Thailand Economic & Business Review December 2020

Page 1




EDITOR’S NOTE สวัสดีคะ ทานผูอาน ฉบับสงทายปนี้ เชนเคยคะในคอลัมน Economic Review ขอนำเสนอ 10 อันดับธุรกิจดาวรุง-ดาวรวงป 2564 โดย ผศ.ดร.ธนวรรธน พลวิชยั อธิการบดี มหาวิทยาลัยหอการคาไทย และประธานทีป่ รึกษา ศูนยพยากรณเศรษฐกิจ และธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ตอกันดวย รายงานเขมขน 3 เรือ่ ง จัดทำโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดแก รายงานการวิจยั ธุรกิจ หรือ CEBF Business Research รายงานประมาณการภาวะ เศรษฐกิจไทยในป 2563-2564 และเรือ่ งสำคัญยิง่ ของผลกระทบจากมาตรการยกระดับ 28 จังหวัดใหเปนพืน้ ทีค่ วบคุม ที่มีตอเศรษฐกิจไทย สืบเนื่องจากการระบาดหนักของโควิดระลอก 2 ในไทย และในคอลัมน Strategy กับธุรกิจครอบครัวนัน้ พบกับเรือ่ ง ธรรมนูญครอบครัว โดย รศ. ดร. เอกชัย อภิศกั ดิก์ ลุ และปดทายดวย YEC Update ฉบับนีพ้ บกับคุณจิรพิสษิ ฐ รุจนเจริญ รองประธาน YEC KORAT ชายหนุม ไอเดียสุด ยอด เจาของรางวัลชนะเลิศ YEC Pitching แหงป 63 ในหัวขอ “New Normal Business Transformation” สุดทายนี้ทีมบรรณาธิการหวังเปนอยางยิ่งวา เนื้อหาในฉบับนี้จะมีคุณประโยชน ชวยตอยอดทางความคิดในการ รูท นั ปญหา สถานการณเพือ่ พัฒนาธุรกิจและองคกรของผูอ า นทุกทาน และทานสามารถติดตาม Thailand Economic & Business Review ทางสื่อออนไลนไดแลวที่ Facebook: https://www.facebook.com/ThailandEcoReview และ LINE Official: @ThailandEcoReview ขอขอบพระคุณผูอานทุกทานที่ติดตามอานวารสารของเรามาโดยตลอดนะคะ และขอกราบสวัสดีปใหม 2564 มา ณ โอกาสนี้คะ พรณิชา วีระคัณโฑ บรรณาธิการบริหาร

04



CONTENTS

December 2020

ThailandEcoReview

@ThailandEcoReview

ThailandEconomic&BusinessReview

4

10 TOP

Editor’s Note

9 เผยธุรกิจดาวรุง - ดาวรวง ป 2564 คาดการณเศรษฐกิจโต 2.8% จะเริ่มฟนตัวไตรมาส 2/64 14

10 ธุรกิจเดน 2564

26

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทย ในป 2563-2564

42

ผลกระทบจากมาตรการยกระดับ 28 จังหวัด ใหเปนพื้นที่ควบคุมสูงสุด ที่มีตอเศรษฐกิจไทย

46

ธรรมนูญครอบครัว

POLL

เผยธุรกิจดาวรุง - ดาวรวง ป 2564 คาดการณเศรษฐกิจโต 2.8% จะเริ่มฟนตัวไตรมาส 2/64

09

ทีมบรรณาธิการ ที่ปรึกษา: อิสระ วองกุศลกิจ, วิชัย อัศรัสกร, รศ.ดร. เสาวณีย ไทยรุงโรจน, ดร.กฤษณะ วจีไกรลาศ บรรณาธิการอำนวยการ: ผศ.ดร. ธนวรรธน พลวิชัย รองบรรณาธิการอำนวยการ: ดร. อารดา มหามิตร บรรณาธิการบริหาร: ดร. พรณิชา วีระคัณโฑ รองบรรณาธิการบริหาร: ทิติภา ตั้งใจในธรรม, ดร. โศภชา เอี่ยมโอภาส กองบรรณาธิการ: เฉลิม เยี่ยงศุภพานนทร, ปยะ นนทรักษ, คมกริช นาคะลักษณ, รศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, ดร. จักรกรินทร ศรีมูล, รศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ผศ. มานา ปจฉิมนันท, อ. อรพรรณ สุนทรกลัมพ อำนวยการศิลปกรรม: มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เลขากองบรรณาธิการ: จิตตดิษฐภัสสร จินดาวานิชสกุล คอลัมนิสต: รศ.ดร. วันชัย รัตนวงษ, รศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, รศ. สุธรรม อยูในธรรม, รศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ, อมรเทพ ทวีพานิชย, ดร. ไพจิตร วิบูลยธนสาร, ดร. ศศิวิมล วรุณสิริ, ดร. ตระหนักจิต ยุตยรรยง, ดร. จิตรัตน ชางหลอ ฯลฯ ฝายโฆษณาและการตลาด: วีณา สุขใจ, เสาวนีย เทียมเมือง, สุดาวรรณ เข็มทอง ฝายบัญชีและการเงิน: เบญจวรรณ มณีพันธุ ติดตอลงโฆษณาไดที่ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โทร. 02-697-6861-3 แฟกซ 02-277-1803


CONTENTS

December 2020

จิรพิสิษฐ รุจนเจริญ รองประธาน YEC KORAT สุดยอดไอเดียธุรกิจไทยโตไปกับกระแส COVID-19

07


เผยธุรกิจดาวรุง - ดาวรวง ป 2564 คาดการณเศรษฐกิจโต 2.8% จะเริ่มฟนตัวไตรมาส 2/64

09

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทย ในป 2563-2564

ผลสรุปพบวา 10 ธุรกิจเดนของ ป 64 ที่ไดเกณฑคะแนนสูง เพราะปจจัยหนุนธุรกิจคือ ความกังวลเกี่ยวกับโควิด-19 กระแส รักสุขภาพ พฤติกรรม ประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป หลังจาก สถานการณโควิด-19 รวมทั้งการพัฒนาของเทคโนโลยี และ การนําเทคโนโลยีมาชวยอํานวยความสะดวกในชีวิตประจํามาก ขึ้น เชน มีแอปพลิเคชันสั่งซื้อสินคาและบริการ มีการรีวิว สินคาของบุคคลที่มีชื่อเสียง สวนปจจัยเสี่ยง คือการแขงขันสูงในแตละกลุม ธุรกิจ

ปจจัยสนับสนุน เริ่มมีวัคซีน COVID-19 และเริ่มมีการใช, มาตรการ กระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐ อยางตอเนื่อง, เศรษฐกิจโลกและ เศรษฐกิจไทยมีแนวโนมขยายตัว, การเปดประเทศรับนักทองเที่ยวในชวง ปลายปหลังมีวัคซีน, มาตรการชวยเหลือ ผูประกอบการ SME ใหเขาถึงสินเชื่อควบคูกับ การพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน

14

26

ประเด็นที่สําคัญในป 2564 GDP จะกลับมาขยายตัวเปนบวกไดอีกครั้งใน Q2/64, ฟนตัวแบบคอยเปนคอยไป โดยมีปจจัยกดดันจากความ เปราะบางของตลาดแรงงาน และปญหาภัยแลง แตจะได มาตรการของภาครัฐชวยสนับสนุน, ฟนตัวอยางชาๆ ตาม การสงออก และภาวะเศรษฐกิจในประเทศ, ขยายตัวไดดีจากวงเงินงบประมาณ รายจายประจําป และงบฟนฟู เศรษฐกิจ (พรบ. กูเงิน 1 ลานลานบาท)

กระบวนการ สรางธรรมนูญครอบครัว ทีส่ ําคัญคือตองมาจากความ รวมมือและเปนขอตกลงรวมกัน ของสมาชิกครอบครัวที่มีสวน เกี่ยวของในการบริหารจัดการและ/หรือ มีอํานาจควบคุมธุรกิจ (ผูถือหุนในธุรกิจ) ธรรมนูญครอบครัวจะตองมีความสอดคลองกับ ครอบครัว ธุรกิจ สถานการณที่เกิดขึ้นตามโอกาส และ สภาพ แวดลอมปจจุบัน อยางไรก็ตาม ควรมีการทบทวนขอตกลงตางๆ อยางสมํ่าเสมอเพื่อสรางความคลองตัวใหกับครอบครัวและธุ รกิจ

46

10 ธุรกิจเดน 2564 ธรรมนูญครอบครัว

08


Economic Review

เผยธุรกิจดาวรุ่ง - ดาวร่วง ปี 2564 คาดการณ์เศรษฐกิจโต 2.8% จะเริ่มฟื้นตัวไตรมาส 2/64 º·ÊÑÁÀÒɳ

ผศ.ดร.ธนวรรธน พลวิชัย

͸ԡÒú´ÕÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â 㹰ҹлÃиҹ·Õ่»ÃÖ¡ÉÒÈٹ ¾Âҡó àÈÃÉ°¡Ô¨áÅиØáԨ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â àÃÕºàÃÕ§â´Â ·ÕÁºÃóҸԡÒÃ

ศูนยพยากรณเศรษฐกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ไดพิจารณาธุรกิจดาวเดน ธุรกิจดาวรวง จากขอมูลดานตาง ๆ โดย มีปจ จัย เชน การนําเขา-สงออก การปลอย สินเชื่อของธนาคารพาณิชย ขอมูลการ ผลิต ดัชนีความเชือ่ มัน่ ของผูป ระกอบการ -ผู บ ริ โ ภค เป น ต น และมี เ กณฑ ก าร พิจารณาดวยการใหคะแนน เชน ยอดขาย ตนทุน กําไร ผลกระทบจากปจจัยเสี่ยง ตาง ๆ รวม 100 คะแนน “ผลสรุปพบวา 10 ธุรกิจเดนของ ป 64 ทีไ่ ดเกณฑคะแนนสูง เพราะปจจัย หนุนธุรกิจคือ ความกังวลเกี่ยวกับโควิด -19 กระแสรั ก สุ ข ภาพ พฤติ ก รรม ประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป หลังจาก สถานการณโควิด-19 รวมทัง้ การพัฒนา ของเทคโนโลยี และการนําเทคโนโลยีมา ชวยอํานวยความสะดวกในชีวิตประจํา มากขึ้น เชน มีแอปพลิเคชันสั่งซื้อสินคา และบริการ มีการรีววิ สินคาของบุคคลที่ มีชอื่ เสียง สวนปจจัยเสีย่ ง คือการแขงขัน สูงในแตละกลุมธุรกิจ"

ธุรกิจดาวเด่น ประจำปี 2564 ได้แก่

อั น ดั บ 1 ธุ ร กิ จ บริ ก ารทางการ แพทยความงาม และธุรกิจอีคอมเมิรซ (ทีซ่ อื้ ขายผานระบบอิเล็กทรอนิกส) 94.5 คะแนน อันดับ 2 อยูที่ธุรกิจแพลตฟอรม ตัวกลางหรือตลาดกลาง ธุรกิจจัดทํา คอนเทนต ยูทปู เบอร การรีววิ สินคา 92.5 คะแนน

อันดับ 3 ธุรกิจประกันภัย ประกัน ชีวติ ธุรกิจเครือ่ งมือแพทย 91.1 คะแนน อันดับ 4 ธุรกิจเวชภัณฑยา การ ขายส งสิ นค าทางเภสั ชภั ณฑ และทาง การแพทย 89.9 คะแนน อันดับ 5 ธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยี วิ เคราะห และจั ดการข อมู ล บิ๊ กเดต า 87.8 คะแนน อันดับ 6 ธุรกิจอาหาร-เครื่องดื่ม 86.5 คะแนน 09


Economic Review

อันดับ 7 ธุรกิจสตรีทฟูด-ฟูดทรัค 85.8 คะแนน อันดับ 8 ธุรกิจขนสงโลกจิสติกส โลจิสติกส ธุรกิจดานฟนเทค และธุรกิจ พลังงาน 84.3 คะแนน อันดับ 9 ธุรกิจตูหยอดเหรียญฯ 82.5 คะแนน อันดับ 10 ธุรกิจทีป่ รึกษากฎหมาย ธุรกิจออกแบบผลิตบรรจุภัณฑ 81.7 คะแนน

10 อันดับ ธุรกิจดาวร่วงปี 2564 ที่ได้ผลคะแนนต่ำกว่า 30 คะแนน ได้แก่

อันดับ 1 ธุรกิจเชาหนังสือ 10.8 คะแนน อั น ดั บ 2 ธุ ร กิ จ ผลิ ต โทรศั พ ท

10

พื้นฐานและเครื่องโทรสาร และธุรกิจ จําหนายอุปกรณความจํา อาทิ แผนซีดี เมมโมรี่การด 11.9 คะแนน อั น ดั บ 3 ธุ ร กิ จ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ แ ละ วารสาร 13.2 คะแนน อั น ดั บ 4 ธุ ร กิ จ ร า นให บ ริ ก าร อินเตอรเน็ต และธุรกิจคนกลาง 15.4 คะแนน อันดับ 5 ธุรกิจดัง้ เดิมไมมดี ไี ซน และ ใชแรงงานเยอะ (เฟอรนิเจอร ของเลน) 17.3 คะแนน อันดับ 6 ธุรกิจผลิตเสือ้ ผาสําเร็จรูป ทีใ่ ชแรงงานมาก และขายในประเทศ และ ธุรกิจหัตถกรรม 18.8 คะแนน อันดับ 7 ธุรกิจซอมรองเทา 20.5 คะแนน อันดับ 8 ธุรกิจการคาแบบดั้งเดิม และธุรกิจเครื่องปนดินเผา และเซรามิก

21.7 คะแนน อันดับ 9 ธุรกิจผลิตผักและผลไม อบแหง 23.2 คะแนน อันดับ 10 ธุรกิจรานถายรูป 25.1 คะแนน สาเหตุที่ธุรกิจเหลานี้ไมสามารถ พัฒนาไดตามยุคสมัย และถูกรบกวน จากการพัฒนาของเทคโนโลยี

ปรับคาดการณ์ GDP ปี 63 ดีขึ้นเป็น -6.3%, ปี 64 คาดโต 2.8%

การประมาณการเศรษฐกิ จ ไทย ป 2563 ใหม เหลือ -6.3% จากเดิมเคย คาดการณไวในชวงเดือน ส.ค.ที่ -9.4% หลังปจจัยในประเทศ ไดแก ภาครัฐออก มาตรการเยียวยา กระตุน และฟนฟู เศรษฐกิจอยางตอเนื่อง, การลงทุนของ ภาครัฐมีโอกาสเรงตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับ ปกอน สําหรับประมาณการตัวเลขเศรษฐกิจ อื่น ๆ ของป 63 คาดวา การลงทุนรวม ภาคเอกชน -10.7% การลงทุนภาครัฐ โต 12.2% การสงออก -7.4% การนําเขา -13.1% จํานวนนักทองเทีย่ วตางประเทศ 6.7 ลานคน อัตราเงินเฟอทั่วไป -0.9% หนีภ้ าคครัวเรือน 87.8% ตอจีดพี ี คาเงิน บาทเฉลี่ย 31.70 บาท/ดอลลาร และ ราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยที่ระดับ 41.70 ดอลลาร/บารเรล สวนตัวเลขเศรษฐกิจ ในป 2564 คาดวา การลงทุนรวมภาค


Economic Review

เอกชน 2.8% การลงทุนภาครัฐ 12.6% การสงออก 3.5% การนําเขา 12.6% จํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศ 4.0 ลานคน อัตราเงินเฟอทั่วไป 1.0% หนี้ ภาคครัวเรือน 84.5% ตอจีดพี ี คาเงินบาท เฉลี่ย 30.40 บาท/ดอลลาร และราคา นํ้า มั น ดิ บ ดู ไ บเฉลี่ ย ที่ ร ะดั บ 44.20 ดอลลาร/บารเรล สวนปจจัยในตางประเทศเรือ่ งวัคซีน ปองกันโควิด-19มีความกาวหนาเปนอยาง มาก, ภาคการผลิตและภาคบริการทัว่ โลก เริ่มฟนตัวภายหลังการคลายล็อกดาวน, เศรษฐกิจจีนฟน ตัวเร็วกวาทีน่ กั วิเคราะห เคยคาดการณไว และธนาคารกลางทั่ว

โลกตางปรับนโยบายการเงินเปนแบบ ผอนคลาย

การแพร่ระบาด โควิด-19 ยืดเยื้อมีผล ต่อปัจจัยลบเศรษฐกิจ ปี 63-64

ขณะที่ปจจัยลบตอเศรษฐกิจไทย ในป 63-64 ยังตองจับตา ไดแก การ แพรระบาดของโควิด-19 ทีย่ ดื เยือ้ ทําให กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางสวนชะลอตัว, ความเปราะบางทางการเมืองทําใหความ เชือ่ มัน่ ของผูบ ริโภค และนักลงทุนลดลง, เงิ น บาทที่ แข็ ง ค า เร็ ว กว า ปกติ และมี

แนวโนมแข็งคาตอเนือ่ ง, ความเสีย่ งจาก สถานการณภยั แลง/ฝนทิง้ ชวงมีแนวโนม เพิ่มสูงขึ้นอยางมาก, ตูคอนเทนเนอร ขาดแคลนทําใหผสู ง ออกมอบสินคาไมทนั ตามกําหนด และความไมแนนอนของ สถานการณความตึงเครียดระหวาสหรัฐฯ กับจีน ภาคเศรษฐกิจไทยไดผา นจุดตํ่าสุด ไปแลวเมื่อชวงไตรมาส 2 ของป 63 จุดที่สนับสนุนมุมมองเศรษฐกิจไทยให เริ่มฟนตัวดีขึ้น มาจากการบริโภคของ ประชาชนที่เริ่มฟนตัว ดูไดจากยอดขาย รถยนต และรถจักรยานยนตในไตรมาส 3 ป 63 ทีป่ รับตัวดีขนึ้ อยางมากเมือ่ เทียบ 11


Economic Review

กับไตรมาส 2 จากผลรายไดเกษตรกรที่ ดีขนึ้ หลังราคาผลผลิตทางการเกษตรปรับ ตัวดีขึ้นในรอบ 1-5 ปแลวแตประเภท สินคา "การที่สินคาเกษตรมีราคาดีอยาง ตอเนื่อง สวนหนึ่งมาจากราคานํ้ามันใน ตลาดโลกทีป่ รับเพิม่ ขึน้ ทําใหสนิ คาเกษตร ที่เกี่ยวของกับพลังงาน เชน ยางพารา ปาลมนํ้ามัน มันสําปะหลัง และขาวโพด เลีย้ งสัตวมรี าคาดีขนึ้ ตาม ทําใหเกษตรกร มีรายไดเพิม่ ขึน้ และมีการจับจายใชสอย การบริโภคเพิม่ ขึน้ เปนฐานสําคัญทีท่ ําให เศรษฐกิจไทยเริม่ ฟน ตัว และเปนผลจาก การคลายล็อกดาวนในชวงไตรมาส 3 ทําใหกจิ กรรมทางเศรษฐกิจเริม่ กลับมา" 12

ปัญหาการส่งออกไทย คาดคลี่คลาย เมษา 64

นอกจากนี้การสงออกไทยในป 63 สวนหนึ่งนอกจากไดรับผลกระทบจาก คาเงินบาทแลว ยังเปนผลมาจากปญหา ตู ค อนเทนเนอร ไ ม เ พี ย งพอ ทํา ให ไ ม สามารถสงออกสินคาไดทันตามกําหนด ซึ่งคาดวาปญหาจะกลับมาคลี่คลายได ราวเดือนเม.ย.64 จึงทําใหในชวงไตรมาส 1/64 อาจมีเม็ดเงินจากภาคการสงออก ที่หายไปจากปญหาดังกลาว 1-2 แสน ลานบาท "ปญหานี้ อาจเปนตัวที่ชะลอการ ฟนเศรษฐกิจไทยได ซึ่งเราเคยประเมิน วา การสงออกไทยป 64 จะโตไดถึง

3-3.5% แตลาสุดคาดวา จะโตไดเพียง 2.8% ดังนัน้ รัฐบาลควรตองอัดฉีดเม็ดเงิน เขาระบบเศรษฐกิจเพิม่ เติมในชวงไตรมาส 1 ป 64 อยางนอย 1 แสนลานบาท เพื่อ ชวยประคองการสงออกที่หายไป"

เศรษฐกิจน่าจะค่อยเป็น ค่อยไปตั้งแต่ Q2/64

ประเมินวา เศรษฐกิจไทยจะกลับมา ขยายตัวเปนบวกไดอีกครั้งในไตรมาส 2/64 การฟนตัวของการบริโภคภาค เอกชนจะเปนแบบคอยเปนคอยไป เพราะ ยังมีปจจัยกดดันจากความเปราะบาง ของตลาดแรงงาน และปญหาภัยแลงที่ คาดวาจะรุนแรงสุดในรอบ 7 ป สวนการ


Economic Review

ลงทุนของภาครัฐสามารถขยายตัวไดดี จากวงเงินงบประมาณรายจายประจําป และงบในการฟน ฟูเศรษฐกิจตาม พ.ร.บ. กูเงิน 1 ลานลานบาท ขณะทีก่ ารลงทุนภาคเอกชนยังฟน ตัวชา ตามการสงออกและภาวะเศรษฐกิจ ในประเทศ สําหรับอัตราเงินเฟอทั่วไป มีแนวโนมกลับมาเปนบวกไดจากราคา นํ้ามันดิบในตลาดโลกที่คาดวา จะปรับ ตัวเพิม่ ขึน้ สวนสถานการณหนีค้ รัวเรือน ในป 64 คาดวา จะเริ่มลดลงจากป 63 แมจะยังอยูในระดับที่สูงกวา 80% ของ จีดีพีก็ตาม แตก็ยังไมเปนประเด็นที่นา กังวล เนือ่ งจากหนีค้ รัวเรือนทีเ่ พิม่ ขึน้ ในป 63 มาจากผลชั่วคราวจากสถานการณ โควิด ทีท่ ําใหประชาชนจําเปนตองกอหนี้ เพิ่มเพื่อรักษาสภาพคลอง และคาดวา หนี้ ค รั ว เรื อ นจะสามารถลดลงตํ่า กว า ระดับ 80% ไดในป 2565

คงอัตราดอกเบี้ยต่ำสุด ในประวัติการณ์ เพื่อ ช่วยฟื้นเศรษฐกิจ

สําหรับการประชุมคณะกรรมการ นโยบายการเงิน (กนง.) เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. 63 การประชุม กนง.รอบนีจ้ ะยังคง อัตราดอกเบีย้ นโยบายไวทร่ี ะดับ 0.50% ซึ่งถือวา เปนระดับที่ตํ่าสุดเปนประวัติการณแลว มองวาไมมีเหตุผลที่ กนง.จะ ตองปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงเพื่อดูแล สถานการณเงินบาททีแ่ ข็งคา อีกทัง้ อัตรา

ดอกเบีย้ ในระดับปจจุบนั ถือวา เพียงพอ สําหรับการฟน ตัวทางเศรษฐกิจของไทย แลว หากการเติบโตของเศรษฐกิจไทย ไมเปนไปตามคาด กนง.ก็ยังมีชองที่จะ สามารถปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงไดอีก 0.25% แตมองวามีโอกาสจะเกิดขึ้นได นอย ซึ่งหากมีเหตุการณพลิกผันขึ้นจริง รัฐบาลยังมีศกั ยภาพเพียงพอทีจ่ ะกูเ งินได อี ก 1-1.5 ล า นล า นบาทเพื่ อ กระตุ น เศรษฐกิจ ขณะเดียวกันรัฐบาลยังมีงบ ประมาณในสวนของงบ 4 แสนลานบาท เพื่อการฟนฟูเศรษฐกิจจากโควิด ซึ่งยัง เหลืออีกกวา 2 แสนลานบาททีจ่ ะสามารถ นํามาใชกระตุนเศรษฐกิจไดจนถึง ก.ย. 64 "อยากให รั ฐ บาลใช เ งิ น กระตุ น เศรษฐกิจไตรมาสละ 1 แสนลาน ในชวง ไตรมาส 1 และ 2 ของป 64 เพื่อสราง โมเมนตั ม ...โครงการคนละครึ่ ง เรา สนับสนุนทีจ่ ะตองมีเฟส 3 เพราะประสบ ความสําเร็จสูงมาก เปนนโยบายที่เขา ถึงทุกคน ทําใหมเี ม็ดเงินหมุนเวียนทุกวัน และทัว่ ประเทศ เม็ดเงินทีล่ งไปในเฟสแรก นัน้ ทําใหระบบเศรษฐกิจมีความคึกคัก"

บาทต่อดอลล่าร์ อาจถูกฉุดลงไปที่ 29.50 บาท/ดอลลาร์

เขามาในไทย แตเมือ่ เงินบาทแข็งคามาก จะไมสงผลดีตอเศรษฐกิจของประเทศ ทําใหกระทบตอการสงออก แตเชือ่ วาทาง ธนาคารแหงประเทศไทย คงจะเขามาดู แลและมองวาไมใชเปนการเขาไปแทรกแซง ที่เกินความจําเปน "พอบาทแข็งคามาก ก็จะไมดีตอ เศรษฐกิจ เพราะเมือ่ สงออกไมได บาทจะ กลับมาออนโดยอัตโนมัติ เพราะไมมีคน เอาบาทมาแลกดอลลาร จากสถิติหลังๆ เมือ่ บาทลงมาแตะ 29 กวาๆ จะเดงกลับ ไปเอง แตรอบนี้ยังไมแนใจวาเงินบาทที่ แข็งคาลงไปแตะ 29.80 บาท/ดอลลาร จะลากลงไปสู 29.50 บาท/ดอลลาร นาน แคไหน และจะมีสัญญาณการเก็งกําไร ไหม เชือ่ วา ธปท.คงจะเขามาสกัดกัน้ การ เก็งกําไร และไมนาจะถูกขอกลาวหาวา เขาไปแทรกแซงเกินความจําเปน... เราไม ไดบดิ เบือนคาเงิน เราแคสกัดกัน้ การเก็ง กําไรคาเงิน" ดังนั้นเมื่อนักธุรกิจทุกทานไดเห็น ความเปนไปทุกปจจัยทีจ่ ะมีผลตอเศรษฐกิจ ไทยแลว ผมหวังวา ทุกคนจะสามารถ ตัง้ รับกับสถานการณทจี่ ะเกิดขึน้ ไนป 64 ไดอยางเขมแข็ง และใชโอกาสนี้พัฒนา จุดออนใหกลายเปนจุดแข็งตอไปนะครับ ขอใหทุกทานโชคดีครับ...

สําหรับสถานการณเงินบาทที่แข็ง คานัน้ สวนหนึง่ เปนผลจากเงินทุนทีไ่ หล 13


CEBF Business Research : CEBF BR การวิจัยทางธุรกิจ โดยศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ

กรอบการพิจารณาธุรกิจเด่น พิจารณาจากข้อมูลทุติยภูมิ ขอมูลดานการนำเขาและสงออก  ขอมูลสินเชื่อของธนาคารพาณิชย  ขอมูลดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใชกำลังการผลิต  ขอมูลดัชนีราคาผูบริโภค และดัชนีความเชื่อมั่นของผูบริโภค  ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม และดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ  ตารางปจจัยการผลิต I-O Table  ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย และประเทศคูคาที่สำคัญ  ดัชนีตลาดหลักทรัพย  อื่นๆ 

14

ข้อมูลปฐมภูมิจากการสำรวจของหอการค้าโพล (Chamber Business Poll) ผลการสำรวจผูประกอบการรายสาขา ผลการสำรวจสถานภาพธุรกิจไทย  ผลการสำรวจปจจัยเสี่ยงทางดานเศรษฐกิจ  

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑการพิจารณา ดานยอดขาย ดานตนทุน สวนตางของยอดขายตอตนทุน (กำไรสุทธิ) ผลกระทบจากปจจัยเสี่ยงและภาวะการแขงขัน ความตองการ/ความสอดคลองกับกระแสนิยม รวม

ระดับคะแนน 20 20 20 20 20 100

Designed by rawpixel.com / Freepik

Designed by starline / Freepik

Poll


Poll

สถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจ ตารางสรุปประมาณการภาวะเศรษฐกิจมหภาคในปี 2563-2564 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) - GDP ภาคเกษตร - GDP นอกภาคเกษตร การอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล การลงทุนรวม - การลงทุนของภาคเอกชน - การลงทุนของภาครัฐ การสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ การนำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ สัดสวนดุลบัญชีเดินสะพัดตอจีดีพี จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ อัตราเงินเฟอทั่วไป สัดสวนหนี้สินภาคครัวเรือนตอจีดีพี

หนวย

2562

%YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY % ตอ GDP ลานคน %YoY % ตอ GDP

2.4 0.1 2.6 4.5 1.4 2.2 2.8 0.2 -2.7 -4.7 6.9 38.3 0.7 80.5

(ณ ส.ค.63) -9.4 -5.9 -10.4 -2.6 4.5 -8.0 -13.6 7.7 -10.2 -19.5 1.0 39.8 -1.5 90.5

2563F

(ณ ธ.ค.63) -6.3 -1.3 -6.8 -1.0 3.9 -4.7 -10.7 12.2 -7.4 -13.1 4.0 6.7 -0.9 87.7

ที่มา: ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มกค.

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจ ปี 2564 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ หนวย %YoY ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) %YoY - GDP ภาคเกษตร %YoY - GDP นอกภาคเกษตร %YoY การอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน %YoY การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล %YoY การลงทุนรวม %YoY - การลงทุนของภาคเอกชน %YoY - การลงทุนของภาครัฐ %YoY การสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ %YoY การนำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ % ตอ GDP สัดสวนดุลบัญชีเดินสะพัดตอจีดีพี ลานคน จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ %YoY อัตราเงินเฟอทั่วไป % ตอ GDP สัดสวนหนี้สินภาคครัวเรือนตอจีดีพี % โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ

กรณีที่แยกวา (Worse Case) 1.8 0.8 1.8 2.5 4.5 6.4 2.6 12.0 4.2 6.0 3.1 2.6 0.8 85.4 30.0

กรณีฐาน (Base Case) 2.8 1.8 2.9 2.7 5.0 6.7 2.8 12.6 3.5 4.5 3.7 4.0 1.0 84.5 50.0

กรณีที่ดีกวา (Better Case) 3.8 2.9 3.9 3.0 5.0 6.9 3.0 12.6 3.5 3.9 4.4 6.0 1.2 83.6 20.0

15


Poll

ปัจจัยสนับสนุนและบั่นทอนการดำเนินธุรกิจในปี 2564

ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยที่บั่นทอน

เริ่มมีวัคซีน COVID-19 และเริ่มมีการใช มาตรการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐอยางตอเนื่อง  เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยมีแนวโนมขยายตัว  การเปดประเทศรับนักทองเที่ยวในชวงปลายปหลังมีวักซีน  มาตรการชวยเหลือผูประกอบการ SME ใหเขาถึงสินเชื่อควบคูกับ การพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแขงขัน  กำลังซื้อของประชาชนฐานรากที่เพิ่มขึ้นตามมาตรการสวัสดิการ แหงรัฐและการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก และมาตรการประกันราคา สินคาเกษตร  เศรษฐกิจจีนฟนตัวเร็วกวา ที่นักวิเคราะหเคยคาดการณเอาไว  ภาคการผลิตและภาคบริการทั่วโลกเริ่มที่จะฟนตัวภายหลังจาก การคลาย Lockdown  ธนาคารกลางทั่วโลกตางปรับนโยบายการ เงินเปนแบบผอนคลาย  

สถานการณ COVID-19 ยังมีอยางตอเนื่องในหลายประเทศ ถึงแมวาจะมีวัคซีนปองกัน  ความเปราะบางทางการเมืองทำใหความเชื่อมั่นของผูบริโภคและ นักลงทุนลดลง  สถานการณภาวะเศรษฐกจของประเทศยังคงมีความเปาะบาง โดยเฉพาะในชวงครึ่งปแรก จากสถานการณ COVID-19  เงินบาทแข็งคาเร็วกวาปกติ และมีแนวโนมแข็งคาตอเนื่อง  ความไมแนนอนทางการเมืองสงผลตอความเชื่อมั่นของนักลงทุน ตางชาติ  หนี้เสีย (NPL) ของสถาบันการเงินที่มีโอกาสเพิ่มสูงขึ้น  ความเสี่ยงจากสถานการณภัยแลง/ฝนทิ้งชวงมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น อยางมาก  ความไมแนนอนของสถานการณความตึงเครียดระหวางสหรัฐฯกับจีน 

ประเมินผล 10 อันดับธุรกิจรุ่งปี 2564 10 อันดับธุรกิจดาวรุ่ง ปี 2564 ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

16

10 อันดับธุรกิจเดน ธุรกิจบริการทางการแพทยและความงาม ธุรกิจ e-commerce (ธุรกิจที่ทำการซื้อขายผานอิเล็กทรอนิกส) ธุรกิจ แพลตฟอรม (ธุรกิจตัวกลางหรือตลาดกลางทางดานอิเล็กทรอนิกส) ธุรกิจจัดทำคอนเทนต ธุรกิจ youtuber และการรีวิวสินคา ธุรกิจขนสงโลจิสติกส ธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องมือแพทย ธุรกิจเวชภัณฑยา ธุรกิจการขายสงสินคาทางเภสัชภัณฑและทางการแพทย ธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิเคราะหและจัดการขอมูล (Big Data, Data Analysict) ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจอาหารเสริม และสุขภาพ ธุรกิจ Street food และ food truck ธุรกิจขนสงโลจิสติกส และ delivery ธุรกิจดาน fintech และการชำระเงินผานระบบเทคโนโลยี ธุรกิจพลังงาน ธุรกิจตูหยอดเหรียญฯ เชน รานสะดวกซัก เครื่องเติมเงิน เครื่องเติมน้ำ เปนตน ธุรกิจที่ปรึกษาดานกฎหมาย/บัญชี ธุรกิจออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ แพ็กเกจจิ้ง

รวม 94.5 94.5 92.9 92.9 91.1 89.9 89.9 87.8 86.5 86.5 85.5 84.3 84.3 82.5 82.5 81.7 81.7


Poll

ธุรกิจเด่นอันดับ 1 ธุรกิจบริการทางการแพทย์และความงาม ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. สถานการณแพรระบาด COVID-19 ที่ยังไมมีวัคซีนปองกันรวมทั้งความกังวลตอ โรคอุบัติใหมอื่นๆ 2. การนำเทคโนโลยีการสื่อสารมาชวยอำนวยความสะดวกในการใหบริการแบบวิถี ใหม เชน การตรวจรักษาทางไกล การใชระบบจองคิวการบริการ 3. กระแสการใหความสำคัญกับการรักษาสุขภาพและการดูแลความงามยังมีอยาง ตอเนื่องมีการลงทุนพัฒนาและนำเทคโนโลยีสมัยใหมมาใช 4. คุณภาพการรักษาของประเทศไทยมีราคาไมแพง และไดรับความเชื่อถือจาก นานาชาติ 5. การขยายธุรกิจสถานพยาบาล เปน ธุรกิจ wellness มากขึ้น 6. การดูแลและรักษาสุขภาพของประชาชนมากขึ้น ธุรกิจบริการทางการแพทยและความงาม

ยอดขาย 19.4

ตนทุน 18.3

กำไร 19

1. สถานการณดานรายไดที่ลดลงของประชาชนทำใหกำลังซื้อลดลง 2. การแขงขันที่รุนแรงของธุรกิจ 3. การแขงขันทางดานราคาเพิ่มมากขึ้น เชน การแขงขันการทำ โปรโมชั่นดานราคา และบริการแบบออนไลน 4. การเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี 5. การปลอมแปลงเวชภัณฑ และการหลอกลวงในการใหบริการ จนเปนเหตุใหเกิดความไมนาเชื่อถือ 6. จำนวนผูเชี่ยวชาญและความเพียงพอของบุคลากรในการรักษา โดยเฉพาะสาขาพยาบาล และแพทยเฉพาะทางมีจำนวนจำกัด การรับความเสี่ยง/คูแขง 18.6

ความตองการ 19.2

รวม 94.5

ธุรกิจเด่นอันดับ 1 ธุรกิจ E-Commerce ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของประชาชน และสถานการณแพรระบาด COVID-19 ทำใหประชาชนหันมาใช ซื้อสินคาผานออนไลนมากขึ้น 2. ผูประกอบการหันมาทำธุรกิจ E-commerce มากขึ้นจากสถานการณ COVID-19 3. ระบบการขนสงที่ทันสมัยและรวดเร็ว และมีความสะดวกในจำนวนสาขาที่มากขึ้น 4. มีชองทางการจำหนายจำนวนมาก และตนทุนต่ำ ไมตองมีหนาราน และสามารถซื้อขายสินคาได 24 ชม. 5. ประชากรเขาถึงอินเทอรเน็ตไดงาย ประกอบกับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสนั้นมีราคาถูกลง 6. นโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ เชน มาตรการคนละครึ่ง นโยบายพรอมเพย (PromptPay) และโครงการ สนับสนุนผูประกอบการ SMEs Go Online เปนตน 7. ระบบการชำระเงินที่หลากหลาย สะดวกและรวดเร็ว เชน เก็บเงินปลายทาง ชำระเงินผานระบบออนไลน 8. การมีแอปพลิเคชั่นในการเลือกซื้อสินคาและบริการโดยมีสวนลด เงื่อนไข หรือราคาพิเศษใหกับลูกคา เพิ่มมากขึ้น 9. การรีวิวสินคาของ Net Idol หรือ Youtuber หรือบุคคลที่มีชื่อเสียงและลูกคาที่เคยใชสินคา ธุรกิจ E-Commerce

ยอดขาย 19.3

ตนทุน 18.9

กำไร 19

1. นโยบายเก็บภาษีธุรกิจคาขายออนไลน 2. การแขงขันที่รุนแรงขึ้นทั้งจากคูแขงเดิม และคูแขงรายใหม โดยเฉพาะธุรกิจคาปลีก สมัยใหมที่หันมาทำการตลาดออนไลนมาก ขึ้น รวมทั้งสถานการณแพรระบาด COVID-19 ทำใหผูประกอบการไทยเนน การขายทางออนไลนมากขึ้น 3. ปญหาการหลอกขายสินคา สินคาไมได คุณภาพ 4. การเขามาแขงขันของธุรกิจขนาดใหญ

การรับความเสี่ยง/คูแขง 18.3

ความตองการ 19

รวม 94.5

17


Poll

ธุรกิจเด่นอันดับ 2 ธุรกิจแพลตฟอร์ม 
(ธุรกิจตัวกลางหรือตลาดกลางทางด้านอิเล็กทรอนิกส์)
 ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. สถานการณ COVID-19 ทำใหมีการพัฒนาแพลตฟอรมที่รองรับการเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงมากขึ้น 2. สถานการณ COVID-19 ยังคงอยูกับโลกอีกอยางนอย 1 ป 3. พฤติกรรมของผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในการใชเทคโนโลยี 4. กระแสการพัฒนาแพลตฟอรมทั่วโลก ทำใหผูประกอบการสามารถเขาถึงผูบริโภค ไดอยางตรงจุด 5. ธุรกิจมีแนวโนมเติบโตอยางตอเนื่องทั้งในประเทศและตางประเทศ 6. การผลักดันนโยบาย/มาตรการ ธุรกิจแพลตฟอรมของภาครัฐ

1. ธุรกิจมีการแขงขันการพัฒนาแฟลตฟอรมอยางตอเนื่อง 2. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่รวดเร็วทำใหมีตองมีตนทุนการปรับ เปลี่ยนแฟลตฟอรม 3. ความปลอดภัยและการรั่วไหลของขอมูลสวนบุคคล 4. ความไมเพียงพอของผูเชี่ยวชาญ และการดูแลความปลอดภัย ตางๆ โดยเฉพาะดานขอมูล 5. การกออาชญกรรมทางดานเทคโนโลยีทำใหเกิดความสูญเสียตอ ผูประกอบการและผูบริโภค

ธุรกิจแพลตฟอรม

ยอดขาย 19

ตนทุน 18.4

กำไร 18.6

การรับความเสี่ยง/คูแขง 18.1

ความตองการ 18.8

รวม 92.9

ธุรกิจเด่นอันดับ 2 ธุรกิจทำคอนเทนต์ ธุรกิจ Youtuber และการรีวิวสินค้า ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. พฤติกรรมในการติดตามสื่อของคนในปจจุบันเปลี่ยนแปลงไป 2. ในยุคดิจิทัล โซเชียลเปนที่นิยมกันมากขึ้น เขาถึงกลุมลูกคาไดสะดวก รวดเร็วและ งายมากขึ้น 3. เนื่องจากวิกฤต Covid-19 ทำใหคนหันมาใชบริการผานชองทางออนไลนกันมาก ขึ้น การเติบโตอยางตอเนื่องของตลาดออนไลนในชวงที่ผานมา เปนการตอกย้ำใหผู ประกอบการเห็นถึงความสำคัญ 4. ตนทุนในการประกอบธุรกิจต่ำ 5. การไดรับรายไดจากธุรกิจไดอยางตอเนื่อง

1. กฎระเบียบ กฎหมายตางๆ ที่ไมเอื่อตอการดำเนินธุรกิจ 2. มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วเสมอ ผูประกอบการตองมีสิ่ง ใหมๆ มาอัพเดตและดำเนินการตลอดเวลาเพื่อใหเปนที่รูจักและมีผู ติดตามมากขึ้น 3. เมื่อเกิดความผิดพลาดหรือเปนโทษตอผูบริโภค ธุรกิจอาจถึงขั้น ตองปดกิจการ 4. ธุรกิจมีการแขงขันกันคอนขางสูง โดยเฉพาะเรื่องราคาหรือการ ใหโปรโมชั่น

ธุรกิจทำคอนเทนต

ยอดขาย 19.1

ตนทุน 18.5

กำไร 18.5

การรับความเสี่ยง/คูแขง 18

ความตองการ 18.8

รวม 92.9

ธุรกิจเด่นอันดับ 3 ธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิต ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. จากสถานการณ Covid-19 ความตองการซื้อประกันเพื่อความปลอดภัย ของชีวิตและคนในครอบครัวมากขึ้น รวมทั้งมีความรูและความเขาใจมี มากขึ้น และลดภาระคาใชจายหากมีภัยเกิดขึ้น 2. คาครองชีพที่สูงขึ้น โดยเฉพาะการรักษา หรือการซอมบำรุงตางๆ 3. มาตรการลดหยอนภาษีของภาครัฐที่ยังมีตอเนื่อง 4. ผลิตภัณฑเกี่ยวกับประกันภัยมีจำนวนมากขึ้น และหลากหลาย 5. ประชาชนหันมาใหความสำคัญการออมในระยะยาวมากขึ้น 6. การเขาสูสังคมผูสูงอายุ และการวางแผนทางการเงินของคนยุคปจจุบัน 7. รัฐบาลมีการสงเสริมใหมีการทำการประกันภัยมากและประกันชีวิต มากขึ้น

ธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิต 18

ยอดขาย 18.5

ตนทุน 18.3

1. การเกิดโรคอุบัติใหม และภัยอันตรายที่เกิดกับประชาชน 2. การแขงขันที่รุนแรงขึ้นทั้งระหวางบริษัทประกันชีวิตดวยกันเองบริษัท ประกันสุขภาพรวมถึงธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน 3. การแขงขันทางธุรกิจในเรื่องของผลิตภัณฑและราคาเพื่อจูงใจลูกคา 4. การเปลี่ยนแปลงของคาครองชีพที่มีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น 5. อัตราดอกเบี้ยของธนาคารพาณิชยและความผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยน 6. ภัยธรรมชาติ 7. ความเชื่อมั่นตอธุรกิจ (การใหขอมูลที่ไมชัดเจนหรือเกินจริงของ ตัวแทน/การบังคับทำประกันของธนาคาร/ระบบความปลอดภัยของ ขอมูลสวนบุคคลของลูกคา) กำไร 18.4

การรับความเสี่ยง/คูแขง 17.6

ความตองการ 18.3

รวม 91.1


Poll

ธุรกิจเด่นอันดับ 4 ธุรกิจเครื่องมือแพทย์ ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง 1. การลงทุนมีตนทุนที่สูง 2. มาตรฐานและการรับรองตางๆ ของ เครื่องแพทย 3. การปลอมแปลงเและการหลอกลวง 4. การแขงขันที่รุนแรงขึ้นทั้งในและตาง ประเทศ 5. การขาดแคลนของผลิตภัณฑเครื่องมือ แพทยที่เปนที่ตองการทั่วโลก

1. การเจ็บปวยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะจากโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง และโรค เบาหวาน รวมถึงจำนวนผูสูงอายุที่เพิ่มขึ้นตอเนื่อง 2. ความตองการใชเครื่องมือแพทยตรวจวินิจฉัยโรคที่ทันสมัยและใชเทคโนโลยีขั้นสูงมากขึ้น 3. สถานการณการแพรระบาดของไวรัสโควิด-19 4. สถานการณฝุนพิษ PM 2.5 ที่เกิดเพิ่มขึ้น 5. การลงทุนของธุรกิจโรงพยาบาลทั้งการสรางใหมและการขยายพื้นที่ใหบริการจะทำใหความตองการ อุปกรณและเครื่องมือทางการแพทยเพิ่มขึ้น 6. นโยบายสนับสนุนจากภาครัฐ ในการใหสิทธิพิเศษการลงทุนกับกลุมอุตสาหกรรมผลิตเครื่องมือแพทย และชิ้นสวน การเขามาลงทุนอยางตอเนื่อง ธุรกิจเครื่องมือแพทย

ยอดขาย 18.6

ตนทุน 17.8

กำไร 18.4

การรับความเสี่ยง/คูแขง 17.5

ความตองการ 17.6

รวม 89.9

ธุรกิจเด่นอันดับ 4 ธุรกิจเวชภัณฑ์ยา ธุรกิจการขายส่งสินค้าทางเภสัชภัณฑ์และทางการแพทย์ ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. สถานการณ COVID-19 สงผลใหประชาชนมีพฤติกรรมการเรียนรูและการศึกษาเกี่ยวกับการรักษา โดย การซื้อยา 2. การซื้อยาผานออนไลนตางๆ ทำไดงายขึ้น 3. มีเทคโนโลยีเกี่ยวกับการรักษา และปองกันไมใหเกิดอุบัติเหตุในการทำงาน การเลนกีฬา และอื่นๆ มาก ขึ้น 4. ระดับราคาสินคาไมสูง 5. จำนวนผูปวยมีมากขึ้น

1. คูแขงมาก และมีการตัดราคากัน 2. การเขามาแขงขันของธุรกิจขนาดใหญ และรานสสะดวกซื้อ 3. การพัฒนาเทคโนโลยี และการ เปลี่ยนแปลงนวัตกรรมที่รวดเร็ว 4. ตนทุนคอนขางสูง เนื่องจากผลิตภัณฑ สวนใหญนำเขาจากตางประเทศ

ธุรกิจเวชภัณฑยา

ยอดขาย 18.7

ตนทุน 17.5

กำไร 18.3

การรับความเสี่ยง/คูแขง 17.7

ความตองการ 17.7

รวม 89.9

ธุรกิจเด่นอันดับ 5 ธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิเคราะห์และจัดการข้อมูล ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. โลกยุคปจจุบันใหความสำคัญกับขอมูล โดยเฉพาะขอมูล Bigdata 2. เปนเทคโนโลยีที่ทั่วโลกกำลังใหความสนใจ และธุรกิจตางๆ พยายามพัฒนาเพื่อ เพิ่มศักยภาพในการวิเคราะหขอมูลที่มีในมือใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3. ความชำนาญ และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะหยังมีอยูจำกัด ทำให ไมมีผูแขงขัน 4. คาใชจายเกี่ยวกับการสงวิเคราะหขอมูลมีราคาที่สูง สงผลใหกำไรที่ธุรกิจไดยัง คงอยูในระดับที่สูง

1. ความนาเชื่อถือและความไววางใจของธุรกิจ 2. กฎหมายเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล 3. ความปลอดภัยในเรื่องของขอมูล และอาชญากรรมทางดาน เทคโนโลยี 4. ขอมูลที่ไดมีความนาเชื่อถือนอยสงผลตอการวิเคราะหขอมูลผิด พลาด 5. เทคโนโลยีเขามามีบทบาทตอการวิเคราะหและแปลผลมากขึ้น

ธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิเคราะหและจัดการขอมูล

ยอดขาย 18

ตนทุน 17.7

กำไร 17.9

การรับความเสี่ยง/คูแขง ความตองการ รวม 16.9 17.3 87.8

19


Poll

ธุรกิจเด่นอันดับ 6 ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. จากสถานการณ Covid-19ทำใหความตองการอาหารปรุงสำเร็จมีมากขึ้น 2. รูปแบบการบริการที่สะดวกและรวดเร็ว เชน การสั่งอาหารผานอินเตอรเน็ต หรือ Application และ บริการสงถึงที่ หรือการรับจัดเลี้ยงในงานประชุม/งานสังสรรคแบบปรุงสำเร็จ 3. การแปลรูปสินคาอาหารดวยนวัตกรรมตางๆ 4. การพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑดานอาหารและเครื่องดื่มมีมากขึ้น เชน เพื่อสุขภาพ อาหารฮาลาล อาหาร Fusion Food 5. การพัฒนาอาหารแชแข็ง ทำใหสามารถเก็บรักษาอาหารไดนาน และเปนที่นิยมมากขึ้น 6. พฤติกรรมการรับประทานอาหารเปลี่ยนแปลง 7. ระดับราคาอาหารของประเทศยังมีราคาไมสูง ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม

ยอดขาย 17.3

ตนทุน 17

กำไร 17.2

1. การลดเวนเทศกาลตางๆ 2. ปญหาภัยธรรมชาติ สงผลใหสินคาเกษตรที่ เปนวัตถุดิบขาดแคลนและมีราคาสูงขึ้น 3. การเขามาแขงขันของธุรกิจตางชาติ 4. คูแขงทางธุรกิจสูง และแขงขันกันตัดราคา 5. การเปลี่ยนแปลงการบริโภคตามกระแส นิยม 6. มาตรการกีดกันทางดานการคาระหวาง ประเทศที่ไมใชภาษี

การรับความเสี่ยง/คูแขง 17.5

ความตองการ 17.5

รวม 86.5

ธุรกิจเด่นอันดับ 6 ธุรกิจอาหารเสริมและสุขภาพ ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. สถานการณการแพรระบาดของ covid-19 ทำใหผูคนวิตกเรื่องสุขภาพ หลายคนหันมาใสใจดูแลตัวเอง กันมากขึ้น 2. การปองกันตนเองจากโรค สงผลใหสินคากลุมที่ชวยเสริมสรางภูมิคุมกันเปนที่ตองการมากขึ้น เชน วิตามิน เครื่องดื่มผสมวิตามิน อาหารเสริมตางๆ รวมถึงผลิตภัณฑที่ชวยฟนฟูบำรุงรางกาย 3. มีนวัตกรรมใหมๆในการสรางผลิตภัณฑ อาหารเสริมเพื่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้น 4. เทรนดสุขภาพขยายตัวไดดี (Healthy Trend) ผูบริโภคเขาถึงขอมูลที่งายและรวดเร็วผานชองทาง โซเชียลมีเดีย 5. ระดับราคาอาหารเสริม และสุขภาพมีราคาไมสูง

1. การแขงขันที่รุนแรงขึ้นทั้งจากคูแขงเดิม และคูแขงรายใหมธุรกิจ 2. ความนาเชื่อถือและมาตรฐานของ ผลิตภัณฑ 3. การแขงขันทางดานราคาเพิ่มมากขึ้น เชน การแขงขันการทำโปรโมชั่นดานราคา

ยอดขาย 17.6

ความตองการ 17.2

ธุรกิจอาหารเสริมและสุขภาพ

20

ตนทุน 17.1

กำไร 17.4

การรับความเสี่ยง/คูแขง 17.2

รวม 86.5


Poll

ธุรกิจเด่นอันดับ 7 ธุรกิจบน Street Food ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. มาตรการกระตุนเศรษฐกิจภาครัฐ “คนละครึ่ง” 2. การไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวตางชาติ 3. มีนโยบายสนับสนุนใหเปนจุดขายดานการทองเที่ยว ดวยการยกระดับมาตรฐานความสะอาดและ ความปลอดภัย 4. ชื่อเสียงดาน Street Food ของประเทศไทยที่เปนที่รูจักของชาวตางประเทศ 5. เปนจุดดึงดูดนักทองเที่ยว นักชิมทั้งชาวไทยและตางชาติ 6. มีการจัดระเบียบพื้นที่คาขายบนทางเทาใหมีความเหมาะสม เพื่อคุมครองผูบริโภคและเปนภาพ ลักษณที่ดีตอการทองเที่ยวไทย 7. ในปจจุบันมีชองทางการทำตลาดเพิ่มมากขึ้น เชน โฆษณาผานโซเชียล การรีวิวบอกตอของผู บริโภค การสงสินคาผาน Application เชน Lineman, Grap Food, GET , Foodpanda เปนตน

1. สถานการณ COVID-19 ที่ทำใหนักทองเที่ยวลดลง 2. ความสะอาดและความปลอดภัยของอาหารความ นาเชื่อถือของธุรกิจ 3. คูแขงทางธุรกิจมีจำนวนมาก 4. กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับธุรกิจ 5. นโยบายการจัดระเบียบผูคาบนทางเทา 6. ผูคนในสังคมเมืองเริ่มหันมาดูแลสุขภาพมากขึ้น 7. อันตรายจากการปรุงอาหาร และความสะอาดซึ่ง อาจทำใหภาพลักษณและความเชื่อมั่นลดลงได

ธุรกิจบน Street Food

ยอดขาย 17.2

ตนทุน 17

กำไร 17.2

การรับความเสี่ยง/คูแขง 17

ความตองการ 17.1

รวม 85.5

ธุรกิจเด่นอันดับ 8 ธุรกิจด้าน Fintech และการชำระเงินฝากระบบเทคโนโลยี ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. นโยบายการละเวนคาธรรมเนียมทางการเงิน ในการโอน การชำระเงิน และอื่นๆ 2. การพัฒนาแหลงการชำระเงินตามรานคา ผูประกอบการที่มีการชำระผานระบบอิเล็กทรอนิกส เพิ่มมากขึ้น 3. พฤติกรรมการชำระเงินดวยอิเล็กทรอนิกสมีเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะคนรุนใหม 4. การปรับตัวของธนาคารพาณิชยเพื่อเขาสูสังคมไรเงินสดโดยการเพิ่มระบบการเงินดิจิตอลเพื่อให การทำธุรกรรมทางการเงินสะดวกยิ่งขึ้นโดยที่ไมตองเดินทางไปธนาคารสาขา 5. รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการเงินในรูปแบบ Online มากขึ้น 6. สังคมเมืองที่ตองการความสะดวกสบาย และการใชระยะเวลารอคอยนอย 7. ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และตอบสนองตอความตองการของลูกคามีมากขึ้น 8. การสั่งซื้อสินคา และการทำธุรกรรมผานออนไลนมีจำนวนมากขึ้นอยางตอเนื่อง ธุรกิจขนสงโลจิสติกส

ยอดขาย 17

ตนทุน 16.5

กำไร 16.9

1. ความเชื่อมั่นของประชาชนตอความปลอดภัยใน การใหบริการผานแฟลตฟอรม 2. ความเชี่ยวชาญของบุคลากรในการใหบริการ ขอมูลแกลูกคา 3. ภัยคุกคามทางไซเบอรที่เพิ่มสูงขึ้นตามพัฒนาการ เทคโนโลยี 4. ขาวเรื่องความปลอดภัยในเรื่องของขอมูล และ อาชญากรรมทางดานเทคโนโลยี 5. ความตองการใชผานระบบออนไลนยังมีจำนวน ไมมากเมื่อเทียบกับประชากรทั้งประเทศ

การรับความเสี่ยง/คูแขง 16.9

ความตองการ 17

รวม 84.3

21


Poll

ธุรกิจเด่นอันดับ 8 ธุรกิจด้าน Fintech และการชำระเงินฝากระบบเทคโนโลยี ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. พฤติกรรมการชำระเงินดวยอิเล็กทรอนิกสมีเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะคนรุนใหม และสถานการณแพร ระบาดของ Covid-19 2. นโยบายการละเวนคาธรรมเนียมทางการเงิน ในการโอน การชำระเงิน และอื่นๆ 3. การพัฒนาแหลงการชำระเงินตามรานคา ผูประกอบการที่มีการชำระผานระบบอิเล็กทรอนิกส เพิ่มมากขึ้น 4. การปรับตัวของธนาคารพาณิชยเพื่อเขาสูสังคมไรเงินสดโดยการเพิ่มระบบการเงินดิจิตอลเพื่อ ใหการทำธุรกรรมทางการเงินสะดวกยิ่งขึ้นโดยที่ไมตองเดินทางไปธนาคารสาขา 5. สังคมเมืองที่ตองการความสะดวกสบาย และการใชระยะเวลารอคอยนอย 6. ระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัย และตอบสนองตอความตองการของลูกคามีมากขึ้น 7. การสั่งซื้อสินคา และการทำธุรกรรมผานออนไลนมีจำนวนมากขึ้นอยางตอเนื่อง

1. ความเชื่อมั่นของประชาชนตอความปลอดภัยในการ ใหบริการผานแฟลตฟอรม 2. ความเชี่ยวชาญของบุคลากรในการใหบริการขอมูล แกลูกคา 3. ภัยคุกคามทางไซเบอรที่เพิ่มสูงขึ้นตามพัฒนาการ เทคโนโลยี 4. ขาวเรื่องความปลอดภัยในเรื่องของขอมูล และ อาชญากรรมทางดานเทคโนโลยี 5. ความตองการใชผานระบบออนไลนยังมีจำนวนไม มากเมื่อเทียบกับประชากรทั้งประเทศ

ธุรกิจดาน Fintech และการชำระเงินฝากระบบเทคโนโลยี

ยอดขาย 17.3

ตนทุน 16.8

กำไร 16.7

การรับความเสี่ยง/คูแขง ความตองการ รวม 16.5 17 84.3

ธุรกิจเด่นอันดับ 9 ธุรกิจพลังงาน ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. ความตองการพลังงานยังคงมีอยางตอเนื่อง และเพิ่มขึ้น 2. พลังงานถือเปนโครงสรางพื้นฐานที่จำเปนของประเทศ เพื่อตอบสนอง ตอความตองการของผูใชงาน 3. เทรนดของบริษัทน้ำมันยักษใหญไดปรับกลยุทธมาลงทุนในธุรกิจ เกี่ยวเนื่องกับพลังงานไฟฟาตลอด Value chain มากขึ้น 4. นโยบายสงเสริมของภาครัฐ และกระแสรักษโลกที่ตองการลดการ ปลอยกาซคารบอน สูสังคมคารบอนต่ำ (low carbon) 5. การพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น และ สรางเสถียรภาพทางดานพลังงาน ธุรกิจพลังงาน

22

ยอดขาย 17.1

ตนทุน 16.2

1. ปญหาตนทุนการผลิตตอหนวยโดยเฉพาะการผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตย ปจจุบันยังอยูในระดับคอนขางสูง 2. ขอกฎหมาย ประกาศ กฎ หรือระเบียบ ที่เกี่ยวของกับธุรกิจพลังงานมี จำนวนมากและสรางอุปสรรคตอผูประกอบกิจการพลังงาน 3. ขอจำกัดการพัฒนาพลังสะอาดที่ยังคงมีตนทุนสูง และตองใชเทคโนโลยี ระดับสูง 4. ความผันผวนของระดับราคาพลังงานของโลก 5. ปญหาภัยธรรมชาติ 6. เทคโนโลยีในการรองรับการเปลี่ยนแปลงพลังงานยังคงมีจำนวนนอย กำไร 16.4

การรับความเสี่ยง/คูแขง 15.8

ความตองการ 17

รวม 82.5


Poll

ธุรกิจเด่นอันดับ 9 ธุรกิจตู้หยอดเหรียญฯ เช่น ร้านสะดวกซัก เครื่องเติมเงิน เครื่องเติมน้ำ เป็นต้น ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. ความสะดวก ประหยัดเวลา ที่สอดคลองกับไลฟสไตลคนในปจจุบัน 2. ธุรกิจของหนุมสาวยุคใหมที่อยากหารายไดเพิ่มจากงานประจำหรือธุรกิจเดิมเพราะไมตองดูแล มาก สามารถทำกำไรใหไดตลอด 24 ชั่วโมง 3. นอกจากทำธุรกิจรานสะดวกซื้อแลวนั้น ยังบริการอื่นๆเขาไปในพื้นที่ไดเนื่องจากลูกคาตอง มารอ เชน เพิ่มบริการขายกาแฟ เพื่อเสริมรายไดพิเศษไดมากขึ้น 4. ไมจำเปนตองจางแรงงานเปนจำนวนมากในการดำเนินธุรกิจ ลดตนทุนในการจางงาน ยอดขาย 16.8

ธุรกิจรานสะดวกซัก (เครื่องซักผาหยอดเหรียญ)

ตนทุน 16.6

กำไร 16.6

1. มาตรฐานและการรับรองความสะอาดของธุรกิจ 2. ทำเลที่ตั้งของธุรกิจมีผลตอความสำเร็จในธุรกิจ 3. แบรนดขนาดใหญเริ่มเขามาลงทุนเปนจำนวนมาก ทำใหธุรกิจขนาดเล็กมีความเสี่ยง 4. การลงทุนคอนขางสูงขึ้นอยูกับรูปแบบที่จะ ดำเนินการเปดธุรกิจมีทั้งขนาดเล็ก กลาง ใหญ

การรับความเสี่ยง/คูแขง 16.1

ความตองการ 16.4

รวม 82.5

ธุรกิจเด่นอันดับ 10 ธุรกิจทางด้านกฎหมายและบัญชี ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. พฤติกรรมในการรักษาสิทธิสวนบุคคลมากขึ้น ทำใหกฎหมายมีความสำคัญอยาง มาก 2. ภาวะเศรษฐกิจที่สงผลตอธุรกิจ อาทิเชน การผิดนัดชำระ การจัดทำสัญญา และ ทวงถาม เปนตน 3. การเปลี่ยนแปลงกฎระเบียบ ขอกฏหมาย และมาตรการตางๆของประเทศไทยมี มากขึ้นทำใหตองมีการติดตามและปรับเปลี่ยนขอสัญญาตางๆ 4. ปจจุบันการติดตอการคากับประเทศเพื่อนบานหรือตางประเทศมีมากขึ้น 5. กฏหมายเกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจและการดำเนินชีวิตของผูคน 6. นโยบายของภาครัฐที่เขมงวดขึ้นในการจัดทำบัญชีและภาษีของผูประกอบ

1. การใหคำปรึกษาผานออนไลน และการหาความรูจากสื่อออนไลน ไดมากขึ้น 2. บุคคลทั่วไปหรือผูประกอบธุรกิจสามารถดำเนินการทางดาน กฎหมายและทางบัญชีเองได 3. เทคโนโลยีที่ทันสมัยและสามารถตอบสนองความตองการผู ประกอบการในหลากหลายดาน เชน บัญชี การใหคำแนะนำกฎหมาย เบื้องตน เปนตน 4. ความนาเชื่อถือและความไววางใจ 5. มีคูแขงทางธุรกิจเพิ่มมากขึ้นและมีความหลากหายมากขึ้น

ธุรกิจทางดานกฎหมายและบัญชี

ยอดขาย 16.5

ตนทุน 16.3

กำไร 16.3

การรับความเสี่ยง/คูแขง 16.1

ความตองการ 16.5

รวม 81.7

ธุรกิจเด่นอันดับ 10 ธุรกิจออกแบบและผลิตภัณฑ์ แพ็กเกจจิ้ง ปจจัยสนับสนุน

ปจจัยเสี่ยง

1. พฤติกรรมของผูคนที่หันมาสนใจทำธุรกิจของตัวเอง ขายสินคาออนไลนมากขึ้น การออกแบบบรรจุภัณฑ กลายเปนสวนสำคัญในการสรางแบรดเพื่อสรางเอกลักษรใหจดจำไดงาย 2. การเพิ่มยอดขายใหกับสินคา 3. ความตองการของผูบริโภคในเรื่องของเทรนดรักษโลก ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป การปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑมี ผลตอการสรางมูลคาใหกับสินคาไดมากขึ้น 4. ราคาการใหบริการคอนขางสูง 5. มีการเปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑอยางตอเนื่อง เพื่อใหดูทันสมัยและตอบสนองพฤติกรรมของคนรุนใหมที่ ตองการความทันสมัย ธุรกิจเกี่ยวกับทางดานการทองเที่ยว

ยอดขาย 16.4

ตนทุน 16.5

กำไร 16.4

1. มีการแขงขันทางธุรกิจคอนขางสูง 2. การปลอมแปลง ลอกเลียนแบบวัตถุดิบ 3. กฎหมายลิขสิทธิ์ และการใชตราหรือ รูปตางๆ 4. ความนาเชื่อถือของบริษัทในการ ออกแบบผลิตภัณฑ แพ็กเกจจิ้ง

การรับความเสี่ยง/คูแขง 16.3

ความตองการ 16.1

รวม 81.7 23


Poll

ประเมินผล 10 อันดับธุรกิจร่วงปี 2564 10 อันดับธุรกิจดาวร่วง ปี 2564 ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ธุรกิจดาวรวง

รวม 10.8 11.9 11.9 13.2 15.4 15.4 17.3 18.8 18.8 20.5 21.7 21.7 23.2 25.1

ธุรกิจเชาหนังสือ ธุรกิจผลิตโทรศัพทพื้นฐาน และเครื่องโทรสาร ธุรกิจจำหนายอุปกรณความจำ Storage media ก็คือ CDs, DVDs, Blu-Ray Discs, External Hard Drives, Memory Cards ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ และวารสาร ธุรกิจรานใหบริการอินเตอรเน็ต ธุรกิจคนกลาง ธุรกิจดั้งเดิมไมมีดีไซด และใชแรงงานเยอะ (เฟอนิเจอร ของเลน) ธุรกิจผลิตเสื้อผาสำเร็จรูปที่ใชแรงงานจำนวนมากและขายในประเทศ ธุรกิจหัตถกรรม และเฟอรนิเจอรไม (ดังเดิมที่ไมไดมีการปรับตัว) ธุรกิจการซอมรองเทา ธุรกิจการคาแบบดั้งเดิม ธุรกิจเครื่องปนดินเผา และเซรามิก ธุรกิจผลิตผักและผลไมอบแหง ธุรกิจรานถายรูป

เปรียบเทียบ 10 อันดับธุรกิจดาวรุ่งในปี 2563 และ 2564 ธุรกิจ ธุรกิจ e-commerce ธุรกิจดาน fintech และการชำระเงินผานระบบเทคโนโลยี ธุรกิจเกี่ยวกับทางดานทองเที่ยว ธุรกิจ Hostel modern tourism และ lifestyle tourism ธุรกิจบริการทางการแพทยและความงาม ธุรกิจเครื่องสำอางและครีมบำรุงผิว ธุรกิจเทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศ และอุปกรณ รวมทั้งผูใหบริการโครงขาย ธุรกิจเกมส ธุรกิจพัฒนา application ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิต ธุรกิจ แพลตฟอรม (ธุรกิจตัวกลางหรือตลาดกลางทางดานอิเล็กทรอนิกส) ธุรกิจพลังงาน ธุรกิจที่ปรึกษากฎหมาย/บัญชี

24

58 4 1 2 3 6 5 -

59 4 1 3 2 6 5 -

60 3 7 4 1 2 4 9 8 -

61 3 6 8 2 4 1 6 9 -

62 1 5 6 2 3 4 4 7 8 -

63 2 8 10 5 10 2 3 6 5 1 8 9

64 1 8 1 6 3 2 9 10


Poll

เปรียบเทียบ 10 ธุรกิจดาวรุ่ง 2563 และ 2564 ธุรกิจเดนป 63 ที่ไมโดดเดนติด 1 ใน 10 ป 64 (ธุรกิจป 63 ที่ไมติด 1 ใน 10 ในป 64) ธุรกิจกอสรางและโครงสรางพื้นฐาน ธุรกิจความเชื่อ  ธุรกิจเกี่ยวกับทางดานทองเที่ยว ธุรกิจ Hostel modern tourism และ lifestyle tourism  ธุรกิจเกมส ธุรกิจพัฒนา application  ธุรกิจเทคโนโลยี และเทคโนโลยีสารสนเทศ และอุปกรณ รวมทั้งผูใหบริการโครงขาย  ธุรกิจเครื่องสำอางและครีมบำรุงผิว

ธุรกิจดาวรุงป 64 ที่ไมติด 1 ใน 10 ในป 63 (ธุรกิจใหมที่เขามาติด 1 ใน 10 ในป 64) ธุรกิจจัดทำคอนเทนต ธุรกิจ youtuber และการรีวิวสินคา ธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องมือแพทย  ธุรกิจเวชภัณฑยา ธุรกิจการขายสงสินคาทางเภสัชภัณฑและทางการแพทย  ธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิเคราะหและจัดการขอมูล (Big Data, Data Analysict)  ธุรกิจอาหารเสริม และสุขภาพ  ธุรกิจขนสงโลจิสติกส และ delivery  ธุรกิจตูหยอดเหรียญฯ เชน รานสะดวกซัก เครื่องเติมเงิน เครื่องเติมน้ำ เปนตน  ธุรกิจออกแบบและผลิตบรรจุภัณฑ แพ็กเกจจิ้ง

10 ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5.

ธุรกิจที่ไดรับผลกระทบจากโควิด สายการบิน ธุรกิจนำเที่ยวในประเทศและตางประเทศ โรงแรม ธุรกิจของที่ระลึก ธุรกิจจัดประชุมและแสดงสินคา

ลำดับ 6. 7. 8. 9. 10.

ธุรกิจที่ไดรับผลกระทบจากโควิด ผับ บาร สถานที่ทองเที่ยวกลางคืน ธุรกิจสปา อสังหาริมทรัพยแนวดิ่ง ธุรกิจโรงภาพยนต รานอาหารและภัตตาคาร

25


TCC

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจไทย ในปี 2563-2564 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ และนัยเชิงนโยบาย จำนวนผูติดเชื้อไวรัส COVID-19 ยังคงพุงสูงขึ้นในระดับที่นากังวล (>600,000 เคส/วัน)

ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ฟนตัวอยางชัดเจนในไตรมาสที่ 3/2563 10.0

Business Cycle of the Private Consumption Index (PCI)

5.0 %YoY

0.0 -5.0

-10.0 -15.0 -20.0

ยอดขายรถยนตเชิงพาณิชย: 1. จำนวนกลับมาสูงเกินกวาระดับ 30,000 คัน/เดือน ไดอีกครั้งตั้งแตเดือน ก.ค. 2563 2. อัตราการเปลี่ยนแปลงกลับมาขยายตัวเปนบวกได อีกครั้งในเดือน ก.ย. 2563 Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

PCI

26

PCI (12M-MA)

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%YoY) รถ ไตรมาส รถยนต รถยนตนั่ง /เดือน เชิงพาณิชย สวนบุคคล จักรยานยนต -5.6 -22.6 -21.9 Q1/63 -28.2 -58.1 -42.7 Q2/63 -5.8 -38.0 -14.0 Jul/63 -2.5 -25.7 -1.2 Aug/63 -0.2 -15.6 Sep/63 13.2 -2.8 -26.4 -0.7 Q3/63 -11.0 -11.1 9.4 Oct/63


TCC

ดัชนีการลงทุนของภาคเอกชน มีสัญญาณฟนตัวในไตรมาสที่ 3/2563 10.0

Business Cycle of the Private Investment Index (PII)

5.0 %YoY

0.0 -5.0

-10.0 -15.0 -20.0

พื้นที่ไดรับอนุญาตกอสรางทั่วประเทศใน เดือน ส.ค. 2563 มีอัตราการขยายตัว สูงที่สุดในรอบ 18 เดือน Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

PII

PII (12M-MA)

ไตรมาส /เดือน Q1/63 Q2/63 Jul/63 Aug/63 Sep/63 Q3/63 Oct/63

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%YoY) พื้นที่ไดรับ ดัชนีการ การนำเขา อนุญาต จำหนายวัสดุ สินคาทุนฯ กอสรางฯ กอสรางฯ -9.7 -1.9 -0.3 -18.5 -0.5 7.3 -20.1 0.3 1.5 -12.1 1.8 1.0 -7.9 0.5 -0.5 -13.4 0.8 0.7 -15.6 -1.0 -0.5

การสงออกสินคา (ในรูปดอลลารฯ) มีสัญญาณฟนตัวในไตรมาสที่ 3/2563 10.0 5.0 %YoY

0.0

Business Cycle of the Total Export of Goods (in US Dollars) ยอดการสงออกสินคา (ในรูปดอลลารฯ) กลับมา มีมูลคาสูงเกินกวาระดับ 20,000 ลานดอลลารฯ/เดือน ไดอีกครั้งในเดือน ส.ค. 2563

-5.0

-10.0 -15.0 -20.0

Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

Export

ไตรมาส/เดือน Q1/63 Q2/63 Jul/63 Aug/63 Sep/63 Q3/63 Oct/63

Export ส/ค รวม (%YoY) (ลาน USD) 62,672.1 0.9 51,670.9 -15.2 18,819.5 -11.4 20,212.4 -7.9 19,621.3 -3.9 58,653.1 -7.8 19,376.7 -6.7

Export (12M-MA)

%YoY

รายไดเกษตรกรขยายตัวอยางชัดเจนในไตรมาสที่ 3/2563 20.0 15.0 10.0 5.0 0.0 -5.0 -10.0 -15.0 -20.0 -25.0

Business Cycle of the Farm Income Index (FII)

ดัชนีราคาสินคาที่เกษตรกรขายไดในเดือน ก.ค. 2563 กลับมาขยายตัวเปนบวกได อีกครั้งภายหลังจากการคลาย Lockdown Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

FII

FII (12M-MA)

ไตรมาส /เดือน Q1/63 Q2/63 Jul/63 Aug/63 Sep/63 Q3/63 Oct/63

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%YoY) ดัชนีราคา ดัชนีผลผลิต ดัชนีรายได ส/ค เกษตร ส/ค เกษตร เกษตรกร -7.8 -15.2 8.7 -7.1 -5.6 -1.3 0.0 -2.0 2.0 8.2 0.5 7.7 9.5 0.0 9.5 5.9 -0.5 6.4 12.2 -0.2 12.4 ดัชนีรายไดเกษตรกรที่ถีบตัวเพิ่มสูงขึ้น อยางมากเปนผลมาจากการเพิ่มสูงขึ้นของ ราคาสินคาเกษตรเปนหลัก 27


TCC

%YoY

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมมีสัญญาณฟนตัวในไตรมาสที่ 3/2563 10.0 5.0 0.0 -5.0 -10.0 -15.0 -20.0 -25.0 -30.0

Business Cycle of the Manufacturing Production Index (MPI)

ยอดการสงออกสินคาประเภทอุตสาหกรรม (ในรูป ดอลลารฯ) กลับมามีมูลคาสูงเกินกวาระดับ 15,000 ลานดอลลารฯ/เดือน ไดอีกครั้งในเดือน ก.ค. 2563 Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

MPI

Export ส/ค ไตรมาส ดัชนีผลผลิตภาคอุตฯ(MPI) อุตสาหกรรม /เดือน (Index) (%YoY) (ลาน USD) Q1/63 53,609.8 -6.4 102.8 Q2/63 42,017.0 -20.0 80.2 Jul/63 15,612.0 -12.9 87.2 Aug/63 15,878.9 -9.1 91.7 Sep/63 17,454.0 -2.1 95.3 Q3/63 48,944.9 -8.1 91.4 Oct/63 17,533.8 -0.5 95.7

MPI (12M-MA)

ผลผลิตภาคบริการเริ่มเห็นสัญญาณของการฟนตัวในไตรมาสที่ 3/2563 10.0

Business Cycle of the Service Production Index (SPI)

5.0 %YoY

0.0 -5.0 -10.0 -15.0 -20.0

ดัชนีผลผลิตภาคบริการในเดือน ต.ค. 2563 กลับมา หดตัวในระดับเลข 1 หลักไดอีกครั้งภายหลังจาก การระบาดของเชื้อ COVID-19 Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

SPI

ไตรมาส /เดือน Q1/63 Q2/63 Jul/63 Aug/63 Sep/63 Q3/63 Oct/63

อัตราการเปลี่ยนแปลง (%YoY) SPI SPI SPI ภาคการคา ภาคทองเที่ยว รวม -6.5 -1.3 -37.0 -15.9 -9.5 -96.7 -15.9 -9.0 -81.1 -14.5 -7.2 -79.1 -14.0 -6.8 -76.4 -14.8 -7.7 -78.9 -7.7 -2.3 -76.2

SPI (12M-MA)

ตั้งแตไตรมาสที่ 2/2563 เปนตนมาภาคการทองเที่ยวยังคงหดตัวอยางตอเนื่อง

%YoY

60.0 40.0 20.0 -40.0 -60.0 -80.0 -100.0 -120.0

ถึงแมวาจำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศจะยัง ไมเห็นสัญญาณของการฟนตัว แตอัตราการเขา พักแรมกลับฟนตัวขึ้นจากมาตรการกระตุนการ ทองเที่ยวภายในประเทศ Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

Number of International Tourist Arrival 28

90.0 80.0 70.0 60.0 50.0 40.0 30.0 20.0 10.0 0.0

Percent

Number of International Tourist Arrival v.s. Accommodation Occupancy Rate

Accommodation Occupancy Rate(LHS)

ไตรมาส /เดือน Q1/63 Q2/63 Jul/63 Aug/63 Sep/63 Q3/63 Oct/63

จน. นทท. ตปท. (พันคน) (%YoY) -38.0 6,691.6 -100.0 0.0 -100.0 0.0 -100.0 0.0 -100.0 0.0 -100.0 0.0 -100.0 1.2

อัตราการ เขาพักแรม (รอยละ) 52.4 6.5 25.4 26.9 27.9 26.8 30.4


TCC

สินเชื่อเติบโตต่ำกวาเงินฝากอยางชัดเจนในชวงที่เกิดการแพรระบาดของ COVID-19 12.0

%YoY

9.0

Total Credits v.s. Total Deposits สินเชื่อยังคงเติบโตไดในชวงที่เกิดการแพรระบาด แต เงินฝากเติบโตเพิ่มขึ้นอยางมากในชวงดังกลาว เนื่องจาก ครัวเรือน/ธุรกิจตางพยายามลดความเสี่ยง

6.0 3.0 0.0

Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

Number of International Tourist Arrival

Accommodation Occupancy Rate(LHS)

ไตรมาส /เดือน Q1/63 Q2/63 Q3/63 Oct/63

มูลคา (ลานบาท) สินเชื่อ สภาพคลอง เงินฝาก 14,300,817 13,597,281 703,536 15,116,174 14,043,657 1,072,517 15,194,446 14,025,736 1,168,710 15,112,917 13,938,876 1,174,041

- ปจจุบันธนาคารพาณิชยทั้งระบบมี สภาพคลองสวนเกินเกือบ 1.2 ลานลานบาท - ทำใหมีโอกาสต่ำที่จะมีการปรับขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยในระยะอันใกลนี้ - หากรัฐบาลออกมาตรการกระตุนใหกลุม คนที่มีเงินฝากนำมาใชจายก็จะชวยให เศรษฐกิจฟนตัวไดเร็วขึ้น

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจมหภาคในปี 2563-2564 ปจจัยลบตอเศรษฐกิจไทยในป 2563-2564 การแพรระบาดของ COVID-19 ที่ยืดเยื้อ ทำใหกิจกรรมทาง เศรษฐกิจบางสวนชะลอตัว ความเสี่ยงจากสถานการณ ภัยแลง/ฝนทิ้งชวงมีแนวโนม เพิ่มสูงขึ้นอยางมาก

ความเปราะบางทางการเมือง ทำใหความเชื่อมั่นของผูบริโภค และนักลงทุนลดลง ตูคอนเทนเนอรขาดแคลน ทำใหผูสงออกสงมอบสินคา ไมทันตามกำหนด

เงินบาทแข็งคาเร็วกวาปกติ และมีแนวโนมแข็งคาตอเนื่อง ความไมแนนอนของสถานการณ ความตึงเครียดระหวางสหรัฐฯ กับจีน

ปจจัยบวกตอเศรษฐกิจไทยในป 2563-2564 การพัฒนาวัคซีนปองกันเชื้อ COVID-19 มีความกาวหนา เปนอยางมาก ภาครัฐออกมาตรการเยียวยา กระตุนและฟนฟูเศรษฐกิจ อยางตอเนื่อง

เศรษฐกิจจีนฟนตัวเร็วกวา ที่นักวิเคราะหเคยคาดการณ เอาไว

การลงทุนของภาครัฐมีโอกาส เรงตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับปกอน

ภาคการผลิตและภาคบริการทั่วโลก เริ่มที่จะฟนตัวภายหลังจากการ คลาย Lockdown ธนาคารกลางทั่วโลกตางปรับ นโยบายการเงินเปนแบบ ผอนคลาย

29


TCC

ขอสมมติประกอบการประมาณการภาวะเศรษฐกิจมหภาคในป 2563-2564 (สรุป) 2562 -0.50 2.90 39.8 31.0 63.2 3.69 1.58 2.14

2561 3.50 3.60 38.3 32.3 69.2 3.60 1.56 1.83

หนวย ตัวแปรภายนอก/ตัวแปรนโยบาย %YoY ปริมาณการคาโลก %YoY GDP โลก ลานคน จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ บาทตอดอลลารสหรัฐฯ อัตราแลกเปลี่ยน ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล ราคาน้ำมันดิบตลาดดูไบ ลานลานบาท รายจายภาคสาธารณะ รอยละตอป อัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศไทย รอยละตอป อัตราดอกเบี้ยนโยบายของประเทศสหรัฐฯ

2563F (ณ ธ.ค. 63) (ณ ส.ค. 63) -6.75 -9.00 -4.36 -5.00 6.7 6.8-7.5 31.7(30.5-32.5) 30.5-32.5 41.7(25.0-65.0) 30.0-50.0 3.94 3.91 0.50 0.25-0.50 0.00-0.25 0.00-0.25

2564F (ณ ธ.ค. 63) 4.00 5.15 4.0(2.6-6.0) 30.4(29.5-31.5) 44.2(35.0-55.0) 4.29 0.25-0.50 0.00-0.25

ขอสมมติที่ 1: ปริมาณการคาโลก & GDP โลก ปริมาณการคาโลก v.s. GDP โลก

20.00 15.00 10.00 5.00 0.00 -5.00 -10.00 -15.00

%YoY

5.154.00

ป 2563F -6.75 -4.36

2564F 4.00 5.15

6.75

-

20 02 20 03 20 04 20 05 20 06 20 07 20 08 20 09 20 10 20 11 20 12 20 13 20 14 20 15 20 16 20 17 20 18 20 19 20 20 F 20 21 F

-4.36 -

เครื่องบงชี้ เศรษฐกิจโลก (%) ปริมาณการคาโลก GDP โลก

ปริมาณการคาโลก

GDP โลก

ขอสมมติที่ 2: จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ จำนวน นทท. ตปท. (ลานคน) กรณีฐาน กรณีที่แยกวา กรณีที่ดีกวา

Base Case (4.0 ลค.) 30

Worse Case (2.6 ลค.)

Q4/64F

Q3/64F

Q2/64F

Q1/64F

Q4/63F

Q3/63

Q2/63

Q1/63

Q4/62

Q3/62

Q2/62

Q1/62

พันคน

20.00 15.00 10.00 5.00 0.00 -5.00 -10.00 -15.00

Better Case (6.0 ลค.)

สมมติฐาน ป ในการเปดรับ นทท. ตปท. 2563F 2564F ปลาย Q3/64 4.0 ตน Q4/64 2.6 6.7 ตน Q3/64 6.0


TCC

ประเทศที่พัฒนาแลวตางแยงกันกักตุนวัคซีนปองกันเชื้อไวรัส COVID-19

การแจกจายวัคซีนปองกันเชื้อไวรัส COVID-19 มีความซับซอน และใชเวลาคอนขางนาน

31


TCC

การมีวัคซีนปองกันเชื้อไวรัส COVID-19 จะไมทำใหขอจำกัดการเดินทางระหวางประเทศหมดไป E-Vaccination Certificates for Travel (Immunity Passport)

อุปสงคของการเดินทางระหวางประเทศทางอากาศอาจจะตองใชเวลานานในการฟนตัว อุปสงคของการเดินทางระหวางประเทศทางอากาศอาจจะตองใชเวลา อยางนอย 4 ปจึงจะกลับคืนไปเทากับชวงกอนที่จะเกิด COVID-19

32


TCC

THB/USD

ขอสมมติที่ 3: อัตราแลกเปลี่ยน (บาทตอดอลลารสหรัฐฯ) 34.0 33.5 33.0 32.5 32.0 31.5 31.0 30.5 30.0

Business Cycle of the Thai Baht อัตราแลกเปลี่ยน (บาท/USD)

Jul-18, 33.3 Apr-20, 32.6

คาเฉลี่ย Lower Bound Upper Bound

Apr-19, 31.9 Mar-18, 31.3

Feb-19, 31.3

Dec-19, 30.2

ป 2563F 2564F 30.4 31.7 29.5 30.5 30.9 32.5

Dec-20, 30.1

Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

Thai Baht

Thai Baht (12M-MA)

เงินทุนไหลเขาทำใหเงินบาทแข็งคาอยางรวดเร็ว และมีแนวโนมแข็งคาอยางตอเนื่อง

33


TCC

ขอสมมติที่ 4: ราคาน้ำมันดิบตลาดดูไบ Business Cycle of the Dubai’s Crude Oil Price

80.0

ราคาน้ำมันดิบตลาดดูไบ (USD/BBL)

USD/BBL

70.0 60.0 50.0

42.6

40.0 30.0

คาเฉลี่ย Lower Bound Upper Bound

ป 2563F 2564F 44.2 41.7 35.0 25.0 55.0 65.0

23.3

20.0

Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

Dubai’s Crude Oil Price

Dubai’s Crude Oil Price (12M-MA)

ขอสมมติที่ 5: รายจายภาคสาธารณะ รายจายภาคสาธารณะตามระบบบัญชีประชาชาติ (SNA)

3,688,715

ป รายจายภาคสาธารณะ ตามระบบ SNA 2563F 2564F (ลานบาท) 2,722,780 การอุปโภคบริโภค 2,851,305 3,034,465 ของรัฐบาล (CG) 1,085,716 1,257,396 965,935 การลงทุนของ ภาครัฐ (IG) รายจาย 3,937,021 4,291,861 ภาคสาธารณะ (รวม)

20 0 20 0 0 20 1 0 20 2 0 20 3 0 20 4 0 20 5 0 20 6 0 20 7 0 20 8 0 20 9 1 20 0 1 20 1 1 20 2 1 20 3 1 20 4 1 20 5 1 20 6 1 20 7 1 20 8 19

ลานบาท

4,000,000 3,500,000 3,000,000 2,500,000 2,000,000 1,500,000 1,000,000 500,000 0

การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล

การลงทุนของภาครัฐ

รายจายภาคสาธารณะ

รายจายภาคสาธารณะเปนปจจัยสำคัญที่ชวยสนับสนุนการฟนตัวทางเศรษฐกิจในป 2564 รายจายภาคสาธารณะที่สามารถใชไดในป 2564 - วงเงินงบประมาณรายจายประจำป พ.ศ. 2564 มูลคา ประมาณ 3.3 ลลบ. (ที่ไมลาชาเหมือน 2 ปที่ผานมา) - งบฟนฟูเศรษฐกิจ (ตามพรบ. กูเงิน 1 ลลบ.) ที่มีวงเงินเหลือ ใหเบิกจายไดอีกมูลคาประมาณ 500,000-600,000 ลบ. - งบลงทุนรัฐวิสาหกิจมูลคาประมาณ 291,000 ลบ.

34

แผนงาน 1. แผนงานดานสาธารณสุขและ เยียวยาผูที่ไดรับผลกระทบ 1.1 แผนงานดานสาธารณสุข 1.2 แผนงานเยียวยาผูที่ไดรับ ผลกระทบ 2. แผนงานฟนฟูเศรษฐกิจและสังคม รวม

มูลคา (ลานบาท) กรอบวงเงิน อนุมัติแลว คงเหลือ 600,000.0 303,627.6 296,372.4 45,000.0 2,555.5 42,444.5 555,000.0 365,657.7 189,342.3 400,000.0 120,053.4 279,946.6 1,000,000.0 423,681.0 576,319.0


TCC

มูลคารายจายภาคสาธารณะที่คาดวาจะลงสูระบบเศรษฐกิจในแตละไตรมาสของป 2564 รายจายภาคสาธารณะตามระบบ SNA (ลานบาท) การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล (CG) การลงทุนของภาครัฐ (IG) รายจายภาคสาธารณะ (รวม)

ไตรมาส Q1/64 727,507 290,414 1,017,921

Q2/64 727,919 322,940 1,050,859

ทั้งป

Q4/64 770,520 282,664 1,053,184

Q3/64 808,520 361,378 1,169,898

3,034,465 1,257,396 4,291,861

ขอสมมติที่ 6: อัตราดอกเบี้ยนโยบาย

Percent

2.50

Thailand’s Policy Rate v.s. U.S.’s Policy Rate

2.00

อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (รอยละ)

1.50

ประเทศไทย ประเทศสหรัฐฯ

1.00

ป 2564F 2563F 0.25-0.50 0.50 0.00-0.25 0.00-0.25

0.50 0.00

Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

Thailand’s Policy Rate

U.S.’s Policy Rate

ตารางสรุปประมาณการภาวะเศรษฐกิจมหภาคในป 2563-2564 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) - GDP ภาคเกษตร - GDP นอกภาคเกษตร การอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล การลงทุนรวม - การลงทุนของภาคเอกชน - การลงทุนของภาครัฐ การสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ การนำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ สัดสวนดุลบัญชีเดินสะพัดตอจีดีพี จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ อัตราเงินเฟอทั่วไป สัดสวนหนี้สินภาคครัวเรือนตอจีดีพี

หนวย

2562

%YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY % ตอ GDP ลานคน %YoY % ตอ GDP

2.4 0.1 2.6 4.5 1.4 2.2 2.8 0.2 -2.7 -4.7 6.9 38.3 0.7 80.5

(ณ ส.ค. 63) -9.4 -5.9 -10.4 -2.6 4.5 -8.0 -13.6 7.7 -10.2 -19.5 1.0 39.8 -1.5 90.5

2563F

(ณ ธ.ค. 63) -6.3 -1.3 -6.8 -1.0 3.9 -4.7 -10.7 12.2 -7.4 -13.1 4.0 6.7 -0.9 87.7

2564F (ณ ธ.ค. 63) 2.8 1.8 2.9 2.7 5.0 6.7 2.8 12.6 3.5 4.5 3.7 4.0 1.0 84.5

ที่มา: ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มกค. 35


TCC

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจมหภาคในป 2563-2564 (สรุป) เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ 2563F 2564F ที่สำคัญ (หนวย: %YoY) -6.3

การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล

3.9

การลงทุนของภาครัฐ การสงออกสินคาในรูป ดอลลารสหรัฐฯ

12.2 -7.4

-1.0

- ฟนตัวแบบคอยเปนคอยไป โดยมีปจจัยกดดันจาก ความเปราะบางของตลาดแรงงาน และปญหาภัยแลง แตจะไดมาตรการของภาครัฐชวยสนับสนุน 2.8 - ฟนตัวอยางชาๆ ตามการสงออก และภาวะเศรษฐกิจ ในประเทศ 5.0 - ขยายตัวไดดีจากวงเงินงบประมาณรายจายประจำป และงบฟนฟูเศรษฐกิจ (พรบ. กูเงิน 1 ลานลานบาท) 12.6 - การเรงเบิกจายงบประมาณของหนวยงานภาครัฐ 3.5 - ฟนตัวแบบคอยเปนคอยไป โดยมีปจจัยกดดันจากการ ขาดแคลนตูคอนเทนเนอรซึ่งจะมีผลจนถึงชวงครึ่งแรก 1.0 ของป 2564 และเงินบาทที่มีแนวโนมแข็งคาตอเนื่อง - มีแนวโนมพลิกกลับมาเปนบวกจากราคาน้ำมันดิบโลก ที่คาดวาจะปรับตัวเพิ่มขึ้นและการฟนตัวของเศรษฐกิจ ในประเทศ

9.5

10.00

2.7

-0.9

อัตราเงินเฟอทั่วไป

15.00

- GDP จะกลับมาขยายตัวเปนบวกไดอีกครั้งใน Q2/64

5.00 2.9 2.4 2.6 0.00

3.3

1.5 -2.0

-2.6 -6.4

-5.00 -10.00

2.2

-4.9

-12.2

-15.00 Q1/62 Q2/62 Q3/62 Q4/62 Q1/63 Q2/63 Q3/63 Q4/63F Q1/64F Q2/64F Q3/64F Q4/64F

-10.7

2.8

%YoY

ผลิตภัณฑมวลรวมใน ประเทศ (GDP) การอุปโภคบริโภคของ ภาคเอกชน การลงทุนของภาคเอกชน

แนวโนมการคาดการณ GDP ในป 2563-2564

ประเด็นที่สำคัญในป 2564

%เทียบกับระดับน้ำเก็บกักของอางฯ

ปญหาภัยแลงมีผลทำใหมูลคาการอุปโภคบริโภคของภาคเอกชนขยายตัวต่ำกวาที่ควรจะเปน 55.0 50.0 45.0 40.0 35.0 30.0 24.7 25.0 26.0 20.0 15.0 10.0 5.0 Jan

สัดสวนน้ำในเขื่อนที่สามารถใชการไดตอความจุเขื่อนทั้งหมด

21.5 22.0

Feb

18.0 18.0 Mar

2557-2559

36

25.5 15.0 15.0 Apr

12.7

12.2

13.6

11.0

10.0 Jun

10.0 Jul

May

2560-2561

2562

18.9 15.0 Aug

30.5

30.6

29.0

28.0

29.0

27.2

20.0 Sep

2563

Oct

สัดสวนน้ำในเขื่อนที่สามารถใชการได ตอความจุเขื่อนทั้งหมด (เฉลี่ย) 2557-2559 22.1 2560-2561 36.4 2562 27.7 2563 19.3 2564F 21.0 ป

Nov

2564F

Dec

- ในป 2554 คาดวาสัดสวนน้ำในเขื่อนที่สามารถ ใชการไดตอความจุเขื่อนทั้งหมด (เฉลี่ย) จะอยูที่ ระดับ 21.0% ซึ่งดีกวาป 2563 เล็กนอย - สถานการณภัยแลงในฤดูแลง (4 เดือนแรกของ ป 2564) มีแนวโนมใกลเคียงกับสถานการณภัยแลง ในป 2563


TCC

ปญหาขาดแคลนตูคอนเทนเนอรมีผลทำใหมูลคาการสงออกสินคาขยายตัวต่ำกวาที่ควรจะเปน Baltic Exchange Dry Index (BDI) v.s. World Trade Volume Index (WTVI)

2,400.0

140.0

2,000.0

130.0

Index

1,600.0

Index

120.0

1,200.0 800.0

110.0

400.0

100.0

Jan-18 Apr-18 Jul-18 Oct-18 Jan-19 Apr-19 Jul-19 Oct-19 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20

BDI

สาเหตุของปญหา - สายการเดินเรือมีนโยบายจัดสรรตูคอนเทนเนอร กลับไปยังจีนและเวียดนามมากเนื่องจากใหอัตรา คาระวางที่สูงกวาไทย - การระบาดของ COVID-19 รอบที่ 2 ในยุโรปและ สหรัฐฯ ทำใหตูคอนเทนเนอรเกิดปญหาตกคางที่ ทาเรือปลายทางเปนจำนวนมาก

WTVI (LHS)

ขอสมมติประกอบการวิเคราะหสถานการณในป 2563 ประเด็น สถานการณ COVID-19 สถานการณทางการเมือง

กรณีที่แยกวา (Worse Case) กรณีฐาน (Base Case) กรณีที่ดีกวา (Better Case) จำนวนผูติดเชื้อไวรัส COVID-19 ทั่วโลกยังคงพุงสูงขึ้นในระดับที่นากังวล แตประเทศไทยยังคงสามารถควบคุมการแพรระบาดไดดี มีการชุมนุมแบบไมยืดเยื้ออยางตอเนื่อง มีการชุมนุมแบบไมยืดเยื้ออยางตอเนื่อง ผูชุมนุมยุติการชุมนุมฯ ชั่วคราว และเกิดความรุนแรง/เหตุการณ แตไมเกิดความรุนแรง/ ทำใหความเชื่อมั่นของผูบริโภค บานปลาย ทำใหระดับความเชื่อมั่นของ เหตุการณบานปลาย และนักลงทุนปรับตัวเพิ่มขึ้น ผูบริโภคและนักลงทุนปรับตัวลดลง จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ 6.7 ลานคน ปริมาณการคาโลก -7.00% -6.75% -6.50% (-0.25% จากกรณีฐาน) (+0.25% จากกรณีฐาน)

ผลการวิเคราะหสถานการณสำหรับเศรษฐกิจมหภาคในป 2563 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) - GDP ภาคเกษตร - GDP นอกภาคเกษตร การอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล การลงทุนรวม - การลงทุนของภาคเอกชน - การลงทุนของภาครัฐ การสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ การนำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ สัดสวนดุลบัญชีเดินสะพัดตอจีดีพี จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ อัตราเงินเฟอทั่วไป สัดสวนหนี้สินภาคครัวเรือนตอจีดีพี โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ

หนวย %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY % ตอ GDP ลานคน %YoY % ตอ GDP %

กรณีที่แยกวา (Worse Case) -6.6 -1.7 -7.1 -1.2 3.9 -5.0 -11.0 12.2 -7.7 -13.2 3.9 6.7 -1.0 88.0 20.0

กรณีฐาน (Base Case) -6.3 -1.3 -6.8 -1.0 3.9 -4.7 -10.7 12.2 -7.4 -13.1 4.0 6.7 -0.9 87.7 65.0

กรณีที่ดีกวา (Better Case) -6.0 -1.0 -6.5 -0.7 3.9 -4.3 -10.1 12.2 -7.0 -13.1 4.1 6.7 -0.8 87.3 15.0 37


TCC

ขอสมมติประกอบการวิเคราะหสถานการณในป 2564 ประเด็น สถานการณ COVID-19 สถานการณทางการเมือง จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ คาเงินบาท ปริมาณการคาโลก การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล การลงทุนของภาครัฐ

กรณีที่แยกวา (Worse Case) กรณีฐาน (Base Case) กรณีที่ดีกวา (Better Case) ทั่วโลกเริ่มควบคุมการแพรระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ไดตั้งแตไตรมาสที่ 3/2564 เปนตนไป ยังคงมีการชุมนุมแบบไมยืดเยื้ออยางตอเนื่อง แตไมเกิดความรุนแรง/เหตุการณบานปลาย 2.6 ลานคน (-1.4 ลานคนจากกรณีฐาน) 4.0 ลานคน 6.0 ลานคน (+2.0 ลานคนจากกรณีฐาน) 29.5 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ 30.4 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ 30.9 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ (-3.0% จากกรณีฐาน) (+1.5% จากกรณีฐาน) 3.50% (-0.5% จากกรณีฐาน) 4.00% 4.50% (+0.5% จากกรณีฐาน) 3,034,465 ลานบาท 3,019,293 ลานบาท (-0.5% จากกรณีฐาน) 1,257,396 ลานบาท 1,244,822 ลานบาท (-1.0% จากกรณีฐาน)

ผลการวิเคราะหสถานการณสำหรับเศรษฐกิจมหภาคในป 2564 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) - GDP ภาคเกษตร - GDP นอกภาคเกษตร การอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล การลงทุนรวม - การลงทุนของภาคเอกชน - การลงทุนของภาครัฐ การสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ การนำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ สัดสวนดุลบัญชีเดินสะพัดตอจีดีพี จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ อัตราเงินเฟอทั่วไป สัดสวนหนี้สินภาคครัวเรือนตอจีดีพี โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ

หนวย %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY % ตอ GDP ลานคน %YoY % ตอ GDP %

กรณีที่แยกวา (Worse Case) 1.8 0.8 1.8 2.5 4.5 6.4 2.6 12.0 4.2 6.0 3.1 2.6 0.8 85.4 30.0

กรณีฐาน (Base Case) 2.8 1.8 2.9 2.7 5.0 6.7 2.8 12.6 3.5 4.5 3.7 4.0 1.0 84.5 50.0

กรณีที่ดีกวา (Better Case) 3.8 2.9 3.9 3.0 5.0 6.9 3.0 12.6 3.5 3.9 4.4 6.0 1.2 83.6 20.0

ประมาณการภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคในปี 2563-2564 ตารางสรุปประมาณการภาวะเศรษฐกิจภูมิภาคในป 2563-2564 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) - GDP ภาคเกษตร - GDP นอกภาคเกษตร + GRP กรุงเทพฯ และปริมณฑล + GRP ภาคกลาง + GRP ภาคตะวันออก + GRP ภาคตะวันตก + GRP ภาคเหนือ + GRP ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ + GRP ภาคใต ที่มา: ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มกค. 38

หนวย %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY

2560 4.1 4.7 4.0 4.6 1.4 5.7 4.2 4.2 3.3 0.4

2561 4.2 5.5 4.0 5.0 1.1 2.8 4.5 4.8 3.4 4.4

2562 2.4 -0.2 2.6 2.8 5.1 0.1 0.1 2.5 3.6 2.6

2563F (ณ ธ.ค. 63) -6.3 -1.3 -6.8 -6.4 -1.0 -9.9 -7.0 -4.2 -4.5 -5.6

2564F (ณ ธ.ค. 63) 2.8 1.8 2.9 1.6 0.0 7.8 2.5 2.6 3.4 1.6


TCC

การเปรียบเทียบเปอรเซนตการเปลี่ยนแปลงของ GRP & GDP ในป 2562-2564

การที่เศรษฐกิจของแตละภูมิภาคเกิดภาวะถดถอยในป 2563 มีสาเหตุหลักมาจากการหดตัวของภาคบริการ Regional

Agri. Bangkok & Vicinities 0.0 Central -0.5 Eastern -0.1 Western -0.4 Northern -0.1 Northeastern 0.7 Southern -0.1

Sector Indus. -1.5 1.1 -7.7 -2.6 -1.3 -2.2 -0.7

Serv. -5.0 -1.6 -2.1 -4.0 -2.8 -3.1 -4.9

GRP -6.4 -1.0 -9.9 -7.0 -4.2 -4.5 -5.6

ปจจัยหลักที่ทำใหเศรษฐกิจของภาค ตะวันออกเกิดภาวะถดถอยในป 2563 มาจากการหดตัวของภาคอุตสาหกรรม

39


TCC

การที่เศรษฐกิจของแตละภูมิภาคฟนตัวในป 2564 มีสาเหตุหลักมาจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม Regional

Agri. Bangkok & Vicinities 0.0 Central 0.2 Eastern -0.1 Western -0.1 Northern 0.5 Northeastern 0.7 Southern 0.1

Sector Indus. Serv. 1.0 0.6 -0.2 0.0 7.3 0.6 2.0 0.6 2.0 0.2 2.1 0.5 1.4 0.0

GRP 1.6 0.0 7.8 2.5 2.6 3.4 1.6

ภูมิภาคหลักที่ชวยขับเคลื่อนการฟนตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2564 คือ ภาคตะวันออก & กรุงเทพฯ+ Contributions to Growth (Unit: %YoY) Bangkok & Vicinities Central Eastern Western Northern Northeastern Southern GDP

40

Year 2020 -3.0 -0.1 -1.8 -0.2 -0.3 -0.4 -0.5 -6.3

2021 0.7 0.0 1.4 0.1 0.2 0.3 0.1 2.8


TCC

การวิเคราะหสถานการณสำหรับเศรษฐกิจภูมิภาคในป 2563 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) - GDP ภาคเกษตร - GDP นอกภาคเกษตร การอุปโภคบริโภคของภาคเอกชน การอุปโภคบริโภคของรัฐบาล การลงทุนรวม - การลงทุนของภาคเอกชน - การลงทุนของภาครัฐ การสงออกสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ การนำเขาสินคาในรูปดอลลารสหรัฐฯ สัดสวนดุลบัญชีเดินสะพัดตอจีดีพี จำนวนนักทองเที่ยวตางประเทศ อัตราเงินเฟอทั่วไป สัดสวนหนี้สินภาคครัวเรือนตอจีดีพี โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ

หนวย %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY % ตอ GDP ลานคน %YoY % ตอ GDP %

กรณีที่แยกวา (Worse Case) 1.8 0.8 1.8 2.5 4.5 6.4 2.6 12.0 4.2 6.0 3.1 2.6 0.8 85.4 30.0

กรณีฐาน (Base Case) 2.8 1.8 2.9 2.7 5.0 6.7 2.8 12.6 3.5 4.5 3.7 4.0 1.0 84.5 50.0

กรณีที่ดีกวา (Better Case) 3.8 2.9 3.9 3.0 5.0 6.9 3.0 12.6 3.5 3.9 4.4 6.0 1.2 83.6 20.0

กรณีฐาน (Base Case) 2.8 1.8 2.9 1.6 0.0 7.8 2.5 2.6 3.4 1.6 50.0

กรณีที่ดีกวา (Better Case) 3.8 2.9 3.9 2.4 1.2 9.8 3.5 3.6 4.4 2.6 20.0

ที่มา: ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มกค.

การวิเคราะหสถานการณสำหรับเศรษฐกิจภูมิภาคในป 2564 เครื่องบงชี้ทางเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (GDP) - GDP ภาคเกษตร - GDP นอกภาคเกษตร + GRP กรุงเทพฯ และปริมณฑล + GRP ภาคกลาง + GRP ภาคตะวันออก + GRP ภาคตะวันตก + GRP ภาคเหนือ + GRP ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ + GRP ภาคใต โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ

หนวย %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %YoY %

กรณีที่แยกวา (Worse Case) 1.8 0.8 1.8 0.8 -1.3 5.9 1.6 1.6 2.4 0.7 30.0

ที่มา: ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มกค.

41


TCC

ผลกระทบจากมาตรการยกระดับ 28 จังหวัด ให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด ที่มีต่อเศรษฐกิจไทย พื้นที่ที่ประกาศใชมาตรการควบคุมแบบบูรณาการ (4 ม.ค. 64) 1 พื้นที่ควบคุมสูงสุด (28 จังหวัด)

2 พื้นที่ควบคุม (11 จังหวัด) 3 พื้นที่เฝาระวังสูง (38 จังหวัด)

ตาก, นนทบุรี, ปทุมธานี, พระนครศรีอยุธยา, สระบุรี, ลพบุรี, สิงหบุรี, อางทอง, นครนายก, กาญจนบุรี, นครปฐม, ราชบุรี, สุพรรณบุรี, ประจวบคีรีขันธ, เพชรบุรี, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร, ฉะเชิงเทรา, ปราจีนบุรี, สระแกว, สมุทรปราการ, จันทบุรี, ชลบุรี, ตราด, ระยอง, ชุมพร, ระนอง, กรุงเทพฯ

ระดับของ ม นครสวรรคล อุทัยธานี, ชัยนาท, เพชรบูรณ, ชัยภูมิ, บุรีรัมย สุโขทัยการควบคุ , กำแพงเพชร, นครราชสีมา, สุราษฎรธานี, พังงา จังหวัดที่เหลือของประเทศไทย จำนวน 38 จังหวัด

4 พื้นที่เฝาระวัง

Soft Lockdown v.s. Hard Lockdown ลักษณะของการควบคุม Soft Lockdown Hard Lockdown สถานศึกษา ปดสถานศึกษา และเรียนทางออนไลน สถานที่ราชการ ปดสถานที่ราชการ และใหขาราชการ WFH สถานที่ทำงาน ขอความรวมมือภาคเอกชนใหพนักงาน WFH เปดแบบจำกัดเวลา ปด หางสรรพสินคา/ศูนยการคา สถานที่เสี่ยงแพรเชื้อโรค เชน สถานบันเทิง ปด เปด ปด สนามบิน/สถานีขนสงทางบก/ทาเรือโดยสาร เป ด เป ด เฉพาะแผนกอาหาร ตลาดสด/ซุปเปอรมารเก็ต นั่งทาน & ซื้อกลับ ซื้อกลับบานทุกชวงเวลา ภัตตาคาร/รานอาหาร กิจกรรมเสี่ยงแพรโรค เชน อีเวนท คอนเสิรต หามจัด งด/ชะลอการเดินทางขามเขตพื้นที่จังหวัด ขอใหงด/ชะลอ ถาจะเดินทางตองมีเอกสารรับรอง ไมหาม หามเฉพาะชวงเวลาที่กำหนด หามออกนอกเคหสถาน ไมระงับ ระงับ ระงับบริการเที่ยวบินพาณิชยภายในประเทศ และระงับบริการเดินทางดวยรถทัวร/รถไฟ ไมควบคุม ควบคุม ควบคุมการเดินทางเขาราชอาณาจักร

กิจกรรม/มาตรการ

สถานที่

สถานที่/กิจกรรม/มาตรการ

42


TCC

โครงสรางเศรษฐกิจของแตละพื้นที่ มูลคา (พันลานบาท) ณ ป 2561* จำนวน ระดับของ (จังหวัด) การควบคุม เกษตร อุตฯ บริการ รวมทั้งสิ้น 28 GPP ของจังหวัดในพื้นที่สีแดง ควบคุมสูงสุด 453.7 4,500.0 7,316.4 12,270.1 11 GPP ของจังหวัดในพื้นที่สีสม ควบคุม 264.5 276.3 619.5 1,160.3 38 GPP ของจังหวัดในพื้นที่สีเหลือง เฝาระวัง 611.8 506.2 1,817.2 2,935.2 N/A GDP ของประเทศ N/A 1,330.0 5,282.5 9,753.1 16,365.6 GPP/GDP

สัดสวน (รอยละ) ณ ป 2561* เกษตร อุตฯ บริการ รวมทั้งสิ้น 34.1 85.2 75.0 75.0 19.9 5.2 6.4 7.1 46.0 9.6 18.6 17.9 100.0 100.0 100.0 100.0

หมายเหตุ: *ขอมูลผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) ที่เผยแพรลาสุดคือป 2561 ที่มา: สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, คำนวณโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการคาไทย

ขอสมมติประกอบการประเมินผลกระทบฯ รูปแบบของมาตรการ Soft Lockdown

Hard Lockdown

จำนวน ระดับของ รูปแบบของมาตรการ (จังหวัด) การควบคุม สีแดง 28 ควบคุมสูงสุด - กิจกรรมในสาขาการผลิตบางสวน และกิจกรรมในสาขาการบริการสวนใหญไดรับผลกระทบ จากการออกขอกำหนดเพื่อควบคุมการแพรระบาดฯ - ระดับความเสียหายต่ำกวามาตรการ Hard Lockdown ในชวงเดือน เม.ย.-พ.ค. 63 เนื่องจาก มาตรการในครั้งนี้มีระดับความเขมขนนอยกวา" สีสม ควบคุม - กิจกรรมในสาขาการผลิตไดรับผลกระทบในวงจำกัด 11 - กิจกรรมในสาขาการบริการสวนใหญไดรับผลกระทบในลักษณะของการยกเลิก/เลื่อนการ จัดงาน (Events) ตางๆ, การยกเลิก/เลื่อนการเดินทางทองเที่ยว และการลดลงของยอดขาย รานคาสง/คาปลีก" สีเหลือง 38 เฝาระวัง - กิจกรรมในสาขาการผลิตไดรับผลกระทบในวงจำกัด - กิจกรรมในสาขาการบริการบางสวนไดรับผลกระทบในลักษณะของการยกเลิก/เลื่อนการ จัดงาน (Events) ตางๆ, การยกเลิก/เลื่อนการเดินทางทองเที่ยว และการลดลงของยอดขาย รานคาสง/คาปลีก " ทั้งประเทศ 77 เขมขนสูงสุด - ทุกกิจกรรมไดรับความเสียหายในระดับที่ใกลเคียงกับชวงเดือน เม.ย.-พ.ค. 63 พื้นที่

มูลคาของผลกระทบฯ ตอเศรษฐกิจไทย จำแนกตามภาค/สาขา: กรณีระยะเวลา 1 วัน รูปแบบของมาตรการ Soft Lockdown

Hard Lockdown

พื้นที่ สีแดง สีสม สีเหลือง รวม ทั้งประเทศ

มูลคาของผลกระทบฯ ของภาค/สาขา ... (ลานบาท/วัน) ภาคการบริการ ภาคเกษตร* ภาคอุตฯ ทองเที่ยว ขนสง การคา บันเทิง บริการอื่นๆ รวม -48 -1,194 -710 -601 -329 -86 -90 -1,816 -6 -15 -85 -24 -24 -3 3 -134 -3 -7 -67 -43 -29 -8 3 -143 -56 -1,217 -861 -668 -383 -98 -84 -2,094 -280 -2,818 -1,344 -1,132 -825 -130 -161 -3,593

รวมทั้งสิ้น -3,059 -155 -153 -3,367 -6,690

หมายเหตุ: *ภาคเกษตร ประกอบดวยสาขาเกษตรกรรม, การปาไม และการประมง ที่มา: คำนวณโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการคาไทย 43


TCC

มูลคาของผลกระทบฯ ตอเศรษฐกิจไทย จำแนกตามภาค/สาขา: กรณีระยะเวลา 1 เดือน รูปแบบของมาตรการ Soft Lockdown

Hard Lockdown

พื้นที่ สีแดง สีสม สีเหลือง รวม ทั้งประเทศ

มูลคาของผลกระทบฯ ของภาค/สาขา ... (ลานบาท/วัน) ภาคการบริการ ภาคเกษตร* ภาคอุตฯ ทองเที่ยว ขนสง การคา บันเทิง บริการอื่นๆ -1,431 -35,831 -21,286 -18,029 -9,884 -2,594 -2,701 -167 -456 -2,547 -729 -727 -105 83 -96 -208 -2,006 -1,276 -880 -228 98 -1,694 -36,495 -25,839 -20,034 -11,491 -2,927 -2,521 -8,389 -84,546 -40,323 -33,962 -24,742 -3,903 -4,845

รวม -54,494 -4,025 -4,292 -62,811 -107,775

รวมทั้งสิ้น -91,756 -4,648 -4,597 -101,000 -200,710

หมายเหตุ: *ภาคเกษตร ประกอบดวยสาขาเกษตรกรรม, การปาไม และการประมง ที่มา: คำนวณโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการคาไทย

สรุปมูลคาของผลกระทบฯ ตอเศรษฐกิจไทย และสัดสวนของผลกระทบตอจีดีพี กรอบระยะเวลา 1 เดือน 2 เดือน 3 เดือน

มูลคาของผลกระทบฯ (ลานบาท) Soft Lockdown Hard Lockdown -101,000 -200,710 -202,001 -401,419 -303,001 -602,129

สัดสวนของผลกระทบฯ (%/GDP) Soft Lockdown Hard Lockdown -0.63 -1.25 -1.26 -2.50 -1.88 -3.75

ที่มา: คำนวณโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการคาไทย

ขอสมมติประกอบการวิเคราะหสถานการณในป 2564 กรณีฐาน (Base Case) (ควบคุมไดภายใน 1 เดือน)

กรณีที่แยกวา (Worse Case) (ควบคุมไดภายใน 2 เดือน)

กรณีที่แยที่สุด (Worst Case) (ควบคุมไดภายใน 3 เดือน)

Soft Lockdown 1 เดือน

Soft Lockdown 1 เดือน + Hard Lockdown 1 เดือน

Soft Lockdown 1 เดือน + Hard Lockdown 2 เดือน

ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) GDP Growth (%YoY) 2563 2564 2.8 ประมาณการ ณ ธ.ค. 63 (Current Projection) กรณีฐาน 2.2 (Base Case) -6.3 กรณีที่แยกวา 0.9 (Worse Case) กรณีที่แยที่สุด -0.3 (Worst Case) ที่มา: คำนวณโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการคาไทย 44

%YoY

กรณี

12.0 8.0 4.0 0.0 -4.0 -8.0 -12.0 -16.0

Gross Domestic Product (GDP) Growth Rate 9.5 2.9

2.4

2.6

3.3

1.5 -2.0 -6.4 -12.2

-4.9

2.2

-2.6 -8.0 -11.3

Q1/62 Q2/62 Q3/62 Q4/62 Q1/63 Q2/63 Q3/63 Q4/63F Q1/64F Q2/64F Q3/64F Q4/64F

Current Projection

Base Case

Worse Case

Worst Case


TCC

อัตราการวางงาน Unemployment Rate(%) 2563 2564 1.63 ประมาณการ ณ ธ.ค. 63 (Current Projection) กรณีฐาน 1.71 (Base Case) 1.58 กรณีที่แยกวา 1.76 (Worse Case) กรณีที่แยที่สุด 1.81 (Worst Case) กรณี

Unemployment Rate

2.20

2.09

%

1.78 1.35 0.93 0.50

ที่มา: คำนวณโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการคาไทย

1.95 1.90

2.00

1.73 1.75 1.46

1.64

1.39

1.04 0.98 1.03 0.92 0.98 Q1/62 Q2/62 Q3/62 Q4/62 Q1/63 Q2/63 Q3/63 Q4/63F Q1/64F Q2/64F Q3/64F Q4/64F

Current Projection

Base Case

Worse Case

Worst Case

สัดสวนหนี้สินภาคครัวเรือนตอจีดีพี HH Debt/GDP (%/GDP)* 2563 2564 84.5 ประมาณการ ณ ธ.ค. 63 (Current Projection) กรณีฐาน 85.0 (Base Case) 87.7 กรณีที่แยกวา 86.1 (Worse Case) กรณีที่แยที่สุด 87.2 (Worst Case) กรณี

หมายเหตุ: *ตัวเลข ณ ไตรมาสสุดทายของแตละป ที่มา: คำนวณโดยศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการคาไทย

Household Debt to GDP Ratio

95.0

91.4

%/GDP

90.0 85.0 80.0 75.0

84.6

86.2

90.2

87.7 88.5

86.4 85.3 84.5

80.5 81.0 79.1 79.1 79.5 Q1/62 Q2/62 Q3/62 Q4/62 Q1/63 Q2/63 Q3/63 Q4/63F Q1/64F Q2/64F Q3/64F Q4/64F

Current Projection

Base Case

Worse Case

Worst Case

45


Family Business

ธรรมนูญครอบครัว â´Â

รองศาสตราจารย ดร. เอกชัย อภิศักดิ์กุล ¼ÙŒÍӹǡÒÃÈٹ ¸ØáԨ¤Ãͺ¤ÃÑÇ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

ธุ ร กิ จ ครอบครั ว จะเกี่ ย วข อ งกั บ 3 มิ ติ คื อ ครอบครัว (Family) ธุรกิจ (Business) และความ เปนเจาของ (Ownership) โดยทั้งสามสวนจะมี ความสัมพันธและสงเสริมซึง่ กันและกัน ซึง่ สมาชิกครอบครัวจะ มีบทบาทใดบทบาทหนึง่ หรือหลายบทบาทในสามเรือ่ งขางตน ในแตละมิติจะมีแนวทางในการบริหารจัดการที่แตกตางกัน และมีความซับซอนมากขึ้นในมิติของครอบครัว(Family) ซึ่ง มีความเกี่ยวของกับ 4 สวนสําคัญ คือ ทรัพยสินครอบครัว (Family Estate) การจั ด การ (Governance) กลยุ ท ธ (Strategy) และการสืบทอด (Succession) ในบทตอไปนีเ้ ราจะกลาวถึง ธรรมนูญครอบครัว (Family Constitution) ซึ่งถือเปนสวนที่สําคัญที่อยูในดานของ การ จัดการ (Governance) ธรรมนูญครอบครัว (Family Constitution) มีคําเรียก มากมาย บางครั้งเรียกวา “ขอบัญญัติหรือหลัก/ความเชื่อของ ครอบครัว (Family Creed)” หรือ “ระเบียบการของครอบครัว (Family Protocol)” หรือ “ขอตกลงตามหลักเกณฑของ ครอบครัว (Statement of Family Principles)” หรือ “กฎเกณฑและคานิยมของครอบครัว (Family Rules and Values)” หรือ “กฎเกณฑและขอบังคับของครอบครัว (Family Rules and Regulations)” หรือ “แผนกลยุทธของครอบครัว (Family Strategic Plan)” คําเรียกเหลานี้ลวนมีความหมาย เชนเดียวกันธรรมนูญครอบครัว ซึ่งหมายถึง ขอตกลงที่แสดง บทบาทของสมาชิกครอบครัวที่มีตอธุรกิจและสังคม รวมถึง แนว ทางการกํากับดูแลธุรกิจครอบครัว ตลอดจนเปนสวนหนึง่ ทีแ่ สดงใหเห็นคานิยมหลัก วิสยั ทัศน และความมุง มัน่ ทีค่ รอบครัว มีตอธุรกิจ

46

ธรรมนูญครอบครัว ควรจัดทําเปนเอกสารหรือคูมือให กับสมาชิกครอบครัวนําเปนแนวทางในการปฏิบตั ทิ งั้ ในครอบครัว และการดําเนินธุรกิจ เพือ่ สรางความชัดเจนในบทบาทของสมาชิก

มิติของครอบครัว(Family) ซึ่งมี ความเกี่ยวข้องกับ 4 ส่วนสำคัญ คือ ทรัพย์สินครอบครัว (Family Estate) การจัดการ (Governance) กลยุทธ์ (Strategy) และการสืบทอด (Succession) ในบทต่อไปนี้เราจะกล่าวถึง ธรรมนูญ ครอบครัว (Family Constitution) ซึ่งถือเป็นส่วนที่สำคัญที่อยู่ในด้าน ของ การจัดการ (Governance) ครอบครัว และปองกันความขัดแยงภายในครอบครัว รวมถึง หลีกเลี่ยงปญหาที่อาจจะเกิดในธุรกิจอีกดวย กระบวนการสรางธรรมนูญครอบครัวทีส่ ําคัญคือ ตองมา จากความรวมมือและเปนขอตกลงรวมกันของสมาชิกครอบครัว ทีม่ สี ว นเกีย่ วของในการบริหารจัดการและ/หรือมีอํานาจควบคุม ธุรกิจ (ผูถือหุนในธุรกิจ) ธรรมนูญครอบครัวจะตองมีความ สอดคลองกับครอบครัว ธุรกิจ สถานการณทเี่ กิดขึน้ ตามโอกาส และสภาพแวดลอมปจจุบัน อยางไรก็ตาม ควรมีการทบทวน ขอตกลงตางๆ อยางสมํ่าเสมอเพื่อสรางความคลองตัวใหกับ ครอบครัวและธุรกิจ


Family Business

วัตถุประสงค์ทว่ั ไปของธรรมนูญ ครอบครัว

Family Strength

Company Development

Ownership Unity and Commitment

1. เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหธุรกิจพัฒนาไปสูความสําเร็จ (Company Development) 2. เพื่อรักษาความเปนนํ้าหนึ่งใจเดียวในครอบครัวและ เปนคํามัน่ สัญญาของครอบครัวทีม่ ตี อ ธุรกิจ(Ownership Unity and Commitment) 3. เพือ่ สรางจุดแข็งของครอบครัวและชีใ้ หครอบครัวเห็น จุดแข็งของตนเอง (Family Strength) โดยเรือ่ งจําเปนหลักทีค่ วรตองมีการตกลงกันในธรรมนูญ ครอบครัว ไดแก 1. ความเชื่อและความศรัทธาของครอบครัว 2. ปรัชญาของครอบครัว 3. กติกา มารยาทในครอบครัว 4. ความคาดหวังของครอบครัว

รูปแบบธรรมนูญครอบครัว

ธรรมนูญครอบครัวมีความแตกตางกันตามวัตถุประสงค ลักษณะเนือ้ หา องคประกอบ กระบวนการจัดทํา และประโยชน ของเนือ้ หา ซึง่ อาจสามารถแบงธรรมนูญไดเปน 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. รูปแบบที่เนนครอบครัว (Family Statement) มี วัตถุประสงคทมี่ งุ เนนรายละเอียดทีเ่ กีย่ วของกับครอบครัวเปน

สําคัญ โดยสวนใหญในธรรมนูญรูปแบบนี้จะประกอบดวย ปรัชญาของครอบครัว คานิยมและความเชือ่ ของครอบครัวตาม หลักจริยธรรม หลักการปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ และการทํางาน ในธุรกิจครอบครัว รวมถึงหลักการตัดสินใจทีส่ ําคัญของครอบครัว และธุรกิจ ตลอดจนผลประโยชนทคี่ รอบครัวจะไดรบั เชน การ พัฒนาดานการศึกษา การเขามาทํางานในธุรกิจครอบครัว เปนตน ซึ่งจะเขียนเปนแผนปฏิบัติการ (Action Plan) โดยมี สมาชิกครอบครัวทุกคนและทีป่ รึกษาภายนอกรวมกันกําหนด ขอตกลงตางๆ ในธรรมนูญรูปแบบนี้ รูปแบบที่เนนดานธุรกิจ (Family Business Protocol) มีวัตถุประสงคที่มุงเนนผลประโยชนดานธุรกิจของครอบครัว มีการกําหนดกฎระเบียบบังคับใชใหกบั สมาชิกครอบครัวทุกคน ยึดถือปฏิบตั โิ ดยยึดหลักความถูกตอง ในธรรมนูญรูปแบบนีจ้ ะ ประกอบดวย นโยบายและขั้นตอนการดําเนินงานในธุรกิจ ครอบครัว กําหนดพันธะสัญญาของครอบครัวที่มีตอธุรกิจ ซึ่ง จะเขียนใหเห็นถึงแนวทางหลักเกี่ยวกับนโยบายการดําเนิน ธุ รกิ จครอบครั ว (Family Business Policies) อย า งมี ประสิทธิภาพ ที่อธิบายขั้นตอนโดยละเอียดและชัดเจนเพื่อ สามารถนําไปใชไดจริงกับการทํางานในธุรกิจครอบครัว ผู เกีย่ วของในการจัดทําธรรมนูญรูปแบบนีจ้ ะเปนสมาชิกครอบครัว ทีท่ ํางานในธุรกิจของครอบครัวและทีป่ รึกษาภายนอกซึง่ มีความ เชีย่ วชาญเฉพาะเรือ่ ง เชน ดานกฎหมาย ดานการลงทุน เปนตน 2. รูปแบบทีเ่ นนผูถ อื หุน (Owners’ Contract / Shareholders’ Agreement) มีวตั ถุประสงคทมี่ งุ เนนผลประโยชน มีการกําหนดกฎระเบียบบังคับใชใหกับสมาชิกครอบครัวที่ถือ หุน และ/หรือบริหารจัดการในธุรกิจของครอบครัว ในธรรมนูญนี้ จะแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับบทบาทและสิทธิหนาทีห่ รือ อํา นาจในการบริหารจัดการธุรกิจ ซึง่ นอกจากจะเขียนเปนนโยบาย การดําเนินงานในธุรกิจครอบครัวแลว ยังเขียนเปนขอตกลง /สัญญาที่มีผล ทางกฎหมายเพิ่มเติมดวย (Legal Contract) โดยจะมีระบุ รายละเอียดเกี่ยวกับสิทธิและความรับผิดชอบที่ ชัดเจน เพื่อสรางความเชื่อมั่นใหกับผูถือหุน ซัพพลายเออร 47


Family Business

ลูกคา และผูมีสวนไดสวนเสียคนอื่นๆ ผูเกี่ยวของในการจัดทํา ธรรมนูญรูปแบบนีม้ เี พียงสมาชิกครอบครัวทีถ่ อื หุน ในธุรกิจของ ครอบครัวและทีป่ รึกษาซึง่ มีความเชีย่ วชาญเฉพาะในดานธุรกิจ ครอบครัวเทานั้น

ที่มีคุณภาพ นอกจากมีนโยบายและขอตกลงของครอบครัวที่ กําหนดรวมกันแลว ยังจําเปนตองมีกระบวนการ พัฒนาดวย ดังนั้น ควรมีการกําหนดชวงเวลาในการทบทวน ปรับปรุง ลด หรือเพิม่ เติมนโยบายและขอตกลงตางๆ ในธรรมนูญครอบครัว

3. รูปแบบผสมผสาน (Family Constitution) ธรรมนูญ รูปแบบนีม้ วี ตั ถุประสงคเนนผลประโยชนสว นรวมทัง้ ดานครอบ ครัว ผูถ อื หุน และธุรกิจ ซึง่ จะมีการกําหนดปรัชญาของครอบครัว คานิยมและความเชือ่ ของครอบครัว กฎระเบียบในการดําเนิน ชีวติ และการทํางานในธุรกิจ นโยบายและขัน้ ตอนการทํางานใน ธุรกิจครอบครัว รวมถึงขอตกลง/สัญญาที่มีผลทางกฎหมาย และจําเปนตองมีการจัดตัง้ ทีป่ ระชุมครอบครัว/สภาครอบครัวเพือ่ พิจารณาขอตกลงและตัดสินใจทีส่ ําคัญของครอบครัว ธรรมนูญ รูปแบบนีจ้ ะมีรายละเอียดสมบูรณและครอบคลุมผลประโยชน ที่สมาชิกครอบครัวทุกคนจะไดรับ ซึ่งจะมีการวางแผนแบบ บูรณาการทั้งดานครอบครัว ผูถือหุน และธุรกิจ โดยขอตกลง ตางๆ ทีส่ รางขึน้ รวมกันนีถ้ อื เปนทีย่ อมรับของสมาชิกครอบครัว ทุกคนและผานความเห็นชอบจากที่ประชุมครอบครัว/สภา ครอบครัวแลว

ธรรมนูญครอบครัว ซึ่งหมายถึง ข้อตกลงที่แสดงบทบาทของสมาชิก ครอบครัวที่มีต่อธุรกิจและสังคม รวมถึงแนวทางการกำกับดูแลธุรกิจ ครอบครัว ตลอดจนเป็นส่วนหนึ่งที่ แสดงให้เห็นค่านิยมหลัก วิสัยทัศน์ และความมุ่งมั่นที่ครอบครัวมีต่อ ธุรกิจ

กระบวนการสร้างและ พัฒนาธรรมนูญครอบครัว

กระบวนการสรางธรรมนูญครอบครัวเปนสวนสําคัญประการ หนึง่ ของความสําเร็จ ธรรมนูญครอบครัวทีม่ กี ารออกแบบดี จะ ชวยสรางความชัดเจนในบทบาทของสมาชิกครอบครัว ความ ไววางใจซึ่งกันและกัน การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และการ จัดการความขัดแยงหากเกิดขึน้ ในครอบครัว รวมถึงสรางความ มุงมั่นในครอบครัวที่มีตอธุรกิจเพื่อความเติบโตอยางมั่นคง นอกจากนี้ กระบวนการสรางธรรมนูญครอบครัว ยังเปนการ วางแผนการและแนวทางไวลวงหนาสําหรับการสืบทอดธุรกิจ และชวยนําครอบครัวเขามามีสวนรวมสนับสนุนในธุรกิจ เนื่องจากครอบครัวมีลักษณะคานิยม วิสัยทัศน พันธกิจ ทีแ่ ตกตางกัน ทําใหธรรมนูญครอบครัวทีถ่ กู ออกแบบมา แตก ตางกันตามความเหมาะสมของแตละครอบครัวธรรมนูญครอบครัว 48

เพื่อใหเกิดความยืดหยุน เหมาะสม และสามารถรองรับกั บสถานการณที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขอแนะนําในสรางและพัฒนาธรรมนูญครอบครัว มี กระบวนการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ถามความตองการของครอบครัว 2. ใหความรูเกี่ยวกับธุรกิจครอบครัว 3. รางธรรมนูญครอบครัว (คานิยม วิสยั ทัศน พันธกิจ ขอ ตกลง และนโยบายของครอบครัวเบื้องตน) 4. จัดตัง้ คณะทํางานครอบครัว (ทีป่ ระชุมครอบครัว/สภา ครอบครัว) 5. ประชุมครอบครัวรวมกันกําหนดนโยบาย ขอตกลง และ รับรองธรรมนูญครอบครัว 6. กําหนดใหทบทวน ปรับปรุงนโยบาย/ขอตกลงตางๆ ใน ธรรมนูญครอบครัว

หลักการเบือ ้ งต้นในการร่างธรรมนูญ ครอบครัว

รูปแบบเนือ้ หาและองคประกอบของธรรมนูญครอบครัว มีความแตกตางจากแผนการดําเนินธุรกิจ ทัง้ นีก้ ารรางธรรมนูญ


Family Business

ครอบครัวนัน้ ขึน้ อยูก บั ขนาดของครอบครัว รุน ของครอบครัว และการมีสวนรวมของสมาชิกครอบครัวในการบริหารจัดการ ธุรกิจและ/หรือความเปนเจาของ (ผูถือหุนในธุรกิจครอบครัว) เพื่อใหมั่นใจวาธรรมนูญครอบครัวที่รางขึ้นมุงสูเปาหมายและ ประเด็นตางๆ ตามขอตกลงและความคาดหวังของครอบครัว ประเด็นเบื้องตนที่ควรพิจารณาในการรางธรรมนูญ ครอบครัว ไดแก 1. วิธกี ารแกไขปญหาในธุรกิจครอบครัวโดยเฉพาะ (How) ประกอบดวย • หลั ก เกณฑ ใ นการจ า ยค า ตอบแทนแก ส มาชิ ก ของ ครอบครัว • ขอตกลงของผูถือหุนและสภาพคลองของหุน ในการ ซือ้ หรือขาย การกําหนดราคาซือ้ ขาย วิธกี ารตีราคาหุน หรือคํ้า ประกันการกูเงิน • กฏ กติกามารยาทของสมาชิกในครอบครัว • นโยบายการกูยืมใหกับสมาชิกจากธุรกิจครอบครัว • นโยบายการจายเงินปนผล 2. องคประกอบสําคัญทีต่ อ งพิจารณาเพือ่ การตัดสินใจใน ปจจุบันและอนาคต (What) ประกอบดวย • การกอตัง้ สภาครอบครัว กระบวนการการกอตัง้ และการ กําหนดบทบาทของคณะกรรมการในสภาครอบครัว • การวางแผนการสืบทอด คุณสมบัติของทายาท • หลักเกณฑในการเขาทํางานและออกจากงานในธุรกิจ ครอบครัว • การกําหนดนโยบายการลงทุน และรวมทุน (Venture Program) 3. ความปรารถนาของครอบครัวในอนาคต (Why) ประกอบ ดวย • ปรัญชา คานิยมหลัก • วิสัยทัศน พันธกิจหลัก ของครอบครัว • การจัดเก็บประวัติตางๆ (Archives) 4. บุคคลทีม่ สี ว นเกีย่ วของในกระบวนการตัดสินใจและ รั บผิดชอบตอผลการตัดสินใจนั้น (Who) ประกอบดวย • คณะกรรมการในสภาครอบครัว

• คณะกรรมการบริษัท • ทนายบริการครอบครัว (Family Office) ซึง่ มีบทบาทใน การบริการ เชน เรื่องภาษี กฎหมาย และทะเบียนหุน เปนตน 5. ระยะเวลาในการตรวจสอบและแกไขเมื่อใด (When)

ธรรมนูญครอบครัว ควรจัดทำเป็น เอกสารหรือคู่มือให้กับสมาชิก ครอบครัวนำเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติทั้งในครอบครัวและการดำเนิน ธุรกิจ เพื่อสร้างความชัดเจนใน บทบาทของสมาชิกครอบครัว และ ป้องกันความขัดแย้งภายใน ครอบครัว รวมถึงหลีกเลี่ยงปัญหาที่ อาจจะเกิดในธุรกิจอีกด้วย

โครงสร้างของธรรมนูญครอบครัว

การออกแบบธรรมนูญครอบครัวควรใหมคี วามยืดหยุน และ สามารถใชบนั ทึกขอมูลการกํากับดูแลธุรกิจครอบครัวทีม่ คี วาม ซับซอน หรือเขียนขอจํากัดบางประการไวในธรรมนูญครอบครัว ตัวอยางเชน การประชุมครอบครัว ขอกําหนดและวิธกี ารใหทนุ สํารองแกผูถือหุน ตัวอยางการรางธรรมนูญครอบครัวควรมีอยางนอย 5 องคประกอบ ดังนี้ สวนที่ 1 วัตถุประสงครวมของครอบครัว 1. พันธกิจ คานิยม วิสัยทัศน สวนที่ 2 สิทธิการครอบครองหุน 1. บทบาทของผูถ อื หุน : สัดสวนของจํานวนหรือมูลคาของ หุน สิทธิหรือประโยชนที่ไดรับ 2. นโยบายผลตอบแทนจากการลงทุน/การจายปนผล 3. การถายโอนหุน /สภาพคลองของหุน : วิธกี าร ขอกําหนด การซื้อ/ขาย หรือคํา้ ประกัน 4. ขอกําหนดและวิธีการใหทุนสํารองแกผูถือหุน 5. การประชุมผูถือหุน 49


Family Business

สวนที่ 3 สิทธิของสมาชิกครอบครัว 1. บทบาทของสมาชิกในครอบครัว: ประเภทสมาชิก สิทธิ ในสวัสดิการและผลประโยชน 2. ที่ประชุมครอบครัวและสภาครอบครัว: กอตั้งอยางไร องคประกอบ ใครมีหนาที่อยางไร 3. สํานักงานธุรกิจครอบครัว (บริหารจัดการเกีย่ วกับธุรกิจ และครอบครัว) 4. นโยบายครอบครัว (เชน การจางงานและคาตอบแทน ของสมาชิกครอบครัว การศึกษาของสมาชิกรุนตอไป เปนตน) สวนที่ 4 การกํากับดูแลธุรกิจ 1. บทบาทของคณะกรรมการ: กระบวนการแตงตั้ง ใคร มีหนาที่อยางไร 2. องคประกอบของคณะกรรมการ: วิธกี ารจัดโครงสราง ลักษณะซับซอนมากหรือนอย 3. การสรรหาและประเมินผลงานคณะกรรมการ: กระบวน การสรรหา การจายคาตอบแทน 4. กรรมการจากภายนอก: กระบวนการสรรหาและแตงตัง้ 5. การสือ่ สาร/รายงานการประชุมผูถ อื หุน และการ ประชุม ครอบครัว 6. การสรางแรงจูงใจในการทํางาน: คาตอบแทนพิเศษ รางวัล คําชม เปนตน 7. วิธีการรักษาตําแหนงคณะกรรมการในบริษัท 8. การประชุมคณะกรรมการ สวนที่ 5 เบ็ดเตล็ด วิธีการปองกันขอขัดแยง: การจัดการสวัสดิการและผล ประโยชนใหแกสมาชิกครอบครัวอยางเสมอภาค ยุติธรรม การรักษาความลับ: องคความรู ทักษะ ความชํานาญ ใน เรื่องนั้น เปนความลับเฉพาะถายทอดจากรุนสูรุน

หมวดในธรรมนูญครอบครัว

1. บทนํา - ในบทนํานี้ เรื่องสําคัญที่ควรมีกลาวถึง คือ พันธกิจของครอบครัว คานิยมของครอบครัว เปนความเชื่อที่ สมาชิกในครอบครัวจะยึดถือ ซึง่ ถือเปนแรงผลักดันทีส่ ําคัญของ 50

ธุรกิจครอบครัวในการนําธุรกิจสูค วามสําเร็จและสรางความเปน นํ้าหนึ่งใจเดียวกันของสมาชิกในครอบครัว 2. ทัว่ ไป - ในหมวดนีอ้ าจจะถือเปนหมวดแรกในขอ กํา หนดของครอบครัวก็ไดประกอบดวย วันทีเ่ ริม่ มีการประกาศใช ธรรมนูญครอบครัว และนิยามคําศัพยตา งเพือ่ ใหเกิดความเขาใจ ทีต่ รงกัน เชน คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการสภาครอบ

โดยเรื่องจำเป็นหลักที่ควรต้องมีการ ตกลงกันในธรรมนูญครอบครัว ได้แก่ 1. ความเชื่อและความศรัทธาของ ครอบครัว 2. ปรัชญาของครอบครัว กติกา มารยาทในครอบครัว 3. ความคาดหวังของครอบครัว ครัว ประธาน หมายถึง บุคคลที่ไดรับการคัดเลือกจากคณะ กรรมการใหเปนประธานสภาครอบครัว เปนตน 3. วัตถุประสงค – คือจุดมุงหมายในการจัดทําธรรมนูญ ครอบครัว เชน เพือ่ เปนแนวทางในการปฏิบตั ติ นของสมาชิกใน ครอบครัวในการรักษาธุรกิจของครอบครัวใหยงั่ ยืน เพือ่ ปองกั นความขัดแยง เพือ่ ดูแลคนในครอบครัว เปนตน ในสวนนีแ้ ลว แตจุดมุงหมายของแตละครอบครัว 4. สมาชิก – ในหมวดนีจ้ ะเปนการกําหนดนิยามของการ เปนสมาชิกในครอบครัวและการสิน้ สุดสภาพของการเปนสมาชิก เชน กรณีสมาชิกหลักเสียชีวิต คูสมรสยังถือเปนสมาชิกของ ครอบครัวอยูหรือไม เปนตน นอกจากนั้นยังตองกําหนดสิทธิ และของสมาชิก เชน สิทธิในการออกเสียงตองมีอายุครบ 25 ป บริบรู ณ หรือ ใครบางทีม่ สี ทิ ธิในการเขารับการแตงตัง้ เปนคณะ กรรมการ คณะทํางาน หรือตัวแทนของครอบครัว เปนตน สวน ของหนาที่เชน สมาชิกตองรักษาเกียรติยศ และชื่อเสียงของ


Family Business

ครอบครัว ตองปฏิบตั ติ ามธรรมนูญ ขอบังคับ ระเบียบ ตามมติ ของสภา เปนตน 5. การดําเนินงานของสภา – ในหมวดนี้คือการกําหนด อํานาจหนาที่ของสภา การแตงตั้งคณะกรรมการสภาทั้งจาก ภายในและภายนอก คุณสมบัตขิ องผูท เี่ ปนคณะกรรมการ วาระ ในการดํารงตําแหนง การกําหนดวาระการประชุม การกําหนด ตัวแทน เปนตน 6. การประชุมครอบครัว – การกําหนดวาระการประชุม อํานาจการเปดประชุมสภา การมอบหนาตัวแทน การวินิจฉัย ชี้ขาด การออกเสียงในการลงมติในที่ประชุม สมาชิกที่มีสิทธิ ออกเสียง การกําหนดการทบทวนนโยบายและขอกําหนด ตางๆ เพื่อรองรับสภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลง รวมถึง แกไขเพิ่มเติมธรรมนูญครอบครัว 7. ผูนําธุรกิจครอบครัว – การแตงตั้งและการกําหนด บทบาทหนาที่ รวมถึงคุณสมบัติของผูนําในธุรกิจครอบครัว เชน ตองเปนบุคคลทีไ่ ดรบั จากผูม สี ว นไดสว นเสียของบริษทั และ ไดรับความเห็นชอบจากสภา เปนตน 8. การสืบทอด – ในหมวดนี้เปนการกําหนดแผนการ สืบทอดธุรกิจ การกําหนดคุณสมบัตขิ องผูบ ริหารของธุรกิจคน ถัดไป และอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการ การวางแผนสืบทอด ธุรกิจครอบครัว 9. การจางงาน – เปนการกําหนดวาสมาชิกในครอบครัว คนใดบางที่สามารถเขามาทํางานในธุรกิจครอบครัวได เชน อนุ ญ าตให เขยหรื อ สะใภ เข า มาทํา งานได ห รื อ ไม ต อ งมี ประสบการณการทํางานจากภายนอกอยางนอยกี่ป เปนตน รวมถึงการกําหนดกฏกติกาในการทํางานรวมกัน การจายคา ตอบแทนและสวัสดิการ การปรับตําแหนง การเกษียนอายุการ ทํางาน 10. จรรยาบรรณครอบครัว – หลักคุณธรรม จริยธรรม ทีส่ มาชิกในครอบครัวยึดเปนหลักในการดําเนินชีวติ เพือ่ ดํารงค ไวซงึ่ ชือ่ เสียงของวงศตระกูลและธุรกิจ รวมถึงมารยาทระหวาง สมาชิกในครอบครัว เชน สมาชิกในครอบครัวทุกคนตองใหความ เคารพซึง่ กันและกัน ซือ่ สัตยตอ วงศตระกูล ไมนําเรือ่ งครอบครัว

ออกไปสูภายนอก เปนตน 11. การแกปญหาความขัดแยง – ในหมวดนี้เปนการ กําหนดหลักเกณฑในการแกไขปญหา กรณีทมี่ คี วามขัดแยงเกิด ขึ้นในครอบครัว การไกลเกลี่ยระหวางคูกรณี การนําเรื่องเขา พิจารณาในสภาครอบครัว 12. วินัยและการลงโทษ – การกําหนดพฤติกรรมที่ไม พึงประสงคในครอบครัว หากมีการฝาฝนจะมีกรอบการลงโทษ อยางไร เชน ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร การตัดสิทธิตางๆ จนถึงการใหพนจากการเปนสมาชิกครอบครัว เปนตน 13. การตัดสินใจทีส่ ําคัญ – เรือ่ งสําคัญทีต่ อ งมีขอ กําหนด ในการพิจารณา มีอะไรบาง เชน การขายหุน ของธุรกิจครอบครัว การใหพนจากการเปนสมาชิกของครอบครัว การซื้อ/ขาย ทรัพยสินของครอบครัว เปนตน รวมถึงกระบวนการตัดสิน ชี้ขาดและการลงมติ 14. การซื้อขายหุนของธุรกิจครอบครัวและทรัพยสิน มรดก – วิธีการ ขอกําหนดการซื้อ/ขาย หุนและทรัพยสิน ครอบครัว การกําหนดราคาหุน และประเมินมูลคาสินทรัพยของ ครอบครัว การอณุญาตใหบุคคลภายนอกเขามาถือครองหุน เปนตน 15. ขอมูลและการสื่อสาร – ขอกําหนดในการสื่อสาร ขอมูล 16. รายไดและเงินอุดหนุน – เปนการจําแนกแหลงทีม่ า ของรายได แหลงที่ใชไปของรายได การจัดใหมีคณะกรรมการ บริหารสินทรัพยและการลงทุน เปนตน 17. เบ็ดเตล็ด – อื่นๆที่ไมไดกลาวในหมวดขางตน หมวดตางๆ ที่กลาวถึงขางตน เปนหัวขอเบื้องตนในการ จัดทําธรรมนูญครอบครัว ซึ่งตองมีการปรับใชใหเหมาะสม กับแตละครอบครัวที่มีความแตกตางกัน ขึ้นอยูกับการตกลง กันระหวางสมาชิกในครอบครัว

51


YEC UPDATE

52


YEC UPDATE

จิรพิสิษฐ์ รุจน์เจริญ รองประธาน YEC KORAT สุดยอดไอเดียธุรกิจไทยโตไป กับกระแส COVID-19

¹Ò¹æ¨Ðä´ŒÁÕâÍ¡Òʾٴ¤Ø¡ѺÃͧ»Ãиҹ YEC ¡Ñ¹ºŒÒ§ ·‹Ò¹¹ÕéäÁ‹¤ØÂäÁ‹ä´Œ¨ÃÔ§æ à¾ÃÒÐà¢ÒÁÕäÍà´ÕÂÊØ´»˜§! ¹‹Ò·Ó ¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡ÁÒ¡ ¤Ø³¨ÔþÔÊÔÉ° Ãب¹ à¨ÃÔÞ à¨ŒÒ¢Í§ÃÒ§ÇÑŪ¹ÐàÅÔÈ YEC Pitching áË‹§»‚ 63 â´Ââ¤Ã§¡Òà YEC Pitching ä´ŒÃѺ¡ÒÃʹѺʹع¨Ò¡ NIA ËÍ¡ÒäŒÒ áÅÐ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â ¼ÙŒª¹Ð YEC Pitching »‚¹Õé ¤×ͪÒÂ˹؋ÁäÍà´ÕÂÊØ´ÂÍ´¨Ò¡ YEC KORAT ¡ÑºËÑÇ¢ŒÍ·ŒÒ·Ò “New Normal Business Transformation ¡ÒûÃѺ Business Model à¾×èÍâÍ¡ÒÊãËÁ‹ áÅСÒÃÍÂÙ‹ÃÍ´” äÍà´ÕÂÊØ´ÂÍ´·Õè¾ÔªÔµã¨¡ÃÃÁ¡Òèҡ¡Òý†Ò¿˜¹¤Ù‹á¢‹§¹ÑºÃŒÍ¡ç¤×Í “heal meee” New Business Model ·Õè¡ÅŒÒ·ŒÒª¹â¤ÇÔ´ ´ŒÇ¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨Ç‹Ò ÍÒËÒÃà¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾µÍºâ¨·Â New Normal Ẻ´ÔÅÔàÇÍÃÕè µŒÍ§ÁÒ à¢ÒµÑé§à»‡Ò¨Ð¢ÂÒÂÊÒ¢Òã¹ÃٻẺ Cloud Kitchen »‚˹ŒÒ 20 ¨Ø´ ÀÒÂã¹ 1 »‚¨Ð¢ÂÒÂà¾ÔèÁãËŒ¤Ãͺ¤ÅØÁ·ÑèÇ»ÃÐà·È ÀÒÂã¹ 5 »‚ÁÕá¼¹¨ÐÊÂÒ»‚¡ä»»ÃÐà·Èà¾×è͹ºŒÒ¹ àÃÕÂ¡Ç‹Ò âÁà´ÅµÍºâ¨·Â Ẻ¡ÃШÒÂ

คุณจิรพิสษิ ฐ รุจนเจริญ หรือ คุณโจ เปนสมาชิก YEC KORAT โดยรัง้ ตําแหนง รองประธาน YEC หอการคาจังหวัด นครราชสีมา เปนกรรมการผูจ ดั การและ เจ า ของธุ ร กิ จ ร า นอาหารเพื่ อ สุ ข ภาพ OTARU Café เปดสาขาแรกที่ จ.ชลบุรี เพือ่ รองรับนักธุรกิจชาวญีป่ นุ ทีร่ กั สุขภาพ กอนจะกลับมาเปดธุรกิจ OTARU Café บนพื้ น ที่ 100 ไร ที่ บ า นเกิ ด จั ง หวั ด นครราชสีมา โดยคงคอนเซ็ปตอาหารเพือ่ สุขภาพ จากกาวแรกในการทําธุรกิจเล็ก ๆสูก ารแขงขันในตลาดอาหารสุขภาพอยาง เต็มตัว ดวยธุรกิจอาหารสุขภาพแบรนด OTARU และ OEM สินคาสุขภาพอื่น ๆ ทีก่ ระจายในชองทาง Health Shop ทัว่ ประเทศ จากปญหาการระบาดเชือ้ ไวรัส โควิด-19 ทําใหยอดขายออนไลนเติบโต สวนกระแสจาก Offline ถึง 3 เทา เขา

คุณจิรพิสิษฐ์ รุจน์เจริญ เจ้าของรางวัลชนะเลิศ YEC Pitching แห่งปี 63 โดยโครงการ YEC Pitching ได้รับการสนับสนุนจาก NIA หอการค้า และมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ผูช ้ นะ YEC Pitching ปีนี้ คือชายหนุ่มไอเดียสุดยอดจาก YEC KORAT กับหัวข้อท้าทาย “New Normal Business Transformation การปรับ Business Model เพื่อ โอกาสใหม่ และการอยู่รอด” ไอเดียสุดยอดที่พิชิตใจ กรรมการจากการฝ่าฟันคู่แข่งนับร้อยก็คือ “heal meee” New Business Model ทีก ่ ล้าท้าชนโควิด ด้วยความมั่นใจว่า อาหารเพื่อสุขภาพตอบโจทย์ New Normal แบบดิลิเวอรี่ต้องมา จึงมีแนวคิดนําแบรนด heal meee เขา แขงขัน YEC Pitching ป 2563 โดยนํา

Pain point จากราน OTARU ทีป่ จ จุบนั มีอยูรวม 6 สาขา มาตอยอดเพื่อรับยุค 53


YEC UPDATE

การจัดการอาหารเพื่อคนรักสุขภาพ ผู ปวย ผูสูงอายุ โดยนักโภชนาการทาง ดานอาหารใหเฉพาะ เหมาะสมกับแตละ บุคคล เปนการพลิกธุรกิจสูธ รุ กิจออนไลน แบบเต็มตัว สําหรับลูกคาทีใ่ สใจสุขภาพ และไมอยากเสีย่ งการติดเชือ้ จากการออก ไปจับจายใชสอยเอง สอดคลองกันกับ Heal meee ที่จะเดลิเวอรี่อาหารเพื่อสุขภาพ ถึงมือผูร บั เมือ่ ออเดอรผา นแอปพลิเคชัน่ ในราคาที่จับตองได โดยพรอมเปดตัว แอปพลิเคชัน่ ในวันที่ 15 มกราคม 2564 นี้ สําหรับจังหวัดหัวเมืองใหม 20 แหงทัว่ ประเทศ โดยใชรปู แบบ Cloud Kitchen (รานอาหารรูปแบบใหม แบบ Shared -kitchen คือเปนพืน้ ทีค่ รัวพรอมอุปกรณ ทําครัวใหเชาสําหรับรานอาหารเพือ่ ชวย แกปญหาสําหรับผูที่อยากมีรานอาหาร ของตัวเองแตไมมหี นาราน สวนผูบ ริโภค จะไดรับบริการเร็วกระจายไปทุกที่ใกล บาน) จากการทดลองในชวงโควิดทีผ่ า น มา ผลตอบรับคอนขางดี ใชเงินลงทุนตํ่า

New Normal New business แบบเต็ม รูปแบบ

คุณจิรพิสิษฐ์ รุจน์เจริญ หรือ คุณโจ เป็นสมาชิก YEC KORAT โดยรั้งตำแหน่ง รองประธาน YEC YEC Pitching - จุดเด่น หอการค้าจังหวัดนครราชสีมา เป็นกรรมการผู้ ที่ชนะใจกรรมการ จัดการและเจ้าของธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาพ การประกวดแผนงาน YEC Pitching ประจําป 2563 ไดกําหนดโจทย OTARU Café เปิดสาขาแรกที่ จ.ชลบุรี เพื่อรองรับ ที่ตรงยุคสมัย และตรงใจก็คือ “New นักธุรกิจชาวญี่ปุ่นที่รักสุขภาพ ก่อนจะกลับมาเปิด Normal Business Transformation ธุรกิจ OTARU Café บนพื้นที่ 100 ไร่ ที่บ้านเกิด ปรับ Business Model” เพือ่ โอกาสใหม จังหวัดนครราชสีมา และการอยูร อด ประจําป 2563 ซึง่ ตรงใจ มากๆกับสิง่ ทีค่ ณ ุ โจคิดไวจงึ เปนทีม่ าของ การสงแผนงาน heal meee เขารวม 54

ประกวด จุดเดนของแผนงานเปนแอปพลิเคชัน่

ขยายไว ตอบโจทยลกู คา มีระบบบริหาร จัดการที่ดี โดยมีอดีตผูบริหาร Minor


YEC UPDATE

Group มาชวยเซ็ตระบบเพือ่ เปน corporate มากขึน้ ชวงนัน้ จะมีชอ งทางการขายครบ และสินคามีความหลากหลายพอสมควร เมื่อขยายสวนแบงการตลาดไดสวนนึง แลวก็มแี ผนจะทดลองตลาดตอไปในตลาด CLMV “โควิ ด ไม มี ผ ลกั บ ธุ ร กิ จ ผมเลย เพราะโมเดลธุรกิจของเราเกิดจากการ Lockdown เราไมพงึ่ หนารานเลย แตจะ ไปแฝงตัวใน Cloud Kitchen ทีก่ ระจาย ตัวตามจังหวัดตาง ๆ เราจะนําระบบใหม ไปวาง และเซ็ตใหมพรอมขายทันที เนน เร็ว ฉับไว ใชเงินนอย พืน้ ทีจ่ ํากัด สวนการ สงถึงมือลูกคาจะผานระบบ Logistic Outsource อยางเดียว ไมใช Delivery Brand ในทองตลาด เพราะตองการลด คาใชจายคา GP ลง

ตัดสินใจลงแข่ง เพราะอยากเจอคนเก่ง ช่วยคิด

“เดิ ม ผมเคยเข า ประกวด YEC Pitching แลวเมื่อป 2562 เรื่อง การ

จัดการขยะในจังหวัดนครราชสีมา ได รางวัล popular vote แตครัง้ นีอ้ ยากนํา โมเดลธุรกิจของตัวเองมารวมแขงขัน เพราะตองการโอกาสในการพบทีป่ รึกษา ดานตาง ๆ ที่จะเขามาชวยตบไอเดียที่

Platform Online เต็มรูปแบบ ชวงโควิด ทีผ่ า นมาไดออกแบบรานอาหารสาขาลาสุด ที่โคราชเปนคอนเซ็ปต Landmark มี Airplane Park มีทงั้ สถานทีจ่ ดั งาน และ แปลงเกษตรบนพืน้ ทีก่ วา 100 ไร แตเมือ่

โควิดไม่มีผลกับธุรกิจผมเลย เพราะโมเดลธุรกิจ ของเราเกิดจากการ Lockdown เราไม่พึ่งหน้าร้าน เลย แต่จะไปแฝงตัวใน Cloud Kitchen ที่กระจาย ตัวตามจังหวัดต่าง ๆ เราจะนำระบบใหม่ไปวาง และ เซ็ตใหม่พร้อมขายทันที เน้นเร็ว ฉับไว ใช้เงินน้อย พื้นที่จำกัด ส่วนการส่งถึงมือลูกค้าจะผ่านระบบ Logistic Outsource อย่างเดียว ไม่ใช้ Delivery Brand ในท้องตลาด เพราะต้องการลดค่าใช้จ่าย ค่า GP ลง ฟุงกระจายใหลงตัวเขาที่เขาทางยิ่งขึ้น” “การสรางแบรนด Heal meee มี คอนเซ็ปตชัดเจน เรียกไดวา เติบโตจาก ปญหาของธุรกิจ และลูกคาจากการทํา ราน OTARU Cafe ทีถ่ กู แปลงสภาพเปน

เจอปญหาโควิดลูกคาไมสามารถนัง่ ทาน อาหารทีร่ า นได แตชอ งทางจําหนายทาง ออนไลนกลับโตขึ้นถึง 3 เทา” ผมจึงกลับมาคิดทบทวนแผนธุรกิจ ใหมจนได brand concept ทีต่ อบโจทย

55


YEC UPDATE

อยางคือมีpartnerธุรกิจและระบบบริหาร จัดการทีด่ ี นอกจากจะเพิม่ ประสิทธิภาพ แลว ยังลดภาระทีไ่ มจาํ เปนไดอกี ดวย จึง เปนทีม่ าของการสรางแบรนดใหมทจี่ ะไม เกี่ยวของกับ OTARU แตเปน New Brand “Heal meee” Model Chain Restaurant รูปแบบอินเตอรแบรนด

ยุคสมัยมากขึน้ โดยไดพบทีป่ รึกษาซึง่ เคย เป น ผู บ ริ ห าร Minor Group/Yum Restaurants เชนรานอาหารไทย ซึง่ เขา มีรา นอาหารไทยในเนเธอรแลนดมาชวย วางระบบ และเปนทีป่ รึกษาในการเซ็ทอัพ ระบบ และการวางแผนธุรกิจระยะยาว 3-5 ป

OTARU Transform to Heal meee

จากแนวคิดเดิมที่เคยคิดจะขยาย สาขา OTARU ไปเรื่อย ๆ รูปแบบเดิม ที่ ใชเงินทุนสูง คาบริหารจัดการสูง หันมา ปรับแผนใหมซงึ่ ใชเงินทุนนอยกวา ขยาย ไดเร็วกวา เขาถึงงายกวา ใชคนนอยกวา มีระบบมาตรฐาน corporate มากขึ้น เอาปญหาตางๆที่ลูกคาเจอมาแกไข มา ตอบโจทยลูกคาไดมากขึ้น สิ่งสําคัญอีก 56

QSR (Quick Service Restaurant) ราน อาหารระบบควิกเซอรวสิ ทีใ่ ชคนนอย เนน ซือ้ กลับบาน และเดลิเวอรี่ ระบบมาตรฐาน คลายกับ Interbrand อยาง KFC หรือ MC Donald เปนตน ภาพลักษณของ แบรนดตองการสื่อสารกับผูบริโภควา อาหารสุขภาพนอกจากอรอยสุขภาพดี

การสร้างแบรนด์ Heal meee มีคอนเซ็ปต์ชัดเจน เรียกได้ว่า เติบโตจากปัญหาของธุรกิจ และลูกค้า จากการทำร้าน OTARU Cafe ที่ถูกแปลงสภาพ เป็น Platform Online เต็มรูปแบบ ช่วงโควิด ที่ผ่านมาได้ออกแบบร้านอาหารสาขาล่าสุด ที่โคราช เป็น คอนเซ็ปต์ Landmark มี Airplane Park มี ทั้งสถานที่จัดงาน และแปลงเกษตรบนพื้นที่กว่า 100 ไร่ แต่เมื่อเจอปัญหาโควิดลูกค้าไม่สามารถนั่ง ทานอาหารที่ร้านได้ แต่ช่องทางจำหน่ายทาง ออนไลน์กลับโตขึ้นถึง 3 เท่า”


YEC UPDATE

แลว ยังมีความสนุกหลากหลายเมนูแถมรู ที่มาที่ไปของวัตถุดิบอาหารอีกดวย ทําใหการดูแลสุขภาพเปนเรื่องที่ สนุก เมนูอาหารทั้งหมดผานการคิดคน พัฒนาโดยนักโภชนาการอาหาร food science รวมกับเชฟ คงความอรอย และ คงคุณคาทางอาหารโภชนาการไวมาก ที่สุด และปลอดสารพิษดวย นอกจากนี้ เรายังเสริมดวยระบบโภชนาการอาหาร รายบุลคลใหตอบโจทยลกู คามากขึน้ ดวย “ตั้งแตพรีเซนตงานรอบสุดทายก็ มีเพือ่ น YEC หลายจังหวัดใหความสนใจ อยากเปนพารตเนอรดว ย สําหรับวัตถุดบิ

ภาพลักษณ์ของแบรนด์ตอ ้ งการสือ ่ สารกับผูบ ้ ริโภค ว่า อาหารสุขภาพนอกจากอร่อยสุขภาพดีแล้ว ยังมี ความสนุกหลากหลายเมนูแถมรูท ้ ม ่ี าทีไ่ ปของ วัตถุดบ ิ อาหารอีกด้วย ทำให้การดูแลสุขภาพเป็น เรือ ่ งทีส ่ นุก เมนูอาหารทัง ้ หมดผ่านการคิดค้น พัฒนาโดยนักโภชนาการอาหาร food science ร่วมกับเชฟ คงความอร่อย และคงคุณค่าทาง อาหารโภชนาการไว้มากทีส ่ ด ุ และปลอดสารพิษด้วย นอกจากนีเ้ รายังเสริมด้วยระบบโภชนาการอาหาร รายบุลคลให้ตอบโจทย์ลก ู ค้ามากขึน ้ ด้วย เราไดมีการพูดคุยกับพารตเนอรไว 2-3 รายตั้งตนไว อันดับแรกเราอยากใหเปน เกษตรกรภายในจังหวัดนครราชสีมา ที่ ผานมาตรฐานตามทีก่ ําหนดไว นอกจาก นี้ Heal meee จะมีสนิ คาจากเกษตรกร เขามาขายในรานดวยเปนการสงเสริมรายได ชุมชน รวมถึงสินคาจากผูประกอบการ SMEs รายใหมที่ขาดชองทางการจัดจํา หนายมาฝากขาย” หลังจากแผนธุรกิจไดรบั รางวัล เขา ตั้งใจจะทําใหเปนจริง โดยตั้งเปาเปดตัว Heal meee ในป 2564 ไววา จะเปดให ไดรวม 10-20 สาขา เฉลี่ย 1-2 สาขา /เดือน งบประมาณ 2-3 ลานบาท/สาขา “ผมเชือ่ ในสินคาเกษตรอินทรียข อง ไทย ในอนาคตสุขภาพจะไมใชเทรนดอกี ตอไป แตมนั คือ normal ปกติทวั่ ไปทีใ่ คร ก็หนั มาดูแลสุขภาพ โอกาสการเติบโตใน ตลาดยังมี แคเราตองหาตลาดของเราให เจอ” 57


YEC UPDATE

ผลดีที่ได้รับจากการ แข่งขัน YEC Pitching

ทําใหเกิดแรงกระตุน จุดประกาย ความคิดอยากทําแผนงาน มาใหกรรมการ ทีเ่ ปนคนเกงจากวงการดานการตลาดมา ชวยใหคําแนะนํา ไดพบผูท เี่ จนเวทีมาให มุมมองใหมๆทําใหรจู กั คนเกงมากขึน้ มา ชวยวาง Direction ใหธุรกิจ และทําให เราเปนทีร่ จู กั มากขึน้ ทีส่ ําคัญทําใหธรุ กิจ สามารถดีลพารทเนอรไดงายขึ้นทั้งจาก 58

ผมเชื่อในสินค้าเกษตรอินทรีย์ของไทย ในอนาคต สุขภาพจะไม่ใช่เทรนด์อีกต่อไป แต่มันคือ normal ปกติทั่วไปที่ใครก็หันมาดูแลสุขภาพ โอกาสการ เติบโตในตลาดยังมี แค่เราต้องหาตลาดของเรา ให้เจอ เพือ่ น YEC ดวยกัน และกรรมการตัดสิน ตองมาลุนกันวา หลังจากเปดตัว แพลตฟอรม Heal meee ออกมาแลวผล

ตอบรับจะเปนอยางไร พบกันไดมกราคม นี้นะคะ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.