Annual report 2008

Page 1

รายงานประจำป 2551

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

ป

บ น เ ส น ท า ง แ ห ง ก า ร เ ติ บ โ ต อ ย า ง ยั่ ง ยื น



2 ทศวรรษ แหงการเปลี่ยนแปลง พัฒนาอยางตอเนื่อง เติบโตอยางยั่งยืน

จากประสบการณเกือบ 20 ปแหงการเติบโตอยางยั่งยืนของ LPN กับการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยรูปแบบใหมที่สมบูรณและครบวงจร สูการเปนตนแบบของคอนโดมิเนียมในเมือง ที่พรอมสงมอบสิ่งดีๆ ไปยังลูกคา บนเสนทางที่เปยมไปดวยรอยยิ้มและความอุนใจแหงการพักอาศัย ระยะแรก ป 2532 - 2541

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ลุมพินี ทาวเวอร แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร ลุมพินี เพลส แอล.พี.เอ็น. มินิ ออฟฟศ พี.เอส.ที. คอนโดวิลล ทาวเวอร 1,2 พี.เอส.ที. มินิ ออฟฟศ สี่พระยา ริเวอรวิว พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม บานลุมพินี บางบัวทอง บานลุมพินี 2 บางบัวทอง

ระยะที่สอง ป 2542 - 2546 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

ลุมพินี เพลส สาทร ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด ลุมพินี เซ็นเตอร ลาดพราว 111 ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร ลุมพินี เรสซิเดนซ สาทร ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง ลุมพินี วิลล พระแมมารี-สาทร ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41

ระยะที่สาม ป 2547 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอรวิว ลุมพินี เซ็นเตอร สุขุมวิท 77 ลุมพินี วิลล พหล-สุทธิสาร ลุมพินี เซ็นเตอร นวมินทร ลุมพินี วิลล สุขุมวิท 77 ลุมพินี เพลส ปนเกลา

ระยะที่สี่ ป 2548 - 2549 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจาพระยา ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย ลุมพินี เพลส รัชดา-ทาพระ ลุมพินี เพลส ปนเกลา 2 ลุมพินี วิลล รามคำแหง 44

ระยะที่ 5 ป 2550 - ปจจุบัน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

ลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง ลุมพินี คอนโดทาวน รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี วิลล รามอินทรา-หลักสี่ ลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร ลุมพินี สวีท ปนเกลา ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 ลุมพินี พระราม 8 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ลุมพินี วิลล บางแค ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่

Lumpini Tower L.P.N. Tower Lumpini Place L.P.N. Mini Office P.S.T. Condoville Tower 1, 2 P.S.T. Mini Office Siphraya River View P.S.T. City Home Baan Lumpini Bang Bua Thong Baan Lumpini 2 Bang Bua Thong Lumpini Place Sathorn Lumpini Center Happyland Lumpini Center Latphrao 111 Lumpini Place Suanplu-Sathorn Lumpini Place Rama 4-Sathorn Lumpini Residence Sathorn Lumpini Place Narathiwat 24 Lumpini Place Rama 3-Charoenkrung Lumpini Ville Mary-Sathorn Lumpini Place Narathiwatratchanakharin Lumpini Suite Sukhumvit 41 Lumpini Place Rama 3-Riverview Lumpini Center Sukhumvit 77 Lumpini Ville Phahon-Sutthisarn Lumpini Center Nawamin Lumpini Ville Sukhumvit 77 Lumpini Place Pinklao Lumpini Ville Cultural Center Lumpini Place Narathiwat-Chaophraya Lumpini Place Phahon-Saphankhwai Lumpini Place Ratchada-Thapra Lumpini Place Pinklao 2 Lumpini Ville Ramkhamhaeng 44 Lumpini CondoTown Bodindecha-Ramkhamhaeng Lumpini CondoTown Ramindra-Laksi Lumpini Ville Ramindra-Laksi Lumpini Ville Prachachun-PhongPhet Lumpini Suite Pinklao Lumpini CondoTown Ratanathibet Lumpini Ville Ramkhamhaeng 26 Lumpini Rama 8 Lumpini Place Rama 9-Ratchada Lumpini Ville Bangkhae Lumpini Place Ramindra-Laksi

โครงการรวมทุน ในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ ลุมพินี ทาวนโฮม รัชดา-พระราม 3 ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3 แกรนด เฮอริเทจ ทองหลอ แกรนด พารควิว อโศก พารควิว วิภาวดี

Lumpini Place WaterCliff Lumpini Townhome Ratchada-Rama 3 Lumpini Suite Ratchada-Rama 3 Grand Heritage Thonglor Grand Park View Asoke Parkview Viphavadi


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) (LPN) ประวัติบริษัท ผูพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยที่มีประวัติยาวนานเกือบ 2 ทศวรรษ ซึ่งตลอดเวลาที่ผานมานั้น บริษัทมีพัฒนาการที่สำคัญอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งวิธีคิดและกระบวนการบริหารจัดการภายใน ที่นำมาซึ่งวิสัยทัศนที่แตกตางกันในแตละชวงเวลา วันเวลาที่ผานไป แนวความคิดในการพัฒนาโครงการยิ่งลึกซึ้งตามประสบการณและเจตนารมณ ในการพัฒนาที่พักอาศัยที่มีคุณภาพใหกับผูอยูอาศัย จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นกวา 1 เทา ครอบครัว เปน กอตั้ง ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท เพื่อบริหารคุณภาพชีวิตผูอยูอาศัย

2,000

บุกเบิกถนนพระราม 4 ใหเปนแหลงธุรกิจแหงใหม ดวยกลยุทธนานน้ำสีคราม (Blue Ocean Strategy)

2532

2533-2536

2537

บริษัทถือกำเนิดขึ้นจากบุคคลหลากหลายสาขาอาชีพที่ มีความมุงมั่นรวมกันในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่มี คุณภาพใหแกสังคมไทย โดยกอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2532 ดวยทุนจดทะเบียน 50 ลานบาท และเริ่มตนพัฒนาโครงการ “ลุมพินี ทาวเวอร” อาคารชุดสำนักงาน สูง 37 ชั้น แหงแรก บนถนนพระราม 4 ซึ่งเปนที่ตั้งของสำนักงานใหญ จนถึงปจจุบัน

นอกจากการพัฒนาโครงการตางๆ แลว ระยะแรก ของการดำเนินงาน ยังเปนชวงเวลาของการขยาย การลงทุนและการพัฒนาการใหบริการภายใตการ ดำเนินงานของบริษัทและบริษัทในเครือ โดยเมื่อป 2533 บริษัทไดลงทุนในบริษัท พรสันติ จำกัด ในสัดสวนการลงทุนรอยละ 20.00 เพื่อพัฒนาโครงการ ทั้งที่เปนอาคารชุดพักอาศัยและลักษณะอื่นๆ รวมทั้งได จัดตั้งบริษัท ลุมพินี พรอพเพอรตี้ มาเนจเมนท จำกัด ขึ้น เมื่อป 2535 เพื่อบริการหลังการขายโดยกำหนด ทิศทางในการใหบริการ บริหารจัดการอาคารชุด แกทุกโครงการที่บริษัทและบริษัทยอยไดพัฒนาขึ้น นอกจากนั้นยังไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท พรสันติ จำกัด เปนรอยละ 99.99 ของทุนชำระแลว 200 ลานบาท

ภายในระยะเวลา 5 ป ของการดำเนินงาน บริษัทไดจดทะเบียนแปรสภาพเปนบริษัทมหาชน เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2537 ทะเบียนเลขที่ บมจ.477 โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยไดรับบริษัท เขาเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ใชชื่อหลักทรัพยวา LPN และไดออกหุนสามัญ เพิ่มทุนจำนวน 9.2 ลานหุน เพื่อจัดสรรใหแก ประชาชนทั่วไป โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท และราคาเสนอขายตอหุน 64 บาท ซึ่งตอมาไดเพิ่มทุน เปน 460 ลานบาท เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2537

จุดเริ่มตนของธุรกิจ

ปรับโครงสรางการดำเนินธุรกิจ

เขาสูองคกรมหาชน

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 1


มั่นใจในกลุมเปาหมายและกลยุทธธุรกิจ

400,000

กวา ตร.ม. ที่อยูภายใตการบริหารจัดการ พลิกวิกฤติใหเปนโอกาส จัดแคมเปญการตลาดตอเนื่อง กระตุนตลาดทามกลางภาวะวิกฤติ

2540-2541

2542

2543

2544

เมื่อครั้งที่ประเทศไทยเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ครั้งใหญ จากการประกาศลอยตัว คาเงินบาท และการปดตัวลงของ 56 สถาบันการเงิน ซึ่งสงผลกระทบเปน วงกวางทั้งระบบเศรษฐกิจ ในสวนของ บริษัทก็ไดรับผลกระทบรุนแรงนี้เชนกัน ทำใหมีภาระหนี้กับสถาบันการเงินกวา 3 พันลานบาท เปนเหตุใหตองปรับ โครงสรางองคกร ปรับเปลี่ยนกลยุทธ และกระบวนการทำงานใหมทั้งหมด พรอมพัฒนาประสิทธิภาพบุคลากรให สอดรับกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจซบเซา

เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2542 บริษัท ไดแตงตั้ง บริษัท คาเธย แอสเซท แมเนจเมนท จำกัด เปนที่ปรึกษาในการ ปรับปรุงโครงสรางหนี้และการเพิ่มทุน จดทะเบียนของบริษัท โดยรวมกันกำหนด แนวทางในการเจรจาปรับปรุงโครงสราง หนี้กับเจาหนี้ทุกราย รวมถึงการวางแผน งานเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัท และ ประสบความสำเร็จในการปรับปรุงโครงสราง หนี้กับเจาหนี้สถาบันการเงินทั้งจำนวน คิดเปนมูลหนี้ 3,305.93 ลานบาท (อันเปน ผลมาจากความเชื่อมั่นที่สถาบันการเงิน มีตอบริษัทและสงผลตอเนื่องในการให การสนับสนุนบริษัทมาจนถึงบัจจุบัน) นอกจากนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ไดจัดใหมีการประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2542 เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2542 เพื่อพิจารณาเรื่องการเพิ่มทุนจดทะเบียน ของบริษัทจากเดิม 460,000,000.00 บาท (สี่รอยหกสิบลานบาทถวน) เปน 3,983,000,000.00 บาท (สามพันเการอย แปดสิบสามลานบาทถวน) โดยการออก หุนใหมเปนหุนสามัญ เพื่อการเพิ่มทุน จำนวน 352,300,000 หุน (สามรอยหาสิบ สองลานสามแสนหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ 10 บาท รวมจำนวน 3,523,000,000.00 บาท (สามพันหารอยยี่สิบสามลานบาทถวน)

เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2543 ที่ประชุม คณะกรรมการบริษัท ไดพิจารณาแตงตั้ง คณะกรรมการตรวจสอบ รวมทั้ง ไดกำหนดขอบเขต อำนาจหนาที่และ ความรับผิดชอบ เพื่อใหเปนไปตาม หลักเกณฑในการกำกับดูแลกิจการของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ซึ่งคณะกรรมการบริษัทไดใหความ สำคัญอยางยิ่งกับการดำเนินงานตาม หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีดังกลาว

ทามกลางภาวะเศรษฐกิจซบเซาซึ่งผูประกอบการตางก็ชะลอการ พัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัย บริษัทไดเปลี่ยนวิกฤติใหเปน โอกาสดวยการศึกษาความตองการพื้นฐานดานการอยูอาศัย ของลูกคาอยูตลอดเวลา และจากการปรับเปลี่ยนทั้งวิธีคิดและ กระบวนการบริหารจัดการ จึงเปนที่มาของกลยุทธการพัฒนา โครงการรูปแบบใหม คืออาคารชุดพักอาศัยในใจกลางเมืองที่มี ราคาลานตนๆ ใกลแนวรถไฟฟา โดยไดเปดตัว “โครงการลุมพินี เพลส สาทร” ริมถนนนราธิวาสราชนครินทร อาคารชุดพักอาศัย มูลคา 750 ลานบาท ซึ่งถือเปนจุดกำเนิดของ “ซิตี้คอนโด” ที่เปน ตนแบบการพัฒนาโครงการของบริษัทและผูประกอบการอื่นๆ ในระยะตอมา นอกจากนี้ ยังเปดตัวโครงการลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด อาคารชุดพักอาศัยในยานบางกะป ดวยกลยุทธใน การพัฒนาโครงการใหลูกคาเขาอยูอาศัยไดภายในเวลา 1 ป ทำใหการกอสรางเสร็จสมบูรณ และสามารถรับรูรายไดทั้งหมด ในป 2545 นอกจากนี้ ยังไดจัดกิจกรรมสงเสริมการขายอยาง ตอเนื่อง และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2544 บริษัทไดตกลงทำสัญญา รวมทุนกับบริษัท ยูนิเวนเจอร จำกัด (มหาชน) บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) และบริษัท เยาววงศ จำกัด โดยไดจัดตั้งบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด ขึ้นเพื่อพัฒนาโครงการ ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ ซึ่งเปนโครงการอาคารสรางคาง บนถนนรัชดาภิเษก-พระราม 3 ที่หยุดดำเนินการตั้งแตป 2540 เนื่องจากวิกฤติเศรษฐกิจ โดยบริษัทรวมทุนดังกลาวไดเขาฟนฟู และพัฒนาโครงการดังกลาวภายใตชื่อโครงการ “ลุมพินี เพลส วอเตอรคลิฟ” โดยบริษัทเปนผูรับผิดชอบดานการบริหารการ ตลาด การขาย และการกอสรางทั้งโครงการ และโครงการนี้เปน โครงการหนึ่งที่ประสบความสำเร็จอยางสูง ซึ่งเปนการแกไขปญหา ของผูประกอบการ ลูกคา สถาบันการเงิน และผูมีสวนไดเสีย ชวยลดอาคารสรางคางที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใน บริเวณนั้นอีกดวย

เผชิญวิกฤติเศรษฐกิจ

ปรับโครงสรางหนี้ไดสำเร็จ พรอมดำเนินธุรกิจ

2 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

เพิ่มความชัดเจนของการเปน องคกรธรรมาภิบาล

บริษัทผูสรางตำนาน อาคารชุดพักอาศัยใจกลางเมือง


ทุนจดทะเบียนเติบโตเปน

2537

3 เทา

เติบโตแบบกาวกระโดด

2545

2545

2546-2547

ตามมติที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุน ประจำป 2545 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2545 มีมติใหลดทุนจดทะเบียน จากเดิม 3,983,000,000.00 บาท (สามพันเการอยแปดสิบ สามลานบาทถวน) ลงเหลือเพียง 460,000,000.00 บาท (สี่รอยหกสิบลานบาทถวน) และทำการเพิ่มทุนอีก 75,000,000.00 หุน (เจ็ดสิบหาลานหุน) คิดเปนจำนวนเงิน 750,000,000.00 บาท (เจ็ดรอยหาสิบลานบาทถวน) ซึ่งเมื่อรวมทุนจดทะเบียนชำระแลวเดิมจำนวน 460,000,000.00 บาท (สี่รอยหกสิบลานบาท) ทำใหบริษัทมีทุนจดทะเบียนในป 2545 ทั้งสิ้น 1,210,000,000.00 บาท (หนึ่งพันสองรอยสิบลานบาท) โดยเปนทุนที่ชำระแลว ณ วันที่ 29 มกราคม 2547 จำนวน 946,826,190.00 บาท (เการอยสี่สิบหกลาน แปดแสนสองหมื่นหกพันหนึ่งรอยเกาสิบบาทถวน) นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัทยังเสนอแตงตั้งนายปกรณ ทวีสิน ใหดำรงตำแหนงรองประธานกรรมการบริษัท ตอที่ประชุมผูถือหุนอีกดวย

ในโอกาสที่บริษัทไดดำเนินธุรกิจครบ 15 ป ในป 2547 บริษัทจึงไดจัดกิจกรรมตางๆ ภายใตโครงการ “15 ปที่ผูกพัน” เพื่อขอบคุณลูกคา ผูมีอุปการคุณ ซึ่งใหการสนับสนุนตอ บริษัทเปนอยางดีตลอดมา เชน การใหบริการตรวจเช็คระบบ งานในหองชุดลูกคาโดยไมคิดคาบริการ การมอบอุปกรณ และเครื่องใชที่จำเปนแกนิติบุคคลอาคารชุดตางๆ เพื่อใชเปน ประโยชนสวนกลาง นอกจากนี้ ยังไดสนับสนุนในกิจกรรม สาธารณกุศลตางๆ เชน การสนับสนุนเงินทุนเพื่อใชในการ จัดสรางสนามเทนนิสเพื่อเยาวชน หรือการบริจาคเงินใหแก สภากาชาดไทย เพื่อจัดซื้ออุปกรณที่ใชในเครื่องกรองไต สำหรับชวยเหลือผูปวยโรคไตเรื้อรังระยะสุดทาย การจัด คอนเสิรตการกุศลรวมกับตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพื่อมอบรายไดใหแกองคกรการกุศล การจัดกิจกรรม “15 ปที่ผูกพัน รวมแบงปนสูบานเด็กออนพญาไท” และการ มอบทุนการศึกษาใหแกบุตรพนักงาน เปนตน

ปรับทุนจดทะเบียนเพื่อความมั่นคง ของฐานะทางการเงิน

ปรับกลยุทธไปสูความเปนมืออาชีพ

ปรับโครงสรางเงินทุนและกลยุทธองคกร ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2547 ซึ่งจัดประชุม เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2547 มีมติใหเปลี่ยนแปลงมูลคา หุนที่ตราไวจากเดิมหุนละ 10.00 บาท เปนหุนละ 1.00 บาท ทำใหจำนวนหุนของบริษัทเพิ่มขึ้นจากเดิม 121,000,000 หุน (หนึ่งรอยยี่สิบเอ็ดลานหุน) เปน 1,210,000,000 หุน (หนึ่งพันสองรอยสิบลานหุน) นอกจากนี้ยังไดอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนจำนวน 276,706,550 หุน (สองรอยเจ็ดสิบหกลานเจ็ดแสนหก พันหารอยหาสิบหุน) มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท (หนึ่งบาทถวน) รวมเปนทุนจดทะเบียนทั้งสิ้น

1,486,706,550.00 บาท (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลาน เจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบบาทถวน) แบงเปนหุนสามัญ 1,486,706,550 หุน (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลาน เจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบหุน) มูลคาหุนละ 1.00 บาท (หนึ่งบาทถวน) บริษัทไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท จำกัด จากเดิมรอยละ 25 เปนรอยละ 33.3 เพื่อขยายชองทางการพัฒนาโครงการ การตลาดและ ผลิตภัณฑ รวมถึงการเพิ่มพันธมิตรทางธุรกิจ บริษัทไดลงนามในสัญญาใหเชาพื้นที่อาคารลุมพินี เรสซิเดนซ ที่พัฒนาเปนอาคารอาพารตเมนทใหเชาทั้ง อาคาร กับบริษัท รีเออิ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อขยายธุรกิจดานเซอรวิส อพารทเมนท (Serviced Apartment) และ การใหบริการเชาพักในลักษณะ ระยะยาว (Long Stay) แกลูกคาชาวญี่ปุน บริษัทไดรับเชิญจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ใหเขารวมงาน “Thailand Focus 2004” เพื่อนำเสนอ ผลประกอบการ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และแผนการ ดำเนินธุรกิจของบริษัทตอผูบริหารระดับสูงของกองทุน ผูจัดการกองทุน และผูลงทุนสถาบันชั้นนำจากตางประเทศ

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 3


จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นเปนกวา ครอบครัว พื้นที่อาคารภายใตการดูแลกวา

15,000

1.2 ลาน ตร.ม.

2548-2549

ผูนำในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยดานอาคารชุดพักอาศัย และการปรับเปลี่ยนโครงสรางการบริหารจัดการ ไมเพียงเปนชวงเวลาของการเติบโตอยางมั่นคง หากแตหมายถึงยางกาวที่ไดรับการยอมรับ อยางกวางขวางในฐานะผูนำดานการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยทั้งจากนักวิเคราะห ลูกคา และสื่อมวลชน รวมทั้งยังไดรับรางวัลและการจัดอันดับจากหนวยงานและองคกรตางๆ ไดแก • บริษัทไดรับการจัดอันดับหลักทรัพยใหอยูในดัชนี SET Index 100 ของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย โดยประกาศ ณ วันที่ 18 เมษายน 2548 • บริษัทไดรับการจัดอันดับใหเปน 1 ใน 93 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในป 2548 ที่ไดรับการประเมินผลการดำเนินงานดานการกำกับดูแลกิจการดีเดนในกลุม Top Quartile จากการประเมินโดยสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยบริษัทไดรับ การจัดอันดับในกลุม Top Quartile ติดตอกันเปนปที่ 3 • บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยใหเปนบริษัทที่มี การกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณ ซึ่งไดดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด โดยมีคะแนนเฉลี่ย 80 - 89 จากคะแนนเต็ม 100 และปนี้นับเปนปที่ 4 ที่บริษัทไดรับ การสำรวจดานการกำกับดูแลกิจการที่ดีในอันดับดีมาก โดยมีบรรษัทภิบาลแหงชาติ รับรองในฐานะเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย • บริษัทไดรับประกาศเกียรติคุณจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในโอกาสที่บริษัทติด 1 ใน 3 ของบริษัทที่ไดรับการเสนอชื่อเขาชิงรางวัล SET AWARDS 2006 ประเภท Best Performance ในหมวด Property & Construction ซึ่งเปนผลมาจากการ ดำเนินงานที่มุงสรางการเติบโตที่ยั่งยืนและสรางผลตอบแทนที่ดีใหแกผูถือหุน โดยเกณฑ การตัดสินรางวัลพิจารณาจากฐานะการเงินและผลการดำเนินงานดีเดน รวมถึงการปฏิบัติ ตามขอกำหนดเรื่องการเปดเผยขอมูลของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และสภาพ คลองของหลักทรัพย ดานคณะกรรมการบริษัทนั้น ระหวางป 2548 - 2549 มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญดังนี้คือ • ศาสตราจารยโมรา บุณยผล ประธานกรรมการบริษัท ไดถึงแกกรรมเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2548 และจากการประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 4/2548 ไดมีมติ แตงตั้งนายปกรณ ทวีสิน ใหดำรงตำแหนง ประธานกรรมการบริษัท โดยมีผลตั้งแต วันที่ 11 สิงหาคม 2548

4 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

• บริษัทไดแตงตั้ง นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ใหดำรงตำแหนงกรรมการตรวจสอบ โดยมี ผลตั้งแตวันที่ 22 ธันวาคม 2548 รวมถึงไดแตงตั้งคณะกรรมการตรวจสอบชุดเดิมให ดำรงตำแหนงอีกวาระหนึ่ง ระหวางวันที่ 1 กุมภาพันธ 2549 ถึงวันที่ 30 เมษายน 2551 • บริษัทไดแตงตั้ง นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข ใหดำรงตำแหนง ประธานเจาหนาที่บริหาร และประธานคณะกรรมการบริหาร แทนนายทวีชัย จิตตสรณชัย ที่ขอลาออก โดยมี ผลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2549 • บริษัทแตงตั้ง ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ และ นายทวีชัย จิตตสรณชัย ใหดำรง ตำแหนงรองประธานกรรมการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549 • บริษัทไดแตงตั้งนายอมรศักดิ์ นพรัมภา และ นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล ใหดำรงตำแหนง กรรมการตรวจสอบแทน ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์ และ นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน ที่ขอลาออก โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549 เปนตนไป และมีกำหนดวาระ ถึงวันที่ 30 เมษายน 2551 คณะกรรมการตรวจสอบชุดใหม ประกอบดวย 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 2. นายเทพ รุงธนาภิรมย กรรมการตรวจสอบ 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ • บริษัทไดแตงตั้ง นายโอภาส ศรีพยัคฆ ใหดำรงตำแหนง กรรมการบริหาร และ กรรมการผูจัดการ โดยมีผลตั้งแตวันที่ 26 เมษายน 2549 นอกจากนี้ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญอีกดานคือ ที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2549 ซึ่งจัดประชุมเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2549 มีมติอนุมัติลดทุนจดทะเบียนจาก 1,486,706,550 บาท (หนึ่งพันสี่รอยแปดสิบหกลานเจ็ดแสนหกพันหารอยหาสิบบาทถวน) เปน 1,475,698,768 บาท (หนึ่งพันสี่รอยเจ็ดสิบหาลานหกแสนเกาหมื่นแปดพันเจ็ดรอย หกสิบแปดบาทถวน) โดยตัดหุนสามัญสวนที่เหลือจากการสำรองไวเพื่อรองรับการใชสิทธิ ในการแปลงใบสำคัญแสดงสิทธิจำนวน 11,007,782 หุน มูลคาหุนละ 1 บาท และอนุมัติ แกไข หนังสือบริคณหสนธิ ขอ 4 ของบริษัท เพื่อใหสอดคลองกับการลดทุนจดทะเบียน


เกือบ 2 ลาน ตร.ม. จาก กวา ภายใต “สังคมลุมพินี”

54 โครงการ

30,000 ครอบครัว

2550-2551

จาก “ชุมชนนาอยู” สูวิสัยทัศนในระยะที่ 3 เพื่อการพัฒนาเชิงคุณภาพ ป 2550 บริษัทไดเปลี่ยนแปลงนโยบายการรวมลงทุนในบริษัท แกรนด ยูนิตี้ ดิเวปล็อปเมนท จำกัด โดยลดสัดสวนการถือหุนลงจากเดิม รอยละ 33.3 เปนรอยละ 20 ของทุน จดทะเบียนเรียกชำระแลว และไดัจัดตั้งบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท เซอรวิส จำกัด ขึ้น เพื่อดำเนินการเรื่องการบริหารโครงการอสังหาริมทรัพยแบบครบวงจร อันไดแก งานดานวิศวกรรมและการกอสราง การเงิน การตลาด และการขาย ป 2550 นับเปนพัฒนาการที่สำคัญอีกครั้งของบริษัท ที่ผลักดันใหนโยบายการบริหาร จัดการสิ่งแวดลอมและสังคมภายใตโครงการ “ชุมชนนาอยู” เปนนโยบายหลักที่ใชใน การขับเคลื่อนการดำเนินงานขององคกร เพื่อมุงสรางสรรคสิ่งแวดลอมและสังคม พรอมคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับชุมชนที่บริษัทพัฒนาและบริหารจัดการ รวมไปถึงชุมชน รอบขางและสังคมในระดับที่ใหญขึ้น โดยเนนการมีสวนรวมจากลูกคา พันธมิตร และ พนักงาน เชน จัดใหมีการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อการเรียนรูการมีสวนรวม พรอม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณจากตัวแทนคณะกรรมการเจาของรวมทุก โครงการ ในหัวขอ “ชุมชนนาอยู” เพื่อรวมกันกำหนดมาตรฐานและรูปแบบของการ อยูอาศัยรวมกันในแตละชุมชนที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น ฯลฯ ทั้งนี้ ไดสงผลตอเนื่องมา ยังป 2551 ซึ่งเปนปแหงการเริ่มตนวิสัยทัศนในระยะที่ 3 ที่มุงเนนการพัฒนาเชิงคุณภาพ ในทุกมุมมอง ทั้งที่เกี่ยวของกับบุคลากร กระบวนการบริหารจัดการภายใน รวมถึงมิติ ดานลูกคา และการเงิน เพื่อสรางความสุขที่แทจริงบนพื้นฐานความพอเพียง นอกจากนี้ สามารถสรุปการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในดานอื่นๆ ไดดังนี้ • ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 5/2550 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2550 ไดแตงตั้ง คณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเพื่อพิจารณาคาตอบแทนของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในองคกร • บริษัทไดรับเชิญจากตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เขารวมงาน “Thailand Focus 2007” ระหวางวันที่ 12 - 14 กันยายน 2550 ณ โรงแรมพลาซา แอททินี ถนนวิทยุ กรุงเทพมหานคร เพื่อนำเสนอผลประกอบการ นโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และแผนการ ดำเนินธุรกิจของบริษัท ในรูปแบบ One on One Meeting กับผูบริหารระดับสูงของกองทุน ผูจัดการกองทุน นักวิเคราะหหลักทรัพย และผูลงทุนสถาบันชั้นนำจากตางประเทศ

สำหรับป 2551 เปนปที่บริษัทยังคงใหความสำคัญกับการพัฒนาเชิงคุณภาพตามวิสัยทัศนใน ระยะที่ 3 โดยใสใจในทุกกระบวนการ ตั้งแตการเปดตัวโครงการ การขาย การโอนกรรมสิทธิ์ การสงมอบสินคาแกลูกคา และการบริหารชุมชน ซึ่งเปนการดูแลคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัย ภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” นอกจากนั้น ยังไดตอบสนองความตองการที่พักอาศัยที่มีอยู อยางตอเนื่องโดยไดเปดตัวโครงการอาคารชุดพักอาศัยแหงใหมจำนวนทั้งสิ้น 5 โครงการ ดังนี้ โครงการ 1 2 3 4 5

ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 ลุมพินี สวีท พระราม 8 ลุมพินี เพลส พระราม 8 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ลุมพินี วิลล บางแค รวม

มูลคาโครงการ

จำนวน

ระยะเวลาโครงการ

1,250 503 1,974 2,890 290 6,907

998 178 1,121 1,154 268 3,719

เม.ย. 51 เม.ย. 51 เม.ย. 51 มิ.ย. 51 ธ.ค. 51

(ลานบาท)

(ยูนิต)

-

มิ.ย. 52 ส.ค. 52 ส.ค. 52 เม.ย. 53 มิ.ย. 53

• บริษัทยังไดสงมอบโครงการลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง อาคารชุด สำหรับผูมีรายไดปานกลางคอนขางต่ำ จำนวน 3,500 ยูนิต ที่กอสรางแลวเสร็จตั้งแต เดือนมีนาคมใหกับลูกคา ซึ่งนับเปนชุมชนขนาดใหญโครงการแรกภายใตแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” ที่บริษัทไดสรางนวัตกรรมทางการเงิน โดยความรวมมืออยางใกลชิดกับ สถาบันการเงินเพื่อประสานประโยชนใหกับทุกฝาย ทั้งลูกคา สถาบันการเงิน และบริษัท อันเนื่องจากเงื่อนไขของขนาดโครงการซึ่งสงผลตอระยะเวลาของการโอนกรรมสิทธิ์ บริษัท จึงไดตกลงกับสถาบันการเงินและหาแนวทางใหลูกคาสามารถใชประโยชนจากหองชุดได กอนรับโอนกรรมสิทธิ์ โดยการเซ็นตสัญญาเงินกูกับสถาบันการเงิน ซึ่งทางสถาบันการเงิน ก็จะลดวงเงินกูเฉพาะสวนกับทางบริษัท ซึ่งจะทำใหเกิดประโยชนกับ 3 ฝาย ไมวาจะ เปนลูกคา สถาบันการเงิน และบริษัท จากนวัตกรรมดังกลาว ชวยใหลูกคาไดเขาอยู เร็วกวากำหนดและบริษัทสามารถลดความเสี่ยงและคาใชจายดานดอกเบี้ยอีกดวย รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 5


การปรับตัวรับมือวิกฤติเศรษฐกิจ

• ในชวงกลางป 2551 บริษัทไดปรับโครงสรางองคกร เพื่อปรับกลยุทธในการดำเนินงาน ใหสอดรับกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป โดยโครงสรางองคกรที่เปลี่ยนแปลงใหมนี้ จะมีผลบังคับใชในป 2552 รวมทั้งไดปรับแผนพัฒนาโครงการใหมเพื่อลดความเสี่ยง จากความผันผวนของราคาวัสดุกอสราง และบริหารตนทุนอยางมีประสิทธิภาพ สงผลให การเปดขายโครงการลุมพินี วิลล บางแค ในชวงปลายป ซึ่งเปนโครงการนำรองในทำเล ใหมยานบางแคประสบความสำเร็จอยางสูง ไดรับการตอบรับที่ดียิ่งจากลูกคาจนทำให บริษัทสามารถปดการขายไดภายในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง • บริษัทไดรับรางวัลประกาศเกียรติคุณจากสำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) ในฐานะ “ผูประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ดีประจำป 2550-2551” ซึ่งเปนโครงการที่สำนักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภคไดจัดขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหผูประกอบธุรกิจมีจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคม • นิตยสาร Forbes Asia ฉบับเดือนกันยายน 2551 ไดคัดเลือกใหบริษัทเปน 1 ใน “200 Best Under A Billion” ซึ่งทำการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จำนวน 24,155 บริษัท ที่มีรายไดต่ำกวา 1,000 ลานเหรียญ สหรัฐ และมีผลการดำเนินงานโดดเดนอยางตอเนื่อง โดยมีบริษัทไทยไดรับรางวัล ดังกลาวเพียง 7 บริษัทเทานั้น

6 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

• บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย ใหเปนบริษัท ที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณ เปนปที่ 5 ติดตอกัน ดวยการดำเนิน งานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนการเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคล ทั่วไปอยางโปรงใสมาโดยตลอด • เนื่องจากวิกฤติซับไพรมที่เกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา และสถานการณทางการเมือง ของประเทศไทยในชวงปลายป 2551 ซึ่งมีผลกระทบตอตลาดเงินในประเทศและกอให เกิดความผันผวนในตลาดหลักทรัพย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดสงเสริมใหบริษัทจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย จัดโครงการซื้อหุนคืนเพื่อสรางความเชื่อมั่นใหแก นักลงทุน ดังนั้น ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ครั้งที่ 6/2551 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2551 จึงไดมีมติอนุมัติโครงการซื้อหุนคืน เนื่องจากราคาหุนในตลาดชวงนั้นต่ำกวาปจจัยพื้นฐานของบริษัท โดยกำหนดวงเงินที่ จะใชในการซื้อคืน เปนจำนวนเงิน 200 ลานบาท โดยมีจำนวนหุนที่จะซื้อคืนประมาณ 62 ลานหุน คิดเปนรอยละ 4.20 ของหุนที่จำหนายแลวทั้งหมด คือ 1,475,698,768 หุน และเปนการซื้อในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเทานั้น มีระยะเวลาตั้งแตวันที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552


สรุปขอมูลทางการเงิน หนวย : ลานบาท

สินทรัพย สินทรัพยรวม ที่ดินและตนทุนโครงสรางระหวางกอสราง สินคาคงเหลือ ที่ดินและตนทุนโครงการรอการพัฒนา สินทรัพยใหเชาสุทธิ

2551

2550

2549

2548

2547

8,846.49 3,781.48 1,403.97 681.92 709.99

7,175.76 4,532.36 501.64 660.72 678.53

5,969.80 3,485.15 276.16 837.75 617.67

4,523.70 2,408.16 124.73 819.59 314.14

4,414.81 2,313.76 85.33 661.14 317.60

2,063.69 530.67 4,362.02 1,474.59 4,484.48

1,202.01 501.00 3,348.80 1,475.70 3,826.96

1,033.89 230.00 2,657.43 1,475.70 3,312.37

234.97 340.00 1,532.26 1,475.70 2,991.44

1,598.45 2,090.87 1,205.60 2,323.94

7,018.71 7,303.69 4,826.17 2,192.54 1,205.44

6,574.22 6,823.77 4,294.89 2,279.33 927.74

4,747.84 5,020.49 3,213.88 1,533.96 765.23

3,346.45 3,582.63 2,159.64 1,186.81 588.38

2,308.84 2,478.40 1,498.75 810.10 448.39

3.04 0.82 16.50 29.01 15.05 **

2.59 0.63 13.60 25.99 14.11 0.32

2.24 0.52 15.24 24.28 14.58 0.26

2.20 0.43 16.42 22.14 13.17 0.22

2.12 0.41 0.36 18.09 22.86 12.27 0.20

หนี้สินและสวนของผูถือหุน เงินกูยืมระยะสั้น เงินกูยืมระยะยาว หนี้สินรวม หุนที่ออกและเรียกชำระแลว สวนของผูถือหุน

ผลการดำเนินงาน รายไดจากการขาย รายไดรวม ตนทุน กำไรขั้นตนจากการขาย กำไร (ขาดทุน) สุทธิ

อัตราสวนทางการเงิน มูลคาตามบัญชีตอหุน * กำไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน ** กำไรสุทธิตอหุนปรับลด อัตรากำไรสุทธิตอรายไดรวม อัตราผลตอบแทนตอสวนของผูถือหุน อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยรวม เงินปนผลตอหุน * คิดจากจำนวนหุนถัวเฉลี่ย ** รอผลการอนุมัติจากที่ประชุมใหญสามัญผูถือหุนประจำป 2552 หมายเหตุ 1) เปนขอมูลจากงบการเงินรวม 2) ป 2547 ไดเปลี่ยนแปลงมูลคาตอหุนจาก 10.0 บาท เปน 1.0 บาท

8,000 7,000 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 -1,000 -2,000 -3,000 -4,000 -5,000 -6,000

7,303.69 24 21 18 5,020.49 15 12 3,582.63 9 2,478.40 6.55 1,943.58 6 3 520.42 446.31 460.23 678.46 1,069.81 4.97 0.82 0.63 0.43 0.52 0.41 0 2.01 -1.19 -3 -6 -8.30 -9 -13.53 -12 -15 -18 6,823.77

รายไดรวม (ลานบาท)

กำไรสุทธิตอหุน (บาท)

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 7


สาสนจากประธานกรรมการ เรียน ทานผูถือหุน ป 2551 นับเปนปที่มีปจจัยเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจรอบดาน ทั้งที่เกิดจากภายนอกและภายในประเทศ สำหรับปจจัยภายนอกนั้น วิกฤติการณ ซับไพรมในสหรัฐอเมริกาสงผลใหสถาบันการเงินขนาดใหญตองปดตัวลง และหลายแหงตองขอรับความชวยเหลือจากภาครัฐ วิกฤติการณดังกลาวสงผลกระทบ ตอเนื่องไปทั่วโลก ทั้งในยุโรปและเอเชียรวมถึงประเทศไทยดวย ซึ่งปจจุบันวิกฤติการณดังกลาวยังอยูในภาวะที่นาวิตกและยังไมเห็นสัญญาณการสิ้นสุด ขณะเดียวกัน ปจจัยเสี่ยงภายในประเทศอันเกิดจากสถานการณการเมืองที่ขาดเสถียรภาพ รวมทั้งความผันผวนของราคาน้ำมันที่ปรับตัวขึ้นสูงสุดเปนประวัติการณ ในชวงครึ่งปแรก และปรับตัวลงต่ำสุดแบบไมคาดคิดในชวงปลายป ทำใหราคาวัสดุกอสรางผันผวนยากตอการคาดการณตนทุนกอสราง และสงผลใหภาพรวม ของตลาดอสังหาริมทรัพยชะลอตัวลง อยางไรก็ตาม จากภาวะดังกลาวขางตน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) (LPN) ไดรับผลกระทบเพียงเล็กนอย เนื่องจาก บริษัทไดปรับแผนการพัฒนาโครงการใหมในชวงครึ่งปหลังของป 2551 เพื่อลดความเสี่ยงจากความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางและเปนการบริหารตนทุน อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ จากประสบการณการผานวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 ทำใหบริษัทมีความระมัดระวังในการดำเนินธุรกิจ โดยไดปรับเปลี่ยนแนวทางใน การบริหารจัดการ ทั้งดานกระบวนการคิด การมีสวนรวม และกระบวนการภายใน เพื่อเตรียมความพรอมรับกับสถานการณตางๆ ไดทันทวงที นอกจากนั้น ป 2551 ยังเปนปเริ่มตนของการกำหนดวิสัยทัศนในระยะที่ 3 ของบริษัทที่มีเปาหมายมุงเนนในเชิงคุณภาพมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะมุงพัฒนาผลิตภัณฑที่มี คุณภาพอยางตอเนื่องแลว ยังใหความสำคัญกับการพัฒนาแบรนด “ลุมพินี” โดยไดศึกษาความเปนตัวตนของบริษัท และมีแผนที่จะสื่อสารแบรนดออกสู ภายนอกในป 2552 ซึ่งทั้งหมดนี้สะทอนใหเห็นถึงความมุงมั่นที่จะตอบสนองตอความตองการที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพ อันเปนหนึ่งในปจจัยพื้นฐานที่สำคัญยิ่ง สำหรับทุกคน พรอมไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมภายใตกลยุทธ “ชุมชนนาอยู” เพื่อใหทุกครอบครัวในสังคม “ลุมพินี” เกิดความสุขที่แทจริง ของการอยูอาศัย (Real Pleasure of Living)

บริษัทยังคำนึงถึงความรอบคอบในการดำเนินธุรกิจภายใตหลักธรรมาภิบาล และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่มุงบริหารงานดวยความโปรงใส และดูแลใหผลประกอบการเติบโตในอัตราที่เหมาะสม รวมทั้งการกำหนดผลกำไรจากการดำเนินงานที่สอดคลองกับสถานการณในแตละชวงเวลา การปรับแผน ดำเนินงานดังกลาวสงผลใหบริษัทมีกำไรสุทธิเติบโตขึ้นจากป 2550 ประมาณรอยละ 30 ทั้งยังครองสวนแบงทางการตลาดถึงรอยละ 30 ซึ่งถือเปนอันดับหนึ่ง ในกลุมบริษัทผูพัฒนาโครงการประเภทอาคารชุดพักอาศัย และสามารถจายเงินปนผลใหแกผูถอื หุนในอัตราที่เติบโตจากปกอนหนาประมาณรอยละ 30 อันเปน การรักษาไวซึ่งผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รางวัลแหงความภาคภูมิใจคือการที่บริษัทไดรับการจัดอันดับจากสมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย ใหเปนบริษัทที่มีการกำกับดูแลกิจการในระดับ 4 ตราสัญลักษณติดตอกันเปนปที่ 5 ซึ่งดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลที่มุงเนนความโปรงใส การเปดเผยขอมูลตอนักลงทุน ผูถือหุน และบุคคลทั่วไป การไดรับรางวัลผูประกอบการธุรกิจอสังหาริมทรัพยที่ดีจากสำนักงานคณะกรรมการคุมครอง ผูบริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) โดยมีเกณฑในการตัดสินจากสถานะของบริษัท ผลงานที่ผานมา มาตรฐานการออกแบบและกอสราง ความรับผิดชอบ ตอผูบริโภคและสังคม และความพึงพอใจของผูบริโภค รวมถึงการไดรับคัดเลือกใหเปน 1 ใน “200 Best Under A Billion” จากนิตยสาร Forbes Asia ฉบับเดือนกันยายน 2551 ซึ่งทำการสำรวจบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก จำนวน 24,155 บริษัท ที่มีรายไดต่ำกวา 1,000 ลานเหรียญสหรัฐ และมีผลการดำเนินงานโดดเดนอยางตอเนื่อง แตสิ่งที่นำมาซึ่งความภูมิใจสูงสุด คือการที่บริษัทไดรับความเชื่อมั่นจากผูที่อยูอาศัยในสังคม “ลุมพินี” และบอกตอประสบการณที่ดีไปยังลูกคารายอื่นๆ อันสอดคลองกับวัตถุประสงคของบริษัทที่มุงหวังให “ลุมพินี” เปนแบรนดคุณภาพของคนไทยที่อยู ในใจของลูกคาตลอดไป 8 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)


สำหรับในป 2552 แมวาภาคการสงออกและการทองเที่ยวจะหดตัว เปนผลใหแนวโนมการวางงานเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งยังคงมีปจจัยเสี่ยงในภาคการเงิน ทำใหธุรกิจอสังหาริมทรัพยโดยรวมอยูในภาวะชะลอตัวเนื่องจากหลายบริษัทตางรอดูทิศทางสถานการณทางการเมืองและเศรษฐกิจที่ชัดเจนขึ้นกอนการพัฒนา โครงการใหม แตบริษัทเชื่อวาความตองการที่อยูอาศัยในเมืองยังคงมีอยูอยางตอเนื่อง พิสูจนไดจากการที่บริษัทเปดตัวโครงการลุมพินี วิลล บางแค เมื่อปลายปที่แลว และไดรับการตอบรับอยางดียิ่งจนทำใหโครงการดังกลาวขายหมดภายในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง ป 2552 นี้ จึงนาจะเปนโอกาสของบริษัท ทามกลางวิกฤติ ดวยความแข็งแกรงและการเตรียมความพรอมในการบริหารสภาพคลองทางการเงิน การบริหารสินคาคงคลัง การปรับแผนงานกอสรางให เร็วขึ้นกวากำหนดในทุกโครงการ และการใชหลัก “วิศวกรรมเชิงคุณภาพ” (Value Engineering) ที่มุงเพิ่มมูลคาใหกับสินคาและบริการ ควบคูไปกับการ เพิ่มความเขมขนในการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารชุมชน ประกอบกับนโยบายภาครัฐที่มุงกระตุนเศรษฐกิจในป 2552 โดยใชภาคอสังหาริมทรัพยเปนตัว ขับเคลื่อน ดวยมาตรการทั้งดานการเงิน การคลัง และมาตรการดานภาษี จากปจจัยดังกลาวทั้งหมด นาจะเปนสวนผลักดันใหบริษัทเติบโตตอไปไดประมาณ รอยละ 10 - 15 ซึ่งในป 2552 บริษัทมีแผนพัฒนาโครงการใหมจำนวน 6-8 โครงการ มูลคารวมประมาณ 12,000 ลานบาท โดยจะเปนโครงการในลักษณะ โครงการตอเนื่องในทำเลที่บริษัทประสบความสำเร็จมากอน และมีฐานลูกคาที่มีความเชื่อมั่น และไววางใจตอแบรนดของบริษัทอยางเหนียวแนน และยังคง พัฒนาโครงการนำรองในทำเลใหมโดยใชโครงการลุมพินี วิลล บางแค เปนตนแบบ ป 2552 นี้ เปนปที่บริษัทดำเนินงานครบรอบ 20 ป เปน 20 ปที่บริษัทไดสั่งสมประสบการณ ความเชี่ยวชาญ และความซื่อสัตยในการดำเนิน ธุรกิจตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหบริษัทเปนองคกรคุณภาพที่สรางสรรคที่อยูอาศัยที่มีคุณภาพควบคูไปกับ สังคมและสิ่งแวดลอมคุณภาพ โดยรักษาไวซึ่งประโยชนของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ซึ่งเบื้องหลังความสำเร็จของบริษัทตลอดระยะเวลาที่ผานมาเกิดจากความ เชื่อมั่นและการสนับสนุนดวยดีเสมอมา ผมจึงใครขอกลาวคำขอบคุณอยางสูงตอทานผูถือหุน ลูกคา สถาบันการเงิน พันธมิตร สื่อมวลชน ตลอดจน หนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงผูบริหารและพนักงานทุกทาน ที่ทุมเทแรงกายแรงใจ เพื่อสรางสรรคผลิตภัณฑที่ตรงใจลูกคา นำไปสูความพึงพอใจ สูงสุดทั้งในปจจุบันและอนาคต

ปกรณ ทวีสิน ประธานกรรมการ

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 9


แนวทางการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมและสังคม ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจที่มีผลกระทบโดยตรงตอสิ่งแวดลอมและสังคมอยางสูง จะเห็นไดวาอสังหาริมทรัพยที่สงมอบจากผูประกอบการ ที่ไมมีคุณภาพ จะสรางปญหาใหกับสิ่งแวดลอมและสังคมเปนอยางมาก ปรัชญาการดำเนินธุรกิจของคณะกรรมการบริษัทจึงไดกำหนดแนวทางในการสราง ความสมดุลของการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและคุณภาพในทุกมิติของการดำเนินงาน ไมวาจะเปนมิติดานการเงิน ดานลูกคา ดานผูมีสวนไดสวนเสีย ดานพนักงาน รวมทั้งมิติของการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ซึ่งไดถูกกำหนดในแผนภูมิกลยุทธขององคกรมาโดยตลอด รวมทั้งไดกำหนดแนวทางและ เปาหมายภายใตหัวขอความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคม (Corporate Environment and Social Responsibility : CESR) ถึงแมวาความรับผิดชอบ ตอสังคม (CSR) โดยปกติจะรวมถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมเขาไปดวย แตดวยจิตสำนึกของคณะกรรมการบริษัทที่ตองการเพิ่มความสำคัญในการ ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น จึงกำหนดให CESR เปนกลยุทธที่สำคัญขององคกร แนวทางการดำเนินงานดานสิ่งแวดลอมและสังคมของบริษัท จึงไดกำหนดหลักการไว 3 ขอ ไดแก ความรับผิดชอบ (Responsibility) การแบงปน (Sharing) และการสรางเครือขายความมีสวนรวม (Networking) โดยจิตสำนึกความรับผิดชอบนั้นเปนการเริ่มตนจากตนเอง ซึ่งหมายถึงภายในองคกรและ ภายในชุมชนที่พัฒนา แลวจึงแบงปนสูสังคมภายนอก โดยตองอาศัยความมีสวนรวมจากผูมีสวนไดเสียทุกกลุม เชน พนักงาน ลูกคา คูคา ฯลฯ ดังคำที่วา “สิ่งแวดลอมและสังคมที่ดี ตองเริ่มตนจากตัวเรากอน เมื่อเราพรอมจึงขยายออกไปสูชุมชนที่เราพัฒนาและบริหาร และสุดทายจึงขยายไปสูชุมชนรอบขาง” แนวคิดดังกลาวจึงสงผลไปสูแนวทางการปฏิบัติของทุกสวนในองคกร และเปนที่มาของนโยบายการบริหารจัดการชุมชนที่บริษัทมุงพัฒนาใหทุก โครงการเปน “ชุมชนนาอยู” ของสังคม และเปนตนแบบของผูประกอบการดานธุรกิจอสังหาริมทรัพยในดานความรับผิดชอบตอผลกระทบอันเกิดจากอสังหาริมทรัพย ที่ตนเองไดพัฒนาขึ้น

แนวทางการดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม แบงออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เริ่มพัฒนาโครงการ ดวยแนวคิดดานความรับผิดชอบดังกลาว จึงสงผลตอเนื่องมาในทุกขั้นตอนการดำเนินงาน นับตั้งแตการเลือกทำเลในการพัฒนา โครงการที่ยังขาดแคลนที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ ใกลสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกตางๆ การออกแบบและการกำหนดราคาเพื่อตอบสนองความ ตองการที่อยูอาศัยที่สามารถเปนเจาของไดงายขึ้น การเพิ่มเติมสิ่งอำนวยความสะดวกที่เปนความจำเปนพื้นฐานเขาไปภายในโครงการ สงผลใหการ ดำเนินชีวิตสมบูรณแบบมากขึ้น ชวยลดการเดินทาง การใชพลังงาน และแกปญหาการจราจร ทั้งยังมีเวลาใชชีวิตกับครอบครัวมากขึ้นและกอใหเกิด จุดเริ่มตนของการดำเนินชีวิตที่ดีในทุกดาน เชน การพัฒนาโครงการภายใตแบรนด “ลุมพินี คอนโดทาวน” ซึ่งมีจุดมุงหมายสำคัญในการสรางที่อยูอาศัย หลังแรกใหกับคนในสังคมเมือง โดยกำหนดราคาขายเริ่มตนเพียง 7 แสนบาทเศษ ภายใตการบริหารชุมชนที่มุงเนนการสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหแก ผูอยูอาศัย โดยบริษัทมีแผนที่จะพัฒนาโครงการในลักษณะนี้ในพื้นที่ที่มีความตองการที่อยูอาศัยอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ การดำเนินงานในสวนที่ เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอม ยังใหความสำคัญกับการเลือกใชวัสดุทดแทนใหมากที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการใชวัสดุจากธรรมชาติซึ่งเปนการทำลายสภาพแวดลอม โดยรวม ขนาดของชิ้นสวนตางๆ ถูกออกแบบใหสอดคลองกับมาตรฐานอุตสาหกรรมเพื่อลดเศษวัสดุที่กลับมาเปนขยะเหลือทิ้งคืนสูสภาพแวดลอมให นอยที่สุด รวมถึงการออกแบบที่คำนึงถึงการประหยัดพลังงานและงายตอการบำรุงรักษาอาคารในระยะยาว โดยบริษัทจะใหความสำคัญกับการคัดเลือก บริษัทพันธมิตรที่มีนโยบายที่ชัดเจนดานสิ่งแวดลอมเขามามีสวนรวมในการพัฒนาโครงการ ระยะที่ 2 ระหวางพัฒนาโครงการ บริษัทไดใหความสำคัญในการปฏิบัติตามแนวทางลดผลกระทบในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด เริ่มตั้งแตการ ดูแลผลกระทบตออาคารหรือชุมชนขางเคียง ทั้งทางดานเสียง ฝุนละออง การจราจร โดยการปองกันในทุกรูปแบบ การดูแลความสะอาดของลอรถ ขนสงวัสดุอุปกรณกอสรางขณะออกจากหนวยงานกอสราง เพื่อลดความเสียหายของผิวจราจร การควบคุมการกอสรางใหเปนไปตามที่ออกแบบและ เปนไปตามเวลาที่กำหนด การรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกันและลดผลกระทบจากการกอสราง โดยกิจกรรมทั้งหมดนี้ บริษัทจัดใหมี เจาหนาที่ระดับสูงของบริษัทคอยดูแลและติดตามอยางใกลชิด เพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุด และมีการควบคุมดูแลใหผูรับเหมากอสรางปฏิบัติตาม มาตรการปองกันและลดผลกระทบจากการกอสรางตามที่ระบุในรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมและที่แจงกับชุมชนขางเคียง ระยะที่ 3 หลังพัฒนาโครงการ ภายหลังการสงมอบโครงการและหองชุดใหกับลูกคาแลว บริษัทไดจัดตั้งฝายบริหารชุมชนขึ้น เพื่อทำหนาที่บริหารจัดการชุมชน ใหมีมาตรฐานคุณภาพชีวิตที่เหมาะสมตามแนวทาง “ชุมชนนาอยู” ซึ่งไมเพียงเปนการบำรุงดูแลรักษาใหอุปกรณและทรัพยสินตางๆ เกิดความพรอมและ ความปลอดภัยในการใชงานเทานั้น แตยังใหความสำคัญกับการสรางสังคมที่ดี มีความอบอุน ปลอดภัย และใหความสำคัญกับสิ่งแวดลอมภายใน โครงการอยางจริงจังและสม่ำเสมอ โดยการนำแนวคิด Green Clean Lean มาปรับใชเปนแนวทางในการประชาสัมพันธ พรอมรณรงคใหผูอยูอาศัย ในชุมชนรวมดำเนินการอยางจริงจัง ตัวอยางเชน การรณรงคใหผูอยูอาศัยรวมคัดแยกขยะ เพื่อนำขยะบางสวนเขากระบวนการ Recycle หรือนำ กลับมาใชใหม หรือการนำน้ำจากบอบำบัดกลับมารดน้ำตนไม การรณรงคใหใชถุงผาแทนถุงพลาสติก การลดการใชพลังงานไฟฟาในอาคารตาม แนวทางการอนุรักษพลังงาน เปนตน ทั้งนี้ บริษัทยังไดใหความสำคัญกับการปรับปรุงสภาพอาคารและสิ่งแวดลอมของอาคารชุดพักอาศัยที่บริษัทพัฒนา มามากกวา 10 ป ในรูปของการทาสีอาคาร การเพิ่มพื้นที่สีเขียว และการปรับปรุงสภาพแวดลอมที่เกี่ยวของกับคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในโครงการ ตางๆ ไดแก อาคารลุมพินี ทาวเวอร ลุมพินี เซ็นเตอร แฮปปแลนด พี.เอส.ที. คอนโดวิลล และพี.เอส.ที. ซิตี้โฮม เปนตน 10 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)


นอกจากนี้ บริษัทยังใหความสำคัญกับคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของคนงานกอสราง ซึ่งถือเปนกลุมผูใชแรงงานที่มีความเสี่ยงตออุบัติเหตุและการ เสียชีวิตจากการปฏิบัติงานสูง โดยกำหนดมาตรฐานในการดำเนินงานเพื่อปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น ทั้งยังกำหนดมาตรฐานความปลอดภัยในการทำงานของ คนงานและบุคคลภายนอกที่เกี่ยวของ เชน การหลีกเลี่ยงไมใหคนงานสัมผัสกับสิ่งที่เปนอันตราย การใชอุปกรณปองกันในขณะปฏิบัติงาน ฯลฯ โดยมีหนวยงาน ที่ดูแลดานความปลอดภัยโดยตรงซึ่งจะคอยตรวจสอบพรอมใหคำแนะนำอยางสม่ำเสมอแกคนงาน นอกจากนี้ ยังใหความสำคัญดานชีวอนามัย โดยจัดเตรียม ที่อยูอาศัยที่มีสภาพแวดลอมที่ดี มีความเหมาะสม รวมไปถึงการคำนึงถึงคุณภาพชีวิตของทุกคนในครอบครัว และการสรางเสริมสุขภาพโดยกำหนดใหมีการ ออกกำลังกายในทุกเชา

แนวทางการดำเนินงานดานความรับผิดชอบตอสังคม แบงออกเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 สังคมภายในองคกร ไดแกพนักงานภายในองคกรทุกระดับ ซึ่งบริษัทใหความสำคัญทั้งดานคุณภาพชีวิต การจัดใหมีสภาพแวดลอมการทำงานที่ดี สงเสริมบรรยากาศ การทำงานเพื่อนำไปสูองคกรแหงการเรียนรู และการสรางความกาวหนาในสายอาชีพใหแกพนักงานทุกระดับชั้น ในขณะที่พนักงานจะตองมีความ สมดุลในการใชชีวิต (Work Life Balance) ทั้งชีวิตการทำงานและชีวิตสวนตัว พรอมกันนี้ ยังไดปลูกฝงวิธีการทำงานรวมกันอยางมีความสุข ดวย การแบงปน เกื้อกูล เอื้ออาทร เสมือนหนึ่งครอบครัวเดียวกัน ภายใตวัฒนธรรมและคานิยมองคกร (Core Value) ซึ่งไดรับการถายทอดจากรุนสูรุน อยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ยังจัดใหมีกิจกรรมภายในเพื่อสรางความสัมพันธที่ดีรวมกันตั้งแตระดับคณะกรรมการไปจนถึงพนักงาน เพื่อลดชองวางระหวาง กัน โดยมุงเนนการสื่อสารสองทางระหวางผูบริหารและพนักงานผานชองทางการสื่อสารภายในองคกร และการสนับสนุนใหเกิดความมีสวนรวมของ พนักงานในกิจกรรมตางๆ ทั้งทางดานสิ่งแวดลอมและสังคม เพื่อสงเสริมและปลูกฝงจิตสำนึกในการทำความดี โดยริเริ่มโครงการ “กาวความดี” มาตั้งแตปลายป 2549 เพื่อรวมพัฒนาชุมชนและสังคมทั้งดานสิ่งแวดลอมและสังคม โดยมีแรงบันดาลใจมาจากการทำความดีเพื่อประโยชนสุข ของประชาชนของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สวนที่ 2 สังคมภายในชุมชนของโครงการที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น จากการเติบโตของผลการดำเนินงานของบริษัทอยางตอเนีื่อง สงผลใหจำนวนโครงการที่บริษัทพัฒนาเพิ่มขึ้นทุกป ซึ่งเกี่ยวเนื่องไป ถึงคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในสังคมขนาดใหญ โดยบริษัทไดกำหนดกลยุทธในการบริหารชุมชนในรูปแบบของ “ชุมชนนาอยู” ที่บริษัทมุงเนน พัฒนาคุณภาพชีวิตภายใตสังคมและสิ่งแวดลอมที่ดี มีความปลอดภัยอยางสูง และสงเสริมใหมีกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธที่ดีรวมกันภายใน ครอบครัวและระหวางกลุมสมาชิก “ลุมพินี” ทั้งยังสนับสนุนใหมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นและการรวมในกิจกรรมเพื่อสิ่งแวดลอมและสังคม ทั้งภายในโครงการและขยายไปสูสังคมภายนอกอีกดวย โดยผานเครือขายสังคมภายใน เชน การรวมเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในโครงการ การรวมฟนฟู และพัฒนาโรงเรียน 9 แหงในจังหวัดอยุธยาที่ไดรับผลกระทบจากเหตุน้ำทวมครั้งใหญ การรวมในกิจกรรมอานหนังสือเสียงใหแกผูพิการทางสายตา หรือแมแตการกำหนดนโยบายรวมกันระหวางคณะกรรมการเจาของรวมในโครงการตางๆ กับผูบริหารของบริษัทเพื่อพัฒนา “ชุมชนนาอยู” อยาง ยั่งยืน การจัดกิจกรรม “วันครอบครัว” ภายในโครงการ หรือการรวมในกิจกรรมตามวัฒนธรรมและประเพณีที่ดีงามตางๆ นอกจากนี้ บริษัทยังมุงสรางความเขาใจที่ดีดานการอยูอาศัยรวมกัน ที่ตองการความหวงใย เอื้ออาทร การแบงปน และความมีน้ำใจ เพื่อนำมาซึ่งมิตรภาพและความสุขที่แทจริงของการอยูอาศัย สวนที่ 3 สังคมภายนอก บริษัทไดใหความสำคัญกับชุมชนรอบโครงการในรัศมี 1 กิโลเมตร เปนกรณีพิเศษ เนื่องจากอาจไดรับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการ ของบริษัท โดยบริษัทไดจัดทีมงานของผูบริหารระดับสูง เขาเยี่ยมเยียนและสอบถามถึงผลกระทบอยางตอเนื่องพรอมพัฒนากระบวนการภายในเพื่อ ปองกันหรือลดผลกระทบที่อาจมีตอชุมชนรอบขาง โดยแบงการดำเนินงานตามขั้นตอนการพัฒนาโครงการได 2 ชวง คือ 1. ขั้นตอนกอนการกอสรางโครงการ (หลังจากการซื้อที่ดิน) ในขั้นตอนกอนการกอสรางโครงการหลังการซื้อที่ดิน บริษัทไดเขาไปใหขอมูล กับประชาชนในชุมชน เพื่อลดปญหาที่อาจกระทบตอชุมชนขางเคียงและหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ เพื่อสรางความเขาใจและความสัมพันธอันดี ระหวางชุมชนที่อยูใกลเคียงโครงการ โดยเฉพาะอยางยิ่งบานที่อยูติดกับพื้นที่โครงการ ซึ่งถือวาเปนผูเสียผลประโยชนโดยตรงจากการดำเนินโครงการ รวมทั้งสรางความสัมพันธอันดีกับหนวยงานราชการที่รับผิดชอบดูแลพื้นที่โครงการ เพื่อสรางความเชื่อมั่นระหวางชุมชนกับโครงการ 2. ติดตามตรวจสอบผลกระทบในระหวางการกอสรางโครงการ เนื่องจากระหวางขั้นตอนการกอสรางโครงการ อาจมีกิจกรรมกอสราง ที่กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมของชุมชนหลายดาน ดังนั้น โครงการจึงจัดทีมเจาหนาที่เขาทำการสำรวจ โดยการจัดทำแบบสอบถามเพื่อ ติดตามตรวจสอบผลกระทบจากการกอสรางโครงการ พรอมทั้งอธิบายถึงรายละเอียดของการดำเนินโครงการ ซึ่งบริษัทคำนึงถึงคุณภาพชีวิตที่ดี ของทั้งผูอยูอาศัยในโครงการและของชุมชนรอบขาง โดยใหความสำคัญกับทุกขั้นตอนดำเนินงาน นอกจากนี้ ยังจัดใหมีกิจกรรมที่เปนประโยชนตอชุมชนใกลเคียง โดยเฉพาะโรงเรียน วัด และสถานที่สาธารณะตางๆ ทั้งยังสนับสนุนใน กิจกรรมของภาครัฐ องคกร และมูลนิธิตางๆ ที่มีวัตถุประสงคในการทำประโยชนเพื่อสังคมอีกดวย รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 11


การแบงปน (Sharing) หลักการสำคัญอีกขอ ซึ่งมีหัวใจสำคัญมาจากคำสอนของทุกศาสนา นั่นคือ การให หรือ การแบงปน ซึ่งบริษัทไดยึดถือเปนหลักสำคัญในการดำเนินงาน ดานสิ่งแวดลอมและสังคมมาโดยตลอด โดยเริ่มจากภายในองคกรเองเปนศูนยกลาง แลวจึงขยายตอไปยังชุมชนและสังคมในระดับที่ใหญขึ้นตามนโยบายสราง ความสมดุล ซึ่งไมไดมุงเพียงสรางผลกำไรสูงสุดใหแกธุรกิจ แตยังนำผลกำไรบางสวนที่ไดนั้นคืนกลับสูลูกคาและสังคม อันไดแก ชุมชนโดยรอบโครงการที่บริษัท ไดพัฒนาขึ้น และรวมไปถึงประชาชนกลุมอื่นที่ตองการความชวยเหลือ โดยหวังวาจะเปนสวนหนึ่งของจุดเริ่มตนที่รวมสรางและผลักดันสังคมโดยรวมให แข็งแกรงขึ้น และรวมสรางจิตสำนึกในการทำประโยชนเพื่อผูอื่นใหขยายวงกวางตอไป โดยแบงประเภทกิจกรรมที่ดำเนินการแลวไดดังนี้ คือ • กิจกรรมเพื่อเยาวชน ไดแก การจัดกิจกรรมวันเด็กใหแกโรงเรียนในชุมชนขางเคียงโครงการที่บริษัทพัฒนาขึ้น เชน โรงเรียนวัดใต การจัดกิจกรรมการประกวดตกแตงหองชุด เพื่อเปดเวทีการแสดงความคิดสรางสรรคของเยาวชน ซึ่งดำเนินการตอเนื่องมาเปนปที่ 3 รวมไปถึงการเปดประสบการณ ทักษะ และความรู ใหแก เด็กผูดอยโอกาสจากมูลนิธิตางๆ ในกิจกรรม “โลกสุดมัน เติมฝนใหนอง” ซึ่งไดดำเนินการมาเปนปที่ 4 แลว เปนตน • กิจกรรมดานสาธารณสุขและการแพทย เชน การจัดกิจกรรมบริจาคโลหิตอยางตอเนื่องทุก 3 เดือน ในโครงการลุมพินี ทาวเวอร มาตั้งแตป 2539 และขยายกิจกรรมไปยังโครงการอื่นๆ อยาง ตอเนื่อง มีปริมาณโลหิตที่ไดรับบริจาคทั้งสิ้น 10,561 ยูนิต ซึ่งสามารถใหความชวยเหลือผูปวยไดมากกวา 42,244 คน และการบริจาคเงินเพื่อจัดซื้อ อุปกรณชวยเหลือผูปวยโรคไตเรื้อรังแกสภากาชาดไทย เปนตน • กิจกรรมดานสิ่งแวดลอม ไดแก การปลูกปาชายเลน ณ โครงการในพระราชดำริ แหลมผักเบี้ย การเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหแกชุมชนและบริเวณใกลเคียงโครงการที่บริษัทไดพัฒนาขึ้น เปนตน • กิจกรรมรณรงคและปลูกจิตสำนึกดานสิ่งแวดลอมและการอนุรักษพลังงาน ไดแก การประชาสัมพันธ เชิญชวนใหชุมชนขางเคียงและประชาชนทั่วไปใหความสำคัญกับการรวมลดการใชพลังงาน รวมแยกขยะและลดการใชถุงพลาสติก การจัดคอนเสิรตการกุศลดานสิ่งแวดลอมรวมกับสถาบันสิ่งแวดลอมไทย เปนตน • กิจกรรมดานศาสนา ไดแก การจัดกิจกรรม “พฤหัส นัดทำดี” เพื่อเชิญชวนลูกคาและประชาชนทั่วไปที่สนใจเขารวมสวดมนตและฟงคำสอนจากพระสงฆ วัดสุทัศนเทพวราราม ที่อาคารลุมพินี ทาวเวอร ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 12.30 น. โดยประมาณ การรวมสนับสนุนในกิจกรรมบวชสามเณร โรงเรียนวัดใต และการจัด กิจกรรมทำบุญใสบาตร เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ป และในโอกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 80 พรรษา ของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว เปนตน • การสงเสริมการทำความดี ไดแก การจัดทำหนังสือ “9 คน 9 ความดี” ของบุคคลที่ยึดถือการทำความดีตามแนวทางของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสฉลอง สิริราชสมบัติครบ 60 ป • การสรางความรูความเขาใจที่ดีดานการอยูอาศัยในอาคารชุด โดยไดจัดทำหนังสือ City Life อยางตอเนื่องมาเปนปที่ 3 แลว เพื่อสรางความรู ความเขาใจที่ดีดานการอยูอาศัยรวมกัน ซึ่งตองประกอบไป ดวยความเอื้ออาทร ความมีน้ำใจ เพื่อน มิตรภาพ และการแบงปน โดยมอบใหแกหองสมุดมหาวิทยาลัย และประชาชนทั่วไปที่สนใจ

การสรางเครือขายความมีสวนรวม (Social Network) ปจจัยสำคัญที่ทำใหการดำเนินงานใดๆ ประสบความสำเร็จและขยายประโยชนอยางตอเนื่อง เกิดขึ้นไดเพราะการมีจิตสำนึกรวมและมีการผนึกกำลังกัน เปนเครือขาย ซึ่งในทุกๆ โครงการที่บริษัทพัฒนาขึ้น บริษัทจะเปนผูประสานใหชุมชนตางๆ เกิดความรูสึกรวมถึงความเปนอันหนึ่งอันเดียวกับชุมชนดั้งเดิมและ ดำเนินแนวทางรวมกันที่จะนำมาซึ่งความสุขของสังคมโดยรวม ทั้งยังเขาไปมีสวนรวมในการจุดประกายความคิด รวมเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาสิ่งแวดลอม และสังคมของชุมชนนั้นใหดีขึ้น ซึ่งเปนแนวทางที่บริษัทยึดถือและปฏิบัติมาโดยตลอด ดังเชน การพัฒนาโครงการ “ลุมพินี คอนโดทาวน บดินทรเดชา-รามคำแหง” ซึ่งเปนเพื่อนบานขางเคียงโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) บริษัทไดรวมกับผูบริหารของโรงเรียนในการกำหนดแนวทางรวมกันเพื่อลดผลกระทบจาก การกอสราง นับตั้งแตเริ่มพัฒนาโครงการ นอกจากนี้ ยังไดรวมกันจัดกิจกรรมตางๆ ที่เปนประโยชนตอชุมชน เชน การรวมกันเพิ่มพื้นที่สีเขียว การจัดกิจกรรม กีฬาใหแกนักเรียน เปนตน

12 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)


3. กิจกรรมบริจาคโลหิต บริษัทรวมกับศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย จัดกิจกรรมรับ บริจาคโลหิตอยางตอเนื่องทุก 3 เดือน มาตั้งแตป 2539 ซึ่งนับเปนเวลา กวา 12 ปแลว โดยริเริ่มใชพื้นที่ภายในอาคารลุมพินี ทาวเวอร เปนศูนยกลาง 1. การดูแลสภาพแวดลอมในบานพักคนงานกอสราง ในการระดมความชวยเหลือทั้งจากพนักงาน ลูกคาในโครงการ และประชาชน นอกจากการดูแลพื้นที่กอสรางโครงการและประชาชนที่พักอาศัยในชุมชน ทั่วไปอยางตอเนื่อง แตยังมีผูปวยที่รอรับการรักษาและมีความจำเปนตองใช ใกลเคียงกับพื้นที่กอสรางแลว บริษัทยังใหความสำคัญกับคุณภาพชีวิตและการ โลหิตในปริมาณที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ บริษัทจึงไดขยายกิจกรรมรับบริจาค รักษาสภาพความเปนอยูของคนงานกอสรางใหมีสุขอนามัยที่ดี โดยไดจัดใหมี โลหิตไปยังโครงการที่สามารถเปนศูนยกลางการรับบริจาคโลหิตทุกแหง โดย ระบบสุขาภิบาลที่เหมาะสม ปลอดภัยทั้งระบบน้ำดื่ม ระบบบำบัดน้ำเสีย ระบบ ในป 2550 ไดขยายกิจกรรมไปยังโครงการลุมพินี พลาซา อโศก และโครงการ การระบายน้ำ การดูแลสุขภาพ การตัดผม การนวดแผนโบราณ รวมทั้งจัดใหมี ลุมพินี สุขุมวิท 77 และในป 2551 ที่ผานมา ไดขยายกิจกรรมไปยังโครงการ พารควิว วิภาวดี โครงการลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม และโครงการกลุม ระบบการรักษาความปลอดภัยที่ดีตลอด 24 ชั่วโมง ในทุกโครงการ อาคาร พี.เอส.ที. ซึ่งเปนอีกหนึ่งกิจกรรมที่บริษัทมุงมั่นทำเพื่อสังคมมา โดยตลอด โดยในป 2551 บริษัทไดจัดกิจกรรมบริจาคโลหิตอยางตอเนื่อง 2. การสรางความสัมพันธและการสำรวจชุมชน บริษัทไดทำการประชาสัมพันธและสำรวจชุมชน โดยการเขาไปแนะนำเกี่ยวกับ ตลอดทั้งป จำนวน 24 ครั้ง ใน 6 โครงการ ไดรับถุงโลหิตจากการดำเนินกิจกรรม บริษัทซึ่งเปนผูพัฒนาโครงการ ลักษณะของโครงการที่จะทำการกอสราง และทำ ดังกลาวตลอดทั้งป จำนวน 3,429 ยูนิต และบริษัทยังตั้งเปาหมายที่จะเพิ่มจำนวน แบบสอบถามจากประชาชนในชุมชนที่พักอาศัยใกลเคียงกับพื้นที่ที่โครงการจะเขา โครงการมากขึ้นทุกป โดยมุงหวังผลักดันใหเกิดอาสาสมัครจากผูพักอาศัยในชุมชน ไปดำเนินการกอสรางในระยะรัศมี 1 กิโลเมตรโดยรอบโครงการ ตลอดป 2551 เขามามีสวนรวมในการประชาสัมพันธการจัดกิจกรรมและเปนผูสื่อสารถายทอด บริษัทไดพัฒนาโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ไดแก ลุมพินี สวีท ปนเกลา ความรูเกี่ยวกับสุขภาพใหผูอื่นอีกดวย นอกจากแนวทางในการดำเนินงานดานสิ่งแวดลอมและสังคม บริษัท ยังดำเนินกิจกรรมที่เปนการเพิ่มเติมแนวคิดในการรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและ สังคม ดังนี้

การตัดผมและนวดแผนโบราณให กับคนงานในบานพักคนงานกอสราง

รณรงคการใชถุงผาแทน ถุงพลาสติก

ลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 ลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร ลุมพินี พระราม 8 และลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา โดยบริษัทไดจัดทีมมวลชนสัมพันธเขา ทำการประชาสัมพันธ จัดทำแบบสอบถามความคิดเห็นของประชาชนที่พักอาศัย ใกลเคียงกับโครงการ พรอมทั้งรณรงคลดการใชถุงพลาสติกโดยการใชถุงผา ใหกับประชาชนดังกลาว โดยมีจำนวนประชาชนที่พักอาศัยใกลเคียง ดังนี้คือ 1) โครงการลุมพินี สวีท ปนเกลา จำนวน 194 คน 2) โครงการลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร จำนวน 144 คน 3) โครงการลุมพินี วิลล รามคำแหง 26 จำนวน 232 คน 4) โครงการลุมพินี เพลส/สวีท พระราม 8 จำนวน 233 คน 5) โครงการลุมพินี คอนโดทาวน รัตนาธิเบศร จำนวน 193 คน 6) โครงการลาดพราว 21 จำนวน 25 คน สวนโครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา บริษัทไมไดทำการประชาสัมพันธ และทำแบบสอบถาม เนื่องจากไมมีบานพักอาศัยใกลเคียงบริเวณโครงการ

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 13


ตารางแสดงปริมาณโลหิตที่ไดรับบริจาคจากหนวยเคลื่อนที่ ของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) ระหวางป 2539 - 2551 หนวยงาน ลุมพินี ทาวเวอร ลุมพินี สุขุมวิท 77 ลุมพินี พลาซา อโศก พารควิว วิภาวดี

ป จำนวนครั้ง / ป ปริมาณโลหิต (ยูนิต) จำนวนครั้ง / ป ปริมาณโลหิต (ยูนิต) จำนวนครั้ง / ป ปริมาณโลหิต (ยูนิต)

2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 ผลรวม 2 303

3 462

4 744

จำนวนครั้ง / ป ปริมาณโลหิต (ยูนิต)

ลุมพินี วิลล ศูนยวัฒนธรรม จำนวนครั้ง / ป พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม

ปริมาณโลหิต (ยูนิต) จำนวนครั้ง / ป ปริมาณโลหิต (ยูนิต)

หมายเหตุ : ตั้งแตป 2539 - 2551 ไดรับโลหิตจากการบริจาคทั้งหมด 10,561 ยูนิต ซึ่งสามารถชวยเหลือผูปวยได 42,244 คน คำนวณจากปริมาณโลหิต 300 - 400 ซีซี (1 ยูนิต) สามารถชวยชีวิตผูปวยได 4 คน

4. การจัดกิจกรรมสำหรับนองผูดอยโอกาส เนื่องในวันเด็กแหงชาติ บริษัทไดจัดกิจกรรมสำหรับเด็กผูดอยโอกาสจากมูลนิธิตางๆ เนื่องในวันเด็ก และวันปใหมอยางตอเนื่องมาตั้งแตป 2548 ภายใตชื่อกิจกรรม “โลกสุดมัน เติมฝนใหนอง” เพื่อเปดโอกาสใหเด็กๆ ไดเพิ่มจินตนาการและความคิด สรางสรรคในทุกแงมุม เชน ดานวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม ดนตรี ฯลฯ นอกจากนี้ ยังเปนการสนับสนุนเรื่องการออกกำลังกายและการใชเวลา วางใหเปนประโยชนอีกดวย โดยในปที่ผานมามีนองๆ จาก 4 มูลนิธิ ไดแก มูลนิธิเพื่อเด็กและเยาวชนบานมหาเมฆ มูลนิธิอนุเคราะหเด็กหญิงบานราชวิถี มูลนิธิศุภนิมิตแหงประเทศไทย และมูลนิธิเพื่อการฟนฟูพัฒนาเด็กและ ครอบครัว (ฟอรเด็ก) จำนวนทั้งสิ้น 200 คน เขารวมในกิจกรรม

14 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

4 535

4 540

4 461

4 326

4 464

3 393

4 563

4 4 4 680 1,313 1,369 1 4 133 492 1 4 150 511

ทั้งหมด 48 8,153 5 625 5 661

4 311

4 311

4 312 4 429

4 312 4 429 รวม 10,561

5. กิจกรรมสรางบานดินใหผูไรบาน จังหวัดชัยภูมิ บริษัทไดเขารวมโครงการ “สรางบานดินใหคนจน ปลูกปาชุมชน ตำบลภูเขียว” ที่จัดทำโครงการโดยกลุมบานดินไทย และพระครูไพศาล วิสาโล โดยบริษัทได รวมบริจาคเงินสนับสนุนเพื่อสมทบทุนในการซื้อวัสดุอุปกรณ ในการสราง บานดิน ณ ตำบลทามะไฟหวาน อำเภอแกงครอ จังหวัดชัยภูมิ จำนวน 3 หลัง เปนจำนวนเงินทั้งสิ้น 45,000 บาท พรอมกันนี้ บริษัทยังเปดโอกาสใหพนักงาน ลูกคาในแตละโครงการ และสื่อมวลชน รวมเปนอาสาสมัครสรางบานดินและ ปลูกปาชุมชน กับกลุมบานดินไทย และชาวบานตำบลทามะไฟหวาน โดยมี อาสาสมัครเขารวมกิจกรรมทั้งสิ้นจำนวน 63 ทาน นอกจากนี้ บริษัทยัง มอบเงินจำนวน 72,000 บาท ในการสรางหองน้ำ จำนวน 5 หอง ใหกับวัด ภูเขาทอง ตำบลทามะไฟหวาน อำเภอแกงครอ จังหวัดชัยภูมิ ที่ใชเปนสถานที่ พักและสถานที่บรรยายเรียนรูการสรางบานดินใหกับอาสาสมัครอีกดวย


กิจกรรมเสริมดานบริหารจัดการสิ่งแวดลอม 1. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน และพื้นที่สาธารณะในชุมชนใกลเคียงกับพื้นที่ กอสรางโครงการ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อใหเปนพื้นที่เพิ่มออกซิเจนและเปนที่พักผอนของคนเมือง เปนอีกนโยบายหลักที่บริษัทไดใหความสำคัญเปนอันมาก โดยบริษัทจะหาพื้นที่ สาธารณะที่อยูในชุมชนใกลเคียงกับพื้นที่กอสรางโครงการกอนเปนอันดับแรก โดย มุงหวังที่จะใหเกิดการพัฒนารวมกันระหวางชุมชนเดิมที่อยูอาศัยในพื้นที่กับชุมชน ใหมที่บริษัทพัฒนาขึ้น เพื่อใหเกิดความรวมมืออยางยั่งยืนตอไป โดยในป 2551 บริษัทไดเขาพัฒนาและปรับปรุงพื้นที่สีเขียวทั้งหมด 3 แหง คือ

2. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในโครงการที่บริษัทไดพัฒนาและเขาอยู อาศัยแลว การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อใหเกิดความรมรื่นกับโครงการ ถือเปนนโยบายหลัก ของบริษัท โดยมีเปาหมายเพื่อใหทุกชุมชนเปนชุมชนที่นาอยู โดยในป 2551 บริษัทไดสนับสนุนงบประมาณในการเพิ่มและปรับปรุงพื้นที่สีเขียว สำหรับโครงการที่บริษัทไดพัฒนาและลูกคาเขาอยูอาศัยแลว ใหมีความ สมบูรณ สวยงาม เกิดรมเงา มีความรมรื่น ใหเปนที่พักผอนหยอนใจ สำหรับผูพักอาศัยในโครงการ โดยในป 2551 บริษทั ไดทำการปรับปรุงและ เพิ่มพื้นที่สีเขียวทั้งหมด 10 โครงการ

1) พื้นที่สวนหยอมและพื้นที่ออกกำลังกาย หมูบานเกร็ดแกว ซึ่งอยู ใกลเคียงกับโครงการลุมพินี วิลล ประชาชื่น-พงษเพชร มีพื้นที่ ประมาณ 200 ตารางเมตร โดยบริษัทมุงหวังใหเปนพื้นที่พักผอน เปนศูนยรวมสำหรับการพบปะสังสรรคและสถานที่ออกกำลังกาย ของคนในชุมชน

พื้นที่สวนหยอมและพื้นที่ ออกกำลังกาย หมูบานเกร็ดแกว

พื้นที่สวนหยอมชุมชนสะพานไม

2) พื้นที่สวนหยอมและสนามเด็กเลน ชุมชนสะพานไม บริษัทไดเขา ดำเนินการกอสรางสวนหยอมและปรับปรุงพื้นที่สนามเด็กเลนให กับชุมชนสะพานไม ซึ่งอยูติดกับโครงการลุมพินี เพลส / สวีท พระราม 8 และมีประชาชนพักอาศัยอยูมากกวาพันคน เพื่อให เปนศูนยรวมของคนในชุมชน ทั้งสำหรับการออกกำลังกาย การ พบปะสังสรรค หรือการทำกิจกรรมอื่นๆ รวมกัน 3) พื้นที่ลานรอบสระบัว สวนลุมพินี บริษัทไดทำการปรับปรุงพื้นที่ ลานรอบสระบัวของสวนลุมพินี เกาะกลางสระ และบอน้ำพุ โดย ปลูกตนอินทนิลน้ำ ซึ่งเปนตนไมยืนตนที่ใหรมเงาทดแทนตนสน ประดิพัทธที่อายุมากและบางตนยืนตนตายแลว โดยมุงหวังใหพื้นที่ มีความสวยงามรมรื่น เปนที่พักผอนของคนเมืองตอไป

สนามเด็กเลนชุมชนสะพานไม

พื้นที่ลานรอบสระบัว สวนลุมพินี

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 15


3. การคัดแยกขยะ ในฐานะผูพัฒนาโครงการและผูบริหารจัดการชุมชน ทั้งที่เปนอาคารชุด วัสดุเหลือทิ้งกลับมาหมุนเวียนใชประโยชนได โดยในป 2551 บริษัทไดเริ่มดำเนิน สำนักงานและอาคารชุดพักอยูอาศัย ซึ่งปจจุบันมีโครงการที่บริหารจัดการ การอบรมพัฒนาองคความรู และสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการจัดการ อยูกวา 50 โครงการ จากขอมูลของกรุงเทพมหานคร เฉลี่ยผูพักอาศัยเปน ขยะมูลฝอยในอาคาร 2 หลักสูตร คือ รายบุคคล 1 คน จะกอใหเกิดขยะจากกิจกรรมการอยูอาศัยประมาณ 0.8 - 1 1) การอบรมเรื่อง “การจัดการของเสียอันตราย” สำหรับผูจัดการ กิโลกรัมตอวัน ดังนั้น อาคารชุดพักอาศัยเหลานี้จึงถือเปนแหลงกำเนิดขยะ ชุมชนทุกโครงการ โดยเจาหนาที่จากกองจัดการของเสียอันตราย ที่สำคัญซึ่งกลายเปนภาระของกรุงเทพมหานครที่ตองกำจัด โดยปจจุบัน กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีขยะในปริมาณมากถึง 8.5 พันตัน / ป หรือ 23.28 ตัน / วัน 2) จัดอบรมใหความรูเรื่อง “การคัดแยกขยะ” สำหรับหัวหนาแมบาน ซึ่งขยะดังกลาวอาจสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสภาพความเปนอยูใน ที่ดูแลรักษาความสะอาดในทุกอาคาร โดยเจาหนาที่ของมูลนิธิ สังคมหลายดาน และหากมีการจัดการที่ไมเหมาะสม จะกลายเปนแหลง เพื่อการพัฒนาสิ่งแวดลอมและพลังงาน และรวมกับกองจัดการ เพาะพันธุสัตวและพาหะนำโรคตางๆ เชน หนู แมลงสาบ แมลงวัน เปนแหลง ของเสียอันตรายกรุงเทพมหานคร และกรมควบคุมมลพิษ จัดตั้ง แพรเชื้อโรคโดยตรง เชน อหิวาตกโรค อุจจาระรวง โรคผิวหนัง บาดทะยัก ชุดรองรับของเสียอันตรายตามแบบมาตรฐานของกรมควบคุม โรคทางเดินหายใจ ทำใหเกิดการปนเปอนของสารพิษ เชน ตะกั่ว ปรอท มลพิษ สำหรับโครงการนำรอง 10 โครงการ เพื่อรณรงคให ลงสูพื้นดินและแหลงน้ำ ทำใหแหลงน้ำเนาเสีย ทอระบายน้ำอุดตัน อันเปน ผูพักอาศัยคัดแยกขยะอันตรายอยางถูกตอง สาเหตุของปญหาน้ำทวม เปนแหลงกำเนิดมลพิษทางอากาศ เชน ฝุนละออง เขมา ควัน จากการเผาขยะ และเกิดกาชมีเทนจากการฝงกลบขยะ ขยะบาง ชนิดไมยอยสลาย และกำจัดไดยาก เชน โฟม พลาสติก ทำใหตกคางสู สิ่งแวดลอม

ดวยนโยบายในการบริหารจัดการ “ชุมชนนาอยู” อยางยั่งยืน โดยทุกคนถือ เปนสวนหนึ่งในการรวมรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บริษัท จึงไดริเริ่ม “โครงการคัดแยกขยะกับ LPN” โดยการจัดใหมีการเพิ่มชุดรอง รับขยะอันตรายตามแบบมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษในแตละโครงการ สำหรับรองรับขยะอันตรายที่เกิดจากกิจกรรมการอยูอาศัย ไดแก หลอดไฟ ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ กระปองสเปรย เปนตน เพื่อใหมีการคัดแยกขยะ ประเภทนี้ออกจากขยะประเภทอื่นๆ โดยตระหนักวาขยะอันตรายเหลานี้ แมจำนวนเพียงเล็กนอย แตหากปะปนไปกับขยะประเภทอื่นๆ และไมไดรับ การจัดการอยางเหมาะสม ก็อาจสงผลกระทบตอสุขภาพของผูพักอาศัยใน โครงการ และกลายเปนภาระของกรุงเทพมหานคร รวมทั้งเปนปญหาตอ สภาพสิ่งแวดลอมดวย นอกจากขยะอันตรายแลว ขยะประเภทรีไซเคิลก็ จำเปนที่ตองคัดแยก เพื่อลดปริมาณขยะที่ตองนำไปกำจัด และยังเปนการนำ

16 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

4. กิจกรรม LPN รณรงคปดไฟ 1 ชั่วโมง บริษัทเชิญชวนสมาชิกในแตละโครงการรวมสนับสนุนกิจกรรมปดไฟ 1 ชั่วโมง เพื่อลดภาวะโลกรอนของ WWF (องคการกองทุนสัตวปาโลกสากล) ที่รวมกับ กรุงเทพมหานคร และ 23 มหานครทั่วโลก ในวันเสารที่ 29 มีนาคม 2551 เวลา 20.00 - 21.00 น. โดยผลของกิจกรรมดังกลาว สมาชิกจากกวา 50 โครงการไดเปนสวนหนึ่งในการดูแลโลกของเรา ดวยการปดไฟ 1 ชั่วโมง ชวยลดการใชไฟฟาได 5,220 กิโลวัตต ลดลงจากวันเสารที่ 22 มีนาคม 2551 ถึงรอยละ 35.62 คิดเปนเงิน 18,272.17 บาท


5. กิจกรรม Say No Plastic จากปรากฏการณภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ซึ่งเปนผลมาจากสภาวะ โลกรอนที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น พนักงานทั้งในสวนของสำนักงาน และที่ประจำในแตละโครงการไดเขารวมกิจกรรม Say No Plastic เพื่อเปน การรณรงคลดการใชถุงพลาสติก โดยกิจกรรมนี้เปนการเปดโอกาสใหพนักงาน ทุกคนไดมีสวนรวมและรวมเปนสวนหนึ่งในความรับผิดชอบตอสังคมและ สิ่งแวดลอม ซึ่งกิจกรรมดังกลาวไดเริ่มตนขึ้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2551 และสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2551 ทั้งนี้ จำนวนถุงพลาสติกที่พนักงาน ทุกคนไดรวมปฏิเสธในระยะเวลา 7 เดือนที่ผานมารวมทั้งสิ้น 9,253 ใบ โดย คิดเปนเชื้อเพลิงใหรถยนตวิ่งได 1,063 กิโลเมตร

LPN NO SAYASTIC PL รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 17


การบริหารตราผลิตภัณฑหรือแบรนด “ลุมพินี” ในสภาวะการดำเนินธุรกิจปจจุบันที่มีการแขงขันอยางรุนแรง เพื่อแยงชิงลูกคาหรือผูบริโภคใหตัดสินใจซื้อหรือใชผลิตภัณฑของผูประกอบการ สิ่งที่ผูประกอบการทั่วไปมุงเนนใหความสำคัญนอกเหนือจากการไดมาซึ่งผลประกอบการที่ดีแลว ยังมุงเปาไปสูการสรางความเชื่อมั่นของลูกคาที่มีตอผลิตภัณฑ โดยผานการสรางแบรนด ซึ่งผูประกอบการหลายรายไดใชงบประมาณในการสรางแบรนดสำหรับผลิตภัณฑของตนเองดวยงบประมาณที่สูง และสวนใหญเชื่อ วา “แบรนด” ไมเพียงเปนเครื่องมือในการสื่อสารความเปนตัวตนของผลิตภัณฑไปสูผูบริโภคเทานั้น แตแบรนดยังเปนเครื่องมือในการสรางความเชื่อมั่นของ ผูบริโภคอีกดวย ปรัชญาการดำเนินธุรกิจของบริษัท ไดมุงเนนดานการสรางความสมดุลของทุกมิติ ซึ่งไมเพียงใหความสำคัญตอผลสำเร็จดานผลประกอบการ แตยัง มุงเนนในแนวทางเพื่อสรางความเชื่อมั่นของลูกคา ดวยการสงมอบผลิตภัณฑและบริการที่ครองใจ (เหนือความคาดหมาย) ไมวาจะเปนดานคุณภาพผลิตภัณฑ การยึดมั่นในพันธะสัญญา การกำหนดราคาที่เหมาะสมและยุติธรรม รวมถึงความรวดเร็วในการกอสราง โดยเฉพาะนโยบายดานการบริหารจัดการชุมชน ใหเปนชุมชนคุณภาพหลังสงมอบโครงการใหกับลูกคาแลว แนวทางการดำเนินงานที่กลาวมาทั้งหมดเปนแนวทางของบริษัทซึ่งใชเวลาเกือบ 20 ป ในการพิสูจนใหลูกคาไดเห็นถึงความมุงมั่น ตั้งใจ และทุมเท จนไดมาซึ่งความเชื่อมั่นในแบรนดภายใตชื่อ “ลุมพินี” จนลูกคาจำนวนมากกลับรับรูและจดจำคำวา “ลุมพินี” มากกวาชื่อองคกรคือ บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) แบรนด “ลุมพินี” จึงเปนทรัพยสินที่ไมมีตัวตน (Intangible Asset) ที่ทรงคุณคาอยางสูงของบริษัท ซึ่งสงผลใหการ เปดขายโครงการใหมประสบความสำเร็จดานการตลาดอยางสูง และที่สำคัญคือคาใชจายในการโฆษณาสงเสริมการขายโครงการของบริษัทเปนคาใชจายที่ต่ำ ที่สุดในกลุมธุรกิจเดียวกัน (ไมเกินรอยละ 1 ของยอดขายโครงการ) อันเปนผลมาจากการบอกตอ (Words of Mouth) ของลูกคาที่มีความเชื่อมั่นตอแบรนด “ลุมพินี” นั่นเอง ในป 2551 บริษัทไดทำการวิเคราะหและศึกษาความเปนตัวตนของแบรนด “ลุมพินี” อยางจริงจัง โดยกำหนดเปาหมายการรับรูถึงแกนแทความ เปนตัวตนของ “ลุมพินี” อยางชัดเจน เพื่อกำหนดกลยุทธในการรวมรักษาและพัฒนาความเปน “ลุมพินี” ใหมั่นคงและยั่งยืน จากผลการวิเคราะหและศึกษา ถึงการสื่อความหมายและตราสัญลักษณของแบรนด “ลุมพินี” จึงเปนที่มาของ “ชุมชนนาอยู” ที่กำหนดนิยามวาคือ “ความสุขที่แทจริงของการอยูอาศัย (Real Pleasure of Living)” และเพื่อใหเกิดความชัดเจนของตราสัญลักษณของบริษัทและการบอกถึงความเปนตัวตนของแบรนด “ลุมพินี” บริษัทจึงได ปรับปรุงและพัฒนาตราสัญลักษณของบริษัท รวมถึงตราสัญลักษณชุมชนนาอยู และตราสัญลักษณของกลุมผลิตภัณฑใหม ดังนี้

ตราสัญลักษณองคกร

ตราสัญลักษณชุมชนนาอยู

ซึ่งแตละสี มีความหมายดังนี้คือ สีฟา : สื่อถึงความอบอุนเปนมิตร เขาหางาย จริงใจ สีเขียว : สื่อถึงความสดชื่น ความเจริญงอกงาม รมรื่น ดูผอนคลาย เปนธรรมชาติ สีน้ำเงิน : สีประจำบริษัทที่แสดงถึงตัวตนและการมีสวนรวมกันของบริษัทกับผูอยูอาศัยในชุมชน และในป 2552 นี้ บริษัทมีแผนที่จะทำการสื่อสารเพื่อสรางความเชื่อมั่น และความเขาใจที่ดีที่มีตอแบรนดของบริษัทไปยังลูกคา กลุมลูกคาเปาหมาย และสาธารณะอยางตอเนื่อง

18 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)


การพัฒนากลุมผลิตภัณฑ สำหรับการพัฒนากลุมผลิตภัณฑภายใตแบรนด “ลุมพินี” นั้น บริษัทไดใหความสำคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑที่ตอบสนองกับความตองการของลูกคา เปนหลัก (Customer Focus) โดยศึกษาจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของลูกคา จนเกิดเปนผลิตภัณฑภายใต 3 กลุมผลิตภัณฑใหญ ที่ไดรับการพัฒนามาอยาง ตอเนื่อง ไดแก “ลุมพินี สวีท” และ “ลุมพินี เพลส” โครงการและหองชุดพักอาศัยขนาด 34 ตารางเมตร ขึ้นไป ราคา 45,000 - 60,000 บาท ตอตารางเมตร ไดรับการพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความตองการ ที่อยูอาศัยของคนในวัยทำงาน ที่เปนผูบริหารระดับกลางคอนขางสูง มีรายได 50,000 - 80,000 บาทตอเดือน มีความสามารถในการใชจายเพื่อที่อยูอาศัยได เดือนละประมาณ 10,000 - 20,000 บาท ฐานะทางการเงินอยูในระดับดี และมีอำนาจในการใชจายเพื่อนำความสุข ความสะดวกสบายมาใหกับชีวิต ทำเลในการ พัฒนาโครงการดังกลาวจึงอยูในเขตที่มีความหนาแนนสูง อาจอยูในเขตใจกลางหรือเขตรอบนอกศูนยกลางธุรกิจ (CBD) สะดวกในการเดินทางดวยระบบคมนาคม ขนาดใหญ ครบครันดวยสิ่งอำนวยความสะดวกที่สมบูรณพรอม และใกลสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเปนตอการใชชีวิตประจำวัน รวมถึงมีการออกแบบตกแตง ที่บงบอกถึงสถานภาพของผูอยูอาศัย เพื่อการใชชีวิตอยางมีระดับ Needs : “ความสุขที่ครบครัน ความมีสถานะในสังคม” Real Pleasure in their living : “ความสมบูรณ ความมีระดับ” “ลุมพินี วิลล” โครงการและหองชุดพักอาศัยขนาด 30 - 60 ตารางเมตร ทั้งขนาดหองชุดแบบ Studio แบบ 1 หองนอน และ 2 หองนอน ราคาเฉลี่ยตารางเมตรละ 35,000 - 45,000 บาท ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นเพื่อคนในวัยทำงานซึ่งอาจเปนผูบริหารระดับตน อายุไมเกิน 35 ป รายไดประมาณ 30,000 - 50,000 บาท ตอเดือน ตองการความสะดวกในการเดินทางและการอยูอาศัยที่เปนสวนตัว มีความสามารถในการใชจายเพื่อที่อยูอาศัยประมาณเดือนละ 5,000 - 10,000 บาท มีรายไดพอใชจายในชีวิตประจำวัน ไมมีภาระมากมาย เปนคนรุนหนุมสาวที่ตองการใหรางวัลกับชีวิต ทำเลที่ตั้งโครงการจึงอยูในเขตที่มีความหนาแนนสูง ใกลแหลงงาน หางสรรพสินคา แบรนด “ลุมพินี วิลล” จึงเปนทางเลือกสำหรับคนรุนใหมที่ตองการใชชีวิตในแบบของตนเองขณะที่ยังคงอยูใกลชิดกับครอบครัวเดิม Needs : “ใหความสุขกับตัวเอง และคนใกลชิด” Real Pleasure in their living : “ตองการใหรางวัลกับชีวิต” “ลุมพินี เซ็นเตอร” และ “ลุมพินี คอนโดทาวน” “ลุมพินี คอนโดทาวน” เปนแบรนดใหมที่พัฒนาตอยอดมาจากแบรนด “ลุมพินี เซ็นเตอร” เพื่อมุงสรางที่อยูอาศัยพรอมคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับกลุม ลูกคาคือคนวัยเริ่มตนการทำงาน การพัฒนาโครงการและหองชุดพักอาศัยขนาด 25 - 28 ตารางเมตร ราคาเฉลี่ยตารางเมตรละ 25,000 - 35,000 บาท สำหรับ “ลุมพินี เซ็นเตอร” และราคาเฉลี่ยยูนิตละ 600,000 - 700,000 บาท สำหรับ “ลุมพินี คอนโดทาวน” จึงเปนไปเพื่อสรางบานที่แวดลอมดวยคุณภาพ ชีวิตที่ดีใหกับคนในวัยเริ่มตนการทำงานทั่วไป ผูประกอบวิชาชีพอิสระที่มีรายได 15,000 - 30,000 บาท มีความสามารถในการใชจายดานที่อยูอาศัยเดือนละ 3,500 - 5,000 บาท โดยทำเลที่ตั้งโครงการจะอยูในเขตรอยตอระหวางใจกลางเมืองกับเขตรอบนอกที่มคี วามหนาแนนสูง ซึ่งกลุมลูกคานี้จะมีที่ทำงาน หรือที่พักอาศัยเดิม หางจากที่ตั้งโครงการในรัศมีไมเกิน 5 กิโลเมตร ซึ่งเปนกลุมขนาดใหญที่มีความตองการที่พักอาศัยสูง บริษัทจึงวางตำแหนงให “ลุมพินี คอนโดทาวน” เปนเปาหมายหลักของการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยของบริษัทตอไป เพื่อใหเปนที่อยูอาศัยหลังแรกที่มีคุณภาพและเปนจุดเริ่มตนของครอบครัว ที่อบอุนใหกับกลุมเปาหมายที่อยูในวัยเริ่มตนของการดำเนินชีวิตครอบครัว Needs : “โอกาสในชีวิต” Real Pleasure in their living : “การเริ่มตนที่จะทำใหชีวิตดีขึ้นและมีความสุข”

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 19


พัฒนาการคอนโดมิเนียมของ LPN ตลอดเวลาเกือบ 2 ทศวรรษ ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของบริษัท จะเห็นได้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สำคัญอยู่เป็นระยะ ซึ่งไม่ได้เกิดจากการ ปรับเปลี่ยนมุมมอง วิธีคิด และการบริหารจัดการภายในเท่านั้น หากแต่เกิดจากการศึกษาวิจัยพฤติกรรมและความต้องการที่อยู่อาศัยของลูกค้าอย่างลึกซึ้ง ซึ่งเป็นที่มา ของการคิดค้นและริเริ่มสินค้าและบริการใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการ ทำให้การพัฒนาโครงการภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี” ได้รับการตอบรับที่ดีเสมอมา โดย สามารถแบ่งพัฒนาการที่สำคัญได้เป็น 5 ระยะ ดังนี้

ระยะแรก ปี 2532 - 2541 การพัฒนาโครงการในหลากหลายผลิตภัณฑ์

เนื่องจากเป็นระยะแรกของการดำเนินงาน การพัฒนาโครงการจึงเป็นไปในหลากหลายรูปแบบ ทั้งอาคารชุดสำนักงาน อาคารชุดพักอาศัย มินิออฟฟิศ หรือ ทาวน์เฮ้าส์ ซึ่งทั้งอาคารชุดสำนักงานและอาคารชุดพักอาศัยจะเป็นอาคารในแนวสูงเป็นส่วนใหญ่ จนได้รับการขนานนามว่าเป็น “ผู้ชำนาญด้านอาคารสูง” (High Rise Expertise) นอกจากนี้ บริษัทยังถือเป็นผู้บุกเบิกการพัฒนาโครงการในทำเลใหม่ๆ (Blue Ocean Strategy) เช่น บริเวณถนนพระราม 4 พระราม 3 ซึ่งช่วยสร้างความ เจริญและความต้องการที่อยู่อาศัยในทำเลดังกล่าวให้เพิ่มสูงมากยิ่งขึ้น โครงการดังกล่าว ได้แก่ ลุมพินี ทาวเวอร์ มูลค่า 2,120 ล้านบาท อาคารสำนักงานสูง 38 ชั้น 113 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา ริมถนนพระราม 4 พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 1, 2 มูลค่า 1,944 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 22 ชั้น 2 อาคาร รวม 1,545 ยูนิต บนเนือ้ ที่ 6 ไร่ 2 งาน 78.7 ตารางวา ถนนนนทรี แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์ มูลค่า 564 ล้านบาท อาคารสำนักงานสูง 18 ชั้น 76 ยูนิต บนเนื้อที่ 1 ไร่ 2 งาน 42 ตารางวา ริมถนนรัชดาภิเษกช่วงตัดกับนางลิ้นจี่

พี.เอส.ที. มินิ ออฟฟิศ มูลค่า 188 ล้านบาท อาคารสำนักงานกึง่ ทีพ่ กั อาศัย สูง 7 ชั้น 10 อาคาร บนเนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน 35 ตารางวา ถนนนนทรี

ลุมพินี เพลส มูลค่า 408 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 19 ชั้น 34 ยูนติ บนเนื้อที่ 1 ไร่ 3 งาน 26 ตารางวา ถนนศรีบำเพ็ญ

สี่พระยา ริเวอร์วิว มูลค่า 1,009 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 31 ชั้น 308 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 16.6 ตารางวา ถนนโยธา ตรงข้ามทีว่ า่ การเขตสัมพันธวงศ์

แอล.พี.เอ็น. มินิ ออฟฟิศ มูลค่า 29 ล้านบาท อาคารสำนักงานสูง 7 ชั้น 1 อาคาร บนเนื้อที่ 90 ตารางวา ริมถนนรัชดาภิเษก ช่วงตัดกับถนนนางลิ้นจี่

พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม มูลค่า 1,103 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 29 ชั้น 766 ยูนิต บนเนื้อที่ 4 ไร่ 1 งาน 34.2 ตารางวา ถนนนนทรี

20 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


บ้านลุมพินี บางบัวทอง มูลค่า 725 ล้านบาท ทาวน์เฮ้าส์ พร้อมอาคารพาณิชย์ รวม 709 ยูนิต บนเนื้อที่ 36 ไร่ 1 งาน 31.2 ตารางวา ริมถนนตลิ่งชัน - สุพรรณบุรี บางบัวทอง

บ้านลุมพินี 2 บางบัวทอง มูลค่า 75 ล้านบาท อาคารพาณิชย์ 3 ชั้น รวม 35 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 1 งาน 84.9 ตารางวา ริมถนนตลิ่งชัน - สุพรรณบุรี บางบัวทอง

ระยะที่สอง ปี 2542 - 2546 ริเริ่ม ซิตี้คอนโด

บริษัทถือเป็นผู้บุกเบิกและริเริ่มพัฒนาการที่สำคัญของคอนโดมิเนียมในกรุงเทพมหานครอีกครั้ง ด้วยการสร้างและปลุกกระแสความนิยม “ซิตี้คอนโด” หรือ คอนโดมิเนียมราคาล้านต้นๆ ในทำเลตามแนวรถไฟฟ้า ให้เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง และถือเป็นต้นแบบการพัฒนาโครงการของผู้ประกอบการรายอื่นๆ ต่อมา ด้วย การคิดอย่างไม่หยุดนิ่งแม้ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจดังกล่าว จึงเป็นที่กล่าวขานและยอมรับด้านความรวดเร็วในการปิดการขายในทุกโครงการที่เปิดตัวใหม่ โดยสร้างสถิติ การปิดการขายทั้งโครงการภายในเวลาเพียง 3 ชั่วโมง และมุ่งพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยที่เป็นความเชี่ยวชาญของบริษัทเป็นหลัก จนได้รับความเชื่อมั่นในฐานะผู้นำด้าน การพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในเมือง นอกจากนี้ ปัจจัยที่นำมาซึ่งความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง ยังประกอบไปด้วยกลยุทธ์ในการดำเนินงานอันได้แก่ การกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน (Focus Strategy) ไปยังกลุ่มเป้าหมายที่มีรายได้ระดับกลาง การสร้างผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างจากคู่แข่ง (Product Differentiation) ที่ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง (LPN Design) การมุ่งเน้นการให้บริการ (Service) ในทุกวงจรชีวิตของลูกค้า โดยเฉพาะการบริหารอาคารชุด ซึ่งเมื่อโครงการมีขนาดที่ใหญ่ขึ้นจึงได้เปลี่ยนแนวคิดมาเป็นการบริหาร จัดการชุมชนตามนโยบาย “ชุมชนน่าอยู”่ และปัจจัยสุดท้ายคือ การพัฒนากระบวนการก่อสร้างทีร่ วดเร็ว (Speed) ซึง่ สามารถก่อสร้างแล้วเสร็จภายในระยะเวลาเพียง 1 ปี ลุมพินี เพลส สาทร มูลค่า 715 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น พร้อมชั้นใต้ดิน 1 ชั้น จำนวน 4 อาคาร รวม 603 ยูนิต บนเนือ้ ที่ 3 ไร่ 2 งาน 52.6 ตารางวา ริมถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร มูลค่า 378 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 2 อาคาร รวม 281 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 2 งาน 22.5 ตารางวา ซอยสวนพลู 8 ถนนสาทร ลุมพินี เซ็นเตอร์ แฮปปี้แลนด์ มูลค่า 926 ล้านบาท อาคารชุด พักอาศัยขนาดเล็ก 20 อาคาร รวม 1,765 ยูนิต และอาคารพาณิชย์ สูง 3.75 ชั้น จำนวน 23 ยูนิต บนเนื้อที่ 14 ไร่ 7.2 ตารางวา ถนนแฮปปี้แลนด์ ซอย 1, 2

ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร มูลค่า 412 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 2 อาคาร รวม 231 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 98 ตารางวา ซอยศรีบำเพ็ญ

ลุมพินี เซ็นเตอร์ ลาดพร้าว 111 มูลค่า 879 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 4 อาคาร รวม 534 ยูนิต และ อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชัน้ 3 อาคาร รวม 322 ยูนติ บนเนือ้ ที่ 5 ไร่ 5 งาน

ลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร มูลค่า 94.14 ล้านบาท อาคารเซอร์วิส อพาร์ตเมนท์ สูง 9 ชั้น 1 อาคาร รวม 38 ยูนิต บนเนื้อที่ 199 ตารางวา ริมถนนนราธิวาสราชนครินทร์ รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 21


ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 มูลค่า 359 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 2 อาคาร รวม 190 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 25 ตารางวา ถนนนราธิวาสราชนครินทร์

ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร์ มูลค่า 485 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 2 อาคาร รวม 233 ยูนิต บนเนือ้ ที่ 2 ไร่ 2 งาน 11.2 ตารางวา ริมถนนนราธิวาสราชนครินทร์

ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง มูลค่า 495 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 2 อาคาร รวม 312 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 3 งาน 79 ตารางวา ริมถนนพระราม 3

ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41 มูลค่า 492 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 2 อาคาร รวม 159 ยูนิต บนเนื้อที่ 1 ไร่ 2 งาน 78 ตารางวา ถนนสุขุมวิท

ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร มูลค่า 459 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 2 อาคาร รวม 300 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 3 งาน 65 ตารางวา ถนนจันทน์

ระยะที่สาม ปี 2547 การพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยความสูงขนาดกลาง (Medium Rise Condominium)

การพัฒนาโครงการของบริษทั ในระยะนี้ เป็นการเริม่ พัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในขนาดความสูงทีม่ ากขึน้ คือ ระดับความสูงประมาณ 20 ชัน้ โดยอาศัยเทคโนโลยี แบบผสมผสาน ระหว่างการก่อสร้างหรือขึน้ แบบภายในพืน้ ทีโ่ ครงการ และการขึน้ แบบในลักษณะสำเร็จรูปก่อนนำมาประกอบร่วมกัน นอกจากนี้ ยังได้พฒั นากระบวนการ ก่อสร้างจนทำให้สามารถดำเนินงานก่อสร้างในแต่ละส่วนไปพร้อมกัน ในขณะที่แบบเดิมจำเป็นต้องดำเนินตามขั้นตอนก่อนหลัง ทำให้การก่อสร้างรวดเร็วขึ้นในขณะที่ ยังคงรักษาคุณภาพไว้ได้ และพร้อมส่งมอบให้กับลูกค้าได้ตามกำหนดเวลา ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์วิว มูลค่า 1,048 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 19 ชั้น 1 อาคาร รวม 497 ยูนิต บนเนื้อที่ 3 ไร่ 65.1 ตารางวา ริมถนนพระราม 3 ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร มูลค่า 1,428 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 21 ชั้น 2 อาคาร รวม 861 ยูนิต บนเนื้อที่ 5 ไร่ 76.9 ตารางวา ถนนสุทธิสาร ลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขุมวิท 77 มูลค่า 915 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 5 อาคาร รวม 872 ยูนิต บนเนื้อที่ 6 ไร่ 2 งาน 30.2 ตารางวา ริมถนนสุขุมวิท

22 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

ลุมพินี เซ็นเตอร์ นวมินทร์ มูลค่า 388 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 3 อาคาร รวม 442 ยูนิต บนเนื้อที่ 3 ไร่ 2 งาน 65.7 ตารางวา ถนนแฮปปี้แลนด์ ซอย 2


ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 มูลค่า 1,569 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 23 ชั้น 3 อาคาร รวม 987 ยูนิต บนเนือ้ ที่ 4 ไร่ 3 งาน 29.8 ตารางวา ริมถนนสุขุมวิท 77

ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า มูลค่า 1,106 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 22 ชั้น 1 อาคาร รวม 580 ยูนิต บนเนื้อที่ 3 ไร่ 33 ตารางวา ริมถนนบรมราชชนนี

ระยะที่สี่ ปี 2548 การพัฒนาชุมชนเมืองขนาดย่อม (Small Size Township)

นอกจากการพัฒนาสินค้าที่ตรงกับความต้องการที่อยู่อาศัย หัวใจหลักในการพัฒนาโครงการของบริษัท คือ การให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการหลัง ลูกค้าเข้าอยู่อาศัยแล้ว ดังการพัฒนาโครงการในระยะนี้ ที่มี “ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม” เป็นโครงการนำร่อง โดยจัดเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่ประกอบไปด้วยกลุ่ม อาคารหลายอาคารในโครงการเดียวกัน และมีจำนวนยูนิตที่มากกว่าโครงการในรูปแบบซิตี้คอนโดถึง 5 เท่า จึงเปรียบเสมือนชุมชนเมืองขนาดย่อมที่แวดล้อมด้วย สิ่งอำนวยความสะดวกครบครันทั้งภายในและภายนอกโครงการ ภายใต้แนวคิด “Total Solution” ซึ่งประกอบไปด้วย Security Facilities, Living Facilities, Food & Beverage Facilities, Sport Facilities, Entertainment Facilities, Financial Facilities, Health Facilities, Transportation Facilities และ Education Facilities ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม มูลค่า 1,954 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 9 อาคาร รวม 1,324 ยูนิต บนเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน 63 ตารางวา ริมถนนประชาอุทิศ ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ มูลค่า 1,655 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 29 ชั้น 2 อาคาร และสูง 8 ชั้น 1 อาคาร รวม 898 ยูนิต บนเนื้อที่ 5 ไร่ 2 งาน 92 ตารางวา ริมถนนรัชดาภิเษก ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา มูลค่า 3,547 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 29 ชั้น 3 อาคาร รวม 1,306 ยูนิต บนเนื้อที่ 9 ไร่ 72 ตารางวา ริมถนนพระราม 3

ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า 2 มูลค่า 1,186 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 26 ชั้น 1 อาคาร รวม 651 ยูนิต บนเนื้อที่ 3 ไร่ 3 งาน 83.3 ตารางวา ริมถนนบรมราชชนนี

ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย มูลค่า 2,235 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 29 ชั้น 2 อาคาร รวม 1,093 ยูนิต บนเนื้อที่ 7 ไร่ 1 งาน 68 ตารางวา ริมถนนประดิพัทธ์

ลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44 มูลค่า 1,302 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 23 ชั้น 2 อาคาร รวม 827 ยูนิต บนเนื้อที่ 4 ไร่ 2 งาน 56 ตารางวา ริมถนนรามคำแหง

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 23


ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำแหง มูลค่า 3,052 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 14 อาคาร รวม 3,445 ยูนิต บนเนื้อที่ 32 ไร่ 3 งาน 23 ตารางวา ถนนรามคำแหง 43/1

ระยะที่ห้า ปี 2549 - ปัจจุบัน การพัฒนาแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” เพื่อตอบสนองความต้องการมีที่อยู่อาศัย

บริษทั เติบโตอย่างแข็งแกร่ง ด้วยประสบการณ์ในการพัฒนาโครงการและความลุม่ ลึกในแนวคิดของผูพ้ ฒั นาอีกครัง้ ด้วยนโยบายในการสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยหลังแรก ที่มีคุณภาพให้กับกลุ่มเป้าหมายระดับล่าง-บน ที่ยังไม่สามารถมีที่พักอาศัยเป็นของตนเอง โดยการพัฒนาโครงการภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” ซึ่งได้เปิดตัว “ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำแหง” เป็นโครงการแรกเมือ่ ปี 2550 โดยปัจจุบนั ลูกค้าได้เข้าอยูอ่ าศัยภายใต้การบริหารจัดการ “ชุมชนน่าอยู”่ ทีบ่ ริษทั ริเริม่ ขึน้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม มีสิ่งอำนวยความสะดวกและการบริการที่สมบูรณ์พร้อมภายในโครงการ ได้รับความอบอุ่น ปลอดภัย เพื่อ สร้างความสุขที่แท้จริงจากการอยู่อาศัย ซึ่งบริษัทจะใช้แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” เป็นเรือธงในการพัฒนาโครงการของบริษัทในอีกระยะ 5 ปีข้างหน้า และปัจจุบัน ได้เปิดขายแล้วถึง 3 โครงการ ซึ่งทุกโครงการต่างได้รับผลตอบรับอย่างดียิ่ง นอกจากการพัฒนาแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” บริษัทยังให้ความสำคัญกับการพัฒนาโครงการภายใต้แบรนด์อื่นที่ประสบความสำเร็จและนำชื่อเสียงมา สู่บริษัทอย่างต่อเนื่อง ท่ามกลางความไม่เชื่อมั่นด้านเศรษฐกิจและการเมือง การเปิดตัว “ลุมพินี วิลล์ บางแค” เมื่อปลายปี 2551 ที่ผ่านมา พบว่ากลับได้รับการ ตอบรับอย่างดี เป็นบทพิสจู น์ให้เห็นถึงวิสยั ทัศน์ผนู้ ำ ความแม่นยำทางธุรกิจทีเ่ กิดจากการศึกษาอย่างจริงจัง และการไม่หยุดนิง่ ทีจ่ ะพัฒนากระบวนการทำงานรูปแบบใหม่ อยู่ตลอดเวลา ซึ่งได้ช่วยพลิกฟื้นความเชื่อมั่นในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้กลับคืนมาดังเดิม ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ มูลค่า 1,257 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 7 อาคาร รวม 1,568 ยูนิต บนเนื้อที่ 13 ไร่ 40 ตารางวา ริมถนนรามอินทรา ติดห้างเซ็นทรัล

ลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า มูลค่า 1,352 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 21 ชั้น 1 อาคาร รวม 547 ยูนิต บนเนื้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 67 ตารางวา ริมถนนบรมราชชนนี ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ มูลค่า 1,366 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 14 ชั้น 1 อาคาร รวม 1,271 ยูนิต บนเนือ้ ที่ 7 ไร่ 2 งาน 58.3 ตารางวา ริมถนนรามอินทรา ติดห้างเซ็นทรัล

ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ มูลค่า 1,666 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 8 อาคาร รวม 1,949 ยูนิต บนเนื้อที่ 19 ไร่ 59.1 ตารางวา ริมถนนรัตนาธิเบศร์

ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร มูลค่า 1,346 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 19 ชั้น 2 อาคาร รวม 958 ยูนิต บนเนือ้ ที่ 7 ไร่ 3 งาน 83.8 ตารางวา ริมถนนประชาชื่น

ลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 26 มูลค่า 1,361 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 5 อาคาร รวม 998 ยูนิต บนเนื้อที่ 10 ไร่ 2 งาน 74 ตารางวา ถนนรามคำแหง

24 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


ลุมพินี พระราม 8 มูลค่า 2,374 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 12 ชั้น 1 อาคาร และสูง 13 ชั้น 4 อาคาร รวม 1,313 ยูนิต บนเนื้อที่ 12 ไร่ 1 งาน 29.7 ตารางวา ถนนอรุณอัมรินทร์

ลุมพินี วิลล์ บางแค มูลค่า 295 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 22 ชั้น 1 อาคาร รวม 271 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 38 ตารางวา ถนนเพชรเกษม

ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา มูลค่า 2,887 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 25 ชั้น 2 อาคาร และสูง 30 ชั้น 2 อาคาร รวม 2,365 ยูนิต บนเนื้อที่ 15 ไร่ 1 งาน ถนนพระราม 9

ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ มูลค่า 700 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 14 ชั้น 1 อาคาร รวม 509 ยูนิต บนเนื้อที่ 4 ไร่ ริมถนนรามอินทรา ติดห้างเซ็นทรัลรามอินทรา

โครงการร่วมทุน ในบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ลุมพินี เพลส วอเตอร์คลิฟ มูลค่า 1,425 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 36 ชั้น 4 อาคาร จำนวน 620 ยูนิต บนเนื้อที่ 4 ไร่ 40.4 ตารางวา ริมถนนรัชดาภิเษก-พระราม 3 ติดห้างเซ็นทรัลพระราม 3

แกรนด์ เฮอริเทจ ทองหล่อ มูลค่า 350 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น พร้อมชั้นใต้ดิน 1 ชั้น 1 อาคาร รวม 74 ยูนิต บนเนื้อที่ 1 ไร่ 1 ตารางวา ถนนสุขุมวิท (ทองหล่อ 13)

ลุมพินี ทาวน์โฮม รัชดา-พระราม 3 มูลค่า 280 ล้านบาท ทาวน์เฮ้าส์สูง 4.5 ชั้น 28 ยูนิต บนเนื้อที่ 2 ไร่ 2 งาน 2.5 ตารางวา ริมถนนรัชดาภิเษก-พระราม 3 ติดห้างเซ็นทรัลพระราม 3

แกรนด์ พาร์ควิว อโศก มูลค่า 135 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 32 ชั้น พร้อมชั้นใต้ดิน 2 ชั้น พื้นที่ค้าปลีก 4 ชั้น และห้องชุดพักอาศัย 481 ยูนิต บนเนื้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 98 ตารางวา ริมถนนสุขุมวิท 21 (อโศกมนตรี)

ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3 มูลค่า 250 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 9 ชั้น 1 อาคาร รวม 53 ยูนิต บนเนื้อที่ 386 ตารางวา ริมถนนรัชดาภิเษก-พระราม 3 ติดห้างเซ็นทรัลพระราม 3

พาร์ควิว วิภาวดี มูลค่า 1,000 ล้านบาท อาคารชุดพักอาศัยสูง 8 ชั้น 17 อาคาร และสูง 5 ชั้น 1 อาคาร รวม 1,011 ยูนิต บนเนื้อที่ 15 ไร่ 2 งาน 26.9 ตารางวา ริมถนนวิภาวดีรังสิต

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 25


โครงการในอนาคต

จากที่บริษัทได้ปรับเปลี่ยนแผนการพัฒนาโครงการในช่วงกลางปี 2551 อันเนื่องมาจากความผันผวนของราคาน้ำมันและวิกฤติเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาที่ ลุกลามขยายเป็นวงกว้างไปทั่วโลก รวมถึงปัญหาการเมืองภายในประเทศที่ส่งผลให้ผู้บริโภคขาดความเชื่อมั่นและชะลอการตัดสินใจซื้อ ซึ่งบริษัทได้ใช้ช่วงเวลาดังกล่าว ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงาน การบริหารจัดการ การปรับโครงสร้างองค์กร รวมถึงการสำรองเงินทุน เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับองค์กรในการเผชิญ สภาวะวิกฤติและการขยายโครงการในปี 2552 ซึง่ จากการติดตามและประเมินสถานการณ์โดยรวมทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ บริษทั เล็งเห็นว่าเป็นโอกาสทีด่ สี ำหรับ บริษัทในการขยายการพัฒนาโครงการ โดยเฉพาะในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2552 ซึ่งสถานการณ์โดยรวมน่าจะมีความชัดเจนขึ้นทั้งปัจจัยภายในและภายนอก อีกทั้ง สถานการณ์การแข่งขันได้ลดความรุนแรงลง และความต้องการซื้อที่อยู่อาศัยของผู้บริโภคที่สะสมตั้งแต่กลางปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะกลุ่มที่มีรายได้ปานกลางซึ่งเป็นกลุ่ม เป้าหมายทีบ่ ริษทั ให้ความสำคัญมาโดยตลอด ในปี 2552 บริษทั จึงมีแผนพัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัยประมาณ 6-8 โครงการ โดยมีมลู ค่ารวมประมาณ 10,000 12,000 ล้านบาท ซึ่งจะก่อสร้างแล้วเสร็จและรับรู้รายได้ในปี 2552-2553 โดยกำหนดกลยุทธ์ที่สำคัญในการพัฒนาโครงการในปีนี้ ได้แก่ 1. พัฒนาโครงการต่อเนื่องในทำเลใกล้เคียงกับโครงการที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงและมีอุปสงค์อยู่อย่างต่อเนื่อง พิจารณาได้จากจำนวนผู้เข้าชม โครงการ หรือความต้องการซื้อที่มีอยู่อย่างสม่ำเสมอ จากการติดตามและเก็บข้อมูลของฝ่ายขายและฝ่ายธุรกิจนายหน้า 2. ขยายทำเลในการพัฒนาโครงการไปยังทำเลที่มีความหนาแน่นสูง พร้อมด้วยสิ่งอำนวยความสะดวก ไม่มีคู่แข่งขันหรือมีคู่แข่งน้อย (First Mover) โดยใช้กลยุทธ์เรือ่ งราคาควบคูไ่ ปกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation) เพือ่ ให้ตอบสนองต่อการอยูอ่ าศัยภายในเมืองมากทีส่ ดุ ดังเช่น โครงการลุมพินี วิลล์ บางแค ซึ่งบริษัทประสบความสำเร็จอย่างสูงจากการเปิดตัวเมื่อปลายปี 2551 ที่ผ่านมา 3. ปรับเปลีย่ นแนวทางในการพัฒนาโครงการจากโครงการขนาดใหญ่ทพ่ี ฒั นาแล้วเสร็จในครัง้ เดียว เพือ่ ให้เกิดความได้เปรียบจากขนาด (Economy of Scale) เป็นการพัฒนาโครงการในหลายระยะเพื่อให้เหมาะสมกับความต้องการในแต่ละช่วงเวลา เหมือนกับโครงการในอดีตที่บริษัทพัฒนาในช่วง เศรษฐกิจขาลง อันจะนำมาซึ่งการลดความเสี่ยงของบริษัทในด้านสินค้าคงเหลือ 4. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารต้นทุน (Cost Leadership) อย่างเข้มข้น โดยเฉพาะต้นทุนทางอ้อม เพื่อให้สามารถกำหนดราคาขายได้สอดคล้อง กับความต้องการของผู้บริโภค และยังคงรักษาระดับผลตอบแทนให้อยู่ในอัตราที่เหมาะสม 5. ปรับปรุงและพัฒนากระบวนการในการพัฒนาโครงการ รวมถึงกระบวนการในการก่อสร้าง (Process Innovation) ควบคูไ่ ปกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อรองรับความเสี่ยงในการประกอบธุรกิจ 6. รักษาประสิทธิภาพของการบริหารชุมชนอันมีเป้าหมายในการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” ซึ่งเป็นเป้าหมาย และทิศทางในอนาคต โดยตราสัญลักษณ์ “ชุมชนน่าอยู”่ เปรียบเสมือนดัชนีชว้ี ดั หรือเครือ่ งหมายรับรองคุณภาพของโครงการทีพ่ กั อาศัย ทีท่ ำให้โครงการ ที่บริษัทพัฒนาแตกต่างจากโครงการของคู่แข่ง (Service Differentiation) 7. การให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม (CESR) ตลอดทั้งกระบวนการในทุกส่วนที่เกี่ยวข้องตามแนวทางการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่บริษัทกำหนดไว้ เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 8. การพัฒนาและสื่อสารแบรนด์ออกสู่วงกว้าง (Brand Communication) เพื่อให้เกิดการรับรู้และจดจำอันจะนำมาซึ่งความแตกต่างและการยอมรับ ต่อโครงการที่บริษัทพัฒนาขึ้น โดยเฉพาะเรื่องคุณภาพชีวิตภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” โครงการหรือทำเลที่อยู่ระหว่างการพิจารณาความเหมาะสมของแปลงที่ดินที่บริษัทกำหนดการเปิดตัวในช่วงครึ่งปีแรกประมาณ 3 - 4 โครงการ (ซึ่งเปิดตัวแล้ว 1 โครงการ คือ โครงการลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่) ได้แก่ 1. โครงการลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร 2 2. โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา 3. โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค สำหรับครึง่ ปีหลังของปี 2552 บริษทั มีแผนจะเปิดตัวอีก 3 - 4 โครงการ ทัง้ โครงการต่อเนือ่ งและโครงการทีบ่ กุ เบิกในทำเลใหม่ เพือ่ รองรับการขยายตัวของทีอ่ ยู่ อาศัย โดยพิจารณาความเหมาะสมของการเปิดตัวโครงการในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงสถานการณ์ต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบก่อนการตัดสินใจซื้อที่ดิน

26 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


สรุปสภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ปี 2551 และแนวโน้มปี 2552

เนื่องจากสถานการณ์ในปี 2551 ที่มีความผันผวนทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง ส่งผลให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มีภาวะชะลอตัวลงจากปี 2550 ซึ่งเกิด จากปัจจัยต่างๆ ดังนี้ คือ - ภาวะทางการเมืองที่ขาดเสถียรภาพ - เศรษฐกิจเริ่มส่งสัญญาณชะลอตัวตั้งแต่ต้นปี 2551 - ต้นทุนที่ผันผวนอันเนื่องมาจากราคาน้ำมัน - ภาคการเงินที่เริ่มเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ ส่งผลให้ยอดการปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคารเพิ่มสูงขึ้น ด้านการเมืองในปีที่ผ่านมา รัฐบาลค่อนข้างขาดเสถียรภาพจากปัญหาความแตกแยกจนต้องเปลี่ยนรัฐบาลถึง 3 ชุดใน 1 ปี ทำให้นโยบายต่างๆ ขาดความ ต่อเนื่องและหยุดชะงัก ส่งผลต่อความเชื่อมั่นด้านการลงทุนในประเทศไทยและการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการปิดสนามบินสุวรรณภูมิ ทำให้สูญเสียรายได้นับแสนล้าน ซึ่ง จะส่งผลต่อเนื่องไปในปี 2552 ในด้านการท่องเที่ยว สำหรับเศรษฐกิจในช่วงครึง่ ปีแรก (1H) เงินเฟ้อมีการปรับตัวสูงขึน้ อย่างมากจากปัญหาราคาน้ำมัน ซึง่ สูงสุดอยูท่ รี่ ะดับ 9.6 ในเดือนกรกฎาคม โดยเป็นตัวเลข ทีส่ งู สุดในรอบ 10 ปี ส่วนอัตราดอกเบีย้ ทีม่ แี นวโน้มสูงขึน้ ในช่วงต้นปี เนือ่ งจากนโยบายในการรักษาระดับอัตราเงินเฟ้อ ทำให้มสี ญั ญาณของหนีท้ ไี่ ม่กอ่ ให้เกิดรายได้ (NPL) ที่สูงขึ้นในระบบ ส่งผลให้สถาบันการเงินระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อมากขึ้น และเพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจ รัฐบาลจึงได้ออกมาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ เพื่อผลักดันเศรษฐกิจในภาพรวม แต่เนือ่ งจากภาวะราคาน้ำมันทีม่ คี วามผันผวนอย่างมากรวมถึงการเมืองทีข่ าดเสถียรภาพ ทำให้สถานการณ์โดยรวมไม่เป็นไปตามทิศทาง ที่กำหนดไว้ สำหรับในครึ่งปีหลัง วิกฤติการณ์ซับไพร์มในสหรัฐส่งผลกระทบรุนแรงมากขึ้นไปทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่ระบบเศรษฐกิจของไทยเอง โดยผลกระทบทางตรงที่ เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือการส่งออกและท่องเที่ยว ทำให้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับร้อยละ 9.30 ในเดือนธันวาคม โดยเป็นตัวเลขที่ต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ในรอบ 10 ปี ผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจซื้ออย่างเห็นได้ชัด และสถาบันการเงินได้เพิ่มความเข้มงวดมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้อัตราการปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคารของตลาดโดยรวม ทั้งปีอยู่ที่ประมาณร้อยละ 20 - 30 อย่างไรก็ตาม บริษัทได้มีการเตรียมความพร้อมรับมือล่วงหน้ามาโดยตลอด โดยการร่วมมือกับสถาบันการเงินบริหารจัดการเครดิต ของลูกค้าตั้งแต่วันแรกที่ทำสัญญาจะซื้อจะขาย ส่งผลให้บริษัทมีอัตราการปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคารเพียงร้อยละ 10 ด้านต้นทุน จากราคาน้ำมันทีม่ กี ารปรับเพิม่ ขึน้ สูงสุดเป็นประวัตกิ ารณ์ โดยในช่วงครึง่ ปีแรก (1H) ราคาน้ำมันพุง่ ขึน้ สูงถึงประมาณ 150 ดอลลาร์ / บาร์เรล (ที่มา : Nymex Crude Oil Future) เนื่องจากการอ่อนค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐทำให้เกิดการเก็งกำไรในราคาน้ำมัน ส่งผลต่อความต้องการใช้น้ำมันทั่วโลกที่ปรับตัว เพิ่มขึ้น และการลดกำลังการผลิตน้ำมันของกลุ่มโอเปค แต่ในช่วงครึ่งปีหลัง (2H) ที่ภาวะเศรษฐกิจโลกชะลอตัวลง ทำให้ความต้องการน้ำมัน รวมทั้งการเก็งกำไรลด ลง ราคาน้ำมันในช่วงครึ่งปีหลัง (2H) จึงมีการปรับตัวลดลงอย่างมาก ส่งผลให้เกิดความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้าง โดยในช่วงครึ่งปีแรก (1H) ราคาวัสดุก่อสร้างได้ ปรับตัวขึ้นอย่างรุนแรงมากที่สุด โดยดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างอยู่ที่ 177 (ปี 2543 = 100) หรือปรับขึ้นประมาณร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับปี 2550 ซึ่งเป็นผลมาจากราคา ผลิตภัณฑ์เหล็กที่มีการปรับขึ้นอย่างรุนแรงและสูงมากที่สุดในเดือนกรกฎาคม โดยมีดัชนีอยู่ที่ 309.90 และเพื่อแก้ปัญหาเรื่องต้นทุน ผู้ประกอบการหลายรายจึงมีการ สั่งซื้อวัสดุล่วงหน้าโดยเฉพาะเหล็กเส้น เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบมากนักสำหรับโครงการที่ได้เปิดขายแล้วและไม่สามารถปรับราคาขายตามต้นทุนได้ ความผันผวนของ ต้นทุนเมือ่ กลางปีทผี่ า่ นมาถือเป็นอีกปัจจัยหนึง่ ทีท่ ำให้บริษทั ตัดสินใจชะลอการเปิดตัวโครงการ เพือ่ รอทิศทางของต้นทุนทีช่ ดั เจนมากขึน้ สำหรับในช่วงปลายปี สืบเนือ่ งจาก ราคาวัสดุก่อสร้างที่ได้ปรับตัวลดลง รวมถึงภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว ทำให้ดัชนีวัสดุก่อสร้างลดลงเหลือ 140.30 ซึ่งใกล้เคียงกับในปีที่ผ่านมา สภาพการแข่งขันในอุตสาหกรรม ในปี 2551 มีการเปิดตัวที่อยู่อาศัยทั้งหมดประมาณ 70,000 ยูนิต ลดลงจากปีที่แล้วประมาณร้อยละ 30 โดยเมื่อพิจารณาเฉพาะอาคารชุดพักอาศัยนั้น มี การเปิดตัวประมาณ 33,000 ยูนิต ลดลงร้อยละ 45 จากปี 2550 โดยในปี 2551 การเปิดตัวที่พักอาศัยได้ลดลงตั้งแต่ต้นปี เนื่องจากมีความกังวลเรื่องอุปทานล้นตลาด จากปี 2550 ที่มีการเปิดตัวเป็นจำนวนมากถึงเกือบ 60,000 ยูนิต โดยเฉพาะบริเวณแนวรถไฟฟ้า เช่น สุขุมวิท รัชดา และลาดพร้าว ซึ่งในหลายบริเวณยังขาด อุปทานอยู่ จากการที่ไม่มีผู้ประกอบการเข้าไปพัฒนา ความกังวลดังกล่าวทำให้บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บางแห่งได้เปิดตัวอาคารชุดพักอาศัยลดลง หรือเปลี่ยน เป็นการพัฒนาที่อยู่อาศัยแนวราบมากขึ้น เนื่องจากการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยเป็นการพัฒนาโครงการที่มีขนาดใหญ่ การลงทุนสูง มีผลทำให้อุปทานในภาพรวมของ ตลาดลดลงจากปีที่ผ่านมา ประกอบกับภาวะความไม่ชัดเจนทางเศรษฐกิจและการเมืองทำให้ในครึ่งปีหลังอาคารชุดพักอาศัยมีการปรับตัวลดลงร้อยละ 30 เมื่อเทียบกับ ครึ่งปีแรก อย่างไรก็ตาม สัดส่วนอาคารชุดพักอาศัยยังคงมีสัดส่วนสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับที่อยู่อาศัยประเภทอื่น โดยมีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ที่ร้อยละ 48

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 27


อัตราการเติบโตของอาคารชุดพักอาศัยที่มีการเปิดตัวใหม่ ยูนิต % 300% 70,000 250% 60,000 200% 50,000 178% 150% 40,000 100% 30,000 50% 20,000 51% 0% -45% 10,000 -50% -62% 9,733 3,501 3,744 -100% 0 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 LPN Others การเติบโต LPN การเติบโตรวม ส่วนแบ่งการตลาด (ตามการเปิดตัวอาคารชุด) % 100% 80% 73% 55% 60% 64% 40% 28% 20% 21% 12% 8% 8% 11% 9% 0% 6% 4% ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 A+ (> 5 ) ล้านบาท A (3 - 5 ) ล้านบาท B (1 - 3 ) ล้านบาท C (< 1 ) ล้านบาท ด้านสัดส่วนอาคารชุดพักอาศัยที่มีการเปิดตัวใหม่ในปี 2551 พบว่า อาคารชุดพักอาศัยระดับ B มีสัดส่วนสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 73 รองลงมาเป็นระดับ A และ C สำหรับกลุ่มที่น้อยที่สุด คือ ระดับ A+ โดยอาคารชุดพักอาศัยส่วนใหญ่ยังคงเปิดตัวตามแนวรถไฟฟ้าทั้งโครงการปัจจุบันและโครงการในอนาคต ซึ่งทำเลที่มีการ พัฒนาอาคารชุดพักอาศัยมากที่สุด ได้แก่ บริเวณสุขุมวิท รัชดา-พระราม 9 พหลโยธิน ลาดพร้าว และกรุงธนบุรี โดยคิดเป็นร้อยละ 60 ของจำนวนโครงการที่มีการ เปิดตัวทั้งหมด สำหรับภาพรวมของราคาอาคารชุดพักอาศัยได้ปรับตัวขึ้นจากปีก่อนประมาณร้อยละ 10 ทั้งนี้ เนื่องมาจากราคาต้นทุนที่ปรับตัวสูงขึ้นในช่วงครึ่งปีแรก ของปี 2551 โดยบริษัทมีส่วนแบ่งการตลาดอยู่ที่ร้อยละ 11

28 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


สถิติการเปิดตัวอาคารชุดพักอาศัย ปี 2547-2551 จำนวนโครงการเปิดตัวใหม่ ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 กรุงเทพและ ยูนิต 15,040* 17,438* 39,489 59,496 32,979 ปริมณฑล โครงการ N.A. N.A. 82 121 92 LPN ยูนิต 4,287 3,680 3,501 9,733 3,744 โครงการ 7 4 4 6 4 ส่วนแบ่งการตลาด 29% 21% 9% 16% 11% หมายเหตุ : * ข้อมูลปี 2547-2548 จาก AREA ข้อมูลปี 2549-2551 จากฝ่ายวิจัยและพัฒนา บมจ.แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ สำหรับการจดทะเบียนอาคารชุดในปี 2551 มีจำนวนประมาณ 26,124 หน่วย หากแบ่งตามระดับราคาอาคารชุดพักอาศัยระดับ A+ มีจำนวนจดทะเบียน รวมทั้งสิ้น 1,250 หน่วย หรือร้อยละ 5 ระดับ A จดทะเบียนรวมทั้งสิ้น 2,092 หน่วย หรือร้อยละ 8 ส่วนอาคารชุดพักอาศัยระดับ B จดทะเบียนทั้งสิ้น 14,518 หน่วย หรือร้อยละ 55 และอาคารชุดพักอาศัยระดับ C จดทะเบียนทั้งสิ้น 8,264 หน่วย หรือร้อยละ 32 โดยภาพรวมทั้งหมดมีการเติบโตร้อยละ 61 ซึ่งบริษัทมีการ เติบโตถึงร้อยละ 163 และมีส่วนแบ่งการตลาดสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 31 หรือประมาณ 8,009 หน่วย สถิติการจดทะเบียนอาคารชุดพักอาศัย ปี 2546-2551 อาคารชุดพักอาศัยจดทะเบียน ปี 2546 ปี 2547 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 กรุงเทพและ ยูนิต 5,423 7,567 11,617 14,807 16,222 26,124 ปริมณฑล โครงการ 28 43 59 56 59 86 LPN ยูนิต 1,596 1,176 2,389 3,333 3,050 8,009 โครงการ 5 5 4 4 3 6 ส่วนแบ่งการตลาด 29% 16% 21% 23% 19% 31% หมายเหตุ : ไม่รวมการเคหะแห่งชาติ อัตราการเติบโตของการจดทะเบียนอาคารชุดพักอาศัย

ยูนิต 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

4% -6% 1,596 2546

40% -26%

1,176

2547

103% 54%

2,389

2548

40% 27%

3,333

2549

10% -8% 3,050 2550

163% 61%

% 200 100 0 -100 -200

8,009

2551

-300

การเติบโตรวม การเติบโต LPN LPN Others ในปี 2551 ยอดขายอาคารชุดพักอาศัยมีจำนวนรวมประมาณ 30,000 ยูนิต ลดลงจากปีที่แล้วประมาณร้อยละ 30 แต่สำหรับบริษัทกลับมียอดขายที่เติบโต ขึน้ จากปีทแี่ ล้วโดยมีมลู ค่ารวมทัง้ หมด 9,000 ล้านบาท โดยมาจากโครงการหลักทีเ่ ปิดตัวในปี 2551 ได้แก่ โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 26 ลุมพินี สวีท พระราม 8 ลุมพินี เพลส พระราม 8 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา และลุมพินี วิลล์ บางแค ซึ่งทุกโครงการมียอดขายเป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ท่ามกลางปัจจัยภายนอกที่ ไม่เอื้ออำนวย ทั้งนี้ เนื่องมาจากการพัฒนาโครงการของบริษัทนั้นจะพัฒนาในทำเลที่มีคู่แข่งไม่มากนัก โดยส่วนใหญ่บริษัทจะเป็นผู้บุกเบิกทำเลใหม่ๆ โดยล่าสุดคือ โครงการลุมพินี วิลล์ บางแค ซึ่งได้รับการตอบรับที่ดีมากจนทำให้สามารถปิดการขายได้ภายใน 3 ชั่วโมง

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 29


สรุปภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ปี 2551 ภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์โดยรวมในปี 2551 มีภาวะชะลอตัวลงจากปี 2550 เนื่องจากปัจจัยลบในด้านต่างๆ ตั้งแต่สถานการณ์ทางการเมืองที่ยังขาด เสถียรภาพ ทำให้เกิดความขัดแย้งภายในประเทศ รวมถึงในช่วงครึ่งปีแรก (1H) ที่ได้รับผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นเนื่องจากราคาน้ำมัน ทำให้ราคา วัสดุกอ่ สร้างมีการปรับตัวเพิม่ ขึน้ ด้วยเช่นกัน อีกทัง้ ด้วยวิกฤติการณ์ซบั ไพร์มในสหรัฐฯ ทีส่ ง่ ผลให้เกิดการปิดตัวลงของสถาบันการเงินขนาดใหญ่ และเกิดปัญหาการว่างงาน ที่มีผลกระทบในมุมกว้างและรุนแรงไปทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยด้วย โดยผลกระทบทางตรงที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือการทำให้ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ในระดับต่ำ สุดในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ด้วยปัจจัยต่างๆ โดยเฉพาะความผันผวนของต้นทุน ทำให้บริษัทตัดสินใจชะลอโครงการในช่วงกลางปีที่ผ่านมา และถึงแม้ว่าในช่วงครึ่งปีหลัง (2H) อัตราเงินเฟ้อจะลดลงอันมีสาเหตุจากราคาน้ำมันและราคาวัสดุก่อสร้างลดลง เศรษฐกิจโดยรวมก็ยังคงอยู่ในภาวะชะลอตัว เมือ่ มองในภาพรวมตลาดอสังหาริมทรัพย์ปี 2551 แม้วา่ จะมีการชะลอการเปิดตัวโครงการ แต่การเปิดตัวอาคารชุดพักอาศัยยังคงมีสดั ส่วนสูงสุดเมือ่ เปรียบเทียบ กับทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภทอืน่ โดยมีสว่ นแบ่งการตลาดอยูท่ รี่ อ้ ยละ 48 จากอาคารชุดพักอาศัยทีม่ กี ารเปิดตัวทัง้ หมดประมาณ 33,000 ยูนติ จากประมาณ 92 โครงการ ซึง่ ส่วนใหญ่มรี าคาขายอยูใ่ นช่วง 1 - 3 ล้าน โดยตลาดอาคารชุดพักอาศัยได้ชะลอการเปิดตัวโครงการใหม่ตงั้ แต่ตน้ ปี 2551 เนือ่ งจากมีความกังวลเรือ่ งอุปทานล้นตลาดจากปี 2550 ทำให้บางบริษัทที่ประกอบธุรกิจประเภทนี้เปิดตัวอาคารชุดพักอาศัยลดลง หรือเปลี่ยนเป็นการพัฒนาเป็นที่อยู่อาศัยแนวราบมากขึ้น มีผลทำให้อปุ ทานในภาพ รวมของตลาดลดลงจากปีทผี่ า่ นมาประมาณร้อยละ 45 สำหรับด้านอุปสงค์ ผูบ้ ริโภคได้ชะลอการตัดสินใจซือ้ เพราะไม่มนั่ ใจในภาวะเศรษฐกิจและการเมือง ซึง่ ในส่วนของ บริษทั ได้รบั ผลกระทบจากปัจจัยทัง้ หมดเพียงเล็กน้อย เนือ่ งจากกลุม่ ลูกค้าของบริษทั เป็นกลุม่ คนทีม่ คี วามต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยอย่างแท้จริงและมีจำนวนมาก ทำให้รายได้ของ บริษัทยังคงเติบโตจากปีที่ผ่านมา สำหรับยอดการปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคาร บริษัทมียอดปฏิเสธสินเชื่อต่ำกว่าร้อยละ 10 ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ต่ำเมื่อเทียบกับภาพ รวมของตลาดทีม่ ปี ระมาณร้อยละ 20 - 30 เนือ่ งจากบริษทั มีการบริหารจัดการร่วมกับสถาบันการเงินและลูกค้าตัง้ แต่วนั แรกทีม่ กี ารจองซือ้ ด้านภาพรวมการโอนกรรมสิทธิ์ อาคารชุดพักอาศัยในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ปี 2551 นั้น ยังไม่ได้รับผลกระทบ ซึ่งยอดโอนทั้งตลาดเติบโตขึ้นประมาณร้อยละ 60 จากปีที่ผ่านมา แนวโน้มภาวะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ปี 2552 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในปี 2552 คาดว่ามีแนวโน้มชะลอตัว เนื่องจากปัจจัยลบด้านเศรษฐกิจและการเมือง ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ โดยปัญหาที่ ชัดเจนและหลายฝ่ายกังวล ได้แก่ ปัญหาวิกฤติการณ์ซบั ไพร์มทีไ่ ด้ขยายตัวจนเป็นปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจโลกซึง่ ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง โดยประเทศไทยได้รบั ผลกระทบ หลักในด้านการส่งออกและการท่องเที่ยว จนอาจส่งผลทำให้แนวโน้มการว่างงานเพิ่มสูงขึ้น ด้านราคาน้ำมัน ถือเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อต้นทุนของภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งในปี 2551 ที่ผ่านมามีความผันผวนอย่างมาก และมีแนวโน้มว่า ราคาน้ำมันจะยังคงผันผวนต่อไปในปี 2552 แต่อยู่ในระดับที่สูงขึ้นจากปลายปี 2551 ไม่มากนัก เนื่องจากสาเหตุความไม่สงบในตะวันออกกลาง ซึ่งคาดว่าคงไม่รุนแรง ดังเช่นปีที่ผ่านมา ด้านการปล่อยสินเชือ่ ของธนาคาร มีแนวโน้มว่าจะมีความเข้มงวดมากขึน้ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปจั จัยบวกด้านดอกเบีย้ ทีล่ ดลง ส่งผลให้ผบู้ ริโภคมีความสามารถ ในการผ่อนชำระหนีม้ ากขึน้ ส่วนแนวทางของบริษทั ได้มกี ารขยายผลจากกลยุทธ์ทเี่ ริม่ ใช้เมือ่ 2 ปีทผี่ า่ นมา โดยจัดตัง้ หน่วยงานด้านบริหารเครดิตของลูกค้าตัง้ แต่เริม่ ต้น เพื่อลดปัญหาด้านการปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคารอย่างถาวร รวมทั้งมาตรการของรัฐบาลที่คาดว่าจะเพิ่มอำนาจซื้อให้กับประชาชนในการกระตุ้นเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็น การเพิม่ เงินสดในมือและลดภาระค่าใช้จา่ ยให้กบั ประชาชน รวมทัง้ มาตรการกระตุน้ อสังหาริมทรัพย์ ไม่วา่ จะเป็นด้านภาษี โดยการหักลดหย่อนดอกเบีย้ บ้านได้ 100,000.00 บาทต่อปี หรือการให้ค่าลดหย่อนจากเงินต้น 300,000.00 บาท สำหรับผู้ที่ซื้อบ้านหลังแรกและโอนกรรมสิทธิ์ในปี 2551 รวมทั้งการต่ออายุมาตรการลดค่าธรรมเนียม การโอน การจดจำนอง และภาษีธุรกิจเฉพาะ ทิศทางของตลาดในปี 2552 ในช่วงต้นปี 2552 ภาวะตลาดโดยรวมมีแนวโน้มชะลอการเปิดตัวโครงการ เนือ่ งจากผูป้ ระกอบการต่างรอดูความชัดเจนของสถานการณ์เศรษฐกิจและการเมือง ซึง่ ในช่วงครึง่ ปีหลังสถานการณ์นา่ จะชัดเจนมากขึน้ ทัง้ ภายนอกและภายในประเทศ และเริม่ เห็นผลจากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาล ทำให้ผปู้ ระกอบการหันกลับมา เปิดตัวโครงการใหม่เพิม่ ขึน้ อีกครัง้ แม้จะมีจำนวนไม่สงู นัก แต่ภาวะการแข่งขันในอสังหาริมทรัพย์ยงั คงมีอยูส่ งู เนือ่ งจากภาวะโดยรวมได้สง่ ผลด้านจิตวิทยาต่อผูบ้ ริโภค ทำให้เกิดการชะลอการตัดสินใจซือ้ นอกจากการวางแผนและปรับปรุงกระบวนการทำงานเพือ่ รับมือกับวิกฤติเศรษฐกิจ ผูป้ ระกอบการยังจำเป็นต้องงัดกลยุทธ์การตลาดและ การแข่งขันในด้านโปรโมชัน่ เพือ่ ระบายสต๊อกสินค้าทีม่ อี ยูใ่ นมือ โดยเฉพาะในทำเลทีม่ กี ารแข่งขันสูง เช่น ทำเลทีอ่ ยูต่ ดิ กับสถานีขนส่งมวลชน และอาจมีแผนขยายการพัฒนา โครงการสู่ต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ รวมถึงการขยายธุรกิจไปยังรูปแบบอื่น เช่น การรับสร้างบ้าน การทำเซอร์วิส อพาร์ทเม้นท์ หรือโรงแรม เป็นต้น สำหรับบริษัท เองในช่วงครึ่งปีแรกมีแผนเปิดตัวโครงการใหม่ 3 - 4 โครงการ เนื่องมาจากความพร้อมในทุกด้าน โดยมีการปรับแผนเพื่อรับกับภาวะวิกฤติตั้งแต่ช่วงกลางปีที่ผ่านมา และเริม่ ปรับทิศทางการพัฒนาเป็นโครงการขนาดเล็กเพือ่ การก่อสร้างทีร่ วดเร็วและเพือ่ ให้ได้รบั ประโยชน์จากมาตรการของภาครัฐอย่างเต็มที่ อีกทัง้ เป็นการลดความเสีย่ งต่อ ตัวโครงการเอง จากประสบการณ์ของบริษทั ในปี 2540 ทีผ่ า่ นมา บริษทั เชือ่ ว่าแม้ในภาวะวิกฤติ ความต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยอย่างแท้จริงยังคงมีอยูเ่ ป็นจำนวนมาก ดังนัน้ ในปี 2552 บริษัทจึงกำหนดทิศทางในการเปิดตัวโครงการในทำเลที่บริษัทมีฐานลูกค้าอยู่ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยระดับกลางถึงกลาง - ล่าง ซึ่งกลุ่มลูกค้า ดังกล่าวเป็นฐานลูกค้าที่สำคัญที่ช่วยให้บริษัทผ่านพ้นวิกฤติในปี 2540 มาแล้ว จากข้อมูลทีฝ่ า่ ยวิจยั และพัฒนาของบริษทั รวบรวมไว้ คาดว่าในปี 2552 นี้ จะมีอาคารชุดสร้างเสร็จและจดทะเบียนประมาณ 30,000 - 35,000 หน่วย ซึง่ เติบโตจากปี 2551 ประมาณร้อยละ 35 เป็นผลมาจากการเปิดตัวอาคารชุดพักอาศัยในปี 2550 จำนวนมาก แม้ในภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว แต่ภาคอสังหาริมทรัพย์ซงึ่ ถือเป็นหัวจักรสำคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจน่าจะยังมีทศิ ทางทีด่ ี โดยเฉพาะกลุม่ ผูท้ มี่ คี วามต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยอย่างแท้จริงจะเป็นกลุม่ ผูซ้ อื้ หลักในปี 2552 ซึง่ ถือเป็น โอกาสดีของผู้ที่ต้องการซื้อบ้านในปี 2552 นี้ และด้วยประสบการณ์ในการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย บวกกับความสามารถในการควบคุมต้นทุนและสภาพคล่องที่บริษัท เตรียมการไว้ตั้งแต่ปีที่ผ่านมา จึงทำให้บริษัทยังคงเป็นองค์กรที่มีพื้นฐานแข็งแกร่งและมีแนวโน้มการเติบโตที่ดีต่อไป

30 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


ปัจจัยเสี่ยง

บริษทั ได้มกี ารประเมินความเสีย่ งในการประกอบธุรกิจมาอย่างต่อเนือ่ งและถือเป็นหนึง่ ในปัจจัยหลักในการกำหนดกลยุทธ์และแผนธุรกิจในแต่ละปี โดยมีการติดตามและ ควบคุมความเสี่ยงอยู่อย่างสม่ำเสมอเพื่อให้เป็นไปตามทิศทางและนโยบายที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลักต่างๆ ดังนี้ - การระบุความเสี่ยง เป็นขั้นตอนการบ่งชี้ถึงความเสี่ยงและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปแต่ละช่วงเวลา ตลอดจนมีการคาดการณ์ความ เสี่ยงใหม่ๆ ที่มีโอกาสจะเกิดขึ้นในอนาคต จากพื้นฐานของข้อมูลทั้งภายในและภายนอก - การประเมินความเสีย่ ง เป็นขัน้ ตอนทีจ่ ะนำวิธกี ารต่างๆ ทีเ่ หมาะสมมาใช้ประเมินความเสีย่ ง ซึง่ กระบวนการดังกล่าวเน้นความมีสว่ นร่วมของคณะผูบ้ ริหาร เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพและครอบคลุมความเสีย่ งทัง้ หมดทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยความเสีย่ งและการบริหารความเสีย่ งทัง้ หมดจะต้องได้รบั การอนุมตั จิ าก คณะกรรมการบริษัท - การติดตามและควบคุมความเสี่ยง เป็นขั้นตอนที่มีการติดตามและควบคุมการดำเนินการตามที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเป็นประจำใน ทุกไตรมาส หากมีความเสีย่ งใหม่ๆ ทีม่ ไิ ด้คาดการณ์ไว้อาจจำเป็นต้องทบทวนการบริหารความเสีย่ งใหม่ทงั้ หมด หรือความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ มีแนวโน้ม ที่จะกระทบกับการดำเนินธุรกิจอย่างรุนแรง อาจต้องทบทวนแผนธุรกิจใหม่ทั้งหมดพร้อมนำเสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาอนุมัติ ดังเช่น ในปี ที่ผ่านมาที่มีภาวะความผันผวนทางด้านต้นทุนสูง โดยเฉพาะราคาเหล็กที่ปรับตัวขึ้นสูงสุดในช่วงกลางปี และปรับลดลงต่ำสุดในช่วงปลายปีอันเกิด จากความผันผวนของราคาน้ำมันและวิกฤติในภาคการเงิน อันเกิดจากปัญหาสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพ (SUBPRIME) ที่มีแนวโน้ม ลุกลามไปทัว่ โลก ซึง่ จนถึงปัจจุบนั ยังไม่มที า่ ทีวา่ จะยุตหิ รือเห็นทิศทางและผลกระทบทีช่ ดั เจน บริษทั จึงตัดสินใจปรับแผนธุรกิจในช่วงกลางปีทผี่ า่ นมา โดยชะลอการเปิดตัวโครงการใหม่เพือ่ รอดูสถานการณ์ตา่ งๆ ให้ชดั เจนขึน้ พร้อมกับปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการและบุคลากรรวมถึงการ บริหารจัดการภายในองค์กรเพื่อรองรับสภาวะวิกฤติที่มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในช่วงนั้น สำหรับปี 2552 บริษัทได้กำหนดการบริหารความเสี่ยงออกเป็น 4 ด้าน โดยแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ • ระดับสถานการณ์ปกติในวงจรขาลง (Base Case Scenario) อันหมายถึงภาวะตลาดทีค่ วามต้องการทีอ่ ยูอ่ าศัยยังคงมีอยู่ โดยกลุม่ เป้าหมายหลักคือ ผูม้ รี ายได้ระดับปานกลางทีย่ งั พอมีกำลังซือ้ แต่ตอ้ งการความเชือ่ มัน่ ทัง้ ในด้านราคา คุณภาพ และชือ่ เสียงของผูป้ ระกอบการ นอกจากนี้ สถาบันการเงิน ยังอยู่ในภาวะเข้มแข็งแต่มีความเข้มงวดในการปล่อยสินเชื่อ ทั้งสินเชื่อโครงการและสินเชื่อรายย่อย • ระดับสถานการณ์เลวร้าย (Worse Case Scenario) อันหมายถึงภาวะทีเ่ ศรษฐกิจของประเทศมีปญั หาเข้าขัน้ วิกฤติ มีการปิดตัวของสถาบันการเงิน เช่นในปี 2540 ส่งผลให้ความเชื่อมั่นถดถอยทั้งระบบ ซึ่งภาวะดังกล่าวกิจกรรมทางการตลาดเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการที่จะก่อให้เกิดการขายและ การรับรู้รายได้ของบริษัท โดยบริษัทได้เตรียมแผนธุรกิจและการบริหารความเสี่ยงรองรับไว้แล้วทั้งสองระดับ การบริหารความเสี่ยงในสภาวะวิกฤติของบริษัท บริษัทได้ให้ความสำคัญกับการบริหารความเสี่ยง โดยเฉพาะในสภาวะวิกฤติที่อาจเกิดขึ้นอย่างรุนแรง โดยได้กำหนดความเสี่ยง (Risk Assessment) และ กลยุทธ์ในการจัดการความเสีย่ งซึง่ สอดคล้องกับสภาวะวิกฤติทอี่ าจส่งผลกระทบต่อกลยุทธ์และเป้าหมายธุรกิจของบริษทั ในการบริหารความเสีย่ งในปี 2552 นี้ ทางบริษทั ได้ กำหนดความเสี่ยงและแนวทางในการบริหารจัดการ โดยแบ่งความเสี่ยงออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1. ความเสีย่ งด้านการเงิน (Financial Risk ) ในสภาวะวิกฤติ ความเสีย่ งด้านการเงินจะมีผลกระทบต่อการทำธุรกิจอย่างสูง จึงได้กำหนดความเสีย่ ง ด้านการ เงินที่สำคัญและแนวทางการจัดการ ดังนี้ - สภาพคล่องทางการเงินของบริษัท บริษัทได้กำหนดแนวทางในการจัดการความเสี่ยงด้านนี้ 3 แนวทาง ได้แก่ ขยายแหล่งที่มาของเงินทุน โดย การเพิ่มเครื่องมือในการระดมทุน เพิ่มสภาพคล่อง (กระแสเงินสด) ของบริษัท โดยสภาวะปกติบริษัทกำหนดให้มกี ระแสเงินสดทีไ่ ม่มภี าระผูกพัน เป็นจำนวนทีเ่ หมาะสมตลอดเวลา ในขณะทีป่ จั จัยความเสีย่ งด้านสภาพคล่องของบริษทั มีแนวโน้มสูงขึ้น จึงกำหนดให้เพิ่มกระแสเงินสดในบริษัทไม่ ต่ำกว่า 1,000 ล้านบาท เพื่อให้มั่นใจว่าจะสามารถดำเนินงานก่อสร้างโครงการต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาให้แล้วเสร็จได้ด้วยกระแสเงินสด ของบริษัทเอง ลดสินค้าคงเหลือ - บริษทั มีสนิ ค้าคงเหลือจากการขายโครงการในปี 2551 มีมลู ค่าประมาณ 1,400 ล้านบาทซึง่ บริษทั ได้กำหนดกลยุทธ์การตลาดและการส่งเสริมการ ขายในการขายสินค้าคงเหลือเหล่านี้ให้หมดภายใน 3 เดือน เพื่อเป็นการเพิ่มสภาพคล่อง - นโยบายเข้มงวดในการปล่อยสินเชือ่ รายย่อยของสถาบันการเงิน บริษทั ได้ปรับปรุงกระบวนการพิจารณาเครดิตของลูกค้าทีป่ ระสงค์จะขอสินเชื่อจาก สถาบันการเงินให้รดั กุมตัง้ แต่ชว่ งทีเ่ ข้ามาซือ้ โครงการไปจนกระทัง่ ช่วงยืน่ ขอสินเชือ่ กับสถาบันการเงิน โดยการร่วมมือในการติดตามการผ่อนชำระ เงินดาวน์กับสถาบันการเงิน เพื่อพิจารณาเครดิตและความสามารถในการผ่อนชำระเงินกู้ของสถาบันการเงิน 2. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) จากประสบการณ์ด้านการดำเนินธุรกิจในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ที่ผ่านมา ความเสี่ยงที่มีผลต่อกลยุทธ์ของ บริษทั ได้แก่ ความเชือ่ มัน่ ของตลาด ซึง่ มีผลกระทบต่อยอดขายโดยตรง ในปี 2552 บริษทั จึงได้กำหนดความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ประการเดียว ได้แก่ การสร้าง ความเชื่อมั่นที่มีต่อองค์กร ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อมั่นของตลาด ลูกค้า ผู้มีส่วนได้เสีย โดยเฉพาะความเชื่อมั่นในกลยุทธ์ที่กำหนดขึ้นในสภาวะวิกฤติ โดยมี แนวทางในการจัดการ ดังนี้

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 31


- ใช้กลยุทธ์ดา้ นราคาในการเพิม่ ยอดขายลดค่าใช้จา่ ยและต้นทุน โดยเฉพาะพิจารณาต้นทุนแฝง การเปิดตัวโครงการใหม่ ให้พจิ ารณาเลือกทำเลทีม่ ฐี าน ลูกค้าเดิมก่อนลดขนาดของโครงการทีเ่ ปิดตัวใหม่ลงเพิม่ ความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ “ตราผลิตภัณฑ์” หรือ “แบรนด์” ปรับปรุงกลยุทธ์การ บริหารจัดการลูกค้ากำหนดกลยุทธ์ที่รับสภาวะเลวร้าย 3. ความเสี่ยงด้านสภาวะแวดล้อมธุรกิจ (Business Environment Risk) ปัจจุบัน ข้อเรียกร้องในสิทธิทางสังคม (Social Rights) เริ่มขยายตัวไปในทุก ธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในกลุ่มที่พัฒนาโครงการขนาดใหญ่ในทำเลที่มีความหนาแน่นสูง ใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างนาน จึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ ในการส่งผลกระทบต่อชุมชนทีอ่ ยูร่ อบข้าง โดยเฉพาะมลภาวะทีเ่ กิดจากโครงการนโยบายของบริษทั ได้ให้ความสำคัญต่อความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคม โดยถือเป็นมิติหนึ่งในกลยุทธ์การบริหารจัดการ ขณะเดียวกันก็ยังมีความเสี่ยงในด้านนี้และอาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัทได้ จึงได้กำหนด ข้อเรียกร้องในสิทธิทางสังคม (Social Rights) เป็นความเสี่ยงและกำหนดแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน ดังนี้ - ให้ความสำคัญกับกระบวนการจัดซื้อที่ดิน เพื่อประเมินความเสี่ยงและผลกระทบต่อชุมชนรอบข้าง - จัดทีมบุคลากรที่เป็นผู้บริหารระดับสูงของบริษัทดำเนินกิจกรรมสัมพันธ์กับชุมชนบริเวณ รอบข้าง 4. ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operation Risk) ในภาวะปัจจุบันซึ่งอยู่ในช่วงเศรษฐกิจขาลง ประสิทธิภาพของการดำเนินงานมีส่วนสำคัญที่ทำให้บริษัท สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนือ่ ง ไม่วา่ จะเป็นการบริหารงานขายและการตลาด การบริหารงานก่อสร้าง และการบริหารชุมชน หากการบริหารทัง้ 3 ส่วน ขาดประสิทธิภาพ อาจทำให้การประกอบธุรกิจของบริษัทไม่ประสบความสำเร็จตามแผนงานที่วางไว้ บริษัทจึงกำหนดบทบาทและเพิ่มความเข้มข้นในการ บริหารจัดการ ดังนี้ • การบริหารงานขายและการตลาด คงไว้ซึ่งค่าใช้จ่ายทางด้านการตลาด เพื่อกระตุ้นให้เกิดการตัดสินใจซื้อ โดยบริษัทกำหนดค่าใช้จ่ายทางการตลาดที่อัตราร้อยละ 1 ของรายได้รวม จากการประมาณการเบือ้ งต้น ในการจัดทำแผนธุรกิจ บริษทั ได้ตงั้ เป้ายอดขายไว้ประมาณ 10,000 ล้านบาท คิดเป็นค่าใช้จา่ ยทางการตลาด 100 ล้านบาท อย่างไรก็ตาม บริษัทยังคงคำนึงถึงความสมดุลในการดำเนินงานท่ามกลางสภาพแวดล้อมที่อาจเปลี่ยนแปลงไป โดยพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนแผนอยู่ ตลอดเวลา • การบริหารงานก่อสร้าง สำหรับในปี 2552 บริษัทกำหนดให้สายงานบริหารงานก่อสร้างเพิ่มความเข้มข้นด้านการบริหารงานใน 2 ส่วนที่สำคัญ ได้แก่ การบริหารต้นทุน และการบริหารระยะเวลาการก่อสร้าง โดยกำหนดให้ดำเนินงานสำหรับโครงการที่อยู่ระหว่างก่อสร้างดังนี้คือ ให้ลดต้นทุนค่าก่อสร้างโดยเฉพาะ ต้นทุนแฝงอย่างน้อยร้อยละ 1 และปรับแผนการแล้วเสร็จของโครงการให้เร็วขึ้นอย่างน้อย 30 วัน ซึ่งทั้ง 2 ส่วนถูกบรรจุในแผนการดำเนินงาน เพื่อติดตามและตรวจสอบอยู่ตลอดเวลา จากแผนงานดังกล่าวส่งเป็นแรงผลักดันให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานต้องปรับเปลี่ยนวิธีคิดและการ ดำเนินงานใหม่ทั้งหมด อันจะนำไปสู่การเติบโดโตอย่างยั่งยืนและมีภูมิคุ้มกันในระยะยาว การบริหารชุมชน ความรับผิดชอบต่อความเป็นอยู่ของผู้ซื้อในโครงการที่บริษัทพัฒนาหลังการโอนกรรมสิทธิ์ เป็นนโยบายและกลยุทธ์ที่สำคัญของบริษัท โดยได้ตั้งเป้าหมายการ มีคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน ซึ่งบริษัทได้พัฒนาแนวทางการดำเนินงานในส่วนนี้มาโดยตลอด และนับเป็นจุดแข็งที่สร้างความเชื่อมั่นของลูกค้าต่อบริษัท ในช่วงวิกฤติ เศรษฐกิจบริษทั ได้เพิม่ ความเข้มข้นในการดำเนินงานทุกภาคส่วนตามบทบาทและกลยุทธ์ของสายงาน โดยเฉพาะการบริหารจัดการชุมชนและระบบรักษาความปลอดภัย นอกจากนั้น บริษัทยังได้กำหนดให้ทุกฝ่ายงานปรับปรุงกระบวนการภายใน (Re-Process) และการจัดการระบบการสื่อสารขององค์กรทั้งภายในและภายนอก รวมทั้งการเตรียมพร้อมในการรับมือกับวิกฤติเศรษฐกิจที่อาจทวีความรุนแรงจนส่งผลต่อภาคธุรกิจโดยรวมได้

32 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


สรุปภาพรวมการดำเนินงานในปี 2551 และแนวโน้มปี 2552

ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบริษัทจวบจนถึงปัจจุบัน ซึ่งก้าวเข้าสู่ปีที่ 20 ของการ ดำเนินงาน บริษัทคำนึงถึงความสมดุลของการดำเนินงานในทุกมิติตามแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงควบคูไ่ ปกับหลักธรรมาภิบาล ซึง่ ส่งผลให้บริษทั เติบโตอย่างต่อเนือ่ ง มีความแข็งแกร่งทางด้านการเงินจนเป็นที่ยอมรับในระดับสากล เห็นได้จากในปีที่ ผ่านมา บริษัทได้รับการคัดเลือกจากนิตยสาร Forbes Asia ให้เป็นบริษัทที่มีผล ประกอบการที่โดดเด่นสำหรับบริษัทที่มีรายได้ต่ำกว่า 1,000 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยพิจารณาจากผลการดำเนินงานทีเ่ ติบโตมาอย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ เป็น 1 ใน 7 บริษทั ไทยทีไ่ ด้รบั เลือกในครัง้ นี้ ในอีกมิตหิ นึง่ บริษทั ได้รบั รางวัลประกาศเกียรติคณุ จากสำนักงานคณะกรรมการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี (สคบ.) ในฐานะ “ผูป้ ระกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทดี่ ปี ระจำปี 2550-2551” ซึง่ เป็นโครงการทีส่ ำนักงาน คณะกรรมการคุม้ ครองผู้บริโภคได้จัดขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบธุรกิจ มีจริยธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม สะท้อนให้เห็นถึงการให้ความสำคัญต่อ ลูกค้า ทั้งก่อนและหลังการขาย โดยเฉพาะการบริหารชุมชนซึ่งเป็นการบริการ หลังการขายทีบ่ ริษทั ให้ความสำคัญและถือเป็นจุดแข็งและความแตกต่างจากคูแ่ ข่ง อันจะนำไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน และในปี 2551 เป็นอีกครั้งหนึ่งที่บริษัทได้รับ การจัดอันดับจากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทยให้เป็นบริษัทที่มีการ กำกับดูแลกิจการในระดับดีมาก (4 ตราสัญลักษณ์) เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน ด้าน การดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลทีม่ งุ่ เน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อนักลงทุน ผูถ้ อื หุน้ และบุคคลทั่วไปอย่างโปร่งใสมาโดยตลอด

สำหรับปี 2551 ซึง่ เป็นปีแรกของวิสยั ทัศน์ในระยะที่ 3 โดยระยะแรกปี 2545-2547 บริษัทมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพและประสิทธิภาพเพื่อก้าวขึ้นสู่ผู้นำ ตลาดในการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย ระยะที่ 2 ปี 2548-2550 บริษัทได้มุ่งเน้น การรักษาประสิทธิภาพการดำเนินงานในฐานะผูน้ ำในการพัฒนาอาคารชุดพักอาศัย ซึง่ บริษทั ได้รับการยอมรับจากสาธารณชนอย่างกว้างขวางจนได้รับการกล่าวขาน ให้เป็น “เจ้าพ่อคอนโด” ระยะที่ 3 ปี 2551-2553 คณะกรรมการบริษัทกำหนด วิสัยทัศน์ให้บริษัทมุ่งเน้นเรื่องคุณภาพการดำเนินงานในทุกมิติ เพื่อการเติบโต อย่างยัง่ ยืนควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมในทุกกระบวนการ ดำเนินงานของบริษัท โดยใช้กลยุทธ์ “น่านน้ำสีคราม” (Blue Ocean Strategy) ในการพัฒนาและขยายโครงการ ซึ่งส่งผลให้บริษัทอยู่เหนือจากการแข่งขันและ เป็นผู้นำตลาดอาคารชุดพักอาศัยโดยแท้จริง ด้วยประสบการณ์เกือบ 20 ปี ใน ภาคธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยเฉพาะในช่วงวิกฤติปี 2540 ได้หล่อหลอมให้ บุคลากรในองค์กรมีค่านิยมร่วมกันและเป็นแรงผลักดันให้องค์กรก้าวพ้นวิกฤติ ครั้งที่ผ่านมาและเติบโตแบบก้าวกระโดด ปัจจุบันค่านิยมดังกล่าวได้ถูกพัฒนาจน เป็น “ค่านิยมองค์กร” (Core Value) หรือ “C-L-A-S-S-I-C” ซึ่งใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาและหล่อหลอมบุคลากรในทุกระดับทัง้ เก่าและใหม่เพือ่ ให้เกิดสมรรถนะหลัก อันจะนำพาให้องค์กรเติบโตอย่างยั่งยืนภายใต้สภาวะการแข่งขันที่ทวีความรุนแรง และมีความผันผวนอยู่ตลอดเวลา การดำเนินงานของบริษัทในปี 2551 ในช่วงครึ่งปีแรก บริษัทได้ดำเนิน การตามแผนงานและบรรลุเป้าหมายตามทีไ่ ด้ตงั้ ไว้ภายใต้สถานการณ์ทนี่ า่ วิตกกังวล รอบด้าน โดยเฉพาะด้านต้นทุนซึ่งเป็นผลโดยตรงมาจากราคาเหล็กที่ปรับตัวขึ้น กว่าเท่าตัวจากช่วงต้นปีถึงกลางปี อันเป็นผลมาจากความผันผวนของราคาน้ำมัน ซึ่งปรับตัวสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์ โดยในช่วงครึ่งปีแรกมีการเปิดตัว 3 โครงการ ได้แก่ โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 26 โครงการลุมพินี เพลส และลุมพินี สวีท พระราม 8 และโครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ซึ่งทุกโครงการยัง

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 33


คงได้รับการตอบรับอย่างดีในด้านยอดขาย โดย 2 โครงการแรก ปัจจุบันอยู่ ระหว่างการก่อสร้างจะแล้วเสร็จพร้อมโอนกรรมสิทธิ์และรับรู้เป็นรายได้ของปี 2552 สำหรับโครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา จะแล้วเสร็จและรับรูร้ ายได้ ในปี 2553 ส่วนโครงการที่แล้วเสร็จในช่วงครึ่งปีแรกประกอบด้วย 3 โครงการ ได้แก่ โครงการลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44 และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำแหง ซึ่งเป็นโครงการ ขนาดใหญ่ทมี่ จี ำนวนห้องชุดเกือบ 3,500 หน่วย จาก 14 อาคาร ซึง่ โครงการดังกล่าว ถือเป็นโครงการแรกของแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” ที่บริษัทใช้เป็นเรือธง (Flag Ship) ในการบุกเบิกและพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยในทำเลใหม่ โดยมุ่งเน้น ไปที่กลุ่มลูกค้าที่มีรายได้ระดับล่าง-บน (15,000-20,000 บาท/ครอบครัว/เดือน) โครงการดังกล่าวก่อให้เกิดนวัตกรรมในด้านต่างๆ อย่างมากมาย เริ่มตั้งแต่การ บริหารงานขายที่ต้องจัดเตรียมทุกกระบวนการ เพื่อรองรับลูกค้าจำนวนมากกว่า พันรายเมือ่ ครัง้ เปิดการขายในวันแรก รวมถึงกระบวนการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการบริหารงานก่อสร้างที่ต้องมีการบริหารจัดการใหม่ทั้งหมดเพื่อให้ได้มาซึ่ง ต้นทุนค่าก่อสร้างที่เหมาะสมกับราคาขาย ระยะเวลาการก่อสร้างที่ถูกกำหนดให้ แล้วเสร็จภายใน 1 ปี จากพื้นที่อาคารเกือบ 140,000 ตารางเมตร ตลอดจน แนวทางในการบริหารจัดการชุมชนขนาดใหญ่เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้อยู่ อาศัยภายใต้มาตรฐาน “ลุมพินี” รวมถึงนวัตกรรมทางด้านการเงินซึ่งเกิดจาก ความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับสถาบันการเงิน เพื่อประสานประโยชน์ให้เกิดแก่ทุก ฝ่ายดังปรากฎรายละเอียดอยูใ่ นประวัตบิ ริษทั หน้า 5 โดยทุกโครงการสามารถก่อสร้าง แล้วเสร็จและโอนกรรมสิทธิใ์ ห้แก่ลกู ค้าได้ตามกำหนดเวลา สำหรับช่วงครึง่ ปีหลังบริษทั ตัดสินใจชะลอการพัฒนาโครงการใหม่เนื่องมาจากความผันผวนทางด้านต้นทุน ดังที่กล่าวมาแล้วตั้งแต่ต้น เพื่อรอดูสถานการณ์ที่ชัดเจนอันเป็นการลดความเสี่ยง ในการดำเนินธุรกิจ และบริษทั ได้เปิดตัวโครงการอีกครัง้ ในกลางเดือนธันวาคม 2551 เมื่อสถานการณ์ด้านต้นทุนและราคาน้ำมันเริ่มคลี่คลายแม้ในช่วงเวลาดังกล่าว สถานการณ์ทางด้านการเมืองยังคงวุ่นวายและดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคอยู่ ในระดับต่ำ บริษัทได้มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการพัฒนาโครงการโดยเฉพาะ โครงการนำร่อง (Pilot Project) เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยหัน มาพัฒนาโครงการขนาดเล็กที่มีจำนวนยูนิตที่พอเหมาะและราคาน่าดึงดูดใจ เพื่อ กระตุน้ ให้ตลาดบริเวณดังกล่าวเกิดการรับรู้ มีความสนใจจนนำไปสูก่ ารตัดสินใจซือ้ และโครงการดังกล่าวได้รบั การตอบรับจากผูบ้ ริโภคเป็นอย่างดีตามกลยุทธ์ทวี่ างไว้ โดยบริษัทสามารถปิดการขายห้องชุดทั้งหมดที่เปิดให้จองในวันเปิดตัวโครงการ วันแรก ซึง่ แสดงถึงความเชือ่ มัน่ ของผูบ้ ริโภคทีม่ ตี อ่ แบรนด์ “ลุมพิน”ี โดยเฉพาะใน ส่วนของโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จในครึง่ ปีหลัง ได้แก่ โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ ซึง่ เป็นโครงการภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” โครงการ ที่ 2 ซึ่งบริษัทประสบความสำเร็จอย่างสูงอีกครั้งหนึ่งในช่วงเปิดตัวโครงการ โดย บริษัทสามารถปิดการขายทั้งโครงการในวันที่เปิดตัวเช่นกัน

34 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

ด้านส่วนแบ่งการตลาด บริษทั ครองส่วนแบ่งการตลาดในปี 2551 ประมาณ ร้อยละ 31 สำหรับอาคารชุดพักอาศัยทีจ่ ดทะเบียนในกรุงเทพและปริมณฑล โดยใน ปี 2551 มีอาคารชุดพักอาศัยในกรุงเทพและปริมณฑลจดทะเบียนทัง้ สิน้ รวมประมาณ 26,100 หน่วย จาก 86 โครงการ สำหรับอาคารชุดพักอาศัยของบริษทั ทีจ่ ดทะเบียน มีจำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8,000 หน่วย จาก 6 โครงการ และในปี 2551 บริษทั มี การเปิดตัวโครงการทัง้ สิน้ 4 โครงการ มีจำนวนหน่วยรวมประมาณ 3,750 หน่วย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 11 ของโครงการอาคารชุดพักอาศัยที่เปิดตัวใหม่ในกรุงเทพและ ปริมณฑลในช่วงปีที่ผ่านมา ด้านผลประกอบการบริษทั และบริษทั ย่อยมีรายได้รวม 7,232.36 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2550 ที่มีรายได้รวม 6,754.00 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.08 มาจากการทีบ่ ริษทั สามารถรับรูร้ ายได้จาก 5 โครงการทีก่ อ่ สร้างแล้วเสร็จในปี 2551 และโครงการที่ต่อเนื่องมาจากปี 2550 โดยมีอัตรากำไรขั้นต้นจากการขายอยู่ที่ ร้อยละ 31.24 ส่วนอัตรากำไรสุทธิอยูท่ รี่ อ้ ยละ 16.67 ซึง่ เติบโตจากปี 2550 ร้อยละ 13.74 จึงนับได้ว่าบริษัทยังคงรักษาอัตราการเติบโตมาได้อย่างต่อเนื่อง แม้อยู่ใน ช่วงแนวโน้มของเศรษฐกิจขาลงและมีปัจจัยเสี่ยงรอบด้านอันเป็นผลมาจากการ ดำเนินธุรกิจด้วยความระมัดระวัง คำนึงถึงความสมดุลและการเลือกใช้กลยุทธ์ที่ เหมาะสม

LPN 31%

MARKETSHARE


ทางด้านงบกระแสเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีเงินสด และเงินลงทุนชัว่ คราวรวม 1,690.75 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ซึ่งมีเพียง 454.82 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 273.06 ซึ่งเป็นกระแสเงินสด ที่มาจากการดำเนินงานและการสำรองเงินสดจากการเบิกใช้วงเงินค่าก่อสร้างเต็ม วงเงินที่บริษัทมีกับสถาบันการเงิน เพื่อให้มีสภาพคล่องเพียงพอต่อการดำเนิน โครงการต่างๆ ที่อยู่ระหว่างการพัฒนา แม้จะเกิดวิกฤติทางการเงินจนทำให้ สถาบันการเงินชะลอหรือระงับการให้สินเชื่อโครงการตามแผนบริหารความเสี่ยง ในระดับเลวร้าย (Worse Case Scenario) ที่บริษัทประเมินและกำหนดแนวทาง ในการบริหารจัดการไว้ในเรื่องของการบริหารความเสี่ยง ทำให้บริษัทมีอัตราส่วน หนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจาก 0.88 : 1 เป็น 0.97 : 1 และมีหนี้สินที่มี ดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเพิ่มขึ้นจาก 0.45 : 1 เป็น 0.58 : 1 ตามลำดับสำหรับ ปี 2550 และ 2551 เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2551 คณะกรรมการบริษัทมีมติอนุมัติโครงการซื้อ หุน้ คืน เนือ่ งจากราคาหุน้ ในตลาดช่วงนัน้ ต่ำกว่าปัจจัยพืน้ ฐานของบริษทั โดยกำหนด วงเงินที่จะใช้ในการซื้อคืนเป็นจำนวนเงิน 200 ล้านบาท โดยมีจำนวนหุ้นที่จะซื้อ คืนประมาณ 62 ล้านหุ้น คิดเป็นร้อยละ 4.20 ของหุ้นที่จำหน่ายแล้วทั้งหมดคือ 1,475,698,768 หุ้น และเป็นการซื้อในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเท่านั้น โดยมีระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552 โดย ณ วันที่ 15 มกราคม 2552 บริษัทซื้อหุ้นคืนมาแล้วทั้งสิ้นจำนวน 8,146,300 หุ้น รวมมูลค่า 17,841,189.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.552 ของจำนวนหุน้ ทีช่ ำระแล้ว ทั้งหมดในราคาเฉลี่ยหุ้นละ 2.19 บาท

เพือ่ รองรับกับเศรษฐกิจในช่วงขาลง บริษทั กำหนดให้คงจำนวนบุคลากร ไว้ในระดับเดิมตัง้ แต่กลางปี 2551 ทีผ่ า่ นมา โดยหันมาให้ความสำคัญกับการปรับปรุง กระบวนการภายในให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อรองรับกับการเติบโตของบริษัท ในปี 2552 อันเป็นการควบคุมค่าใช้จ่ายโดยตรงของบริษัท ซึ่งจากการกำหนด นโยบายดังกล่าวทำให้ทุกส่วนงานต้องหันกลับมาร่วมกันพิจารณาแนวทางในการ ดำเนินงานอีกครั้งหนึ่ง โดยคาดว่าการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จะนำไปสู่วิธีคิด และ กระบวนการดำเนินงานใหม่ อันจะเป็นผลผลักดันให้บริษัทเติบโตต่อไปได้อีกใน อนาคต เหมือนดังเช่นทีเ่ คยเกิดขึน้ เมื่อวิกฤติปี 2540 ที่ผ่านมา พร้อมกันนี้บริษัท ยังปรับเปลีย่ นบทบาท หน้าทีข่ องบริษทั และบริษทั ย่อยอีกครัง้ หนึง่ เพือ่ ให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์ปจั จุบนั โดยในส่วนงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารการเงินและรายได้ ให้รวมอยูใ่ นสายงานเดียวกัน เพือ่ ความคล่องตัวในการบริหารจัดการ ซึง่ ในส่วน ของการบริหารงานก่อสร้างจะดำเนินงานโดยบริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด การบริหารงานขาย การบริหารชุมชน และการบริหารทรัพย์สนิ เพือ่ เช่า จะดำเนินการโดยบริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 35


ด้านความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมที่บริษัทได้มีการดำเนิน งานมาอย่างต่อเนือ่ ง ในปีทผี่ า่ นมา บริษทั ได้ดำเนินกิจกรรมทีค่ รอบคลุมในทุกด้าน เช่น กิจกรรมบริจาคโลหิต กิจกรรมสำหรับเด็กด้อยโอกาส การสร้างบ้านดินให้ผไู้ ร้บา้ น หรือการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในบริเวณต่างๆ ทัง้ ภายในโครงการทีบ่ ริษทั พัฒนาหรือชุมชน โดยรอบ รวมไปถึงการคัดแยกขยะ การจัดกิจกรรมรณรงค์ปดิ ไฟ 1 ชัว่ โมงเพื่อลด การใช้พลังงาน การรณรงค์ลดการใช้ถุงพลาสติก เป็นต้น โดยทุกกิจกรรมมุ่งเน้น เริ่มต้นจากภายในองค์กรแล้วจึงขยายไปยังชุมชนที่บริษัทพัฒนาและขยายต่อไป ยังชุมชนรอบข้าง ซึง่ นับเป็นการสร้างสรรค์สงิ่ แวดล้อมและชุมชนทีม่ คี ณุ ภาพภายใต้ ตราสัญลักษณ์ “ชุมชนน่าอยู่” ที่บ่งบอกถึงคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้อยู่อาศัย ถือเป็น ความแตกต่างของบริษัทจากคู่แข่งที่ช่วยสร้างการรับรู้และจดจำต่อตราผลิตภัณฑ์ ได้เป็นอย่างดี และส่งผลด้านการตลาดจากการบอกต่อหรือแนะนำต่อเพือ่ นหรือคนรูจ้ กั ทำให้บริษัทสามารถรักษาอัตราค่าใช้จ่ายทางการตลาดให้อยู่ในระดับต่ำ ซึ่งบริษัท ยังคงเพิม่ ความเข้มข้นอยูต่ ลอดเวลา โดยเฉพาะในเรือ่ งคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องผูอ้ าศัย สำหรับในปี 2552 ซึ่งอยู่ในช่วงเศรษฐกิจขาลงและมีความเสี่ยงสูง โดย เฉพาะภาคการเมืองและผลกระทบจากวิกฤติการณ์ด้านการเงินอันเกิดจากสินเชื่อ อสังหาริมทรัพย์ด้อยคุณภาพ (Subprime) ส่งผลให้สถาบันการเงินเข้มงวดในการ ปล่อยสินเชื่อทั้งสินเชื่อโครงการและสินเชื่อรายย่อย โดยบริษัทได้กำหนดกลยุทธ์ เพื่อรองรับการดำเนินธุรกิจในช่วงเศรษฐกิจขาลง พร้อมแนวทางการบริหารความ เสี่ยงไว้แล้วดังปรากฏอยู่ในเรื่องของการบริหารความเสี่ยง โดยในปี 2552 นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้กำหนดอัตราการเติบโตของบริษทั อยูใ่ นระดับร้อยละ 10-15 ซึ่งคาดว่าในปี 2552 บริษัทจะมีรายได้จากการขายประมาณ 8,000 ล้านบาท จากโครงการทีแ่ ล้วเสร็จในปีนจี้ ำนวน 6 โครงการ อันได้แก่ โครงการลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ โครงการลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร โครงการลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 26 และท้ายสุดคือ โครงการลุมพินี เพลส และลุมพินี สวีท พระราม 8 ซึ่งเมื่อสิ้นปี 2551 โครงการดังกล่าวมียอดการรับรู้รายได้อยู่ประมาณ 7,000 ล้านบาท โดยบริษัทวางเป้าหมายที่จะระบายสินค้าคงเหลือทั้งหมดจากปี 2551 ที่ มีอยูจ่ ำนวนประมาณ 1,400 ล้านบาท และเปลีย่ นเป็นเงินสดเพือ่ เสริมสภาพคล่อง ภายในครึ่งปีแรกของปี 2552 และกำหนดให้อายุของสินค้าคงเหลือที่จะเกิดขึ้น ใหม่มีอายุไม่เกิน 3 เดือน ด้วยการเพิ่มกิจกรรมและค่าใช้จ่ายทางการตลาดอย่าง ต่อเนื่อง ในส่วนของอัตราการปฏิเสธสินเชื่อจากสถาบันการเงินที่หลายฝ่ายกังวล บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลและบริหารเครดิตของลูกค้าโดยตรง ตั้งแต่วันแรกที่ลูกค้าตัดสินใจจองซื้อ โดยร่วมมือกับสถาบันการเงินอย่างใกล้ชิด เพื่อคงระดับอัตราการปฏิเสธสินเชื่อจากธนาคารให้อยู่ในระดับเดียวกันหรือต่ำ กว่าปีที่ผา่ นมา ซึง่ ในปี 2551 ลูกค้าของบริษทั ถูกปฏิเสธสินเชือ่ จากสถาบันการเงิน ประมาณร้อยละ 10 ซึ่งอยู่ในระดับที่ต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของตลาด

36 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

ส่วนแผนการเปิดโครงการใหม่ บริษทั มีแผนทีจ่ ะเปิดตัวโครงการใหม่ 6-8 โครงการ มีมูลค่ารวมประมาณ 12,000 ล้านบาท โดยกำหนดเป้าหมายรายได้ ประมาณ 10,000 ล้านบาท เพือ่ รับรูเ้ ป็นรายได้ของปี 2553 และ 2554 โดยบริษทั อยูร่ ะหว่างการเจรจาซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ เปิดโครงการในช่วงครึง่ ปีแรกจำนวน 2-3 แปลง บริษทั เชือ่ มัน่ ว่าธุรกิจทีบ่ ริษทั ดำเนินการอยู่ ได้แก่ การสร้างทีพ่ กั อาศัยที่ มีคณุ ภาพภายในเมือง ซึง่ เป็นหนึง่ ในปัจจัยสีอ่ นั เป็นความจำเป็นขัน้ พืน้ ฐานของการ ดำรงชีวติ ประกอบกับกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของบริษทั เป็นกลุม่ ทีต่ อ้ งการทีอ่ ยูอ่ าศัย อย่างแท้จริง ภายใต้การคำนึงถึงความสมดุลในทุกมิติด้วยความระมัดระวัง และ ด้วยกรอบการบริหารความเสีย่ งทีบ่ รรจุอยูใ่ นแผนธุรกิจ โดยอาศัยข้อมูลทัง้ ภายใน และภายนอก ประกอบกับประสบการณ์ในการเผชิญวิกฤติทผี่ า่ นมา รวมถึงแนวทาง การบริหารจัดการที่คำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม การคำนึง ถึงความเท่าเทียมของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มด้วยหลักการเปิดเผย โปร่งใส และ ตรวจสอบได้ จะเป็นปัจจัยที่เอื้อให้บริษัทยังสามารถดำเนินธุรกิจต่อไปด้วยอัตรา การเติบโตอย่างสม่ำเสมอ แม้อยู่ในช่วงเศรษฐกิจขาลง นอกจากนั้น การดำเนิน ธุรกิจหรือการพัฒนาโครงการของบริษทั ยังเป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยสร้างงานให้กบั ประเทศ อันเป็นการช่วยกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมอีกทางหนึ่ง


Income from Sales (MB)

8,000 6,574

6,000

0

7,019

4,748

4,000 2,000

G/P from Sales (MB)

2,309 2004

2,250 750

2006

2007

2008

0

810

1,187

2004

2005

Net Profit (MB)

1,300 650 325 0

765 448

2004

1.550

588

2005

2006

2007

2008

2.24 2.12

2.20

2004

2005

2.59

0

5,970

7,176

2,657

2,500

2,250

1,250 2006

2007

2008

5,000 3,750

4,524

2005

2006

Liability (MB) 8,846

2004

2008

0.775

6,750

0

2007

3.04

2.325

928

9,000 4,415

2006

3.100

Asset (MB)

4,500

2,193

Book Value (B) 1,205

975

2,279 1,534

1,500

3,346 2005

3,000

2007

2008

0

2,091

1,532

2004

2005

2006

3,349

2007

4,362

2008

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 37


โครงสร้างรายได้ของกิจการ

ตารางแสดงโครงสร้างรายได้ของกิจการที่บริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 20 ขึ้นไป สำหรับแต่ละปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551, 2550 และ 2549 2551 2550 2549 ดำเนินการโดย ผลิตภัณฑ์และบริการ % การถือหุน้ ของบริษทั รายได้ ร้อยละ รายได้ ร้อยละ รายได้ ร้อยละ

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ - บริษัท พรสันติ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 99.99 บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด ให้บริการ 99.88 บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด ให้บริการ 99.93 บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 33.33, 20.00* รวม * วันที่ 1 ตุลาคม 2550 จำหน่ายหุ้นบางส่วน คงเหลือสัดส่วนการถือหุ้นร้อยละ 20

38 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

7,143.60 97.81 6,650.43 97.46 4,846.29 96.53 15.21 0.21 47.91 0.70 5.34 0.11 141.84 1.94 125.43 1.84 138.21 2.75 3.04 0.04 - - - - - - - - 30.65 0.61

7,303.69 100.00 6,823.77 100.00 5,020.49 100.00


ข้อมูลบริษัท

บริษัท ประเภทธุรกิจ เลขทะเบียนบริษัท ที่อยู่บริษัท โทรศัพท์ โทรสาร Call Center Website แผนกนักลงทุนสัมพันธ์

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 0107537002303 1168/109 อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 02-285-5011-6 02-679-8699 02-800-9009 www.lpn.co.th และ www.bestbuycondo.com 02-285-5011-6 ต่อ 132, 138

บริษัทย่อย ที่อยู่บริษัท

1. บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 2. บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด 3. บริษัท พรสันติ จำกัด 1168/109 อาคารลุมพินี ทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร

บริษัทร่วม ที่อยู่บริษัท

บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด 888/224 อาคารมหาทุนพลาซ่า ชั้น 2 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

บริษัทที่ปรึกษา ที่อยู่บริษัท โทรศัพท์ โทรสาร

บริษัท กฎหมายเสริมศักดิ์ เวชชและเพื่อน จำกัด อาคารโชคชัยร่วมมิตรคอนโดมิเนียม ชั้น 12 399/365-368 ซอยโชคชัยร่วมมิตร แขวงลาดยาว จตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 02-691-5541-5 02-691-5541-5

บริษัทผู้สอบบัญชี ที่อยู่บริษัท โทรศัพท์ โทรสาร

นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 สำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ 316/32 ซอยสุขุมวิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 02-259-5300 02-260-1553

นายทะเบียน ที่อยู่บริษัท โทรศัพท์ โทรสาร

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ชั้น 4, 6 - 7 ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 02-229-2800, 02-654-5599 02-359-1262-63

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 39


คณะผูบริหาร

คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการอิสระ

นายปกรณ ทวีสิน

ประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ

ศาสตราจารยศิริ เกวลินสฤษดิ์

นายทวีชัย จิตตสรณชัย

รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ

นายอมรศักดิ์ นพรัมภา

กรรมการ และ กรรมการอิสระ

นายเทพ รุงธนาภิรมย

กรรมการ และ กรรมการอิสระ

นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล

กรรมการ และ กรรมการอิสระ

นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน

กรรมการ และ กรรมการอิสระ

คณะกรรมการ

นายธีรชัย ปญจทรัพย

นางจงจิตต ฐปนางกูร

กรรมการ

นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์

กรรมการ

นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข

กรรมการ

นางยุพา เตชะไกรศรี

กรรมการ

40 รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน)

กรรมการ

นายคัมภีร จองธุระกิจ

กรรมการ

นายโอภาส ศรีพยัคฆ

กรรมการ


คณะกรรมการบริหาร นายทิฆัมพร เปลงศรีสุข

ประธานเจาหนาที่บริหาร และ ประธานคณะกรรมการบริหาร นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์

กรรมการบริหาร

นางยุพา เตชะไกรศรี

กรรมการบริหาร

นายคัมภีร จองธุระกิจ

กรรมการบริหาร

นายโอภาส ศรีพยัคฆ

กรรมการผูจัดการ

คณะกรรมการตรวจสอบ นายอมรศักดิ์ นพรัมภา

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ นายเทพ รุงธนาภิรมย

กรรมการตรวจสอบ

นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล

กรรมการตรวจสอบ

รายงานประจำป 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 41


รายละเอียดประวัติคณะกรรมการและคณะผู้บริหาร

นายปกรณ์ ทวีสิน อายุ 70 ปี ตำแหน่ง ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - The Chartered Institute of Bankers, London - ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 311) - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 0 / 2000) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - Certifif ication of Attendance of Role of the Chairman Program (RCP 16 / 2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - ประธานกรรมการ : บริษัท คอลเกต-ปาล์มโอลีฟ (ประเทศไทย) จำกัด - ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ บริษทั โรงแรม รอยัลออคิด (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) 2547 - 2551 - กรรมการ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ อายุ 79 ปี ตำแหน่ง รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เนติบัณฑิตไทย - ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 25) - ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตรการศึกษาอบรมด้านการพัฒนาสาขาการถือครองและการบริหารงานที่ดิน มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ - Audit Committee Program (ACP 7 / 2005) - Director Accreditation Program (DAP 25 / 2004) - Finance for Non-Finance Directors รุ่นที่ 14 / 2004 จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น - ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการร่างกฎหมาย : กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม - กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7 : สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ทีป่ รึกษาคณะกรรมการบัณฑิตศึกษา : คณะนิตศิ าสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ : กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ที่ปรึกษาคณะกรรมการส่งเสริมความปลอดภัยฯ : สมาคมส่งเสริม ความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน - ที่ปรึกษากรรมการประเมินทุนทรัพย์ : สมาคมประเมินทุนทรัพย์ - ที่ปรึกษาคณะกรรมการพิจารณาปัญหาข้อกฎหมายของกรมที่ดิน : กรมที่ดิน - กรรมการที่ปรึกษาในคณะกรรมการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายของ กรมที่ดิน : กรมที่ดิน นายทวีชัย จิตตสรณชัย อายุ 70 ปี ตำแหน่ง รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเคมี Tienjin University, Tienjin, China - Director Accreditation Program (DAP 26 / 2004) สัดส่วนในการถือหุ้น ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2525 - ปัจจุบัน - กรรมการ : บริษัท อรทัย อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

42 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


2537 - 2548 - กรรมการ : บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 2518 - 2547 - กรรมการผู้จัดการ : บริษัท เวลา จำกัด นายอมรศักดิ์ นพรัมภา อายุ 63 ปี ตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - เนติบัณฑิตไทย สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา - เนติบัณฑิตอังกฤษ สำนัก Lincoln’s Inn, London - ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.399) - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 30 / 2003) - Audit Committee Program (ACP 23 / 2008) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย - หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง รุ่นที่ 31 - หลักสูตรนักบริหารชั้นสูง รุ่นที่ 7 สัดส่วนในการถือหุ้น 0.07% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - ที่ปรึกษาอาวุโส : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ : บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) - กรรมการตรวจสอบ และประธานกรรมการสรรหาและกำหนดค่าตอบแทน บริษัท อาร์ซีแอล จำกัด (มหาชน) - กรรมการ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการสรรหากำหนดค่าตอบแทนและ พัฒนาบุคคลากร และประธานธรรมาภิบาล : บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการ : บริษัท สยามเรียลตี้แอนด์เซอร์วิส จำกัด 2550 - ที่ปรึกษากฎหมายอาวุโส และรองกรรมการผู้บริหารใหญ่ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 2547 - 2549 - รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) 2546 - 2547 - กรรมการบริหาร, ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส และ - ที่ปรึกษากฎหมาย : ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ อายุ 63 ปี ตำแหน่ง กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ สาขาการเงินและการบัญชี มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี พาณิชย์ศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - - ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 20 / 2002) - Audit Committee Program (ACP 8 / 2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น 0.03% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการ : บริษัท ซันวู้ด อินดัสทรีส์ จำกัด (มหาชน) - ที่ปรึกษา : สมาคมส่งเสริมนักลงทุนไทย - กรรมการ : บริษัท แฟมิลี่ โนฮาว จำกัด - กรรมการ : บริษัท ซันพาราเทค จำกัด (มหาชน) รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 43


นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล อายุ 53 ปี ตำแหน่ง กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาโท บัญชี University of Illinois, U.S.A. - ปริญญาโท บริหารธุรกิจ Ohio University, U.S.A. - พาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยม) - Director Accreditation Program (DAP 63 / 2007) - Director Certifif ication Program (DCP 91 / 2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น - ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี : บริษัท อาร์ซีแอล จำกัด (มหาชน) - SVP Credit & Risk Management : Hutchison CAT Wireless Multimedia Head of Finance Support : TA Orange Co.Ltd. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ อายุ 64 ปี ตำแหน่ง กรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยนิวเซ้าเวลส์ ออสเตรเลีย - นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - Diploma, Management Course, IMEDE Management Development Institute, Lausanne, Switzerland - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 36 / 2003) - Audit Committee Program (ACP 7 / 2005) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น 0.02% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการ ตรวจสอบ : บริษัท ไทย อกริ ฟู้ดส์ จำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการกำหนด ค่าตอบแทน : บริษัท ไทยวาฟูดโปรดักส์ จำกัด (มหาชน) - ประธานกรรมการตรวจสอบ : สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย - กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบและบริหารความเสีย่ ง : บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล จำกัด (มหาชน) - กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ : บริษัท บางกอกแร้นช์ จำกัด (มหาชน) นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ อายุ 70 ปี ตำแหน่ง กรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนดาราสมุทร ชลบุรี - Director Accreditation Program (DAP 26 / 2004) - Finance for Non-Finance Directors (FND 14 / 2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง

44 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

0.09% 2533 - 2548 - กรรมการ : บริษัท พรสันติ จำกัด


นางจงจิตต์ ฐปนางกูร* อายุ 62 ปี ตำแหน่ง กรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาโท คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - Certifif ication English of Prof iciency AUA Language Institute - Diamond Grading Gemological Institute of America - ปริญญาตรี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - Director Accreditation Program (DAP 4 / 2003) - Finance for Non-Finance Directors (FND 14 / 2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น 0.27% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการ : บริษัท บูรพากอล์ฟ แอนด์ คันทรีคลับ จำกัด นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข อายุ 59 ปี ตำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - สามัญวิศวกร เลขทะเบียน ส.ย.140 สำนักงานคณะกรรมการควบคุมการประกอบ วิชาชีพวิศวกรรม - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 23 / 2002) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น 0.68% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการ : บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - ที่ปรึกษา : บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์เซอร์วิส จำกัด นางยุพา เตชะไกรศรี* อายุ 59 ปี ตำแหน่ง กรรมการบริหาร และกรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง - ประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขาบัญชี Accounting Advance of Pitman Examination Institute - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 32 / 2003) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น 1.76% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการ : บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด - กรรมการบริหาร : บริษัท ศรีสำอางซัพพลายเออร์ จำกัด - กรรมการบริหาร : บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) - กรรมการ : บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต์ ฐปนางกูร และนายคัมภีร์ จองธุระกิจ มีความสัมพันธ์เป็นพี่น้อง

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 45


นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ อายุ 58 ปี ตำแหน่ง กรรมการบริหาร และกรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วุฒิสถาปนิก เลขที่ สถ.348 ว.สภาสถาปนิก - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 27 / 2003) - Director Accreditation Program (DAP 26 / 2004) - Finance for Non-Finance Directors รุ่นที่ (FND 14 / 2004) - Audit Committee Program (ACP 21 / 2007) จากสมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น 0.54% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการ : บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ : บริษัท เมอร์ชั่น พาร์ตเนอร์ จำกัด (มหาชน) 2544 - 2546 - กรรมการผู้จัดการ : บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด นายคัมภีร์ จองธุรกิจ* อายุ 53 ปี ตำแหน่ง กรรมการบริหาร และกรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 48 / 2004) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น 1.29% ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - ประธานกิตติมศักดิ์กลุ่มอุตสาหกรรมรองเท้า : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย - กรรมการ : บริษัท พรสันติ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ที.กรุงไทยอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) - กรรมการ : บริษัท เอส.เอส.เอ.อุตสาหกรรม จำกัด - กรรมการ : บริษัท ศรีสำอาง ซัพพลายเออร์ จำกัด - กรรมการ : บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ อายุ 46 ปี ตำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ กรรมการบริหาร และกรรมการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร - Mini M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 71 / 2006) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น - ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2548 - ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 2544 - 2547 - ผู้จัดการฝ่ายวิจัยและพัฒนา : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด * นางยุพา เตชะไกรศรี นางจงจิตต์ ฐปนางกูร และนายคัมภีร์ จองธุระกิจ มีความสัมพันธ์เป็นพี่น้อง

46 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี อายุ 47 ปี ตำแหน่ง รองกรรมการผู้จัดการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Mini M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - Certifif ication of Completion of Directors Certifif ication Program (DCP 70 / 2006) จากสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย สัดส่วนในการถือหุ้น ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง ปัจจุบัน - กรรมการผู้จัดการ : บริษัท พรสันติ จำกัด 2549 - 2550 - กรรมการผู้จัดการ : บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 2547 - 2549 - ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ : บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 2546 - 2547 - ผูจ้ ดั การอาวุโสสำนักกรรมการ : บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 2540 - 2546 - ผูจ้ ดั การฝ่ายสำนักกรรมการ : บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) นายสมบัติ กิตติโภคิรัตน์ อายุ 47 ปี ตำแหน่ง ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สัดส่วนในการถือหุ้น ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2542 - 2543 - กรรมการและผู้เชี่ยวชาญด้านตลาดหลักทรัพย์ฯ : บริษัท ทานตะวันอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) อายุ 43 ปี นางสาวสุภรณ์ ว่องไวไพโรจน์ ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายบัญชี ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาโท สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยสยาม สัดส่วนในการถือหุ้น - ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2544 - ปัจจุบัน - ผูจ้ ดั การฝ่ายบัญชี : บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) นางรุ่งทิพย์ ปิยธีรวงศ์ อายุ 41 ปี ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายการเงิน ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สัดส่วนในการถือหุ้น - ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2547 - ปัจจุบัน - ผูจ้ ดั การฝ่ายการเงิน : บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) นางสาวปวีณ์ริสา วสิษฐ์ตระกูล อายุ 52 ปี ตำแหน่ง ผู้จัดการฝ่ายสำนักตรวจสอบภายใน ประวัติการศึกษา คุณวุฒิ / สาขา - ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ - Mini M.B.A. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สัดส่วนในการถือหุ้น ประสบการณ์ทำงานในระยะ 5 ปีย้อนหลัง 2547 - ปัจจุบัน - ผู้จัดการฝ่ายสำนักตรวจสอบภายใน : บริษัท แอล.พี.เอ็น. รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 47


ผังโครงสร้างการลงทุน

ผังโครงสร้างการลงทุนของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ในบริษัทอื่น ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป ณ เดือนธันวาคม 2551

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 21 มิถุนายน 2532 วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น หุ้นสามัญ จำนวนหุ้น 1,475,698,768 หุ้น ชำระแล้ว 1,475,698,768 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.00 บาท ทุนจดทะเบียน 1,475,698,768 บาท

บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด ธุรกิจบริการ บริหารโครงการแบบครบวงจร 11 ธันวาคม 2550 วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น หุ้นสามัญ จำนวนหุ้น 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100.00 บาท ทุนจดทะเบียน 1.00 ล้านบาท สัดส่วนการลงทุน 99.93 %

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด ธุรกิจบริการ บริหารจัดการชุมชนแบบครบวงจร 2 เมษายน 2535 วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น หุ้นสามัญ จำนวนหุ้น 10,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100.00 บาท ทุนจดทะเบียน 1.00 ล้านบาท สัดส่วนการลงทุน 99.88 % บริษัทย่อย

48 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


บริษัท พรสันติ จำกัด ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 14 พฤศจิกายน 2533 วันก่อตั้งบริษัท ชนิดของหุ้น หุ้นสามัญ จำนวนหุ้น 350,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1,000.00 บาท ทุนจดทะเบียน 350.00 ล้านบาท สัดส่วนการลงทุน 99.99 %

บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ วันก่อตั้งบริษัท 7 กันยายน 2544 หุ้นสามัญ ชนิดของหุ้น จำนวนหุ้น 5,000,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 10.00 บาท ทุนจดทะเบียน 50.00 ล้านบาท สัดส่วนการลงทุน 20 %

บริษัทร่วมลงทุน

หมายเหตุ - บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินธุรกิจด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในรูปแบบอาคารชุดพักอาศัย - บริษัท พรสันติ จำกัด เป็นบริษัทย่อยที่ดำเนินธุรกิจด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากอาคารชุดพักอาศัย - บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด เป็นบริษัทย่อยที่ดำเนินธุรกิจบริการ ด้านการรับบริหารอาคารชุดสำหรับโครงการที่ พัฒนาโดยบริษัท - บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด เป็นบริษัทย่อยที่ดำเนินธุรกิจบริการด้านการให้คำปรึกษา การบริหารจัดการทาง ด้านวิศวกรรม การตลาด การขาย และการก่อสร้างทุกชนิดแบบครบวงจร - บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด เป็นบริษัทร่วมทุน ซึ่งดำเนินธุรกิจด้านการพัฒนาอาคารชุดและทาวน์เฮ้าส์ โดยมุ่งเน้นการ พัฒนาโครงการที่ชะลอการก่อสร้างจากช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 49


ผังโครงสร้างองค์กร

คณะกรรมการตรวจสอบ

บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด กรรมการผู้จัดการ

สำนักตรวจสอบภายใน

รองกรรมการผู้จัดการ

สายงานบริหารรายได้และบัญชีการเงิน

สายงานบริหารงานขายอสังหาริมทรัพย์

สายงานพัฒนาธุรกิจ

50 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

สายงานบริหารโครงการ

สายงานบริหารแบรนด์และลูกค้า


คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริหาร

บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด

กรรมการผู้จัดการ

กรรมการผู้จัดการ

รองกรรมการผู้จัดการ

รองกรรมการผู้จัดการ

สายงานบริหารชุมชน สำนักทรัพยากรมนุษย์

สายงานบริหารงานบำรุงรักษา

สายงานอำนวยการ

สายงานบริหารทรัพย์สิน

สายงานสนับสนุนการบริหารชุมชน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 51


โครงสร้างการถือหุ้น

ผู้ถือหุ้น

รายชื่อผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) พร้อมทั้งจำนวนหุ้นที่ถือ และสัดส่วนการถือหุ้น ณ วันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นครั้งหลังสุด วันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2552 มีดังนี้

รายชื่อผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด Somers (U.K.) Limited นายสุเมธ เตชะไกรศรี Chase Nominees Limited 1 HSBC Bank Plc-Clients General A/C Morgan Stanley & Co. International Plc HSBC (Singapore) Nominees Pte Ltd State Street Bank and Trust Company นางยุพา เตชะไกรศรี มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ รวม

52 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

จำนวน (หุ้น)

สัดส่วน (%)

226,354,105 109,373,200 76,564,393 74,712,400 50,917,700 43,700,000 32,731,100 30,726,855 26,040,499 25,500,000

15.34 7.41 5.19 5.06 3.45 2.96 2.22 2.08 1.76 1.73

696,620,252

47.21


รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ประจำปี 2551

คณะกรรมการตรวจสอบบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยกรรมการบริษัทที่เป็นอิสระ จำนวน 3 ท่าน โดยมีนายอมรศักดิ์ นพรัมภา เป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ และนายวีระศักดิ์ วหาวิศาล เป็นกรรมการตรวจสอบ และในปี 2551 คณะกรรมการตรวจสอบได้มี การประชุมรวม 4 ครั้ง ได้ดำเนินงาน (ตามกฎบัตร) โดยสรุป ดังนี้ 1) ในทุกไตรมาส ได้ทบทวนงบการเงินในที่ประชุมร่วมกับผู้บริหารและควบคุมสายงานการเงินของบริษัท พร้อมกับผู้สอบบัญชีภายนอกของบริษัท เพื่อ พิจารณาข้อสังเกตต่างๆ จากการสอบทานงบการเงินรายไตรมาส 2) ทบทวนระบบการควบคุมภายใน และดูแลให้มีการบริหารสินทรัพย์อย่างมีประสิทธิภาพผ่านทางรายงานผลตรวจสอบที่บรรจุไว้เป็นวาระการประชุม ทุกครั้ง โดยได้ติดตามกรณีที่มีนัยสำคัญ และร่วมหารือกับผู้ตรวจสอบภายใน เพื่อประเมินประสิทธิภาพ และความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน 3) สอบทานระบบการกำกับกิจการ เกีย่ วกับการปฏิบตั งิ านตามระเบียบตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมถึงการปฏิบตั ติ ามข้อกำหนดกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง กับการดำเนินธุรกิจของบริษัท โดยประชุมร่วมกับผู้บริหารที่มีหน้าที่รับผิดชอบ และผู้ตรวจสอบภายใน 4) พิจารณาแผนการตรวจประจำปี และงบประมาณประจำปี 2552 ของหน่วยงานตรวจสอบภายใน การหมุนเวียนพนักงาน การฝึกอบรม ด้านความเพียงพอ ของบุคลากร และดัชนีวดั ผลการปฏิบตั งิ าน รวมถึงการพิจารณาแต่งตัง้ โยกย้ายความดีความชอบประจำปีของหัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน 5) พิจารณาการทำรายการระหว่างกัน และรายการทีม่ คี วามขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยยึดถือหลักความโปร่งใส และการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ เป็น เกณฑ์การปฏิบัติ ซึ่งเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับนโยบายบริษัท อีกทั้งมีความสอดคล้องกับหลักการกำกับกิจการที่ดี 6) พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี และค่าตอบแทน เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท ให้ขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ประจำปี 2552 คณะกรรมการตรวจสอบ ได้พิจารณาผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมาของผู้สอบบัญชีภายนอก และได้เสนอรายชื่อผู้สอบบัญชีจากสำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ ประจำปี 2552 คือ คุณพรสรัญ รุ่งเจริญกิจกุล เลขที่ 3255 หรือคุณวิไลรัตน์ โรจน์นครินทร์ เลขที่ 3104 เป็นผู้สอบบัญชีบริษัท ประจำปี 2552 และได้ให้ ความเห็นชอบค่าสอบบัญชี ประจำปี 2552 ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาแต่งตั้งผู้สอบบัญชี และอนุมัติค่าสอบบัญชีต่อไป

ในนามคณะกรรมการตรวจสอบ

อมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ วันที่ 26 มกราคม 2552

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 53


รายงานความรับผิดชอบในการตรวจสอบงบการเงิน และการกำกับดูแลกิจการ

คณะกรรมการตรวจสอบให้ความสำคัญกับระบบการควบคุมภายใน และหลักการบริหารความเสี่ยง ที่ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริษัทมีการควบคุม ภายในที่เพียงพอกับการดำเนินธุรกิจ และมีความเหมาะสมสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงที่อยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ ระบบบัญชีมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างเพียงพอ งบการ เงินมีการจัดทำตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปถูกต้อง เชื่อถือได้ มีการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำธุรกรรมของบริษัท รวมถึงการยึด ปฏิบัติหลักการอื่นใดที่ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการที่ดีอย่างสม่ำเสมอ

54 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


โครงสร้างการจัดการ

องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อ บริษัท จำนวนทั้งสิ้น 14 คน ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 7 คน (คิดเป็นร้อยละ 50.0) - - กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 14.3) - กรรมการที่เป็นผู้บริหาร 5 คน (คิดเป็นร้อยละ 35.7) คณะกรรมการบริษัท 14 คน มีรายชื่อดังนี้ ประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 1. นายปกรณ์ ทวีสิน 2. ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 3. นายทวีชัย จิตตสรณชัย รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 4. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ และกรรมการอิสระ 5. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ และกรรมการอิสระ 6. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการ และกรรมการอิสระ 7. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการ และกรรมการอิสระ 8. นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ กรรมการ (ที่ไม่เป็นผู้บริหาร) 9. นางจงจิตต์ ฐปนางกูร กรรมการ (ที่ไม่เป็นผู้บริหาร) 10. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข กรรมการบริหาร 11. นางยุพา เตชะไกรศรี กรรมการบริหาร 12. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร 13. นายคัมภีร์ จองธุระกิจ กรรมการบริหาร 14. นายโอภาส ศรีพยัคฆ์ กรรมการบริหาร โดยมีนางสาวสมศรี เตชะไกรศรี เป็นเลขานุการบริษัท การรวม หรือแยกตำแหน่ง ประธานกรรมการบริษทั ไม่เป็นบุคคลเดียวกับประธานกรรมการบริหารและประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริษทั โดยประธานกรรมการบริษทั มีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร มีการแบ่งแยกหน้าทีใ่ นการกำหนดนโยบาย การกำกับดูแล และการบริหารงานประจำออกจากกันอย่างชัดเจน ประธานกรรมการบริษทั มีหน้าทีเ่ ป็นประธานในการประชุม กรรมการบริษทั ซึง่ เป็นผูก้ ำหนดนโยบาย แผนงาน และกลยุทธ์ทส่ี ำคัญให้ฝา่ ยบริหารนำไปปฏิบตั ิ โดยกรรมการบริษทั ทุกคนมีอสิ ระในการเสนอวาระการประชุม การแสดง ความคิดเห็นต่อการดำเนินงานของบริษัทในด้านต่างๆ รวมถึงการร่วมพิจารณาอย่างรอบคอบ ในเรื่องที่อาจขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้มีความถูกต้อง โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและประธานคณะกรรมการบริหาร (CEO) รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการดำเนินกิจการและปฏิบัติงานของบริษัท ให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท โดยมีกรรมการบริหารติดตามผลการดำเนินงานของฝ่ายจัดการและกำหนดให้มีการประชุมร่วมกัน เพื่อรายงานความ ก้าวหน้าของผลการดำเนินงาน และผลประกอบการของบริษทั เป็นประจำทุกเดือน มีการกระจายอำนาจลงไปสูฝ่ า่ ยบริหารในการกำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบและวงเงิน อนุมัติแต่ละระดับเป็นลายลักษณ์อักษร หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษทั ได้กำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของกรรมการโดยยึดหลักการการกำกับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และนโยบายเรือ่ งข้อพึงปฏิบตั ิ ที่ดีสำหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ดังต่อไปนี้ 1. ปฏิบตั หิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษทั และมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ด้วยความซือ่ สัตย์ สุจริต ระมัดระวัง และมีความรับผิดชอบ อย่างสม่ำเสมอ และดำเนินการโดยรักษาผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน 2. กำหนดวิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ นโยบาย ทิศทางการดำเนินงานของบริษทั และควบคุมดูแลให้ฝา่ ยจัดการดำเนินงานตามนโยบายทีก่ ำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่บริษัทและผู้ถือหุ้นอย่างมั่นคงและยั่งยืน 3. ต้องจัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ถือหุ้น ผู้ลงทุน และผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างถูกต้อง ครบถ้วน มีมาตรฐาน โปร่งใส และทันเวลา 4. จัดให้มีระบบควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพ 5. จัดให้มีการบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพและมีการติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ 6. จัดให้มีและกำกับดูแลให้มีการดำเนินงานตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีและมีการติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 55


7. จัดให้มเี ลขานุการบริษทั เพือ่ ช่วยดูแลกิจกรรมต่างๆ ของคณะกรรมการ และช่วยให้คณะกรรมการและบริษทั ปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกำหนดที่ เกี่ยวข้อง 8. จัดให้มีระเบียบจรรยาบรรณธุรกิจของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน เพื่อเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงานภายในบริษัท 9. คณะกรรมการสามารถแสวงหาความเห็นทางวิชาชีพที่เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจด้วยการว่าจ้างที่ปรึกษาภายนอก ด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัท 10. กำหนด วัน เวลา สถานที่จัดประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งกำหนดระเบียบวาระการประชุมผู้ถือหุ้น วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้น และพิจารณาสรุปผลการ ดำเนินงานเสนอต่อผู้ถือหุ้น การกำหนดคุณสมบัติกรรมการอิสระ บริษัทกำหนดนิยามและคุณสมบัติของ “กรรมการอิสระ” ตามแนวปฏิบัติของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทัง้ นี้ เพือ่ สร้างความเชือ่ มัน่ แก่ผถู้ อื หุน้ นักลงทุน และรักษาสมดุลของการบริหารจัดการทีด่ ี ในการนี้ “กรรมการอิสระ” หมายถึง กรรมการทีไ่ ม่ทำหน้าทีบ่ ริหารจัดการ บริษัท บริษัทย่อย บริษัทร่วม และมีความเป็นอิสระจากฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้นที่มีอำนาจควบคุม เป็นผู้ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทในลักษณะที่จะทำให้มี ข้อจำกัดในการแสดงความเป็นอิสระ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการยอมรับนับถือทางสังคมและธุรกิจ ไม่มีประวัติความเสื่อมเสีย ไม่มีความเกี่ยวพันทางคดี ข้อพิพาท และการกระทำผิดทางกฎหมาย และศีลธรรมอันดี คุณสมบัติกรรมการอิสระ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ มีดังนี้ 1. ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจำนวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยให้ นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องด้วย 2. ไม่เป็นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมในการบริหารงาน / พนักงาน /ลูกจ้าง /ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจำ /ผูม้ อี ำนาจควบคุมของบริษทั บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่มีความขัดแย้งในปัจจุบันและช่วง 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง 3. ไม่มีความสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนในลักษณะที่เป็นบิดามารดา คู่สมรส พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร กับผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำนาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทย่อย 4. ความสัมพันธ์ทางธุรกิจ 4.1 ลักษณะความสัมพันธ์ 4.1.1 ความสัมพันธ์ในลักษณะของการให้บริการทางวิชาชีพ - ลักษณะความสัมพันธ์ : ผูส้ อบบัญชี ผูใ้ ห้บริการทางวิชาชีพอืน่ เช่น ทีป่ รึกษากฎหมาย ทีป่ รึกษาทางการเงิน ผูป้ ระเมินราคาทรัพย์สนิ เป็นต้น - ระดับนัยสำคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ - กรณีผู้สอบบัญชี : ห้ามทุกกรณี - กรณีเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพอื่น : มูลค่ารายการเกิน 2 ล้านบาทต่อปี 4.1.2 ความสัมพันธ์ทางการค้า/ทางธุรกิจ (ใช้แนวทางในทำนองเดียวกับข้อกำหนดว่าด้วยการทำรายการที่เกี่ยวโยงกันของตลาดหลักทรัพย์) - ลักษณะความสัมพันธ์ : กำหนดครอบคลุมรายการทางธุรกิจทุกประเภท ได้แก่ รายการที่เป็นธุรกรรมปกติ รายการเช่า/ให้เช่า อสังหาริมทรัพย์/รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์/บริการ และรายการให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน - ระดับนัยสำคัญที่เข้าข่ายไม่อิสระ - มูลค่ารายการ ≥≥ 20 ล้านบาท หรือ ≥≥ 3% ของ NTA ของบริษทั แล้วแต่จำนวนใดจะต่ำกว่า ทัง้ นี้ ในการพิจารณามูลค่า รายการให้รวมรายการที่เกิดขึ้นในระหว่าง 6 เดือนก่อนวันที่มีการทำรายการในครั้งนี้ด้วย - กรณีมลี กั ษณะความสัมพันธ์ตาม (ก) กับนิตบิ คุ คล บุคคลทีถ่ อื ว่าเข้าข่ายไม่อสิ ระ ได้แก่ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ กรรมการ (ยกเว้น กรณีเป็นกรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ) และผู้บริหาร หรือ Partner ของนิติบุคคลนั้น 5. ไม่เป็นกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของกรรมการของบริษัท ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ถือหุ้นซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท 6. ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทำให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระได้ 7. กรรมการอิสระที่มีคุณสมบัติตามข้อ 1-6 อาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้ตัดสินใจในการดำเนินกิจการของบริษัท บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลำดับเดียวกัน หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบองค์คณะ (Collective Decision) ได้ การสรรหา แต่งตั้งกรรมการอิสระและผู้บริหาร ปัจจุบนั จำนวนกรรมการอิสระคิดเป็นครึง่ หนึง่ ของคณะกรรมการ ซึง่ ถือว่ามีความสมดุลและไม่เป็นอุปสรรคในการแสดงความคิดเห็น และบทบาทการเป็นตัวแทน ของผู้ถือหุ้นรายย่อย สำหรับการสรรหา บริษัทใช้ช่องทางของคณะกรรมการสรรหาเป็นผู้กลั่นกรองคุณสมบัติ ความเหมาะสม โดยพิจารณาความหลากหลายของคุณวุฒิ ที่เอื้อประโยชน์ต่อธุรกิจของบริษัทเป็นองค์ประกอบสำคัญและนำเสนอให้คณะกรรมการพิจารณา

56 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


การดำรงตำแหน่งกรรมการในบริษัทอื่น คณะกรรมการบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และมีความรับผิดชอบสูง ในการ ปฏิบตั หิ น้าทีท่ ผ่ี า่ นมา กรรมการบริษทั ทุกคนให้เวลาเพียงพอทีจ่ ะให้คำปรึกษา ให้ความรู้ ให้คำแนะนำ และมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ ในการดำรงตำแหน่ง กรรมการของแต่ละคนในบริษทั อืน่ ๆ นอกเหนือจากบริษทั และบริษทั ในเครือ จะมีการจัดทำรายงานให้คณะกรรมการได้รบั ทราบและทำบันทึกความเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ ง โดยบริษทั ไม่ได้กำหนดจำนวนบริษทั ทีก่ รรมการจะเข้าดำรงตำแหน่ง อย่างไรก็ตาม บริษทั มีกระบวนการบริหารจัดการเรือ่ งเวลาและข้อมูลทีเ่ หมาะสมและเพียงพออยูแ่ ล้ว คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทจัดให้มีคณะกรรมการชุดย่อย สำหรับพิจารณาเฉพาะเรื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ดังต่อไปนี้ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ได้แต่งตัง้ คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 3 คน และกรรมการจำนวน 2 ใน 3 คน เป็นผูม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ด้านบัญชี วาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 2 ปี โดยมีรายชื่อดังนี้ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา 2. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ 3. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ โดยมีนางสาวปวีณ์ริสา วสิษฐ์ตระกูล เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ ในปี 2551 คณะกรรมการตรวจสอบมีการประชุมรวม 4 ครั้ง มีกรรมการเข้าประชุมครบทุกครั้ง มีการประสานงาน ติดตามให้มีการดำเนินการตามความเห็น ของคณะกรรมการตรวจสอบตามวาระการประชุมที่กำหนดไว้อย่างชัดเจน และมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ดังนี้ 1. สอบทานกระบวนการตรวจสอบระบบการควบคุมภายใน และกระบวนการในการจัดทำรายงานทางการเงิน 2. พิจารณาและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาต รวมถึงพิจารณาค่าตอบแทน 3. สอบทานกระบวนการในการดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนมติของทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั 4. ให้คำแนะนำฝ่ายบริหารในการปรับปรุงกระบวนการทำงานหรือระบบงานเพื่อลดความเสี่ยงในเรื่องต่างๆ และเพื่อให้มีระบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 5. ให้คำแนะนำในการกำหนดนโยบายด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี รวมทั้งติดตาม ประเมิน และรายงานการปฏิบัติตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี 6. กำหนดขอบเขตในการตรวจสอบภายใน และพิจารณารายงานผลการตรวจของสำนักตรวจสอบภายใน 7. พิจารณาและให้ความเห็นต่อคณะกรรมการบริษทั ในการแต่งตัง้ โยกย้าย ถอดถอน กำหนดค่าตอบแทน และการพิจารณาความดีความชอบของเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบ 8. จัดหาที่ปรึกษาจากภายนอก เพื่อให้คำแนะนำหรือช่วยเหลือการปฏิบัติงาน ตรวจสอบตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษัท 9. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย และคณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัทอนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยแต่งตั้งกรรมการรวม 7 คน ประกอบด้วยกรรมการอิสระจำนวน 5 คน และกรรมการบริหารจำนวน 2 คน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 2 ปี โดยมีรายชื่อดังนี้ ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (กรรมการอิสระ) 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย กรรมการอิสระ 3. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการอิสระ 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการอิสระ 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการอิสระ 6. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร โดยมีนางสาวสมศรี เตชะไกรศรี ทำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน หลังจากคณะกรรมการบริษัทอนุมัติจัดตั้งคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนมีการประชุม 1 ครัง้ และมีกรรมการเข้าร่วมประชุมครบ ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2552 คณะกรรมการบริษทั อนุมตั ใิ ห้มกี ฎบัตรเพือ่ กำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 57


หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. ด้านการสรรหา 1.1 เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางในการคัดเลือกกรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูง 1.2 ดำเนินการสรรหา คัดเลือก และเสนอบุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมให้ดำรงตำแหน่งกรรมการบริษทั กรรมการชุดย่อย และผูบ้ ริหารระดับสูงต่อ คณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา 1.3 เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางประเมินผลงานของกรรมการบริษัท และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2. ด้านการพิจารณาค่าตอบแทน 2.1 เสนอหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดค่าตอบแทนกรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย ผู้บริหารระดับสูง และพนักงานของบริษัท 2.2 พิจารณาการปรับปรุงนโยบายและโครงสร้างการบริหารค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั อนุกรรมการชุดต่างๆ ผูบ้ ริหารระดับสูง และพนักงานของ บริษัท ให้สอดคล้องกับสภาวะของตลาดแรงงานในขณะนั้น เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท การพัฒนากรรมการ บริษทั ส่งเสริมและสนับสนุนให้กรรมการเข้ารับการอบรมและหาความรูเ้ พิม่ เติมอย่างสม่ำเสมอ ตลอดจนผูเ้ กีย่ วข้องในระดับการกำกับดูแลกิจการ สำนักกรรมการ จะเป็นผูป้ ระสานงานด้านข้อมูล หัวข้อการอบรมของตลาดหลักทรัพย์ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและดูแลหลักทรัพย์ สถาบันส่งเสริมกรรมการ ให้กบั กรรมการและ ผู้เกี่ยวข้อง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ไม่ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งขึน้ แต่ได้กำหนดให้ทกุ ฝ่ายงานภายในบริษทั วิเคราะห์ปจั จัยทีจ่ ะทำให้เกิดความเสีย่ งในส่วนงานที่ รับผิดชอบ และกำหนดวิธกี ารแก้ไขเพือ่ ลดความเสีย่ ง หรือขจัดความเสีย่ ง เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายทีบ่ ริษทั ตัง้ ไว้ โดยให้ฝา่ ยจัดการทำหน้าทีใ่ ห้คำปรึกษา และติดตามอย่างใกล้ชดิ โดยให้รายงานคณะกรรมการบริษัทในคราวเดียวกับการเสนอแผนงานประจำปี ทั้งนี้ หากมีปัจจัยเสี่ยงที่จะมีผลกระทบให้เกิดความเสียหายแก่บริษัทระหว่างปี ให้เสนอ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเป็นคราวๆ ไป การประเมินตนเองของคณะกรรมการ ในปี พ.ศ.2551 บริษัทได้ปรับปรุงแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้พิจารณาปรับปรุงจากแบบ ประเมิน ตนเองของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย (IOD) ซึง่ ใช้ในการประเมินกรรมการสำหรับรางวัล Board of the Year แบบประเมินดังกล่าวมีเนือ้ หา ครอบคลุมแนวทางปฏิบตั งิ านตามหลักการกำกับดูแลกิจการทีด่ ี โดยคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะสรุปผลและข้อเสนอแนะเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพื่อนำมาปรับปรุงและกำหนดแนวทางการทำงานต่อไป ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร บริษัทได้กำหนดนโยบายค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหารไว้อย่างชัดเจน และโปร่งใส สำหรับค่าตอบแทนของกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน ใช้วธิ พี จิ ารณาเปรียบเทียบกับค่าตอบแทนของกรรมการในกลุม่ อุตสาหกรรมเดียวกัน และให้สอดคล้องกับภาระหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบทีเ่ พิม่ ขึน้ ในกรณีเป็นกรรมการในคณะกรรมการชุดย่อย โดยจะนำเสนอคณะกรรมการและขออนุมตั ทิ ป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ ส่วนการพิจารณาค่าตอบแทนของผูบ้ ริหาร คณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะพิจารณาถึงความเหมาะสมให้สอดคล้องกับภาระและความรับผิดชอบของผูบ้ ริหาร โดยเทียบเคียงกับอัตราค่าตอบแทนในกลุม่ อุตสาหกรรม เดียวกัน ประกอบการพิจารณาเช่นกัน ทัง้ นี้ ต้องเป็นไปตามนโยบายและหลักเกณฑ์ทค่ี ณะกรรมการบริษทั กำหนด ซึง่ เชือ่ มโยงกับผลการดำเนินงานของบริษทั และผลการ ปฏิบัติงานของผู้บริหาร โดยนำเสนอความเห็นให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ ทั้งนี้ ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ประกอบด้วยค่าเบี้ยประชุมและบำเหน็จ ดังนี้ 1.1 ค่าตอบแทนของกรรมการ ประจำปี 2551

58 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


ตำแหน่ง

จำนวนกรรมการ (คน)

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ & กรรมการตรวจสอบ กรรมการ (ที่ไม่เป็นผู้บริหาร) กรรมการบริหาร รวม

1 2 1 2 3 5 14

ค่าตอบแทนประจำปี 2551 บาท / ปี / คน รวมทั้งหมด (บาท) 900,000.00 900,000.00 600,000.00 1,200,000.00 840,000.00 840,000.00 720,000.00 1,440,000.00 300,000.00 900,000.00 300,000.00 1,200,000.00 6,480,000.00

บำเหน็จประจำปี 2550 ที่จ่ายในปี 2551 บาท / คน รวมทั้งหมด (บาท) 637,500.00 637,500.00 425,000.00 850,000.00 595,000.00 595,000.00 510,000.00 1,020,000.00 212,500.00 637,500.00 212,500.00 850,000.00 4,590,000.00

1.2 ค่าตอบแทนของผูบ้ ริหาร ประกอบด้วย ค่าจ้างบริหาร เงินโบนัส และเงินกองทุนสำรองเลีย้ งชีพ ซึง่ มีจำนวนผูบ้ ริหารของบริษทั รวมทัง้ สิน้ 10 คน โดยมีคา่ ตอบแทนรวมกันเป็นจำนวนเงินทัง้ สิน้ 11,936,640.00 บาท (สิบเอ็ดล้านเก้าแสนสามหมืน่ หกพันหกร้อยสีส่ บิ บาทถ้วน) 2. ค่าตอบแทนอื่น - ไม่มี การเข้าร่วมประชุมของกรรมการและกรรมการบริหาร

ในปี 2551 มีการประชุมของคณะกรรมการชุดต่างๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ จำนวนครั้งที่เข้าร่วมประชุมจากจำนวนรวม รายชื่อ 1. นายปกรณ์ ทวีสิน 2. ศาสตราจารย์ศิริ เกวลินสฤษดิ์ 3. นายทวีชัย จิตตสรณชัย 4. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา 5. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ 6. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล 7. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ 8. นายธีรชัย ปัญจทรัพย์ 9. นางจงจิตต์ ฐปนางกูร 10. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข 11. นางยุพา เตชะไกรศรี 12. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ 13. นายคัมภีร์ จองธุระกิจ 14. นายโอภาส ศรีพยัคฆ์

คณะกรรมการบริษัท (จัดประชุม 8 ครั้ง)

คณะกรรมการบริหาร (จัดประชุม 24 ครั้ง)

คณะกรรมตรวจสอบ (จัดประชุม 4 ครั้ง)

คณะกรรมสรรหาและ พิจารณาค่าตอบแทน (จัดประชุม 1 ครั้ง)

8 8 6 7 8 7 8 6 8 7 8 8 8 8

24 20 24 23 24

4 4 4 -

1 1 1 1 1 1 1 -

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 59


การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของกรรมการ ฝ่ายจัดการจะจัดทำตารางกิจกรรม เพื่อให้คณะกรรมการได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมของบริษัทและกิจกรรมพนักงานอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม รวมถึงการจัด ให้มีการประชุมนอกสถานที่ และการประชุมเพื่อรับฟังการรายงานความคืบหน้าของการดำเนินโครงการต่างๆ ณ สถานที่ตั้งโครงการ ในปี 2551 คณะกรรมการเข้าร่วม กิจกรรมต่างๆ ของบริษัทนอกเหนือจากการประชุม ดังนี้ 1. ประชุมและรับฟังความคืบหน้าของโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง 2. ประชุมนอกสถานที่เพื่อนำเสนอแผนการดำเนินธุรกิจ 3. ร่วมกิจกรรมประจำปีที่จัดให้ลูกค้าทุกโครงการ 4. กิจกรรมวันครอบครัวแอล.พี.เอ็น. และการรดน้ำผู้ใหญ่ 5. กิจกรรมผู้บริหารพบพนักงานในงานส่งท้ายปี การกำกับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำคัญต่อการกำกับดูแลกิจการที่ดี เนื่องจากตระหนักดีว่าการกำกับดูแลกิจการที่ดีสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางธุรกิจ ดังนัน้ คณะกรรมการบริษทั จึงให้ความสำคัญต่อการบริหารงานบนพืน้ ฐานแห่งความซือ่ สัตย์สจุ ริต มีคณุ ธรรมและจริยธรรมตามหลักธรรมาภิบาลอันเป็นปัจจัย สำคัญที่ส่งผลให้การดำเนินธุรกิจของบริษัทเป็นไปอย่างโปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล มั่นคงและเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ตลอดจนเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและ ความมัง่ คัง่ แก่ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสีย ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั ได้ประกาศใช้จรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษทั จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน แนว ทางการดำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นลายลักษณ์อักษรสำหรับเป็นแบบแผนการปฏิบัติที่ดีของกรรมการและพนักงาน เพื่อให้มั่นใจได้ว่า การปฏิบัติงานตามภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายนั้นเป็นไปโดยถูกต้องตามแนวทางของหลักธรรมาภิบาล และได้เผยแพร่ในเว็บไซด์ของบริษัท คือ www.lpn.co.th แนวทางของการกำกับดูแลกิจการที่ดีของบริษัท มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ หมวดที่ 1 สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders) บริษทั ให้ความเคารพต่อสิทธิขน้ั พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ ทัง้ ในฐานะของนักลงทุนและในฐานะเจ้าของบริษทั ด้วยการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถรับทราบผลการดำเนินงาน นโยบายการบริหารงาน หรือการเข้าทำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันอย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามความเป็นจริงผ่านช่องทางเว็บไซต์ของบริษทั คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ www.set.or.th ผู้ถือหุ้นสามารถมั่นใจได้ว่าสิทธิดังกล่าวได้รับการ คุ้มครองและปฏิบัติด้วยดีเสมอ ยกตัวอย่างเช่น 1. สิทธิในการเข้าร่วมประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ซึง่ จัดให้มปี ลี ะ 1 ครัง้ ในวัน เวลา และสถานทีท่ เ่ี หมาะสม โดยบริษทั ได้สง่ หนังสือนัดประชุมพร้อมเอกสารข้อมูล ประกอบการประชุมทีม่ รี ายละเอียดเพียงพอ ครบถ้วน ทีแ่ สดงรายละเอียดความเป็นมาและความเห็นของคณะกรรมการบริษทั ในทุกวาระ และมีรายละเอียด ในเรื่องดังนี้ - ข้อมูลของบุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อให้เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการแทนกรรมการที่ครบกำหนดออกจากตำแหน่งตามวาระ - ข้อมูลของบุคคลที่เสนอชื่อให้เข้าดำรงตำแหน่งกรรมการ - ข้อบังคับของบริษัทเฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมผู้ถือหุ้น - เอกสารและหลักฐานที่ผู้เข้าร่วมประชุมต้องแสดงก่อนเข้าร่วมประชุม วิธีการมอบฉันทะ การลงทะเบียน และการออกเสียงลงคะแนนในการ ประชุมผู้ถือหุ้น - แผนที่สถานที่จัดการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น - หนังสือมอบฉันทะ แบบ ข. (แบบทีก่ ำหนดรายการต่างๆ ทีจ่ ะมอบฉันทะทีล่ ะเอียดชัดเจนตายตัว) ทัง้ นี้ บริษทั ได้จดั ทำหนังสือมอบฉันทะตาม แบบประกาศของกระทรวงพาณิชย์ซง่ึ มี 3 แบบ คือ แบบ ก. แบบ ข. และ แบบ ค. โดยให้สทิ ธิแก่ผถู้ อื หุน้ ในการเลือกหนังสือมอบฉันทะแบบ ใดแบบหนึ่งก็ได้ โดยสามารถ Download หนังสือมอบฉันทะจากทางเว็บไซต์ของบริษัท ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นใช้ประกอบการพิจารณาตัดสินใจ ลงคะแนนในวาระต่างๆ เป็นการล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน นอกจากนี้ บริษัทได้ลงประกาศโฆษณาในหนังสือพิมพ์เป็นเวลาติดต่อกัน 3 วัน ก่อนวันประชุมไม่นอ้ ยกว่า 3 วัน และด้านการลงทะเบียนเข้าประชุมเป็นไปโดยสะดวก สามารถลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุมไม่นอ้ ยกว่า 1 ชั่วโมง 2. บริษทั ได้เพิม่ ช่องทางการเผยแพร่หนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ และเอกสารประกอบการประชุมผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั คือ www.lpn.co.th ทัง้ ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุม 30 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาพิจารณาวาระที่สำคัญต่างๆ มากยิ่งขึ้น 3. บริษัทมอบหมายให้บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเป็นนายทะเบียนหุ้นของบริษัทเป็นผู้จัดส่งหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นให้แก่ ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าก่อนวันประชุม 21 วัน 4. บริษัทให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นที่เข้ามาร่วมประชุมผู้ถือหุ้นในภายหลังที่ได้เริ่มการประชุมแล้ว โดยมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระที่อยู่ระหว่างการพิจารณา และ ยังไม่ได้ลงมติ พร้อมนับเป็นองค์ประชุมตั้งแต่วาระที่เข้าร่วมประชุมและออกเสียง เป็นต้นไป

60 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


5. ในการประชุมผู้ถือหุ้น ก่อนเริ่มการประชุมตามวาระ ประธานกรรมการบริษัทจะกล่าวแนะนำคณะกรรมการทุกท่าน และผู้สอบบัญชีของบริษัทที่เข้าร่วม ประชุมด้วยต่อผู้ถือหุ้น พร้อมทั้งชี้แจงให้ผู้ถือหุ้นทราบถึงวิธีการในการลงคะแนนเสียง และสิทธิของผู้ถือหุ้น โดยประธานที่ประชุมทำหน้าที่ควบคุมการ ประชุมให้เป็นไปตามลำดับวาระที่แจ้งในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น จัดสรรเวลาให้เหมาะสม เพียงพอสำหรับการนำเสนอประเด็นต่างๆ ของแต่ละวาระ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็น ซักถามเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย พร้อมทั้งมีการบันทึกการประชุม อย่างถูกต้องครบถ้วน และสรุปการลงมติและนับคะแนนเสียงด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม 6. บริษัทได้เปิดเผยรายชื่อผู้ถือหุ้น 10 อันดับแรกของบริษัท ณ วันปิดสมุดทะเบียนพักการโอนหุ้นก่อนการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำปีให้ผู้ถือหุ้นทราบ ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7. ประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจำปี 2551 วาระเลือกตัง้ กรรมการแทนกรรมการทีอ่ อกตามวาระ บริษทั ได้เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ลงคะแนนเสียงเลือกตัง้ กรรมการ เป็นรายบุคคล ทั้งนี้ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีสิทธิเลือกกรรมการที่ต้องการได้อย่างแท้จริง 8. บริษทั ได้นำระบบ E-Voting ของบริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด มาใช้ในการลงทะเบียนและตรวจนับองค์ประชุมผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ การ นับคะแนนในการลงมติตามวาระการประชุม 9. ในระหว่างการประชุม คณะกรรมการบริษัทได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือตั้งคำถามในวาระต่างๆ อย่างอิสระก่อนลงมติ 10. บริษทั ได้ดำเนินการจัดทำรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ภายหลังทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ สิน้ สุดลงอย่างละเอียด ครบถ้วน ตามข้อเท็จจริงทีป่ รากฏในการประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยจัดส่งให้แก่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกระทรวงพาณิชย์ภายใน 14 วันหลังการประชุม พร้อมทั้งเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 11. ปัจจุบนั บริษทั อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์ ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ในการเปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ รายย่อยสามารถเสนอรายชือ่ กรรมการ และวาระประชุมผ่านช่องทางเว็บไซต์ของบริษัทโดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท หมวดที่ 2 การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders) บริษทั ดำเนินธุรกิจโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อสังคมและผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับทุกฝ่าย คณะกรรมการบริษทั ปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยคำนึงถึงผลประโยชน์ ที่ดีที่สุดสำหรับผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน โดยให้ความสำคัญและเคารพต่อสิทธิแห่งความเป็นเจ้าของของผู้ถือหุ้น โดยไม่เอื้อประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ทั้งนี้ ผู้ถือหุ้นจึงสามารถมั่นใจได้ว่าสิทธิของตนจะได้รับการคุ้มครองและปฏิบัติด้วยดีเสมอ คณะกรรมการบริษัทมีแนวทางในการรักษาไว้ซึ่งสิทธิดังกล่าว ดังนี้ 1.1 บริษัทเปิดเผยข้อมูลให้ผู้ถือหุ้นทราบอย่างเพียงพอ ทันเวลา และทั่วถึงเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน นโยบายการบริหารงาน ข้อมูลการทำรายการที่ เกี่ยวโยงกันอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมถึงการเผยแพร่ข้อมูลที่จำเป็นต่อการตัดสินใจของผู้ถือหุ้น ผ่านช่องทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย www.set.or.th และเว็บไซต์บริษัท คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 1.2 บริษทั จัดการประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้เป็นไปตามลำดับวาระทีแ่ จ้งไว้ในหนังสือนัดประชุมผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั จะไม่เพิม่ วาระการประชุมโดยไม่ได้แจ้งให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้า หากจะมีการเพิ่มวาระเพื่อพิจารณาเรื่องอื่นนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้นจะต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุม ผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 1.3 ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ บริษทั ได้ดำเนินการจัดส่งหนังสือเชิญประชุม พร้อมเอกสารข้อมูลประกอบการประชุมโดยมีรายละเอียดครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งความเห็นของคณะกรรมการบริษัทในแต่ละวาระอย่างเพียงพอภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด และเผยแพร่จดหมายเชิญประชุมผู้ถือหุ้น และเอกสารประกอบการประชุมเป็นการล่วงหน้าก่อนการประชุม เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ได้มเี วลาในการพิจารณามากยิง่ ขึน้ ในเว็บไซต์บริษทั คือ www.lpn.co.th ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 1.4 หากผู้ถือหุ้นไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ บริษัทได้จัดส่งให้มีหนังสือมอบฉันทะ ตามแบบของกระทรวงพาณิชย์ไปพร้อมหนังสือนัดประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ประสงค์จะมอบฉันทะให้ผู้อื่นมาประชุมแทน โดยเลือกที่จะมอบฉันทะให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งแทน หรือกรรมการอิสระคนใดคนหนึ่ง ของบริษัทเข้าร่วมประชุมแทนเพื่อเป็นการรักษาสิทธิของผู้ถือหุ้นได้ 1.5 การกำหนดให้สิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นไปตามจำนวนหุ้นที่ผู้ถือหุ้นถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง 1.6 บริษัทมีการดูแลเรื่องการใช้ข้อมูลภายในโดยมีนโยบายห้ามกรรมการและผู้บริหารใช้ข้อมูลภายในที่มีสาระสำคัญของบริษัทและบริษัทย่อย ซึ่งยัง ไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น ซึ่งรวมถึงการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท โดยกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานที่ อยู่ในหน่วยงานที่ทราบข้อมูลภายในจะต้องระงับการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทในช่วง 1 เดือนก่อนการเปิดเผยงบการเงินต่อสาธารณชน - ในกรณีทกี่ รรมการและผูบ้ ริหารคนใดทำการซือ้ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ของบริษทั จะต้องแจ้งให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ทราบทุกครัง้ ภายใน 3 วันทำการนับจากวันทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง และแจ้งให้เลขานุการบริษทั ได้รบั ทราบ รวมทัง้ ได้กำหนด ให้บรรจุวาระการรายงานการถือครองหลักทรัพย์บริษทั ของกรรมการ รวมทัง้ คูส่ มรสเป็นวาระประจำในการประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกไตรมาส

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 61


-

บริษัทมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการดูแล และขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ โดยมีคณะกรรมการตรวจสอบซึ่งมีหน้าที่ตามกฎบัตร คณะกรรมการตรวจสอบ เป็นผู้สอบทานการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ให้เป็นไปตามกฎหมาย ตามหลักเกณฑ์ของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึง่ หากทีป่ ระชุมมีมติทำรายการทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือเข้าทำรายการที่เกี่ยวโยงกัน บริษัทจะทำการเปิดเผยมูลค่ารายการ ชื่อคู่สัญญาและบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน เหตุผล ความจำเป็น และรายละเอียดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการเข้าทำรายการดังกล่าวอย่างถูกต้องครบถ้วนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ผ่านช่องทาง เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ www.set.or.th และเว็บไซต์บริษัท คือ www.lpn.co.th

หมวดที่ 3 การคำนึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (Roles of Stakeholders) บริษทั ให้ความสำคัญต่อการคำนึงถึงประโยชน์ของผูม้ สี ว่ นได้เสียกลุม่ ต่างๆ โดยดำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรมต่อผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกฝ่าย มุ่งมั่นในการพัฒนากิจการของบริษัทให้เจริญก้าวหน้า มั่นคงอย่างยั่งยืน สามารถสร้างผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นอย่างเหมาะสม ปกป้องผลประโยชน์และดูแลทรัพย์สินของ บริษัทเสมือนวิญญูชนพึงรักษาทรัพย์สินของตน ในการนี้ บริษัทได้ดูแลสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ ด้วยการปฏิบัติที่ดีอย่างเท่าเทียมกัน ดังนี้ ผู้ถือหุ้น : บริษัทเคารพต่อสิทธิขั้นพื้นฐานของผู้ถือหุ้นตามที่กำหนดไว้โดยกฎหมาย ข้อบังคับของบริษัท โดยปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน บริษทั มีกลไกทีท่ ำให้ผถู้ อื หุน้ มีความเชือ่ มัน่ ว่าจะได้รบั ข้อมูลทีถ่ กู ต้องและผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม การรับผลตอบแทนตามนโยบายการจ่ายเงิน ปันผลของบริษทั มีการควบคุมการทำรายการระหว่างกัน มีมาตรการป้องกันการขัดแย้งทางผลประโยชน์ ป้องกันการใช้ขอ้ มูลภายในเกีย่ วกับ ข่าวสารที่เป็นความลับ และห้ามกรรมการผู้บริหารที่รับทราบข้อมูลภายในไม่ให้นำข้อมูลภายในของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน รวมทั้ง เพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท โดยเฉพาะในช่วง 1 เดือนก่อนเผยแพร่งบการเงินแก่สาธารณชน ลูกค้า : บริษัทให้ความสำคัญและรับผิดชอบต่อลูกค้าทุกรายอย่างสม่ำเสมอ และเท่าเทียมกัน รับผิดชอบต่อคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ตามที่ ได้โฆษณาหรือสัญญาไว้ รักษาความลับลูกค้า พร้อมทั้งมีหน่วยงานที่ทำหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนของลูกค้าเพื่อรับดำเนินการแก้ไขปัญหาให้แก่ ลูกค้าโดยเร็วที่สุด ตลอดจนการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดี เสริมสร้างความอบอุ่นของสมาชิกในครอบครัว และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างลูกค้า ด้วยกิจกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง คู่ค้า : บริษัทได้ปฏิบัติตามข้อตกลงและเงื่อนไขการค้าตามกรอบกติกาการแข่งขันที่สุจริต เสมอภาค และเป็นธรรม คำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัท โดยอยู่บนพื้นฐานของการได้รับผลตอบแทนที่เป็นธรรมทั้งสองฝ่าย โดยรักษาคำมั่นที่ให้ไว้กับคู่ค้าอย่างเคร่งครัด รวมทั้งการเสริมสร้าง สัมพันธภาพและความเข้าใจทีด่ ตี อ่ กัน หลีกเลีย่ งสถานการณ์ทอ่ี าจจะทำให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ดว้ ยการเจรจาแก้ปญั หาบนพืน้ ฐาน ของความสัมพันธ์ทางธุรกิจ รวมถึงการไม่เรียกรับ หรือยินยอมที่จะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดที่อยู่นอกเหนือข้อตกลงทางการค้า คู่แข่ง : บริษัทดำเนินธุรกิจโดยปฏิบัติตามกรอบกติกาของการแข่งขันทางการค้าโดยสุจริตและเป็นธรรม โดยใช้หลักคู่แข่งเชิงพันธมิตร อันเป็นการ ส่งเสริมซึง่ กันและกันในกรอบทีไ่ ม่กอ่ ให้เกิดความเสียหายทางธุรกิจและความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมา บริษทั ไม่เคยมี ข้อพิพาทใดๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับคู่แข่งทางการค้า เจ้าหนี ้ : บริษัทยึดถือและปฎิบัติตามข้อตกลงเงื่อนไขทางการค้า เงื่อนไขการกู้ยืมเงินตามข้อตกลงและหน้าที่อันพึงมีต่อเจ้าหนี้ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจซึ่งกันและกัน พนักงาน : บริษัทให้ความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพและความสามารถของพนักงานทุกระดับ สร้างเสริมให้มีความรู้ ความสามารถในหน้าที่ และ พัฒนาพนักงานทีม่ ศี กั ยภาพให้สภู่ าวะผูน้ ำ รวมถึงการให้พนักงานมีสว่ นร่วมในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานให้มที ศั นคติเดียวกัน เสริมสร้าง วัฒนธรรมและบรรยากาศที่ดีในการทำงาน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต สุขภาพ ทรัพย์สินของพนักงาน และ สวัสดิการต่างๆ เช่น การตรวจสุขภาพประจำปี กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น พร้อมกับดูแลผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม เหมาะสมกับผล การปฏิบัติงานของพนักงานแต่ละคน และผลสำเร็จทางธุรกิจของบริษัท สิ่งแวดล้อมและสังคม : บริษัทดำเนินธุรกิจโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรและสิ่งแวดล้อง ให้ความสำคัญต่อการอนุรักษ์พลังงาน กิจกรรมที่มีส่วน สนับสนุนสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมทั้งรักษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้คงอยู่อย่างยั่งยืน โดยถือเป็นนโยบายสำคัญส่วน หนึง่ ควบคูก่ บั การดำเนินธุรกิจของบริษทั หมวดที่ 4 การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency) บริษทั ให้ความสำคัญต่อการเปิดเผยข้อมูลทีม่ คี วามถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส และทัว่ ถึง โดยได้เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารต่างๆ เพือ่ ให้ผลู้ งทุนและผูท้ เี่ กีย่ วข้อง ได้รบั ทราบอย่างรวดเร็วและเท่าเทียมกัน โดยผ่านช่องทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย www.set.or.th และเว็บไซต์บริษทั www.lpn.co.th ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และบริษทั ได้กำหนดบุคคลทีส่ ามารถให้ขอ้ มูลและข่าวสารตามทีน่ กั ลงทุนและผูท้ เี่ กีย่ วข้องต้องการ โดยในปี 2551 ผูถ้ อื หุน้ รายย่อยและนักลงทุนทัว่ ไป ได้มี การติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ของบริษัท ซึ่งบริษัทมีความเห็นว่าเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน และเชื่อว่าปัจจุบันผู้ถือหุ้นรายย่อยและนักลงทุนทั่วไปต่าง ให้ความสำคัญกับข้อมูลการลงทุนเป็นอย่างมาก ทัง้ นี้ เจ้าหน้าทีบ่ ริษทั จะตัง้ มัน่ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการเปิดเผยข้อมูลทีเ่ ท่าเทียมกัน บริษทั ได้ตระหนักและมีความรับผิดชอบ ต่อความเชือ่ ถือได้และถูกต้องของข้อมูลทางการเงิน โดยคณะกรรมการบริษทั ได้จดั ทำรายงานทางการเงินทีม่ ขี อ้ มูลถูกต้องครบถ้วนตามมาตรฐานการบัญชีและหลักบัญชีที่ รับรองโดยทั่วไป รวมทั้งการเปิดเผยสารสนเทศสำคัญที่มีผลกระทบหรืออาจมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในราคาหลักทรัพย์ของบริษัทหรือต่อการตัดสินใจลงทุน โดย การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และหน่วยงานอืน่ ๆ ของรัฐ อย่างเคร่งครัด และติดตามการแก้ไขเปลี่ยนแปลงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มั่นใจว่ากฎหมาย กฎเกณฑ์ มีความทันสมัยและเป็นหลักประกันให้ผู้ถือหุ้นเชื่อมั่นในการดำเนิน ธุรกิจอย่างตรงไปตรงมา

62 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


หมวดที่ 5 ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Board Responsibilities) 5.1 โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษทั ตามหนังสือรับรองการจดทะเบียนทีก่ รมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ มีจำนวน 14 คน ประกอบด้วยกรรมการที ่ ไม่เป็นผู้บริหารและกรรมการอิสระ จำนวน 9 คน และกรรมการบริหารจำนวน 5 คน โดยมีกรรมการที่ไม่ใช่ผู้บริหารมีจำนวนสูงกว่า กรรมการบริหาร ซึ่งสัดส่วนของกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารและกรรมการที่เป็นอิสระคิดเป็นร้อยละ 64.3 โครงสร้างการจัดการของบริษัท ประกอบด้วย คณะกรรมการทั้งหมด 4 ชุด 1. คณะกรรมการบริษัท 2. คณะกรรมการบริหาร 3. คณะกรรมการตรวจสอบ 4. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน บริษัทมีการกำหนดและแยกอำนาจของคณะกรรมการและฝ่ายจัดการในระดับต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน โดยในการพิจารณาตัดสินใจเรื่องสำคัญจะต้องผ่าน ความเห็นชอบของคณะกรรมการแต่ละชุด เพื่อถ่วงดุลและสอบทานให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายโดยประธานกรรมการบริษัท มีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและไม่ได้ดำรงตำแหน่งในคณะกรรมการชุดย่อยอืน่ ประธานคณะกรรมการบริหาร (CEO) ในฐานะหัวหน้าของกรรมการ บริหารรับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัทในการดูแลการดำเนินธุรกิจและการปฏิบัติงานของบริษัทให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท วาระการดำรงตำแหน่ง กรรมการบริษัทได้รับการแต่งตั้งและถอดถอนโดยที่ประชุมผู้ถือหุ้น มีวาระการดำรงตำแหน่งตามข้อบังคับของบริษัท และเมื่อครบวาระแล้วอาจได้รับเลือกตั้ง กลับเข้าดำรงตำแหน่งต่อไปได้อีก บริษัทมิได้กำหนดอายุกรรมการ และ/หรือ จำนวนวาระสูงสุดที่จะดำรงต่อเนื่องได้ โดยเชื่อว่าอายุหรือระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง มิได้เป็นอุปสรรค หากเปรียบเทียบกับความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์อันทรงคุณค่าที่แต่ละคนมีและพร้อมที่จะนำมาเป็นประโยชน์ต่อบริษัท จำนวนบริษัทที่กรรมการดำรงตำแหน่ง บริษทั ได้เปิดเผยรายละเอียดข้อมูลการดำรงตำแหน่งของกรรมการแต่ละคนในรายงานประจำปีและแบบ 56-1 บริษทั มัน่ ใจว่าจะไม่มผี ลกระทบต่อการปฏิบตั หิ น้าที่ แต่อย่างใด โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทได้รับคำปรึกษา คำแนะนำ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทที่มีประโยชน์อย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ การรวมหรือแยกตำแหน่ง ประธานกรรมการบริษัทมิได้เป็นบุคคลเดียวกับประธานกรรมการบริหาร โดยประธานกรรมการบริษัทมีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร มีการแบ่งแยกหน้าที่ ในการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลและการบริหารงานประจำออกจากกันอย่างชัดเจน ประธานกรรมการบริษัทมีหน้าที่เป็นประธานในที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทซึ่ง เป็นผู้กำหนดนโยบาย แผนงาน และกลยุทธ์ที่สำคัญให้ฝ่ายบริหารนำไปปฏิบัติ โดยกรรมการบริษัททุกคนมีอิสระในการเสนอวาระประชุม การแสดงความคิดเห็นต่อ การดำเนินงานของบริษัทในด้านต่างๆ รวมถึงการร่วมพิจารณาอย่างรอบคอบในเรื่องที่อาจขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อให้มีความถูกต้อง โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและประธานคณะกรรมการบริหาร (CEO) รับผิดชอบต่อคณะกรรมการบริษัท ในการดูแลการดำเนินกิจการและปฏิบัติงานของบริษัท ให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท โดยมีกรรมการบริหารติดตามผลการดำเนินงานของฝ่ายจัดการ และกำหนดให้มีการประชุมร่วมกันเพื่อรายงานความ ก้าวหน้าของผลการดำเนินงานและผลประกอบการของบริษัทเป็นประจำทุกเดือน มีการกระจายอำนาจลงไปสู่ฝ่ายบริหารในการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบและวงเงิน อนุมัติแต่ละระดับเป็นลายลักษณ์อักษร ภาวะผู้นำและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย วางเป้าหมาย แผนงาน งบประมาณ และกลยุทธ์ทางธุรกิจ ตลอดจนควบคุมการดำเนิน งานของบริษัทให้เป็นไปตามแผนธุรกิจและงบประมาณที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็นและการตัดสินใจ เลขานุการคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทได้ตระหนักถึงความสำคัญของบทบาทและหน้าที่เลขานุการบริษัท ซึ่งมีส่วนช่วยสนับสนุนการดำเนินงานของบริษัทให้เป็นไปตามหลักการ กำกับดูแลกิจการที่ดี ปฏิบัติถูกต้องตามหลักเกณฑ์และข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้ง นางสาวสมศรี เตชะไกรศรี รองกรรมการผู้จัดการ ดำรงตำแหน่งเลขานุการบริษัท ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างกรรมการบริษัทและ ฝ่ายจัดการทำหน้าที่ดูแลและประสานงานด้านกฎหมาย กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ดำเนินการตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี พร้อมปฏิบัติตามข้อ บังคับ และประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งการติดตามผลการปฎิบัติตามมติ ของคณะกรรมการบริษัทและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วย รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 63


5.2 คณะกรรมการชุดย่อย 5.2.1 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหารของบริษัทมีจำนวน 5 คน และมีฐานะเป็นกรรมการบริษัทด้วย โดยเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ในหลายๆ ด้าน มีความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบและมีความเข้าใจลักษณะการดำเนินธุรกิจของบริษัท เป็นอย่างดี คณะกรรมการบริหารได้รับการแต่งตั้งโดยการอนุมัติของคณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่ในการดูแลบริหารจัดการกิจการ ของบริษัทให้สอดคล้องกับนโยบายของคณะกรรมการบริษัท โดยคำนึงผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นเป็นสำคัญ 5.2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีจำนวน 3 คน โดยกรรมการบริษทั ทีม่ คี ณุ สมบัตติ ามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และเป็นบุคคลทีม่ คี วามรู้ ความเข้าใจ และมีประสบการณ์ทางด้านบัญชี การเงิน และการบริหารเป็นอย่างดี คณะกรรมการตรวจสอบมีอำนาจหน้าที่ บทบาท และการปฏิบัติงานตามกฎบัตรคณะกรรมการ ตรวจสอบเป็นองค์กรอิสระที่ให้การสนับสนุนและปฏิบัติการในนามของคณะกรรมการบริษัทตามแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนในการดูแล ขจัดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปอย่างสัมฤทธิผ์ ล สอบทานข้อมูลทางการเงินทีเ่ สนอแก่ผถู้ อื หุน้ และผูท้ เี่ กีย่ วข้องอืน่ สอบทานระบบการควบคุมภายในที่ฝ่ายจัดการและคณะกรรมการบริษัทกำหนดให้มีขึ้นกระบวนการตรวจสอบภายในและการสื่อสาร กับผู้สอบบัญชีของบริษัท 5.2.3 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบดัวย กรรมการอิสระและกรรมการบริหาร โดยสอดคล้องกับแนวทางของตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยคณะกรรมการชุดนี้มีบทบาทที่สำคัญดังนี้ 1. พิจารณากำหนดหลักเกณฑ์พจิ ารณาค่าตอบแทนเบือ้ งต้นทีเ่ หมาะสมของกรรมการบริษทั กรรมการบริหารและผูบ้ ริหาร ระดับสูงโดยใช้ข้อมูลค่าตอบแทนของบริษัทที่มีลักษณะธุรกิจคล้ายกันและมีขนาดใกล้เคียงกัน รวมทั้งผลประกอบการ ของบริษัทประกอบการพิจารณา และเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท โดยคณะกรรมการบริษัทเป็นผู้อนุมัติ ค่าตอบแทนของกรรมการบริหารและผู้บริหาระดับสูง ส่วนค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทจะ ต้องนำเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้อนุมัติ 2. พิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการสรรหาบุคคลทีม่ คี ณุ สมบัตเิ หมาะสมในด้านต่างๆ โดยดูถงึ ความเหมาะสมทางด้าน คุณวุฒิ ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญจากหลากหลายวิชาชีพ รวมทั้งผลการปฏิบัติงานในฐานะของกรรมการ บริษทั ในช่วงทีผ่ า่ นมา โดยเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาให้ความเห็นชอบร่วมกันก่อนทีจ่ ะนำเสนอ ต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น เว้นแต่ในกรณีที่ตำแหน่งกรรมการบริษัทว่างลง โดยมิใช่เป็นการออกตามวาระ อาจพิจารณา สรรหาบุคคลที่เหมาะสมเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อแต่งตั้งบุคคลเข้าเป็นกรรมการในตำแหน่งที่ว่าง ลงได้ตามข้อบังคับของบริษัท 5.3 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ - ดูรายละเอียดที่หน้า 55 เรื่อง “องค์ประกอบคณะกรรมการบริษัท” 5.4 การประชุมคณะกรรมการ - ดูรายละเอียดที่หน้า 59 เรื่อง “การเข้าร่วมประชุมของกรรมการและกรรมการบริหาร” 5.5 ค่าตอบแทนของคณะกรรมการ - ดูรายละเอียดที่หน้า 58 เรื่อง “ค่าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร” 5.6 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร - ดูรายละเอียดที่หน้า 58 เรื่อง “การพัฒนากรรมการ” 5.6.1 การปฐมนิเทศกรรมการใหม่ 5.6.2 การสืบทอดตำแหน่ง - ดูรายละเอียดที่หน้า 68 เรื่อง “บุคลากร” 5.7 การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท - ดูรายละเอียดที่หน้า 58 เรื่อง “การประเมินตนเองของคณะกรรมการ”

64 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


รายงานของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 7 / 2551 เมือ่ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 มีมติให้จดั ตัง้ คณะกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน เพือ่ ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิ เรือ่ ง คณะกรรมการชุดย่อยทีต่ ลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนด โดยแต่งตัง้ กรรมการสรรหาและพิจารณา ค่าตอบแทนจำนวน 7 คน มีวาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 2 ปี ได้แก่ ประธานกรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 1. นายอมรศักดิ์ นพรัมภา 2. นายทวีชัย จิตตสรณชัย รองประธานกรรมการ และ กรรมการอิสระ 3. นายเทพ รุ่งธนาภิรมย์ กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 4. นายวีระศักดิ์ วหาวิศาล กรรมการตรวจสอบ และ กรรมการอิสระ 5. นายวุฒิพล สุริยาภิวัฒน์ กรรมการอิสระ 6. นายทิฆัมพร เปล่งศรีสุข ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและประธานคณะกรรมการบริหาร 7. นายพิเชษฐ ศุภกิจจานุสันติ์ กรรมการบริหาร โดยมีนางสาวสมศรี เตชะไกรศรี เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ในปี 2551 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีการประชุม 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 ได้พิจารณาเรื่องต่างๆ ดังนี้ พิจารณากฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อเป็นกรอบการทำงาน ประกอบด้วย องค์ประกอบ คุณสมบัติ วาระการดำรงตำแหน่ง บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ พิจารณาเรื่องค่าตอบแทนประจำปี 2552 พิจารณาการจ่ายโบนัสประจำปี 2551 พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการบริษัทประจำปี 2552 และบำเหน็จประจำปี 2551 พิจารณาค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูงประจำปี 2552 พิจารณาแบบประเมินตนเองของคณะกรรมการ พิจารณาการเพิ่มช่องทางให้ผู้ถือหุ้นหรือผู้ลงทุน ใช้เสนอแนะเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการที่ดีถึงคณะกรรมการตรวจสอบได้โดยตรง

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ซึง่ เกีย่ วกับการเสนอหลักเกณฑ์ แนวทาง และการดำเนินการสรรหา และเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมให้ดำรงตำแหน่งกรรมการบริษัท อนุกรรมการชุดต่างๆ และผู้บริหารระดับสูงต่อคณะ กรรมการบริษัทเพื่อพิจารณา พร้อมทั้งเสนอหลักเกณฑ์และแนวทางประเมินผลงานของกรรมการ ส่วนในด้านการพิจารณาค่าตอบแทนมีบทบาทในการเสนอหลักเกณฑ์ แนวทาง และการปรับปรุงนโยบาย และโครงสร้างการบริหารค่าตอบแทนของกรรมการบริษทั อนุกรรมการชุดต่างๆ ผูบ้ ริหารระดับสูง และพนักงานของบริษทั ให้สอดคล้อง กับสภาวะของตลาดแรงงานในขณะนั้น เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท สำหรับการสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะดำเนินการสรรหา คัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทกำหนด หรือในกรณีการสรรหาประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือกรรมการผู้จัดการ จะพิจารณาจากบุคคลที่มีความรู้ความสามารถและเหมาะสมจาก รายชือ่ ในแผนสืบทอดตำแหน่ง (Succession Plan) และคำนึงถึงสัดส่วน จำนวน และองค์ประกอบของคณะกรรมการทีเ่ หมาะสมในด้านต่างๆ และเป็นไปตามข้อกำหนด กฎหมายที่เป็นหลักการเบื้องต้น ข้อบังคับของบริษัท และหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี ส่วนการกำหนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารระดับสูง ตามที่เปิดเผยรายละเอียดในรายงานประจำปี หัวข้อค่าตอบแทนของกรรมการและ ผู้บริหารนั้น คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้พิจารณาแล้วเห็นว่าเหมาะสมสอดคล้องกับหน้าที่และความรับผิดชอบ รวมทั้งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ บริษัท และคำนึงถึงผลประกอบการ ผลงาน สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ตลอดจนภาวะทางเศรษฐกิจโดยรวม

นายอมรศักดิ์ นพรัมภา ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 65


บุคลากร 1. จำนวนพนักงาน บริษัทวางโครงสร้างการบริหารจัดการด้านบุคลากรของบริษัทและบริษัทในเครือเป็นแบบรวมศูนย์ เพื่อให้มีความเป็นเอกภาพ เป็นธรรม และเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน ภายใต้การกำกับดูแลของประธานเจ้าหน้าที่บริหารและประธานคณะกรรมการบริหาร (Chief Executive Director : CEO) สอดคล้องกับนโยบายการให้ความ สำคัญด้านบุคลากร ซึ่งถือเป็นหัวใจหลักในการดำเนินธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน ในปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด และบริษัท พรสันติ จำกัด มีจำนวนพนักงานทั้งสิ้น 662 คน ประกอบด้วย จำนวน 33 คน - สายงานพัฒนาธุรกิจ - สายงานบริหารแบรนด์และลูกค้า จำนวน 16 คน - สายงานบริหารงานขาย จำนวน 64 คน - สายงานบริหารโครงการ จำนวน 67 คน - สายงานบริหารชุมชน จำนวน 336 คน - สายงานอำนวยการและบุคลากร จำนวน 49 คน - สายงานบริหารรายได้ จำนวน 73 คน - สายงานสนับสนุนอื่นๆ จำนวน 24 คน รวมทั้งหมด 662 คน ผลตอบแทนรวมของพนักงาน 662 คน ในปี 2551 เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้นประมาณ 300.00 ล้านบาท มียอดสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพปี 2551 ประมาณ 7.30 ล้านบาท มีงบประมาณที่จัดสรรสำหรับกิจกรรมนันทนาการ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีของพนักงานในทุกสายงานของบริษัท มีอัตราการจ่ายโบนัสสูงที่สุดในกลุ่ม อุตสาหกรรม เพื่อเป็นการตอบแทนในความทุ่มเทให้กับกิจการของบริษัท ซึ่งนอกจากจะเป็นกลยุทธ์ในการผูกใจพนักงานให้อยู่กับองค์กรแล้ว ยังเป็นการสร้างวินัยการ ออมและการใช้จ่ายอีกทางหนึ่งด้วย ในจำนวนพนักงาน 662 คน มีพนักงานพิการ (Handicap) ที่บริษัทดูแลด้านคุณภาพชีวิต ให้สามารถดำเนินชีวิตในสังคมปกติอย่างมีคุณค่าในตนเอง นอกจากนี้ ยังมีพนักงานแม่บ้านรายวันอีกจำนวน 500 คน ตามนโยบายการสร้างโอกาส สร้างงานให้กับคนในพื้นที่รอบโครงการทุกโครงการที่บริษัทพัฒนาขึ้น โดยมี การจัดการผลตอบแทนที่ยุติธรรม มีสวัสดิภาพและสวัสดิการที่ดี เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต ส่งเสริมการศึกษา ให้ความรู้ความเข้าใจด้านการใช้จ่ายอย่างมีวินัย และ กลุ่มพนักงานข้างต้นนี้มีแนวโน้มที่จะขยายจำนวนและเติบโตไปพร้อมกับการขยายตัวของบริษัท 2. การบริหารจัดการ ในการบริหารจัดการองค์กร บริษัทได้นำตัวแบบการจัดการแบบสมดุล (Balanced Scorecard) มาใช้ในการกำหนดทิศทางของกลยุทธ์และการดำเนินงานของ บริษัท ซึ่งประกอบด้วย 4 มิติ คือ - มิติด้านการเงิน (Financial Perspective) - มิติด้านลูกค้า (Customer Perspective) - มิติด้านกระบวนการภายใน (Internal Process Perspective) - มิติด้านบุคลากร (People Perspective) จะเห็นได้วา่ ในการดำเนินงานของบริษทั นัน้ บริษทั ได้ให้ความสำคัญกับมิตทิ ง้ั 4 เพือ่ สร้างความสมดุลในด้านต่างๆ ในการดำเนินการ และได้กำหนดแผนภูมกิ ลยุทธ์ เพือ่ เป็นแนวทางในการกำหนดทิศทางการจัดการภายใต้การสร้างความสมดุลของทัง้ 4 มิติ มิตดิ า้ นบุคลากร คือการเสริมสร้างความสุข ความก้าวหน้า ความมัน่ คงของ พนักงานด้านการพัฒนาศักยภาพและการเปลีย่ นแปลงสูก่ ารเป็นองค์กรคุณภาพ โดยบริษทั จะใช้หลักการนีเ้ ป็นแนวทางในการบริหารงานบุคคลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 3. การพัฒนา ด้านการพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ และขีดความสามารถ มีการวางแนวทางการพัฒนาตามความสำคัญและจำเป็นของงานตามสายความรับผิดชอบและพันธกิจ ขององค์กร ภายในข้อกำหนดค่านิยมขององค์กร (Core Value) มีการจัดสรรงบประมาณอย่างเหมาะสมในแต่ละปี เพื่อการเรียนรู้ และเปิดโอกาสให้พนักงานทุกคน สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล ความรู้ ทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กรอย่างทั่วถึง โดยบริษัทจะให้ความสำคัญกับการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกัน ทั้ง ที่เป็นความสำเร็จและอุปสรรคในแง่มุมต่างๆ อย่างทั่วถึงและต่อเนื่องด้วยช่องทางที่หลากหลาย

66 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


4. บุคลากรกับค่านิยมขององค์กร (Core Value) ในการพัฒนาศักยภาพของพนักงานทั้งองค์กร บริษัทใช้แนวคิดและประสบการณ์ที่ช่วยทำให้องค์กรฝ่าฟันวิกฤติเศรษฐกิจเมื่อปี 2540 และทำให้ค้นพบความ เป็นตัวตนของบริษัท โดยได้กำหนดคุณสมบัติหลัก (Core Competency) ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นค่านิยมขององค์กร (Core Value) และยึดถือเป็นแนวทางในการ พัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากรทุกคน ภายใต้ชื่อ “CLASSIC” ซึ่งแต่ละหัวข้อใน “CLASSIC” เป็นส่วนสำคัญที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ที่ทางบริษัทกำหนดขึ้น โดยมีการถ่ายทอดค่านิยมขององค์กรไปยังพนักงานใหม่ เพื่อคงความเข้มข้นและความเข้าใจในที่มาและความหมาย นอกจากนี้ ยังมีการแบ่งปันประสบการณ์ที่ได้จาก “CLASSIC” นี้ ภายในองค์กรอย่างต่อเนื่อง ทั้งในรูปแบบกิจกรรม การจัดกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “CLASSIC” ค่านิยมขององค์กร Collaboration : ความร่วมมือร่วมใจ ความหมาย : การร่วมมืออย่างเป็นหนึง่ เดียวกันของบุคลากร เพือ่ ให้เกิดความร่วมใจในการทำงานหรือกิจกรรมของบริษทั ด้วยจิตสำนึกทีพ่ ร้อมช่วยเหลือ เอื้ออาทร เข้าใจในบทบาทของกันและกัน เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน Lateral Thinking : คิดนอกกรอบ ความหมาย : การคิดใหม่ทแี่ ตกต่างจากเดิม โดยไม่กงั วลถึงอุปสรรค เพือ่ ปรับปรุง เปลีย่ นแปลง พัฒนาและสร้างสรรค์อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ นำไปปฏิบตั ิ และวัดผลได้จริง อันจะส่งผลให้บริษัทก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง Alliance : ปิยมิตร ความหมาย : การให้ความสำคัญกับพันธมิตรทางธุรกิจอันยาวนานโดยการเกือ้ หนุนกันและกัน ร่วมทุกข์ ร่วมสุข ทำงานเสมือนหนึง่ เป็นองค์กรเดียวกัน เพื่อบรรลุความสำเร็จร่วมกัน Speed : รวดเร็ว ความหมาย : มุ่งมั่น ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนากระบวนการทำงาน โดยการคิดเร็ว ทำเร็ว ใส่ใจรายละเอียด คิดนอกกรอบ เพื่อให้งานเสร็จก่อน กำหนดหรือเร็วกว่าเดิม จนล้ำหน้าผู้อื่น ซึ่งมีผลดีต่อบริษัททั้งทางตรงและทางอ้อม Service Minded : ใจรักบริการ ความหมาย : การรูจ้ กั เอาใจเขามาใส่ใจเรา คิดในมุมมองผูอ้ นื่ พร้อมการแสดงออกอย่างกระตือรือร้น ให้บริการอย่างเกินความคาดหมาย เต็มใจ ไม่เลือก ปฏิบัติ ทันท่วงที ด้วยรอยยิ้ม เพื่อสร้างความสุขและความประทับใจ Integrity : คุณธรรม ความหมาย : การดำเนินการใดๆ ด้วยความซื่อสัตย์ ไม่เอาเปรียบผู้อื่น รับผิดชอบต่อคำพูดและการกระทำของตนเอง และก่อให้เกิดคุณค่าต่อบริษัท Cost awareness : บริหารต้นทุน ความหมาย : การตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ทรัพยากร ด้วยความระมัดระวัง และรอบคอบ อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้จิตสำนึกของการเป็น เจ้าของ 5. การดูแลพนักงาน บริษัทได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของพนักงานว่าเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนให้บริษัทเติบโตอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน จึงได้มีความพยายามหา แนวทางในการสนับสนุนพนักงานให้สามารถทำงานได้อย่างเต็มความสามารถ มีความสุข และเต็มไปด้วยพลังใจอย่างแรงกล้าที่จะทำงานของตนให้ประสบความสำเร็จ ผู้บริหารทุกคนจึงมีบทบาทในการรับทราบความคิดเห็นของพนักงานในแต่ละหน่วยงานที่มีต่องาน องค์กร สภาพแวดล้อม เพื่อนร่วมงาน หัวหน้างาน ระบบการจัดการ ภายใต้การควบคุมและติดตามผลของผู้บริหารสูงสุดที่ตั้งเป็นนโยบายเรื่องการดูแลทุกข์สุขของพนักงาน สร้างโอกาสให้เกิดกิจกรรมการสื่อสารระหว่างบุคลากรทุกระดับ นำข้อมูลที่ได้รับมาปรับปรุงกระบวนการภายใน ให้สามารถกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการทำงานให้มีคุณภาพ และบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ในด้านสวัสดิภาพอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานของพนักงาน บริษัทได้ให้ความสำคัญ และปฏิบัติตามมาตรฐานด้านสวัสดิภาพและความปลอดภัย ตามทีก่ ฎหมายกำหนดทุกประการ ให้ความคุม้ ครองในรูปของสวัสดิการ สิทธิประโยชน์ เกีย่ วกับการประกันชีวติ การประกันอุบตั เิ หตุ และการประกันสุขภาพ โดยพิจารณา จากความต้องการพืน้ ฐาน และวิถชี วี ติ (Life Style) เสมือนหนึง่ พนักงานคือลูกค้าภายใน จัดการด้านความเป็นอยูใ่ ห้เกิดความสมดุลและความสุขตามช่วงอายุของพนักงาน ที่แตกต่างกัน การจัดการด้านการประกันสุขภาพ การตรวจร่างกาย กิจกรรมนันทนาการต่างๆ จะมีทางเลือกที่หลากหลายเหมาะสมกับความต้องการและวิถีชีวิต นอกจากนี้ ยังมีคณะกรรมการสวัสดิการซึ่งเลือกตั้งจากพนักงาน ทำหน้าที่ให้คำแนะนำและแสดงความเห็นด้านการจัดสรรสวัสดิการของพนักงาน คอยดูแลและส่งเสริม คุณค่าของบุคลากรอีกชั้นหนึ่ง ในการส่งเสริมเรื่องจริยธรรมและคุณธรรมของพนักงาน มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการทำความดีในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น การร่วมบำเพ็ญตนเพื่อ สาธารณประโยชน์ การปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา การร่วมแบ่งปันสิ่งต่างๆ แก่ผู้ด้อยโอกาสในสังคม เป็นต้น เพื่อเป็นการกระตุ้นจิตสำนึกที่ดีอย่าง ต่อเนื่องและเป็นการสร้างต้นแบบการทำความดีให้เกิดขึ้นและขยายผลไปยังบุคคลอื่นๆ ในสังคมรอบข้าง

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 67


6. การเตรียมผู้สืบทอด การเตรียมผูส้ บื ทอดตำแหน่งงานสำคัญในองค์กรเพือ่ สานต่อและรับช่วงการบริหาร เป็นอีกหนึง่ ในแนวทางทีบ่ ริษทั ดำเนินการมาอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ป้องกันภาวะ ชะงักงันจากความต่อเนือ่ งในการบริหารงาน โดยเฉพาะในปี 2551 บริษทั ได้จา้ งทีป่ รึกษาทีม่ คี วามชำนาญจัดทำโครงการ Succession Plan & Succession Identifification เพื่อให้การดำเนินการมีแบบแผนรองรับการขยายตัวขององค์กรได้อย่างครอบคลุม ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ 1. การวินิจฉัยองค์กรและการระบุปัจจัยสำคัญที่ผลักดันให้เกิดผลทางกลยุทธ์ เป็นการสำรวจความคิดเห็นเกีย่ วกับทิศทางธุรกิจจากผูบ้ ริหาร เก็บ และวิเคราะห์ขอ้ มูลเกีย่ วกับระบบบริหารงาน บริหารคน แล้ววิเคราะห์หาปัจจัยสำคัญ ที่ผลักดันให้เกิดผลทางกลยุทธ์ 2. การปรับแผนกลยุทธ์ เพื่อใช้ถ่ายทอดนโยบายและกลยุทธ์องค์กร เป็นการหาปัจจัยความสำเร็จและการปรับรูปแบบ และระบบประสานงานในการรับผิดชอบกลยุทธ์ร่วมกัน ตลอดจนการถ่ายทอดกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายเดียวกันทั่วทั้งองค์กร 3. การกำหนดเกณฑ์และการคัดเลือก เป็นการระดมสมองเพือ่ รวบรวมและประเมินข้อมูลของผูท้ มี่ แี นวโน้มในแต่ละสายงาน วิเคราะห์จดุ เด่น จุดด้อยรายบุคคล แล้วกำหนดแนวทางพัฒนาศักยภาพ 4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน พร้อมให้คำเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินโครงการ เพื่อนำไปใช้ในการบริหารบุคคลในทางปฏิบัติให้บรรลุตามกลยุทธ์

68 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


จรรยาบรรณทางธุรกิจ

จรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) จรรณยาบรรณของคณะกรรมการฉบับนี้ จัดทำขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้กรรมการของบริษัทยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกำกับดูแล กิจการที่ดี และแสดงถึงความมุง่ มัน่ ของกรรมการทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามมาตรฐานด้านจริยธรรม เพือ่ ประโยชน์ต่อบริษัท ผู้ถือหุ้น พนักงาน และผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ คณะกรรมการของบริษัท ถือเป็นผู้กำหนดนโยบายในการบริหารองค์กร และวางหลักการกำกับดูแลกิจการ เพื่อให้การดำเนินกิจการเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ของวิสัยทัศน์และพันธกิจ จากการที่บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ได้รับความเชื่อมั่นในมาตรฐานการ ดำเนินธุรกิจจากผู้ถือหุ้น นักลงทุน และสาธารณชนทั่วไป ส่งผลให้กรรมการของบริษัททุกท่านจะต้องปฏิบัติตามข้อบัญญัติ และเจตนารมณ์ของกฎหมายด้วยความ รอบคอบและเอาใจใส่ รวมถึงการปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อพนักงาน เพื่อรักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัทที่สร้างมาให้คงอยู่ตลอดไป

จรรยาบรรณทางธุรกิจ มีดังต่อไปนี้ 1. ความซื่อสัตย์ ยุติธรรม และคุณธรรม ปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ยึดมัน่ ต่อความจริง และ ไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ จ ากความแตกต่ า งด้ า น เชื้ อ ชาติ ศาสนา เพศ สถานภาพสมรส หรือความไร้สมรรถภาพทางร่างกาย กรรมการจะยึดมั่นต่อความจริง และจะไม่ทำให้เกิดความ เข้าใจผิดทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม จะไม่พูดหรือกระทำการอัน เป็นเท็จ และจะไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดโดยละเว้นการพูด หรือ การปฏิบัติ 2. ความเป็นอิสระ ตัดสินใจและปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความเป็นอิสระ โดยจะไม่ให้ผล ประโยชน์ส่วนตัว ผลตอบแทน ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินหรือไม่เป็น ตัวเงินมาอยูเ่ หนือความเป็นอิสระในการใช้ขอ้ มูลทีเ่ ป็นความจริง ครบถ้วน มีเหตุผลในการปฏิบัติหน้าที่ 3. การดำเนินธุรกรรมส่วนตัว และการรักษาความลับ การดำเนินธุรกรรมส่วนตัวหรือธุรกิจอื่นๆ ของกรรมการจะ ต้องแยกออกจากการดำเนินกิจการของบริษทั ในฐานะกรรมการบริษทั ไม่ใช้ชื่อบริษัทในการดำเนินธุรกรรมส่วนตัวหรือธุรกิจอื่นๆ และไม่ เกี่ยวข้องในกิจการซึ่งจะนำความเสื่อมเสียมาสู่บริษัท รวมถึงไม่ เปิดเผยข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของลูกค้า พนักงาน และการดำเนินงาน ของบริษัทต่อบุคคลที่สามเว้นแต่จะได้รับความยินยอมจากบริษัท อีกทัง้ จะไม่ใช้ขอ้ มูลทีไ่ ด้รบั ในฐานะเป็นกรรมการไปในทางทีไ่ ม่ถกู ต้อง 4. การเปิดเผยเรื่องผลประโยชน์ กรรมการจะต้องเปิดเผยผลประโยชน์จากธุรกิจส่วนตัวหรือ ธุรกิจอื่นๆ รวมทั้งเรื่องใดๆ ที่เป็นความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรืออาจนำไปสู่ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้บริษัททราบ การดำเนินการใดๆ กับบริษทั ของกรรมการ จะต้องอยูใ่ นระดับที ่ เหมาะสม เพือ่ หลีกเลีย่ งความขัดแย้งทางผลประโยชน์ทอี่ าจเกิดขึน้ หรื อถูกเข้าใจว่าเกิดขึ้น 5. การยึดถือปฏิบัติตามกฎหมาย ยึดถือปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎเกณฑ์ และข้อกำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง กับการดำเนินธุรกิจ และจะไม่ใช้ช่องว่างของกฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำหนด เพือ่ ประโยชน์ของบริษทั หรือประโยชน์สว่ นตนโดยมิชอบ 6. การให้โอกาสผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน รักษาสิทธิประโยชน์ของผูถ้ อื หุน้ ตามหน้าทีท่ ไี่ ด้รบั ความไว้วางใจ และคำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ กับบริษัท

การปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 1. หน้าที่ต่อบริษัท 1.1 อุทิศเวลาให้บริษัทอย่างเต็มที่ในการปฏิบัติภารกิจในฐานะ กรรมการบริษทั และปฏิบตั ติ ามแนวทางการกำกับดูแลกิจการ ที่ดี และจรรยาบรรณทางธุรกิจของบริษัท 1.2 ใช้ดุลยพินิจที่เป็นอิสระในการกำกับดูแลกิจการ 1.3 มีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น คำนึงถึงสิทธิประโยชน์ของผู้มี ส่วนได้เสียอื่นๆ โดยยึดถือหลักจรรยาบรรณ และปฏิบัติตาม กฎหมาย 1.4 สรรหาผู้บริหารระดับสูงที่มีศักยภาพ สามารถอุทิศตนเพื่อ ประโยชน์ของบริษัทได้อย่างเต็มที่ 1.5 ดูแลให้ฝ่ายบริหารรายงานเรื่องที่สำคัญของบริษัทเพื่อให้การ ดำเนินกิจการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 1.6 แจ้งให้แก่บริษัททราบเป็นลายลักษณ์อักษร กรณีที่กรรมการ ไปเป็นกรรมการทีป่ รึกษาในบริษทั อืน่ หรือองค์กรสมาคมอืน่ ใด การดำเนินการดังกล่าวจะต้องไม่ขัดต่อประโยชน์ของบริษัท และการประกอบหน้าที่โดยตรง หรือเข้าไปเป็นผู้ถือหุ้นใน กิจการใดๆ ซึ่งอาจมีผลประโยชน์หรือก่อให้เกิดความขัดแย้ง ทางธุรกิจต่อบริษัท 2. หน้าที่ต่อผู้ถือหุ้น 2.1 กำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่าบริษัทมีสถานะทางการเงิน การบริหารและการจัดการที่ถูกต้อง เหมาะสม เพื่อก่อให้ เกิดผลตอบแทนที่เหมาะสมต่อผู้ถือหุ้น 2.2 กำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่า บริษัทได้เปิดเผยข้อมูลที่มี สาระสำคัญครบถ้วน ถูกต้อง เป็นความจริง ทันเวลา มีมาตรฐาน และโปร่งใส แก่ผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 2.3 กำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่า บริษัทให้ความสำคัญและ เคารพต่ อ สิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก รายอย่ า งเสมอภาคและ เท่าเทียมกัน 2.4 กำกับดูแลเพือ่ ให้เป็นทีม่ นั่ ใจได้วา่ บริษทั ให้คำชีแ้ จงรายละเอียด เกีย่ วกับผลการดำเนินงาน และสถานะทางการเงินของบริษทั ตามหลักเกณฑ์การเปิดเผยข้อมูล 2.5 กำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่า บริษัทให้ความสำคัญต่อ ข้อเสนอแนะต่างๆ ของผู้ถือหุ้น และนำข้อเสนอแนะที่ดีไป ปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงาน รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 69


3. หน้าที่ต่อพนักงาน 3.1 ปฏิบัติต่อพนักงานทุกคนด้วยความเป็นธรรม โดยไม่เลือก ปฏิบตั ติ อ่ ผูใ้ ดผูห้ นึง่ เนือ่ งจากความแตกต่างในเรือ่ งเชือ้ ชาติ ศาสนา สัญชาติ เพศ อายุ พื้นฐานการศึกษา หรือความ ชอบพอส่วนตัว 3.2 พึงรับฟังความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของพนักงานและ พิจารณานำไปใช้ในทางที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท 3.3 ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคลทัง้ ทางตรงและทางอ้อม 4. หน้าที่ต่อผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ 4.1 กำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่า บริษัทได้ปฏิบัติตาม กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 4.2 กำกับดูแลเพื่อให้เป็นที่มั่นใจได้ว่า บริษัทให้ความสำคัญ ต่อผลกระทบที่จะเกิดแก่ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความรอบคอบในการปฏิบัติหน้าที่ 1. เข้าประชุมคณะกรรมการบริษัททุกครั้ง ในกรณีที่มีความจำเป็นที่ไม่ สามารถเข้าร่วมประชุมได้ จะแจ้งให้บริษัททราบล่วงหน้า 2. หาข้อมูลความรูเ้ กีย่ วกับสภาพแวดล้อมทีม่ ผี ลกระทบต่อธุรกิจของบริษทั 3. ศึกษาถึงข้อกฎหมาย กฎระเบียบ หรือข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องที่มีผล ต่อการปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการของบริษัท 4. ใช้เวลาอย่างเพียงพอในการพิจารณาข้อมูลเป็นการล่วงหน้าด้วยความ รอบคอบ 5. พิจารณาและให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ กรณีที่กรรมการท่านใดไม่ เห็นด้วยกับมติของที่ประชุม กรรมการท่านนั้นสามารถกำหนดให้มี การบันทึกความเห็นแย้งไว้ในรายงานการประชุมคณะกรรมการบริษทั 6. ส่งเสริมให้มกี ารสือ่ สารระหว่างคณะกรรมการและผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาต เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่าการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เป็นไปอย่างมีอิสระและมีประสิทธิภาพ โดยได้รับความร่วมมือจาก ฝ่ายบริหารและฝ่ายตรวจสอบภายใน 7. ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อกำหนด ข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงมาตรฐานธุรกิจและจริยธรรม 8. ในกรณีมีข้อสงสัยใดๆ คณะกรรมการสามารถขอข้อมูลเพิ่มเติม หรือ คำชี้แจงจากฝ่ายบริหาร หรือที่ปรึกษาของบริษัท 9. ไม่กระทำการใดๆ ที่อาจเป็นข้อครหาในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตและ เทีย่ งธรรม โดยหลีกเลีย่ งทัง้ โดยตนเองและครอบครัว ในการเรียก รับ หรือยินยอมจะรับเงิน สิง่ ของ หรือประโยชน์อนื่ ใดจากผูเ้ กีย่ วข้องทาง ธุรกิจของบริษัท เช่น ลูกค้า ผู้รับเหมา พ่อค้า เป็นต้น เว้นแต่ใน โอกาสหรือเทศกาลอันเป็นประเพณีนิยม ทั้งนี้ จะต้องไม่มีราคามาก จนเกินสมควรหรือเกินแก่ปกติวิสัย ความขัดแย้งของผลประโยชน์ 1. ไม่ใช้อำนาจหน้าที่ในตำแหน่งกรรมการเพื่อแสวงประโยชน์ส่วนตน หรือของผู้ใกล้ชิด ไม่ว่าทางตรง หรือทางอ้อม 2. แจ้งให้บริษัททราบโดยไม่ชักช้าเมื่อมีเหตุดังนี้ 2.1 การตอบรับเชิญเป็นกรรมการหรือที่ปรึกษาของบริษัทอื่น

70 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

2.2 กรรมการและบุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วม หรือเป็นผู้ถือ หุน้ ในกิจการใดๆ ซึง่ อาจมีผลประโยชน์ หรือเกิดความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์กับบริษัท 2.3 มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงหรือโดยอ้อมในสัญญาใดๆ ที่ทำ กับบริษัท โดยต้องระบุลักษณะของสัญญา ชื่อของคู่สัญญา ส่วนได้เสียในสัญญา 2.4 เข้าถือหลักทรัพย์หรือหุ้นกู้ของบริษัทหรือบริษัทในเครือ โดยจะต้องระบุจำนวนหลักทรัพย์รวมทั้งการเปลี่ยนแปลง 3. หาทางหลีกเลี่ยงไม่ให้มีความขัดแย้งของผลประโยชน์เกิดขึ้น หากมี กรณีเกิดความขัดแย้งขึ้น กรรมการจะต้องพิจารณาว่าจะของดเว้น จากการร่วมอภิปรายให้ความเห็นหรืองดการออกเสียงลงคะแนนใน วาระดังกล่าว หรือไม่เข้าร่วมประชุมในวาระดังกล่าว หรือขอไม่รับ เอกสารวาระการประชุมที่เกี่ยวข้อง หรือขอลาออกจากตำแหน่ง กรรมการ หากความขัดแย้งนั้นถือเป็นเรื่องสำคัญ 4. กรรมการที่เป็นผู้บริหารจะต้องใช้ความระมัดระวังอย่างยิ่งต่อความ ขัดแย้งของผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการทำงานในฐานะ ของฝ่ายบริหาร และการดำเนินงานในฐานะที่เป็นกรรมการซึ่งได้รับ ความไว้วางใจจากผู้ถือหุ้น 5. กรรมการไม่ควรเกี่ยวข้องในการซื้อขายหุ้นของบริษัทเพื่อการลงทุน ระยะสั้น การใช้ข้อมูลของบริษัท 1. ไม่ใช้ข้อมูลที่ได้รับในฐานะกรรมการบริษัทไปในทางที่มิชอบ 2. ไม่เปิดเผยข้อมูลต่างๆ เช่น ข้อมูลที่เป็นความลับทางธุรกิจ หรือ ข้อมูลที่มีผลกระทบต่อการทำธุรกิจต่อบุคคลภายนอก 3. ไม่ซื้อหรือขายหุ้นในขณะที่มีข้อมูล ซึ่งถ้าเปิดเผยต่อสาธารณชนจะมี ผลกระทบต่อราคาหุ้น 4. รักษาข้อมูลความลับของบริษัท ระมัดระวังมิให้เอกสารหรือข่าวสาร อันเป็นความลับของบริษทั รัว่ ไหล หรือตกไปถึงผูท้ ไี่ ม่เกีย่ วข้องอันอาจ เป็นเหตุให้บริษัทเกิดความเสียหาย 5. ไม่ใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรือผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อมูลนั้นเป็นสาระสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ที่ ยังไม่ได้เปิดเผยต่อสาธารณะ 6. จะต้องไม่แจ้งข้อมูลซึ่งอาจมีผลกระทบต่อราคาหุ้นของบริษัท ซึ่งยัง ไม่เปิดเผยต่อสาธารณชน ซึ่งข้อมูลเหล่านั้นจะรวมถึง 6.1 การคาดการณ์ผลกำไร 6.2 การออกหลักทรัพย์ใหม่ 6.3 การกู้ยืม 6.4 การครอบงำกิจการที่อาจจะเกิดขึ้น 6.5 การเปลี่ยนแปลงการประกอบการที่สำคัญ 6.6 โครงการลงทุนใหม่ 6.7 ปัญหาเกี่ยวกับสภาพคล่อง


จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษทั ทีด่ ำเนินธุรกิจด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียต่างๆ ตัง้ แต่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้า คู่ค้า คู่สัญญา พนักงาน ตลอดจนต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ซึ่งพนักงานทุกคนของบริษัทล้วนมีส่วนช่วยผลักดันให้การดำเนินงานของบริษัทบรรลุตาม เป้าหมายและวิสัยทัศน์ดังที่ได้กำหนดไว้ บริษัทมีความมุ่งมั่นที่จะให้พนักงานทุกคนของบริษัทตระหนักถึงความรับผิดชอบจากการได้รับความไว้วางใจในการประกอบธุรกิจ ซึ่งในการดำเนินธุรกิจไปสู่ ความสำเร็จ ความมั่นคง ยั่งยืน และเป็นที่เชื่อถือจากลูกค้า ผู้ถือหุ้น และประชาชนโดยทั่วไป บริษัทได้กำหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน เพื่อเป็นหลักในการ ประพฤติปฏิบัติของพนักงาน จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงานฉบับนี้ กำหนดขึ้นเพื่อเป็นมาตรฐานเบื้องต้นสำหรับพนักงานในการปฏิบัติตนอย่างมีจรรยาบรรณ เป็นเครื่องมืออย่างหนึ่ง ในการเตือนพนักงานให้มีความระมัดระวัง และป้องกันไม่ให้พนักงานกระทำการใดๆ ที่เป็นการละเมิดกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่นำความเสื่อมเสียมาสู่ชื่อเสียงของบริษัท บริษัทมอบหมายให้ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ เป็นผู้มีหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน โดยให้ผู้บังคับบัญชาแต่ละฝ่ายร่วม ดูแลให้พนักงานปฏิบัติตามข้อกำหนดที่บัญญัติไว้ด้วย จรรยาบรรณทางธุรกิจของพนักงาน แบ่งรายละเอียดเป็นหัวข้อต่างๆ 10 หัวข้อ มีคำอธิบายที่ชัดเจนและมอบให้พนักงานทุกคนไว้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตามดังนี้ 1. ขอบเขตของจรรยาบรรณ 2. การปฏิบัติตามกฎหมาย และการรักษากฎระเบียบของบริษัท 3. ความเชื่อถือได้ของข้อมูล 4. การรักษาความลับของข้อมูล 5. การสื่อสาร 6. การใช้ข้อมูลภายในเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์ 7. การคุกคาม 8. การพนัน การดื่มแอลกอฮอล์ และสิ่งเสพติด 9. การให้และรับของกำนัล และการเลี้ยงรับรอง 10. การทำงานอื่นหรือกิจกรรมภายนอก นอกจากนี้ ยังได้กำหนดการปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงานตามบทบาทหน้าที่ที่มีต่อบริษัท ต่อลูกค้า ต่อผู้ถือหุ้น ต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วม งาน และหน้าที่ต่อตนเอง รวมถึงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการใช้ข้อมูลของบริษัท เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติร่วมกัน

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 71


แนวทางการดำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบริษัทเป็นต้นมา บริษัทได้กำหนดแนวทางการดำเนินธุรกิจโดยการสร้างความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง กำหนดกระบวนการเติบโตของบริษัทเป็นการเติบโตจากภายใน ควบคู่ไปกับการพัฒนาบุคลากร ซึ่งหลังภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ปี 2540 เป็นต้นมา การเติบโตของบริษัท เป็นการเติบโตด้านการพัฒนาโครงการทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กรและภาวะเศรษฐกิจโดยรวม อีกทัง้ ยังรักษาการเติบโตของบริษทั ให้เป็นไปอย่างสม่ำเสมอ รวมถึง กำหนดกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจโดยมุง่ เน้นพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยทีใ่ กล้กบั เขตศูนย์กลางทางธุรกิจสำหรับกลุม่ เป้าหมายทีม่ รี ายได้ระดับปานกลาง ซึง่ เป็นกลุม่ เป้าหมาย ขนาดใหญ่ในเมือง นอกจากนั้นยังให้ความสำคัญกับการบริหารชุมชนที่บริษัทพัฒนาขึ้นให้มีคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม มีสภาพแวดล้อมและสังคมที่ดี มีความสุข จากแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทจะเห็นว่ามีความสอดคล้องกับ หลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ซึง่ สามารถ อธิบายได้ดังนี้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 3 ห่วง ได้แก่ 1. ความพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล ความพอประมาณ 3. การสร้ า งภู ม ค ิ ม ้ ุ กั น 2 เงื่อนไข ได้แก่ 1. ความรู้ การสร้าง ความมีเหตุผล ภูมิคุ้มกัน 2. คุ ณ ธรรม 3 ห่วง 1. ความพอประมาณ แนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัท ประกอบด้วย - บริหารการเติบโตในอัตราทีเ่ หมาะสม ไม่เร็วและไม่ชา้ จนเกินไป โดยมุ่งสร้างความแข็งแกร่งจากภายใน เพื่อให้เป็นการเติบโต ที่ยั่งยืน ภายใต้การบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสม - กำหนดผลกำไรจากการประกอบการทีพ่ อเหมาะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ไม่เบียดเบียนลูกค้าและสังคม - คำนึงถึงผลกระทบจากการพัฒนาโครงการทัง้ ด้านสิง่ แวดล้อมและ สังคม พร้อมทัง้ หามาตรการลดผลกระทบในทุกวิถที างเท่าทีจ่ ะ ทำได้ 2. ความมีเหตุผล - พัฒนาทีพ่ กั อาศัย สำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการทีพ่ กั อาศัยเป็นของตนเอง - ยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัย โดยเข้าไปบริหาร ชุมชนหลังส่งมอบให้มีประสิทธิภาพสูงสุด - สร้างความสมดุลของผลตอบแทนและผลประโยชน์ของผูท้ เี่ กีย่ วข้อง กับการดำเนินงานทั้งหมด 3. การสร้างภูมิคุ้มกัน - พัฒนาประสิทธิภาพของบุคลากรทั้งในด้านความรู้ ทักษะ และวุฒิภาวะ - กำหนดกลยุทธ์ที่เหมาะสมและครอบคลุมทุกสภาวะของธุรกิจ ได้แก่

72 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

กลยุทธ์ระยะสั้น - มุ่งเน้นพัฒนาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์และบริการ มากยิ่งขึ้น - ขยายการพัฒนาโครงการไปยังทำเลใหม่ๆ - สร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์และบริการ โดยเน้นเรือ่ ง การบริหารชุมชนภายใต้แนวทาง “ชุมชนน่าอยู่” กลยุทธ์ระยะกลาง - กระจายฐานลูกค้า โดยเพิม่ ผลิตภัณฑ์หรือโครงการทีไ่ ม่เป็น อาคารชุด (Non-Condo) - ขยายฐานรายได้จากกลุม่ เป้าหมายเดิม โดยเพิม่ ศักยภาพ และจำนวนพันธมิตร - ขยายฐานรายได้จากธุรกิจในเครือ โดยเฉพาะธุรกิจด้าน บริการ บริหาร รวมทั้งธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ กลยุทธ์ระยะยาว - เพิม่ ศักยภาพของบุคลากร และปรับปรุงกระบวนการภายใน - เพิม่ ประสิทธิภาพของการบริหารชุมชน โดยเน้นทีศ่ กั ยภาพ ของผู้จัดการชุมชน - เพิม่ คุณค่าขององค์กรด้วยการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ด้าน ผลิตภัณฑ์และบริการ 2 เงื่อนไข 1. ความรู้ บริษัทได้ระบุไว้ในมิติด้านบุคลากร (People Perspective) กำหนด ให้บริษทั เป็นองค์กรแห่งการเรียนรูแ้ ละการแบ่งปันความรู้ โดยเริม่ จากภายใน บริษัทและขยายผลไปยังชุมชนที่บริษัทเป็นผู้บริหารจัดการ โดยเริ่มต้นจาก ศูนย์การเรียนรู้ในอาคารชุดทุกโครงการของบริษัท 2. คุณธรรม บริษัทได้กำหนดให้ “คุณธรรม” เป็นหนึ่งในวัฒนธรรมของบริษัท และยังระบุอยูใ่ นพันธกิจของบริษทั ทีม่ ตี อ่ ผูถ้ อื หุน้ ในเรือ่ งธรรมาภิบาล ซึง่ เป็น เงือ่ นไขทีส่ ำคัญทีก่ ำหนดให้ทกุ ระดับในบริษทั ยึดถือเป็นแนวทางในการดำเนินงาน บริษัทได้ใช้แนวทางดังกล่าวในการดำเนินงานมาโดยตลอด ส่งผลให้การ ดำเนินธุรกิจของบริษัทเป็นไปตามเป้าหมาย มีการเติบโตที่มีคุณภาพ เป็นที่ ยอมรับจากลูกค้า รวมถึงผู้ที่ดำเนินธุรกิจ หรือมีความเกี่ยวข้องกับบริษัทมาโดย ตลอด ซึ่งบริษัทจะยังคงยึดถือแนวทางดังกล่าวในการดำเนินธุรกิจเพื่อการเติบโต ที่มั่นคง มีคุณภาพ และยั่งยืนสืบไป


การควบคุมภายใน

คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีระบบควบคุมภายในที่พอเพียงและเหมาะสมกับการดำเนินกิจการเพื่อลดหรือป้องกันความเสี่ยงต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดความ เสียหายต่อทรัพย์สินของบริษัท ตลอดจนการปฏิบัติตามกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งประกอบด้วย 1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษัทมีการกำหนดเป้าหมายทางธุรกิจที่ชัดเจนและสามารถวัดผลได้ โดยคำนึงถึงสมรรถนะความสามารถในการแข่งขันขององค์กร และสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลง ผ่านทางการจัดทำแผนธุรกิจประจำปี โดยคำนึงถึงความสมดุล ความเสี่ยง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกส่วน ตลอดจนการจัดโครงสร้างอำนาจหน้าที่ของคณะ กรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร ผู้บริหาร และพนักงานไว้อย่างชัดเจน มีการจัดวางระบบป้องกันและควบคุมวิธีปฏิบัติงานไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อป้องกัน การใช้อำนาจในทางมิชอบ อีกทั้ง การให้ความสำคัญต่อความซื่อสัตย์สุจริต ดังที่ปรากฏอยู่ในค่านิยมองค์กร มีการกำหนดจรรยาบรรณทางธุรกิจของคณะกรรมการ บริษัทและพนักงานให้แก่ทุกคนที่เกี่ยวข้องพึงปฏิบัติ 2. ด้านการบริหารความเสี่ยง บริษัทมีการวิเคราะห์และประเมินปัจจัยเสี่ยงของธุรกิจในด้านต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ บนพื้นฐานของข้อมูลทั้งภายในและภายนอก เพื่อหามาตรการป้องกัน และจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและสอดคล้องในแต่ละสภาวการณ์ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของบริษัท อีกทั้งมีการสื่อสารให้พนักงานทั้ง องค์กรได้รับทราบเพื่อร่วมกันปฏิบัติตามแผนการบริหารความเสี่ยง รวมถึงมีการติดตามผลอย่างสม่ำเสมอ 3. การควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหาร บริษทั มีการกำหนดขอบเขตของอำนาจในการดำเนินงานของผูบ้ ริหารและพนักงานไว้อย่างชัดเจน รวมถึงอำนาจอนุมตั ติ า่ งๆ ในแต่ละระดับไว้เป็นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อให้เกิดการถ่วงดุลและการตรวจสอบระหว่างกัน โดยคณะกรรมการบริหารเป็นผู้ตรวจสอบ ทบทวน และติดตามผลการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารอีกชั้นหนึ่ง 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล บริษัทมีการพัฒนาระบบสารสนเทศมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัยและเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของผู้บริหาร โดยมีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ รวบรวม วิเคราะห์ และตรวจสอบให้มคี วามถูกต้องสมบูรณ์ และเป็นปัจจุบนั ในรูปแบบทีเ่ ข้าใจง่าย เหมาะแก่การใช้งาน โดยคำนึงถึงการจัดเก็บทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีการสำรอง ข้อมูลที่สำคัญและจัดเก็บในที่ที่ปลอดภัย ระบบสารสนเทศ ซึ่งประกอบด้วยระบบงานต่างๆ เช่น ระบบการขาย ระบบบัญชี - การเงิน ระบบการบริหารต้นทุน ระบบ พัฒนาและบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบสื่อสารภายในองค์กรทุกระบบจะเชื่อมโยงทั่วถึงกันทั้งองค์กร ซึ่งช่วยให้ฝ่ายบริหารรับรู้ข้อมูลได้ตรงเวลา และสามารถใช้เพื่อ ประกอบการตัดสินใจได้ทันการณ์ 5. ระบบการติดตาม คณะกรรมการบริษัทมอบหมายให้คณะกรรมการบริหาร เป็นผู้ติดตามและควบคุมการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารอย่างใกล้ชิด โดยมีการประชุมร่วมกันอย่าง สม่ำเสมอ และจัดให้มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนธุรกิจที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทเป็นประจำทุกไตรมาส เพื่อให้ทราบถึงความแตกต่างจาก เป้าหมายที่กำหนดไว้ และกำหนดแนวทางการแก้ไข เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ ในกรณีที่ผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ นอกจากนั้น คณะกรรมการตรวจสอบได้มอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบภายใน ติดตามในประเด็นต่างๆ อันอาจเป็นความเสี่ยงในการดำเนินธุรกิจของบริษัท และ รายงานผลการตรวจสอบแก่คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรงอยู่เป็นระยะๆ

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 73


ความเห็นของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมภายใน เรียน เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตามที่สำนักงานฯได้ตรวจสอบงบการเงินของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และได้เสนอ รายงานการตรวจสอบลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552 ไปแล้วนั้น สำนักงานฯ ขอเรียนว่าในการตรวจสอบงบการเงินดังกล่าวตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป เพื่อแสดงความเห็นว่างบการเงินนี้แสดงฐานะการเงินและผลการดำเนินโดยถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปหรือไม่เพียงใดนั้น สำนักงานฯ ได้ศกึ ษาและประเมินประสิทธิภาพการควบคุมภายในด้านบัญชีของบริษทั ตามทีเ่ ห็นจำเป็น เพือ่ ประโยชน์ในการกำหนดขอบเขตของการปฏิบตั งิ านตรวจสอบ ให้รัดกุมและเหมาะสม ซึ่งสำนักงานฯ ไม่พบข้อบกพร่องที่เป็นสาระสำคัญของระบบการควบคุมภายในด้านบัญชีที่จะมีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญในการแสดงความ เห็นต่องบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ฝ่ายบริหารของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) มีความรับผิดชอบในการจัดให้มีระบบการควบคุมภายในด้านบัญชีและควบคุมให้มีการ ปฏิบัติตามระบบดังกล่าวอย่างเคร่งครัด ในการนี้ต้องใช้การประมาณการและดุลยพินิจโดยพิจารณาถึงผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับและต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการที่ใช้ ระบบการควบคุมนี้ ระบบการควบคุมภายในดังกล่าวให้ความมั่นใจแก่ฝ่ายบริหารตามสมควร อย่างไรก็ตาม สำนักงานฯ ขอเรียนว่า ในการตรวจสอบบัญชี สำนักงานฯ มิได้ตรวจสอบทุกรายการ หากแต่ใช้วิธีการทดสอบเท่านั้น นอกจากนั้นการ ศึกษาและการประเมินประสิทธิภาพระบบการควบคุมภายในด้านบัญชีมีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อประโยชน์ในการสอบบัญชีดังกล่าวไว้ข้างต้น ดังนั้นจึงไม่อาจชี้ให้เห็นถึงข้อ บกพร่องทั้งหมดที่อาจมีอยู่ในระบบการควบคุมภายในของบริษัทได้ สำนักงานฯ ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ของบริษัท ที่ได้ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบบัญชีของบริษัทเป็นอย่างดี สำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552

74 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


รายงานระหว่างกัน

1. รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นกับบริษัทย่อย ในปี 2551 มีรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นกับบริษัทย่อย และบริษัทร่วม ที่ได้ทำการซื้อขาย หรือตกลงว่าจ้างกัน โดยใช้เงื่อนไข และราคาตลาดเช่นเดียวกับที่ ทำกับบุคคลภายนอก ณ ขณะนั้นๆ สรุป ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ดังนี้คือ 1.1 รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) กับ บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อย ได้แก่ จำนวน (โครงการ) จำนวนเงินตามสัญญา (บาท) งาน 1. ค่านายหน้าจากการจัดหาผู้เช่า 1.1 ห้องพักอาศัย 2 ค่าเช่า 1 เดือน / สัญญาเช่า 1 ปี 1.2 สำนักงาน 1 ค่าเช่า 1 เดือน / สัญญาเช่า 3 ปี 2. การบริหารและจัดเก็บรายได้ที่จอดรถ 2.1 การบริหารและจัดการ 2 72,000.00 บาท / เดือน 2.2 การจัดเก็บรายได้ค่าที่จอดรถ 2 3% ของยอดรายได้ 3. การบริการบริหารจัดการชุมชน 3.1 โครงการลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ (เดือนมกราคม - กุมภาพันธ์ 51) 1 240,000.00 บาท / เดือน 3.2 โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44 (เดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 51) 1 240,000.00 บาท / เดือน 3.3 โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำแหง 1 - เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 51 225,000.00 บาท / เดือน - เดือนเมษายน - พฤษภาคม 51 337,500.00 บาท / เดือน - เดือนมิถุนายน - สิงหาคม 51 450,000.00 บาท / เดือน 3.4 โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ 1 270,000.00 บาท / เดือน (เดือนมิถุนายน - กันยายน 51) 3.5 โครงการลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ 1 - เดือนตุลาคม 51 270,000.00 บาท / เดือน - เดือนพฤศจิกายน - ธันวาคม 51 300,000.00 บาท / เดือน 4. การบริการจดทะเบียนอาคารชุด 4.1 การบริการจดทะเบียนอาคารชุด (ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ) 1 160,500.00 บาท / เดือน 4.2 การบริการจดทะเบียนอาคารชุด (ลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44 , 4 150,000.00 บาท / เดือน ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำแหง, ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่, ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่) 5. การบริการวางระบบอาคารชุด 5.1 การบริการวางระบบอาคารชุด (ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ) 1 214,000.00 บาท / เดือน 5.2 การบริการวางระบบอาคารชุด (ลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44) 4 200,000.00 บาท / เดือน ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำแหง, ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่, ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่) 6. การบริการรักษาความสะอาด 6.1 ห้องสัมมนาชั้น 11 (ลุมพินี ทาวเวอร์) 1 12,149.53 บาท / เดือน 6.2 สำนักงาน ชั้น 36 (ลุมพินี ทาวเวอร์) 1 30,000.00 บาท / เดือน 6.3 ลานจอดรถ (ลุมพินี ทาวเวอร์) 1 20,000.00 บาท / เดือน 6.4 ลานจอดรถ (แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์) 1 10,000.00 บาท / เดือน 6.5 ลานจอดรถ (ลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร) 1 65,000.00 บาท / เดือน 6.6 ลานจอดรถ (ลุมพินี พลาซ่า อโศก) 1 82,000.00 บาท / เดือน 6.7 งานก่อสร้าง, สำนักงานขาย และ สำนักงานฝ่ายบริการลูกค้า - ตามงวดที่ปฏิบัติงานจริง 7. การบริหารห้องเช่า 7.1 สำนักงาน (แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์) 1 5,000.00 บาท / เดือน / ห้อง 7.2 สำนักงาน, ห้องพักอาศัย (แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์, ลุมพินี เซ็นเตอร์ 3 ร้อยละ 10 ของค่าเช่ารายเดือน แฮปปี้แลนด์ อาคาร E, ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร เริ่มเดือน เม.ย.51) รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 75


งาน

จำนวน (โครงการ)

จำนวนเงินตามสัญญา (บาท)

8. การบริหารจัดการร้านค้าภายในโครงการอาคารชุดพักอาศัย เหมาจ่าย 151,200.00 บาท / เดือน 9. การบริหารและจัดการงานอาคาร 9.1 อาคารลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร 1 - เดือนมกราคม - มิถุนายน 51 200,000.00 บาท / เดือน - เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 51 120,000.00 บาท / เดือน 9.2 อาคารลุมพินี พลาซ่า อโศก 1 188,160.00 บาท / เดือน 10. การบริการบำรุงรักษาระบบงาน อาคารลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร 1 27,000.00 บาท / เดือน 11. การจ้างดำเนินงาน 11.1 งานสนับสนุนงานเปิดตัวงานขายโครงการ 4 1,500,000.00 บาท / โครงการ / ครั้ง 11.2 งานสนับสนุนการจัดเตรียมพนักงานสนับสนุนงานขาย 3 250,000.00 บาท / เดือน / โครงการ 11.3 งานสนับสนุนการจัดงานตรวจรับมอบห้องชุดเพื่อโอนกรรมสิทธิ์ 5 500,000.00 บาท / โครงการ / ครั้ง 12. การบริหารจัดการโครงการชุมชนน่าอยู่ เหมาจ่าย 5,470,000.00 บาท / เดือน 13. ค่าเช่าและบริการสำนักงาน และ ค่าสาธารณูปโภค (ลุมพินี ทาวเวอร์) 1 - เดือนมกราคม - มีนาคม 51 220,000.00 บาท / เดือน - เดือนเมษายน - ธันวาคม 51 21,000.00 บาท / เดือน 14. ดอกเบี้ยจ่าย ตาม ตั๋วสัญญาใช้เงิน - อัตราดอกเบี้ย 2.633% - 613,885.76 บาท 1.2 รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) กับ บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ได้แก่

งาน

จำนวน (โครงการ)

1. การบริหารงานก่อสร้างโครงการ 12 2. การบริหารงานขายและงานโอนกรรมสิทธิ์ - ค่าบริหารงานขาย 13 - ค่าบริหารงานขาย (ลุมพินี วิลล์ บางแค, ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ อาคาร C) 2 - ค่าตอบแทนการขาย 10 - ค่าตอบแทนการขาย (ลุมพินี วิลล์ บางแค, ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ อาคาร C) 2 3. การบริหารงานโครงการ (ดำเนินงานซ่อม) (เหมาจ่าย) 4. ดอกเบี้ยจ่าย ตาม ตั๋วสัญญาใช้เงิน - อัตราดอกเบี้ย 2.633% - - อัตราดอกเบี้ย 1.675% -

จำนวนเงินตามสัญญา (บาท) 56,593,121.46 บาท 0.30 % ของมูลค่าโครงการ

0.50 % ของมูลค่าโครงการ 1.50 % ของมูลค่าโครงการ 2.00 % ของมูลค่าโครงการ 595,000.00 บาท / เดือน 616,843.37 บาท 3,028.77 บาท

1.3 รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษทั พรสันติ จำกัด กับบริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด ได้แก่ งาน จำนวน (โครงการ) จำนวนเงินตามสัญญา (บาท) 1. การบริหารห้องเช่า 2. การบริการจัดหาผู้เช่าห้องพัก

76 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

3 3

ร้อยละ 10 ของค่าเช่า / เดือน / ห้อง ค่าเช่า 1 เดือน / สัญญาเช่า 1 ปี


1.4 รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษทั พรสันติ จำกัด กับ บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด ได้แก่ งาน จำนวน (โครงการ) จำนวนเงินตามสัญญา (บาท) 1. การบริหารงานก่อสร้างโครงการ - อาคารพาณิชย์ พี.เอส.ที.-รามอินทรา (ทาวน์โฮม) (เดือนพฤศจิกายน 51 - ธันวาคม 51) 1 46,728.97 บาท / เดือน 2. การบริหารงานขาย - อาคารพาณิชย์ นวมินทร์ 1 50,000.00 บาท / สัญญา - อาคารพาณิชย์ พี.เอส.ที.-รามอินทรา (ทาวน์โฮม) (เดือนพฤศจิกายน 51 - ธันวาคม 51) 1 16,448.60 บาท / เดือน 3. การดำเนินงานขายและโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุด - อาคารพาณิชย์ นวมินทร์ 1 200,000.00 บาท / สัญญา

1.5 รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย กับบริษทั แกรนด์ ยูนติ ี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ร่วม ได้แก่ จำนวน (โครงการ) จำนวนเงินตามสัญญา (บาท) งาน 1. ค่าบริการรักษาความสะอาด สำนักงานขาย 3 11,500.00 บาท / เดือน 1.6 รายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างบริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย กับบริษทั แกรนด์ ยูนติ ี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ซึง่ เป็นบริษทั ร่วม ได้แก่ งาน 1. การบริหารงานขาย - พาร์ควิว วิภาวดี เฟส 4 (มีนาคม 51 - ธันวาคม 51) - U Sabai (มิถุนายน 51 - ธันวาคม 51) - U Delight (ตุลาคม 51 - ธันวาคม 51) 2. การดำเนินงานขายและโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุด - พาร์ควิว วิภาวดี เฟส 4 (งวด 1)

จำนวน (โครงการ)

จำนวนเงินตามสัญญา (บาท)

1 1 1

32,184.00 บาท / เดือน 150,318.33 บาท / เดือน 180,000.00 บาท / เดือน

1

386,208.00 บาท / สัญญา

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 77


2 . การกูย้ มื ระหว่างกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ลักษณะ จำนวนเงิน ระยะเวลา อัตราดอกเบี้ยต่อปี ผู้ให้กู้ ผู้กู้ การกู้ยืม (ล้านบาท) (%) 2.633 บจก.ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ บมจ.แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ ตั๋วสัญญาใช้เงิน 10.0 AT CALL บจก.ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส บมจ.แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ ตัว๋ สัญญาใช้เงิน 59.0 AT CALL 2.633, 1.675

ความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหว่างกัน จากผังโครงสร้างการลงทุนของบริษัท จะเห็นได้ว่า บริษัทถือหุ้นในบริษัทย่อยทั้งหมด และมีบริษัทร่วมทุนอีก 1 บริษัท โดยมีการแบ่งแยกขอบเขตภาระ หน้าที่ระหว่างบริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วมอย่างชัดเจน ซึ่งจะทำให้มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ สำหรับผลประโยชน์ที่ได้รับในแต่ละบริษัทจะนำมารวม เป็นงบการเงินรวม จึงไม่เกิดการขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ เนื่องจากงานก่อสร้างและงานบริการเป็นงานที่ต้องการความละเอียดและคุณภาพสูงสุด เพื่อให้ลูกค้าและผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดมีความเชื่อมั่นและพึงพอใจ ซึ่งจากประสบการณ์ คุณภาพของงานที่ส่งมอบ และชื่อเสียงของทีมงานในบริษัทย่อย เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป อีกทั้งการมอบหมายงานให้บริษัทย่อยเป็นผู้ดำเนินการ นั้น บริษัทสามารถควบคุมและดูแลได้อย่างใกล้ชิด ประกอบกับค่าบริการที่ตกลงกันก็เป็นราคาตลาดโดยทั่วไปและเป็นธรรม ขั้นตอนการอนุมัติทำรายการ รายการระหว่างกันที่เกิดขึ้นจะนำเสนอในรูปแบบของแผนงานธุรกิจประจำปี โดยผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการบริษัท เพื่อ อนุมัติงบประมาณ จากนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องจะดำเนินการผ่านสายงาน และให้ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติในที่สุด โดยกำหนดเป็นวงเงินอนุมัติในแต่ละตำแหน่งที่แน่นอน ทั้งนี้ มีการสอบทานการทำรายการโดยฝ่ายตรวจสอบภายในตามเกณฑ์ความเพียงพอและเหมาะสม แนวโน้มการทำรายการระหว่างกันในอนาคต จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นก็ยังมีความจำเป็นในการทำรายการระหว่างกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรโดยรวม ทั้งนี้ หากพิจารณาถึงผลงานที่ผ่าน มาโดยเฉพาะการบริหารอาคารชุดแล้ว จะเห็นได้ว่า คณะกรรมการของแต่ละนิติบุคคลอาคารชุดซึ่งเป็นเจ้าของร่วมในอาคารชุดและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท ได้ให้ ความไว้วางใจอย่างต่อเนื่อง จึงต่อสัญญาการบริหารนิติบุคคลอาคารชุดทุกปี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพการบริหารงาน ราคาที่เป็นธรรม และการสร้างคุณภาพ ชีวิตที่ดีแก่ชุมชน ตามแนวทางที่บริษัทจะสร้างให้เป็น “ชุมชนน่าอยู่” (Vibrant Community)

78 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


3. รายการระหว่างกันกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วม 1. รายการระหว่างกันกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ร่วม 1.1 บริษัทมีนโยบายให้ส่วนลดเป็นสวัสดิการ สำหรับพนักงานที่จองซื้อห้องชุดโครงการต่างๆ ของบริษัท โดยกำหนดหลักการดังนี้ - ทำสัญญาในนามพนักงาน - ให้ส่วนลดเมื่อเกิดการโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุด - การชำระค่างวด การโอน ใช้หลักการเดียวกับลูกค้าทุกประการ - การให้ส่วนลดที่เท่ากันทั้งองค์กร โครงการลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า

ชื่อ

ยูนิต

1 . ศิริ, นฤมล เกวลินสฤษดิ์ A-0918, A-0919 2. สุนียา ศุภกิจจานุสันติ์ A-1627 3. วิศาล ศุภกิจจานุสันติ์ A-1927 รวม โครงการลุมพินี เพลส รัชดา - ท่าพระ อาคาร C

ชื่อ

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) หมายเหตุ

2 1 1

4,076,000.00 2,108,000.00 2,125,000.00 8,309,000.00

- - - -

จำนวนห้องชุด

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท)

ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง

หมายเหตุ

1. องอาจ ยืนนาน C-0301 1 1,247,000.00 77,047.00 โอน กค. 2551 2. วีระศักดิ์ สุดสังข์ C-0302 1 874,000.00 10,000.00 โอน ธค. 2551 3. สุรเดช รุ่งจินดาพร C-0401 1 1,247,000.00 77,047.00 โอน ตค. 2551 4. สุทัตตา โปริสา C-0406 1 874,000.00 - ยังไม่โอน รวม 4,242,000.00 164,094.00 โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44

ชื่อ

1. ปรีชา เตชะไกรศรี 2. ไพโรจน์ ศุภกิจจานุสันติ์ 3. สุนยี า ศุภกิจจานุสันติ์ รวม

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

B-0818, B-0822 B-1801 B-1906

2 1 1

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) 2,476,000.00 1,433,000.00 1,538,000.00 5,447,000.00

3,786.00 35,211.00 29,881.00 68,878.00

หมายเหตุ โอน สค. 2551 โอน เมย. 2551 โอน สค. 2551

โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำแหง

ชื่อ

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

1. จีรพัฒน์ วัฒนโสภณ 2. คณิศร พิมสาร 3. วันชัย เจริญไวยเจตน์ 4. ณรยา บัวทอง 5. อัฐพงษ์ ธีระคานนท์ 6. สนิท การะเกตุ 7. ธาสินี จุ้ยสวัสดิ์ 8. ภาณุ เวียนศรี 9. พงศกร สิทธิพันธ์ 10. อรรณพ สหชัยเสรี 11. รุ่งทิวา วงศ์สุภา

A3-0608 B4-0502 B4-0333 A3-0426 B4-0701 A3-0410 B4-0527 B4-0529 B4-0708 A3-0209 B4-0327

1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) 672,500.00 916,400.00 787,600.00 657,500.00 793,200.00 685,500.00 978,000.00 776,400.00 1,139,000.00 670,500.00 957,000.00

5,111.00 10,260.00 11,937.00 6,049.00 9,632.00 4,997.00 13,971.00 12,201.00 14,271.00 4,883.00 13,671.00

หมายเหตุ

โอน สค. 2551 โอน กค. 2551 โอน กค. 2551 โอน ตค. 2551 โอน สค. 2551 โอน กย. 2551 โอน ตค. 2551 โอน กค. 2551 โอน สค. 2551 โอน สค. 2551 โอน สค. 2551

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 79


ชื่อ

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท)

หมายเหตุ

12. สุรัสวดี ซื่อวาจา B4-0530 1 804,400.00 40,201.00 โอน ตค. 2551 13. บัณฑิตา พิลึกดีเดช A3-0609 1 672,500.00 5,324.00 โอน สค. 2551 14. พรรณเพ็ญ แสงจันทร์ภักดี A3-0412 1 657,500.00 - ยังไม่โอน 15. กิจชัยมงคล ประเสริฐศรี A3-0415 1 905,000.00 4,259.00 โอน สค. 2551 16. ดาวเรือง โกมลสิงห์ A3-0408 1 657,500.00 4,997.00 โอน สค. 2551 17. ชัยรัฐ ทองศักดิ์ B4-0507 1 776,400.00 10,260.00 โอน ตค. 2551 18. สุมล ลิขสิทธิ์วัฒนกุล A3-0610 1 672,500.00 5,111.00 โอน กย. 2551 19. สมบัติ ชาญยุทธกร A3-0611 1 672,500.00 5,111.00 โอน กย. 2551 20. อดิศร อาชาศรัย B4-0728 1 793,200.00 12,465.00 โอน กย. 2551 21. บัญชา สุขเจริญ B4-0304 1 759,600.00 10,038.00 โอน สค. 2551 22. อรรณพ วรรณวงศ์ A3-0615 1 1,065,400.00 4,355.00 โอน สค. 2551 23. กอบชัย พนิตนันท์ A3-0614 1 672,500.00 5,918.00 โอน กย. 2551 24. นิรัตน์ อักษรพันธ์ B4-0508 1 978,000.00 13,971.00 โอน สค. 2551 25. อนันต์ ปิยะตันติ A3-0411 1 685,500.00 - ยังไม่โอน 776,400.00 26. ธิดารัตน์ ชาวไชยศรี B4-0506 1 10,260.00 โอน พย. 2551 27. นฤมล ฉิมนุตพาน A3-0409 1 657,500.00 4,997.00 โอน สค. 2551 28. นารี ผลพฤกษา B4-0501 1 776,400.00 9,428.00 โอน กค. 2551 29. สรรค์ สุขุขาวดี A3-0307 1 691,600.00 1,561.41 โอน ธค. 2551 30. วิริญจ์ มูลอินทร์ B4-0532 1 776,400.00 12,201.00 โอน สค. 2551 31. จรัญ เกษร A3-0513 1 820,000.00 - ยังไม่โอน 24,304,400.00 267,440.41 รวม โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 26

ชื่อ

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท)

D-0502 1 1,200,000.00 - 1. มะลิ โฉมตรึก 2 . พรอาภา อารยอสนี E-0508 1 1,544,000.00 - 3. สาวิณี ฟักภู่ A-0724 1 1,242,000.00 - รวม 3,986,000.00 โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่

ชื่อ

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท)

ชื่อ

1. สุมล ลิขสิทธิ์วัฒนกุล 2 . สุรศักดิ์, สมพร ลิขสิทธิ์วัฒนกุล 3. ละเอียด, อัญชุลี นิลสนธิ รวม

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

AS-1235 AS-1236 AS-0728

1 1 1

80 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) 945,555.00 945,555.00 1,101,600.00 2,992,710.00

- - - -

หมายเหตุ ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง

หมายเหตุ

E1-0717 1 788,000.00 8,724.00 โอน กย. 2551 1. สมศักดิ์ ศรีทองวัฒน์ รวม 788,000.00 8,724.00 โครงการลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่

หมายเหตุ ยังไม่โอน ยังไม่โอน ยังไม่โอน


โครงการลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร

ชื่อ

ยูนิต

1. ณัฐพล ปิยะตันติ B-1032,B-1131,B-1132 2. เสาวณีย์ คูพูลทรัพย์ A-0903 3. สุรศักดิ์, สมพร ลิขสิทธิ์วัฒนกุล A-1809 รวม

จำนวนห้องชุด 3 1 1

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) 3,883,000.00 1,201,000.00 1,242,000.00 6,326,000.00

- - - -

หมายเหตุ ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง

โครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์

ชื่อ

1. ณัฐพล ปิยะตันติ 2. สมศักดิ์ ศรีทองวัฒน์ 3. วีระ, สุภาพร วุฒิเกษมกิจ รวม

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

A2-0201 A2-0707 C2-0621

1 1 1

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) 756,000.00 756,000.00 712,000.00 2,224,000.00

- - - -

หมายเหตุ ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง

โครงการลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ชื่อ 1. พรพรรณ อารยอสนี 2. ณัฐพล ปิยะตันติ 3. เสาวนีย์ คูพูลทรัพย์ รวม

ยูนิต A-0815 B-2709 B-1212

จำนวนห้องชุด 1 1 1

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) หมายเหตุ 2,025,000.00 - ระหว่างก่อสร้าง 2,273,000.00 - ระหว่างก่อสร้าง 2,081,000.00 - ระหว่างก่อสร้าง 6,379,000.00 -

โครงการลุมพินี วิลล์ บางแค

ชื่อ

ยูนิต

จำนวนห้องชุด

1. วิวัฒน์ ฉันทโภไคย 2. วีระ วุฒิเกษมกิจ 3. พีระวุธ ผาสุข 4. สุดารัตน์ ยรรยงเวโรจน์ 5. สุภาพร วุฒิเกษมกิจ 6. ธาสินี จุ้ยสวัสดิ์ 7. ปริญญา ช้างกลาง 8. ธนสร ปัญญา รวม

1 1 1 1 1 1 1 1

A-0502 A-0802 A-1003 A-1015 A-1201 A-1207 A-12A09 A-2214

ราคาขายรวม (บาท) ส่วนลดเมื่อโอน (บาท) 1,030,000.00 1,040,000.00 1,050,000.00 1,070,000.00 970,000.00 1,150,000.00 920,000.00 1,050,000.00 8,280,000.00

- - - - - - - - -

หมายเหตุ ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง ระหว่างก่อสร้าง

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 81


ปัจจัยอื่นที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุน

นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษทั มีนโยบายในการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในอัตราไม่ตำ่ กว่าร้อยละ 50 ของกำไรสุทธิสำหรับงบการเงินเฉพาะกิจการ ทัง้ นี้ รวมถึงนโยบายการจ่าย เงินปันผลของบริษัทย่อยด้วย ในปี 2551 บริษทั มีกำไรตามงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการจำนวน 1,205.44 ล้านบาท มีกำไรสุทธิตอ่ หุน้ เท่ากับ 0.80 บาท และกำหนดจ่ายเงินปันผลจำนวน หุน้ ละ 0.41 บาท โดยจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลจำนวนหุน้ ละ 0.14 บาท เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2551 จากผลประกอบการสิน้ สุด ณ วันที่ 30 มิถนุ ายน 2551 ซึง่ จะ รายงานให้ทปี่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2552 ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลจากผลการดำเนินงานประจำปี 2551 อยู่ระหว่างการนำเสนอที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณา โดยยังคงนโยบายการจ่ายเงินปันผลใน อัตราไม่ตำ่ กว่าร้อยละ 50 ของงบการเงินเฉพาะกิจการ สำหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของ บริษทั พรสันติ จำกัด บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด และ บริษัท ลุมพินี โปรเจค เมเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด จะเป็นไปตามข้อบังคับคือ ต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีไว้เป็นทุนสำรองไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิประจำปี หักด้วยยอดเงินขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนีจ้ ะมีจำนวนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ซึง่ ในปี 2551 บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด จ่ายเงินปันผลรวมเป็นจำนวนเงิน 35.06 ล้านบาท และบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด จ่ายเงินปันผลรวมเป็นจำนวนเงิน 11.79 ล้านบาท ส่วนบริษัท พรสันติ จำกัด ยังไม่มีการจ่ายเงินปันผล ประวัติการจ่ายเงินปันผล ปี อัตราการจ่ายเงินปันผล / หุ้น พ.ศ. 2537 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 2.50 บาท/ หุ้น พ.ศ. 2538 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 2.75 บาท/ หุ้น พ.ศ. 2539 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 1.00 บาท/ หุ้น พ.ศ. 2540 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย - บาท/ หุ้น พ.ศ. 2541 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย - บาท/ หุ้น พ.ศ. 2542 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย - บาท/ หุ้น พ.ศ. 2543 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย - บาท/ หุ้น พ.ศ. 2544 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย - บาท/ หุ้น พ.ศ. 2545 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 1.00 บาท/ หุ้น พ.ศ. 2546 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 2.50 บาท/ หุ้น พ.ศ. 2547 จำนวนปันเงินผลที่จ่าย 0.20* บาท/ หุ้น พ.ศ. 2548 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 0.22 บาท/ หุ้น พ.ศ. 2549 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 0.26 บาท/ หุ้น พ.ศ. 2550 จำนวนเงินปันผลที่จ่าย 0.32 บาท/ หุ้น เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2547 มีการปรับมูลค่าหุ้นสามัญจากเดิมหน่วยละ 10 บาท เป็นหน่วยละ 1 บาท หมายเหตุ *

82 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


คำอธิบายและการวิเคราะห์ของฝ่ายจัดการ

ผลการดำเนินงานของบริษัทโดยรวม บริษัท บริษัทย่อย และบริษัทร่วมมีรายได้รวม 7,232.36 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2550 ที่มีรายได้รวม 6,754.00 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.08 มาจากโครงการที่บริษัทก่อสร้างแล้วเสร็จและโอนกรรมสิทธิ์รวม 5 โครงการในปี 2551 คือ โครงการลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44 ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทร์เดชา-รามคำแหง ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ และลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ และบางส่วนมาจากโครงการต่อเนื่องของปี 2550 สำหรับรายได้จากธุรกิจให้เช่าและบริการและธุรกิจรับจ้างบริหารจัดการเพิ่มขึ้นจากปี 2550 ถึงร้อยละ 18.84 อัตราส่วนกำไรขั้นต้นจากการขายปรับตัวลดลงจากร้อยละ 34.67 เป็นร้อยละ 31.24 เป็นผลมาจากความผันผวนของราคาวัสดุก่อสร้างในปี 2551 อย่างไร ก็ตาม บริษัทยังคงสามารถรักษาระดับอัตรากำไรขั้นต้นไว้ไม่ให้ต่ำกว่าร้อยละ 30 ตามที่กำหนด สำหรับอัตราส่วนกำไรสุทธิมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 13.74 เป็น ร้อยละ 16.67 อันเป็นผลมาจากการบริหารค่าใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพและมาตรการกระตุ้นอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล ปี 2551 ปี 2550 รายการ Q1 Q2 Q3 Q4 Q1-4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1-4 ยอดขาย (ยูนิต) 1,997 1,932 994 764 5,687 2,217 2,511 1,188 1,702 7,618 (MB) 2,900.58 3,482.13 1,605.24 1,077.20 9,065.14 2,067.95 2,413.40 1,707.25 2,514.68 8,703.28 1. รับรู ้ (ยูนิต) 814 1,982 2,250 1,332 6,378 453 736 984 770 2,943 2. รายได้จากขาย (MB) 1,344.60 2,197.88 2,065.11 1,411.12 7,018.71 1,014.18 1,881.10 2,151.77 1,527.17 6,574.22 3. ต้นทุนขาย (MB) 938.85 1,504.98 1,417.98 964.35 4,826.16 640.15 1,257.43 1,470.24 927.07 4,294.89 4. กำไรขั้นต้น (%) 30.18 31.53 31.34 31.66 31.24 36.88 33.15 31.67 39.29 34.67 ฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีสินทรัพย์รวม 8,846.49 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก 7,175.76 ล้านบาท ในปี 2550 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 23.28 สาเหตุ หลักมาจากการเพิ่มขึ้นของสินทรัพย์หมุนเวียน ในส่วนของรายการเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 185.93 ล้านบาท เงินลงทุนชั่วคราว - ตั๋วสัญญาใช้เงิน 1,050.00 ล้านบาท สินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 902.33 ล้านบาท สำหรับหนี้สินรวมของบริษัท เพิ่มขึ้นจาก 3,348.80 ล้านบาท ในปี 2550 เป็น 4,362.02 ล้านบาท ในปี 2551 ซึ่งเพิ่มขึ้น 1,013.22 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 30.26 ทั้งนี้เนื่องจากบริษัทมีการเบิกเงินกู้โครงการเพื่อนำมาลงทุนในโครงการที่อยู่ระหว่างพัฒนา ซึ่งผลจากภาวะ วิกฤติทางการเงินทั่วโลก ทำให้บริษัทต้องมีการสำรองเงินสดไว้ให้มีสภาพคล่องเพียงพอต่อการก่อสร้างโครงการให้แล้วเสร็จ โครงสร้างเงินทุน โครงสร้างเงินทุนในปี 2551 บริษัทมีหนี้สินในอัตราร้อยละ 49.31 และส่วนของผู้ถือหุ้นร้อยละ 50.69 แสดงให้เห็นถึงโครงสร้างเงินทุนมาจากส่วนของผู้ถือ หุ้นสูงกว่าหนี้สิน โดยมีอัตราส่วนหนี้สินรวมต่อทุนเพิ่มขึ้นจาก 0.88 เท่า ในปี 2550 เป็น 0.97 เท่า ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของทั้งปี 2551 ค่าเฉลี่ยหนี้สินต่อทุนของหมวด พัฒนาอสังหาริมทรัพย์จำนวน 12 บริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเท่ากับ 1.26 เท่า แต่หากพิจารณาเฉพาะหนี้ที่มีดอกเบี้ยต่อส่วนของผู้ถือหุ้นจะเหลืออัตรา ส่วนหนี้สินต่อทุนในปี 2551 เท่ากับ 0.58 เท่า เทียบกับ 0.45 เท่า ในปี 2550 รายการ 1. ค่าใช้จ่ายในการขาย / รายได้ (%) 2. ดอกเบี้ยจ่าย / รายได้ (%) 3. กำไรสุทธิ / รายได้ (%) 4. อัตราส่วนหนี้สิน / ทุน (เท่า) 5. อัตราผลตอบแทน / สินทรัพย์รวม (%) 6. อัตราผลตอบแทน / ทุน (%)

ค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรม 13.69 1.06 14.10 1.26 8.44 14.20

LPN 8.01 0.14 16.50 0.97 31.62 26.88

หมายเหตุ 12 บริษัท คือ A, AP, LALIN, LH, LPN, MK, NOBLE, PRIN, PS, QH, SIRI และ SPALI

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 83


สภาพคล่องและความสามารถในการทำกำไร ค่าเฉลี่ยอัตรากำไรสุทธิต่อรายได้รวมของหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเฉพาะที่ทำธุรกิจบ้านจัดสรรและอาคารชุดพัก อาศัย รวม 12 บริษัท ของปี 2551 เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 14.10 โดยส่วนของบริษัทจะอยู่ที่ร้อยละ 16.50 ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า บริษัทมีการบริหาร จัดการได้ดีกว่าอุตสาหกรรมโดยรวม เมือ่ พิจารณางบกระแสเงินสด ณ 31 ธันวาคม 2551 มีเงินสดคงเหลือและเงินลงทุนระยะสัน้ จำนวน 1,690.75 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ซึ่งมี 454.82 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 273.06 มาจากการบริหารงานโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุดและการสำรองเงินสดเพื่อให้มีสภาพคล่องอย่างเพียงพอในการพัฒนา โครงการต่างๆ ที่เตรียมส่งมอบในปี 2552 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญและแนวโน้มในอนาคต บริษัทมีกลยุทธ์ในการดำเนินงานที่สำคัญในปี 2552 ดังนี ้ 1. พัฒนาโครงการในทำเลเดิมที่บริษัทมีโครงการที่ได้พัฒนาไปแล้ว ซึ่งเป็นทำเลที่มีศักยภาพและยังมีความต้องการของลูกค้าอยู่ โดยได้มีการสำรวจความ ต้องการของลูกค้าอย่างแท้จริง 2. พัฒนาโครงการอาคารชุดพักอาศัยในแบรนด์ “ลุมพินี เพลส” และ “ลุมพินี วิลล์” ควบคู่ไปกับแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” เนื่องจากแบรนด์ทั้งสองยัง เป็นฐานสินค้าที่บริษัทมีความแข็งแกร่งและมีฐานลูกค้าเดิมอยู่เป็นจำนวนมาก จึงต้องรักษาลูกค้าในกลุ่มนี้ไว้อย่างต่อเนื่อง ส่วนแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” ที่เริ่ม เปิดโครงการมาตัง้ แต่ปี 2550 ทีผ่ า่ นมาได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดี ดังนัน้ ในปี 2552 บริษทั ยังคงมีแผนเปิดขายแบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” อย่างต่อเนือ่ ง โดยเป็น ผลมาจากงานวิจัยที่พบว่า ศักยภาพของลูกค้าที่มีความต้องการห้องชุดพักอาศัยในระดับราคา 600,000 - 900,000 บาท ในบริเวณชุมชนหนาแน่นนั้นมีอยู่สูงมาก โดย แต่เดิมลูกค้าในกลุ่มนี้ต้องเช่าหอพักและอพาร์ทเมนท์อยู่ในค่าเช่าเดือนละ 2,500 - 5,000 บาท จึงเป็นโอกาสของบริษัทที่จะเสนอรูปแบบการบริหารจัดการในลักษณะ “ชุมชนเมืองขนาดย่อม” (Small Size Township) ภายใต้กลยุทธ์ “ชุมชนน่าอยู่” (Vibrant Community) ที่เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่พร้อมด้วยสิ่งอำนวยความ สะดวกภายในโครงการอย่างสมบูรณ์ เพื่อให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่นในการอยู่อาศัยในสังคมที่ดีร่วมกัน และบอกต่อไปยังคนที่รู้จักให้มาเป็นลูกค้าของบริษัทในอนาคต 3. ดำเนินธุรกิจควบคูไ่ ปกับความรับผิดชอบทีม่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อมและสังคม (Corporate Environment and Social Responsibility) โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ 3.1 ความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อมของโครงการที่บริษัทเป็นผู้พัฒนาขึ้นมา 3.2 ความรับผิดชอบต่อชุมชนรอบโครงการ 3.3 ความรับผิดชอบต่อความปลอดภัยและสุขอนามัยของคนงานก่อสร้าง 4. โครงการที่คาดว่าจะรับรู้รายได้ในปี 2552 มีดังนี้ โครงการ 1. โครงการต่อเนื่องจากปี 2551 2. ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ 3. ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร 4. ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ 5. ลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า 6. ลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 26 7. ลุมพินี สวีท พระราม 8 8. ลุมพินี เพลส พระราม 8 รวม

84 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

จำนวน (ยูนิต) 1,130 1,271 958 1,944 547 998 182 1,131 8,161

มูลค่า (ล้านบาท) 1,400 1,300 1,300 1,600 1,300 1,300 400 1,900 10,500


แผนงานเปิดตัวโครงการใหม่ในปี 2552 บริษัทมีการวางแผนเปิดตัวโครงการใหม่ในปี 2552 มูลค่ารวมทั้งสิ้นประมาณ 11,000 ล้านบาท ดังนี้ โครงการ จำนวน (ยูนิต) มูลค่า (ล้านบาท) 1. ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ 2. ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร เฟส 2 3. ลุมพินี เพลส พระราม 9 เฟส 2 4. ลุมพินี ….. 5. ลุมพินี ….. 6. ลุมพินี …. 7. ลุมพินี …. 8. ลุมพินี …. รวม

ร้อยละ

500 1,200 1,100 1,200 800 2,000 1,200 2,000

700 1,500 2,600 1,200 800 1,500 1,200 1,500

6.4 13.6 23.6 10.9 7.3 13.6 10.9 13.6

10,000

11,000

100.0

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 85


รายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทต่อรายงานทางการเงิน

คณะกรรมการบริษทั เป็นผูร้ บั ผิดชอบต่องบการเงินของบริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และสารสนเทศทางการเงินทีป่ รากฏในแบบรายงาน 56-1 และรายงานประจำปี โดยงบการเงินดังกล่าวได้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไปในประเทศไทยโดยใช้นโยบายบัญชีที่เหมาะสมและถือปฏิบัติโดย สม่ำเสมอ โดยใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการที่ดีที่สุดในการจัดทำ รวมทั้งมีการเปิดเผยข้อมูลที่สำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสำคัญในด้านคุณภาพของงบการเงิน โดยการจัดให้มีระบบควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ จัดให้มีการเปิด เผยข้อมูลที่สำคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงินและคำอธิบายและการวิเคราะห์ ทั้งนี้ เพื่อให้ความมั่นใจว่าการบันทึกข้อมูลทางบัญชีมีความถูกต้อง ครบถ้วน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้นและนักลงทุนในการใช้งบการเงิน คณะกรรมการบริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบที่มีคุณสมบัติเป็นกรรมการอิสระ ซึ่งมีความรู้และความเข้าใจในด้านบัญชี การเงิน เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เกี่ยวกับคุณภาพรายงานทางการเงินและระบบการควบคุมภายใน โดยคณะกรรมการตรวจสอบได้แสดงความเห็นไว้แล้วในรายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ จากโครงสร้างการบริหาร ระบบการควบคุมภายใน และผลการตรวจสอบของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ทำให้คณะกรรมการบริษัทเชื่อมั่นว่า งบการเงินของ บริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดโดยถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ปกรณ์ ทวีสิน ประธานกรรมการบริษัท

86 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ ผู้ถือหุ้นบริษัท บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) (1) ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบดุลรวมและงบดุลเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 งบกำไรขาดทุนรวมและงบกำไรขาดทุนเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นรวมและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้นเฉพาะกิจการและงบกระแสเงินสดรวมและงบกระแสเงินสดเฉพาะ กิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของเฉพาะบริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งผู้บริหารของกิจการเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลในงบการเงินเหล่านี้ ส่วนข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบใน การแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า (2) ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งกำหนดให้ข้าพเจ้าต้องวางแผนและปฏิบัติงานเพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างมี เหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญหรือไม่ การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการทั้งที่เป็นจำนวนเงิน และการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน การประเมินความเหมาะสมของหลักการบัญชีที่กิจการใช้ และประมาณการเกี่ยวกับรายการทางการเงินที่เป็นสาระสำคัญ ซึ่ง ผู้บริหารเป็นผู้จัดทำขึ้น ตลอดจนการประเมินถึงความเหมาะสมของการแสดงรายการที่นำเสนอในงบการเงินโดยรวม ข้าพเจ้าเชื่อว่าการตรวจสอบดังกล่าวให้ข้อสรุปที่ เป็นเกณฑ์อย่างเหมาะสมในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า (3) ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการข้างต้นนี้ แสดงฐานะการเงินรวมและฐานะการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ผลการดำเนินงานรวมและผลการดำเนินงานเฉพาะกิจการและกระแสเงินสดรวมและกระแสเงินสดเฉพาะกิจการ สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของแต่ละปีของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และของงบการเงินเฉพาะบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ ควรในสาระสำคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป สำนักงานสอบบัญชี ดี ไอ เอ (นางสุวิมล กฤตยาเกียรณ์) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 2982 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 87


งบดุล

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

สินทรัพย์ งบการเงินรวม (บาท) หมายเหตุ 2551 2550 สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 3.1 640,746,063.06 454,821,691.12 เงินลงทุนชั่วคราว - ตั๋วสัญญาใช้เงิน 3.2, 5 1,050,000,000.00 - ลูกหนี้และตั๋วเงินรับการค้า ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 3.3, 6 1,021,187.20 318,400.00 439,751.42 732,043.95 ตั๋วเงินรับ มูลค่างานเสร็จยังไม่เรียกเก็บ 3.11, 7 218,324,918.10 100,371,595.96 ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง 3.4, 8, 16 3,781,477,154.54 4,532,358,897.69 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 10.1 1,042,816.30 - สินค้าคงเหลือ 3.5, 9 1,403,971,692.02 501,635,829.13 ส่วนของเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่ 10.2 - 12,000,000.00 เกี่ยวข้องกันที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา 83,577,284.35 20,621,878.18 14,582,022.51 14,954,729.82 รายได้ค้างรับ 12,888,151.93 12,039,396.63 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 20,058,705.70 14,841,163.28 อื่นๆ 7,228,129,747.13 5,664,695,625.76 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 70,470,397.70 11,113,691.79 เงินลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม 2.6, 3.6, 3.17, 4, 10.3 ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา 3.4, 8, 16 681,921,048.23 660,722,167.40 สินทรัพย์ให้เช่า - สุทธิ 3.7, 11, 16 709,989,215.31 678,533,986.39 86,777,852.66 93,121,453.29 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 3.8, 12, 16 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 27,245,238.73 30,334,301.40 ภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย 20,000,000.00 20,000,000.00 เงินมัดจำค่าสินค้า 21,961,377.26 17,233,784.19 อื่นๆ 1,618,365,129.89 1,511,059,384.46 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ 8,846,494,877.02 7,175,755,010.22

(โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้)

88 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 576,099,768.85 314,972,916.56 1,050,000,000.00 - 808,187.20 55,400.00 439,751.42 732,043.95 218,324,918.10 100,371,595.96 3,777,820,014.71 4,509,450,935.16 73,343,031.32 14,257.25 1,396,354,369.30 489,890,488.84 - 12,000,000.00 83,577,284.35 20,621,878.18 - - 12,442,550.25 11,728,328.14 13,264,487.55 10,812,021.96 7,202,474,363.05 5,470,649,866.00 286,332,084.11 220,332,084.11 538,151,276.51 660,722,167.40 620,970,250.82 586,670,301.87 72,675,140.79 73,538,533.50 20,431,263.97 20,431,263.97 20,000,000.00 20,000,000.00 20,363,091.26 15,640,998.19 1,578,923,107.46 1,597,335,349.04 8,781,397,470.51 7,067,985,215.04


หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุ หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจาก 13 สถาบันการเงิน เจ้าหนี้และตั๋วเงินจ่ายคืนห้องชุด เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย เงินกู้ยืมและหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนด ชำระภายใน 1 ปี 14, 15 เงินกู้ยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 10.5 เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 10.4 หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินรับล่วงหน้า เงินประกันผลงาน ภาษีเงินได้นิติบุคคลค้างจ่าย ภาษีธุรกิจเฉพาะค้างจ่าย เงินโบนัสค้างจ่าย อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ 3.10, 14 เงินกู้ยืมระยะยาว 15 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น เงินมัดจำค่าเช่าและบริการ อื่นๆ รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 18 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ จำนวน 1,475,698,768 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.00 บาท ทุนที่ออกและเรียกชำระแล้ว หุ้นสามัญ จำนวน 1,475,698,768 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1.00 บาท ส่วนเกินมูลค่าหุ้น กำไรสะสม จัดสรรแล้ว สำรองตามกฎหมาย 18, 20.1 สำรองหุ้นทุนซื้อคืน 20.2 ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ หัก หุ้นทุนซื้อคืน 3.16, 19 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ - สุทธิ ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

งบการเงินรวม (บาท) 2551 2550 1,345,078,533.81 441,887,755.53 1,402,950.53 627,996.34 690,266,716.33 553,593,339.28 718,608,409.63 760,118,629.06 - - - - 626,974,082.05 593,706,209.33 93,799,677.65 172,305,635.78 224,483,274.98 226,714,510.77 1,333,590.15 6,244,072.75 11,966,862.34 - 97,979,970.23 72,792,009.51 3,811,894,067.70 2,827,990,158.35 6,759,053.52 7,625,053.60 530,672,345.00 501,000,000.00 11,227,528.18 10,016,686.61 1,466,721.05 2,167,721.05 550,125,647.75 520,809,461.26 4,362,019,715.45 3,348,799,619.61 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 441,807,166.00 441,807,166.00 148,000,000.00 148,000,000.00 16,689,514.97 - 2,418,837,427.68 1,761,339,843.92 4,501,032,876.65 3,826,845,777.92 (16,689,514.97) - 131,799.89 109,612.69 4,484,475,161.57 3,826,955,390.61 8,846,494,877.02 7,175,755,010.22

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 1,345,078,533.81 441,285,032.16 1,402,950.53 627,996.34 687,352,979.41 549,914,877.21 716,589,992.57 757,677,876.80 69,000,000.00 - 26,319,881.99 22,878,510.58 626,296,082.05 593,706,209.33 93,799,677.65 172,198,159.15 214,223,716.84 217,023,047.18 1,333,590.15 6,244,072.75 2,911,512.34 - 76,720,834.76 44,606,577.95 3,861,029,752.10 2,806,162,359.45 5,384,449.68 3,640,635.97 530,672,345.00 501,000,000.00 10,217,100.14 9,077,560.44 1,120,401.05 1,055,401.05 547,394,295.87 514,773,597.46 4,408,424,047.97 3,320,935,956.91 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 1,475,698,768.00 441,807,166.00 441,807,166.00 148,000,000.00 148,000,000.00 16,689,514.97 - 2,307,467,488.54 1,681,543,324.13 4,389,662,937.51 3,747,049,258.13 (16,689,514.97) - - - 4,372,973,422.54 3,747,049,258.13 8,781,397,470.51 7,067,985,215.04

(โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้) รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 89


งบกำไรขาดทุน

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

หมายเหตุ รายได้จากการขายและบริการ รายได้จากการขาย รายได้จากธุรกิจให้เช่าและบริการ รายได้จากธุรกิจรับจ้างบริหารจัดการ รวมรายได้จากการขายและบริการ ต้นทุนขายและบริการ ต้นทุนขาย ต้นทุนจากธุรกิจให้เช่าและบริการ ต้นทุนจากธุรกิจรับจ้างบริหารจัดการ รวมต้นทุนจากการขายและบริการ กำไรขั้นต้น รายได้อื่น ดอกเบี้ยรับ กำไรจากส่วนได้เสียเงินลงทุนในบริษัทร่วม 10.3 เงินปันผลรับ รายได้จากการเปลี่ยนแปลงสัญญา อื่นๆ รวมรายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ขาดทุนจากการด้อยค่าทรัพย์สิน ค่าตอบแทนกรรมการ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน - ดอกเบี้ยจ่าย ขาดทุนจากส่วนได้เสียเงินลงทุนในบริษัทร่วม รวมค่าใช้จ่าย กำไรก่อนภาษีเงินได้ 3.12 ภาษีเงินได้ กำไรสำหรับงวด การแบ่งปันกำไร ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 3.15 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน จำนวนหุ้นถัวเฉลี่ย (โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้)

90 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

งบการเงินรวม (บาท) 2551

7,018,707,430.85 70,183,747.29 143,464,477.41 7,232,355,655.55 (4,826,169,232.07) (40,555,069.21) (124,497,272.29) (4,991,221,573.57) 2,241,134,081.98 11,686,792.35 - - 32,570,314.47 27,080,819.56 71,337,926.38 (130,363,190.21) (454,548,421.35) - (11,070,000.00) (10,124,275.92) (6,643,294.09) (612,749,181.57) 1,699,722,826.79 (494,211,604.38) 1,205,511,222.41 1,205,438,655.21 72,567.20 1,205,511,222.41 0.82 1,474,593,089

งบการเงินเฉพาะกิจการ(บาท) 2550

6,574,216,421.66 55,332,090.25 124,452,926.29 6,754,001,438.20 (4,294,887,108.75) (38,994,178.50) (79,625,154.30) (4,413,506,441.55) 2,340,494,996.65 13,900,663.29 - - 23,365,193.64 32,506,349.48 69,772,206.41 (118,106,864.80) (635,462,892.82) (250,000,000.00) (9,248,480.00) (3,547,934.69) (4,526,890.09) (1,020,893,062.40) 1,389,374,140.66 (461,559,540.49) 927,814,600.17 927,738,553.30 76,046.87 927,814,600.17 0.63 1,475,698,768

2551

7,014,418,284.62 67,017,602.41 - 7,081,435,887.03 (4,896,877,259.91) (47,307,005.65) - (4,944,184,265.56) 2,137,251,621.47 10,869,902.59 - 46,849,620.00 32,570,314.47 26,365,924.82 116,655,761.88 (351,742,671.88) (253,111,730.64) - (11,070,000.00) (9,929,083.90) - (625,853,486.42) 1,628,053,896.93 (454,188,661.07) 1,173,865,235.86 1,173,865,235.86 - 1,173,865,235.86 0.80 1,474,593,089

2550 6,547,305,156.14 51,247,492.58 - 6,598,552,648.72 (4,341,953,760.99) (44,112,691.03) - (4,386,066,452.02) 2,212,486,196.70 14,259,733.92 - 35,297,334.40 23,365,193.64 32,216,533.28 105,138,795.24 (301,420,643.82) (410,880,754.89) (250,000,000.00) (9,248,480.00) (3,091,113.43) - (974,640,992.14) 1,342,983,999.80 (433,182,437.57) 909,801,562.23 909,801,562.23 - 909,801,562.23 0.62 1,475,698,768


งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของผู้ถือหุ้น

สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

(หน่วย : บาท)

งบการเงินรวม ส่วนของบริษัทใหญ่

ส่วนเกิน หุ้นทุนซื้อคืน สำรองตาม สำรอง กำไร (ขาดทุน) สะสม กฎหมาย หุน้ ทุนซือ้ คืน ยังไม่ได้จัดสรร มูลค่าหุ้นสามัญ

ทุนเรือนหุ้น

ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 ลงทุนเพิ่ม สำรองตามกฏหมาย เพิ่ม (ลด) ระหว่างงวด กำไรประจำงวด เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 หุ้นทุนซื้อคืน สำรองหุ้นทุนซื้อคืน กำไรประจำงวด เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

1,475,698,768.00 441,807,166.00

-

123,000,000.00

-

ส่วนของ ผู้ถือหุ้น ส่วนน้อย

รวม

1,271,796,945.66 3,312,302,879.66

รวม

68,865.82 3,312,371,745.48

-

-

-

-

-

-

-

700.00

700.00

-

-

-

25,000,000.00

-

(25,000,000.00)

-

-

-

-

-

-

-

-

927,738,553.30

927,738,553.30

76,046.87

927,814,600.17

-

-

-

-

-

(413,195,655.04)

1,475,698,768.00 441,807,166.00

-

148,000,000.00

-

1,761,339,843.92 3,826,845,777.92 109,612.69 3,826,955,390.61

1,475,698,768.00 441,807,166.00

- 148,000,000.00

(413,195,655.04) (36,000.00) (413,231,655.04)

- 1,761,339,843.92 3,826,845,777.92 109,612.69 3,826,955,390.61

-

- (16,689,514.97)

-

-

-

(16,689,514.97)

-

(16,689,514.97)

-

-

-

- 16,689,514.97

(16,689,514.97)

-

-

-

-

-

-

-

-

1,205,438,655.21 1,205,438,655.21

72,567.20

1,205,511,22.41

-

-

-

-

-

(531,251,556.48)

1,475,698,768.00 441,807,166.00 (16,689,514.97)

148,000,000.00 16,689,514.97

(531,251,556.48) (50,380.00) (531,301,936.48)

2,418,837,427.68 4,484,343,361.68 131,799.89 4,484,475,161.57

(หน่วย : บาท) ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2550 สำรองตามกฎหมาย กำไรประจำงวด เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ยอดยกมา ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 หุ้นทุนซื้อคืน สำรองหุ้นทุนซื้อคืน กำไรประจำงวด เงินปันผลจ่าย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

งบการเงินเฉพาะกิจการ ส่วนเกิน มูลค่าหุ้นสามัญ

ทุนเรือนหุ้น

1,475,698,768.00 441,807,166.00

หุ้นทุนซื้อคืน

สำรองตาม กฎหมาย

สำรอง กำไร (ขาดทุน) สะสม หุน้ ทุนซือ้ คืน ยังไม่ได้จัดสรร

- 123,000,000.00

-

รวม

1,209,937,416.94 3,250,443,350.94

-

-

-

25,000,000.00

-

(25,000,000.00)

-

-

-

-

-

-

909,801,562.23 909,801,562.23

-

-

-

-

-

(413,195,655.04) (413,195,655.04)

1,475,698,768.00 441,807,166.00

- 148,000,000.00

-

1,681,543,324.13 3,747,049,258.13

1,475,698,768.00 441,807,166.00

- 148,000,000.00

-

1,681,543,324.13 3,747,049,258.13 - (16,689,514.97)

-

- (16,689,514.97)

-

-

-

-

-

-

16,689,514.97

-

-

-

-

-

1,173,865,235.86 1,173,865,235.86

-

-

-

-

-

(531,251,556.48) (531,251,556.48)

1,475,698,768.00 441,807,166.00 (16,689,514.97) 148,000,000.00

16,689,514.97

2,307,467,488.54 4,372,973,422.54

(16,689,514.97)

-

(โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้) รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 91


งบกระแสเงินสด

สำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรสำหรับงวดก่อนภาษี รายการปรับปรุงกระทบกำไรสุทธิเป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน เงินปันผลรับ หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ ค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน ขาดทุนจากการขายเงินลงุทน ขาดทุนจากการด้อยค่าทรัพย์สิน ขาดทุนจากการลดมูลค่าสินค้า ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่ายทรัพย์สิน ขาดทุนจากการตัดจำหน่ายทรัพย์สินสูญหาย ขาดทุน (กำไร) ของเงินลงทุนในบริษัทร่วม ตามวิธีส่วนได้เสีย ขาดทุนจากการตัดจ่ายภาษีถูกหัก ณ ที่จ่าย ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน สินทรัพย์จากการดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ มูลค่างานเสร็จยังไม่เรียกเก็บ ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน สินค้าคงเหลือ ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง เงินจ่ายล่วงหน้าผู้รับเหมา สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์จากการดำเนินงาน (เพิ่มขึ้น) ลดลง หนี้สินจากการดำเนินงาน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย เจ้าหนี้และตั๋วเงินจ่ายคืนห้องชุด เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน หนี้สินหมุนเวียนอื่น หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น หนี้สินจากการดำเนินงาน เพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับ (จ่าย) จากการดำเนินงาน

งบการเงินรวม (บาท) 2551 2550

1,699,722,826.79 - - 36,857,646.03 - - 19,698,042.72 (9,562,939.66) 63,822.69 6,643,294.09 3,413,564.87 10,124,275.92 1,766,960,533.45 (410,494.67) (117,953,322.14) (1,042,816.30) (985,138,273.81) 833,392,642.47 (62,955,406.17) (9,107,155.28) (1,944,028.20) (345,158,854.10) 136,237,382.74 774,954.19 - (12,427,423.29) 509,841.57 125,094,755.21 1,546,896,434.56

(โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้)

92 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)

1,389,374,140.66 - 45,000.00 34,237,359.91 306,666.82 250,000,000.00 - (1,322,932.02) - 4,526,890.09 3,332,884.45 3,547,934.69 1,684,047,944.60 (2,369,185.26) (40,368,314.65) 3,700,359.60 (303,455,118.12) (1,007,019,785.90) - (41,001,534.91) 930,689.69 (1,389,582,889.55)

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550

1,628,053,896.93 1,342,983,999.80 (46,849,620.00) (35,297,334.40) - 45,000.00 26,782,669.51 23,749,429.70 - 1,146,667.24 - 250,000,000.00 19,698,042.72 - (9,681,886.92) (158,975.24) 63,822.69 - - - - - 9,929,083.90 3,091,113.43 1,627,996,008.83 1,585,559,900.53 (460,494.67) (2,727,974.73) (40,368,314.65) (117,953,322.14) (328,774.07) 113,681.48 (989,266,291.38) (297,819,253.55) 886,013,699.38 (984,114,915.83) (62,955,406.17) - (3,166,687.70) (29,379,704.67) (5,352,093.07) (1,583,194.76) (293,469,369.82) (1,355,879,676.71) 203,435,662.75 137,002,107.89 201,744,776.49 386,996.34 774,954.19 386,996.34 - 3,441,371.41 12,593,667.34 (42,811,179.69) (15,127,000.57) (50,859,430.66) 3,395,852.01 1,204,539.70 3,101,552.01 164,407,331.41 127,295,972.62 166,967,561.52 458,872,386.46 1,461,822,611.63 396,647,785.34


งบการเงินรวม (บาท) 2551 2550 จ่ายดอกเบี้ย (113,995,663.42) (115,477,962.08) จ่ายภาษีเงินได้ (496,767,342.37) (375,108,381.64) เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมดำเนินงาน 936,133,428.77 (31,713,957.26) กระแสเงินสดจากกิจกรรมการลงทุน (1,050,000,000.00) - เงินลงทุนชั่วคราว - ตั๋วสัญญาใช้เงิน เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - - เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกำหนดชำระใน 1 ปี (เพิ่มขึ้น) ลดลง 12,000,000.00 188,000,000.00 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม (66,000,000.00) - รับเงินจากการขายเงินลงทุน - 6,666,670.00 เงินปันผลรับ - 5,333,334.40 ซื้อสินทรัพย์ถาวร (11,394,539.06) (12,655,551.24) ซื้อสินทรัพย์เช่า (750,622.98) (3,941,288.69) ขายสินทรัพย์ถาวร 2,002,372.89 1,088,410.97 ขายสินทรัพย์เช่า 27,077,000.00 5,071,248.69 เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมการลงทุน (1,087,065,789.15) 189,562,824.13 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน - - รับเงินกู้ยืมระยะสั้นจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน รับ (คืน) เงินเบิกเกินบัญชี 23,190,778.28 (9,933,716.31) รับเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 2,207,990,000.00 2,790,000,000.00 คืนเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (1,327,990,000.00) (2,730,000,000.00) รับเงินกู้ยืมระยะยาว 2,476,820,000.00 2,339,200,000.00 คืนเงินกู้ยืมระยะยาว (2,489,427,655.00) (1,950,000,000.00) หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน (5,766,219.51) (4,404,498.17) รับเงินค่าหุ้นจากผู้ถือหุ้นส่วนน้อย - 700.00 จ่ายเงินปันผล (531,270,656.48) (413,239,233.04) ซื้อคืนหุ้นสามัญ (16,689,514.97) - เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมจัดหาเงิน 336,856,732.32 21,623,252.48 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ 185,924,371.94 179,472,119.35 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม 454,821,691.12 275,349,571.77 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 640,746,063.06 454,821,691.12 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดเพิ่มเติม ดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 22

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 (114,902,579.29) (456,987,991.41) 889,932,040.93 (1,050,000,000.00) - 12,000,000.00 (66,000,000.00) - 46,849,620.00 (8,849,549.78) (750,622.98) 1,326,379.44 27,077,000.00 (1,038,347,173.32) 69,000,000.00 23,793,501.65 2,207,990,000.00 (1,327,990,000.00) 2,476,820,000.00 (2,489,427,655.00) (2,734,070.52) - (531,220,276.48) (16,689,514.97) 409,541,984.68 261,126,852.29 314,972,916.56 576,099,768.85

(115,018,048.36) (352,271,726.81) (70,641,989.83) - 56,070,746.92 188,000,000.00 (150,999,300.00) 6,666,670.00 35,297,334.40 (7,892,071.67) (3,941,288.69) 246,971.71 1,102,637.38 124,551,700.05 - (9,027,289.96) 2,790,000,000.00 (2,730,000,000.00) 2,339,200,000.00 (1,950,000,000.00) (2,139,346.93) - (413,203,233.04) - 24,830,130.07 78,739,840.29 236,233,076.27 314,972,916.56

(โปรดดูหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงินนี้) รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 93


หมายเหตุประกอบงบการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 1.

2.

การดำเนินงานของบริษัท บริษทั แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) เป็นบริษทั ทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2537 ธุรกิจหลักของบริษัทคือ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ สถานที่ตั้ง และค่าใช้จ่ายพนักงานของบริษัท มีดังนี้ - ที่ทำการของบริษัท 1168/109 อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 36 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร - บริษัทและบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายพนักงานดังนี้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ 2551 2550 2551 2550 358.96 300.31 75.34 45.56 ค่าใช้จ่ายพนักงาน (ล้านบาท) หลักเกณฑ์ในการจัดทำงบการเงิน 2.1 งบการเงินนี้ได้จัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพ พ.ศ. 2547 เดิมรายการย่อในงบการเงินได้จัดทำขึ้นตาม ประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า โดยกระทรวงพาณิชย์ ลงวันที่ 14 กันยายน 2544 เรื่องกำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของบริษัทจำกัด อย่างไรก็ตาม บริษัทได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการนำเสนองบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 ให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี “ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด” และ “ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนำเสนองบการเงิน” ซึ่งมีผลบังคับใช้สำหรับงบการเงินที่มีรอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป โดยได้จัดประเภทรายการใหม่สำหรับงบการเงินสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 ให้สอดคล้องกันแล้ว 2.2 งบการเงินของบริษัท จัดทำขึ้นโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของรายการในงบการเงิน ยกเว้นรายการที่เปิดเผยไว้ใน นโยบายการบัญชีที่เกี่ยวข้อง 2.3 ในการจัดทำงบการเงินรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วยงบการเงินของบริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทใหญ่ โดยเข้าถือหุ้นในบริษัทย่อย ดังนี้

บริษัท พรสันติ จำกัด บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด

อัตราการถือหุ้น ร้อยละ ประเภทธุรกิจ 99.99 อสังหาริมทรัพย์ 99.88 ให้บริการ 99.93 ให้บริการ

ความสัมพันธ์ ผู้ถือหุ้น, ควบคุมโดยกรรมการ ผู้ถือหุ้น, ควบคุมโดยกรรมการ ผู้ถือหุ้น, ควบคุมโดยกรรมการ

2.4 รายการบัญชีระหว่างกัน ในการจัดทำงบการเงินรวม รายการบัญชีระหว่างกันที่เป็นสาระสำคัญได้ตัดออกในการทำงบการเงินรวมแล้ว 2.5 งบการเงินรวมนี้จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงฐานะการเงินรวม และผลการดำเนินงานรวมของ บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อยเท่านั้น การใช้ข้อมูลตามงบการเงินรวมเพื่อวัตถุประสงค์อื่น อาจมีข้อจำกัดด้านลักษณะที่ค่อนข้างแตกต่างกัน ในบรรดาบริษัท ย่อยที่นำงบการเงินมาประกอบเป็นงบการเงินรวม 2.6 ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 26/2549 และ 32/2549 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2549 และวันที่ 3 พฤศจิกายน 2549 ตามลำดับ ได้ให้แก้ไข มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 44 เรื่อง งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย และฉบับที่ 45 เรื่อง การบัญชีสำหรับเงินลงทุนใน บริษัทร่วม ซึ่งกำหนดให้บริษัทที่มีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ต้องเปลี่ยนนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม จากเดิมที่ใช้วิธีส่วนได้เสีย มาเป็น วิธีราคาทุน ในงบการเงินเฉพาะกิจการ ดังนั้น ในไตรมาส 1 ของปี 2550 จึงได้ทำการเปลี่ยนนโยบายการบัญชี ดังกล่าว โดยนำผลสะสมที่คำนวณขึ้นเสมือนว่า บริษัทใช้วิธีราคาทุนมาโดยตลอดมาปรับปรุงกำไรสะสมต้นงวดของปี 2550 และปรับย้อนหลังงบการ เงินเฉพาะกิจการของปี 2549 ใหม่ ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 3.18, 4

94 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


3.

สรุปนโยบายบัญชีที่สำคัญ 3.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดทำงบกระแสเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายรวมถึง เงินฝากธนาคารซึ่งถึงกำหนดจ่ายคืนในระยะ เวลาไม่เกิน 3 เดือน 3.2 เงินลงทุนชั่วคราว เงินลงทุนชั่วคราว แสดงไว้โดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) 3.3 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ บริษัทตั้งสำรองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเป็นจำนวนเงินโดยประมาณจากความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเรียกเก็บเงินลูกหนี้โดยพิจารณาจาก ลูกหนี้เป็นรายตัวที่ค้างชำระค่างวดเกินกว่า 6 เดือน และเข้าเกณฑ์การรับรู้รายได้ 3.4 ที่ดินและต้นทุนโครงการ ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง แสดงด้วยราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับ แล้วแต่อย่างใดจะต่ำกว่า ราคาทุนประกอบด้วย ที่ดิน ค่าพัฒนาที่ดิน ค่าก่อสร้าง ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงการและดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะหยุดบันทึก ดอกเบี้ยจ่ายเข้ามาเป็นต้นทุน เมื่องานก่อสร้างแล้วเสร็จหรือโครงการหยุดพัฒนาเกิน 1 ปี 3.5 สินค้าคงเหลือ สินค้าคงเหลือ ประกอบด้วย อาคารห้องชุดที่สร้างเสร็จในส่วนที่ยังไม่ได้โอนกรรมสิทธิ์ให้ผู้ซื้อ บริษัทแสดงไว้ในราคาทุนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า วัสดุคงเหลือ แสดงด้วยราคาทุนโดยวิธีเข้าก่อน - ออกก่อน (FIFO) หรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ แล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า 3.6 เงินลงทุนระยะยาว - เงินลงทุนบริษัทร่วม ในงบการเงินรวม แสดงไว้โดยวิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) - เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมในงบการเงินเฉพาะกิจการ แสดงไว้โดยวิธีราคาทุน (Cost Method) หักด้วยค่าเผื่อการด้อยค่า (ถ้ามี) 3.7 สินทรัพย์ให้เช่า ที่ดินแสดงไว้ในราคาทุน อาคารและอุปกรณ์ส่วนที่ไม่มีการตีราคาเพิ่ม แสดงด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อมราคา คำนวณโดย วิธีเส้นตรงในอัตราดังนี้ จำนวนปี อาคารสำนักงาน และ ลานจอดรถ 40 ค่าตกแต่ง และ เครื่องใช้สำนักงาน 10 เครื่องคอมพิวเตอร์ 5 3.8 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ/ค่าเสื่อมราคา - ที่ดิน แสดงไว้ในราคาทุน - อาคารและอุปกรณ์ แสดงไว้ในราคาทุนหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ค่าเสื่อมราคาคำนวณโดยวิธีเส้นตรง ในอัตราดังนี้ จำนวนปี อาคารสำนักงาน 40 ค่าตกแต่ง และ เครื่องใช้สำนักงาน 10 เครื่องคอมพิวเตอร์ และ งานพัฒนาระบบโปรแกรม 5 ยานพาหนะ 5 3.9 การด้อยค่าของสินทรัพย์ บริษัทพิจารณาการด้อยค่าของสินทรัพย์ประเภท ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เงินลงทุน ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนาและสินทรัพย์ไม่มี ตัวตนต่างๆ เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่า สินทรัพย์จะเกิดการด้อยค่า โดยพิจารณาจากมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์หากมีราคาต่ำกว่าราคาตามบัญชี ถือว่าสินทรัพย์นั้นเกิดการด้อยค่า ซึ่งจะรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าดังกล่าวในงบกำไรขาดทุน และบริษัทจะบันทึกกลับรายการจากการด้อยค่า ต่อ เมื่อมีข้อบ่งชี้ว่าการด้อยค่านั้นไม่มีอยู่อีกต่อไป หรือยังมีอยู่แต่เป็นไปในทางที่ลดลง มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์ หมายถึง ราคาขายสุทธิหรือมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ แล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่าและจะประมาณจาก สินทรัพย์แต่ละรายการ หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดแล้วแต่กรณี 3.10 สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน บริษัทบันทึกสินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงินเป็นสินทรัพย์และหนี้สินในงบดุล ด้วยจำนวนเท่ากับราคายุติธรรมของสินทรัพย์ที่เช่า ณ วันเริ่มต้น ของสัญญาเช่า ดอกเบี้ยจ่ายตามสัญญาจะถูกบันทึกตามงวดต่างๆ ตลอดอายุสัญญาเช่าตามยอดคงเหลือของหนี้สินตามสัญญาเช่าในแต่ละงวด

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 95


3.11 การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย 3.11.1 รายได้จากการขายอาคารชุด รับรู้โดยวิธีอัตราร้อยละของงานที่ทำเสร็จซึ่งจะคำนวณโดยใช้อัตราส่วนของงานที่ก่อสร้างที่เสร็จแล้วเปรียบ เทียบกับต้นทุนทั้งหมดที่ประมาณไว้ โดยบริษัทจะเริ่มรับรู้รายได้เมื่อมีการทำสัญญาจะซื้อจะขายไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของโครงการที่เปิด ขาย และรับชำระเงินเกินกว่าร้อยละ 20 ของแต่ละสัญญา และงานพัฒนา และงานก่อสร้างได้ผ่านขั้นตอนเบื้องต้นแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของงานก่อสร้างของแต่ละโครงการ ทั้งนี้บริษัทจะหยุดรับรู้รายได้ทันทีเมื่อผู้ซื้อผิดนัดชำระเงินเกินกว่า 3 งวดติดต่อกัน และอัตราส่วน งานที่ทำเสร็จสูงกว่าเงินค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ 3.11.2 รายได้ค่าเช่าและบริการที่เกี่ยวข้องในที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ให้เช่าจะรับรู้เป็นรายได้ตามเกณฑ์คงค้าง 3.11.3 รายได้จากการให้บริการจะรับรู้เป็นรายได้เมื่อการให้บริการเสร็จสิ้นลง 3.11.4 รายได้อื่นและค่าใช้จ่ายรับรู้ตามเกณฑ์คงค้าง 3.11.5 บริษัทคำนวณต้นทุนจากการขายบ้านและที่ดิน อาคารชุดที่ขายแล้ว โดยถือเป็นต้นทุนขายตามอัตราร้อยละของการรับรู้รายได้ 3.12 ภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทและบริษัทย่อยบันทึกภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องจ่ายในแต่ละงวด เป็นค่าใช้จ่ายทั้งหมดในงวดนั้นและคำนวณภาษีเงินได้ตามที่กำหนดไว้ ในประมวลรัษฎากร โดยคำนวณจากรายได้ที่รับรู้ตามวิธีค่างวดที่ครบกำหนดชำระสำหรับโครงการที่เปิดขายก่อนปี 2550 และรับรู้รายได้ตามวิธีอัตรา ร้อยละของงานที่ทำเสร็จสำหรับโครงการที่เปิดในปี 2550 เป็นต้นไป 3.13 ประมาณการบัญชี ในการจัดทำงบการเงินตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝ่ายบริหารต้องใช้การประมาณการรายการบัญชีบางรายการซึ่งมีผลกระทบต่อจำนวน เงินที่แสดงในงบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ด้วยเหตุนี้ผลที่เกิดขึ้นจริงในภายหลัง จึงอาจแตกต่างไปจากจำนวนที่ประมาณไว้ 3.14 ประมาณการหนี้สิน บริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินเมื่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ของการเกิดภาระผูกพันในปัจจุบัน ตามกฎหมายหรือจากการอนุมานอัน เป็นผลสืบเนื่องมาจากเหตุการณ์ในอดีต ภาระผูกพันดังกล่าว คาดว่าจะส่งผลให้สูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื่อจ่ายชำระ ภาระผูกพัน และจำนวนที่ต้องจ่ายสามารถประมาณการได้อย่างน่าเชื่อถือ หากบริษัทคาดว่าจะได้รับคืนรายจ่ายชำระไปตามประมาณการหนี้สินทั้งหมดหรือบางส่วน อย่างแน่นอน บริษัทจะรับรู้รายจ่ายได้รับคืนเป็นสินทรัพย์แยกต่างหากแต่ต้องไม่เกินจำนวนประมาณการหนี้สินที่เกี่ยวข้อง 3.15 กำไรต่อหุ้น - กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยการหารกำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับงวด ด้วยจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออกอยู่ในระหว่างงวด - กำไรต่อหุ้นปรับลดคำนวณโดยการหารกำไร (ขาดทุน) สุทธิสำหรับงวด ด้วยผลรวมของจำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักที่ออกอยู่ใน ระหว่างงวดกับจำนวนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของหุ้นสามัญที่บริษัทอาจต้องออกเพื่อแปลงหุ้นสามัญเทียบเท่าปรับลดทั้งสิ้น (ใบสำคัญแสดงสิทธิ) ให้เป็น หุ้นสามัญ 3.16 หุ้นทุนซื้อคืน บริษัทบันทึกหุ้นสามัญของบริษัทที่ซื้อคืนกลับมาด้วยวิธีราคาทุน 3.17 เงินบำเหน็จพนักงาน ข้อผูกพันตามนโยบายการจ่ายเงินบำเหน็จพนักงาน เมื่อครบเกษียณอายุ ซึ่งเงินผลประโยชน์ที่จะให้แก่พนักงาน เมื่อครบเกษียณอายุตามที่ กฎหมายแรงงานกำหนด บริษัทจะบันทึกในงวดบัญชีที่พนักงานนั้นครบเกษียณอายุ 3.18 การประกาศใช้มาตรฐานการบัญชีใหม่ สภาวิชาชีพบัญชีได้ออกประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 9/2550 , ฉบับที่ 38/2550 และฉบับที่ 62/2550 เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชี ซึ่งได้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว โดยให้ใช้มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม่ปี 2550 ดังต่อไปนี้ แทนมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมที่ยกเลิกไป 3.18.1 มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม่ที่มีผลบังคับใช้ในปี 2550 ฉบับที่ 44 งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ฉบับที่ 45 เงินลงทุนในบริษัทร่วม ฉบับที่ 46 ส่วนได้เสียในการร่วมค้า มาตรฐานการบัญชีทั้งสามฉบับข้างต้นให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 เป็นต้นไป ในระหว่างไตรมาสที่ 1 ของปี 2550 บริษัทได้เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทย่อย และบริษัทร่วมในงบการเงิน เฉพาะกิจการ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 44 และ 45 ฉบับปรับปรุงใหม่ ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุ 4 ส่วนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 ไม่เกี่ยวข้องกับบริษัท 3.18.2 มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหม่ที่มีผลบังคับใช้ในปี 2551 ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2550) งบกระแสเงินสด ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) สัญญาเช่า ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2550) สินค้าคงเหลือ

96 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2550) ต้นทุนการกู้ยืม ฉบับที่ 35 (ปรับปรุง 2550) การนำเสนองบการเงิน (ปรับปรุง 2550) นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและข้อผิดพลาด ฉบับที่ 39 ฉบับที่ 41 (ปรับปรุง 2550) งบการเงินระหว่างกาล ฉบับที่ 43 (ปรับปรุง 2550) การรวมธุรกิจ (ปรับปรุง 2550) สัญญาก่อสร้าง ฉบับที่ 49 ฉบับที่ 51 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน มาตรฐานการบัญชีทั้งสิบฉบับข้างต้นให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทเห็นว่ามาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 43, 49 และ 51 ไม่เกี่ยวข้องกับบริษัท สำหรับมาตรฐานการบัญชีอื่นที่เกี่ยวข้อง บริษัทได้ถือ ปฏิบัติแล้ว และไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินของบริษัท 3.18.3 มาตรฐานการบัญชีที่มีผลบังคับใช้ในปี 2552 ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2550) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนที่ถือไว้เพื่อขายและการดำเนินงานที่ยกเลิก ฉบับที่ 54 (ปรับปรุง 2550) การด้อยค่าของสินทรัพย์ มาตรฐานการบัญชีข้างต้นให้ถือปฏิบัติกับงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2552 เป็นต้นไป ฝ่ายบริหารของบริษัทได้ประเมินแล้วเห็นว่า มาตรฐานการบัญชีฉบับดังกล่าวจะไม่มีผลกระทบอย่างเป็นสาระสำคัญต่องบการเงินเมื่อได้เริ่ม ถือปฏิบัต ิ 4. การเปลี่ยนแปลงนโยบายการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ตามที่ได้กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 3.18 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2550 บริษัทได้เปลี่ยนวิธีการบันทึกบัญชีเงินลงทุนในบริษัทย่อยและ บริษัทร่วม ในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีส่วนได้เสียมาเป็นวิธีราคาทุน โดยนำผลสะสมที่คำนวณขึ้นเสมือนว่าบริษัทใช้วิธีราคาทุนมาโดยตลอดมาปรับปรุง กำไรสะสมต้นงวดของปี 2550 และปรับย้อนหลังงบการเงินเฉพาะกิจการของปี 2549 ใหม่ ผลจากการเปลี่ยนวิธีการบัญชีดังกล่าว ทำให้งบการเงินเฉพาะ กิจการสำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2550 มีกำไรสะสมต้นงวดลดลง 62.92 ล้านบาท และเงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมลดลง ด้วยจำนวน เดียวกัน 5. เงินลงทุนชั่วคราว งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) อัตราดอกเบี้ย 2551 2550 2551 2550 ตั๋วสัญญาใช้เงิน 2.50% - 3.80% 480,000,000.00 - 480,000,000.00 - ตั๋วแลกเงิน 2.75% - 4.00% 570,000,000.00 - 570,000,000.00 - รวมทั้งสิ้น 1,050,000,000.00 - 1,050.000.000 - 6. ลูกหนี้การค้า - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 จำนวนเงินที่ได้ทำสัญญาจะซื้อจะขายแล้ว (31 ธ.ค. 51 : ร้อยละ 85.64, 31 ธ.ค. 50 : ร้อยละ 84.18 ของยอดขายของโครงการที่เปิดขาย) 26,008,701,338.31 21,972,009,916.98 25,993,851,338.31 21,931,089,916.98 หัก มูลค่าโครงการที่ได้ทำสัญญาจะซื้อจะขาย ที่มีการโอนแล้ว (16,282,214,743.98) (12,637,632,679.98) (16,272,214,743.98) (12,596,712,679.98) คงเหลือมูลค่าโครงการที่ได้ทำสัญญา จะซื้อจะขายแต่ยังไม่มีการโอน 9,726,486,594.33 9,334,377,237.00 9,721,636,594.33 9,334,377,237.00 ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระ 479,222,402.41 82,742,798.70 477,392,402.41 80,912,798.70 หัก เงินชำระแล้ว (390,048,474.21) (69,088,390.70) (388,431,474.21) (67,482,390.70) ลูกหนี้ค่างวดที่ค้างชำระ 89,173,928.20 13,654,408.00 88,960,928.20 13,430,408.00 บวก ลูกหนี้ค่างวดค้างชำระโครงการ Tower 2 - 39,000.00 - - 89,173,928.20 13,693,408.00 88,960,928.20 13,430,408.00 รวม รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 97


7.

8.

งบการเงินรวม (บาท) 2551 2550 โอนค่างวดครบกำหนดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ (18,095,433.00) (13,317,700.00) - โอนเป็นลูกหนี้บริษัทที่เกี่ยวข้อง (70,000,000.00) รวมลูกหนี้การค้า 1,078,495.20 375,708.00 (57,308.00) (57,308.00) หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 318,400.00 สุทธิ 1,021,187.20

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 (18,095,433.00) (13,317,700.00) (70,000,000.00) - 865,495.20 112,708.00 (57,308.00) (57,308.00) 808,187.20 55,400.00

ลูกหนี้การค้า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 แยกตามอายุหนี้ได้ดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 เกินกำหนด 1 - 3 เดือน 17,761,052.00 11,874,200.00 17,761,052.00 11,874,200.00 เกินกำหนด 4 - 6 เดือน 894,268.20 1,017,600.00 894,268.20 1,017,600.00 เกินกำหนด 7 - 12 เดือน 238,400.00 481,300.00 238,400.00 481,300.00 เกินกำหนด 12 เดือน ขึ้นไป 280,208.00 320,308.00 67,208.00 57,308.00 13,430,408.00 รวม 19,173,928.20 13,693,408.00 18,960,928.20 โอนค่างวดครบกำหนดที่ยังไม่รับรู้ เป็นรายได้ (18,095,433.00) (13,317,700.00) (18,095,433.00) (13,317,700.00) 1,078,495.20 375,708.00 865,495.20 112,708.00 รวมลูกหนี้การค้า (57,308.00) (57,308.00) (57,308.00) (57,308.00) หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 318,400.00 808,187.20 55,400.00 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 1,021,187.20 มูลค่างานเสร็จยังไม่เรียกเก็บ/ค่างวดครบกำหนดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 479,222,402.41 82,742,798.70 477,392,402.41 80,912,798.70 ค่างวดที่ถึงกำหนดชำระแล้ว - สุทธิ (683,784,727.35) (174,129,534.50) (681,954,727.35) (172,299,534.50) หัก การรับรู้รายได้ตามอัตราร้อยละของงานที่เสร็จ รวม (204,562,324.94) (91,386,735.80) (204,562,324.94) (91,386,735.80) รายการดังกล่าวประกอบด้วย มูลค่างานเสร็จแต่ยังไม่เรียกเก็บ 222,657,757.94 104,704,435.80 222,657,757.94 104,704,435.80 (18,095,433.00) (13,317,700.00) (18,095,433.00) (13,317,700.00) หัก ค่างวดครบกำหนดที่ยังไม่รับรู้เป็นรายได้ รวม 204,562,324.94 91,386,735.80 204,562,324.94 91,386,735.80 มูลค่างานเสร็จแต่ยังไม่เรียกเก็บ 222,657,757.94 104,704,435.80 222,657,757.94 104,704,435.80 (4,332,839.84) (4,332,839.84) (4,332,839.84) (4,332,839.84) หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ มูลค่างานเสร็จยังไม่เรียกเก็บ - สุทธิ 218,324,918.10 100,371,595.96 218,324,918.10 100,371,595.96 ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง และที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2551 ที่ดิน 3,015,149,437.17 1,293,085,645.61 4,308,235,082.78 ค่าก่อสร้างและออกแบบ 2,848,065,750.10 3,933,507,407.94 6,781,573,158.04 ค่าใช้จ่ายอื่นในโครงการ 63,977,920.00 105,414,311.29 169,392,231.29 ดอกเบี้ยจ่าย 311,730,434.75 104,811,888.04 416,542,322.79 รวม 6,238,923,542.02 5,436,819,252.88 11,675,742,794.90

98 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


งบการเงินรวม (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2551 4,108,252.36 882,499,142.89 886,607,395.25 หัก ส่วนของต้นทุนขาย-สะสม โอนเข้าขาดทุนจากการด้อยค่า 391,833,602.41 - 391,833,602.41 โอนเข้าสินค้าคงเหลือ 594,662,947.68 5,154,802,972.31 5,749,465,919.99 - 41,580,000.00 โอนเข้าทรัพย์สินเช่า, สำนักงาน 41,580,000.00 ตัดจำหน่ายงานระหว่างก่อสร้าง - 123,258,086.23 123,258,086.23 1,032,184,802.45 6,160,560,201.43 7,192,745,003.88 รวมส่วนที่โอนแล้ว คงเหลือ 5,206,738,739.57 (723,740,948.55) 4,482,997,791.02 13,657,674.48 5,941,913.77 19,599,588.25 หัก รายการระหว่างกัน คงเหลือ 5,193,081,065.09 (729,682,862.32) 4,463,398,202.77 4,532,358,897.69 (750,881,743.15) 3,781,477,154.54 หัก ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา - สุทธิ 660,722,167.40 21,198,880.83 681,921,048.23 งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2551 ที่ดิน 2,978,805,405.16 1,163,757,301.11 4,142,562,706.27 ค่าก่อสร้างและออกแบบ 2,847,872,145.10 3,931,986,689.65 6,779,858,834.75 ค่าใช้จ่ายอื่นในโครงการ 63,949,920.00 105,412,511.29 169,362,431.29 ดอกเบี้ยจ่าย 311,730,434.75 104,811,888.04 416,542,322.79 รวม 6,202,357,905.01 5,305,968,390.09 11,508,326,295.10 4,108,252.36 882,499,142.89 886,607,395.25 หัก ส่วนของต้นทุนขาย - สะสม โอนเข้าขาดทุนจากการด้อยค่า 391,833,602.41 - 391,833,602.41 โอนเข้าสินค้าคงเหลือ 594,662,947.68 5,154,412,972.31 5,749,075,919.99 - 41,580,000.00 โอนเข้าทรัพย์สินเช่า, สำนักงาน 41,580,000.00 ตัดจำหน่ายงานระหว่างก่อสร้าง - 123,258,086.23 123,258,086.23 รวมส่วนที่โอนแล้ว 1,032,184,802.45 6,160,170,201.43 7,192,355,003.88 คงเหลือ 5,170,173,102.56 (854,201,811.34) 4,315,971,291.22 4,509,450,935.16 (731,630,920.45) 3,777,820,014.71 หัก ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา - สุทธิ 660,722,167.40 (122,570,890.89) 538,151,276.51 ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2551 ที่ดิน 957,857,026.51 51,727,732.94 1,009,584,759.45 80,632,752.58 ค่าก่อสร้างและออกแบบ 88,724,610.11 (8,091,857.53) ค่าใช้จ่ายอื่นในโครงการ 5,974,133.19 (3,235,128.50) 2,739,004.69 รวม 1,052,555,769.81 40,400,746.91 1,092,956,516.72 (391,833,602.41) - (391,833,602.41) หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ สุทธิ 660,722,167.40 40,400,746.91 701,122,914.31 - 19,201,866.08 19,201,866.08 หัก รายการระหว่างกัน ที่ดินและต้นทุนโครงการรอการพัฒนา - สุทธิ 660,722,167.40 21,198,880.83 681,921,048.23

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 99


9.

10.

งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น (ลดลง) 2551 ที่ดิน 957,857,026.51 (110,944,643.57) 846,912,382.94 ค่าก่อสร้างและออกแบบ 88,724,610.11 (8,361,318.82) 80,363,291.29 ค่าใช้จ่ายอื่นในโครงการ 5,974,133.19 (3,264,928.50) 2,709,204.69 (391,833,602.41) - (391,833,602.41) หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของสินทรัพย์ (122,570,890.89) 538,151,276.51 ที่ดินและต้ น ทุ น โครงการรอการพั ฒ นา สุ ท ธิ 660,722,167.40 - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทได้โอนที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้างที่มีระยะเวลาการก่อสร้างไม่เกิน 1 ปี แยกแสดงเป็น รายการต่างหากไว้ในส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนซึ่งมีจำนวน 3,781.48 ล้านบาท และ 4,532.36 ล้านบาท ตามลำดับ - ส่วนของต้นทุนขายสะสมเกิดจากการบันทึกต้นทุนขายตามวิธีอัตราร้อยละของการรับรู้รายได้ในแต่ละงวดที่สะสมมาตั้งแต่มีการรับรู้รายได้ในแต่ละ โครงการ และจะมีการโอนออกเมื่อปิดโครงการงานก่อสร้างในงวดปีต่อไป - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษัทได้มีการบันทึกการด้อยค่าของที่ดินโครงการรอการพัฒนาเพิ่มขึ้นอีก 250.00 ล้านบาท โดยฝ่ายบริหารได้ประเมิน มูลค่า ด้วยวิธีการหามูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ ซึ่งกิจการได้รับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าดังกล่าวในงบกำไรขาดทุนปี 2550 ทั้งจำนวน บริษัทได้ใช้ หลักความระมัดระวัง ความสมเหตุสมผล และการบริหารความเสี่ยง จึงได้ดำเนินการด้อยค่าของสินทรัพย์ดังกล่าวข้างต้น - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทเหลือโครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างจำนวน 8 โครงการ - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง จำนวน 3,981.15 ล้านบาท และ 4,321.67 ล้านบาท ตามลำดับ บริษัทได้นำไปจดจำนองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13 และเงินกู้ยืมธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงินตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 15 และ 16 สินค้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 อาคารชุด 1,423,600,412.02 501,984,482.29 1,416,052,412.02 489,890,488.84 วัสดุคงเหลือ 69,322.72 69,322.72 - - รวม 1,423,669,734.74 502,053,805.01 1,416,052,412.02 489,890,488.84 (19,698,042.72) - (19,698,042.72) - หัก ค่าเผื่อการลดมูลค่าสินค้า สุทธิ 1,403,971,692.02 502,053,805.01 1,396,354,369.30 489,890,488.84 - 417,975.88 - - หัก รายการระหว่างกัน รวมสุทธิ 1,403,971,692.02 501,635,829.13 1,396,354,369.30 489,890,488.84 - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 สินค้าคงเหลือ จำนวน 635.60 ล้านบาท ติดภาระจำนองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินเบิกเกินบัญชี และเงินกู้ยืม ระยะสั้นจากสถาบันการเงินตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13 และเงินกู้ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน ตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 15 และ 16 - ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีการบันทึกการลดมูลค่าของสินค้าคงเหลืออาคารชุด รวมจำนวน 19.70 ล้านบาท รายการบัญชีที่เกี่ยวข้องกัน กิจการ ลักษณะรายการ นโยบายราคา 1. บริษัท พรสันติ จำกัด กู้ยืมจากบริษัท เงินต้นครบกำหนดปี 2550 อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.84 - 5.28 ต่อปี บริษัทยินยอมให้ใช้วงเงิน Bank Guarantee ไม่มีค่าบริการ ซื้อที่ดินเปล่าจากบริษัท ตามราคาที่ตกลงในสัญญาซึ่ง ใกล้เคียงกับราคาประเมินจากผู้ประเมินอิสระ 2. บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ ให้บริการบริหารงานก่อสร้างและการขาย, ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาที่ตกลงกัน มาเนจเมนท์ จำกัด ระบบการจัดการสินทรัพย์ให้เช่าแก่บริษัท และบริษัทร่วม ให้กู้ยืมเงิน ครบกำหนดเมื่อทวงถาม อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.633 ต่อปี

100 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


กิจการ ลักษณะรายการ นโยบายราคา ครบกำหนดเมื่อทวงถาม 3. บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด กู้ยืมจากบริษัท และบริษัทย่อย บริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5 - 9.5 ต่อปี ได้รับการบริการบริหารงานก่อสร้าง, จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) งานขายและธุรกิจนายหน้าตัวแทนขายจาก ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาที่ตกลงกัน บริษัทย่อยของบริษัท 4. บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ ทดรองจ่ายจากบริษัท ชำระคืนเมื่อทวงถาม เซอร์วิส จำกัด ให้บริการบริหารงานก่อสร้าง ค่าบริการเรียกเก็บตามสัญญาที่ตกลงกัน และการขายแก่บริษัท ให้กู้ยืมเงิน ครบกำหนดเมื่อทวงถาม อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 2.633 ต่อปี 10.1 ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง 2551 บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - 1,266,870.58 924,470.58 342,400.00 บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด 14,257.25 3,313,264.13 3,327,521.38 - บริษัท พรสันติ จำกัด - 89,224,343.46 16,224,343.46 73,000,000.00 บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด และบริษัทย่อยบริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) - 7,797.11 7,165.79 631.32 14,257.25 93,812,275.28 20,483,501.21 73,343,031.32 รวม งบการเงินรวม (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง 2551 บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด และบริษัทย่อยบริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) - 3,238,414.29 2,195,597.99 1,042,816.30 1,042,816.30 รวม - 3,238,414.29 2,195,597.99 10.2 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง 2551 บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด และบริษัทย่อย บริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) 12,000,000.00 - 12,000,000.00 - หัก เงินกู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน ที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี (12,000,000.00) - (12,000,000.00) - สุทธิ - - - - ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทย่อย ครั้งที่ 4.2/2542 เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2542 พิจารณามีมติให้บริษัทปรับโครงสร้างหนี้กับบริษัท พรสันติ จำกัด (ในฐานะลูกหนี้บริษัท) สัญญาลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2542 ได้นำยอดหนี้เงินต้นและดอกเบี้ยที่ค้างเป็นจำนวนเงิน 246.96 ล้านบาท ตกลงชำระหนี้ให้เสร็จ ภายในวันที่ 27 กันยายน 2545 และหยุดคิดดอกเบี้ยตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2543 เป็นต้นไป และมีการต่ออายุสัญญาจากเดิม ให้ครบกำหนดชำระวันที่ 28 สิงหาคม 2549 และต่อมาในไตรมาส 3/2549 ที่ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4/2549 เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2549 มีมติให้บริษัทรับตั๋วสัญญาใช้เงินจาก บริษัท พรสันติ จำกัด แทนสัญญาที่จะหมดอายุลง โดยมีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 5.28 ต่อปี ครบกำหนดวันที่ 27 มิถุนายน 2550 และบริษัทได้รับชำระเงิน ดังกล่าวครบทั้งจำนวนแล้ว ในปี 2551 บริษัทได้ขายที่ดินเปล่าให้บริษัท พรสันติ จำกัด เพื่อทำโครงการจำนวน 129.20 ล้านบาท โดยรับชำระแล้วเป็นจำนวน 56.20 ล้านบาท คงเหลือจำนวน 73.00 ล้านบาท

}

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 101


10.3 เงินลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม อัตรา งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เงินปันผล (บาท) วิธีราคาทุน การถือหุ้น วิธีส่วนได้เสีย 31 ธันวาคม 2551 บริษัทย่อย - 318,037,237.15 - บริษัท พรสันติ จำกัด 99.99 - (111,425,191.36) - หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน - 206,612,045.79 - คงเหลือสุทธิ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 99.88 - 998,800.00 35,057,880.00 บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด 99.93 - 999,300.00 11,791,740.00 บริษัทร่วม บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด และบริษัทย่อย บริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) 20.00 70,470,397.70 77,721,938.32 - 70,470,397.70 286,332,084.11 46,849,620.00 รวม อัตรา งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เงินปันผล (บาท) วิธีราคาทุน การถือหุ้น วิธีส่วนได้เสีย 31 ธันวาคม 2550 บริษัทย่อย - 318,037,237.15 - บริษัท พรสันติ จำกัด 99.99 - (111,425,191.36) - หัก ค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุน - 206,612,045.79 - คงเหลือสุทธิ บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 99.88 - 998,800.00 29,964,000.00 บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด 99.93 - 999,300.00 - บริษัทร่วม บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด และบริษัทย่อย บริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) 20.00 11,113,691.79 11,721,938.32 5,333,334.40 11,113,691.79 220,332,084.11 35,297,334.40 รวม งบการเงินบริษัทร่วมซึ่งนำมาบันทึกขาดทุนส่วนได้เสียฯ ในปี 2551 จำนวน 6,643,294.09 บาท เป็นงบการเงินที่ผู้บริหารจัดทำขึ้นโดยยังไม่ผ่าน การตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั ได้ขายเงินลงทุนในบริษทั แกรนด์ ยูนติ ี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด ออกไปบางส่วน ทำให้สดั ส่วนเหลือเป็นร้อยละ 20 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทได้ซื้อหุ้นเพิ่มทุนในบริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด จำนวน 11 ล้านหุ้น ในราคาเรียกชำระหุ้นละ 6.00 บาท รวมจำนวนเงิน 66.00 ล้านบาท ซึ่งการซื้อหุ้นเพิ่มทุนดังกล่าวเป็นการซื้อหุ้นเพิ่มทุนตามสัดส่วนเดิม ในปี 2550 บริษัทได้ลงทุนเปิดบริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด โดยบริษัทถือหุ้นในอัตราร้อยละ 99.93 10.4 เจ้าหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) เพิ่มขึ้น ลดลง 2551 2550 บริษัท พรสันติ จำกัด - 2,700.00 - 2,700.00 บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 22,878,510.58 108,394,897.54 122,716,182.36 8,557,225.76 17,759,956.23 บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด - 208,636,440.71 190,876,484.48 26,319,881.99 22,878,510.58 317,034,038.25 313,592,666.84

102 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


10.5 เงินกู้ยืมระยะสั้นกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง 2551 - 106,000,000.00 96,000,000.00 10,000,000.00 บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด บริษัท ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วิส จำกัด - 131,000,000.00 72,000,000.00 59,000,000.00 69,000,000.00 - 237,000,000.00 168,000,000.00 10.6 ขาย - ที่ดินเปล่า งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 2551 บริษัท พรสันติ จำกัด 129,200,000.00 48,400,000.00 48,400,000.00 รวม 129,200,000.00 10.7 รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 10.7.1 ต้นทุนขาย - 64,339,648.25 - บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด - - 12,571,999.22 71,333,388.32 บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - 71,333,388.32 รวม 76,911,647.47 10.7.2 ต้นทุนจากธุรกิจให้เช่าและบริการ - - 9,994,565.44 8,437,849.72 บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 10.7.3 ค่าใช้จ่ายดำเนินงาน - 144,283,447.12 - บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด - บริษัท ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - - 85,710,028.21 184,295,681.38 - - 229,993,475.33 184,295,681.38 รวม 10.7.4 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร - 849,000.00 - บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด - - - 1,062,000.00 2,640,000.00 บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด 13,500.00 - บริษัท พรสันติ จำกัด - - 1,924,500.00 2,640,000.00 รวม 10.7.5 ดอกเบี้ยจ่าย - 13,345.34 - บริษทั ลุมพินี โปรเจค มาเนจเมนท์ เซอร์วสิ จำกัด - - - 118,304.67 - บริษทั ลุมพินี พรอพเพอร์ตี้ มาเนจเมนท์ จำกัด - - 131,650.01 - รวม 10.7.6 ดอกเบี้ยรับ บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด และบริษัทย่อย บริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) 277,377.05 8,885,585.03 277,377.05 8,885,585.03 บริษัท พรสันติ จำกัด - - - 1,435,656.93 8,885,585.03 277,377.05 10,321,241.96 รวม 277,377.05 10.7.7 รายได้จากธุรกิจรับจ้างบริหารจัดการ บริษัท แกรนด์ ยูนิตี้ ดิเวลล็อปเมนท์ จำกัด และบริษัทย่อย บริษัท แกรนด์ยู ลิฟวิ่ง จำกัด (เป็นบริษัทร่วมของบริษัท) 3,230,617.18 8,036,809.67 - - 8,036,809.67 - - รวม 3,230,617.18

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 103


งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 10.7.8 กำไรจากการขายที่ดินเปล่า บริษัท พรสันติ จำกัด - - 5,710,853.77 13,888,734.48 - 5,710,853.77 13,888,734.48 รวม - 11. สินทรัพย์ให้เช่า - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) เพิ่มขึ้น ลดลง โอนเข้า (ออก) สุทธิ 2551 2550 ราคาทุน ที่ดิน - ราคาทุน 145,934,600.81 - (4,415,757.04) 12,388,027.24 153,906,871.01 อาคาร - ราคาทุน 575,577,450.43 - (14,017,902.44) 53,005,797.65 614,565,345.64 ค่าตกแต่งอาคารและเฟอร์นิเจอร์ 35,143,152.23 750,622.98 (3,364.49) - 35,890,410.72 750,622.98 (18,437,023.97) 65,393,824.89 804,362,627.37 รวม 756,655,203.47 ค่าเสื่อมราคาสะสม 67,353,448.60 14,782,709.33 (427,993.42) 69,207.18 81,777,371.69 อาคาร - ราคาทุน ค่าตกแต่งอาคารและเฟอร์นิเจอร์ 9,922,271.00 1,829,056.72 (784.83) - 11,750,542.89 16,611,766.05 (428,778.25) 69,207.18 93,527,914.58 รวม 77,275,719.60 - - - 710,834,712.79 สุทธิ 679,379,483.87 845,497.48 - - - 845,497.48 หัก รายการระหว่างกัน สินทรัพย์ให้เช่า - สุทธิ 678,533,986.39 709,989,215.31 ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 16,611,766.05 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 15,264,606.14 งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง โอนเข้า (ออก) สุทธิ 2551 ราคาทุน - (4,415,757.04) 12,388,027.24 142,863,719.82 ที่ดิน - ราคาทุน 134,891,449.62 อาคาร - ราคาทุน 471,698,689.84 - (14,017,902.44) 53,005,797.65 510,686,585.05 ค่าตกแต่งอาคารและเฟอร์นิเจอร์ 31,109,401.26 750,622.98 (3,364.49) - 31,856,659.75 750,622.98 (18,437,023.97) 65,393,824.89 685,406,964.62 รวม 637,699,540.72 ค่าเสื่อมราคาสะสม 44,691,103.03 12,207,991.25 (427,993.42) 69,207.18 56,540,308.04 อาคาร - ราคาทุน ค่าตกแต่งอาคารและเฟอร์นิเจอร์ 6,338,135.82 1,559,054.77 (784.83) - 7,896,405.76 13,767,046.02 (428,778.25) 69,207.18 64,436,713.80 รวม 51,029,238.85 สินทรัพย์ให้เช่า - สุทธิ 586,670,301.87 620,970,250.82 ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 13,767,046.02 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 12,374,182.80 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษทั ได้โอนสินค้าคงเหลือ จำนวน 63.10 ล้านบาท และ 77.98 ล้านบาท ตามลำดับ มาเป็นสินทรัพย์ให้เช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ที่ดินและอาคารให้เช่า จำนวน 341.02 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 329.20 ล้านบาท) และจำนวน 336.60 ล้านบาท ตามลำดับ บริษัทได้นำไปจดจำนองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินเบิกเกินบัญชี เงินกู้ยืมระยะสั้น และระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์และ สถาบันการเงิน ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13, 15 และ 16 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทมีสินทรัพย์ให้เช่าที่คิดค่าเสื่อมราคาเต็มมูลค่าแล้ว แต่ยังใช้งานอยู่คิดเป็นมูลค่าต้นทุน เป็นจำนวน 4.71 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 3.37 ล้านบาท) และ 3.16 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 1.84 ล้านบาท) ตามลำดับ

104 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


12.

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) 2550 เพิ่มขึ้น ลดลง โอนเข้า (ออก) 2551 ราคาทุน 36,718,449.69 - - (2,289,456.69) 34,428,993.00 ที่ดินและอาคารสำนักงาน ค่าตกแต่ง 11,006,323.49 1,232,665.89 - - 12,238,989.38 เครื่องใช้สำนักงาน 46,672,966.89 3,247,065.64 (104,496.32) - 49,815,536.21 งานพัฒนาระบบโปรแกรม 18,869,709.72 600,101.84 - 524,574.17 19,994,385.73 เครื่องคอมพิวเตอร์ 37,208,619.00 2,394,929.00 (1,065,593.08) 356,000.00 38,893,954.92 ยานพาหนะ 26,708,000.00 8,706,020.00 (6,908,000.00) - 28,506,020.00 เครื่องมือช่าง 1,720,112.61 552,163.56 - - 2,272,276.17 โปรแกรมระหว่างพัฒนา 2,430,484.04 961,590.13 - (874,574.17) 2,517,500.00 รวม 181,334,665.44 17,694,536.06 (8,078,089.40) (2,283,456.69) 188,667,655.41 ค่าเสื่อมราคาสะสม 6,186,953.11 776,450.55 - (69,207.18) 6,894,196.48 ที่ดินและอาคารสำนักงาน ค่าตกแต่ง 2,195,789.71 1,100,520.35 - - 3,296,310.06 เครื่องใช้สำนักงาน 31,934,075.91 2,959,018.38 (40,311.74) - 34,852,782.55 - งานพัฒนาระบบโปรแกรม 10,285,072.61 3,150,751.69 - 13,435,824.30 เครื่องคอมพิวเตอร์ 24,213,589.85 5,900,603.80 (1,050,586.11) 5,997.00 29,069,604.54 ยานพาหนะ 12,326,247.65 6,090,073.43 (5,415,181.35) - 13,001,139.73 เครื่องมือช่าง 1,071,483.31 268,461.78 - - 1,339,945.09 รวม 88,213,212.15 20,245,879.98 (6,506,079.20) (63,210.18) 101,889,802.75 สุทธิ 93,121,453.29 86,777,852.66 ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 20,245,879.98 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 18,972,753.77 งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) ลดลง โอนเข้า (ออก) 2551 2550 เพิ่มขึ้น ราคาทุน 34,033,585.18 - - (2,289,456.69) 31,744,128.49 ที่ดินและอาคารสำนักงาน ค่าตกแต่ง 11,006,323.49 1,232,665.89 - - 12,238,989.38 เครื่องใช้สำนักงาน 37,260,798.78 2,730,344.52 (98,296.32) - 39,892,846.98 งานพัฒนาระบบโปรแกรม 18,869,709.72 600,101.84 - 524,574.17 19,994,385.73 เครื่องคอมพิวเตอร์ 18,531,083.71 1,280,827.40 (1,065,593.08) - 18,746,318.03 ยานพาหนะ 13,205,000.00 8,706,020.00 (5,700,000.00) - 16,211,020.00 โปรแกรมระหว่างพัฒนา 44,984.04 599,590.13 - (524,574.17) 120,000.00 รวม 132,951,484.92 15,149,549.78 (6,863,889.40) (2,289,456.69) 138,947,688.61 ค่าเสื่อมราคาสะสม 3,502,088.60 776,450.55 - (69,207.18) 4,209,331.97 ที่ดินและอาคารสำนักงาน ค่าตกแต่ง 2,195,789.71 1,100,520.35 - - 3,296,310.06 เครื่องใช้สำนักงาน 24,996,578.90 1,815,277.42 (37,053.29) - 26,774,803.03 งานพัฒนาระบบโปรแกรม 10,285,072.61 3,150,751.69 - - 13,435,824.30 เครื่องคอมพิวเตอร์ 12,089,990.61 2,667,630.93 (1,050,586.11) - 13,707,035.43 ยานพาหนะ 6,343,430.99 3,504,992.55 (4,999,180.51) - 4,849,243.03 รวม 59,412,951.42 13,015,623.49 (6,086,819.91) (69,207.18) 66,272,547.82 สุทธิ 73,538,533.50 72,675,140.79 ค่าเสื่อมราคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 13,015,623.49 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 11,375,246.90 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 105


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ที่ดินและอาคาร จำนวน 29.94 ล้านบาท และ 30.43 ล้านบาท ตามลำดับ บริษัทได้นำไปจดจำนองเพื่เป็น หลักทรัพย์ค้ำประกันเงินเบิกเกินบัญชี, เงินกู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวจากธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงิน ตามที่กล่าวไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 13, 15 และ 16 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทมีสินทรัพย์ถาวรที่คิดค่าเสื่อมราคาเต็มมูลค่าแล้วแต่ยังใช้งานอยู่ คิดเป็นมูลค่าต้นทุน 43.07 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 33.22 ล้านบาท) และ 34.34 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 28.58 ล้านบาท) ตามลำดับ 13. เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ประกอบด้วย งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 2551 2550 2551 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร 25,078,533.81 1,887,755.53 25,078,533.81 1,285,032.16 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 1,320,000,000.00 440,000,000.00 1,320,000,000.00 440,000,000.00 1,345,078,533.81 441,887,755.53 1,345,078,533.81 441,285,032.16 รวม เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น ค้ำประกันโดยที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง ตามหมายเหตุข้อ 8, สินค้าคงเหลือ ตามหมายเหตุ ข้อ 9, ที่ดินและอาคารให้เช่า ตามหมายเหตุข้อ 11, ที่ดินและอาคาร ตามหมายเหตุข้อ 12 และข้อ 16 14. หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ รายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพย์ที่เช่าตามสัญญาเช่าการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 ยานพาหนะ 28,506,020.00 26,708,000.00 16,211,020.00 13,205,000.00 เครื่องถ่ายเอกสาร 594,706.33 594,706.33 405,206.33 405,206.33 29,100,726.33 27,302,706.33 16,616,226.33 13,610,206.33 รวม 13,115,379.76 12,361,887.00 4,908,969.35 6,362,456.65 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี - สุทธิ 15,985,346.57 14,940,819.33 11,707,256.98 7,247,749.68 จำนวนขั้นต่ำที่ต้องจ่ายสำหรับสัญญาเช่าการเงินข้างต้น มีดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 898,650.00 2,017,810.00 37,920.00 484,000.00 ภายใน 1 ปี เกิน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี 3,339,439.25 6,683,601.25 841,199.75 1,514,159.75 เกิน 3 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 8,387,904.00 4,093,740.00 8,199,156.00 3,851,064.00 12,625,993.25 12,795,151.25 9,078,275.75 5,849,223.75 (978,530.10) (1,051,468.59) (823,833.50) (530,710.98) หัก ดอกเบี้ยจ่ายในอนาคตของสัญญาเช่าการเงิน มูลค่าปัจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 11,647,463.15 11,743,682.66 8,254,442.25 5,318,512.77 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินไม่รวมดอกเบี้ยจ่ายในอนาคต มีดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2550 2551 2550 2551 หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน 11,647,463.15 11,743,682.66 8,254,442.25 5,318,512.77 (4,888,409.63) (4,118,629.06) (2,869,992.57) (1,677,876.80) หัก หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินที่ครบกำหนดภายใน 1 ปี หนี้สินตามสัญญาเช่าการเงิน - สุทธิ 6,759,053.52 7,625,053.60 5,384,449.68 3,640,635.97

106 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


15.

16.

17.

18.

เงินกู้ยืมระยะยาว รายละเอียดเกี่ยวกับสินทรัพย์ที่เช่าตามสัญญาเช่าการเงิน มีดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน 1,244,392,345.00 1,257,000,000.00 1,244,392,345.00 1,257,000,000.00 (713,720,000.00) (756,000,000.00) (713,720,000.00) (756,000,000.00) หัก เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายใน 1 ปี สุทธิ 530,672,345.00 501,000,000.00 530,672,345.00 501,000,000.00 ในปี 2551 และปี 2550 บริษัทได้เบิกเงินกู้โครงการเป็นจำนวน 1,244.39 ล้านบาท และจำนวน 1,257 ล้านบาท ตามลำดับ จากสถาบันการเงิน จ่ายดอกเบี้ยในอัตราตลาดเงิน (Market Rate) และจ่ายคืนเมื่อจบโครงการ เงินกู้ยืมระยะยาว ค้ำประกันโดยที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง ตามหมายเหตุข้อ 8, สินค้าคงเหลือ ตามหมายเหตุข้อ 9, ที่ดินและอาคาร ให้เช่า ตามหมายเหตุข้อ 11, ที่ดินและอาคาร ตามหมายเหตุข้อ 12 และข้อ 16 หลักทรัพย์ที่นำไปค้ำประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้างจำนวน 3,981.15 ล้านบาท และ 4,321.67 ล้านบาท ตามลำดับ ตามหมายเหตุข้อ 8, สินค้าคงเหลือจำนวน 635.60 ล้านบาท ตามหมายเหตุข้อ 9, ที่ดินและอาคารให้เช่าจำนวน 341.02 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 329.20 ล้านบาท) และ 336.60 ล้านบาท ตามลำดับ ตามหมายเหตุข้อ 11 และที่ดินและอาคารสำนักงานจำนวน 29.94 ล้านบาท และ 30.43 ล้านบาท ตามลำดับ ตามหมายเหตุข้อ 12 บริษัทได้นำไปจดจำนองเพื่อเป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันเงินกู้ยืมธนาคารพาณิชย์ และกับสถาบันการเงินภายในวงเงินกู้ยืม 5,594 ล้านบาท หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้าและภาระผูกพัน 17.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทและบริษัทย่อย มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ธนาคารออกหนังสือค้ำประกัน ดังต่อไปนี้ 17.1.1 จากการให้ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับกรมสรรพากรจำนวน 17.21 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทและบริษัทย่อยถูกประเมินภาษีอากร ของปีก่อนๆ จำนวน 27.57 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 7.41 ล้านบาท) ซึ่งจากการยื่นอุทธรณ์กับกรมสรรพากรได้รับคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้ลดหนี้เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม คงเหลือเป็น 17.21 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท จำนวน 2.62 ล้านบาท) แต่บริษัทยังไม่ได้บันทึกเป็นภาระหนี้สิน เนื่องจากบริษัทได้ยื่นฟ้องต่อศาลภาษีอากร และศาลได้พิพากษาให้บริษัทชนะคดี แต่กรมสรรพากรได้ยื่นอุทธรณ์ต่อ ปัจจุบันคดียังไม่สิ้นสุดใน ชั้นศาลฎีกา 17.1.2 จากการให้ธนาคารออกหนังสือค้ำประกันให้กับหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ จำนวนรวม 7.07 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 3.95 ล้านบาท) และ จำนวน 2.61 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 2.60 ล้านบาท) 17.1.3 บริษัทย่อยค้ำประกันภาระหนี้ให้กับบุคคลอื่นกับธนาคาร เป็นจำนวน 1.01 ล้านบาท 17.1.4 บริษัทมีข้อพิพาทเป็นจำเลยอยู่ในคดีผิดสัญญาเรียกร้องค่าเสียหายเป็นจำนวน 46.67 ล้านบาท บริษัทได้บันทึกค่าก่อสร้างไว้ในงบการเงินเป็น จำนวน 30.45 ล้านบาท และบริษัทได้ยื่นฟ้องแย้งเรียกร้องค่าเสียหายแก่โจทก์มีทุนทรัพย์ จำนวน 261.48 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 ศาลชั้นต้นได้พิพากษาให้บริษัทชำระเงินแก่โจทก์เป็นจำนวน 29.85 ล้านบาท และให้โจทก์ชำระเงินให้แก่บริษัทเป็นจำนวน 3 ล้านบาท คงเหลือสุทธิเป็นจำนวน 26.85 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี เป็นจำนวน 12.36 ล้านบาท รวมเป็นเงิน 39.21 ล้านบาท ผลต่างจำนวน 8.76 ล้านบาท บริษัทยังไม่ได้บันทึกภาระหนี้สินไว้ในงบการเงินนี้ เนื่องจากบริษัทได้ยื่นอุทธรณ์และขอทุเลาการบังคับคดี ซึ่ง ศาลได้รับหลักประกันและอนุญาตให้ทุเลาการบังคับคดีในชั้นอุทธรณ์ได้ โดยอยู่ระหว่างนัดฟังคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ และผลของคดีความจะ เป็นประโยชน์แก่บริษัท 17.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทมีภาระผูกพันตามสัญญากับผู้รับเหมาก่อสร้างโครงการที่จะต้องก่อสร้างให้เสร็จตามสัญญาคงเหลืออีก ประมาณ 1,227.71 ล้านบาท (เฉพาะบริษัท 1,227.51 ล้านบาท) และ 1,230.60 ล้านบาท ตามลำดับ ทุนเรือนหุ้น ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2550 ลงวันที่ 26 เมษายน 2550 มีมติดังนี้ 18.1 อนุมัติการจัดสรรเงินกำไร และการจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงาน ประจำปี 2549 ในอัตราหุ้นละ 0.18 บาท จำนวน 1,475,698,768 หุ้น รวมเป็นเงิน 265,625,778.24 บาท รวมทัง้ ให้จดั สรรเงินกำไรเป็นเงินทุนสำรองตามกฎหมาย ในอัตราร้อยละ 5 ของกำไรสุทธิ เป็นเงิน 39,000,000 บาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ครั้งที่ 4/2550 ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2550 มีมติดังนี้ 18.2 อนุมัติการจัดสรรเงินกำไร และการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล สำหรับผลการดำเนินงาน ประจำปี 2550 ในอัตราหุ้นละ 0.10 บาท จำนวน 1,475,698,768 หุ้น รวมเป็นเงิน 147,569,876.80 บาท ตามมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2551 ลงวันที่ 24 เมษายน 2551 มีมติดังนี้

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 107


19.

20.

21.

18.3 อนุมัติการจัดสรรเงินกำไร และการจ่ายเงินปันผลสำหรับผลการดำเนินงาน ประจำปี 2550 ในอัตราหุ้นละ 0.22 บาท จำนวน1,475,698,768 หุ้น รวม เป็นเงิน 324,653,728.96 บาท ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัท ครั้งที่ 5/2551 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2551 มีมติดังนี้ 18.4 อนุมัติการจัดสรรเงินกำไร และการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาล สำหรับผลการดำเนินงาน ประจำปี 2551 ในอัตราหุ้นละ 0.14 บาท จำนวน 1,475,698,768 หุ้น รวมเป็นเงิน 206,597,827.52 บาท หุ้นทุนซื้อคืน ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 6/2551 ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2551 อนุมัติโครงการซื้อหุ้นคืนเพื่อการบริหารทางการเงินจำนวนไม่เกิน 62 ล้านหุ้น คิดเป็นร้อยละ 4.20 ของหุ้นที่จำหน่ายทั้งหมด และมีวงเงินสูงสุดไม่เกิน 200 ล้านบาท โดยดำเนินการซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตัง้ แต่วนั ที่ 24 ตุลาคม 2551 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2552 และมีกำหนดระยะเวลาจำหน่ายหุน้ ทีซ่ อื้ คืนภายหลัง 6 เดือน นับแต่การซือ้ หุน้ คืนเสร็จแต่ตอ้ งไม่เกิน 3 ปี ทั้งนี้หุ้นทุนซื้อคืนที่บริษัทถืออยู่ไม่นับเป็นองค์ประชุมในการประชุมผู้ถือหุ้น รวมทั้งไม่มีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนและสิทธิในการรับเงินปันผล ใน กรณีที่บริษัทจำหน่ายหุ้นไม่หมดภายในระยะเวลาที่กำหนดนับแต่วันซื้อหุ้นคืน ซึ่งเมื่อพ้นกำหนดบริษัทจะลดทุนที่ชำระแล้วโดยใช้วิธีตัดหุ้นจดทะเบียนที่ซื้อคืน และยังมิได้จัดจำหน่ายทั้งหมด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทมีหุ้นสามัญซื้อคืน จำนวน 7.5963 ล้านหุ้น ราคาทุนรวม 16.69 ล้านบาท กำไรสะสม 20.1 สำรองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัท มหาชน จำกัด พ.ศ.2535 บริษัทต้องจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีเป็นทุนสำรองตามกฎหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกำไร สุทธิประจำปีหลังจากหักยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรองตามกฎหมาย ดังกล่าวจะนำไปจ่ายเงินปันผลไม่ได้ 20.2 สำรองสำหรับหุ้นทุนซื้อคืน บริษัทจัดสรรกำไรสะสม จำนวน 16.69 ล้านบาท เป็นสำรองสำหรับหุ้นทุนซื้อคืนตามแนวทางที่กำหนดโดยคณะกรรมการกฤษฎีกาและสภาวิชาชีพ บัญชี เรื่องการซื้อหุ้นคืนตามมาตรา 66/1(2) เครื่องมือทางการเงิน นโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน บริษัทและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย และจากการที่คู่สัญญาไม่ปฏิบัติตามสัญญา บริษัทและบริษัทย่อยไม่มีนโยบาย ประกอบธุรกรรมตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อการเก็งกำไรหรือเพื่อการค้า ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยนี้เกิดขึ้นจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยในตลาดในอนาคต ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อผลการดำเนินงานและกระแส เงินสดของบริษัทและบริษัทย่อย บริษัทและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยเนื่องจากมีเงินฝากกับสถาบันการเงิน เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกู้ ยืมเป็นจำนวนมาก บริษัทและบริษัทย่อยมิได้ใช้ตราสารอนุพันธ์ทางการเงินเพื่อป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว เนื่องจากฝ่ายบริหารของบริษัทและบริษัทย่อยเห็น ว่าไม่มีตลาดภายในประเทศรองรับการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ บริษัทและบริษัทย่อยมีความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้และรายได้ที่ยังไม่ถึงกำหนดชำระ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากบริษัทและบริษัท ย่อยจะไม่โอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ที่ขายให้กับผู้ซื้อจนกว่าจะได้รับชำระมูลค่าตามสัญญาทั้งหมด ดังนั้นบริษัทจึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่เป็นสาระ สำคัญจากการเก็บหนี้ มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน บริษัทและบริษัทย่อยใช้วิธีและข้อสมมติฐานดังต่อไปนี้ ในการประมาณมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน - เงินสด เงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้น แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับที่ครบกำหนดชำระนับตั้งแต่วันสิ้นงวดน้อยกว่า 90 วัน หรือลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ ตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - เงินให้กู้ยืม แสดงมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่ายที่มีกำหนดการชำระหนี้ไม่เกิน 90 วัน มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณแสดงตามจำนวนเงินที่ แสดงในงบดุล - ดอกเบี้ยค้างจ่าย มูลค่ายุติธรรมโดยประมาณแสดงตามจำนวนเงินที่แสดงในงบดุล - เงินกู้ยืมระยะยาวซึ่งมีอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ราคาตามบัญชีมีจำนวนเท่ากับมูลค่ายุติธรรมโดยประมาณ

108 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


22.

23.

เปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับงบกระแสเงินสด 22.1 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดประกอบด้วย เงินสดในมือและยอดคงเหลือในธนาคาร จากรายการในงบดุลดังนี้ งบการเงินรวม (บาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (บาท) 2551 2550 2551 2550 เงินสดและเงินฝากธนาคาร 640,746,063.06 454,821,691.12 576,099,768.85 314,972,916.56 22.2 สินทรัพย์ตามสัญญาเช่าการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทได้เช่าซื้อสินทรัพย์เป็นจำนวนเงินรวม 8,400,000.00 บาท โดยจ่ายชำระเป็นจำนวนเงินรวม 2,100,000.00 บาท ส่วนที่เหลือบันทึกไว้เป็นหนี้สินตามสัญญาเช่าการเงินทั้งจำนวน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 บริษทั และบริษทั ย่อยได้เช่าซือ้ ทรัพย์สนิ เป็นจำนวนเงินรวม 594,706.33 บาท (งบการเงินเฉพาะบริษทั จำนวน 405,206.33 บาท) 22.3 สินทรัพย์ให้เช่า ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 บริษัทได้โอนสินค้าคงเหลืออาคารชุดและอาคารสำนักงานไปเป็นสินทรัพย์ให้เช่ารวมจำนวน 65.32 ล้านบาท และ 77.98 ล้านบาท ตามลำดับ 22.4 ที่ดินและต้นทุนโครงการระหว่างก่อสร้าง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทได้ขายที่ดินจำนวน 3 ล้านบาท ให้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง และบันทึกไว้เป็นลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกันทั้งจำนวน 22.5 ที่ดินรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 บริษัทได้ขายที่ดินจำนวน 126.20 ล้านบาท ให้กับบริษัทย่อยแห่งหนึ่ง โดยรับชำระเป็นจำนวนเงินรวม 56.20 ล้านบาท ส่วนที่เหลือ บันทึกไว้เป็นลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกันทั้งจำนวน ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานตามประเภทส่วนงานทางธุรกิจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ประกอบด้วย (หน่วย : ล้านบาท) บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย ธุรกิจ ธุรกิจ อื่นๆ รวม ธุรกิจ ธุรกิจ ธุรกิจ อื่นๆ รวม ประเภทธุรกิจ อสังหาฯ ให้เช่าและ อสังหาฯ บริการและ ให้เช่าและ บริการ บริหาร บริการ ตัดบัญชี รวม จัดการอาคาร ขาย - สุทธิ 7,014.42 67.02 - 7,081.44 10.00 459.76 5.09 - 7,556.29 (323.93) 7,232.36 ต้นทุนขาย (4,896.88) (47.31) - (4,944.19) (6.48) (124.50) (3.36) - (5,078.53) 87.31 (4,991.22) 2,117.54 19.71 - 2,137.25 3.52 335.26 1.73 - 2,477.76 (236.62) 2,241.14 กำไรขั้นต้น - - 116.66 116.66 - - - 2.76 119.42 (48.08) 71.34 รายได้อื่น ค่าใช้จ่ายในการขาย - - (351.74) (351.74) - - - (0.91) (352.65) 222.29 (130.36) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - - (253.11) (253.11) - - - (211.35) (464.46) 9.91 (454.55) ค่าตอบแทนกรรมการ - - (11.07) (11.07) - - - - (11.07) - (11.07) ค่าใช้จ่ายทางการเงิน - ดอกเบี้ยจ่าย - - (9.93) (9.93) - - - (0.33) (10.26) 0.12 (10.14) ขาดทุนจากส่วนได้เสีย - - - - - - - - - (6.64) (6.64) เงินลงทุนในบริษัทย่อยและร่วม กำไรก่อนภาษี 2,117.54 19.71 (509.19) 1,628.06 3.52 335.26 1.73 (209.83) 1,758.74 (59.02) 1,699.72 ภาษีเงินได้ - - (454.19) (454.19) - - - (40.02) (494.21) - (494.21) กำไรสำหรับงวด 2,117.54 19.71 (963.38) 1,173.87 3.52 335.26 1.73 (249.85) 1,264.53 (59.02) 1,205.51 การแบ่งปันกำไร ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 1,205.44 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 0.07 1,205.51 72.68 - - - 14.10 86.78 - 86.78 สินทรัพย์ถาวร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551

รายการตัดบัญชีระหว่างกัน เป็นรายได้ค่าเช่าพื้นที่, การให้บริการและดอกเบี้ยรับ รายการดังกล่าวเป็นไปตามธุรกิจปกติทางการค้า รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 109


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 ประกอบด้วย

(หน่วย : ล้านบาท)

บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย ธุรกิจ ธุรกิจ อื่นๆ รวม ธุรกิจ ธุรกิจ ธุรกิจ อื่นๆ รวม ตัดบัญชี รวม ประเภทธุรกิจ อสังหาฯ ให้เช่าและ อสังหาฯ บริการและ ให้เช่าและ บริการ บริหาร บริการ จัดการอาคาร ขาย - สุทธิ 6,547.30 51.25 - 6,598.55 40.80 390.36 6.19 - 7,035.90 (281.91) 6,753.99 ต้นทุนขาย (4,341.96) (44.11) - (4,386.07) (24.79) (79.63) (3.45) - (4,493.94) 80.43 (4,413.51) กำไรขั้นต้น 2,205.34 7.14 - 2,212.48 16.01 310.73 2.74 - 2,541.96 (201.48) 2,340.48 รายได้อื่น - - 105.14 105.14 - - - 1.37 106.51 (36.73) 69.78 กำไรจากส่วนได้เสีย เงินลงทุนในบริษัทย่อยและร่วม - - - - - - - - - - - ค่าใช้จ่ายในการขาย - - (301.42) (301.42) - - - (1.41) (302.83) 184.72 (118.11) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร - - (410.88) (410.88) - - - (228.63) (639.51) 4.05 (635.46) ขาดทุนจากการด้อยค่าทรัพย์สิน - - (250.00) (250.00) - - - - (250.00) - (250.00) ค่าตอบแทนกรรมการ - - (9.24) (9.24) - - - - (9.24) - (9.24) ค่าใช้จ่ายทางการเงิน - ดอกเบี้ยจ่าย - - (3.10) (3.10) - - - (1.89) (4.99) 1.44 (3.55) ขาดทุนจากส่วนได้เสีย เงินลงทุนในบริษัทร่วม - - - - - - - - - (4.53) (4.53) กำไรก่อนภาษี 2,205.34 7.14 (869.50) 1,342.98 16.01 310.73 2.74 (230.56) 1,441.90 (52.53) 1,389.37 ภาษีเงินได้ - - (433.18) (433.18) - - - (28.38) (461.56) - (461.56) 2,205.34 7.14 (1,302.68) 909.80 16.01 310.73 2.74 (258.94) 980.34 (52.53) 927.81 กำไรสำหรับงวด การแบ่งปันกำไร ส่วนของผู้ถือหุ้นบริษัทใหญ่ 927.74 ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 0.07 927.81 - - 19.58 93.12 - 93.12 สินทรัพย์ถาวร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2550 73.54 -

24.

25.

26.

รายการตัดบัญชีระหว่างกัน เป็นรายได้ค่าเช่าพื้นที่, การให้บริการและดอกเบี้ยรับ รายการดังกล่าวเป็นไปตามธุรกิจปกติทางการค้า เงินกองทุนเลี้ยงชีพและบำเหน็จ ได้แก่ เงินทุนที่ประกอบด้วยเงินที่พนักงานออกสมทบด้วยความสมัครใจ ในอัตรา 2-4 % ของเงินเดือน และบริษัทจ่ายสมทบ จำนวนไม่เกิน 3-7% ของเงินเดือนที่พนักงานจ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กสิกร ไทยทรัพย์มั่นคง ซึ่งจดทะเบียนแล้ว เลขที่ 24/2540 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2540 และกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ สวัสดิการพัฒนา ซึ่งจดทะเบียนแล้วเลขที่ 23/2536 เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2536 ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 และรวมถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากการนำเงินกองทุนไปหาผลประโยชน์ด้วยเงินกองทุนนี้ บริษัทได้มอบหมายให้อยู่ในการจัดการของผู้จัดการกองทุน บริษัท และบริษัทย่อยจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนฯ ดังนี้ งบการเงินรวม (ล้านบาท) งบการเงินเฉพาะกิจการ (ล้านบาท) 2550 2551 2550 2551 เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 6.64 5.80 1.65 1.15 นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจำปี 2551 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2551 กำหนดจ่ายค่าตอบแทนกรรมการบริษัทที่ปฏิบัติงานมาด้วยความอุตสาหะ จำนวนไม่เกิน 11.07 ล้านบาทต่อปี ทั้งนี้ไม่รวมถึงค่าตอบแทนหรือสวัสดิการที่กรรมการได้รับในฐานะพนักงานหรือลูกจ้างของบริษัท และการจัดสรรเงิน ดังกล่าวให้อยู่ในความรับผิดชอบของคณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทนเป็นผู้รับผิดชอบ และให้มีผลใช้ต่อไปทุกปีจนกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งรายการนี้ บริษัทบันทึกไว้ในหมวดค่าใช้จ่ายของบริษัท การอนุมัติงบการเงิน งบการเงินนี้ได้รับการอนุมัติให้ออกงบการเงินจากคณะกรรมการของบริษัท เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2552

110 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี

1. ค่าตอบแทนจากการสอบบัญชี (AUDIT FEE) - ผู้สอบบัญชีของบริษัทในรอบปีที่ผ่านมามีจำนวนเงินรวม 850,000 บาท - สำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัด บุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวข้องกับผู้สอบบัญชี และสำนักงานสอบบัญชีที่ผู้สอบบัญชีสังกัดในรอบปีบัญชี ที่ผ่านมามีจำนวนเงินรวม 450,000 บาท 2. ค่าบริการอื่น (NON - AUDIT FEE) - ไม่มี -

รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 111


ที่อยู่โครงการ

อาคารชุดสำนักงาน ลุมพินี ทาวเวอร์ 1168 ถนนพระราม 4 ทุ่งมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-677-6356-7, 02-286-9855 โทรสาร 02-286-9856 แอล.พี.เอ็น. ทาวเวอร์ 216 ถนนนางลิ้นจี่ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-285-4225-6 โทรสาร 02-285-4089 อาคารชุดพักอาศัย ลุมพินี เพลส 111 ซอยไกรสีห์ ถนนศรีบำเพ็ญ ทุ่งมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-671-1368-70 โทรสาร 02-249-1793 สี่พระยา ริเวอร์วิว 108 ถนนโยธา ตลาดน้อย สัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ 10100 โทร. 02-639-5002-4 โทรสาร 02-639-5004 พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 1 118 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-681-3112-3 โทรสาร 02-681-3113 พี.เอส.ที. คอนโดวิลล์ ทาวเวอร์ 2 120 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-681-3523-5 โทรสาร 02-681-3524 พี.เอส.ที. ซิตี้โฮม 128 ซอยนาคสุวรรณ ถนนนนทรี ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-681-3501, 02-681-3505 โทรสาร 02-681-3509 อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี สวีท”

ลุมพินี สวีท”

ลุมพินี สวีท สุขุมวิท 41 28 ถนนสุขุมวิท 41 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-261-9330 โทรสาร 02-261-9331 ลุมพินี สวีท ปิ่นเกล้า ถนนบรมราชชนนี บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 สำนักงานขาย โทร. 02-434-2244, 02-434-1140-2 โทรสาร 02-434-2211 ลุมพินี สวีท พระราม 8 ถนนอรุณอมรินทร์ บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 สำนักงานขาย โทร. 02-434-2004 โทรสาร 02-434-2005 อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี เพลส”

ี เพลส”

ลุมพินี เพลส สาทร 3, 7 ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ทุ่งวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-287-4567 โทรสาร 02-287-4257

ลุมพินี เพลส นราธิวาส 24 253, 255 ถนนสาธุประดิษฐ์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-211-4351 โทรสาร 02-211-4375 ลุมพินี เพลส พระราม 3-เจริญกรุง 101 ถนนพระราม 3 บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-291-8632, 02-291-9333 โทรสาร 02-291-8607 ลุมพินี เพลส นราธิวาสราชนครินทร์ 471 อาคาร A ชัน้ B ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-294-6877 โทรสาร 02-294-6876 ลุมพินี เพลส พระราม 3-ริเวอร์วิว 279 ถนนพระราม 3 บางโคล่ บางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-291-9915, 02-291-9918 โทรสาร 02-291-9923 ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า 28 ถนนบรมราชชนนี บางบำหรุ บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-458-3111-2 โทรสาร 02-458-3113 ลุมพินี เพลส นราธิวาส-เจ้าพระยา 78 ถนนพระราม 3 ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-293-1111 โทรสาร 02-293-1234 ลุมพินี เพลส พหล-สะพานควาย 171 ถนนประดิพัทธ์ สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02-279-7770 โทรสาร 02-279-4443 ลุมพินี เพลส รัชดา-ท่าพระ 18 ถนนรัชดาภิเษก (ท่าพระ-ตากสิน) บุคคโล ธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทร. 02-466-1144, 02-460-2250 โทรสาร 02-466-1145 ลุมพินี เพลส ปิ่นเกล้า 2 89 ถนนบรมราชชนนี อรุณอมรินทร์ บางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทร. 02-433-2551, 02-433-4444 โทรสาร 02-433-2552 ลุมพินี เพลส พระราม 8 ถนนอรุณอมรินทร์ บางยี่ขัน บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 สำนักงานขาย โทร. 02-434-2004 โทรสาร 02-434-2005 Call Center : 02-800-9009 ลุมพินี เพลส พระราม 9-รัชดา ถนนพระราม 9 ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 สำนักงานขาย โทร. 02-248-1555 โทรสาร 02-248-8222 Call Center : 02-800-9009 ลุมพินี เพลส รามอินทรา-หลักสี่ ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย์บางเขน กรุงเทพฯ 10220 สำนักงานขาย โทร. 02-552-4242 โทรสาร 02-552-4646 Call Center : 02-800-9009 อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี วิลล์”

ลุมพินี เพลส สวนพลู-สาทร 435 ซอยสวนพลู 8 ถนนสาทร 3 ทุ่งมหาเมฆ สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-286-1585 โทรสาร 02-286-1850

ลุมพินี วิลล์ พระแม่มารี-สาทร 1796 ซอยจันทน์ 27 ถนนจันทน์ ทุ่งวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-212-4515 โทรสาร 02-212-4375

ลุมพินี เพลส พระราม 4-สาทร 164 ซอยศรีบำเพ็ญ ถนนพระราม 4 ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-350-2895 โทรสาร 02-350-2897

ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร 23 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย สามเสนใน พญาไท กรุงเทพฯ 10140 โทร. 02-278-4125 โทรสาร 02-278-4128

112 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)


ลุมพินี วิลล์ สุขุมวิท 77 681 ถนนอ่อนนุช สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 02-332-3004-5 โทรสาร 02-332-3805 ลุมพินี วิลล์ ศูนย์วัฒนธรรม 593 ถนนประชาอุทิศ สามเสนนอก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10140 โทร. 02-274-4210-2 โทรสาร 02-274-4211 ลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 44 11 ซอยรามคำแหง 44 ถนนรามคำแหง หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-378-1559 โทรสาร 02-378-1559 ลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย์บางเขน กรุงเทพฯ 10220 สำนักงานขาย โทร. 02-552-4242 โทรสาร 02-552-4646 ลุมพินี วิลล์ ประชาชื่น-พงษ์เพชร ถนนประชาชื่น อำเภอเมือง นนทบุรี 11000 สำนักงานขาย โทร. 02-591-0088 โทรสาร 02-591-0030 ลุมพินี วิลล์ รามคำแหง 26 ซอยรามคำแหง 26 ถนนกรุงเทพกรีฑา-รามคำแหง หัวหมาก บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 สำนักงานขาย โทร. 02-300-1333 โทรสาร 02-300-0112 ลุมพินี วิลล์ บางแค ถนนสุขาภิบาล 1 บางแค กรุงเทพฯ 10160 สำนักงานขาย โทร. 02-413-4455 โทรสาร 02-413-4446 อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี เซ็นเตอร์” ลุมพินี เซ็นเตอร์ แฮปปี้แลนด์ อาคาร A, B, C, F, G, H 556/1, 560/1, 568/1, 432/1, 582, 580 ซอยศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ 1 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-374-7270-1 โทรสาร 02-374-7270 อาคาร D 335/1 ซอยศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ 1 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-374-6301-2 โทรสาร 02-374-6301 อาคาร E 557 ซอยศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ 1 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-377-9395-6 โทรสาร 02-378-4370

อาคารชุดพักอาศัยภายใต้แบรนด์ “ลุมพินี คอนโดทาวน์” ลุมพินี คอนโดทาวน์ บดินทรเดชา-รามคำแหง ซอยรามคำแหง 43/1 วังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310 สำนักงานขาย โทร. 02-539-8811 โทรสาร 02-539-7277 ลุมพินี คอนโดทาวน์ รามอินทรา-หลักสี่ ถนนรามอินทรา อนุสาวรีย์บางเขน กรุงเทพฯ 10220 สำนักงานขาย โทร. 02-552-4242 โทรสาร 02-552-4646 ลุมพินี คอนโดทาวน์ รัตนาธิเบศร์ ถนนรัตนาธิเบศร์ อำเภอเมือง นนทบุรี 11000 สำนักงานขาย โทร. 02-525-4343 โทรสาร 02-525-4344 ทาวน์เฮ้าส์ บ้านลุมพินี บางบัวทอง เฟส 1, 2 222 ถนนตลิ่งชัน-บางบัวทอง บางบัวทอง นนทบุรี 11110 สำนักงานใหญ่ โทร. 02-285-5011-6 โทรสาร 02-285-5017 เซอร์วิส อพาร์ตเมนท์ ลุมพินี เรสซิเดนซ์ สาทร 222 ถนนราธิวาสราชนครินทร์ ทุ่งวัดดอน สาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-287-3330 โทรสาร 02-287-3444 โครงการในนามบริษัทร่วมทุน ลุมพินี เพลส วอเตอร์คลิฟ 427, 421 ถนนสาธุประดิษฐ์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-673-5596-7, 02-673-6360-1 โทรสาร 02-673-5595, 02-673-6362 ลุมพินี สวีท รัชดา-พระราม 3 441 ถนนรัชดาภิเษก ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-212-7909 โทรสาร 02-212-7908 ลุมพินี ทาวน์โฮม รัชดา-พระราม 3 431 ถนนสาธุประดิษฐ์ ช่องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-211-9221 โทรสาร 02-673-5595

ลุมพินี เซ็นเตอร์ ลาดพร้าว 111 อาคาร A, B, C, D 58, 60, 62, 64 ซอยลาดพร้าว 111 ถนนลาดพร้าว คลองจัน่ บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-370-2698, 02-370-2530 โทรสาร 02-370-2606 อาคาร E, F, G 3041, 3033 ซอยอยู่เย็น 111 ถนนลาดพร้าว คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-374-8394-5 โทรสาร 02-374-8395

แกรนด์ เฮอริเทจ ทองหล่อ 21 ซอยอรรคพัฒน์ (ทองหล่อ 13) ถนนสุขมุ วิท 55 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-390-0910 โทรสาร 02-390-0911

ลุมพินี เซ็นเตอร์ สุขุมวิท 77 อาคาร A, B, C, D, E 567, 573, 577, 591, 599 ซอยอ่อนนุช 3 - 5 ถนนสุขมุ วิท 77 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 02-332-3803-4 โทรสาร 02-332-3805

พาร์ควิว วิภาวดี 1 ถนนโลคัลโรด ทุ่งสีกัน ดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 โทร. 02-573-3401-3 โทรสาร 02-573-3401

ลุมพินี เซ็นเตอร์ นวมินทร์ 821 ซอยศูนย์การค้าแฮปปี้แลนด์ 1 คลองจั่น บางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทร. 02-375-8445, 02-375-8304 โทรสาร 02-375-8445

แกรนด์ พาร์ควิว อโศก 189 ถนนสุขุมวิท 21 คลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร. 02-261-3218-9 โทรสาร 02-258-0506

หน่วยงานอื่น สำนักงานขายกลาง อยู่ในบริเวณเดียวกับโครงการลุมพินี เพลส สาทร ติดห้างแมคโคร ออฟฟิศ สาทร ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ โทร. 02-287-3388 โทรสาร 02-287-3377 รายงานประจำปี 2551 บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) 113


บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท จำกัด (มหาชน) 1168/109 ชั้น 36 อาคารลุมพินี ทาวเวอร ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02-285-5011-6 แฟกซ 02-258-5017 Call Center 02-800-9009 www.lpn.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.