส่องสว่างเข้ามาใน โครงการได้อย่างชัดเจน และมีแม่น�ำ้สายรองจากแม่น�ำ้น่าน ไหลผ่านตลอดแนว

รูปภาพโดรน : วรวุฒิ พวงพันธ์

18.86 55.43 75.40

203.3

9 ไร่ 1 งาน 60 ตารางวา

1

รูปภาพที่ 1. ถนนก่อนถึงโครงการเป น็ ถนน 2 เลน ด้านหนึง่ เป น็ คลองสายรองจากแม่อน�ำน้ า่ น ตลอด แนว

2

รูปภาพที่ 2. ข้างโครงการทางทิศใต้เป น็ ทุง่ นาโล่ง มีลม พัดตลอดทัง้ วัน อากาศสามารถถ่ายเทตลอดเวลส

3

รูปภาพที่ 3. หน้าโครงการเป น็ คลองทีก่ ล่าวมาในรูปที1่ โดยมีขนาดความกว้างประมาณ15 เมตรและลึก2-3เมตร


41

พื้นที่ ของอาศรมศึกษิต ที่ต้องการเปิดโรงการ

97.45

ศูนย์รักษาแบบประคับประคอง (อาศรมศึกษิต)

35.64

พื้นที่เดิมของอาคารอาศรมศึกษิต เป็น พื้นที่ที่เต็มไปด้วยธรรมชาติในพื้นที่ เพราะ เตรี ย มส� ำ หรั บ การจั ด ตั้ ง โครงการศู น ย ดูแลแบบประคับประครองโดยในพื้นที่จะ ประกอบไปด้วย อาคารส�ำหรับประชุมของคนในอาศรม ค่อยพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้กัน และ อาคารชั่วคราว ส�ำหรับคนสวนที่ดูแล ในพื้นที่ สระบัว มีพืชพันธุ์น�ำ้มากหมายและ ปลาที่เลี้ยงไว้ พื้นที่สวนมีทั้ง ไม้ผล และไม้ไว้ส�ำหรับ ท�ำและตกแต่งอาคารในอนาคต และในปัจจุบันได้มีการเตรียมหน้าดิน หน้าโครงการ เพื่อทดลองปลูกผักปลอดสาร พิษเพื่อใช้ในโครงการ

80.97

31

N 4

5

รูปภาพที่ 4. ข้างโครงการทางทิศเหนือเป น็ ทุง่ นาโล่ง มี ลมพัดตลอดทัง้ วัน อากาศสามารถถ่ายเทตลอดเวลส

รูปภาพที5่ . ในพืน้ ทีม่ สี ระบัวประมาณ35-40 เมตร และมีความกว้างประมาณ 15 เมตร ภาพโดรนประกอบแสดงการวิเคราะไซต์ : วรวุฒิ พวงพันธ์ 20.10.62


42 โมเดลแสดงความสูง พืน� และ ต้นไม้

รูปภาพโมเดลแสดงความสูง : วรวุฒิ พวงพันธ์

SITE

โมเดลแสดงระดับความสูง พืน้ และต้นไม้ ด้วยสี โดยมีการแสดงความสูง ต�ำส่ ดุ คือ 3 เมตรสูงสุด 38 เมตร โดยโมเดลนีจ้ ะท�ำให้ สามารถ วิเคราะ ลักษณะความสูงของต้นไม้สงู ต้นไม้ เตีย้ สามารถวิเคราะห์การเข้าออกลมได้ และภาพแสดงระดับพืน้ ทีต่ า่ งกันท�ำให้เกิด ความลาดเอียง การไหลของน�ำ้

ลักษณะของต้นไม้จะประกอบไปด้วยทัง้ ไม ้ข นาดใหญ ่แ ละไม ผ้ ลที่ ป ลู ก ไว จ้ � ำ นวนหนึ่ ง โดยพืน้ ทีต่ งั้ หมดใน จะมีรอ่ งน�ำจ้ ากสระบัว ไปขอบๆทีด่ นิ เพือ่ ไว้สำ� หรับรดน�ำต้ น้ ไม้ทำ� ให้ ต้นไม้ ในพืน้ ที่ มากมาย และอุดมสมบูรณ์มาก


43

ภาพวิเคราะห์การไหลของน�ำใ้ นพืน้ ที่ โดย การอ้างอิงจากภาพ 3 d

รูปภาพโดรน : วรวุฒิ พวงพันธ์ ภาพเส น้ ทางคลองทีไ่ หลผ่านหน้าโครงการและยังสามารถรองรับน�ำ้ จากแม่นำ� น้ า่ น หรือรองรับเมือ่ เกิดน�ำฝ้ นตกหนัก และยังเป น็ คลอง หลักทีใ่ ช ้ ในการเกษตรในชุมชน ต.มะตูม


44 เ สถานทีส่ ำ� คัญ ทีส่ มั พันธ์กบั โครงการ ะ้

ดั

ะี

ภาพแสดงแผนที่ ต�ำแหน่งวัดใกล้เคียงและต�ำแหน่งหมูบ่ า้ นทีใ่ กล้ทสี่ ุด โดยมีเส้นทางการเดินบิณฑบาติ ของวัด ที่ จะเห็นได้วา่ มีการเดินผ่านทางเข้าหน้าโครงการ และยังใช้เวลาในการเดินทางด้วยรถไม่เกิน 5 นาที เนือ่ งด้วยโครงการมีผเู ้ สียชีวติ อยูบ่ อ่ ยครั้งและมีกจิ กรรมทางศาสนามีวดั หรือผูท้ ำ� กิจกรรมศาสนาใกล้ทำ� ให้เหิด ความสะดวกในการ นิมนต์พระเพือ่ ท�ำกิจสงค์ได้สำ� ดวก เช่น การนินมต์สวดศพ การเทศกิจกรรมนัง่ สมาธิ และ บิณฑบาตในตอนเช้า ระยะทางจากวัดจึงเป็ นอีกส่วนหนึ่งทีส่ ำ� คัญเพือ่ ความสะดวกในการท�ำกิจกรรมทางศาสนา


45 โรงพยาบาลพุทธชินราชเป น็ อีกทีหนึง่ ทีโ่ ครงการรับ ผูป้ ว่ ยมาท�ำการรักษาและยังเป น็ หน่วยงานทีเป น็ ส่วน เกีย่ วข้องกับโครงการ โดยระยะทางจากโรงพยาบาล ไปจนถึงพืน้ ทีข่ องโครงการห่างจากกัน 22 กิโลเมตร และ ใช เ้ วลาในการเดินทางประมาณ 22-30 นาที

โรงพยาบาลเรศวร เป น็ อีกโรงพยาบาลเป น็ อีกที ทีม่ กี ารศึกษา และดูแลผู ป้ ว่ ยระยะสุดท า้ ยแบบประคับประคองและมีการ รองรับผูป้ ว่ ยระยะสุดท้าย ในการรักษาในโครงการอีกด้วย จากระยะทางจาก รพ.นเรศวรถึงพืน้ ทีโ่ ครงการ อาศรมศึกษิต เป น็ ระยะ 27 กิโลเเมตรและใช เ้ วลาในการเดินทางเป น็ เวลา 27-35นาที


46

จิตภาพโครงการ ทางสัญจรและรูปแบบอาคาร

พืน้ ทีห่ อ้ งพัก

จิตภาพ ของพืน้ ทีห่ อ้ งพัก จะมีลกั ษณะเป น็ พืน้ ที่ มีการออกแบบตัวอาคารให้เชือ่ มต่อกับธรรมชาติให้ผูพ้ กั อาศัยทัง้ ผูป้ ว่ ย ครอบครัวผูป้ ว่ ยและเจ้าหน้าทีไ่ ด้รูส้ กึ ผ่อนคลายเป น็ ธรรชาติ โดยอาคารจะตกแต่งไปด้วยไม้เพือ่ ให้รูส้ กึ อบอุน่ และมีการออกแบบ เส น้ ทางในโครงการเป น็ เส น้ โค้งดูสบายตาสอดคล้องกับธรรมขาติและการน�ำต้นไม้นาๆพันธุม์ าใช ้ ในโครงการ โดยภาพประกอบ นีจ้ ะแสดงให้เห็นถึง บรรยากาศเหมือนรีสอท

ภาพประกอบจาก : Kirimaya, เขาใหญ่


47

จิตภาพโครงการ ทางสัญจรและรูปแบบอาคาร

พืน้ ที่ บริการการรักษา

จิตภาพ ของพืน้ ทีอ่ าคารเพือ่ การรักษาการบ�ำบัด และ ทีพ่ กั อาศัยแพทย์ เจ้าหน้าที่ ซึง่ จะมีการออกแบบพืน้ ทีน่ ใี้ ห้รูส้ กึ ทันสมัย ตกแต่งไปด้วยไม้ ให้ผูป้ ว่ ยและครอบครัวรูส้ กึ เหมือนไม่ได้อยุ่ในโรงพยาบาล แต่เหมือนได้พกั ผ่อนทีร่ สี อท ในโรงแรม และทีส่ ำ� คัญ ยังมีการออกแบบให้ตวั อาคารทัง้ ด้านใน และ ด้านนอกมีการเชือ่ มต่อกับธรรมชาติไม่แพ้กับ พืน้ ทีพ่ กั อาศัยของโครงการ เพราะ ตาม ทฤษฎีการออกแบบพืน้ ทีเ่ ยียวยา ต้องออกแบบให้ธรรมชาติบำ� บัดถึงเจ้าหน้าที่ เพราะความรูส้ กึ ของเจ้าหน้าทีม่ ผี ลต่อการ รักษา ภาพประกอบจาก : โรงพยาบาลราชพฤษ


48

บทที่ 6 แนวความคิดและผลการออกแบบ

การมีป ัญญาเพือ่ เข้าใจในชีวติ และความเป น็ ไปในวัฎสงสาร เพือ่ น�ำไปสูก่ ารดูแล


ลจิตใจ

49

การน�ำมาซึง่ ป ัญญา เพือ่ พัฒนาจิตใจ จะยกระดับความรูส้ กึ ในความเป น็ ไป

การยกระดับจิตใจ น�ำจิตวิญญาณไปสู่ ภพภูมอันดี


50


51

รูปภาพแสดงถึง พืน้ ทีบ่ ริบทรอบๆโครงการ โดยจุดทีต่ งั้ ของโครงการมีความส�ำคัญอย่างมากในการสรา้ งสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมให้ แก่ผูป้ ว่ ย จะเห็นได้วา่ รอบๆโครงการจะประกอบไปด้วยพืน้ ที่ โล่งรอบโครงการซึง่ เป น็ ทุง่ นา โดยให้บรรยากาศทีส่ ดชืน่ ตลอดตัง้ ป แี ละมี คลองน�ำไ้ หลผ่านหน้าโครงการ ท�ำให้มนี ำ� เ้ พือ่ ประกอบการเกษตรหรือใช ้ ในการบริหารจัดการ ธรรมชาติในโครงการให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึน้


52 การน�ำ เสนอผลงานการออกแบบร่าง ครัง้ ที่ 1


53 การแสดงแนวคิดในการเริม่ ออกแบบในครัง้ ที1่ โดยมีการค�ำนึงถึงธรรมชาติเพือ่ น�ำไปสูก่ ารออกแบบพืน้ ทีบ่ ริบทในโครงการ ทีด่ ตี อ่ ผูป้ ว่ ยในขัน้ ตอนต่อไป


54

รูปภาพแสดงถึงพืน้ ที่ ผังพืน้ ชัน้ ที1่ ในโครงการ โดยมีการออกแบบพืน้ ทีส่ ว่ นกลางหน้าโครงการให้สอดคล้องกับสวนกลางโครงการ และสระน�ำข้ า้ งโครงการ เพือ่ ได้รบั ธรรมชาติให้มากทีส่ ดุ และในส่วนที2่ คือพืน้ ทีพ่ กั อาศัยจะมีการออกแบบให้สามารถมองเห็นทุง่ นา รอบโครงการให้ ได้มากทีส่ ดุ เพือ่ ให้ผูป้ ว่ ยได้รบั มุมมองทีส่ วยงามในการพักอาศัยเพือ่ การรักษา


55

รูปภาพแสดงถึงพืน้ ที่ ผังพืน้ ชัน้ ที2่ ในโครงการ โดยมีการแสดงการออกแบบพืน้ ทีส่ ว่ นกลางหน้าโครงการให้ทมี่ ขี นาดใหญ่ เพือ่ ให้ พนักงานสามารถ มองเห็นพืน้ ทีธ่ รรมชาติทไี่ ด้ออกแบบไว้ ในข้างต้น โดยจะประกอบไปด้วย พืน้ ที่ ส�ำนักงาน หอพักเจ้าหน้าทีท่ ตี่ อ้ งดูแล ผูป้ ว่ ยตลอดเวลา และพืน้ ทีบ่ ำ� บัดโดยแพทย์แผนทางเลือก


56 การน�ำ เสนอผลงานการออกแบบร่าง ครัง้ ที่ 2


57 ในการน�ำเสนอผลงานการออกแบบร่าง ครัง้ ที่ 2 จะมีการปรับแก้แบบ โดยมีการออกแบบ สภาพแวดล้อมให้สอดคล้องให้ดีขนึ้ จาก และการปรับปรุงฟ ังก์ชนั่ ในส่วนต่างๆให้มคี วามชัดเจนมากขึน้

รูปภาพแสดงถึงพืน้ ที่ ผังพืน้ ชัน้ ที2่ ในโครงการรอบที2่ จะเห็นได้วา่ มีการปรับปรุงพืน้ ทีส่ ว่ นกลางให้มพี นื้ ที่ ทีก่ ว้างมากขึน้ ลมและ แสงสว่างไหลเวียนได้อย่างลงตัว และมีการปรับรูปทรงอาการส่วนกลางให้รปู สึกไม่ลกึ ยาวเกินไป แต่เป ดิ อาคารส่วนการให้มกี ารรับพืน้ ที่ ธรรมชาติมากขึน้


58


59


60


61


62 ทัศนียภาพโดยรวมของโครงการ ในการน�ำเสนอครัง้ ที2่

รูปภาพแสดงถึงทัศนียภาพ ของโครงการทีม่ กี ารออกแบบให้พนื้ ทีท่ งั้ หมดมีความสอดคล้องกับธรรมชาติ ซึง่ แต่ละส่วนจะน�ำเอาต้นไม้ และสระน�ำเ้ ข้ามาเป น็ ตัวเชือ่ มพืน้ ทีเ่ ข้าด้วยกัน ทัง้ หมดนีจ้ ะผ่านการออกแบบค�ำนึกถึงเพือ่ ให้เจ้าหน้าทีแ่ ละผูป้ ว่ ยสามารถใช ้งานได้ สะดวกเป น็ หลัก


63 โมเดล ในการน�ำเสนอครัง้ ที2่

ภาพบรรยากาศการน�ำเสนอในรอบที่ 2

รูปภาพจากเพจ : สาขาสถาป ัตยกรรม คณะสถาป ัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป ์


64 ผังพืน้ ชัน้ ที1่

ผลการออกแบบขัน้ สมบูรณ์


65


66 ผังพืน้ ชัน้ ที2่

ผลการออกแบบขัน้ สมบูรณ์


67 ทัศนียภาพ และรายละเอียดการออกแบบพืน้ ทีแ่ ต่ละส่วนของโครงการ


68 ผังหลังคา

ผลการออกแบบขัน้ สมบูรณ์


69 ทัศนียภาพ และรายละเอียดการออกแบบพืน้ ทีแ่ ต่ละส่วนของโครงการ


70


71


72


73


74 งานระบบต่างๆในโครงการ

ผลการออกแบบขัน้ สมบูรณ์


75 โมเดล ผลการออกแบบขัน้ สมบูรณ์

แสดงพืน้ ทีใ่ นโครงการทัง้ หมด

แสดงพืน้ ทีใ่ นโครงการทัง้ หมด

พืน้ ทีส่ ว่ นกลางของโครงการ

พืน้ ทีพ่ กั อาศัย ของโครงการ

พืน้ ทีพ่ กั อาศัย ของโครงการ

พืน้ ทีพ่ กั อาศัย ของโครงการ


76


77 โมเดล บ้านพักอาศัยในโครงการ TYPE 1

โมเดล บ้านพัก แสดงขนาดเทียบกับ TYPE อืน่ ๆ ในโครงการ

มีการออกแบบพืน้ ที่ ด้านหน้ามีสามารถ รับแสงป ดิ เป ดิ ตามทีต่ อ้ งการได้ พืน้ ทีด่ า้ นในออกแบบให้มคี วามสอดคล้องกันทัง้ หมด


78


79 โมเดล บ้านพักอาศัยในโครงการ TYPE 2

โมเดล บ้านพัก แสดงขนาดเทียบกับ TYPE อืน่ ๆ ในโครงการ


80


81 โมเดล บ้านพักอาศัยในโครงการ TYPE 3

โมเดล บ้านพัก แสดงขนาดเทียบกับ TYPE อืน่ ๆ ในโครงการ

การออกแบบ โดยรอบภายนอกทัง้ หมด มีการออกแบบให้ทนั สมัย แต่มรี ายะลเอียดความเป น็ บ้านไทยในการออกแบบ และมีการออกแบบ ให้เป น็ บ้านแผดและระหว่างบ้าน2หลัง จะเป น็ พืน้ ที่ โล่งเพือ่ ปลูกต้นไม้สรา้ งพืน้ ทีส่ เี ขียวได้อกี ด้วย


82


83


84 บทที่ 7 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 7.1 สรุปผลการศึกษา 7.1.1 สรุปผลการศึกษาด้านข้อมูล - โครงการศูนย์ดแู ลแบบประคับประคอง(ชีวติ อันอุดมอาศรมศึกษิต) เป น็ วิทยานิพนธ์ทเี่ ริม่ จากการวิเคราะห์แก้ ไขป ัญญาทีป่ ัจจุบัน

จากการส�ำรวจสถิติผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Hospice care) มีแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องด้วยโรคภัยไข้เจ็บและปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุที่มากขึ้น ท�ำให้ โรงพยาบาลมีผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ท�ำการรักษาแบบปกติโดยการรักษาแบบปกตินี้ท�ำให้ผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ไม่มีผลต่อ การรักษาได้รับความ ทุกข์ ทรมานโดยไม่จ�ำเป็น จนท�ำให้เกิดปัญหาโรงพยาบาลมีการรับผู้ป่วยมากจนเกินไป และไม่สามารถมีพื้นที่รับผู้ป่วยประเภทอื่นได้เพียงพอ ซึ่งปัญหาผู้ป่วยระยะสุดท้ายนี้ เรียกว่า “ ปัญหาผู้ป่วยครองเตียง ” และปัญหานี้ยังคงมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากรูปแบบการอยู่อาศัยในปัจจุบันใน ไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง จากครอบครัวใหญ่ เป็น ครอบครัวเดียว มากขึ้น เช่นการแยกตัวในการประกอบอาชีในเมืองหลวงท�ำให้ผู้ป่วยในระยะ สุดท้ายมีการดูแลจากครอบครัวที่น้อยลงไปเรื่อยๆ - โดยข้อมูลข้างต้นจึงท�ำให้ต้องมีวิธีการรักษาแบบประคับประคอง เพื่อให้มีการรักษาผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่างถูกวิธีและ แนวทางวิธีการรักษานี้คือการ รักษากาย จิตใจ และสังคมของผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยได้จากไปอย่างสงบและหมดห่วง การรักษาด้านกายคือ การรักษา ตามอาการโดยไม่ใช้เครื่องยื้อชีวิตและท�ำให้ผู้ป่วยได้รับความทรมารน้อยที่สุด การรักษาด้วยใจคือ การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีทั้งผู้ป่วยปละญาติ ได้อยู่ร่วมกันในวาระสุดท้ายเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับความสุขทางใจและจากไปอย่างสงบ ทางสังคมคือการรับมือกับการจากไปของผู้ป่วยเพื่อให้ญาติพี่ น้องได้รับความทุกข์จากการเสียชีวิตนี้ - ข้อมูลการรักษา ในปัจจุบันยังมีน้อย เพราะประเทศไทยพึ่งเกิดแนวโน้นของผู้ป่วยนี้ และศูนย์การรักษาที่เปิดท�ำการใน ปัจจุบันอย่างจริงจังมีแค่โครงการ ศูนย์ธรรมศาสาตร์ ธรรมรักษ์ ท�ำให้มีการหาตัวอย่างการรักษาแบบประคับประคองแบบปฎิบัติในไทยนั้นน้อย ท�ำให้ต้องมีการศึกษาแนวคิดการรักษาของต่างประเทศ และ การน�ำความเชื่อทางด้านจิตใจด้านการรักษาทางศาสนามาออกแบบเพิ่มเติมอีกด้วย โดยได้แนวคิดการออกแบบ สภาพแวดล้อมธรรมชาติดีที่มาใช้ในการออกแบบ ตามหนังสือ Healing Environmentการออกแบบสภาพแวดล้อ มสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา (โกเมธ นาควรรณกิจ ) และ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการเยียวยาสุขภาพแบบองค์รวมหรือ หนังสือกฎหมายและการออกแบบโรงพยาบาล มาประกอบในการออกแบบ

7.1.2 สรุปผลการออกแบบ - การออกแบบ ศูนย์ดแู ลแบบประคับประคอง (ชีวติ อันอุดม อาศรมศึกษิต)นัน้ มีการออกแบบ พืน้ ที่ 3 ส่วนหลักๆ ตามแนวทาง

การรักษา กาย ใจ และสังคม โดยมีการออกแบบพืน้ ทีก่ ารรักษา - ส่วนที1่ คือส่วนการรักษาทางกาย มีการออกแบบพืน้ ทีก่ ารรักษาแพทย์แผนทางเลือกและจุดตรวจอาการของโรต่างๆ (โรคแทรกซอ้ น) เพือ่ หาวิธกี ารรักษาในขัน้ ตอนต่อไป - ส่วนที2่ คือส่วนการรักษาทางจิตใจ คือการออกแบบ พืน้ ทีห่ อ้ งพักอาศัยของผูป้ ว่ ยระยะสุดท้ายได้อยูก่ บั ครอบครัวเป น็ ทีส่ ดุ ท้ายโดยพืน้ ทีห่ อ้ งพักทัง้ หมดจัดอยูล่ อ้ มรอบไปด้วยธรรมชาติทเี่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการจากลา - ส่วนที3่ คือส่วนการรักษาด้านสังคม คือการออกแบบพืน้ ที่ เพือ่ ให้ญาติพนี่ อ้ ง และญาติของผูป้ ว่ ยท่านอืน่ ได้มกี ารพูดคุย เพือ่ เกิดการเห็นอกเห็นใจกัน เข้าใจซึง่ กันละกัน เพือ่ รับมือกับป ัญหาทีต่ อ้ งเจอเหมือนๆกัน จะมีพนื้ ที่ ศาลาร่วมใจกลางโซนห้องพักนัน้ ๆ และพืน้ ทีพ่ ธิ ี ศพทีอ่ อกแบบให้ญาติของผูป้ ว่ ยท่านอืน่ สามารถเข้าร่วมงาน เพือ่ ช่วยกันบ�ำบัด และเข้าใจในการจากไปนัน้

7.1 ข้อเสนอแนะ

การท�ำวิทยานิพนธ์นนั้ ก่อนทีจ่ ะเลือกท�ำโครงการประเภทใดควร พิจารณาจากความชอบและความถนัดของผูจ้ ดั ท�ำโครงการนัน้ ๆ และวิเคราะห์ความเป น็ ไปได้ด้านสภาวะป จั จุบนั อย่างเช่นโครงการศูนย์รกั ษาแบบประคับประคองซึง่ เป น็ โครงการทีม่ แี นวโน้นจากป ัญหาของผูป้ ว่ ย ระยะสุดท้ายทีค่ รองเตียงในประเทศ และมีการก่อสรา้ งศูนย์ประเภทนีใ้ นช่วงเวลาป จั จุบนั จึงท�ำให้เกิดความแน่ชดั แล้วว่ามีความต้องการสูงในการใช ้ บริการ ผนวกกับ ศูนย์อาศรมศึกษิต จ.พิษณุโลกมีความต้องการจัดตัง้ โครงการดูแลผูคนในบั ้ น้ ปลายชีวติ อีกด้วย ทัง้ นีผ้ ูท้ ำ� วิทยานิพนธ์ความมีการศึกษา เพิม่ เต็มให้มากและคิดความเป น็ ไปได้ ในอนาคตเช่นศูนย์การดูแลแบบประคับประคอง มีการศึกษาวิธกี ารรักษา การออกแบบพืน้ ทีโ่ รงพยาบาล และ ความเชือ่ ด้านศาสนา เพือ่ รักษาผูป้ ว่ ยให้ดีทสี่ ดุ และยังต้องหาข้อมูลวางแผนวิเคราะห์ ข้อดีและข้อเสียของการแก้ ไขป ัญหาในการท�ำงานให้ดี ตัง้ แต่ การน�ำเสนอหัวข้อวิจยั และสิง่ ส�ำหรับก็ขนึ้ อยูก่ บั ตนเองว่าเข้าใจและมีความสามารถมากน้อยเพียงใดเพือ่ บรรลุจดุ ประสงค์ในการท�ำวิทยานิพนธ์นนั้


85 บรรณานุกรม

กมลกานต์ โกศลกาญจน์ (2562) Therapeutic Design บรรเทาอาการป่วยด้วยการออกแบบ 10กันยายน พ.ศ.2562 https://www.creativethailand.org/article/howto/32006/Therapeutic-Design?fbclid=IwAR2v8XiPx1eD3WQC RygbMVGJmYHTHntxCJrHCl5zjpEjGSWINU8dm_1aq5Q#Therapeutic-Design โกเมธ นาควรรณกิจ(2553) Healing Environmentการออกแบบสภาพแวดล้อมสถานพยาบาลให้เอื้อต่อการเยียวยา. จ.นนทบุรี . กระทรวงสาธารณสุข สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข(2559) การวิเคราะหขอมูลและการ จัดทําสถิติสถานพยาบาล สํานักกิจการโรงพิมพ องคการสงเคราะหทหารผานศึก ในพระบรมราชูปถัมภ ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2561)ร่วมสานแนวคิดสู่การพัฒนาHOSPICE CARE จ.นนทบุรี โรงพิมพ์เดือนตุลา ศูนย์ธรรมศาสตร์ ธรรมรักษ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2560) ความต้องการครั้งสุดท้ายของชีวิต กับ การดูแลแบบประคับ ประคอง จ.นนทบุรี โรงพิมพ์เดือนตุลา


86


87

ประวัตผิ ศึู ้ กษา ชือ่ วันเกิด สถาณทีเ่ กิด สถานทีอ่ ยูป่ ัจจุบนั

หมายเลขโทรศัพท์ตดิ ต่อ E-mail ต�ำแหน่งหน้าทีก่ ารงาน สถานทีท่ ำ� งานป ัจจุบนั ประวัตกิ ารศึกษา พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556 ประวัตกิ ารฝ กึ งาน พ.ศ 2561

นายมนุเชษฐ์ ศิรสิ วัสดิ์ วันที่ 20 กันยายน พ.ศ.2538 อ�ำเภอเมือง จ.นครราชสีมา บ้านเลขที่ 159/4 หมู่ 11 ต.ท่าขอนยาง อ. กันทรวิชยั มหาสารคาม 44150 080-0068102 Manuchet.siri@msu.ac.th มัธยมศึกษาป ที ี่ 3 โรงเรียนนครพนมวิทยาคม มัธยมศึกษาป ที ี่ 5 โรงเรียนนครพนมวิทยาคม มัธยมศึกษาป ที ี่ 6 โรงเรียนท่าวังผาพิทยาคม บริษทั เสาเอกสถาปนิก จ�ำกัด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.