1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ 1.1 วิสัยทัศน วัตถุประสงค และเปาหมาย บริษัท ฯ วิสัยทัศน
เปนผูนําในการใหบ ริการทางการเงินและการลงทุน และเปนที่รูจักในความเปน มือ อาชีพ และความซื่อสัตยในการดําเนิน ธุรกิจ พัน ธกิจ เพื่อใหบ รรลุวิสัยทัศน บริษัท ฯ จึงมุงมั่น ที่จะเปน บริษัท หลักทรัพยที่มีสวนแบงการตลาดสูงสุด 5 อัน ดับ แรกของประเทศ ไทย และเปน บริษัท หลักทรัพยที่มีการใหบ ริการที่ดีท ี่สุด นอกจากนั้น ยังมีความตั้งใจที่จะใหบ ริการและนําเสนอผลิตภัณฑและ นวัตกรรมใหมๆ ที่ดีเยี่ยม เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา และบริหารจัดการใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี เพือ่ สรางความเชื่อมั่น ใหแ กลูกคาและนักลงทุน ตลอดจนสนับ สนุน การพัฒ นาดานอาชีพของบุคลากรใหมีศักยภาพ เพื่อ รองรับ การ ใหบริการแกลูกคา เปาหมายการดําเนิน ธุรกิจ · เปนบริษัทหลักทรัพยท ี่มีสวนแบงการตลาดสูงสุดใน 5 อันดับแรก และรักษาสวนแบงการตลาดใหเติบโตอยางตอเนื่อง โดยบริ ษั ท ฯ จะออกบู ธ และจั ด สั ม มนาให ความรู แ ก นั ก ลงทุ น และผู ที่ สนใจทั้ง ในกรุ ง เทพมหานครและต า งจั ง หวั ด โดยเฉพาะเมื่อ ตลาดหลักทรั พยฯ มีการออกผลิตภัณฑใหม เชน สัญญาซื้อ ขายทองคํ าลวงหนา ใบสําคัญแสดงสิท ธิ อนุพัน ธ เปนตน เพื่อเปดโอกาสใหนักลงทุนหนาใหมเกิดความสนใจที่จะลงทุน ในตลาดหลักทรัพ ยฯ อัน จะเปน การชวย ขยายฐานลูกคา และเปน การรักษาฐานลูกคาเดิม เอาไวดวย นอกจากนั้น ยังจะพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมี ประสิทธิภาพและใหลูกคาไดรับ ความสะดวกสบายในการใชบ ริการ ตลอดจนหามาตรการตางๆ ในการรักษาบุคลากรให ปฏิบัติงานในระยะยาว · เปนบริษัทหลักทรัพยท ี่มีการใหบริการที่ดีที่สุดและครบวงจร โดยบริ ษั ท ฯ จะพั ฒ นาระบบการซื้ อ ขายหลั กทรั พ ย แ ละระบบการซื้อ ขายตราสารอนุ พั น ธ ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและมี เสถียรภาพ เพื่อรองรับปริมาณการซื้อขายของลูกคา เพิ่มบริการและผลิตภัณฑ เพื่อ ตอบสนองความตองการของลูกคา และใหลูกคาสามารถเลือกลงทุน ไดอยางเหมาะสมและบริหารจัดการการลงทุนไดอยางมีป ระสิทธิภาพ จัดอบรมใหความรู แกพนักงาน เพื่อใหมีศักยภาพในการใหคําแนะนําในการลงทุน และรองรับ การใหบ ริการแกลูกคาไดอ ยางมีป ระสิท ธิภาพ นอกจากนั้น ยังจะปรับ ปรุงโครงสรางภายใน เพื่อใหเกิดความคลองตัวในการบริห ารจัดการ โดยมีเปาหมายใหลูกคาไดรับ บริการอยางเร็วที่สุดและมีความยุงยากนอยที่สุด · รักษาระดับรายไดและผลกําไรใหดีอยางตอเนื่องและแสวงหาโอกาสทางธุรกิจ เพื่อใหไดรับ ผลกระทบนอยที่สุดในสภาวะที่ ตลาดมีความผัน ผวน โดยบริษัทฯ จะบริห ารจัดการทรัพยากรใหมีป ระสิท ธิภาพและใชท รัพยากรใหเ กิดประโยชนสูงสุด เพื่อลดตน ทุน ในการ ดําเนิน งานและมีผลประกอบการเปน กําไร เพื่อตอบแทนการลงทุนใหแกผูถือหุน รวมทั้งแสวงหาชองทางในการขยายธุรกิจ 9
และการลงทุน ที่มีความเสี่ยงในระดับ ที่ยอมรับ ไดและไดรับ ผลตอบแทนที่เหมาะสม เพื่อ ลดความเสี่ยงจากการพึ่งพิ ง รายไดคาธรรมเนียมซื้อขายหลักทรัพยและรักษาฐานรายไดใหมีเสถียรภาพในสภาวะที่ธุร กิจหลักทรัพยไดรับ ผลกระทบ จากปจจัยภายนอก เชน การเมือง เศรษฐกิจ ภัยธรรมชาติ เปนตน · ดําเนิน ธุรกิจโดยคํานึงถึงผูมีสวนไดเสีย โดยบริษัทฯ จะดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานของคุณธรรม จริยธรรม และความซื่อสัตยสุจริต ซึ่งหลักการดังกลาวจะสงผลดีตอ ผู มีสวนไดเสียทุกกลุม ทั้งผูถือหุน ลูกคา นักลงทุน พนักงาน และตลาดทุนโดยรวม รวมทั้ง จะใหการสนับ สนุนแกองคกรและ สถานศึกษาตางๆ ตลอดจนใหความรวมมือแกห นวยงานของรัฐ และเอกชน เพื่อวัตถุป ระสงคในการพัฒนาตลาดทุน ใหมี ความเจริญกาวหนาและเปนสนใจของนักลงทุน ตางประเทศ
1.2 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ ป 2509 2517 2522 2534 2536 2537 2540
-
2542
-
2545
-
2546
-
2547 2549
-
พัฒนาการที่สําคัญ จดทะเบียนกอตั้ง “บริษัท แอดคิน ซัน เอ็น เตอรไปรส จํากัด” สมัครและไดรับ เลือกเปนบริษัทสมาชิกหมายเลข 3 ของตลาดหลักทรัพยฯ เปลี่ยนแปลงชื่อเปน “บริษัทหลักทรัพย แอดคินซัน จํากัด” หุนสามัญของบริษัทหลักทรัพย แอดคินซัน จํากัด ไดรับ อนุมัติใหเปนหลักทรัพยรับ อนุญาตในตลาดหลักทรัพยฯ หุนสามัญของบริษัทหลักทรัพย แอดคินซัน จํากัด ไดรับ อนุมัติใหเปนหลักทรัพยจดทะเบียน แปรสภาพเปน บริษัท มหาชนจํากัด และเพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 200 ลานบาท เปน 600 ลานบาท แกไขขอบังคับ เพื่อขยายสัดสวนการถือ หุน ของชาวตางชาติจากเดิม รอ ยละ 25 เปน รอยละ 49 ของจํานวนหุน ที่ ออกจําหนายทั้งหมด และไดจดทะเบียนเพิ่มทุน เปน ระยะ เพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 1,785 ลานบาท เพื่อรองรับ การใชสิท ธิข องใบสําคัญแสดงสิท ธิท ี่จะซื้อหุน สามัญชุดที่ 1 และชุดที่ 2 ซึ่งไดหมดอายุไปแลวเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2544 และวัน ที่ 14 ธันวาคม 2545 ตามลําดับ เพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 2,414.16 ลานบาท เพื่อซื้อหุน สามัญจํานวนรอยละ 99.99 ของทุนจดทะเบียนและชําระ แลวของ Indosuez W.I. Carr Securities (Thailand) Limited ซึ่งบริษัท หลักทรัพย แอดคินซัน จํากัด (มหาชน) ได ซื้อบริษัท ดังกลาวเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2545 ตอ มาเปลี่ยนชื่อ เปน “บริษัท หลักทรัพย ไอบี จํากัด” และ “บริษัท หลักทรัพย เอเพกซ จํากัด” ตามลําดับ เพิ่มทุนจดทะเบียนเปน 4,916.51 ลานบาท เพื่อรองรับการใชสิท ธิของใบสําคัญแสดงสิท ธิท ี่จะซื้อ หุน สามัญชุดที่ 3 และชุดที่ 4 ซึ่งไดหมดอายุไปแลวเมื่อวันที่ 16 มกราคม 2547 และวัน ที่ 16 มกราคม 2549 ตามลําดับ เปลี่ยนแปลงโครงสรางของคณะกรรมการ โดยนายอุดม วิชยาภัย ดํารงตําแหนงประธานกรรมการ และนางอาภา คิ้วคชา ดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริหาร เพิ่มทุนชําระแลวเปน 3,223.10 ลานบาท จากการใชสิทธิซื้อหุนสามัญของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ชุดที่ 3 เพิ่มทุนชําระแลวเปน 4,195.89 ลานบาท จากการใชสิทธิซื้อหุนสามัญของใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ชุดที่ 4 เปลี่ ยนแปลงโครงสร างของคณะกรรมการ โดยศาสตราจารย ประยูร จิน ดาประดิษ ฐ ดํ ารงตํา แหนงประธาน กรรมการ และนายสดาวุธ เตชะอุบ ล ดํารงตําแหนงประธานกรรมการบริห ารและกรรมการผูจัดการใหญ ปดและควบรวมสาขาจํานวน 23 สาขา 10
ป 2550
-
2551
-
-
-
2552
-
พัฒนาการที่สําคัญ ปดและควบรวมสาขาจํานวน 4 สาขา และเปดสาขาเพิ่มเติมจํานวน 1 สาขา โอนทุนสํารองและทุนสํารองสวนลํ้ามูลคาหุน จํานวน 813.67 ลานบาท เพื่อ ชดเชยผลขาดทุน สะสม ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2549 ซึ่งมีจํานวน 901.67 ลานบาท เมื่อแลวเสร็จ คงเหลือผลขาดทุนสะสมจํานวน 87.99 ลานบาท เปลี่ยนแปลงมูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เปน หุนละ 1 บาท ลดทุน ชําระแลวของบริษัทหลักทรัพย เอเพกซ จํากัด จากเดิม 482.05 ลานบาท ใหคงเหลือ จํานวน 120.51 ลาน บาท เพื่อเตรียมความพรอมในการจําหนายหุนทั้งหมดในบริษัทดังกลาว จําหนายหุน ทั้งหมดในบริษัทหลักทรัพย เอเพกซ จํากัด ใหแก Merrill Lynch Holdings (Mauritius) สํานักงาน ก.ล.ต. มอบใบอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาใหแกบ ริษัท หลักทรัพ ย แอดคิน ซัน จํากัด (มหาชน) และเริ่ม ใหบ ริการดานธุ ร กิจสัญ ญาซื้อ ขายลวงหนาประเภทการเปน นายหน าซื้อ ขายสัญญาซื้อ ขาย ลวงหนา กระทรวงการคลัง ตามขอเสนอแนะของสํานักงาน ก.ล.ต. ออกใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพยแบบ ก. ซึ่งเปน ใบอนุญ าตที่สามารถประกอบธุ ร กิจ หลั กทรั พ ย ไ ดครบทุ กประเภทให แ ก บ ริ ษั ท หลั ก ทรัพ ย แอ ด คิน ซั น จํ า กั ด (มหาชน) สํานักงานก.ล.ต. อนุญาตใหบ ริษัท หลักทรัพย แอดคิน ซัน จํากัด เริ่มประกอบธุร กิจหลักทรัพยป ระเภทการจั ด จําหนายหลักทรัพย ปดและควบรวมสาขาจํานวน 4 สาขา ลงทุน เพิ่มเติม ในบริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็ม เอฟซี จํากัด (มหาชน) รวมเปน รอ ยละ 22.5 ของ ทุน จด ทะเบียนของบริษัทดังกลาว มีผลใหบ ริษัทดังกลาวเปลี่ยนสถานะเปนบริษัทรวม เปดสาขาเพิ่มเติมจํานวน 16 สาขา และปดและควบรวมสาขาจํานวน 3 สาขา ลดทุนจดทะเบียนที่ยังไมไดเรียกชําระ จากจํานวน 4,916.51 ลานบาท ใหคงเหลือ 4,195.89 ลานบาท โดยการตัด หุนสามัญที่ยังไมไดจําหนายจํานวน 720.62 ลานหุน ลดทุนชําระแลว จากจํานวน 4,195.89 ลานบาท ใหคงเหลือ 4,038.14 ลานบาท โดยการลดจํานวนหุน ใหนอ ยลง จํานวน 157.75 ลานหุน เพื่อชดเชยผลขาดทุน สะสม ณ วันที่ 30 กัน ยายน 2551 ซึ่งมีจํานวน 157.75 ลานบาท ลดทุนชําระแลว จากจํานวน 4,038.14 ลานบาท ใหคงเหลือ 2,300.00 ลานบาท โดยการลดจํานวนหุน ใหนอ ยลง จํานวน 1,738.14 ลานหุน เพื่อคืน เงินทุนบางสวนจํานวน 1,738.14 ลานบาท ใหแกผูถือหุน เปลี่ยนแปลงชื่อจดทะเบียน จากเดิม “บริษัท หลักทรัพย แอดคินซัน จํากัด (มหาชน)” เปน “บริษัท หลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน)” ลดทุนชําระแลว จากจํานวน 2,300.00 ลานบาท ใหคงเหลือ 1,866.37 ลานบาท โดยการลดจํานวนหุน ใหนอ ยลง จํานวน 433.63 ลานหุน เพื่อชดเชยผลขาดทุน สะสม ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2552 จํานวน 433.63 ลานบาท ออกและเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน ใหม จํานวนไมเกิน 466.59 ลานหุน มูลคาที่ตราไวห ุน ละ 1.00 บาท ใหแ กผู ถือหุนเดิมตามสัดสวนการถือหุน ในอัตรา 4 หุน เดิม ตอ 1 หุนใหม ในราคาหุน ละ 1.30 บาท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิท ธิที่จะซื้อหุน สามัญของบริษัท ฯ รุน ที่ 5 จํานวนไมเกิน 466.59 ลานหนวย ใหแ กผูถือ หุน เดิ มที่ จองซื้ อหุ น สามั ญเพิ่ม ทุน และไดรั บ การจั ดสรรหุน ในอั ตรา 1 หุน สามัญ ใหม ตอ 1 หนวย ใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยไมคิดมูลคา ทั้งนี้ ใบสําคัญแสดงสิท ธิ 1 หนวย สามารถใชสิท ธิซื้อหุน สามัญได 1 หุน ใน 11
ป
พัฒนาการที่สําคัญ -
2553
-
2554
-
2555
-
2556
-
ราคาหุนละ 1.50 บาท ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ใหแกกรรมการ ผูบ ริห าร พนักงาน และ/หรือที่ ปรึ กษาของบริ ษัท ฯ ตามโครงการ ESOP ครั้ งที่ 1 จํา นวนไมเ กิน 350.00 ลา นหนว ย โดยไมคิดมู ลค า ทั้ งนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวยสามารถใชสิท ธิซื้อหุน สามัญได 1 หุน ในราคาหุนละ 1.50 บาท เพิ่มทุนจดทะเบียน จากจํานวน 1,866.37 ลานบาท เปน 3,149.55 ลานบาท โดยการออกหุน สามัญใหมจํานวน 1,283.18 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุน ละ 1.00 บาท จดทะเบียนเพิ่มทุนจดชําระแลว จากจํานวน 1,866.37 ลานบาท เปน 2,330.76 ลานบาท เมื่อ วัน ที่ 25 มกราคม 2553 แตงตั้งดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เปนรักษาการประธานเจาหนาที่บ ริห าร แทนนายบี เตชะอุบล ที่ไดลาออก โดยมีผล นับแตวัน ที่ 7 กันยายน 2553 แตงตั้งนางสาวสุดธิดา จิระพัฒนสกุล เปนกรรมการ (มีอํานาจในการจัดการ) แทนนายบี เตชะอุบ ล ที่ไดลาออก โดยมีผลนับแตวัน ที่ 29 กันยายน 2553 แตงตั้งนางสาวเนตรชนก อาณาวรรณ เปน รักษาการผูดํารงตําแหนงสูงสุดสายบัญชีและการเงิน และผูอํานวยการ อาวุโสสายบัญชีและการเงิน แทนนางสาวลักษมี คงวัฒนเศรษฐ รองกรรมการผูจัดการ สายบัญชีและการเงิน โดย มีผลนับ แตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 แตงตั้งดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เปนประธานเจาหนาที่บ ริห าร โดยมีผลนับ แตวันที่ 1 พฤษภาคม 2554 แตงตั้งนางสาวเนตรชนก อาณาวรรณ เปน ผูดํารงตํา แหนงสูงสุดสายบัญ ชีแ ละการเงิน โดยมีผลนับ แตวัน ที่ 1 เมษายน 2554 แตงตั้งพลตํารวจตรีวีรพงษ ชื่น ภักดีเปน กรรมการ (ไมมีอํานาจในการจัดการ) แทนกรรมการที่ไดลาออก โดยมีผล นับแตวัน ที่ 23 พฤศจิกายน 2554 แต ง ตั้งนายนิ พ นธ วิสิ ษ ฐยุ ท ธศาสตร เป น กรรมการอิ ส ระ แทนกรรมการที่ไ ด ลาออกโดยมี ผ ลนั บ แต วั น ที่ 23 พฤศจิกายน 2554 แตงตั้งนายทอมมี่ เตชะอุบล เปนกรรมการ (ไมมีอํานาจในการจัดการ) แทนนายทศไชย อัศวิน วิจิตร ที่ไดลาออก โดยมีผลนับแตวัน ที่ 29 พฤษภาคม 2555 แตงตั้งนายชนะชัย จุลจิราภรณ เปน กรรมการผูจัดการ โดยมีผลนับ แตวัน ที่ 1 พฤษภาคม 2555 และแตงตั้งเปน กรรมการบริหารโดยมีผลนับ แตวันที่ 29 พฤษภาคม 2555 เพิ่ม ทุน ชํ าระแลวจากจํานวน 2,330.76 ลานบาท เป น 2,330.81 ล านบาท จากการใชสิท ธิซื้อ หุน สามั ญของ ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ ชุดที่ 5 ซึ่งไดหมดอายุไปแลวเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2556 เปดสาขาเพิ่มเติมจํานวน 1 สาขา และปดและควบรวมสาขาจํานวน 1 สาขา ลดทุนจดทะเบียนที่ยังไมไดเรียกชําระ จากจํานวน 3,149.55 ลานบาท ใหคงเหลือ 2,330.81 ลานบาท โดยการตัด หุนสามัญที่ยังไมไดจําหนายจํานวน 818.74 ลานหุน เพิ่มทุนจดทะเบียน จากจํานวน 2,330.81 ลานบาท เปน 3,189.79 ลานบาท โดยการออกหุน สามัญใหมจํานวน 858.98 ลานหุน มูลคาที่ตราไวหุน ละ 1.00 บาท จดทะเบียนเพิ่มทุนจดชําระแลว จากจํานวน 2,330.81 ลานบาท เปน 2,589.74 ลานบาท เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 12
ป
พัฒนาการที่สําคัญ -
2557
-
2556 แตงตั้งนางสาวสุดธิดา จิระพัฒนสกุล และนายชนะชัย จุลจิราภรณ เปนประธานเจาหนาที่บ ริหาร แทน ดร.ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ที่ลาออกไป โดยมีผลนับ แตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 แตงตั้งนายสุวิช รัตนยานท เปนกรรมการผูจัดการใหญ โดยมีผลนับแตวัน ที่ 1 พฤศจิกายน 2556 แตงตั้งนายศุภกฤต โชคสุขธนพงศ เปนกรรมการผูจัดการ สายตราสารทุน 4 แทนนายสุวิช รัตนยานท โดยมีผลนับ แตวัน ที่ 1 พฤศจิกายน 2556 แตงตั้งนายชนะชัย จุลจิราภรณ เปนกรรมการ (ไมมีอํานาจในการจัดการ) แทน ดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ที่ลาออก ไป โดยมีผลนับ แตวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556 แตงตั้งนายทอมมี่ เตชะอุบ ล เปน กรรมการ (มีอํานาจในการจัดการ) โดยมีผลนับแตวันที่ 25 พฤศจิกายน 2556 จัดตั้ งบริษั ท โฮลดิ้งส ภายใตชื่ อ “บริษัท คั น ทรี่ กรุป โฮลดิ้ง ส จํากั ด (มหาชน)” ซึ่ง เป น บริษั ท มหาชนขึ้ น เพื่ อ ประกอบธุรกิจทางดานลงทุนและถือหุนของบริษัท ฯ โดยบริษัทแม จะทําคําเสนอซื้อหลักทรัพยทั้งหมดของบริษัทฯ
ความสัมพันธกับ กลุมธุรกิจของผูถือหุน - ไมม-ี
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1 ลักษณะบริการ
บริษัทฯ ประกอบธุรกิจหลักประเภทธุรกิจหลักทรัพย โดยไดรับอนุญาตจากกระทรวงการคลัง ใหป ระกอบธุรกิจ 8 ประเภท ดังตอไปนี้ 1. การเปนนายหนาซื้อขายหลักทรัพย 2. การคาหลักทรัพย 3. การจัดจําหนายหลักทรัพย 4. การเปนทีป่ รึกษาการลงทุน 5. การจัดการกองทุน รวม 6. การจัดการกองทุน สวนบุคคล 7. กิจการการยืมและใหยืมหลักทรัพย 8. การจัดการเงินรวมลงทุน นอกจากนั้น ยังไดรับอนุญาตใหป ระกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาและอยูในรายชื่อบริษัทที่เปน ที่ปรึกษาทางการเงิน ที่ ไดรับความเห็น ชอบจากสํานักงาน ก.ล.ต. อีกดวย
13
กิจการคาหลักทรัพย บริษัทฯ มีนโยบายลงทุนในหลักทรัพยทั้งประเภทตราสารทุน และตราสารหนี้ โดยมีวัตถุป ระสงค เพื่อ การคาในระยะสั้น และ เพื่อการลงทุนในระยะยาว โดยจัดใหมีคณะกรรมการลงทุน ทําหนาที่กําหนดแนวทางหลักเกณฑแ ละระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับ การลงทุน ที่ชัดเจนซึ่งการลงทุน แตละประเภทจะมีการกําหนดวงเงิน และแผนกลยุท ธการลงทุน เปน ประจําทุกป โดยปจจุบัน ได มุงเนน ดานตราสารหนี้ของลูกคาสถาบัน มากขึ้น และกําลังมองหาชองทางที่จะเขาไปสูธุรกิจตราสารหนี้ของรายยอย กิจการนายหนาซื้อ ขายหลักทรัพ ย บริษัทฯ ดําเนิน ธุร กิจใหบ ริการเปน นายหนาซื้อขายหลักทรัพยโดยเปน ตัวแทนซึ่งทําหนาที่เปน นายหนาในการซื้อ ขาย หลักทรัพยใหกับ ลูกคาทั้งบุคคลธรรมดา นิติบ ุคคล และสถาบัน การเงิน ตางๆ รวมถึงกองทุน และบริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน ทั้ง ภายในประเทศและต างประเทศโดยมี ชอ งทางการส งคํ าสั่ ง ซื้อ ขายได ท ั้ งการสง คํ า สั่ง ซื้ อ ขายหลักทรั พยโ ดยตรงกับ เจ าหนา ที่ การตลาดหรือการสงคําสั่งซื้อขายหลักทรัพยท างโทรศัพทไปยังเจาหนาที่การตลาด ที่ใหคําแนะนําการลงทุน และรับ คําสั่งซื้อ ขาย หลักทรัพยท ี่ประจําอยูท ี่สํานักงานใหญและ/หรือสํานักงานสาขาทั่วประเทศ ทั้งนี้ ยังมีการบริการสงคําสั่งซื้อขายหลักทรัพยผาน ระบบอิน เทอรเน็ตโดยลูกคาสามารถสงคําสั่งซื้อขายผานระบบอิน เทอรเน็ตไดทั่วโลก เพื่ออํานวยความสะดวกในการทําธุร กรรม ใหกับ ลูกคาตามความตองการอยางเต็มที่ บริษัทฯ ยังมีน โยบายสงเสริมและสนับ สนุน การขยายฐานผูลงทุน ในตลาดหลักทรัพยฯ และใหความสําคัญกับการพิจารณารับลูกคา ทั้งนี้ บัญชี เพื่อทําการซื้อขายสําหรับ ลูกคาที่ใหบ ริการอยู ไดแก บัญชีเงินสด (Cash) บัญชีที่วางเงิน ไวกับบริษัท ฯ ลวงหนา เพื่อการชําระราคาเต็มจํานวน (Cash Balance) และบัญชีมารจิ้น ในระบบเครดิตบาลานซ (Credit Balance) โดย ณ สิ้นป 2556 มีบัญชีลูกคา จํานวน 56,925 บัญชี โดยเปนบัญชีท ี่มีการซื้อขาย (Active)1 อยูท ั้งสิ้น 24,208 บัญชี ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 มีบ ัญชีลูกคา จํานวน 57,313 บัญชี โดยเปน บัญชีที่มีการซื้อขาย (Active)1 อยูทั้งสิ้น 20,694บัญชี บริษัทฯ มีสวนแบงตลาดและมูลคาการซื้อขายหลักทรัพยในระยะ 3 ปที่ผานมา ปรากฏตามตารางตอไปนี้ หนวย : ลานบาท (เวนแตระบุเปนอยางอื่น)
มูลคาการซือ้ ขาย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ มูลคาการซือ้ ขายของบริษทั ฯ สวนแบงตลาด (รอยละ)
ป 2555 7,615,637.96 298,928.56 761,872.92
ป 2556 11,777,210.10 553,458.69 1,070,610.18
ป 2557 10,193,179.07 946,111.84 632,781.88
5.53
4.97
3.11
นโยบายการรับลูกคาและการอนุมัติวงเงินซื้อขายหลักทรัพยใหลูกคา บริษัทฯ มีน โยบายใหความสําคัญกับ การสงเสริมและสนับ สนุน การขยายฐานผูลงทุน ในตลาดหลักทรัพยฯ และมีการ กําหนดนโยบายวิธีป ฏิบัติที่ชัดเจนตามกฎระเบียบของตลาดหลักทรัพยฯ และสํานักงาน ก.ล.ต. รวมถึงมีการเตรียมการสําหรับ นโยบาย เพื่อรองรับ มาตรการการปองกันการใชธุรกรรมหลักทรัพยเปน ชองทางในการฟอกเงิน และสนับสนุน ทางการเงิน แกการกอ การราย ซึ่งเปน มาตรการสําคัญ เพื่อรองรับ นโยบายหลักของการกํากับ ดูแลสถาบัน การเงิน ของทางการ ในการพิจารณาการรับ ลูกคา ไดมีการกําหนดนโยบายเกี่ยวกับ ความเหมาะสมในการรับลูกคา และมีน โยบายในการพิจารณาวงเงิน ใหกับ ลูกคาแตละราย ตามความเหมาะสมของฐานะการเงิน เพื่อ ประเมิน การบริการที่จะนําเสนอแกลูกคาแตละรายใหเหมาะสมที่สุด รวมทั้งเปน การ ควบคุม และปองกัน ความเสี่ยงในการทําธุร กรรมเกี่ยวกับ การซื้อ ขายหลักทรัพยข องลูกคาใหอ ยูในระดับ ที่เ หมาะสมดวย โดยได กําหนดหลักเกณฑการเปดบัญชี การพิจารณาอนุมัติวงเงิน และการตรวจสอบ เพื่อทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับ ลูกคาไวเปนลายลักษณ 1
บัญชีที่มีการซื้อขาย (Active) หมายถึงบัญชีที่มีการซื้อขายอยางนอย 1 ครัง้ ตอป
14
อักษร รวมถึงไดกําหนดใหผูแนะนําการลงทุนผูซึ่งดูแลลูกคา มีห นาที่ตองทําความรูจักลูกคาและประเมิน กอ นการนําเสนอบริการ เพื่อใหการนําเสนอบริการเปนไปตามวัตถุป ระสงค การลงทุน ฐานะการเงิน ขอ จํากัดของลูกคาทั้งในดานการลงทุน เงื่อนไข และ รูปแบบการลงทุน บริษัทฯ ไดกําหนดผูมีอํานาจอนุมัติการเปดบัญชีและอนุมัติวงเงินซื้อขายหลักทรัพย เพื่อใหการพิจารณามีความถูกตอ ง เหมาะสมรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังตารางตอไปนี้ วงเงินอนุมัติ ไมเกิน 2 ลานบาท ไมเกิน 20 ลานบาท ไมเกิน 30 ลานบาท ไมเกิน 150 ลานบาท 150 ลานบาทขึน้ ไป
ผูมอี ํานาจอนุมัติ ผูจัดการสายธุรกิจคาหลักทรัพย หรือผูบริหารสูงสุดของสาขา หรือสูงกวา ผูบริห ารสูงสุดสายตราสารทุน ตราสารอนุพนั ธ หรือสูงกวา กรรมการผูจัดการตราสารทุน ตราสารอนุพนั ธ หรือสูงกวา คณะกรรมการพิจารณาวงเงินซื้อขายหลักทรัพย หรือสูงกวา คณะกรรมการบริหาร
คณะกรรมการพิจารณาวงเงินซื้อขายหลักทรัพยของลูกคาของบริษัท ฯ ประกอบดวย 1. กรรมการบริห าร 1 ทาน 2. ผูบ ริห ารสูงสุดของสายตราสารทุน 2 ทาน 3. ผูบ ริห ารสูงสุดของสายธุรกิจตราสารอนุพันธ 1 ทาน 4. ผูบ ริห ารสูงสุดของสายบริหารความเสี่ยง 1 ทาน การอนุมัติของคณะกรรมการพิจารณาวงเงิน ใหถือเปน มติ เมื่อกรรมการมีการลงมติเ ห็น ชอบรวมกัน ไมน อยกวาครึ่งหนึ่ง ของกรรมการผูเขารวมประชุม นโยบายการกําหนดมารจิ้นของหลักทรัพย บริษัทฯ ไดจัดตั้งคณะกรรมการบริห ารความเสี่ยงทําหนาที่พิจารณารายชื่อหลักทรัพยแ ละอัตรามารจิ้น เริ่มตน เพื่อให ลูกคาสามารถซื้อ หลักทรัพ ยด วยเงิน ให กูยื ม ในบัญ ชีม ารจิ้ น ในระบบ Credit Balance คณะกรรมการดัง กล าวประกอบด ว ย กรรมการบริห าร 1 ทาน ผูบ ริห ารสู งสุด สายธุ ร กิจตราสารทุน 2 ทาน ผูบ ริ ห ารสู งสุดสายบริห ารความเสี่ย ง ผูบ ริห ารสูงสุ ดฝา ย ปฏิบัติการหลักทรัพย 1 ทาน และผูบ ริห ารสูงสุดของฝายวิเคราะหห ลักทรัพ ย 1 ทาน ใหถือ เปน มติ เมื่อ กรรมการลงมติเห็น ชอบ รวมกันไมนอยกวา 3 ใน 6 ของกรรมการดังกลาวและจะทําการทบทวนอัตรามารจิ้น เริ่มตน อยางนอ ยไตรมาสละ 1 ครั้ง แตห ากมี เหตุการณหรือมีปจจัยที่อาจเกิดความผันผวนอื่น ใด ซึ่งจะมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอราคาหลักทรัพย ก็จะทําการพิจารณาเปน กรณีพิเศษ เพื่อใหท ันตอเหตุการณ
15
ทั้งนี้ บริษัท ฯ มีห ลักเกณฑในการกําหนดอัตรามารจิ้น เริ่มตน โดยแบงเปนกลุมตามระดับความเสี่ยง ดังนี้ กลุม IM (%) A 50 B 60 C 70 F 100 N 0 หมายเหตุ : - หุนที่อยูในกลุม A, B, C, F จัดเปนหุนที่สามารถซื้อขายได และนํามาเปนหลักประกันได (Marginable Securities) ตามอัตรา ในตารางขางตน - หุนที่อยูในกลุม N จัดเปนหุนที่ไมใหซื้อในบัญชีมารจิ้น และไมรับเปนหลักประกัน (Non –Marginable Securities)
กิจการนายหนาซื้อ ขายสัญญาซื้อขายลวงหนา บริษัทฯ ไดรับใบอนุญาตประกอบธุร กิจการเปน ตัวแทนซื้อขายสัญญาลวงหนา เพื่อดําเนิน ธุร กิจเปน นายหนาซื้อ ขาย สัญญาซื้อขายลวงหนา จากสํานักงาน ก.ล.ต. ในเดือนกรกฎาคม 2551 บริษัท สํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด โดยเริ่มทําการ ซื้อขายในวันที่ 22 กัน ยายน 2551 ในฐานะตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา บริษัท ฯ ไดใหบริการรับสงคําสั่งซื้อขายสัญญาซือ้ ขายลวงหนา ผานทางผูแนะนําการลงทุน และไดพัฒนาระบบใหสามารถรองรับ คําสั่งซื้อขาย ผานชองทางอื่น ๆ เชน การรับ คํา สั่งซื้อขายผานอิน เตอรเน็ท จากลูกคา และผูแนะนําการลงทุน ของบริษัท ฯ ในทุกสาขาทั่วประเทศ ผานระบบอุป กรณอิเล็คโทรนิค และอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ อื่นๆ บริษัท ฯ ไดมุงเนน การเพิ่มฐานลูกคาผูลงทุน ทั้งลูกคาทั่วไป กลุมลูกคาสถาบัน รวมถึงผูลงทุนตางประเทศ ณ สิ้น ป 2551 บริษัทฯ มีสวนแบงการตลาดรอยละ 0.62 ของตลาดสัญญาซื้อขายลวงหนาทั้งหมด และ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัท ฯ ไดมี สวนแบงการตลาดเปน รอยละ 1.26 ในป 2558 บริษัทฯ มีเปาหมายในการเพิ่มสวนแบงการตลาดสําหรับธุรกิจตราสารอนุพัน ธเปน รอยละ 2 จึงมีแผนงานใน การขยายฐานลูกคารายยอยทั่วไปใหเพิ่มขึ้น และเพิ่มปริมาณของผูแ นะนําการลงทุน ตราสารอนุพัน ธ ใหมากขึ้น เพื่อ รองรับ การ เติบโตของตลาดสัญญาซื้อขายลวงหนาในอนาคต ซึ่งจะเปนชองทางในการเพิ่มสวนแบงการตลาด ใน ป 2558 และปตอไป โดยเนน การใหความรูเกี่ยวกับ สิน คาและการลงทุน ทั้งในดาน ที่เกี่ยวกับ กลยุท ธการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา ผลตอบแทน และการ บริห ารความเสี่ยงในการลงทุน ใหแกลูกคาและนักลงทุน ที่สนใจ ในปจจุบัน การแขงขัน โดยเสรีดานคาคอมมิชชั่น ทําใหเปนอุปสรรค ในการขยายฐานผูแนะนําการลงทุน การขยายฐานลูกคา และการขยายปริมาณการซื้อ ขาย เชน ความไดเปรียบของนักลงทุน สถาบัน และนักลงทุนรายใหญ ที่ไดรบั สิท ธิอัตราคาคอมมิชชั่น ขั้น ต่ํากวานักลงทุน รายยอ ยทั่วไป ทําใหลูกคารายยอย มีตน ทุน ใน การลงทุน มากกวานักลงทุน สถาบัน และนักลงทุน รายใหญ ดังนั้น นักลงทุน รายยอยจึงเสียโอกาสในการทํากําไร สงผลใหตลาด สัญญาซื้อขายลวงหนาขาดความสนใจในมุมมองของนักลงทุนรายยอย กิจการที่ป รึกษาการลงทุน การใหคําแนะนําแกลูกคาในการลงทุนเกี่ยวกับหลักทรัพย ถือเปนสวนหนึ่งของธุรกรรมปกติดานกิจการนายหนาซื้อ ขาย หลักทรัพย แตหากการใหคําแนะนําดังกลาวไดรับ คาธรรมเนียมหรือมีคาตอบแทน รวมถึงการใหคําแนะนําตอ สาธารณชนที่มิใช ลูกคาถือเปนการประกอบธุรกิจหลักทรัพยประเภทการเปน ที่ปรึกษาการลงทุน 16
กิจการที่ป รึกษาทางการเงิน บริษัท ฯ มีนโยบายในการขยายการใหบ ริการดานการเงิน แกลูกคาใหมีประสิท ธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยตั้งแตเ ดือ นธัน วาคม 2549 เปนตน มา บริษัทฯ ไดจัดตั้งสายงานวาณิชธนกิจ เพื่อตอบสนองความตองการที่หลากหลายของลูกคา ดวยบริการการเปน ที่ป รึ กษาทางการเงิ น หนว ยงานดั งกล าวไดเ ขาเปน สมาชิกกั บ ชมรมวาณิ ชธนกิจ เมื่อ วัน ที่ 23 มกราคม 2550 และได รับ ความ เห็นชอบในการเปน ที่ป รึกษาทางการเงินจากสํานักงาน ก.ล.ต. ตั้งแตวัน ที่ 21 มีนาคม 2555 ถึงวันที่ 20 มีน าคม 2560 ปจจุบนั มีทมี วาณิชธนกิจที่มีความสามารถ มีป ระสบการณที่ครอบคลุมงานดานวานิชธนกิจทั้งหมด และพรอ มที่จะใหบ ริการแกลูกคาตั้งแต ขนาดเล็ก ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ บริษัท ฯ ให ความสําคัญ ในดานการบริการและการรักษาความสัมพัน ธท ี่ดีกับ ลูกค าอยางสม่ํา เสมอ พรอ มทั้งการให คําแนะนํ าอยางมือ อาชีพ สอดคลองกั บ วัตถุป ระสงค และก อ ใหเกิดประโยชนสูงสุ ดตอลูกคา ซึ่ง ขอบเขตของงานดานที่ป รึกษา ทางการเงินประกอบดวย - การเปนที่ป รึกษาในการนําหลักทรัพยเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ - การเปนที่ป รึกษาในการออกตราสารหนี้และตราสารทุนผานตลาดเงินและตลาดทุน - การเปนที่ป รึกษาดานการควบรวมกิจการ - การเปนที่ป รึกษาในการประเมินมูลคากิจการ การปรับปรุงโครงสรางทุน และโครงสรางทางการเงิน - การเปนที่ป รึกษาในการจัดหาผูรวมทุน - การเปนที่ป รึกษาทางการเงิน อิสระในการใหความเห็น ตางๆ - งานดานวาณิชธนกิจอื่นๆ เชน การเปนที่ปรึกษาในการปรับโครงสรางหนี้ เปน ตน กิจการจัดจําหนายหลักทรัพย จากนโยบายที่ต องการใหการบริการด านการเงิน ของบริ ษัท ฯ สามารถตอบสนองความต อ งการของลู กคาได อย า ง ครบถวนและมีป ระสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น บริษัท ฯ จึงไดขอใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพยประเภทการจัดจําหนายหลักทรัพย ซึ่ง ไดรับอนุญาตในการประกอบธุรกิจดังกลาวเมื่อวัน ที่ 19 พฤศจิกายน 2551 สงผลใหปจจุบัน สามารถใหบ ริการในดานงานวาณิชธน กิจกับลูกคาไดอยางครบวงจรมากยิ่งขึ้น จากการที่ บริษัท ฯ มีน โยบายและวิ สัยทัศนในการเปน บริษัท หลักทรัพ ยชั้น นํา มีบ ริการที่สามารถตอบสนองความ ตองการทุกความตองการของลูกคาได งานดานที่ป รึกษาทางการเงิน และกิจการจัดจําหนายหลักทรัพยจึงเปน บริการที่สําคัญอีก บริการหนึ่ง บริษัท ฯ มีความตั้งใจในการใหบ ริการที่ดีที่สุด เพื่อ สรางความพึงพอใจสูงสุดใหแกลูกคา อัน จะทําให มีฐานลูกคาที่ กวางขวางมากขึ้น และสามารถสรางรายได ใหเพิ่มขึ้น ซึ่งทายที่สุดก็จะนํามาซึ่งผลตอบแทนที่ดีตอผูถือหุนตอไป กิจการการยืมและใหยืมหลักทรัพ ย บริษัทฯ ไดรับการอนุมัติจากสํานักงาน ก.ล.ต. ใหสามารถประกอบธุร กรรมการยืมและใหยืมหลักทรัพยไดเมื่อวัน ที่ 12 กรกฎาคม 2553 และไดเริ่ม ดําเนิน ธุรกรรมอยางเปน ทางการปลายป 2555 โดยลูกคาของบริษัท ฯ สามารถที่จะนําหลักทรัพ ยท ี่ ปลอดภาระ มาใหยืมไดทั้ง Port การลงทุน โดยลูกคาที่นําหลักทรัพยมาใหยืม จะมีรายไดจากคาธรรมเนียมในการใหยืม หลักทรัพย ในสวนของลูกคาที่ทําการขอยืมหลักทรัพยตองจายคาธรรมเนียมในการยืมหลักทรัพย โดยบริษัท ฯ ดําเนินการใหเกิดธุรกรรมการยืม และใหยืมหลักทรัพยดังนี้ 1. บริษัท ฯ ใหยืม หลักทรัพ ยกับ ลูกคา เพื่อ ใหลูกคาทําการขายชอรต โดยหลักทรัพ ยดังกลาวจะตอ งเปน หลักทรัพ ยท ี่ อนุญาตใหขายชอรตไดซึ่งปจจุบัน เปน หลักทรัพย ใน SET100 และ ETF 17
2. ในปจจุบัน การขายชอรตสามารถกระทําผานบัญชี Cash เทานั้น ในอนาคตอันใกลจะสามารถทําการขายชอรตไดเพิ่ม ในบัญชี Cash Balance และ Credit Balance 3. ผูยืมจะเสียคาธรรมเนียมการยืมหลักทรัพยใหกับบริษัท ฯ ผูใหยืมจะไดรับคาธรรมเนียมการยืมหลักทรัพยจากบริษัท ฯ 4. สิท ธิประโยชนจากการถือหลักทรัพยท ี่นํามาใหยืมยังคงเปน ของผูใหยืม บริษัทฯ ใหความสําคัญและสนับ สนุนใหลูกคาใชบริการยืมหลักทรัพยและใหยืมหลักทรัพย เพื่อการขายชอรต ซึ่งเปนการ เพิ่มทางเลือกในการลงทุน และใชในการบริหารความเสี่ยงในการลงทุนโดยเฉพาะในยามที่สภาวะการลงทุน ในตลาดหลักทรัพ ยฯ มี ความผัน ผวน โดยมั่นใจวาธุรกิจการเปน ตัวแทนการยืมและใหยืมหลักทรัพย จะเปน ธุร กิจที่สามารถสรางรายไดใหกับ บริษัท ฯ ทั้ง ทางตรงและทางออม จากปริมาณการซื้อขายหลักทรัพยท ี่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต อยางไรก็ตาม บริษัท ฯ จึงมุงมั่น ในการพัฒนา และกําหนดแผนงาน เพื่อขยายฐานนักลงทุน และพัฒนาโปรแกรมการยืมและใหยืมหลักทรัพย เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับ ลูกคา มากยิ่งขึ้น โดยกําหนดแผนงานสําหรับ ป 2558 ดังนี้ 1. พัฒนาระบบ SBL เพื่อบัญชีซื้อขายหลักทรัพยป ระเภทบัญชี Cash Balance และ Credit Balance เพื่อเปน การเพิ่ม ทางเลือกในการลงทุน ใหแกลูกคาของบริษัทฯ 2. ขยายฐานลูกคาทั้งรายสถาบัน และรายยอย ที่มีแนวโนมสนใจจะยืมและใหยืมหลักทรัพยมากยิ่งขึ้น เชน TSD โดย TSD มีแนวโนมที่จะยืมหลักทรัพยจากบริษัท ฯ เพิ่มขึ้น 3. พัฒนาผลิตภัณฑที่เกี่ยวของกับ การใช SBL เพื่อเปน ทางเลือกในการลงทุนของลูกคา เชน Derivative Warrants กิจการตัวแทนซื้อ ขายหนวยลงทุน บริษัทฯ มีบ ริการการซื้อขายหนวยลงทุน (Investment Unit) หรือกองทุน รวม (Mutual Fund) ของบริษัท จัดการกองทุนชัน้ นํา ของประเทศ เพื่ อตอบสนองการลงทุน แบบครบวงจรของผู ลงทุน โดยบริ ษั ท ฯ มี เจ าหนา ที่การตลาดที่ มีค วามรูแ ละความ เชี่ยวชาญสามารถใหคําปรึกษาดานการลงทุนในหนวยลงทุน บริษัทฯ ไดรวบรวมกองทุนมากกวา 200 กองทุน เพื่อใหผูลงทุนสามารถเลือกสรรกองทุนใหสอดคลองกับวัตถุป ระสงคใน การลงทุน ไวครบทุกประเภท เชน การออมเงิน เพื่อสรางผลตอบแทนที่สม่ําเสมอ การวางแผนภาษี เพื่อ ใชลดหยอ นทางภาษี หรือ การลงทุน เพื่อสรางมูลคาเพิ่มในอนาคต เปน ตน ปจจุบัน บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุนทีบ่ ริษัท ฯ เปน ตัวแทนสนับสนุน การขายและรับ ซื้อคืน หนวยลงทุน ประกอบดวย 1. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุนกรุงไทย จํากัด (มหาชน) 2. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน ไทยพาณิชย จํากัด 3. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน วรรณ จํากัด 4. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน แอสเซท พลัส จํากัด 5. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน ฟลลิป จํากัด 6. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน ไอเอ็น จี (ประเทศไทย) จํากัด 7. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน อเบอรดีน จํากัด 8. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) 9. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน กรุงศรี จํากัด 10. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน โซลาริส จํากัด 11. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน ฟนัน ซา จํากัด 12. บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน แลนดแอนดเฮาส จํากัด 18
นอกจากนั้น บริษัทฯ ยังอยูระหวางการขยายการใหบ ริการเปน ตัวแทนซื้อ ขายหนวยลงทุน ของบริษัท หลักทรัพ ยจัดการ กองทุนอื่นๆ เพื่อเพิ่มทางเลือกในดานการลงทุนและ เพื่อการบริการที่ดีที่สุดใหแกลูกคาตอไป กิจการซื้อ ขายตราสารหนี้ บริษทั ฯ มีนโยบายเพิม่ บริการทางการเงิน เพือ่ ตอบสนองความตองการลงทุน ของลูกคาใหครบถวน และขยายฐานลูกคา ใหกวางขวางยิ่งขึ้น บริษทั ฯ กําหนดขอบเขตการซื้อขายตราสารหนี้ในระดับความเสี่ยงปานกลางขึ้น ไป โดยไดเพิ่มปริมาณการซื้อขายตราสาร หนี้ ทั้งนี้ ลูกคาสามารถเลือกลงทุน ในตราสารหนีท้ มี่ ีระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมกับ ตนเอง และสามารถเลือกระยะเวลาการลงทุน ตามที่ตนเองตองการได ซึ่งเปนการสรางความพึงพอใจใหลกู คามากขึ้น รวมทั้งเปน การสงเสริมการซื้อขายตราสารหนี้ของตลาดตรา สารหนี้ไทยใหมีสภาพคลองมากยิ่งขึ้น โครงสรางรายไดของบริษัทฯ
รายได
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2555 (ปรับปรุงใหม) ลานบาท รอยละของ ลานบาท รอยละของ ลานบาท รอยละของ รายไดรวม รายไดรวม รายไดรวม 1,024.70 64.03 1,695.68 81.96 1,269.68 78.60 61.72 3.86 39.59 1.91 18.78 1.16 99.04 6.19 66.15 3.20 80.90 5.01 3.16 0.20 19.72 0.95 20.81 1.29 60.41 3.77 86.42 4.18 50.79 3.14 68.29 4.27 90.96 4.40 85.10 5.27 45.07 2.81 56.61 2.74 74.11 4.59 237.98 14.87 13.71 0.66 15.11 0.94 1,600.37 100.00 2,068.84 100.00 1,615.28 100.00
คานายหนา คาธรรมเนียมและบริการ กําไรจากเงินลงทุน กําไรจากตราสารอนุพันธ สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ดอกเบี้ยและเงินปนผล ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย รายไดอื่น รายไดรวม หมายเหตุ โปรดดูรายละเอียดประกอบเกี่ยวกับนโยบายเงินลงทุนในหัวขอสินทรัพยที่ใชในการประกอบธุรกิจและการเปลี่ยนแปลงโครงสรางรายไดของบริษัทฯ ในหัวขอ การวิเ คราะหและคําอธิบายของฝายจัดการ
ความสามารถในการดํารงอัตราสวนเงินกองทุนสภาพคลองสุท ธิ ตามหลักเกณฑของสํานักงาน ก.ล.ต. ที่กําหนดใหบริษัท ฯ ตองดํารงอัตราสวนเงิน กองทุน สภาพคลองสุท ธิไวไมนอ ยกวา รอยละ 7 ของหนี้สินทั่วไปและทรัพยสินที่ตองวางเปนประกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ สามารถดํารงอัตราสวนดังกลาว คิดเปนรอยละ 88.00
19
2.2 การตลาดและการแขงขัน นโยบายการตลาด บริษัทฯ จะมุง เนนการเปน บริษัท หลักทรัพยที่มีการใหบริการที่ดีท ี่สุดและครบวงจร รวมถึงรักษาสวนแบงการตลาดใหเติบโตอยาง ตอเนื่อง โดยมีแผนงานดังนี้ - พัฒนาระบบการซื้อขายหลักทรัพยแ ละระบบการซื้อขายตราสารอนุพัน ธใหมีป ระสิท ธิภาพและมีเสถียรภาพ เพื่อ รองรับ ปริมาณการซื้อขายของลูกคา - เพิ่มบริการและผลิตภัณฑ เพื่อตอบสนองความตอ งการของลูกคาและใหลูกคาสามารถเลือ กลงทุน ไดอ ยางเหมาะสมและ บริห ารจัดการการลงทุน ไดอยางมีประสิท ธิภาพ - จัดอบรมใหความรูแกพนักงาน เพื่อใหมีศักยภาพในการใหคําแนะนําในการลงทุนและรองรับการใหบริการแกลูกคาไดอยางมี ประสิท ธิภาพ - ปรับปรุงโครงสรางภายใน เพื่อใหเกิดความคลองตัวในการบริห ารจัดการ โดยมีเปาหมายใหลูกคาไดรับ บริการอยางเร็วที่สุด และมีความยุงยากนอยที่สุด - ออกบูธและจั ดสัม มนาใหความรูแ ก น ักลงทุ น และผูที่ สนใจทั้ง ในกรุงเทพมหานครและตางจังหวัด โดยเฉพาะเมื่อ ตลาด หลักทรัพยฯ มีการออกผลิตภัณฑใหมๆ เชน สัญญาซื้อขายทองคําลวงหนา ใบสําคัญแสดงสิท ธิอนุพัน ธ เปน ตน เพื่อ เปน การกระตุนใหนักลงทุนหนาใหมเกิดความสนใจที่จะลงทุนในตลาดหลักทรัพย อันจะเปนการชวยขยายฐานลูกคาใหแกบริษทั ฯ และเปนการรักษาฐานลูกคาเดิมเอาไวดวย - พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีป ระสิท ธิภาพและใหลูกคาไดรับ ความสะดวกสบายในการใชบ ริการ ตลอดจนหา มาตรการตางๆ ในการรักษาบุคลากรใหปฏิบัติงานทีบ่ ริษัทฯในระยะยาว ลักษณะลูกคา-การพึ่งพิงเจาหนาที่การตลาด ลูกคาของบริษัทฯ สวนใหญเปน กลุมลูกคาทั่วไป ทั้งบุคคลธรรมดาที่เปนคนไทยและตางชาติ สวนลูกคานิติบุคคลที่เปน สถาบัน มี จํานวนไมมาก บริษัทฯ มิไดพึ่งพิงลูกคารายใหญรายใดรายหนึ่ง หรือเจาหนาที่การตลาดกลุม ใดกลุม หนึ่งเปน พิเศษ ทั้งนี้ ในอนาคตมี แผนจะมุงเนนลูกคาสถาบันทั้งในและตางประเทศมากขึ้น โดยวางเปาหมายวาภายใน 3 ปจะมีสัดสวนลูกคาสถาบัน ทั้งในและตางประเทศ เพิ่มเปนรอยละ 20 เพื่อลดความเสี่ยงจากการพึ่งพารายไดจากคานายหนาที่ผัน ผวนตามบรรยากาศการลงทุน ในตลาดหลักทรัพยฯ โดย เบื้องตนบริษัท ฯ จะเปดบัญชีลงทุน กับ บริษัท หลักทรัพยในตางประเทศ เพื่อใชเปนชองทางใหกองทุนในไทยใชลงทุนในตลาดหุน ตางประเทศ เชน ตลาดหุน ยุโรป เปน ตน และยังเปน การเปดทางใหกองทุน ตางประเทศเขามาลงทุน ในตลาดหลักทรัพยฯ ผานบริษัท ฯ นอกจากนี้ ยัง เตรียมที่จะเขาไปลงทุน ในธุรกิจหลักทรัพยห ลังเปดเขตการคาเสรีอาเซียนในป 2558 อีกดวย
20
สัดสวนลูกคาในประเทศและตางประเทศ ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษทั ฯ มีสัดสวนลูกคาในประเทศและตางประเทศดังนี้ ประเภทลูกคา ป 2557
มูลคาการซื้อขายแตละประเภทบัญชี (บาท) จํานวนเงิน Equity TFEX (ลานบาท) (สัญญา)
จํานวนลูกคาทั้งหมด ที่ยังเปดบัญชีซื้อขายอยู
จํานวนลูกคา Active (บัญชี)
สัดสวน %
37
23
0.10
158,557,877,722.00
80,800
64,295
22,194
97.62
1,368,942,470,324.34
2,057,077
1,418
320
1.41
8,926,713,869.84
-
136
24
0.11
4,185,903,730.98
-
7
-
-
-
-
457
172
0.76
46,207,778,844.39
-
43
3
0.01
107,371,928.65
-
66,393
22,736
100.00
1,586,928,116,420.20
2,137,877
บัญชีเงินลงทุนของบริษัทหลักทรัพย ลูกคาบุคคลธรรมดา – ไทย ลูกคาบุคคลธรรมดา – ตางชาติ ลูกคานิติบุคคล – ไทย ลูกคานิติบุคคล – ตางชาติ ลูกคาสถาบัน – ในประเทศ ลูกคาสถาบัน – ตางประเทศ รวม
*** หมายเหตุ จํานวนลูกคา รวมที่ปดบัญชีระหวางป
สภาพการแขงขัน นับจากที่มีการเปดเสรีอัตราคานายหนาเต็มรูป แบบในป 2555 การแขงขัน ของบริษัท ในธุร กิจหลักทรัพ ยยังคงมีแ นวโนมเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง ดังจะเห็นไดจากการปรับ ตัวลดลงของอัตราคานายหนา การโยกยายของเจาหนาที่ผูแ นะนําการลงทุน และการเพิ่มจํานวน ขึ้นของบริษัท หลักทรัพย อยางไรก็ตาม จากการแขงขัน ในอุตสาหกรรมที่เพิ่มสูงขึ้น ทําใหบริษัท หลักทรัพยจะตองพยายามสรางฐานรายไดใหม เพื่อขยาย ไปยังธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ รายไดจากคาธรรมเนียมและบริการจากธุรกิจวาณิชธนกิจ ธุรกิจการบริห ารสิน ทรัพย หรือกําไรจากบัญชี เงิน ลงทุนของบริษัท หลักทรัพย เปน ตน
21
การตลาดและการแขงขัน SET Index
Jan-56 Feb-56 Mar-56 Apr-56 May-56 Jun-56 Jul-56 Aug-56 Sep-56 Oct-56 Nov-56 Dec-56 Jan-57 Feb-57 Mar-57 Apr-57 May-57 Jun-57 Jul-57 Aug-57 Sep-57 Oct-57 Nov-57 Dec-57
1,650 1,600 1,550 1,500 1,450 1,400 1,350 1,300 1,250 1,200 1,150 1,100
ดัชนีตลาดหลักทรัพยไทย ปดสิ้นป 2557 ที่ระดับ 1,497.67 จุด เพิ่มขึน้ จาก ณ สิ้นป 2557 รอยละ 15.32 คาสูงสุดของดัชนีฯ 1,602.21จุด คาต่ําสุดของดัชนีฯ 1,205.447 จุด มูลคาซื้อขายหลักทรัพยเฉลี่ยตอวัน 41,605 ลานบาท
ภาวะตลาดหลักทรัพยฯ ในป 2557 ในชวงครึ่งปแรกตลาดหลักทรัพยฯ ไดรับ ผลกระทบจากปญหาความไมสงบทางการเมืองตอเนื่องมาจากปลายป 2556 สงผลให ดัชนีมีการแกวงตัวผันผวนเล็กนอย แตจากทาทีที่สถานการณจะคลี่คลายไปในทางบวก จนกระทั่งเกิดการรัฐประหาร และคณะรักษา ความสงบแหง ชาติ (คสช.) ตัดสิน ใจ ประกาศเขาควบคุมอํานาจปกครองประเทศในชวงเดื อ นพฤษภาคม สงผลใหดั ชนีสามารถไต ระดับสูงขึ้น และสราง New high ในรอบ 1 ป ไดที่บ ริเวณ 1,602.21 จุด ซึ่งภายหลังจากที่ คสช. เขามาบริห ารประเทศนั้น ก็ไดมีการออก มาตรการ เพื่อกระตุนเศรษฐกิจใหฟน ตัวผานโครงการลงทุนภาครัฐ เชน โครงการที่อยูอาศัยดอกเบี้ยต่ํา โครงการรถไฟรางคู โครงสราง พื้นฐาน 3 ลานลานบาท และการอนุมัติงบประมาณป 2558 วงเงิน 2.57 ลานลานบาท ซึ่งเปนงบขาดดุล 2.5 แสนลานบาท ดังนั้น จึงมี มุมมองวาภาวะเศรษฐกิจไทยไดผานจุดต่ําสุดไปแลวและจะฟน ตัวขึ้นในชวงครึ่งปหลัง นอกจากนี้ ตลาดหลักทรัพยฯ ยังไดรับ ผลบวกจาก Fund flow ตางชาติที่ไหลกลับเขาลงทุนในตลาดเกิดใหม Emerging market กลุม TIP (ไทย อินโดนีเซีย ฟลิป ปนส) จากการทํา Carry trade เงิน ยูโร เพื่อเขาลงทุนในสิน ทรัพยท ี่ไดผลตอบแทนสูงขึ้นหลังจากที่ธนาคาร กลางยุโรปปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง รวมถึงออกมาตรการ LTRO วงเงิน 4 แสนลานยูโร เพื่อเพิ่มสภาพคลองและกระตุน เศรษฐกิจ อีกทั้งสง สัญญาณเตรียมแผน QE ในอนาคตอีกดวย สงผลใหคาเงิน บาทแข็งคาขึ้น และคาเงินยูโรออนคาลง ซึ่งหนุนตอดัชนีหุน ไทยใหพุงทะยานขึน้ อยางรอนแรง สําหรับชวงครึ่งปหลัง ตลาดหลักทรัพยฯ เริ่มเผชิญกับ ภาวะเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น แตยังสามารถปรับตัวขึ้น โดยมีเหตุการณสําคัญทั้งใน ประเทศและตางประเทศสงผลกระทบตอตลาดหลักทรัพยฯไมวาจะเปนความกังวลตอการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกหลัง IMF ปรับ ลด คาดการณการเติบโตทางเศรษฐกิจโลกลง FED ไดยุติการเขาซื้อพันธบัตรในการประชุม FOMC เมื่อวัน ที่ 21 ตุลาคม แตยังคงนโยบาย ดอกเบี้ยที่ต่ําใกลศูนยตอไปจนกวาขอมูลเศรษฐกิจสามารถยืน ยัน การฟน ตัวไดตามเปาหมายของ FED เอง ECB ลดดอกเบี้ยลงระดับ ต่ําสุดเปน ประวัติการณ ยืนยันถึงเศรษฐกิจยุโรปทีไ่ มคอยสูดีนัก ฯลฯ เหลานี้ สงผลใหสภาพตลาดการเงิน โลกในครึ่งปห ลังทวีความผัน ผวนสูงขึ้น
22
หลักทรัพยจดทะเบียนใหม ในป 2557 มีห ลักทรัพยเขาจดทะเบียนซื้อขายในตลาดหลักทรัพยฯ และตลาดหลักทรัพย mai จํานวน 46 บริษัท เพิ่มขึ้น มากกวาป 2556 ที่มีห ลักทรัพยเขาจดทะเบียน 38 บริษัท
23
ตารางแสดงมูลคาซื้อ (ขาย) สุทธิ รายป และรายเดือ นในป 2557 ของนักลงทุนแตละประเภท หนวย : ลานบาท นักลงทุน
บัญ ชีบริษัท
นักลงทุน
นักลงทุนใน
นักลงทุน
บัญชีบริษัท
นักลงทุน
นักลงทุนใน
สถาบัน
หลักทรัพย
ตางประเทศ
ประเทศ
สถาบัน
หลักทรัพย
ตางประเทศ
ประเทศ
2546
20,238
(665)
(24,609)
5,036
มกราคม
3,475
(520)
(13,665)
10,710
2547
6,236
(3,146)
5,612
(8,702)
กุมภาพันธ
14,148
1,016
(21,377)
6,213
2548
(51,204)
(121)
118,542
(67,217)
มีนาคม
(3,671)
2,635
14,254
(13,218)
2549
(12,757)
1,084
83,446
(71,772)
เมษายน
3,130
(14)
15,872
(18,988)
2550
3,764
(1,601)
55,018
(57,181)
พฤษภาคม
18,012
1,643
(35,760)
16,105
2551
45,177
924
(162,346)
116,246
มิถุนายน
6,823
2,917
(357)
(9,383)
2552
(2,303)
1,388
38,231
(37,316)
กรกฎาคม
(15,156)
1,457
13,766
(67)
2553
(15,200)
(449)
81,724
(66,075)
สิงหาคม
10,096
1,366
2,398
(13,860)
2554
(29,149)
1,307
(5,119)
32,962
กันยายน
(5,430)
(513)
21,117
(15,173)
2555
(24,302)
7,256
76,388
(59,342)
ตุลาคม
12,346
(3,893)
(16,139)
7,687
2556
108,163
(1,723)
(193,911)
87,471
พฤศจิกายน
3,600
10,523
11,047
(25,169)
2557
71,424
3,582
(36,584)
(38,421)
ธันวาคม
24,052
(13,035)
(27,739)
16,722
รวม
71,424
3,582
(36,584)
(38,421)
ป
เดือน
มู ลค าการซื้ อ ขายรายกลุ ม นั กลงทุ น ป 2557 พบว า กลุมนักลงทุน ตางประเทศและกลุมนักลงทุน ในประเทศ มียอดขายสุทธิ ในจํานวนที่ใกลเคียงกัน และเป น 2 กลุ ม ที่ มีก ารขายสุ ท ธิ เ ป น ส ว นใหญ ม าตลอดทั้ ง ป ขณะที่ น ั ก ลงทุ น กลุ ม สถาบั น และบั ญ ชี ข อง บริ ษั ท หลั กทรั พ ย เป น ฝ ายซื้ อ สุ ท ธิ แนวโนมธุรกิจหลักทรัพยป 2558 สําหรับป 2558 ตลาดหลักทรัพยฯ ไดป ระกาศกลยุท ธห ลักในป 2558 มุงขยายสิน คาและบริการดวยคุณภาพและเปน สากล พรอมเพิ่มสภาพคลอง และพัฒนาระบบงานมุงสู Digital Exchange รองรับฐานธุรกิจใหม พรอมเดิน หนาเปน ผูน ําการพัฒนารวมกับตลาด ทุนในกลุมประเทศลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Sub region : GMS) อยางตอเนื่อง โดยในป 2558 นี้ จะเพิ่ม มูลคาตลาดรวมจากหุน IPO อีก 2.5 แสนลานบาทและเพิ่มคุณภาพในทุกมิติใหกับตลาดทุนไทย เพื่อมุงไปสูการเติบโตที่มั่น คงยั่งยืน
24
ตารางสถิติตัวเลขที่สําคัญ 2552 GDP Growth (ณ ราคาคงที่ป 2531)
2553
2554
2555
2556
2557
-2.3%
7.8%
0.1%
6.5%
2.9%
1% (f)
Market Capitalization (Btm)
5,873,101
8,334,684
8,407,696
11,831,448
11,496,765
13,856,283
Market Turnover (Btm)
4,338,479
6,937,890
7,040,457
7,615,637
11,777,210
10,193,179
17,854
28,669
28,854
31,084
48,070
41,604
ดัชนีตลาดปด (High)
751
1,049
1,144
1,397
1,643
1,600
ดัชนีตลาดปด (Low)
411
685
855
1,036
1,275
1,224
25.56
15.35
12.07
18.25
14.60
17.81
3.65
2.92
3.72
2.98
3.24
2.94
การซื้อขายเฉลี่ยตอวัน (SET)
P/E (เทา) อัตราผลตอบแทนเงินปนผล Source: SET and บริษัทฯ Note: Estimated figures and data at end of period
2.3 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ แหลงที่มาของเงิน ทุน แหลงที่มาของเงินทุนในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ สวนใหญมาจากเงินทุนของบริษัท ฯ งานที่ย ังไมไดสงมอบ - ไมมี การจัดหาเงินทุนหรือ การใหกยู ืมเงินแกบ ุคคลทีเ่ กีย่ วขอ งกับผูบริหารหรือผูถอื หุนรายใหญ - ไมมี -
25
3. ปจจัยความเสีย่ ง 1. ความเสี่ยงจากความผันผวนของมูลคาการซื้อขายหลักทรัพย รายไดห ลักของบริษัทฯ มาจากรายไดคานายหนา โดยในป 2554 -2556 รายไดคานายหนามีมูลคา 1,240.37 ลานบาท 1,269.68 ลานบาท และ 1,695.68 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 80.17 รอยละ 78.60 และรอยละ 81.96 ของรายไดรวม ตามลําดับ และ ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 รายไดคานายหนามีมูลคา 1,024.70 ลานบาท คิดเปน สัดสวนรอ ยละ 66.54 ของรายไดร วม ซึ่งรายไดคานายหนามี ความสัมพัน ธโดยตรงกับภาวะเศรษฐกิจ ความเคลื่อนไหวของตลาดเงินและตลาดทุน ปริม าณการซื้อ ขายหลักทรัพยในตลาดหลักทรัพ ยฯ และความเชื่อมั่นของนักลงทุน ซึ่งเปนปจจัยที่อยูน อกเหนือการควบคุมของบริษัท ฯ โดยในป 2553 ป 2554 ป 2555 ปริมาณการซื้อขาย หลักทรัพยเฉลี่ยตอวัน ในตลาดหลักทรัพยฯ มีจํานวนเทากับ 28,669 ลานบาท 28,854 ลานบาท และ 31,084 ลานบาท ตามลําดับ ในขณะ ที่ในป 2556 มีปริมาณการซื้อขายหลักทรัพยเฉลี่ยตอวันในตลาดหลักทรัพยฯ เทากับ 48,070 ลานบาท เพิ่มขึ้น จากป 2555 ในอัตรารอยละ 48.81 เนื่องจากในป 2556 ปจจัยตางๆ ทั้งจากปจจัยภายในและภายนอกประเทศ ที่สงผลกระทบทําใหตลาดหลักทรัพยฯ มีความผัน ผวน สูง โดยในระหวางป SET index ปรับเพิ่มขึ้นทําสถิติสูงสุดในรอบ 20 ป ที่ระดับ 1,643.43 จุด และมีมลู คาซื้อขายหลักทรัพยสูงสุดนับ ตั้งแต ตลาดหลักทรัพยฯ เปดทําการ โดยบริษัทฯ มีรายไดคานายหนาใน ป 2554 ป 2555 และ ป 2556 เปนเงิน 1,240 ลานบาท 1,270 ลานบาท และ 1,696 ลานบาท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพยเฉลี่ยตอ วัน เทากับ 41,604.81 ลานบาท ลดลง จากปริมาณการซื้อขายหลักทรัพยเฉลี่ยป 2556 คิดเปน รอยละ 13.45 เนื่อ งจากในชวงครึ่งปแรกของป 2557 SET index มีการปรับ ลดลง ต่ําถึงที่ระดับ 1,224.62 จุด โดยบริษัท ฯ มีร ายไดคานายหนาของป 2557 เปน เงิน 1,024.70 ลานบาท ซึ่งลดลงเมื่อ เทียบกับ ป 2556 ที่ 1,695.68 ลานบาท ความผัน ผวนของเศรษฐกิจ ตลาดเงิน และตลาดทุน อาจเกิดขึ้น ไดดวยปจจัยหลายประการซึ่งอยูน อกเหนือ การควบคุม เช น ผลกระทบจากปญหาเศรษฐกิจทั้งในภูมิภาคอเมริกา และยุโรป ทั้งจากการปรับ นโยบายการเงิน ของสหรัฐอเมริกา การฟน ตัวของเศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และกลุมประเทศยุโรป เหตุการณความรุน แรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต และปญหาทางการเมือ งในประเทศ ซึ่ง เหตุการณเหลานี้สงผลกระทบตอความเชื่อมั่น ของนักลงทุนทั้งในประเทศและตางประเทศ และสงผลกระทบในทางลบตอ ปริมาณการซื้อ ขายหลักทรัพ ยในตลาดหลักทรัพยฯ รวมถึงปริมาณการระดมทุน และการนําหลักทรัพ ยเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ และสงผล กระทบในทางลบอยางมีน ัยสําคัญตอการดําเนินธุรกิจ ฐานะทางการเงิน และผลการดําเนิน งานของ บริษัทฯ อยางไรก็ตาม เพื่อเปน การรองรับ ความผันผวนดังกลาว บริษัทฯ ไดขยายฐานรายไดไปยังธุร กิจอื่น ๆ เพิ่ม ขึ้น เพื่อใหการดําเนิน ธุรกิจไมพึ่งพิงกับรายไดจากธุรกิจดานใดดานหนึ่ง เชน การใหบ ริการที่ป รึกษาทางการเงิน การจัดจําหนายและรับ ประกัน การจําหนาย หลักทรัพย การเปน ตัวแทนสนับ สนุน การขายหน วยลงทุน การใหบ ริการธุร กิจยืมและใหยืม หลักทรัพ ย (SBL) การเปน ตัวแทนซื้อ ขาย หลักทรัพยในตางประเทศ และการบริการจัดจําหนายใบสําคัญแสดงสิท ธิฯ (Derivative Warrants) เปนตน 2. ความเสี่ยงจากการแขงขันในธุรกิจหลักทรัพย ธุรกิจหลักทรัพยเปนธุรกิจที่มีรายไดห ลักมาจากการเปน นายหนาซื้อ ขายหลักทรัพ ย ซึ่งขึ้น อยูกับ ปริม าณซื้อขายหลักทรัพยข อง ลูกคา ในระหวางป 2553 – 2555 ตลาดหลักทรัพยฯ กาวเขาสูการเปดเสรีคาคอมมิชชั่น อยางเต็มตัว ตามแผนพัฒนาตลาดทุนและนโยบาย ของสํานักงาน ก.ล.ต. ในสวนของการเปดเสรีธุรกิจหลักทรัพย การเปดเสรีคาธรรมเนียมในการซื้อขายหลักทรัพย (คาคอมมิชชั่น ) ซึ่งเปน มาตรการที่สําคัญที่ สํานักงาน ก.ล.ต. ไดดําเนิน การอยางคอยเปน คอยไป โดยในป 2553 เปน ปแรกที่ใชระบบคาคอมมิชชั่น แบบขั้น บัน ได และเปดเสรีเต็มที่ในป 2555 นับตั้งแตการประกาศของสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ เกี่ยวกับ อัตราคาธรรมเนียมการซื้อ ขาย หลัก ทรัพ ยแบบขั้น บัน ได (Sliding Scale) ตั้ง แตวั น ที่ 1 มกราคม 2553 เปน ตน มา บริษัท ฯ ตองเผชิ ญกับ การแข งขัน ในด านต างๆ นอกเหนือจากการแขงขัน ในดานอัตราคาธรรมเนียมซื้อขายหลักทรัพ ย อาทิ การขยายสาขาของคูแ ขง เพื่อ ตอบสนองความสะดวกสบาย 26
ของลูกคา การชิงสวนแบงการตลาดที่ทวีความรุน แรง ฯลฯ บริษัทฯ จึงตองดําเนินการสรรหาบุคลากรที่มีความสามารถมารวมงานกับบริษทั พรอมทั้งการเนน การพัฒนาทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และขยายฐานลูกคาและสรางปริมาณการซื้อขายที่เพิ่ม ขึ้น โดยมีวัตถุป ระสงค เพื่อปรับกลยุท ธใหสามารถตอสูกับ สภาวะการแขงขัน ในตลาดได นอกจากนี้ การเปดเสรีดานเงินทุนของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asian Economic Community : AEC) ซึ่งจะทําใหเ กิดการ เชื่อมโยงตลาดทุนของเหลาประเทศสมาชิก ทั้งหมด 10 ประเทศเขาดวยกัน ทําใหการลงทุนในตางประเทศในกลุมประเทศ AEC สามารถ กระทําไดงายและสะดวกมากขึ้น โดยในชวงแรกนั้น ตลาดหลักทรัพยของประเทศสิงคโปร มาเลเซีย และไทย จะรวมมือ กัน กอ น ซึ่งคาดวา จะทําใหเกิดการไหลเวียนของเงินทุนเปนปริมาณมาก ดังนั้นความเสี่ยงที่อาจสงผลกระทบ ไดแก ความเสี่ยงจากการแขงขัน ระหวางบริษัท หลั กทรั พย ที่เ พิ่ม สู งขึ้ น ซึ่ ง รวมไปถึง ความหลากหลายของผลิตภัณ ฑ ท างการเงิ น ที่ ให บ ริก าร และความต อ งการแย งชิ ง สว นแบ งทาง การตลาดที่เพิ่มสูงขึ้น อัน เปน ผลมาจากปริมาณการซื้อขายที่มากขึ้นทั้งจากนักลงทุนในประเทศ และภายนอกประเทศที่สนใจที่จะลงทุน ใน ประเทศไทย อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดตระหนักถึงภาวะแขงขัน ที่รุน แรงในธุร กิจหลักทรัพ ย และอัตราคาธรรมเนียมการซื้อ ขายหลักทรัพยที่ ลดลง จึงมีน โยบายที่จะเพิ่ม ปริมาณการซื้อ ขายหลักทรัพยของลูกคารายตางๆ โดยมุงเนน ดวยบุคลากรที่มีความสามารถ โดยจะเนน คัดเลือกรับ บุคลากรที่มีประสบการณดา นธุร กิจหลักทรัพยห รือ ธุรกิจใกลเคียง มีการจัดอบรมใหแ กบ ุคลากรเปน ประจําทุกป เพื่อ พัฒ นา ความรูและความสามารถในการใหบริการตางๆ ไดดียิ่งขึ้น ในกรณีที่มีผลิตภัณฑและบริการใหมแ นะนําสูตลาด บริษัท ฯ จะมีการจัดอบรม ใหแกบุคลากรภายในระยะเวลาอัน รวดเร็ว สงเสริมใหพนักงานพัฒนาความรูในการปฏิบัติงานใหดียิ่งขึ้น โดยการรวมฟงสัมมนาและการทํา การประชุมเชิงปฏิบ ัติการอยางสม่ําเสมอ มีการสื่อสารกับ พนักงานเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมอยางสม่ําเสมอโดยเฉพาะ เจาหนาที่การตลาดผูบริหารจะมีการจัดประชุมกับ เจาหนาที่การตลาดเปน ประจําทุกเดือน เพื่อแจงที่ความเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรมใหมๆ ในอุตสาหกรรม เพื่อสามารถตอบสนองความตอ งการของนัก ลงทุน และลูก คาได อยางรวดเร็ ว นอกจากนี้ ยั งมุงเน น ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่ท ันสมัย พรอมที่จะตอบสนองลูกคาไดอยางรวดเร็วและมีป ระสิท ธิภาพ การขยายฐานลูกคา การเพิ่ม ปริมาณสาขา การเพิ่ม คุณภาพงานวิจัย รวมทั้งการควบคุมคาใชจายตางๆ เพื่อ สอดคลองกับ การแขงขัน ดังกลาว โดยคาดวาจะสามารถรองรับ ความเสี่ยงจาก การแขงขันของการเปดเสรีธุรกิจหลักทรัพยได 3. ความเสี่ยงจากการผิดนัดชําระเงิน ของลูกคา ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2556 และ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัท ฯ มีลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยท ี่ระงับ การรับรูรายไดจํานวน 397.72 ลานบาทและ 398.00 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งหนี้ท ี่มีปญหาจํานวนดังกลาวนี้ไดมีการตั้งสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญหลังจากหักมูลคา หลักประกันไวครบถวนแลว โดยบริษัทฯ มีนโยบายที่จะลดความเสี่ยงอัน เกิดจากการผิดนัดชําระราคาคาซื้อหลักทรัพ ย หรือผิดนัดชําระการวางหลักประกัน ของลูกคาโดยใหความสําคัญตอการพิจารณาคัดเลือกลูกคา เพื่อใหไดลูกคาที่มีคุณภาพและกําหนดวงเงินซื้อขายหลักทรัพย และวงเงิน ใน การลงทุ น ในสั ญ ญาซื้ อ ขายลว งหน า ให เ หมาะสมตามฐานะการเงิ น ความสามารถในการชํ า ระหนี้ สภาพคล อ งทางการเงิ น และ ประสบการณการลงทุนของลูกคา อีกทั้งยังมีการทบทวนสถานะของลูกคา และควบคุมการใชวงเงินอยางใกลชิดรวมทั้งควบคุมดูแลสัดสวน ของมูลคาหลักประกัน ใหเปนไปตามเกณฑที่กําหนดอยางเครงครัด ในกรณีที่ลูกคาผิดนัดชําระเงิน บริษัท ฯ จะดําเนิน การหามซื้อหลักทรัพยเพิ่ม เติม จนกวาจะมีการชําระราคาคาซื้อหลักทรัพย ครบถวน และมีขั้นตอนการติดตามและการดําเนิน การ โดยหนวยงานที่รับผิดชอบดานชําระราคาและดานการตลาดจะรวมกัน ติดตามการ ชําระราคาของลูกคา ซึ่งหากการชําระราคาไมสามารถดําเนิน การภายในระยะเวลาที่กําหนด และหลังจากการติดตามไมไดผลจะแจงให สํานักกฎหมายของบริษัทฯ ดําเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายตอไป 27
4. ความเสี่ยงจากการโยกยายบัญชีของลูกคาไปยังบริษทั อืน่ และการขยายฐานลูกคา ลูกคาของบริษัทฯ สวนใหญเปนกลุมลูกคาทั่วไป ทั้งบุคคลธรรมดา นิติบุคคล และสถาบัน ในประเทศและตางประเทศ โดย ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2556 มีจํานวนบัญชีลูกคาทั้งสิ้น 60,025 บัญชี โดยเปนจํานวนบัญชีท ี่ลูกคาทําการซื้อขาย2 จํานวน 25,027 บัญชีแ ละ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 มีจํานวนบัญชีลูกคาทั้งสิ้น 66,393 บัญชี โดยเปน จํานวนบัญชีที่ลูกคาทําการซื้อ ขาย1 จํานวน 22,736 บัญชี โดยบริษัท ฯ มีสัดสวนรายไดจากคานายหนาประมาณรอยละ 66.54 นอกจากนี้ ยังมีรายไดจากธุรกิจวาณิชธนกิจ ซึ่งจะชวยใหมีชองทางในการหารายไดเพิ่มขึ้น โดยไมตองพึ่งพิงรายไดจากธุร กิจ นายหนาซื้อขายหลักทรัพยเพียงอยางเดียว อีกทั้ง ยังมีนโยบายการขยายฐานลูกคารายยอยออกไปสูกลุมเปาหมายใหมๆ เพิ่มมากขึ้น เพื่อ ลดความเสี่ยงดังกลาว โดยการพัฒนาทีมงานวิเคราะหหลักทรัพย และมุงเนน การพัฒ นาปรับ ปรุงสื่อ งานวิจัยและสื่อ ออนไลนตางๆ อยาง สม่ําเสมอ การสนับสนุน การจัดอบรมสัมมนาใหกับ นักลงทุนทั่วไป และพัฒ นาปรับ ปรุงคุณภาพของบริการดานเทคโนโลยีสารสนเทศให ทันสมัยและมีป ระสิทธิภาพ ใชงานไดงาย เพื่อรองรับ การขยายธุรกิจของบริษัทฯ โดยในป 2557 มีการขยายตัวของจํานวนลูกคาที่ซื้อ ขาย ผานระบบอิน เทอรเน็ตเพิ่มขึ้นจากป 2556 รอยละ 0.4 5. ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงบุคลากร ธุรกิจนายหนาซื้อขายหลักทรัพยเปนธุรกิจที่ตองอาศัยบุคลากรดานการตลาดที่มีความรู ความชํานาญ อัน เปน ผลใหการแขงขัน ในการวาจางผูแนะนําการลงทุน ที่มีคุณสมบัติดังกลาวก็ไดท วีความรุน แรงยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งในสภาวะที่ตลาดเอื้อ ตอ การลงทุน และ ปจจุบัน ซึ่งบุคลากรที่มีประสบการณและความชํานาญในการประกอบธุรกิจหลักทรัพยมีอยูจํากัด ทําใหเกิดการแยงชิงบุคลากรในสายงาน ตางๆ ทั้งนี้ หากมีการโยกยายบุคลากรที่สําคัญของบริษัทฯอาจสงผลกระทบในทางลบตอความตอ เนื่อ งของการดําเนิน ธุร กิจและผลการ ดําเนิน งานได อยางไรก็ตาม บริษัท ฯ ไดตระหนักถึงความเสี่ยงดานบุคลากรทางการตลาด จึงสงเสริมใหมีสวัสดิการที่ดีและใหความสําคัญ กับการฝกอบรมใหแกพนักงาน เพื่อเพิ่มพูนความรูความสามารถ 6. ความเสี่ยงดานการลงทุนในหลักทรัพย ความเสี่ยงดานการลงทุนในหลักทรัพย คือความเสี่ยงที่บ ริษัท ฯ อาจไมไดรับ ผลตอบแทนของเงิน ลงทุน ตามที่คาดการณไว โดย ตระหนักถึงความเสี่ยงดังกลาวจึงจัดตั้งใหมีคณะกรรมการการลงทุน ทําหนาที่กําหนดแนวทาง หลักเกณฑ และระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับ การ ลงทุน ในตราสารทุน และตราสารอนุพัน ธท ี่ชัดเจน โดยกําหนดสัดสวนการลงทุน ประเมินและควบคุมความเสียหายที่อ าจจะเกิดจากความ เสี่ยงดานตลาด โดยมีการกําหนดเพดานความเสี่ยง ไดแก การกําหนดระดับผลขาดทุนที่ยอมรับได (Stop Loss limit) และมูลคาการลงทุน สูงสุดที่ยอมรับได (Position Limit) เนน การลงทุนในหลักทรัพยที่มีปจจัยพื้น ฐานดี มีความเสี่ยงต่ํา รวมถึงการปรับ เปลี่ยนกลยุท ธในการ ลงทุน ใหสอดคลองกับ ภาวการณในการลงทุนของตลาดหลักทรัพยฯ อยางสม่ําเสมอ 7. ความเสี่ยงจากการทําธุรกรรมการจัดจําหนายและรับประกันการจําหนายหลักทรัพย ในการประกอบธุรกิจวาณิชธนกิจสวนการจัดจําหนายและรับประกันการจัดจําหนายหลักทรัพย บริษัท ฯ มีความเสี่ยงในกรณีท ี่ไม สามารถจัดจําหนายหลักทรัพ ยไดห มดตามที่รับ ประกัน การจัดจําหนายไว ซึ่งอาจเกิดจากนักลงทุน ขาดความมั่น ใจตอภาวะการลงทุ น ความผันผวนของตลาดเงินและตลาดหลักทรัพยฯ หรือเกิดจากการรับประกัน การจัดจําหนายหลักทรัพ ยในจํานวนและราคาไมเหมาะสม ทําใหตองรับหลักทรัพยท ี่เหลือเขาบัญชีและ ตองรับผลขาดทุน หากภายหลังหลักทรัพยดังกลาวต่ํากวาราคาที่บริษัทฯ ไดรับ ประกัน การจัด 2
บัญชีที่ลูกคาทําการซื้อขาย หมายถึง บัญชีที่ลูกคาทําการซื้อขายอยางนอย 1 ครั้งตอป
28
จําหนายไว ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยงดังกลาว บริษัทฯ จะทําการวิเคราะหขอมูลเบื้องตน ของบริษัท ผูอ อกหลักทรัพยและความสนใจของผู ลงทุน ตอหลักทรัพยดังกลาวอยางระมัดระวัง ทั้งนี้ ๆ ไดมีการจัดตั้งคณะกรรมการการจัดจําหนายหลักทรัพย (Underwriting Committee) เพื่อทําหนาที่พิจารณาและอนุมัติการทําธุรกรรมการจัดจําหนายและการรับ ประกัน การจําหนายหลักทรัพยดังกลาว 8. ความเสี่ยงจากการใหกูยืมเงิน เพื่อซื้อหลักทรัพย บริษัทฯ อาจมีความเสี่ยงจากการใหกูยืมเงิน เพื่อซื้อหลักทรัพยในกรณีที่มูลคาของหลักประกัน ลดลงต่ํากวายอดหนี้ที่มีอยู และ ลูกคาผิดนัดชําระหลักประกัน ซึ่งไดตระหนักถึงประเด็น ดังกลาวจึงกําหนดใหลูกคาในระบบบัญชี Credit Balance ตองดํารงสัดสวนของ หลักประกัน เทียบกับ ยอดหนี้ (Maintenance Margin) ใหเปน ไปตามเงื่อนไขของหนวยงานกํากับ ดูแ ล และ บริษัท ฯ ทั้งนี้ หากสัดสวน ดังกลาวตกลงต่ํากวาอัตราที่กําหนดบริษัทฯ มีขั้น ตอนการ Call Margin การ Intraday Force Margin และการ Force Margin ตามลําดับ อยางไรก็ตาม ราคาหลักทรัพยอาจมีการเคลื่อนไหวรุนแรงจนมีผลทําใหสัดสวนของหลักประกัน เทียบกับ ยอดหนี้ (Maintenance Margin) ปรับลดลงอยางรวดเร็ว บริษัท ฯ จึงมีนโยบายในการบริหารความเสี่ยงในการคัดเลือ กหลักทรัพย และกําหนดหลักประกัน ขั้น ตน (Initial Margin) ของหลักทรัพยในระบบบัญชี Credit Balance อยางรอบคอบ โดยคํานึงถึงความเสี่ยงและลูกคาเปน หลัก นอกจากนี้ ยัง กําหนดเพดานการใหกูยืมเงิน เพื่อซื้อหลักทรัพยทงั้ แบบรายหลักทรัพยและวงเงินรวม เพื่อเปนการควบคุมความเสี่ยงที่รัดกุมอีกดวย ในชวงที่ผานมา ยอดลูกหนี้เงิน กูยืม เพื่อซื้อหลักทรัพยมีความผันผวนอยางตอเนื่องโดย ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม ป 2554 ป 2555 ป 2556 และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีมูลคาเทากับ 514.59 ลานบาท 1,271.64 ลานบาท 597.71 ลานบาท และ 633.56 ลานบาท ตามลําดับ 9. ความเสี่ยงจากการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพนั ธ ในการออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพัน ธ บริษัทฯ มีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหุน อางอิงที่เปน ผลให ใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธฯ มีแนวโนมหรือทิศทางในลักษณะที่จะทําใหใบสําคัญแสดงสิท ธิอ นุพนั ธฯ มีสถานะ In-the-money อยางไรก็ ตาม บริษัทฯ มีกลยุทธในการปองกัน ความเสี่ยง (Hedging Strategy) ดังนี้ กอนการเสนอขายใบสําคัญแสดงสิท ธิอนุพันธ แตละรุนบริษัทฯ ไดน ําแบบจําลอง Ito Simulation มาใชคํานวณชวงราคาของหุน อางอิงที่คาดวาจะเปน ไปไดในอนาคต และนําผลที่ไดมากําหนดลักษณะใบสําคัญแสดงสิท ธิอนุพัน ธ ไดแก ราคาใชสิท ธิอ ายุข องใบสําคัญ แสดงสิทธิอนุพัน ธ ในแตละรุน เปนตน การบริหารความเสี่ยงโดยใช Dynamic Delta Hedging หลักจาก บริษัท ฯ ไดข ายใบสําคัญแสดงสิท ธิอ นุพัน ธออกไปแลว บริษัท ฯ จะใชการบริห ารความเสี่ยงโดยวิธี Dynamic Delta Neutral ซึ่งจะทําใหความเสี่ยงทางดานการผันผวนของราคาใหเขาใกล 0 มากที่สุด กลาวคือ หากราคาหุน อางอิงมีการปรับ ตัวขึ้น หรือลง แลว จนสงผลใหใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพัน ธ ประเภทสิทธิในการซื้อ (Call Warrant) หรือ ใบสําคัญแสดงสิท ธิอนุพัน ธป ระเภทสิท ธิในการ ขาย (Put Warrant) มีแนวโนมหรือทิศทางในลักษณะทีจ่ ะทําใหใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ มีสถานะ In-the-money จะมีการบริห ารความ เสี่ยงโดยการซื้อหรือขายหุน อางอิง (ขึ้นอยูกับประเภทของใบสําคัญแสดงสิท ธิอ นุพัน ธ ) ในสัดสวนที่เหมาะสมซึ่งสามารถคํานวณไดจาก Delta Neutral ซึ่งเปน สูตรคํานวณที่มีป ระสิทธิภาพ ใชกัน อยางแพรหลายและอางอิงตามหลักสากล ตัวอยาง เชน ในกรณีที่ไดทําการเสนอ ขายใบสําคัญแสดงสิท ธิอนุพันธ ประเภทสิทธิในการซื้อ (Call Warrant) หากหุนอางอิงมีร าคาสูงขึ้น บริษัท ฯ มีความเสี่ยงที่ผูถือ ใบสําคัญ แสดงสิทธิอนุพัน ธ จะมีการใชสิท ธิในอนาคต จึงตองคํานวณ Delta เพื่อหาปริมาณหุนอางอิงที่เหมาะสมที่บ ริษัท ฯ ตอ งซื้อ หุน เพื่อ บริห าร
29
ความเสี่ยง ณ ราคาหุน อางอิงนั้น ๆ ในทางตรงกัน ขาม หากราคาหุน อางอิงมีการปรับ ลง ก็จะทําการขายหุน ตามจํานวนที่คํานวณไดจาก Delta อยางไรก็ดี เพื่อใหมีความเสี่ยงต่ําที่สุด บริษัทฯ จะใชการบริห ารความเสี่ยงแบบตลอดเวลา (Real time) ซึ่งจะทําใหตองซื้อหรือ ขายหุนอางอิง เพื่อใหสอดคลองกับ ความเสี่ยงตลอดเวลา สงผลใหบ ริษัทฯ มีความเสี่ยงจากความผัน ผวนของราคาหุน อางอิงต่ํา 10. ความเสี่ยงจากธุรกิจตัวแทนซื้อขายลวงหนา ในการประกอบธุรกิจตัวแทนซื้อขายลวงหนา บริษัท ฯ มีความเสี่ยงจากการที่เงิน หลักประกันของลูกคาที่วางไวอาจไมเพียงพอทีจ่ ะ ชําระหนี้กับสํานักหักบัญชี อันเนื่องมาจากลูกคาขาดทุน จากการลงทุน ในสัญญาซื้อขายลวงหนา ดังนั้น เพื่อ เปน การลดความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ้น จึงมีมาตรการควบคุมความเสี่ยงโดยจะคัดเลือกลูกคาที่มีความรู มีประสบการณการลงทุน ในสัญญาซื้อ ขายลวงหนาตามเกณฑที่ กําหนด และพิจารณาวงเงินใหเหมาะสมกับ ฐานะ ความสามารถในการชําระหนี้ของลูกคา และกําหนดใหลูกคาตองวางหลักประกันเปนเงิน สดกอนการสงคํ าสั่งซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา บริษัท ฯ จัดใหมีการทบทวนวงเงิน อย างสม่ําเสมอ และคอยติดตามผลการซื้อ ขาย สัญญาซื้อขายลวงหนาของลูกคาอยางใกลชิด รวมถึงการควบคุมความเพียงพอของหลักประกันใหเปน ไปตามเกณฑที่กําหนดโดยเครงครัด เพื่อปอ งกัน ความเสี่ ยงจากการขาดทุน จํานวนมากในบัญชีลู กคา รวมถึงการบั งคับ ป ดฐานะสัญญา หากลู กคาไมสามารถปฏิ บัติตาม ขอกําหนดของบริษัท ฯ 11.
ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณฉุกเฉิน บริษั ท ฯ ได ใ หความสํ าคัญ ในการบริ ห ารความเสี่ ยงและการจั ด การความเสีย หายที่อ าจจะเกิ ดขึ้น กับ สํา นั กงานสาขาและ ผูใชบริการ โดยไดมกี ารวางแผนการปองกันภัยตามมาตรฐานความปลอดภัย และไดจัดใหมีการทําประกันภัยซึ่งคุมครองความเสียหายอัน เกิดจากภัยตางๆ รวมทั้งภัยธรรมชาติ อยางตอเนื่องมาโดยตลอด โดยปจจุบัน มีวงเงิน คุมครองรวมกัน กวา 352 ลานบาท ทั้งนี้ ในชวงที่เกิดเหตุการณฉุกเฉิน อาทิ การเกิดอุท กภัยในปลายป 2554 ที่ผานมา สํานักงานสาขาบางแหงที่ตั้งอยูในพื้น ที่ที่ ไดรับผลกระทบจากอุท กภัยไมสามารถเปดใหบริการได บริษัท ฯ จึงไดดําเนินการตามแผนสํารองฉุกเฉิน (Business Continuity Plan) ที่ได กําหนดไว จึงทําใหยังคงสามารถใหบ ริการแกลูกคาไดอ ยางตอ เนื่องแมมีความเสี่ยงจากปจจัยภายนอกที่อาจทําใหการดําเนิน ธุร กิจตอง หยุดชะงัก อีกทั้งมีการทบทวนแผนสํารองฉุกเฉินทุกป
30
4. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 4.1 ทรัพยสนิ ถาวรหลัก ของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษทั ฯ มีสนิ ทรัพยท ี่ใชในการประกอบธุรกิจดังนี้ ประเภท/ลักษณะสินทรัพย
ลักษณะกรรมสิทธิ์
มูลคาตามบัญชี (บาท)
ภาระผูกพัน
เปนเจาของ
11,700,492
- ไมมี -
ตั้งอยูเลขที่ 500/1-3 ถนนประสานไมตรี ตําบลสบตุย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง 52100
เปนเจาของ
9,620,827
- ไมมี -
ตั้งอยูเลขที่ 228/28 - 30 ถนนบรมไตรโลกนาถ ตําบล ในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000 อาคาร ตั้งอยูเลขที่ 50/147 - 155 อาคารฮิลดไซดพลาซา แอนดคอนโดเทล ชั้น 4 ถนนหวยแกว ตําบลชางเผือก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300
เปนเจาของ
12,038,331
- ไมมี -
เปนเจาของ
2
- ไมมี -
สวนปรับปรุงอาคาร เครื่องตกแตง และอุปกรณ สํานักงาน ยานพาหนะ
เปนเจาของ
117,119,080
- ไมมี -
เปนเจาของ
18
- ไมมี -
ยานพาหนะ - สัญญาเชาการเงิน
ผูครอบครอง
1,434,629
-
346,154
ระยะเวลาผอนชําระ คงเหลือ 10 เดือน - ไมมี -
ที่ดินและสิ่งปลูกสราง ตั้งอยูเลขที่ 154/14 - 16 ถนนพังงา ตําบลตลาดใหญ อําเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000
สวนปรับปรุงอาคารระหวางกอสราง
สรุปสาระสําคัญของสัญญาเชาอาคาร ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัท ฯ ไดทําสัญญาเชาอาคาร เพื่อใชเปนที่ตั้งสํานักงานใหญและสํานักงานสาขา ดังมีร ายละเอียด ของสัญญาเชา ดังนี้ ระยะเวลาเชา สํานักงานใหญและสํานักงานสาขา ภาระผูกพัน คงเหลือ เลขที่ 132 (อาคารสิน ธร 1) ชั้น 2, 3 และ 9 ถนนวิทยุ แขวง - ชั้น 2 ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนด ชั้น 2 1 ป 1 เดือน ถูกยึดเงิน ประกัน 5,088,000 บาท ลุมพิน ี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ชั้น 3 1 ป 1 เดือน - ชั้น 3 ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ ชั้น 9 1 ป 1 เดือน กําหนดถูกยึดเงินประกัน 753,600 บาท - ชั้น 9 ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ 31
สํานักงานใหญและสํานักงานสาขา
ระยะเวลาเชา คงเหลือ
ภาระผูกพัน กําหนดถูกยึดเงินประกัน 1,954,800 บาท
เลขที่ 1693 อาคารเซ็นทรัลพลาซา สาขาลาดพราว ชั้น 11 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
1 ป 9 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดถูกยึดเงินประกัน 184,963.68บาท
2 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดถูกยึดเงินประกัน 330,786 บาท
4 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดถูกยึดเงินประกัน 335,540บาท
1 ป 10 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดถูกยึดเงินประกัน 218,820 บาท
2 ป 3 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดถูกยึดเงินประกัน 155,294.10บาท
ปดทําการสาขา 20 กันยายน 2557
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดถูกยึดเงินประกัน 215,176.50บาท
เลขที่ 191 อาคารสีลมคอมเพล็กซ ชั้น 19 หอง C ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
8 เดือน
ยกเลิกสัญญาเชากอนครบกําหนดจะตอง ชําระคาเชาจนครบสัญญา
เลขที่ 191 อาคารสีลมคอมเพล็กซ ชั้น 14 หอง A ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
ปดทําการสาขา 23 กุมภาพันธ 2557
ยกเลิกสัญญาเชากอนครบกําหนดจะตอง ชําระคาเชาจนครบสัญญา
เลขที่ 191 อาคารสีลมคอมเพล็กซ ชั้น 12 หอง D ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500
ปดทําการสาขา 28 กรกฎาคม 2557
ยกเลิกสัญญาเชากอนครบกําหนดจะตอง ชําระคาเชาจนครบสัญญา
ปดทําการสาขา 15 พฤษภาคม 2557
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบ กําหนดถูกยึดเงินประกัน 464,846.40 บาท
เลขที่ 275 อาคารเดอะมอลล สาขาบางแค ชั้น 6 ถนนเพชรเกษม แขวงบางแคเหนือ เขตบางแค กรุงเทพฯ 10160 เลขที่ 30/39 - 50 อาคารเดอะมอลล สาขางามวงศวาน ชั้น12 ถนนงามวงศวาน ตําบลบางเขน อําเภอเมือง จังหวัด นนทบุรี 11000 เลขที่ 1293 อาคารคารฟูร สาขาสําโรง ชั้น 2 หมู 4 ถนน สุขุมวิท ตําบลเทพารักษ อําเภอเมือง จังหวัดสมุท รปราการ 10270 เลขที่ 7/129 - 221 หองเลขที่ 2604A อาคารสํานักงาน ศูน ยการคาเซ็นทรัล พลาซา ปน เกลา ชั้น 6 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมริน ทร เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 408/59 อาคารบานพหลโยธิน พลาซา หองเลขที่ 412/4445 ชั้น 3 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
เลขที่ 999/9 อาคารสํานักงานดิ ออฟฟศเศส แอท เซ็นทรัล เวิลด หองเลขที่ เอ็มเอช 2807 ชั้น 28 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
32
สํานักงานใหญและสํานักงานสาขา
ระยะเวลาเชา คงเหลือ
เลขที่ 540 อาคารเมอรคิวรี่ ชัน้ 14 ถนนเพลิน จิต แขวงลุมพิน ี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
ปดทําการสาขา 6 สิงหาคม 2557
เลขที่ 101/549 มบ.ชลลดาบางบัวทอง ถนนบางกรวยไทร นอย ตําบลโสนลอย อําเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี 11110
ปดทําการสาขา 23 กุมภาพันธ 2557
เลขที่1093/73 อาคารเซ็น ทรัลซิตี้ ทาวเวอร ชัน้ 14 ถนน บางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
9 เดือน
เลขที่ 99, 99/9 หมูท ี่ 2 ถนนแจงวัฒนะ ตําบลบางตลาด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
11 เดือน
ภาระผูกพัน ยกเลิกสัญญาเชากอนครบกําหนดจะตอง ชําระคาเชาจนครบสัญญา และยึดเงิน ประกัน 881,320.80 บาท ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนด ถูกยึดเงิน ประกัน 45,600 บาท ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนด ถูกยึดเงินประกัน 231,807.60 บาท ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน 197,867.85 บาท
1 ป 7 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน 200,000 บาท
เลขที่ 919/112 หมูท ี่ 10 ต. นครสวรรคตก อ.เมือง นครสวรรค จังหวัดนครสวรรค 60000
2 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 3/5 ถนนชายกวาน ตําบลเวียง อําเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000
5 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 2/9-10 อาคารนครพิงคคอนโดมิเนียม ชัน้ ที่ 1 ถนน ราชพฤกษ ตําบลชางเผือ ก อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัด เชียงใหม 50200
8 เดือน
- ไมมี –
เลขที่ 224/1 ชั้นที่ 1 และ 2 หมู 2 ตําบลแมเหียะ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50200
ปดทําการสาขา 28 กรกฎาคม 2557
- ไมมี –
เลขที่ 12/5 ถนนมุกดา ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน 51000
8 เดือน
- ไมมี –
2 ป 3 เดือน
- ไมมี -
7 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 591/5 - 7 ถนนพหลโยธิน ตําบลเวียง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000
เลขที่ 200 ศูน ยการคาจุลดิศหาดใหญพลาซา ชั้น 4 ถนนนิพทั ธอทุ ิศ 3 อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110 เลขที่ 62, 64, 66, 68 ซอยวัน ดีโฆษิตกุลพร ถนนพัฒนาการคูขวาง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัด นครศรีธรรมราช 80000 33
ระยะเวลาเชา คงเหลือ
ภาระผูกพัน
เลขที่ 59/5 - 7 ถนนหวยยอด ตําบลทับเที่ยง อําเภอเมือง จังหวัดตรัง 92000
2 ป 4 เดือน
ไมสามารถบอกเลิกสัญญาเชาไดจนกวา จะหมดสัญญา
เลขที่ 467 ถนนไทรบุรี ตําบลบอยาง อําเภอเมือง จังหวัด สงขลา 90000
2 ป 5 เดือน
- ไมมี -
ปดทําการสาขา 28 กุมภาพันธ 2557
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน - 675,000 บาท - 149,400 บาท (ยกเลิกสัญญาเชา 28 กุมภาพัน ธ 2557)
เลขที่ 1/9 ถนนทวีสินคา ตําบลทาตะเภา อําเภอเมือง จังหวัดชุมพร 86000
10 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 7/8 ถนนศิรริ ัฐ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัด สุรินทร 32000
7 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 1036, 1036/1 - 4 ถนนวัน ลูกเสือ ตําบลเมืองใต อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 33000
2 ป 7 เดือน
ไมสามารถบอกเลิกสัญญาเชาไดจนกวา จะหมดสัญญา ถาบอกเลิกจะถูกยึดเงิน ประกัน 70,000 บาท
เลขที่ 232/6 อาคารอุดรโฟนเทค ชั้น 2 ถนนอุดรดุษฎี ตําบลหมากแขง อําเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 41000
11 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 238/8 โครงการโอโซนวิลเลจ หองเลขที่ I7-I9 ชั้น2 ถ. เทพารักษ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000 โทรศัพท 0-4333-4755 โทรสาร 0-4323-8322
1 ป 2 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 166/1 - 2 ถนนจอมพล ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000
1 ป 4 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน 100,000 บาท
ปดทําการสาขา 28 กรกฎาคม 2557
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน 414,982.80 บาท
เลขที่ 512/8 ถนนชยางกูร ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000
11 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 8/47 - 48 ถนนปลัดเมือง ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดบุรรี ัมย 31000
3 เดือน
- ไมมี -
สํานักงานใหญและสํานักงานสาขา
เลขที่ 29 อาคารลีการเดนสพลาซา ชั้นที่ 6 หอง 607 ถนน ประชาธิปตย ตําบลหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา 90110
เลขที่ 1242/2 สํานักงานเดอะมอลลนครราชสีมา ชั้นที่ 6 หอง เอ 3 ถนนมิตรภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
34
ระยะเวลาเชา คงเหลือ
ภาระผูกพัน
เลขที่ 399 หมู 1 ถนนเพชรเกษม ตําบลไรสม อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000
2 ป 6 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 99 ถนนพิพิธปราสาท ตําบลพระปฐมเจดีย อําเภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000
1 ป
- ไมมี -
เลขที่ 321 ถนนแสงชูโต ตําบลบานเหนือ อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000
กําลังดําเนินการตอ สัญญา 3 เดือนแลว
- ไมมี -
เลขที่ 591/19 ถนนพหลโยธิน ตําบลปากเพรียว อําเภอ เมือง จังหวัดสระบุรี 18000
2 ป 8 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 115 อาคารสตารพลาซา ชั้น 1 ซอยศูนยการคาสาย 5 ถนนสุขุมวิท ตําบลเชิงเนิน อําเภอเมือง จังหวัดระยอง 21000
2 ป 5 เดือน
- ไมมี -
เลขที่ 3/222 หมู 6 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ตําบลนาเกลือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20150
2 ป 11 เดือน
- ไมมี -
1 ป
ถาบอกเลิกสัญญาไมวากรณีใดๆ หาก พบวาทรัพยสินที่เชาไมเสียหาย ยินยอมคืน เงินประกัน 300,000 บาทถวน
เลขที่ 99/49 - 50 ถนนทรงพล ตําบลบานโปง อําเภอบานโปง จังหวัดราชบุรี 70110
3 เดือน
ไมสามารถบอกเลิกสัญญาเชาไดกอนวันที่ 31 มีนาคม 2558
ธนาคาร CIMB ไทย ชั้น 2 เลขที่ 16 ถนนศรีโสธรตัดใหม ตําบลหนาเมือง อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 24000
8 เดือน
- ไมมี –
8 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน 715,875 บาท
10 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน 358,551.90 บาท
1 ป 8 เดือน
ถาบอกเลิกสัญญากอนครบกําหนดถูกยึด เงินประกัน 154,200 บาท
สํานักงานใหญและสํานักงานสาขา
เลขที่ 838/1ก-838/1ข ถนนชัยชนะ ตําบลบางปลาสรอย อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 (ที่อยูป จจุบนั )
อาคารปารคเวนเชอร อีโคเพล็กซ เลขที่ 57 หองเลขที่ 1607บี-1608 ชั้น 16 ถนนวิท ยุ แขวงลุมพิน ี เขตปทุมวัน จังหวัดกรุงเทพฯ 10330 อาคารเอ็มไพรท าวเวอร เลขที่ 195 หองเลขที่ 1406 ชั้น 14 ทาวเวอร 3 ถ.สาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร จังหวัด กรุงเทพฯ 10120 อาคารมนูญผล 1 เลขที่ 2884 ชั้น 6 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง จังหวัด กรุงเทพฯ 10310
35
4.2 ทรัพยสนิ ที่ไมมตี ัวตนของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษทั ฯ มีสินทรัพยไมมีตวั ตน ดังนี้ ประเภท
ลักษณะกรรมสิทธิ์
มูลคาตามบัญชี (บาท)
คาธรรมเนียมการใชระบบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนา
-
4
โปรแกรมคอมพิวเตอร
-
76,045,784
ใบอนุญาตหลักทรัพย
-
2,657,500
คาสมาชิกธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนา
-
15,945,000
โปรแกรมคอมพิวเตอรระหวางติดตั้ง
-
3,577,670
นโยบายการระงับรับรูรายได บริษัทฯ มีนโยบายรับรูรายไดดอกเบี้ยจากลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาตามเกณฑคงคาง เวนแตมี ความไมแนนอนในการเรียกเก็บ เงินตนและดอกเบีย้ ซึ่งบริษัทฯ จะหยุดรับ รูรายไดดอกเบี้ยดังกลาวตามเกณฑคงคาง กรณีดังตอไปนี้ ถือวามีความไมแนน อนในการเรียกเก็บเงิน ตน และดอกเบี้ย 1. ลูกหนี้ทั่วไปที่มีหลักประกันต่ํากวามูลหนี้ 2. ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงินไมเกินทุกสามเดือน ซึ่งคางชําระเงินตนและดอกเบี้ยตั้งแตสามเดือนขึ้น ไป 3. ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงินเกิน กวาทุกสามเดือน เวน แตมีห ลักฐานที่ชัดเจน และมีความเปนไปไดคอนขางแนที่ บริษัท แม จะไดรับ ชําระหนี้ทั้งหมด 4. ลูกหนี้สถาบัน การเงิน ที่มีปญหา 5. ลูกหนี้อื่นที่คางชําระดอกเบี้ยตั้งแตสามเดือนขึ้นไป นโยบายการตั้งคาเผื่อ หนี้สงสัย จะสูญ บริษัท ฯ ไดตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยใชหลักเกณฑดังตอไปนี้ บริษัท ฯ มีน โยบายในการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยการประเมินฐานะลูกหนี้แตละรายและลูกหนี้โดยรวม ซึ่งการประเมิน นี้ รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยงในการเรียกชําระและมูลคาของหลักประกัน ที่ใชค้ําประกัน บริษัท ฯ ตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับ ลูกหนี้ เมื่อหนี้นั้นมีหลักประกัน ไมเพียงพอ หรือมีโอกาสที่ลูกหนี้จะชําระเงิน ตน และดอกเบี้ยคืน ไมครบจํานวน ทั้งนี้ ยังไดป ฏิบัติการจัดชั้น หนี้ ตามหลักเกณฑทกี่ ําหนดไวในประกาศคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพ ย ที่ กธ. 33/2543 ลงวัน ที่ 25 สิงหาคม 2543 และ กธ. 5/2544 ลงวัน ที่ 15 กุมภาพัน ธ 2544 เรื่องการจัดทําบัญชีสําหรับ ลูกหนี้ดอยคุณภาพของบริษัท หลักทรัพย ซึ่งสรุป ไดดังนี้ 1. มูลหนี้จัดชั้นสูญ หมายถึง 1.1 มูลหนี้ของลูกหนี้ที่ไดติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแลว แตไมไดรับ การชําระหนี้ และไดดําเนิน การจําหนายหนี้สูญจาก บัญชีลูกหนี้ตามกฎหมายภาษีอากรแลว 1.2 มูลหนี้สวนที่บริษัท ฯ ไดท ําสัญญาปลดหนี้ให 2. มูลหนี้จัดชั้นสงสัย หมายถึงมูลหนี้เฉพาะสวนที่สูงเกินกวามูลคาหลักประกันของลูกหนี้ ซึ่งเขาลักษณะดังนี้ 2.1 ลูกหนี้ท ั่วไป ลูกหนี้สถาบัน การเงินที่มีป ญหา และลูกหนี้อื่นที่มีมูลคาหลักประกัน ต่ํากวามูลหนี้ 36
2.2 ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงินไมเกินทุกสามเดือน ซึ่งคางชําระเงินตนหรือดอกเบี้ยตั้งแตสามเดือนขึ้นไป 2.3 ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงิน เกินกวาทุกสามเดือน เวนแตมีหลักฐานที่ชัดเจนและมีความเปน ไปไดคอนขาง แนท ี่บริษัทฯ จะไดรับชําระหนี้ท ั้งหมด 3. มูลหนี้จัดชั้นต่ํากวามาตรฐาน หมายถึงมูลหนี้สวนที่ไมสูงเกินกวามูลคาหลักประกัน ของลูกหนี้ ที่เขาลักษณะตามขอ 2 บริษัทฯ มีนโยบายในการตัดจําหนายมูลหนี้จัดชั้นสูญออกจากบัญชีทันทีที่พบรายการดังกลาว และจะตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตรา ไมต่ํากวารอยละ 100 ของมูลหนี้จัดชั้น สงสัยทั้งจํานวน ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัท ฯ มีคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 355.83 ลานบาท นโยบายการตั้งคาเผื่อการปรับมูลคาและการดอยคาของเงินลงทุน บริษัทฯ ไดตั้งคาเผื่อการปรับมูลคาและการดอยคาของเงินลงทุนโดยใชหลักเกณฑดังตอไปนี้ เงินลงทุนที่เปนหลักทรัพยในความตองการของตลาดซึ่งถือไว เพื่อคา แสดงในมูลคายุติธรรม บริษัท ฯ บันทึกการเปลี่ยนแปลงจากการวัด มูลคาของเงินลงทุนเปนรายการกําไรหรือขาดทุนในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เงินลงทุนในตราสารหนี้ทบี่ ริษัทฯ ตั้งใจและสามารถถือจนกวาครบกําหนด แสดงในราคาทุนตัดจําหนายหักดวยขาดทุนจากการดอยคา ของเงินลงทุน ผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อมากับมูลคาไถถอนของตราสารหนี้จะถูกตัดจายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่ เหลือ เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไว เพื่อคาหรือตั้งใจถือไวจนครบ กําหนด จัดประเภทเปนเงินลงทุนเผื่อขายและแสดงในมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงจากการวัดมูลคาเงินลงทุนดังกลาว แสดงเปนองคประกอบ อื่นของสวนของเจาของในสวนของเจาของ ยกเวนขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุนจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และเมื่อมีการจําหนายเงิน ลงทุนจะตองรับรูผลกําไรหรือขาดทุนที่เคยบันทึกในองคประกอบอื่นของสวนของเจาของในสวนของเจาของโดยตรงเขาในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ สําหรับกรณีที่เปนเงินลงทุนประเภทที่มีดอกเบี้ย จะตองบันทึกดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง เงิน ลงทุนในตราสารทุน ซึ่งไมใชห ลักทรัพยในความตองการของตลาดแสดงในราคาทุน สุทธิจากคาเผื่อการดอยคา (ถามี) มูลคายุติธรรมของหลักทรัพ ยในความตอ งการของตลาดคํานวณจากราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ สิ้น วัน ทําการสุดทายของปข อง ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มูลคายุติธรรมของหนวยลงทุน ในกองทุน ปดคํานวณจากมูลคาสิน ทรัพยสุท ธิข องหนวยลงทุน มูลคา ยุติธรรมของตราสารหนี้คํานวณโดยใชอัตราผลตอบแทนเสนอซื้อลาสุดของสมาคมตราสารหนี้ไทย บริษัทฯ บันทึกขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ของเงิน ลงทุนในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเมื่อ ราคาตามบัญชีสูงกวาราคาที่คาดวา จะไดรับ คืน
5. โครงการในอนาคต - ไมมี -
6. ขอพิพาททางกฏหมาย
ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัท ฯ ไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่อาจมีผลกระทบดานลบตอสิน ทรัพ ยข องบริษัท ฯ ที่มีจํานวนสูง กวารอยละ 5 ของสวนของผูถือหุน และไมมีขอพิพาททางกฎหมายที่กระทบตอการดําเนินธุรกิจของ บริษัท ฯ อยางมีน ัยสําคัญ
37
7. ขอมูลสําคัญอื่น ชื่อบริษทั สถานที่ตั้ง ประเภทธุรกิจ
เลขทะเบียนบริษทั โทรศัพท โทรสาร Homepage ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว แบงออกเปน
: บริษทั หลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) : 132 อาคารสินธร 1 ชั้น 2 ถนนวิท ยุ แขวงลุมพิน ี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 : ประกอบธุรกิจโดยไดรั บ ใบอนุ ญาตประกอบธุร กิจหลักทรัพ ยป ระเภท ก จาก กระทรวงการคลัง ปจจุบัน บริษัท ฯ ไดรับ อนุญาตจากสํานักงานคณะกรรมการ กํา กับ หลั กทรัพ ยแ ละตลาดหลั กทรัพ ย ให ป ระกอบธุร กิจ ประเภทตา งๆ ตาม ใบอนุญาต ไดแก 1. การเปนนายหนาซื้อขายหลักทรัพย 2. การคาหลักทรัพย 3. การจัดจําหนายหลักทรัพย 4. การเปนทีป่ รึกษาการลงทุน 5. การจัดการกองทุนรวม 6. การจัดการกองทุนสวนบุคคล 7. กิจการการยืมและใหยืมหลักทรัพย 8. การจัดการเงินรวมลงทุน นอกจากนี้ บริษัท ฯ ยังไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาจาก สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยใหป ระกอบธุรกิจ การเปนตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา และไดรับ ความเห็น ชอบในการ เปน ที่ป รึ กษาทางการเงิ น จากสํ านัก งานคณะกรรมการกํากั บ หลักทรัพ ย แ ละ ตลาดหลักทรัพยอีกดวย : 0107537000572 0-2205-7000 0-2205-7171 www.cgsec.co.th : 2,589,743,484 บาท : 2,589,743,484 บาท : หุน สามัญ 2,589,743,484 หุน มูลคาที่ตราไวหนุ ละ 1 บาท
38
บุคคลอางอิงอื่น ๆ นายทะเบียนหลักทรัพย
ผูแทนผูถือหุน กู ผูสอบบัญชี
ทีป่ รึกษากฎหมาย
ทีป่ รึกษาหรือผูจัดการ ภายใตสัญญาการจัดการ
: บริษทั ศูน ยรบั ฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด เลขที่ 62 อาคารตลาดหลักทรัพยชั้น 4,7 ถนนรัชดาภิเษกแขวงคลองเตย เขตคลองเตยกรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0-2229-2800 โทรสาร 0-2359-1259 : ไมมี : นายชวาลา เทียนประเสริฐกิจ ผูสอบบัญชีรบั อนุญาต เลขทะเบียน 4301 บริษทั ดีลอยท ทูช โธมัท สุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด ชั้น 25 อาคารรัจนาการ 183 ถนนสาธรใต แขวงยานนาวาเขตสาธร กรุงเทพมหานคร 10120 โทรศัพท 0-2676-5700 โทรสาร 0-2676-5757 : บริษทั วีระวงศ ชินวัฒนและเพียงพนอ จํากัด 540 อาคารเมอคิวรี่ทาวเวอร ชัน้ 22 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพิน ี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-264-8000 โทรสาร 02-657-2222 : ไมมี
39
8. ขอมูลหลักทรัพยและผูถือหุน ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 มีท ุนจดทะเบียนจํานวน 2,589,743,484 บาท แบงเปน หุนสามัญจํานวน 2,589,743,484 หุน มูลคาที่ ตราไวห ุนละ 1 บาท โดยเปนทุนชําระแลวทั้งจํานวน 8.1 ผูถือ หุน
ผูถือหุนรายใหญ 10 รายแรก วันปดสมุดทะเบียนผูถือหุน วัน ที่ 30 ธัน วาคม 2557 มีดังนี้ หลังการเสนอขายหุน/ปรับ โครงสราง ลําดับที่ ชื่อ จํานวนหุน รอ ยละ 1 บริษทั คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 2,566,219,121 99.092 2 บริษทั เงินทุนหลักทรัพย ไทยฟูจิ จํากัด 3,988,351 0.154 3 นายสมชัย มิ่งมัน่ คง 1,580,087 0.061 4 น.ส. เพ็ญประภา จันทรเทพ 1,015,178 0.039 5 น.ส. อําพัน เตชะรัตนไชย 903,980 0.035 6 Mr. Pai, Wen-Cheng 837,790 0.032 7 นายวรพงษ ใจมงคลประเสริฐ 642,553 0.025 8 น.ส. พุทธา แพนลา 642,553 0.025 9 Mr. Lin, Wen-Ye 494,271 0.019 10 บริษทั เงินทุนหลักทรัพย ธนไทย จํากัด (มหาชน) 437,171 0.017 รวม
2,576,618,502
99.493
8.2 การออกหลักทรัพยอ ื่น – ไมมี – 8.3 นโยบายการจายเงินปนผล ในกรณีป กติคณะกรรมการบริษทั ฯ มีนโยบายที่จะเสนอใหที่ป ระชุมผูถือหุนของบริษัท ฯ พิจารณาจายเงิน ปน ผลประจําปใหแ กผู ถือหุนในแตละปในอัตราที่ไมต่ํากวารอยละ 60 ของกําไรสุทธิหลังจากหักภาษีเงินไดนิติบุคคลประจําปแลว
40
9. โครงสรางการจัดการ โครงสรางองคกร ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557
หมายเหตุ : * หลังจากที่หุนสามัญของบริษัทโฮลดิ้งสเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ แลวบริษัทฯ จะโอนสายงานลงทุนใหแกบริษัทโฮลดิ้งส ยกเวนสวนงานที่ตองพึ่งพิงใบอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย ซึ่ง จะยังคงอยูภายใต การบริหารจัดการของบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสรางธุรกิจครั้งนี้ โดยคาดวาจะโอนในป 2558 อนึ่ง ในการโอนสายงานลงทุนดังกลาว จะไมมีการโอนหลักทรัพยภายใตการลงทุนของสายงานลงทุนของบริษัทฯ ที่ถืออยู เดิมกอนการปรับโครงสรางไปที่บริษัทแม โดยจะทยอยจําหนายหลักทรัพยภายใตการลงทุนของสายงานลงทุนออกไป หรือถือไวที่บริษัทฯ จนกวาจะครบกําหนดอายุของหลักทรัพยนั้นๆ ตามความเหมาะสม
42
9.1 คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดยอย 1) คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการ 15 ทานดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1 1. ศาสตราจารยประยูร จินดาประดิษฐ ประธานกรรมการบริษทั 2. นาย เดช นําศิริกุล รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 3. พล.อ. วัฒนา สรรพานิช รองประธานกรรมการ และกรรมการอิสระ 4. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี กรรมการอิสระ 2 5. นาย ชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย กรรมการอิสระ 1 6. นาย สดาวุธ เตชะอุบล กรรมการ 1 7. นาย สุรพล ขวัญใจธัญญา กรรมการ 1, 2 8. นาย ฮองไซ ซิม กรรมการ 1 9. นาย ฤทธิ์ คิ้วคชา กรรมการ 1 10. นาย สมคาด สืบตระกูล กรรมการ 1 11. นางสาว สุดธิดา จิระพัฒนกุล กรรมการ 12. พล.ต.ท. วีรพงษ ชืน่ ภักดี กรรมการอิสระ 13. นาย นิพนธ วิสิษฐยุทธศาสตร กรรมการอิสระ 1 14. นาย ทอมมี่ เตชะอุบล กรรมการ 15. นาย ชนะชัย จุลจิราภรณ1 กรรมการ หมายเหตุ : 1. ตามมติที่ประชุมกรรมการครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 บุคคลทานดังกลาวซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงเป น กรรมการของบริษัทฯ ไดรับมอบหมายใหเ ปนตัวแทนจากบริษัทแม ในการควบคุมดูแลบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสราง เพื่อใหการบริหารงานเปนไปตามนโยบายของบริ ษัทแม และการทํารายงานตา งๆ ใหถู กตองตามขอบังคับของบริษัทแม กฎหมาย ประกาศ และหลักเกณฑอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ คํานวณสัดสวนของกรรมการของบริษัทฯ ที่เ ปนตัวแทนของบริษัท แม คิดเปนรอยละ 100.00 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดของบริษัทฯ (ไมรวมกรรมการอิสระ) ซึ่งจะไมนอยกวาสัดสวนการถือ หุนของบริษัทแม ในบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสราง อยางไรก็ดี สัดสวนของกรรมการของบริษัทฯ ที่เ ปนตัวแทนของบริษัท แม อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดในอนาคต แตจะไมนอยไปกวาสัดสวนการถือหุนของบริษัทแม ในบริษัทฯ 2. กรรมการที่รับการอมรมในหลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุนที่ 115/2557 วันที่ 29 ตุลาคม 2557
โดยมีนางสาวณัฐณิชา เกษมวุฒิ ดํารงตําแหนงเลขานุการคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษทั ศาสตราจารยประยูร จินดาประดิษฐ ประธานกรรมการ หรือ นายสดาวุธ เตชะอุบล ประธานกรรมการ บริหารคนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ หรือนายสุรพล ขวัญใจธัญญา นางสาวสุดธิดา จิระพัฒนสกุล และ นายทอมมี่ เตชะอุบล กรรมการสองในสามคนนี้ลงลายมือชื่อรวมกันและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ 43
การประชุมคณะกรรมการบริษัท ในป 2556 และป 2557 จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ และจํานวน ครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุมเปนดังตอไปนี้ จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ชื่อ ป 2556 ป 2557 1 1. ศาสตราจารยประยูร จินดาประดิษฐ 12/12 10/12 2. นาย เดช นําศิริกุล 12/12 12/12 3. พล.อ. วัฒนา สรรพานิช 12/12 11/12 4. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี 12/12 12/12 5. นาย ชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย 11/12 11/12 6. นาย สดาวุธ เตชะอุบล1 12/12 11/12 7. นาย สุรพล ขวัญใจธัญญา1 12/12 12/12 8. ดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ2 7/10 9. นาย ฮองไซ ซิม1 9/12 12/12 10. นาย ฤทธิ์ คิ้วคชา4 5/12 0/12 11. นาย สมคาด สืบตระกูล1 12/12 12/12 12. นางสาว สุดธิดา จิระพัฒนกุล1 11/12 12/12 13. พล.ต.ท. วีรพงษ ชืน่ ภักดี 8/12 10/12 14. นาย นิพนธ วิสิษฐยุทธศาสตร 11/12 12/12 15. นาย ทอมมี่ เตชะอุบล1 11/12 10/12 16. นาย ชนะชัย จุลจิราภรณ1,3 2/2 11/12 หมายเหตุ:1. ตามมติที่ประชุมกรรมการครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 บุคคลทานดังกลาวซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงเปน กรรมการของบริษัทฯ ไดรับมอบหมายใหเปนตัวแทนจากบริษัทแม ในการควบคุมดูแลบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสราง เพื่อใหการบริหารงานเปนไปตามนโยบายของบริษัทแม และการทํารายงานตางๆ ใหถูกตองตามขอบังคับของบริษัทแม กฎหมายประกาศและหลักเกณฑอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ คํานวณสัดสวนของกรรมการของบริษัทฯ ที่เปนตัวแทนของบริษัทแม คิดเปนรอยละ 100.00 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดของบริษัทฯ (ไมรวมกรรมการอิสระ) ซึ่งจะไมนอยกวาสัดสวนการถือหุน ของบริษัทแม ในบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสรางอยางไรก็ดีสัดสวนของกรรมการของบริษัทฯ ที่เปนตัวแทนของบริษัทแม อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดในอนาคตแตจะไมนอยไปกวาสัดสวนการถือหุนของบริษัทแม ใน บริษัทฯ 2. ไดลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 3. ที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 9/2556 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2556 ไดมีมติแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทน ดร .ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ที่ไดลาออกโดยใหมีผลนับแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 4. ไดลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2557
44
2) คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวย กรรมการ 3 ทาน ดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นาย เดช นําศิริกุล กรรมการตรวจสอบ 3. นาย ชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย กรรมการตรวจสอบ โดยนาย เดช นําศิริกุล เปนผูมีความรูและประสบการณทางบัญชีและการเงินโดยดํารงตําแหนงกรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบใหแกบริษัทฯ มาตั้งแตป 2549 การประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ในป 2556 และ ป 2557 จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และจํานวนครั้งที่กรรมการ ตรวจสอบ 12 ครั้ง แตละทานเขารวมประชุมเปนดังตอไปนี้ จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ป 2556 ป2557 12/12 11/12 12/12 12/12 12/12 12/12
ชื่อ 1. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี 2. นาย เดช นําศิริกุล 3. นาย ชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย
3) คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการบริหารประกอบดวย กรรมการ 4 ทาน ดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. นาย สดาวุธ เตชะอุบล* ประธานกรรมการบริหาร 2. นาย สุรพล ขวัญใจธัญญา* รองประธานกรรมการบริหาร 3. นางสาว สุดธิดา จิระพัฒนสกุล* กรรมการบริหาร 4. นาย ชนะชัย จุลจิราภรณ* กรรมการบริหาร หมายเหตุ : * ตามมติที่ประชุมกรรมการครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 บุคคลทานดังกลาวซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงเปนกรรมการ ของบริษัทฯ ไดรับมอบหมายใหเ ปนตัวแทนจากบริษัทแม ในการควบคุมดูแลบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสราง เพื่อใหการ บริหารงานเปนไปตามนโยบายของบริษัทแม และการทํารายงานตางๆ ใหถูกตองตามขอบังคับของบริษัทแม กฎหมายประกาศ และหลั กเกณฑอื่นๆ ที่เ กี่ ยวขอ ง ทั้งนี้ คํานวณสัด สวนของกรรมการของบริษัทฯ ที่เ ป นตัวแทนของบริษัทแม คิ ดเปนรอยละ 100.00 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดของบริษัทฯ (ไมรวมกรรมการอิสระ) ซึ่งจะไมนอยกวาสัดสวนการถือหุนของบริษัทแม ใน บริ ษัทฯ ภายหลัง การปรั บ โครงสรา งอย างไรก็ ดีสัด สว นของกรรมการของบริ ษัทฯ ที่ เ ป นตัว แทนของบริ ษัทแม อาจมีก าร เปลี่ยนแปลงไดในอนาคตแตจะไมนอยไปกวาสัดสวนการถือหุนของบริษัทแม ใน บริษัทฯ
45
การประชุมคณะกรรมการบริหาร ในป 2556 และป 2557 จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริหาร และจํานวนครั้งที่กรรมการบริห าร แตละทานเขารวมประชุมเปนดังตอไปนี้ จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ชื่อ ป 2556 ป2557 1 1. นายสดาวุธ เตชะอุบล 14/14 13/13 2. นายสุรพล ขวัญใจธัญญา1 14/14 13/13 3. ดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ2 11/12 4. นางสาวสุดธิดา จิระพัฒนสกุล1 4/4 13/13 5. นายชนะชัย จุลจิราภรณ1 14/14 11/13 หมายเหตุ:
1.ตามมติที่ประชุมกรรมการครั้งที่ 4/2557 เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557 บุคคลทานดังกลาวซึ่งปจจุบันดํารงตําแหนงเปน กรรมการของบริษัทฯ ไดรับมอบหมายใหเ ปนตัวแทนจากบริษัทแม ในการควบคุมดูแลบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสราง เพื่อให การบริหารงานเป นไปตามนโยบายของบริ ษัทแม และการทํารายงานตางๆ ใหถู กตองตามข อบังคับ ของบริษัทแม กฎหมายประกาศและหลักเกณฑอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ คํานวณสัดสวนของกรรมการของบริษัทฯ ที่เ ปนตัวแทนของบริษัทแม คิดเปนรอยละ 100.00 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดของบริษัทฯ (ไมรวมกรรมการอิสระ) ซึ่งจะไมนอยกวาสัดสวนการถือหุน ของบริษัทแม ในบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสรางอยางไรก็ดีสัดสวนของกรรมการของบริษัทฯ ที่เ ปนตัวแทนของบริษัทแม อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดในอนาคตแตจะไมนอยไปกวาสัดสวนการถือหุนของบริษัทแม ในบริษัทฯ 2. ไดลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556
4) คณะอนุกรรมการสรรหา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะอนุกรรมการสรรหาประกอบดวยกรรมการ 3 ทานดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. นายชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย ประธานคณะอนุกรรมการสรรหา 2. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี กรรมการ 3. นายฮองไซ ซิม กรรมการ การประชุมคณะอนุกรรมการสรรหา ในป 2556 และป 2557 จํานวนครั้งของการประชุมคณะอนุกรรมการสรรหา และจํานวนครั้งที่กรรมการของ คณะอนุกรรมการสรรหาแตละทานเขารวมประชุมเปนดังตอไปนี้ จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ชื่อ ป 2556 ป 2557 1. นายชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย 1/1 2/2 2. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี 1/1 2/2 3. นายฮองไซ ซิม 1/1 2/2 46
5) คณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทนประกอบดวยกรรมการ 3 ทานดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. นายชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย ประธานคณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทน 2. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี กรรมการ 3. นายฮองไซ ซิม กรรมการ การประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทน ในป 2556 และป 2557 จํานวนครั้งของการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทน และจํานวนครั้ง ที่กรรมการของคณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทนแตละทานเขารวมประชุมเปนดังตอไปนี้ จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ชื่อ ป 2556 ป 2557 1. นายชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย 1/1 2/2 2. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี 1/1 2/2 3. นายฮองไซ ซิม 1/1 2/2
6) คณะอนุกรรมการดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะอนุกรรมการดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีประกอบดวยกรรมการ 4 ทานดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี ประธานคณะอนุกรรมการดานกํากับดูแลกิจการที่ดี 2. นายสุรพล ขวัญใจธัญญา กรรมการ 3. นายไพรยง ธีระเสถียร กรรมการ 4. น.ส.ดวงธิดา พันธเกษมสุข กรรมการ การประชุมคณะอนุกรรมการดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในป 2556 ป 2557 จํ านวนครั้ง ของการประชุ ม คณะอนุก รรมการกํ ากั บ ดูแ ลกิ จ การที่ ดี และจํา นวนครั้ ง ที่ กรรมการของคณะอนุกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดีแตละทานเขารวมประชุมเปนดังตอไปนี้ จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ชื่อ ป 2556 ป2557 1. พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี 1/1 1/1 2. นายสุรพล ขวัญใจธัญญา 1/1 1/1 47
จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ป 2556 ป2557 1/1 1/1 1/1 1/1
ชื่อ 3. นายไพรยง ธีระเสถียร 4. น.ส.ดวงธิดาพันธเกษมสุข
7) คณะกรรมการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะกรรมการลงทุนประกอบดวยกรรมการ 5 ทานดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. นายสมคาด สืบตระกูล ประธานกรรมการลงทุน 2. นายสุรพล ขวัญใจธัญญา รองประธานกรรมการลงทุน 3. น.ส.ดวงธิดา พันธเกษมสุข* กรรมการ 4. น.ส.อริยา โฆษิตวงษา กรรมการ 5. น.ส.ณัฐชรินพร เจษฎาพิสิฐ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการลงทุน หมายเหตุ :*ไดเขาดํารงตําแหนงเปนกรรมการลงทุนของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556
การประชุมคณะกรรมการลงทุน ในป 2556 และป 2557 จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการลงทุน และจํานวนครั้งที่กรรมการลงทุน แต ละทานเขารวมประชุมเปนดังตอไปนี้ จํานวนครั้งทีเ่ ขาประชุม ชื่อ ป 2556 ป 2557 1. นายสมคาด สืบตระกูล 12/12 6/6 2. นายสุรพล ขวัญใจธัญญา 12/12 6/6 3. น.ส.ดวงธิดา พันธเกษมสุข* 3/3 6/6 4. น.ส.อริยา โฆษิตวงษา 12/12 6/6 5. น.ส.ณัฐชรินพร เจษฎาพิสิฐ 12/12 6/6 หมายเหตุ:*ไดเขาดํารงตําแหนงเปนกรรมการลงทุนของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556
48
บริษัทฯ ไดกําหนดนโยบายการลงทุนของสายงานลงทุนไว โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักเกณฑการลงทุน 1. การจัดสรรเงินลงทุน 1.1 ลงทุนไดไมเกินวงเงินที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท โดยจัดสรรวงเงิน ตามประเภทของการลงทุน ทั้งในบัญชี เพื่อคา (Trading portfolio) และบัญชี เพื่อการลงทุน (Investment portfolio)โดยมีสัดสวนเงิน ลงทุนในบัญชี เพื่อคาที่รอยละ 40 ถึงรอยละ 60 และมีสัดสวนเงิน ลงทุน ในบัญชี เพื่อการลงทุน ที่รอยละ 40 ถึงรอยละ 60 1.2 เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารเงินลงทุน กําหนดใหการลงทุนสําหรับบัญชี เพื่อการลงทุน ประเภท การลงทุน ชั่วคราว (Short term investment portfolio) และการลงทุน ระยะยาว (Long term investment portfolio) คณะกรรมการการลงทุน เปน ผูมีอํานาจจัดสรร วงเงิน ลงทุน ในการลงทุน ประเภทตางๆ ตาม ความเหมาะสม ทั้งนี้ อยูภายใตวงเงินที่ไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 2. บัญชีเงินลงทุนในหลักทรัพยแบงตามประเภทการลงทุน ดังนี้ 2.1 บัญชีห ลัก ทรัพ ย เพื่อ คา (Trading portfolio) สํา หรั บ การลงทุน ในหลัก ทรั พ ยที่ ซื้อ ขายที่ศู น ยซื้ อขาย หลักทรัพย เพื่อจุดมุงหมายหลักในการหากําไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาในชวงระยะเวลาสั้นๆ 2.2 บัญชีหลักทรัพย เพื่อการลงทุน (Investment portfolio) สําหรับการลงทุนในหลักทรัพยที่ซื้อขายที่ศูน ยซื้อ ขายหลักทรัพย โดยแบงเปน - การลงทุนระยะยาว (Long term investment portfolio) มุงหวังผลตอบแทนในรูปของเงินปน ผล หรือผลการดําเนินงานในอนาคตของกิจการนั้น โดยคาดวาจะทําการลงทุนในระยะเวลาเกิน กวา 1 ปขึ้นไป - การลงทุน ชั่วคราว (Short term investment portfolio) มุงหวังผลตอบแทนในรูป ของสวนตาง ราคาอัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพยตามสภาวะของตลาดทุน เปน หลัก โดย มิ ไ ด มี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่ อ ค า และอาจขาย เพื่ อ เสริ ม สภาพคล อ งหรื อ เมื่ อ อั ต ราดอกเบี้ ย เปลี่ยนแปลง โดยคาดวาจะทําการลงทุนในระยะเวลาไมเกิน 1 ป 2.3 บัญชีหลักทรัพยทั่วไป สําหรับการลงทุนในหลักทรัพยที่มิไดซื้อขายที่ศูนยซื้อขายหลักทรัพย โดยหลักทรัพย ในสวนนี้ หมายถึง หลักทรัพยตามมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติห ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และรวมถึงหลักทรัพย ตราสารอนุพันธ และตราสารทางการเงินที่บริษัท หลักทรัพยไดรับ อนุญาตให ลงทุนได โดยภายหลังจากทีบ่ ริษัทฯ โอนสายงานลงทุนไปเปนหนวยงานของบริษัทแม เสร็จสมบูรณแลวบริษัท หลักทรัพยฯ จะไมลงทุนใดๆ เพิ่ม เติม เวน แตเปน การลงทุน ของสวนงานที่ตองพึ่งพิงใบอนุญาตการประกอบธุรกิจ หลักทรัพย เชน การเป น ผูดู แลสภาพคลอง (market maker) การจั ดการขอผิ ดพลาดเกี่ ยวกับ การซื้อขาย (error portfolio) เปนตน ซึ่งจะยังคงอยูภายใตการบริหารจัดการของบริษัทฯ ภายหลังการปรับโครงสรางธุรกิจแลว 3. การจํากัดผลขาดทุน 49
กําหนดใหมีการบริหารสภาพคลองควบคูกับการจํากัดผลขาดทุน โดยใหขายหรือลดการลงทุนในหลักทรัพยใดๆ เมื่อราคาและ/หรือสภาพคลองของหลักทรัพยนั้นมีแนวโนมลดลง โดยใหฝายบริห ารการลงทุน ดําเนิน การ เพื่อจํากัด ผลขาดทุน และหากในกรณีที่มิไดดําเนินการดังกลาวจนเมื่อราคาหลักทรัพยลดลงรอยละ 5 ถึงรอยละ 30 ของราคา ทุนของหลักทรัพยนั้นๆ (แลวแตกรณีขึ้นอยูกับประเภทการลงทุน) ใหทําการพิจารณาดําเนินการขายหลักทรัพย หาก ไมมีการขายหลักทรัพยนั้น ใหนําเหตุผลชี้แจงตอคณะกรรมการการลงทุน เพื่อพิจารณาตอไปโดยไมชักชา 4. อื่นๆ 4.1 หลัก ทรั พย ที่อยู ในบัญชีห ลั กทรัพ ยทั่ว ไป ที่ ไดเ ขา ทํา การซื้อ ขายในศูน ยซื้ อขายหลัก ทรั พยแ ลว ให มีม ติ คณะกรรมการการลงทุน เพื่อโอนยายไปยังบัญชีหลักทรัพย เพื่อคา หรือบัญชีห ลักทรัพย เพื่อลงทุน โดย ปฏิบัติตามขั้นตอนการโอนหลักทรัพย หรือตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป 4.2 หลักทรัพยที่ซื้อและคงเหลืออยูในบัญชีหลักทรัพย เพื่อการลงทุนชั่วคราว เปนระยะเวลานานเกิน กวา 1 ป ใหคณะกรรมการการลงทุนพิจารณาความเหมาะสมในการโอนยายไปยังบัญชีห ลักทรัพย เพื่อการลงทุน โดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันโอน หรือตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป 4.3 ติดตามและดําเนินการตามสิทธิตางๆ ที่เกิดจากหลักทรัพยที่อยูในบัญชีของบริษัทฯ 4.4 จัดใหมีการประชุม เพื่อพิจารณา ทบทวน และติดตามการลงทุน ในหลักทรัพย อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง พรอมทั้งจัดทํารายงานการประชุม ทั้งนี้ คณะกรรมการการลงทุนจะเปนผูพิจารณาอนุมัติวงเงินซื้อขายและวงเงิน ลงทุน ในการถือหุน ขามคืน และ บัญชีการลงทุนสําหรับบัญชีการลงทุนของบริษัทแม ที่พนักงานแตละรายในฝายการลงทุนรับผิดชอบ 9.2 ผูบริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 คณะผูบริหารของบริษทั ฯ ประกอบดวยผูบริหารจํานวน 7 ทาน ดังนี้ ชื่อ ตําแหนง 1. นางสาวสุดธิดา จิระพัฒนสกุล ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร 2. นายชนะชัย จุลจิราภรณ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร 3. นายชูพงศ ธนเศรษฐกร กรรมการผูจัดการสายวาณิชธนกิจ 1 4. นางพรรณี เถกิงเกียรติ กรรมการผูจัดการ สายตราสารทุน 2 5. นายศุภกฤต โชคสุขธนพงศ กรรมการผูจัดการ สายตราสารทุน 6. นางสาวเนตรชนก อาณาวรรณ ผูชวยกรรมการผูจัดการสายบัญชีและการเงิน 3 7. นายพิษณุ วิชิตชลชัย กรรมการผูจัดการ สายตราสารทุน หมายเหตุ :
1
ไดลาออกจากการเปนผูบริหารของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2557 2 ไดลาออกจากการเปนผูบริหารของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2557 3 ไดรับการแตงตั้งเปนผูบริหารของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2557
50
9.3 เลขานุการบริษัทฯ ที่ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2557 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ไดมีมติแตงตั้ง นางสาวณัฐณิชา เกษมวุฒิ ทํา หนาที่เปนเลขานุการบริษัทแม โดยกําหนดใหเลขานุการบริษัทรับผิดชอบดําเนินการดังตอไปนี้ 1. ใหคําแนะนําเบื้องตนแกกรรมการเกี่ยวกับขอกฎหมายหลักเกณฑระเบียบและขอบังคับตางๆ ของบริษัทแม และ ดูแลใหมีการปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายระเบียบและขอบังคับตางๆ ของบริษัทแม 2. สงเสริมใหคณะกรรมการมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการและผลักดันใหมีการปฏิบัติตาม 3. จัดเตรียมระเบียบวาระการประชุมเอกสารประกอบการประชุมผูถือหุนและการประชุมคณะกรรมการ 4. จัดการประชุมผูถือหุนและการประชุม คณะกรรมการใหเปน ไปตามกฎหมายขอบังคับ ของบริษัท แม และแนว ปฏิบัติที่ดี 5. บันทึกรายงานการประชุมผูถือหุนและการประชุมคณะกรรมการรวมทั้งติดตามใหมีการปฏิบัติตามมติทปี่ ระชุมผู ถือหุนและที่ประชุมคณะกรรมการ 6. จัดทําและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการรายงานประจําปหนังสือนัดประชุมผูถือหุน หนังสือนัดประชุม คณะกรรมการรายงานการประชุมผูถือหุน และรายงานการประชุมคณะกรรมการ 7. ดําเนินการใหกรรมการและผูบริหารจัดทํารายงานการมีสวนไดเสียของตนและผูที่เกี่ยวของตามที่กฎหมาย กําหนด 8. เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบริหารตามที่กฎหมายกําหนด 9.4 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร 1) คาตอบแทนกรรมการ คาเบีย้ ประชุมและบําเหน็จกรรมการ (ลานบาท) ป 2556 ป 2557 1.60 1.60 1.04 1.04 0.80 0.80 1.04 1.015 0.87 0.925 0.56 0.56 0.56 0.56 0.35 0.56 0.62 0.60 0.49 0.96 0.955 0.56 0.56
รายชือ่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.
ศาสตราจารยประยูร จินดาประดิษฐ นาย เดช นําศิริกุล พล.อ. วัฒนา สรรพานิช พล.ต.อ. สมชาย วาณิชเสนี นาย ชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย นาย สดาวุธ เตชะอุบล นาย สุรพล ขวัญใจธัญญา ดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ1 นาย ฮองไซ ซิม นาย ฤทธิ์ คิ้วคชา นาย สมคาด สืบตระกูล นางสาว สุดธิดา จิระพัฒนกุล 51
คาเบีย้ ประชุมและบําเหน็จกรรมการ (ลานบาท) ป 2556 ป 2557 0.49 0.56 0.56 0.56 0.56 0.56 0.07 0.56
รายชือ่ 13. 14. 15. 16.
พล.ต.ท. วีรพงษ ชืน่ ภักดี นาย นิพนธ วิสิษฐยุทธศาสตร นาย ทอมมี่ เตชะอุบล นาย ชนะชัย จุลจิราภรณ2 หมายเหตุ:
1. ไดลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีผลเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 2. ที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 9/2556 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2556 ไดมีมติแตงตั้งใหดํารงตําแหนงแทน ดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ที่ไดลาออกโดยใหมีผลนับแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556
2) คาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหาร ในป 2557 กรรมการบริหาร 4 ทานและผูบริหารจํานวน 15 ทาน ไดรับคาตอบแทน ในรูปของเงินเดือน โบนัส และผลตอบแทนอื่น (โดยไมรวมคาเบี้ยประชุมของกรรมการที่ไดกลาวไวขางตน) รวมเทากับ 112.29 ลานบาท 3) คาตอบแทนอื่น 3.1) คาตอบแทนอื่นของกรรมการ ศาสตราจารย ประยูร จินดาประดิษฐ ประธานกรรมการ ไดนํารถยนตสวนตัวมาใชแทนรถยนตประจําตําแหนง โดยบริษัทแม เปนผูรับผิดชอบคาน้ํามัน และคาซอมบํารุงตางๆ อีกทั้งบริษัท แม ยังไดจายคาสึกหรอในการใชรถยนตสวนตัว ดังกลาวอีกเดือนละ 50,000 บาท 3.2) คาตอบแทนอื่นของผูบริหาร บริษัท ฯ ไดจั ดใหมี กองทุ น สํารองเลี้ ยงชีพ โดย ไดสมทบในอัตราสวนรอยละ 4 ของเงิ น เดือ น โดยในป 2557 บริษัทฯ ไดจายเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับผูบริหารจํานวน 0.81 ลานบาท ทั้งนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 18/2545 เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2545 ไดมีมติใหบริษัทฯ ดําเนินการจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพโดยจดทะเบียนเปนกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามพระราชบัญญัติกองทุน สํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 และฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2542 ซึ่งบริษัทฯ ไดทําการจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เมื่อวัน ที่ 25 ธัน วาคม 2545 และเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนบริษัทจัดการกองทุนสํารองเลี้ยงชีพจากบริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน ฟนันซาจํากัด (เดิม ชื่อบริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน กรุงเทพธนาทร จํากัด) เปน บริษัท หลักทรัพยจัดการกองทุน ไอเอ็น จี (ประเทศไทย) จํา กัด และเมื่อวั น ที่ 1 กรกฎาคม 2552 บริษั ท ฯ ได เปลี่ ยนบริษั ท จั ดการกองทุ น สํา รองเลี้ ยงชี พจากบริษั ท หลักทรัพยจัดการกองทุนไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จํากัด เปนบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปน ผูจัดการกองทุน ในนาม “กองทุน สํารองเลี้ยงชีพเอ็ม เอฟซีม าสเตอรฟน ดซึ่งจดทะเบียนแลว”อัน เปน กองทุน สํารองเลี้ยงชี พ ประเภท Master Pooled Fund เพื่อบริหารกองทุนใหเปนไปตามขอกําหนดของพระราชบัญญัติดังกลาว ตามระเบียบของกองทุนฯ ซึ่งไดรับอนุมตั ิจากที่ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 18/2545 นั้น กําหนดใหบริษัท 52
จายเงินสมทบเขากองทุนฯ เทากับสวนที่พนักงานซึ่งเปนสมาชิกกองทุนจายโดยพนักงานดังกลาวตองจายเงินสะสมเขากองทุน ในอัตรารอยละของคาจางหรือเงินเดือนทุกๆ เดือนตามอัตราดังนี้ ระยะเวลาการทํางาน ไมเกิน 3 ป มากกวา 3 ป แตไมเกิน 5 ป มากกวา 5 ป ขึน้ ไป
อัตราจายเงินสะสมเขากองทุน(รอยละ) 3 4 5
9.5 บุคลากร 1) จํานวนพนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ มีพนักงานทั้งสิ้น 728 คน เปนพนักงานทีป่ ระจําอยูที่สํานักงานใหญจํานวน 358 คน และพนักงานประจําอยูที่สํานักงานสาขา 47 แหง จํานวน 370 คน ซึ่งสามารถแบงตามสายงานหลัก ไดดังนี้ จํานวนพนักงาน สายงาน ป 2556 ป 2557 1. สายงานดานธุรกิจหลักทรัพย 614 363 2. สายงานวาณิชธนกิจ 17 16 3. สายงานดานเทคโนโลยีและสารสนเทศ 22 23 4. สายงานวิเคราะหหลักทรัพย 10 9 5. สายงานบัญชีและการเงิน 11 11 6. สายงานตรวจสอบและกํากับดูแล 8 9 7. สายบริหาร และอื่น ๆ 233 297 รวม 915 728 2) การเปลี่ยนแปลงจํานวนพนักงานอยางมีนัยสําคัญในชวง 3 ปที่ผานมา จํานวนพนักงานของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ลดลงจาก ณ สิ้นป 2556 ไปเปนจํานวน 187 คน โดยสวนใหญเปนพนักงานสายงานดานธุรกิจหลักทรัพยที่อยูในทีมของ ดร. ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ซึ่งเปนอดีตกรรมการ ของบริษัทฯ ที่ ไดลาออกจากตําแหนงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556 3) ขอพิพาทดานแรงงานที่สําคัญในชวง 3 ป – ไมมี –
53
4) ผลตอบแทนรวมของพนักงาน ลักษณะผลตอบแทน เงินเดือน โบนัส ค า ตอบแทนเจ า หน า ที่ ก ารตลาดและส ว นแบ ง กําไรของผูบริหาร อื่นๆ รวม
จํานวนเงิน (ลานบาท) ป 2556 ป 2557 443.84 398.43 559.78 228.70 68.55 1,072.17
63.41 690.54
5) นโยบายการพัฒนาพนักงาน บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหา เพื่อคัดเลือกบุคลากร มีการฝกอบรมภายใน และสงบุคลากรไปอบรม ภายนอก เพื่อพัฒนาความสามารถในการทํางาน รวมทั้งสงเสริมใหพนักงานมีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานอยาง ซื่อสัตยสุจริต และจะตองเก็บรักษาขอมูลของบริษัทฯ และของลูกคาไวเปนความลับ
54
10. การกํากับดูแลกิจการ 10.1 นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ เชื่อมั่นเปนอยางยิ่งวาการทีบ่ ริษัทฯ มีระบบการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีจะเปน ปจจัย สําคัญในการนําบริษัท ฯ ไปสู ความสําเร็จและบรรลุเปา หมายที่สํา คัญสูง สุด รวมถึง เสริม สรา งใหบ ริษัท ฯ มีระบบของการ ปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพเปนพื้นฐานของการเติบโตอยางมีเสถียรภาพ และยั่งยืน โดยจะเปน ประโยชนตอผูถือหุน ในระยะ ยาวคณะกรรมการบริ ษั ท ของบริ ษัท ฯ จึ งได มีน โยบายที่ จ ะส งเสริม และผลัก ดั น ใหเ กิ ดระบบการกํ ากั บ ดู แ ลกิ จ การที่ดี กั บ หน วยงานและบุค ลากรของบริษั ท ฯ อยา งต อเนื่อ งภายใต ห ลั กของการบริห ารจัด การที่ ซื่อ สัต ยสุจริ ตโปร งใสตรวจสอบได หลี ก เลี่ ย งความขั ด แย ง ทางผลประโยชน แ ละมี ก ารเป ด เผยข อ มู ลที่ ถู ก ต อ งครบถ ว นและทั น กาลระมั ด ระวั ง และรั ก ษา ผลประโยชนของลูกคาบริษัทฯ และผูถือหุนทุกกลุมอยางเทาเทียมกันรวมถึงคํานึงถึงความรับผิดชอบตอสังคม ทั้งนี้ นโยบาย การกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ แบงออกเปน 5 หมวดดังนี้ 1) สิทธิของผูถือหุน (Rights of Shareholders) 1.1) คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ จะดูแลและคุมครองใหผูถือหุนทุกรายไดรับสิทธิขั้นพื้นฐานดังนี้ 1.1.1 ไมมีขอจํากัดในการไดรับหรือโอนหุน เวนแตการโอนหุนนั้นเปนเหตุทําใหบริษทั ฯ มีจาํ นวนผูถ อื หุน เปนบุคคลที่ไมใชสัญชาติไทยถือหุนเกินรอยละ 49 ของจํานวนหุนที่ออกจําหนายทั้งหมด 1.1.2 สิทธิในการไดรับขอมูลขาวสารที่ถูกตองครบถวนและทันเวลา 1.1.3 สิทธิในการเสนอชื่อแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการและการใหความเห็นชอบในการแตงตั้งผูสอบ บัญชีอิสระ 1.1.4 สิทธิในการรวมตัดสินใจเปลี่ยนแปลงนโยบายที่สําคัญของบริษัทฯ 1.1.5 สิทธิในสวนแบงกําไรจากการดําเนินงาน 1.1.6 สิทธิในการเขารวมประชุมและการออกเสียงลงมติในการประชุมผูถือหุนดังนี้ - เสนอชื่อแตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการ - แตงตั้งผูสอบบัญชี - การจัดสรรเงินปนผล - การกําหนดหรือแกไขขอบังคับและหนังสือบริคณหสนธิ - การลดทุนหรือเพิ่มทุน - การอนุมัติรายการพิเศษ - เรื่องอื่นๆ ที่มีผลกระทบตอบริษัทตามที่กฎหมายกําหนด 1.2) ผูถือ หุน ทุก รายจะได รับ หนัง สือ เชิ ญประชุ ม และข อมู ลเกี่ย วกับ วั น เวลา สถานที่ และวาระการประชุ ม หนังสือมอบฉันทะ และรายละเอียดวิธีการมอบฉัน ทะ โดยเสนอกรรมการอิสระอยางนอย 1 คนเปน ผูรับ มอบอํานาจ ตลอดจนขอมูลที่เกี่ยวของกับ เรื่องที่ตองตัดสิน ใจในที่ป ระชุม เปน การลวงหนาอยางเพียงพอ และทันเวลา 1.3) บริษัท ฯ จะอํานวยความสะดวกใหกับ ผูถือหุน ในการใชสิท ธิเขารวมประชุม โดยจะจัดสถานที่และเวลาที่ เหมาะสม เพื่อใหผูถือหุนเขารวมประชุมไดมากที่สุด 55
1.4) กําหนดใหกรรมการทุกคน โดยเฉพาะอยางยิ่งประธานกรรมการตรวจสอบเขารวมประชุมผูถือหุน เพื่อชี้แจง หรือตอบคําถามตอผูถือหุน 1.5) ผูถือหุนสามารถขอใหคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ เพิ่มเรื่องในวาระการประชุม และผูถือหุนสามารถตัง้ คําถามขอคําอธิบาย และแสดงความคิดเห็นไดอยางเหมาะสม ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทของ บริษัทฯ จะ ไมเพิ่มวาระการประชุมโดยไมแจงใหผูถือหุนทราบลวงหนา 1.6) ผูถือหุนจะไดรับทราบกฎเกณฑตา งๆ ที่ใชในการประชุม ขั้นตอนการออกเสียง ลงมติ รวมถึงบริษัทฯ จะเผยแพรขอ มูล ประกอบวาระการประชุมไวในเว็บ ไซตของบริษัท ฯ เปน การลวงหนากอนที่จะจัดสงเอกสารใหแกผูถือหุน เพื่อเปนการเปดโอกาสใหกับผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาขอมูลประกอบการประชุม ลวงหนาอยางเพียงพอและ เปดโอกาสใหผูถือหุนสงคําถามลวงหนากอนวันประชุมได 1.7) กําหนดใหมีความเห็นของคณะกรรมการบริษัท ของบริษัท ฯ ประกอบในแตละวาระ และมีการบัน ทึกการ ประชุม ตลอดจนบันทึกประเด็นซักถาม และขอคิดเห็นที่สําคัญไวอยางถูกตองและครบถวน เพื่อใหผูถือหุน และผูที่เ กี่ยวขอ งสามารถตรวจสอบได โดยสามารถดาวนโ หลดรายงานการประชุ ม สามัญประจําป ได ที่ เว็บไซตของบริษัทแม 1.8) กําหนดใหกรรมการและผูบ ริห ารระดับ สูงทุกคนของบริษัท ฯ เปดเผยขอมูลความสัม พัน ธทั้งทางตรงและ ทางออมกับผูถือหุนรายใหญ หรือบุคคลที่สามที่มีธุรกรรมเกี่ยวโยงกับบริษัทฯ 2) การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders) 2.1) การจัดการประชุมผูถือหุนที่สนับสนุนใหมีการปฏิบัติตอผูถือหุนทุกรายเทาเทียมกันดังนี้ 2.1.1 บริษัทฯ ไดจัดสงหนังสือเชิญประชุมใหแกผูถือหุนลวงหนาไมนอยกวา 14 วัน กอนวัน ประชุม ผูถือ หุน และบริษัทฯ จะเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับวันเวลาสถานที่และวาระการประชุม ไวในเว็บ ไซตของ บริษัทฯ กอนที่จะจัดสงเอกสารใหแกผูถือหุน เพื่อใหผูถือหุน ไดมีเวลาศึกษาขอมูลอยางเพียงพอ และเปดโอกาสใหผูถือหุนสงคําถามลวงหนากอนวันประชุมได 2.1.2 คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือหุน สามารถสงคําถามเปน การลวงหนา 7 วัน ขึ้นไปกอนวันประชุมผูถือหุน 2.1.3 บริษัทฯ ไดมีการประกาศลงหนังสือพิม พรายวัน ติดตอกัน กอนวัน ประชุม ไมนอยกวา 3 วัน เพื่อ บอกกลาวเรียกประชุมผูถือหุน 2.1.4 บริษัทฯ ไดอํานวยความสะดวกในการลงทะเบียนการเขาประชุมผูถือหุนโดยใชระบบคอมพิวเตอร ชวยในการลงทะเบียน เพื่อใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วแกผูถือหุนมากที่สุด 2.1.5 บริษัท ฯ ไดจัด ประชุม ผู ถือหุ น ตามวัน เวลาและสถานที่ที่ ผูถือ หุน สามารถจะเขา รวมประชุม ได สะดวกตามที่ไดแจงตอผูถือหุนไว โดยไมมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ประชุม อยางกะทัน หัน จนทํา ใหผูถือหุนไมสามารถเขารวมประชุมได
56
2.1.6 คณะกรรมการบริษัท ของบริษัท ฯ เปดโอกาสใหผูถือหุน ใชห นังสือมอบฉัน ทะรูป แบบที่ผูถือหุน สามารถกําหนดทิศทางการลงคะแนนเสียงได และไดเสนอชื่อกรรมการอิสระอยางนอย 1 คนเปน ทางเลือกในการมอบฉันทะของผูถือหุน 2.1.7 ประธานในที่ประชุมไดแจงกฎเกณฑที่ใชในการประชุม ขั้นตอนการออกเสียง ลงมติ และจํานวน การถือหุนของผูเขารวมประชุม ใหผูถือหุนทราบในที่ประชุมผูถือหุน 2.1.8 ผูถือหุนที่เปนผูบริหารของบริษัทฯ ไมมีการเพิม่ วาระการประชุมที่ไมไดแจงเปนการลวงหนา 2.1.9 หุนแตละหุนมีสิทธิและเสียงเทากัน ทั้งนี้ ผูถือหุนมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนตามจํานวนหุน ทีต่ นมี และมีความเทาเทียมกันในขอมูลขาวสารของบริษัทฯ 2.1.10 ประธานในที่ประชุมไดเริ่มการประชุมตามลําดับวาระที่กําหนดไวในหนังสือเชิญประชุม 2.1.11 ประธานในที่ประชุมไดเปดโอกาสใหผูถือหุนซักถามขอมูลไดอยางเต็มที่ 2.1.12 คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ สนับสนุนใหมีการใชบัตรลงคะแนนเสียงในทุกวาระโดยเฉพาะ วาระที่สําคัญ เชน การทํารายการเกี่ยวโยง การทํารายการไดมาหรือจําหนายไป ซึ่งสินทรัพยและ การเลือกตั้งกรรมการ เปนตน 2.1.13 ในการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนทุกราย ทั้งผูถือหุนที่เปนผูบริหาร ผูถือหุน ที่ไมเปน ผูบ ริห าร และผู ถือหุนตางชาติ จะไดรับการปฏิบัติที่เทาเทียมกันและเปนธรรม 2.1.14 ผูถือหุนทุกรายที่เขารวมประชุม สามารถใชสิทธิในการลงคะแนนเสียงไดทุกกรณี ไดแกสิท ธิเห็น ดวยสิทธิไมเห็นดวยและสิทธิงดออกเสียง 2.1.15 คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือหุนใชสิทธิในการแตงตั้งกรรมการเปน ราย คน ทั้งนี้ ในการประชุมสามัญประจําปผูถือหุนประจําป 2557 ผูถือหุนเขารวมประชุม ดวยตนเอง 160 ราย นับจํานวนหุนได 592,658,979 หุน และมีผูรับมอบฉันทะจากผูถือหุน 1,280 ราย นับจํานวนหุน ได1,271,436,709 หุน รวมเปน ผูเขารวมประชุม ทั้งสิ้น 1,440 ราย นับ จํานวนหุน ได 1,864,095,688 หุน คิดเปน รอยละ 71.98 ของ จํานวนหุนที่จําหนายไดทั้งหมดครบเปนองคประชุม ตามขอบังคับของบริษัท 2.2) การปองกันการใชขอมูลภายใน เพื่อหาผลประโยชนใหแกตนเองหรือผูอื่นในทางมิชอบ บริษัทฯ มีนโยบาย และกฎระเบียบ ขอกําหนด หามมิใหกรรมการผูบริหารและพนักงานทําการ ซื้อขายหลักทรัพยหรือซื้อขายตราสารอนุพันธ โดยใชขอมูลภายในและมีมาตรการปองกันการลวงรูขอมูลภายใน ระหวางหนวยงานและบุคลากรของบริษัทฯ เชน - บริษัทฯ มีขอกําหนดเกี่ยวกับ จริยธรรมและขอกําหนดหามฝายบริห ารและพนักงานที่เกี่ยวของใช ขอมูลเกี่ยวกับ Watch List, Restricted List และ Research List ทําการซื้อขายหลักทรัพย - บริ ษั ท ฯ ได กํ าหนดระเบี ย บและมาตรการในการป อ งกั น การล ว งรูข อ มู ล ภายในของลู ก ค า และ หนวยงานภายในบริษัทแม (Chinese Wall) - บริษัทฯ ไดออกประกาศเกี่ยวกับการรักษาสารสนเทศภายในที่ยังไมไดเปดเผยตอผูลงทุนทั่วไป 57
-
บริษัทฯ ไดออกประกาศเกี่ยวกับจรรยาบรรณของผูบริหารและพนักงานเปนลายลักษณอักษรรวมทัง้ กําหนดบทลงโทษหากมีการฝาฝนไวดวย บริษัท ฯ ไดมี การแตงตั้ง คณะกรรมการวินั ยและจรรยาบรรณ เพื่ อพิจารณากรณีฝา ยบริห ารและ พนักงานมีการปฏิบัติฝาฝนกฎระเบียบขอบังคับของบริษัทแม หรือขององคกรกํากับดูแลภายนอกที่ กําหนด
2.3) นโยบายการปองกันไมใหกรรมการและผูบริหารใชตําแหนงหนาที่ เพื่อประโยชนแกตนในทางมิชอบ 2.3.1 กําหนดใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตอ สํานั กงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แหง พระราชบัญญัติ ห ลัก ทรั พยแ ละตลาดหลักทรัพ ย พ.ศ. 2535 และภายหลั ง จากบริ ษั ท ฯ ถู ก เพิ ก ถอนออกจากการเป น บริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาด หลั ก ทรั พ ย ฯ กรรมการ และผู บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ จะยั ง คงปฏิ บั ติ ต ามมาตรา 59 แห ง พระราชบั ญญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย พ.ศ. 2535 โดยอนุ โ ลม และรายงานต อ คณะกรรมการของบริษัทแม ตามขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคตโดยจะขออนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ ภายหลังจากที่การปรับโครงสรางกิจการเปนผลสําเร็จ (“ขอบังคับของ บริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต”) 2.3.2 หามไมใหกรรมการ ผูบ ริห าร และพนักงานของบริษัท ฯ ที่เกี่ยวของกับ ขอมูลภายในไปเปดเผย ขอมูลภายในแกบุคคลภายนอกหรือบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ ตามขอบังคับ ของบริษัท ฯ ที่จะ แกไขในอนาคต 2.3.3 หามไมใหกรรมการผูบริหาร และพนักงานของบริษัท ฯ ที่เกี่ยวของกับ การจัดทํารายงานทางการ เงิน หรือขอมูลที่เกี่ยวของอื่น ซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทฯ กอนประกาศงบการเงิน และภายหลัง จากบริ ษั ท ฯ ถู กเพิ ก ถอนออกจากการเป น บริ ษั ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรัพ ย ฯ กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ จะปฏิบัติตามขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต 2.4) นโยบายความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทฯ ถือเปนนโยบายสําคัญที่จะไมใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทหลักทรัพยฯ แสวงหา ผลประโยชนสวนตน จึงหามไมใหกรรมการประกอบธุรกิจที่แขงขัน กับ บริษัท ฯ หลีกเลี่ยงการทํารายการที่เกี่ยว โยงกับตนเองที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนกับบริษัทฯ ในกรณีที่จําเปน ตองทํารายการ เชน นั้น คณะกรรมการบริษั ท จะดู แลใหก ารทํ า รายการนั้น มีค วามโปร งใสเที่ ย งธรรมเสมื อ นกั บ การทํา รายการกั บ บุคคลภายนอก ในกรณีที่เขาขายรายการที่เกี่ยวโยงกันภายใตประกาศของสํานักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย คณะกรรมการจะดูแลใหมีการปฏิบัติตามหลักเกณฑวิธีการและการเปดเผยขอมูลรายการเกี่ยวโยง กัน ของบริ ษั ท จดทะเบี ย นอยา งเคร งครัด และภายหลั งจากบริษั ท ฯ ถู กเพิก ถอนออกจากการเป น บริ ษัท จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ คณะกรรมการบริษัท แม และคณะกรรมการบริษัท ของบริษัท ฯ จะดูแลใหมีการ 58
ปฏิบัติตามหลักเกณฑวิธีการและการเปดเผยขอมูลรายการเกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียนโดยอนุโลม และให เปนไปตามขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต 2.5) นโยบายรายการระหวางกันของบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนป ระกอบดวย 2 สวนคือ 2.5.1 มาตรการควบคุมการทํารายการระหวางกัน บริษัทฯ ไดกําหนดมาตรการควบคุมการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ บริษัทฯ และบริษทั ฯใน ระดั บ เดี ยวกัน กั บ บุ คคลที่อ าจมี ความขั ดแย งทางผลประโยชน มีสวนไดสวนเสีย หรือ อาจมีค วามขัด แยง ทาง ผลประโยชนในอนาคตตามประกาศของคณะกรรมการ ก.ล.ต.หรือตลาดหลักทรัพยฯ และภายหลังจากบริษัท ฯ ถูกเพิกถอนออกจากการเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ บริษัทฯ จะยังคงถือปฏิบัติตามประกาศของ คณะกรรมการ ก.ล.ต.หรือตลาดหลักทรัพยฯ โดยอนุโลม และตามขอบังคับ ของบริษัท ฯ ที่จะแกไขในอนาคต โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนในการเขาทํารายการและความเหมาะสม ทางดานราคาของรายการโดยพิจารณาจากเงื่อนไขตางๆ ใหเปนไปตามลักษณะการดําเนิน การคาปกติในตลาด และมีการเปรียบเทียบราคาที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอก ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันทีเ่ กิดขึน้ บริษทั ฯ จะจัดใหมีผูเชี่ยวชาญอิสระ หรือผูสอบบัญชีของบริษัทฯ เปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกัน ดังกลาว เพื่ อ นํ า ไปประกอบการให ค วามเห็ น ของคณะกรรมการตรวจสอบ และ/หรื อ ประกอบการตั ด สิ น ใจของ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ และ/หรือผูถือหุนตามแตกรณีซึ่งผูที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนห รือมี สวนไดเสียในการทํารายการระหวางกันจะไมมีสิทธิออกเสียงในการอนุมัตกิ ารทํารายการระหวางกันดังกลาว นอกจากนั้นบริษัทฯ จะดําเนินการเปดเผยขอมูลในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันและ รายการอื่นๆ ที่เกี่ยวของตามขอกําหนดของคณะกรรมการ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ รวมถึงมาตรฐานบัญชี ที่กําหนด โดยสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับ อนุญาตแหงประเทศไทย และภายหลังจากบริษัท ฯ ถูกเพิก ถอนออกจากการเปน บริษัท จดทะเบียนในตลาดหลัก ทรัพยฯ บริษัท ฯ จะยังคงถือปฏิบัติ ตามขอกําหนดของ คณะกรรมการ ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯโดยอนุโลม และขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต 2.5.2 นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกันในอนาคต บริษัทฯ ในระดับเดียวกันอาจมีการเขาทํารายการระหวาง กัน กับ บุ คคลที่อ าจมี ความขั ด แย ง ทางผลประโยชนใ นอนาคต โดยหากเปน รายการธุ รกิ จปกติแ ละรายการ สนับสนุนธุรกิจปกติซึ่งมีเงื่อนไขทางการคา โดยทั่วไปกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนบ ริษัท ฯ ได กําหนดนโยบายในการทํารายการระหวางกัน ใหมีเงื่อนไขตางๆ เปน ไปตามลักษณะการดําเนิน การคาปกติใน ราคาตลาด ซึ่ ง สามารถเปรี ย บเที ย บได กั บ ราคาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ บุ ค คลภายนอก ซึ่ ง เป น ไปตามหลั ก การที่ คณะกรรมการบริ ษั ท ของบริ ษั ท ฯ อนุ มั ติ ไ ว แ ล ว และเป น ไปตามนโยบายที่ บ ริ ษั ท แม กํ า หนดไว รวมถึ ง พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย นอกจากนี้ ภายหลังจากบริษัทฯ ถูกเพิกถอนออกจากการเปน บริษัท จดทะเบีย นในตลาดหลัก ทรัพยฯ บริษัท ฯ จะยังคงถือปฏิบัติตาม หลัก การที่คณะกรรมการบริษัท ของ 59
บริษัทฯ อนุมัติไวแลว และตามนโยบายทีบ่ ริษัทแม กําหนดไวรวมถึงขอบังคับ ของบริษัท ฯ ที่จะแกไขในอนาคต โดยใหป ฏิบั ติตามสัญญาที่ต กลงร วมกั น อยา งเครงครั ด พรอมทั้ งกํา หนดราคาและเงื่อนไขรายการตางๆ ให ชัดเจนเปนธรรม และไมกอใหเกิดการถายเทผลประโยชน ทั้งนี้ เนื่องจากมีบุคคลที่เขาขายบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนเพิ่มขึ้น ทําให ปริมาณการเขาทํารายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตของบริษัท ฯ อาจจะเพิ่ม ขึ้น ภายหลังจากการปรับ โครงสรา งแล ว เสร็จ โดยรายการระหว า งกั น สว นใหญ จะเป น ธุ ร กรรมที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย อยางไรก็ตามในกรณีที่มีการเขาทํารายการใหม หรือมีการเปลี่ยนแปลงของราคาและเงื่อนไขที่แตกตางจากเดิม สายตรวจสอบและกํากับดูแลจะทําหนาที่ตรวจสอบขอมูลและจัดทํารายงาน เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบ พิจารณา และใหความเห็นถึงความเหมาะสมของราคา และความสมเหตุสมผลของการทํารายการดังกลาวทุกๆ ไตรมาส นอกจากนี้ การเขาทํารายการดังกลาวจะตองผานการอนุมัติโดยคณะกรรมการและ/หรือผูถือหุน ของ บริษัทแม หากขนาดของรายการมีสาระสําคัญ โดยใหเปนไปตามขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคตและ ตามประกาศของคณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพยฯ โดยอนุโลม ในกรณีรายการธุรกิจปกติและรายการสนับสนุนธุรกิจปกติและรายการระหวางกันอื่นๆ บริษัทฯ จะดําเนินการตามมาตรการควบคุมการทํารายการระหวางกันที่ระบุไวขางตน 3) การคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย (Roles of Stakeholders) คณะกรรมการบริษัทฯ มีนโยบายที่จะดูแลและรักษาสิท ธิตามที่กฎหมายกําหนดของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม ซึ่ง ประกอบดวยกลุมลูกคาผูถือหุน ผูลงทุน เจาหนี้คูคาผูสอบบัญชีอิสระผูบ ริห ารพนักงานภาครัฐสังคมและหนวยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหผูมีสวนไดเสียมั่นใจวาสิท ธิดังกลาวจะไดรับ การคุม ครองและปฏิบัติดวยความเทาเทียมกัน ดังนี้ 3.1) นโยบายการดูแลเรื่องความปลอดภัยและสุขอนามัย บริษัทฯ ปรับปรุงสภาพแวดลอมโดยการขยายพื้นที่การทํางานใหมากขึ้น เพื่อลดความแออัดใน การทํางานใหพนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อใหพนักงานสรางสรรคผลงานที่ดีเลิศ และพัฒนาความสามารถของ ตนเองอยูเสมออีกทั้งบริษัทฯ ไดทําประกันสุขภาพใหกับพนักงานทุกคน 3.2) นโยบายการดูแลเรื่องคาตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน บริษัทฯ มีนโยบายดูแลเรื่องคาตอบแทนโดยนําระบบ KPI มาใชในการพิจารณาคาตอบแทนตาม ผลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกคนอยางเทาเทียมเปน ธรรมและมีคณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทน เพื่อ พิจารณาผลตอบแทนที่เหมาะสม 3.3) การจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพคือกองทุนที่นายจางและลูกจางรวมกันจัดตั้งขึ้นเงินของกองทุนมาจากเงินที่ลูกจาง จายสวนหนึ่งเรียกวา "เงินสะสม” และนายจางจายเงินเขาอีกสวนหนึ่งเรียกวา "เงินสมทบ" นั่นคือ นอกจากลูกจางจะ ออมแลวนายจางยังชวยลูกจางออมอีกแรงหนึ่งดวยจึงอาจกลาวไดวาการจัดตั้งกองทุน สํารองเลี้ยงชีพเปน รูป แบบ หนึ่งของการใหสวัสดิการแกลูกจางจึงชวยสรางแรงจูงใจใหลูกจางทํางานใหกับนายจางนานๆ 60
การจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพนอกจากจะทําใหลูกจางมีการออมอยางตอเนื่องมีวินัย และมีนายจางชวย ออมแลวยังมีการนําเงินไปบริหารใหเกิดดอกผลงอกเงยโดยผูบริหารมืออาชีพที่เรียกวา "บริษัท จัดการ" โดยดอกผลที่ เกิดขึ้นจะนํามาเฉลี่ยใหกับสมาชิกกองทุนทุกคนตามสัดสวนของเงินที่แตละคนมีอยูในกองทุน 3.4) นโยบายพัฒนาบุคลากรของบริษัทฯ บริษัทฯ มีคณะอนุกรรมการสรรหา เพื่อคัดเลือกบุคลากรมีการฝกอบรมภายในและสง บุคลากรของบริษัทฯ ไปอบรมภายนอก เพื่อพัฒนาความสามารถในการทํางานรวมทั้งสงเสริมใหพนักงานมีคุณธรรม และจริยธรรมในการปฏิบัติงานอย างซื่อสัตยสุจริต และจะตองเก็บ รักษาขอมูลของบริษัท ฯ และของลู กคาไวเป น ความลับ 3.5) นโยบายที่จะไมเกี่ยวของกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน - สนับสนุนและเคารพการปกปองสิทธิมนุษยชนดูแลมิใหธุรกิจของบริษัท ฯ เขาไปมีสวนเกี่ยวของกับ การลวงละเมิดสิทธิมนุษยชน เชน ไมสนับสนุนการบังคับใชแรงงาน (Forced Labour) ตอตานการ ใชแรงงานเด็ก (Child Labour) - ใหความเคารพนับถือและปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียทุกฝายดวยความเปนธรรมบนพื้นฐานของศักดิ์ศรี ความเปน มนุ ษยไมเลือกปฏิบัติไมแบ งแยกถิ่น กํา เนิดเชื้อชาติเพศอายุสีผิวศาสนาสภาพรางกาย ฐานะชาติตระกูล 3.6) นโยบายการปฏิบัติที่เปนธรรมและรับผิดชอบตอลูกคา บริษัทฯ มีความมุงมั่นในการสรางความพึงพอใจสูงสุดใหแกลูกคาโดยการเอาใจใสและ รับผิดชอบอยางมีหลักเกณฑ ตลอดจนมีการปฏิบัติที่ชัดเจนและเปนธรรมในการดําเนินธุรกิจกับลูกคาทุกรายรวมทั้ง พัฒนารูปแบบการใหบริการและเพิ่มชองทาง / ทางเลือกในการใหบ ริการแกลูกคา โดยใหขอมูลที่ครบถวนถูกตอง และไมบิดเบือนขอเท็จจริง ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดเตรียมชองทางในการรับเรื่องรองเรียนและแจงเบาะแสจากลูกคาและ กําหนดขั้นตอนปฏิบัติที่ชัดเจน เพื่อใหลูกคาของบริษัทฯ เกิดความมั่นใจวาบริษัท ฯ มีระบบการปฏิบัติงานที่รวดเร็ว ยุติธรรมและเชื่อถือได นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเขารวมกระบวนการอนุญาโตตุลาการกับสํานักงาน ก.ล.ต. หากเกิดขอ พิพาทระหวางบริษัทฯ กับลูกคาตามลักษณะที่กําหนดไวในประกาศของสํานักงาน ก.ล.ต. ลูกคาสามารถจะนําขอ พิพาทเขาสูกระบวนการดังกลาวได 3.7) นโยบายการปฏิบัตทิ ี่เปนธรรมและรับผิดชอบตอคูแขง บริษัทฯ สนับสนุนและสงเสริม การดําเนิน การทางธุรกิจอยางเปน ธรรมและปฏิบัติตามกฎระเบียบและ หลักเกณฑของทางการอยางเครงครัด โดยเฉพาะอยางยิ่งการปฏิบัติตามหลักเกณฑเกี่ยวกับ อัตราคาธรรมเนียมใน การเปนนายหนาซื้อขายหลักทรัพย และซื้อขายตราสารอนุพันธรวมถึงการจายผลตอบแทนใหกับ ผูติดตอกับ ผูลงทุน และหัวหนาทีมการตลาด 3.8) นโยบายการปฏิบัติที่เปนธรรมและรับผิดชอบตอคูคา บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจกับกิจการคูคาโดยปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาทีบ่ ริษัทแม ไดทําไวซึ่ง
61
จะตองไมเสื่อมเสียตอ บริษัท ฯ หรือขั ดตอกฎหมายใดๆ ไมลวงละเมิดทรัพ ยสิน ทางปญญา เชน การใชโ ปรแกรม คอมพิวเตอรที่มีลิขสิทธิ์ถูกตอง เปนตน และคํานึงถึงความเสมอภาคในการดําเนินการทางธุรกิจอยางเปน ธรรม และ มีจรรยาบรรณ 3.9) นโยบายการปฏิบัติที่เปนธรรมและรับผิดชอบตอเจาหนี้ บริษัทฯ ยึดมั่นในสัญญาและถือปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอตกลงที่กําหนดไวในสัญญาการ กูยืมกับเจาหนี้หรือการซื้อสินคาและบริการในการชําระคืนเงินตนดอกเบี้ยและการดูแลหลักประกัน และการชําระคา ซื้อสินคาและบริการ 3.10) นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการไมลวงละเมิดทรัพยสินทางปญญาหรือลิขสิทธิ์ - บริษัท ฯ ต องดํ าเนิ น ธุร กิจ และสงเสริม ใหบุ คลากรปฏิ บัติง านภายใตกฎหมาย หรือข อกํา หนดที่ เกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสินทางปญญา ไมวาจะเปนเครื่องหมายการคาสิท ธิบัตรลิขสิท ธิ์ความลับ ทาง การคาและทรัพยสินทางปญญาดานอื่นที่กฎหมายกําหนด - บุคลากรของบริ ษัท ฯ มีสิ ท ธิ และไดรั บ การสนั บ สนุน ในการสรา งสรรคผ ลงานอย างอิส ระภายใต กฎหมายที่เกี่ยวของ โดยผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามหนาที่หรืองานที่ใชขอมูลของ บริษัท ฯ หรื องานที่ ทํา ขึ้น เพื่ อบริ ษัท ฯ โดยเฉพาะถือ เปน ทรั พย สิน ของบริษั ท ฯ เว น แต ในกรณี ที่บ ริษั ท ฯ อนุญาตอยางชัดเจนวาใหถอื เปนผลงานของผูคิดคนผูประดิษฐผูวิจัย หรือบุคคลอื่นได - สงเสริมบุคลากรของบริษัทฯ ใหตระหนักถึงความสําคัญของการเคารพสิทธิในทรัพยสิน ทางปญญา ทั้งในดานที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานโดยตรง และการดําเนินชีวิตประจําวัน - การนําผลงานหรือขอมูลมาใชในการปฏิบัติงานผูที่เกี่ยวของจะตองตรวจสอบใหมั่นใจวาไมเปน การ ละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น 3.11) นโยบายและแนวปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การต อ ต า นการทุ จ ริ ต และห า มรั บ /จ า ยสิ น บน (คอร รั ป ชั่ น ) เพื่ อ ผลประโยชนทางธุรกิจของบริษัทฯ - จัดใหมีระบบการควบคุม ภายในและการประเมิน ความเสี่ยงที่มีป ระสิท ธิภ าพและเหมาะสม เพื่อ ปองกันการทุจริต ตลอดจนการปฏิบัติที่ไมเหมาะสมของบุคลากรในบริษัท ฯ และบุคคลภายนอกที่ เกี่ยวของของบริษัทฯ - สงเสริมการสรางคานิยม ความซื่อสัตย สุจริต และความรับผิดชอบ ใหเปนวัฒ นธรรมองคกรรวมทั้ง ยกระดับความตระหนักแกบุคลากรของบริษัทฯ วาการทุจริตเปนสิ่งที่ไมควรปฏิบัติ - จัดใหมีกลไกการรายงานสถานะการเงินที่โปรงใสและถูกตองภายใตม าตรฐานการบัญชีที่ไดรับ การ ยอมรับระดับสากล - จั ด ให มี ช อ งทางในการสื่ อ สารให พ นั ก งานและผู มี ส ว นเกี่ ย วข อ งสามารถที่ จ ะแจ ง เบาะแส ขอเสนอแนะหรือรองเรียนกรณีเกี่ยวกับการทุจริต โดยมีมาตรการคุมครองสิทธิผูแจงเบาะแส - กําหนดใหมีมาตรการปองกันการมอบ หรือรับ ของกํานัล ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่น ใด การเลี้ยง รับรอง หรือคาใชจายที่เกินขอบเขตจํากัด ซึ่งไมเปนไปตามหลักเกณฑของบริษัท ฯ หรือเปน การฝา ฝนกฎหมายในประเทศที่เกี่ยวของ 62
กําหนดใหมีมาตรการปองกันการติดสินบนทุกรูปแบบ ไมวาจะกระทําไป เพื่ออํานวยความสะดวก หรือ เพื่อความสัมพันธในการดําเนินธุรกิจทุกชนิด ไมวาทางตรงหรือทางออม - กําหนดใหการจัดซื้อจัดจางตองดําเนิน ไปอยางโปรงใส เปน ธรรม ภายใตกฎระเบียบและขั้น ตอน ปฏิบัติที่ถูกตอง - กําหนดใหการใหเงินบริจาค เพื่อการกุศลและเงินสนับสนุนทุกประเภทควรเปนไปอยางโปรงใสและ ถูกตองตามกฎหมายในประเทศที่เกี่ยวของ - จัดใหมีการสงเสริ ม แลกเปลี่ยนความรูป ระสบการณและแนวปฏิบัติที่ดีร ะหว างบริษัท อื่น ที่อยูใ น อุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัท ฯ รวมทั้งผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝาย เพื่อเปน แนวรวมปฏิบัติและเขา รวมในกิจกรรมตอตานการทุจริตคอรรัปชั่นซึ่งจัดขึ้น โดยบริษัท ฯ สมาคมหอการคา หรือหนวยงาน กํากับดูแลอื่นๆ 3.12) นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับสังคม บริษัทฯ ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบตอสังคม อีกทั้งยังมีความมุงมั่นที่จะแสดง ความรับผิดชอบตอสังคมแกผูมีสวนไดสวนเสียตอเนื่องเปนประจําทุกป บริษัทฯ ไดจัดสรรงบประมาณสวนหนึ่ง เพื่อนํามาดําเนินกิจกรรมทางสังคมโดยเนนการ สงเสริมดานการศึกษาการทํานุบํารุงศาสนาและการสงเสริมคุณภาพชีวิตทางสังคมอยาง เชน ทุกป ในป 2557 บริษทั ฯ ไดดําเนิน กิจกรรมดานการศึกษาทั้งหมด 3 โครงการ ดานการทํานุบํารุงศาสนา 6 โครงการ และดานการสงเสริ ม คุณภาพสังคม 4 โครงการ 3.13) นโยบายการสงเสริมใหมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ - ดูแลรักษาทรัพยสินของบริษัทฯ ใหอยูในสภาพที่ใชงานไดดีและปกปองทรัพยสิน ของ บริษัท ฯ มิให เสียหายหรือสูญหาย - ในกรณีที่ ท รั พย สิ น ของบริ ษัท ฯ ที่มี พ นั ก งานหรือ บุ ค คลใดบุ คคลหนึ่ง รั บ ผิด ชอบดูแ ลเกิด ความ เสี ย หายหรื อ สูญหาย บุ ค คลนั้น ต อ งรั บ ผิ ด ชอบร ว มกั น กั บ บริ ษั ท ฯ ตามที่กํ า หนดไว ใ นระเบี ย บ ขอบังคับหรือนโยบายตางๆ ของบริษัทฯ - ใชทรัพยสินของบริษท ั ฯ ในการปฏิบัติหนาที่อยางประหยัด และรูคุณคา เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยคํานึงถึงการรักษาสภาพแวดลอมและอนุรักษพลังงานควบคูไปดวย - ไม ใช ท รั พ ยสิ น ใดๆ ของบริ ษัท ฯ เพื่ อประโยชนส ว นตั วหรือ บุ คคลอื่ น โดยมิ ชอบทั้ง ทางตรงและ ทางออม - เมื่อพนจากสภาพการเปนบุคลากรของบริษัทฯ จะตองสงมอบทรัพยสินตางๆ ที่ใชในการปฏิบัติงาน รวมถึงขอมูลที่ใชในการปฏิบัติงาน ผลงานสิ่งประดิษฐ คืนใหบริษัทฯ ไมวาจะเปน ขอมูลที่เก็บ ไวใน รูป แบบใดๆ และหา มบั น ทึ ก คัด ลอกหรือ สํ าเนาขอ มู ลเหลา นั้ น เพื่อ นํ า ไปเผยแพร ห รือ แสวงหา ผลประโยชนโดยไมไดรับอนุญาตจากบริษัทฯ 3.14) นโยบายสงเสริมใหมีการใหความรูและฝกอบรมพนักงานในเรื่องสิ่งแวดลอม - ปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด -
63
สงเสริมใหพนักงานเขารับการฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม เพื่อสรางจิตสํานึกและความ รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม - สงเสริมใหพนักงานไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู และประสบการณเกี่ยวกับ สิ่งแวดลอมระหวาง พนักงานดวยกันหรือระหวางหนวยงานตางๆ ของบริษัทฯ - ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให พ นั ก งาน มี ก ารรั ก ษาสภาพแวดล อ มและปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านให เหมาะสมกับสภาพแวดลอมอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ - บริษัทฯ มีนโยบายบริหารการจัดการโดยมีเปาหมาย เพื่อปองกันไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม - ทบทวนและประเมิ น ผลการดํ าเนิน งานของบริษั ท แม อย างต อเนื่อ งและสม่ํ าเสมอ เพื่อ ติด ตาม ความกาวหนา นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ รับรูถึงสิทธิของผูมีสวนไดเสียตามที่กฎหมาย กําหนด และสนับสนุนใหมีการรวมมือกันระหวางบริษัทฯ กับผูมีสวนไดเสีย เพื่อความเจริญเติบโตของ บริษัทฯ อยาง มั่นคง และยั่งยืนโดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสียอยางเทาเทียมกัน และเปดเผยขอมูลสําคัญใหกับ ผูที่ เกี่ยวของทุกฝ ายไดท ราบโดยดํ าเนิ น การผานชองทางของตลาดหลั กทรั พยฯ ตามวิธีก ารและภายในระยะเวลาที่ กําหนด -
4) การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส (Disclosure and Transparency) 4.1) การเปดเผยขอมูล 4.1.1 กําหนดใหมีการจัดทําขอมูลตางๆ อยางถูกตองครบถวนและโปรงใสรวมถึงมีการเปดเผยขอมูล อยางสม่ําเสมอ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผานชองทางตางๆ เชน เว็บไซตของบริษัท ฯ และมี การปรับปรุงขอมูลใหเปนปจจุบันอยูเสมอ 4.1.2 กําหนดใหมีการเปดเผยและจัดสงขอมูลใหแกกรรมการและ/หรือผูบริหารของบริษัทแม ตามที่รอง ขอ 4.1.3 กําหนดใหบุคคลหรือหนวยงานที่ไดรับการแตงตัง้ จากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ หรือผูบริหารระดับสูงเทานั้นเปนผูใหขอมูลกับผูถือหุน ผูลงทุน นักวิเคราะหห ลักทรัพยสื่อมวลชน หรือองคกรกํากับดูแล 4.1.4 ขอมูลทีบ่ ริษัทฯ ไดเปดเผยอยางสม่ําเสมอมีดังนี้ - ขอมูลทั่วไปและลักษณะการประกอบธุรกิจ - งบการเงินและผลประกอบการของบริษัทแม รวมถึงผลการวิเคราะหตางๆ - รายชื่อและสัดสวนการถือหุนของผูถือหุนรายใหญ/ผูบริหาร - ปจจัยความเสี่ยงของธุรกิจ - นโยบายคาตอบแทนของกรรมการบริษัทแม และผูบริหารระดับสูง - ขอมูลคุณสมบัติของกรรมการ - รายการทําธุรกรรมกับผูที่เกี่ยวโยงกับบริษัทแม 64
รายการสําคัญที่เกี่ยวกับพนักงานหรือผูมีสวนไดเสีย - จรรยาบรรณและขอพึงปฏิบัติ 4.1.5 กําหนดใหจัดทํางบการเงินหรือขอมูลทางการเงิน เพื่อแสดงฐานะทางการเงินและผลการ ดําเนิน งานของบริษัท ฯ ตามที่กฎหมายกําหนดรวมทั้งใหเ ปดเผยขอมูลอื่ น ๆ ที่เ กี่ยวขอ งอยา ง ครบถวนถูกตอง เพียงพอและทันเวลา เพื่อใหผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัท ฯ ไดรับ ทราบ โดยทั่วถึงกัน 4.1.6 กําหนดใหมีการตรวจสอบบัญชีหรืองบการเงินโดยผูตรวจสอบบัญชีภายนอกที่มีความเปนอิสระ 4.1.7 บริ ษั ท ฯ จะอํ า นวยความสะดวกในการวิ เ คราะห ข อ มู ลของบริ ษั ท ฯ ต อ บุ ค คลภายนอก เช น นักวิเคราะหห ลัก ทรัพยที่ ป รึกษาการลงทุ น บริษัท นายหนา คาหลักทรัพยสถาบัน การจัดอัน ดั บ ความนาเชื่อถือสื่อมวลชน และองคกรกํากับดูแลภายนอก เปนตน เพื่อประโยชนในการตัดสิน ใจ ลงทุนของผูลงทุนหรือ เพื่อประโยชนในดานอื่นๆ 4.1.8 กําหนดให เปด เผยรายงานนโยบายการกํากั บ ดู แลกิจการที่ดี และผลการปฏิบั ติต ามนโยบาย ดังกลาวในรายงานประจําปในเว็บไซตของบริษัท ฯ และปดประกาศ ณ ที่ทําการสํานักงานใหญ และสํานักงานสาขาทุกแหง 4.1.9 กําหนดใหเปดเผยบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการจํานวนครั้งของการประชุม จํานวนครั้งที่ กรรมการแตละทา นเข ารว มประชุ ม ความเห็น ของกรรมการจากการทํา หน าที่ รวมถึง เปด เผย นโยบายรูปแบบและลักษณะของการจายคาตอบแทนใหกับกรรมการและผูบริหารระดับ สูงแตละ คนในรายงานประจําปและเว็บไซตของบริษัทฯ 4.1.10 กําหนดใหกรรมการมีหนาที่รายงานการซื้อขาย/ถือครองหลักทรัพยของบริษัทใหคณะกรรมการ บริ ษั ท ฯ ทราบโดยให ถื อ ปฏิ บั ติ ต ามมาตรา 59 แห ง พระราชบั ญญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย แ ละตลาด หลักทรัพย พ.ศ. 2535 ที่กําหนดใหกรรมการเปดเผยรายงานการถือหลักทรัพยของตนและคูสมรส และบุตรที่ยังไมบ รรลุนิติภาวะ ซึ่งถือหลักทรัพยในบริษัท แม ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพยตามหลักเกณฑและวิธีการของสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ภายหลังจากบริษัท ฯ ถูกเพิก ถอนออกจากการเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ บริษัทฯ จะยังคงกําหนดใหกรรมการ ถือปฏิบัติตามตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติห ลักทรัพยและตลาดหลัก ทรัพย พ.ศ.2535 โดยอนุโลม และรายงานการซื้อ ขาย/ถือ ครองหลัก ทรัพ ยตอ คณะกรรมการของบริษั ท แม ตาม ขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต 4.2) รายงานของคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ไดจัดใหมีรายงานความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ของบริษัทฯ ในเรื่องงบการเงินของบริษัทฯ และเรื่องที่สําคัญตางๆ ตามขอพึงปฏิบัติที่ดีที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด แสดงควบคูกับรายงานของผูสอบบัญชีในรายงานประจําป นอกจากนี้ ภายหลังจากบริษัทฯ ถูกเพิกถอนออกจากการ เปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ บริษัทฯ จะยังคงจัดใหมีรายงานเรื่องของงบการเงิน ใหแกบริษัทแม เพื่อ -
65
นําไปจัดทํางบการเงินรวมและเรื่องสําคัญตางๆ เพื่อใหเปนไปตามขอพึงปฏิบัติที่ดีที่ตลาดหลักทรัพยฯ โดยอนุโลม และขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต ทั้งนี้ โครงสรางคณะกรรมการของบริษัทฯ ไดจัดใหมีกรรมการอิสระในสัดสวนที่เพียงพอใน การถวงดุลกันในจํานวนที่สอดคลองตามหลักเกณฑของหนวยงานทางการที่กําหนดโดยทําหนาที่ในการสอบทาน ความนาเชื่อถือของงบการเงิน รวมถึงการเปดเผยขอมูลสําคัญอยางเพียงพอในหมายเหตุป ระกอบงบการเงิน อีกทั้ง ยังทําหนาที่ในการสอบทานใหบริษัทฯ มีระบบควบคุมภายในที่เพียงพอ มีระบบตรวจสอบภายในที่ไดมาตรฐานและ มีการประเมินระบบบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย รัดกุมและเหมาะสมโดยคณะกรรมการตรวจสอบจะ หารือและประชุมรวมกับสายตรวจสอบและกํากับดูแลและผูสอบบัญชีภายนอก เพื่อใหการรายงานทางการเงิน ของ บริษัทฯ มีความถูกตอง และครบถวน และมีการจัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงาน ประจําปของบริษัทฯ และในป 2557 คณะกรรมการตรวจสอบไดพิจารณาเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีป ระจําป 2557 ไดแกน ายชวาลา เทียนประเสริฐและ/หรือนายเพิ่ม ศักดิ์ วงศพัชรปกรณและ/หรือนายนิติ จึงนิจนิรัน ดรและ/หรื อ นางสาวนิสากร ทรงมณี จากบริษัท ดีลอยท ทูชโธมัทสุไชยยศ สอบบัญชี จํากัด 4.3) ความสัมพันธกับผูลงทุน คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ไดใหความสําคัญในการเปดเผยขอมูลที่มีความถูกตอง ครบถวน โปรงใส ทันเวลาและสรางคุณคาใหกับ นักลงทุน ทั้งในสวนของการรายงานขอมูลทางการเงิน และขอมูล ทั่วไป รวมถึงขอมูลสําคัญที่มีผลกระทบตอบริษัท ฯ ใหผูลงทุน และผูที่เกี่ยวของทราบอยางทั่วถึง ทัน เวลา และตาม วิ ธี ก ารที่ ต ลาดหลั ก ทรั พ ย ฯ กํ า หนด โดยบริ ษั ท ฯ ได เ ผยแพร ข อ มู ล ดั ง กล า วผ า นเว็ บ ไซต ข องบริ ษั ท ฯ ที่ www.cgsec.co.th และผานชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลของตลาดหลักทรัพยฯ อยางไรก็ตาม ภายหลังจากที่ บริษัทฯ ถูกเพิกถอนออกจากการเปนบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ บริษัท ฯ จะยังคงเผยแพรขอมูลใหนัก ลงทุนทราบผานชองทางของบริษัทแม รวมทั้ง ชองทางสื่ออิเลคทรอนิคสของบริษัท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย ผานทางบริษัทแม นอกจากนี้ เพื่อใหการเปดเผยขอมูลของ บริษัทฯ มีความถูกตอง ครบถวน นาเชื่อถือ และยังเปน การปองกันขาวลือตางๆ บริษัทฯ ไดม อบหมายใหป ระธานเจาหนาที่บ ริห ารเปน ผูรับ ผิดชอบในการตอบขอซักถาม และชี้แจงขอมูลของบริษัทฯ ใหผูลงทุนและผูที่เกี่ยวของทราบ โดยผูลงทุน สามารถติดตอไดที่ห มายเลขโทรศัพท 02205-7000 ตอ 1017 หรือที่ E-mail address: IR-CGS@countrygroup.co.th นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดกําหนดใหสายตรวจสอบและกํากับดูแลเปนศูนยกลางในการรับและ พิจารณาเรื่องรองเรียนและแจงเบาะแส โดยสามารถรองเรียนหรือแจงเบาะแสไดที่ห มายเลขโทรศัพท 0-2205-7000 ตอ 1300-11
66
5) ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทบริษัทฯ (Board Responsibilities) คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีบทบาทสําคัญในการกํากับดูแลกิจการและมีวิสัยทัศนในการกําหนดนโยบาย กลยุทธแผนธุรกิจ งบประมาณ และการบริหารความเสี่ยงโดยมีความเปน อิสระในการตัดสิน ใจ เพื่อประโยชนสูงสุด ของบริษัทฯ และผูถือหุนโดยรวม 5.1) โครงสรางคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ 5.1.1 การถวงดุลของกรรมการที่ไมเปนผูบริหาร คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ประกอบดวยกรรมการไมนอยกวา 5 ทานและไม มากกวา 15 ทานโดยตองเปนผูมีทักษะและประสบการณห ลากหลายที่สามารถใชวิจารณญาณไดอยาง เปนอิสระ มีความเปนผูนํา มีความรู เพื่อนํามาหารือในที่ป ระชุม คณะกรรมการบริษัท ฯ และตองเปน ผูมี คุณสมบัติตามที่กฎหมายกําหนดคณะกรรมการบริษัท ของบริษัท ฯ จะประกอบดวยกรรมการอิสระจาก ภายนอกซึ่งเปน ผูมีความรูความสามารถอยางนอย 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทั้งหมดหรืออยางนอย จํานวน 3 ทาน ทั้งนี้ ในการแตงตั้งคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ จะเปนไปตามวาระที่กําหนด ไว รวมทั้ งมี ค วามโปรง ใสและชัด เจนในการเสนอชื่ อ กรรมการ เพื่อ การแต ง ตั้ง /เลื อกตั้ง มีป ระวั ติข อง กรรมการที่มีรายละเอียดเพียงพอและบริษัท ฯ จะเปดเผยประวัติของกรรมการทุกคนโดยละเอียดและทุก ครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงกรรมการตอสาธารณชนผานเว็บไซตและขาวสารของบริษัทฯ 5.1.2 คุณสมบัติของผูที่ดํารงตําแหนงกรรมการและกรรมการอิสระ บริษัทฯ ไมมีการจํากัดจํานวนกรรมการอิสระผูที่ดํารงตําแหนงกรรมการและ กรรมการอิสร ะจะตองเปนผูที่มีคุณสมบัติเหมาะสมโดยคํานึงถึงความหลากหลายของทักษะประสบการณ ความสามารถเฉพาะดานที่เปนประโยชนกับบริษัทฯ รวมทั้งการอุทิศเวลา และความพยายามในการปฏิบัติ หนาที่ไมมีลักษณะตองหามตามประกาศสํานักงาน ก.ล.ต. และมีคุณสมบัติครบถวนตามพระราชบัญญัติ บริษัท มหาชนจํากัดโดยภายหลังจากที่บ ริษัท ฯ ถูกเพิกถอนออกจากการเปน บริษัท จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพยฯ บริษัทฯ ปฏิบัติตามขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต ทั้งนี้ กําหนดใหกรรมการอิสระ มีวาระการดํารงตําแหนงตอเนื่องไมเกิน 9 ป นับจากวันที่ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการอิสระ ครั้งแรก 5.2) คณะกรรมการชุดยอย บริษัทฯ มีคณะกรรมการรวมทั้งสิ้น 7 ชุด ประกอบไปดวย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะอนุกรรมการสรรหา คณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการลงทุน และคณะอนุกรรมการดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อควบคุม ดูแลบริษัท ฯ ในดานตางๆ บทบาทหนาที่และ ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ 5.2.1 ภาวะผูนําวิสัยทัศนและความเปนอิสระในการตัดสินใจ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีหนาที่และความรับผิดชอบสูงสุดในการกําหนด 67
นโยบายพิจารณาอนุมัติและทบทวนกลยุท ธเปาหมาย แผนธุรกิจ งบประมาณและการบริห ารความเสี่ยงของ บริษัทฯ ตลอดจนควบคุมดูแลใหฝายบริหารสามารถดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายแผนงานและงบประมาณ อยางมีป ระสิท ธิภาพและโปรงใส นอกจากนี้คณะกรรมการบริษัท ของบริษัท ฯ ไดใหความสําคัญในเรื่องการ กํากับดูแลกิจการที่ดี โดยไดจัดทํานโยบายการกํากับดูแลกิจการบริษัทฯ เปนลายลักษณอักษรพรอมทั้งใหความ เห็นชอบทบทวนประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวอยางนอยปละ1ครั้งโดยเนนใหบริษัทฯ มีระบบการ ควบคุมภายในที่ดี มีม าตรการบริห ารความเสี่ยงที่มีป ระสิท ธิภาพรวมทั้งมีการติดตามการดําเนิน การในเรื่อง ดังกลาวอยางสม่ําเสมอในการประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่คณะกรรมการ บริษัทของบริษัท ฯ ตองมีภาวะความเปน ผูนํามีวิสัยทัศนและมีความเปน อิสระในการตัดสิน ใจ เพื่อประโยชน สูงสุดของบริษัทฯ และผูถือหุน 5.2.2 ความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการบริ ษั ท ของบริ ษั ท ฯ ได กํ า หนดเป น นโยบายและแนวปฏิ บั ติ ที่ ชั ด เจนในการ ควบคุมดูแลและปองกันมิใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชนในการดําเนิน ธุรกิจของบริษัท ฯ ดังนี้ - จัดโครงสรางและองคประกอบของบริษัทฯ และของคณะกรรมการชุดตางๆ ตามหลักการ กํากับดูแลกิจการที่ดี - ส ง เสริ ม ให ผู บ ริ ห ารและพนั ก งานทุ ก คนปฏิ บั ติ ง านด ว ยความซื่ อ สั ต ย สุ จ ริ ต ยึ ด มั่ น ใน จรรยาบรรณวิชาชีพและไมใหความสําคัญตอผลประโยชนสวนตัวเหนือความรับ ผิดชอบที่ มีตอ บริ ษัท แม ซึ่ งรวมถึง การรั กษาความลั บ ของลู กค าและการไมนํ าข อมู ลภายในของ บริษัทฯ และลูกคาไปเปดเผยหรือนําไปใช เพื่อประโยชนสวนตนหรือผูอื่น - การตัดสินใจใดๆ ที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนห รือกรณีที่มีการกระทําบางอยาง ซึ่งเปนประโยชนตอบริษัทฯ แตไมสอดคลองกับ ผลประโยชนที่แตกตางกัน ของผูมีสวนได เสียในแตละกลุม คณะกรรมการบริษัท ของบริ ษัท ฯ และฝายบริห ารจะพิจ ารณาปญหา ดังกลาวอยางรอบคอบดวยความระมัดระวังซื่อสัตยสุจริตมีเหตุผลและเปน อิสระภายใต กรอบจริยธรรมที่ดี เพื่อผลประโยชนของบริษัท ฯ เปน สําคัญและจะเปดเผยใหผูถือหุน ได ทราบทุกครั้ง - ในกรณีมีประเด็นที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนหรือเปนการทํารายการที่เกี่ยวโยง กันหรือ เปนผูมีสวนเกี่ยวของหรือเกี่ยวโยงกับ รายการที่พิจารณา ซึ่งกรรมการทานใดที่มี สวนไดเสียในวาระใดกรรมการทานนั้นตองเปดเผยขอมูลใหที่ประชุมไดรับทราบทันที และ จะไมมีสิทธิในการเขารวมประชุมและไมมีสิทธิออกเสียงในวาระดังกลาว - กรรมการผูบริหารและพนักงานทุกคนพึงหลีกเลี่ยงการกระทําที่เปนการขัดตอผลประโยชน ของบริษัท ฯ ไมวาจะเกิดจากการติดตอกับ ผูเกี่ยวของกับ บริษัท ฯ เชน ลูกคา คูแขงขัน หรื อ จากการใช โ อกาสหรื อ ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการเป น กรรมการหรื อ พนั ก งานในการหา 68
ประโยชนสวนตนหรือการทําธุรกิจที่แขงขันกับ บริษัท ฯ หรือการทํางานอื่น นอกเหนือจาก งานของบริษัทฯ ซึ่งไดสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานในหนาที่ - กรรมการผูบริหาร และพนักงานทุกคนพึงละเวนการถือหุนในกิจการของคูแขงของบริษัท ฯ หากมีผลทําใหตองละเวนการกระทําที่ควรทําตามหนาที่หรือมีผลกระทบตอการปฏิบตั งิ าน ในหนาที่ในกรณีที่บุคคลดังกลาว ไดหุน มากอนเปน กรรมการผูบ ริห ารหรือพนักงานหรือ กอนทีบ่ ริษัทฯ จะเขาไปทําธุรกิจนั้นหรือการไดมาโดยมรดกบุคคลดังกลาวตองรายงานให ผูบังคับบัญชา ตามลําดับชั้นทราบและใหสําเนาสงสายตรวจสอบและกํากับดูแลทุกครั้ง 5.2.3 จริยธรรมธุรกิจ ในการดําเนินธุรกิจไปสูความสําเร็จและบรรลุเปาหมายสูงสุด รวมถึงการมีระบบการปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพซึ่งปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งคือการมีจริยธรรมในการดําเนิน ธุรกิจคณะกรรมการบริษัท ของบริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญดังกลาวจึงไดจัดทําขอพึงปฏิบัติเกี่ยวกับจรรยาบรรณขึ้น เพื่อมุงเนน ถึงการมีจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจและการปฏิบัติตามขอบังคับของทางการ เพื่อใหกรรมการผูบริหารและ พนักงานทุกคนยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติหนาที่ดวยความซื่อสัตยสุจริต และเที่ยงธรรมทั้งการปฏิบัติ ตอบริษัท ฯ ลูกคาผูถือหุน และผูมีสวนไดเสียทุกกลุม รวมถึงไดกําหนดบทลงโทษทางวินัยสําหรับ ผูฝาฝ น หรือไมปฏิบัติตามไวดวยโดยบริษัทฯ ไดม อบหมายใหสายตรวจสอบและกํากับ ดูแลทําหนาที่ติดตามและ ควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติดังกลาวเปนประจํา 5.2.4 ระบบการควบคุมและตรวจสอบภายในและการรายงานทางการเงิน บริษัทแม มีนโยบายที่จะกํากับดูแลระบบการควบคุมและตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ซึ่งเปน บริษัทฯใหเปนเสมือนหนวยงานหนึ่งของบริษัทแม เอง และสนับ สนุน ใหคณะกรรมการบริษัท ของบริ ษัท ฯ ใหความสํา คัญตอระบบการควบคุม ภายใน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริ ษัท ของ บริษัท ฯ ไดใหความสําคัญตอระบบการควบคุม ภายในเปน อยางยิ่ง ทั้งในระดับ บริห ารและ ระดับ ปฏิบัติ งานโดยเน น ใหมี ความเพียงพอและเหมาะสมกับ การดํา เนิน ธุ รกิจ เพื่อป องกั น ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น กับ บริษัท ฯ โดยรวมทั้งดานการเงิน การดําเนิน งานการบริห าร ความเสี่ยงและการกํากับดูแลการปฏิบัติงานจึงไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับ ระบบการควบคุม และตรวจสอบภายในดังนี้ - กําหนดใหฝายบริหารของบริษัท ฯ รับ ผิดชอบตอการจัดทํารายงานทางการเงิน ที่มีความ ถูกตองครบถวนและทันเวลาทั้งงบการเงินรายไตรมาสรายครึง่ ปและรายป - กําหนดใหมีระบบการควบคุม และตรวจสอบภายในที่มีป ระสิท ธิภ าพ เพื่อใหมั่น ใจไดวา บริษัทฯ มีการปฏิบัติตามมาตรฐานและกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของภายใตการตรวจสอบ ของผูตรวจสอบภายในและการสอบทานของคณะกรรมการตรวจสอบ - กําหนดภาระหนาที่และอํานาจในการดําเนินการของผูบริหารไวเปนลายลักษณอักษร - กําหนดใหมีการควบคุมและตรวจสอบการใชทรัพยสินของบริษัทฯ อยางตอเนื่อง เพือ่ ไมให เกิดความเสียหายหรือมีการนําไปใชหรือหาประโยชนโดยมิชอบ 69
-
-
-
มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบของบุคคลหรือหนวยงาน เพื่อใหเกิดการถวงดุลและ ตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสม คณะกรรมการบริษัท ของบริษั ท ฯ ไดใหความสําคัญตอคํา แนะนําหรือขอเสนอแนะของ ผูสอบบัญชีอิสระและผูตรวจสอบจากองคกรกํากับ ดูแลภายนอก เพื่อเปน แนวทางในการ พิจารณาปรับปรุงการดําเนินงานใหถูกตองเหมาะสม คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีนโยบายใหสายตรวจสอบและกํากับ ดูแลรายงานตรง ตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อความเปน อิสระสามารถตรวจสอบและถวงดุลไดอยางมี ประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีนโยบายใหดําเนินการสรรหาและคัดเลือกผูสอบบัญชี ภายนอกจากสํ า นัก งานสอบบั ญชี ที่มี ชื่ อ เสี ย งและได รั บ ความเห็ น ชอบจากสํ า นัก งาน ก.ล.ต. เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบความถูกตองครบถวนของการบันทึกบัญชีและการเปดเผย ขอมูลเกี่ยวกับนโยบายการบัญชีพรอมทั้งเสนอแนะและแกไขจุดออนหรือขอบกพรองของ การบันทึกบัญชีหรือระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ
5.3) การประชุมของคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ไดกําหนดการประชุมวาระปกติลวงหนาเปนประจําทุกเดือนใน แตละป เพื่อกรรมการจะไดจัดสรรเวลาของตนสําหรับ การประชุม ทุกครั้งได โดยสะดวกอีกทั้งยังอาจมีการประชุม วาระพิเศษเพิ่ม เติม ไดตามความจําเปน โดยการประชุ ม วาระปกติทุกครั้งจะมีการติดตามเรื่ องที่ สืบ เนื่ องจากการ ประชุมครั้งที่ผานมาและผลการดําเนินงานของบริษัทแม ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัท ฯ ตองมีกรรมการเขาประชุม ไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน กรรมการทั้งหมดจึงจะครบองคประชุม ประธานกรรมการบริษัทของบริษัทฯ เปนผูใหความเห็น ชอบในการจัดเรื่องที่ จะเขาวาระการประชุมโดยการพิจารณารวมกับประธานกรรมการบริหารและจะพิจารณาคําขอของกรรมการบางทาน ที่จะบรรจุเรื่องอื่นที่สําคัญเปนวาระในการประชุม ทั้งนี้ กรรมการแตละทานมีความเปน อิสระที่จะเสนอเรื่องเขาสู วาระในการประชุม ประธานกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ดําเนินการจัดสรรเวลาใหอยางเพียงพอที่ฝายบริหารจะเสนอเรื่องหรือ เอกสารข อมู ล เพื่ อ การอภิ ป รายและระยะเวลามากพอที่ก รรมการจะอภิ ป รายปญหาในประเด็ น ที่สํา คั ญอย า ง รอบคอบโดยทั่วกัน คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ สนับสนุนใหประธานกรรมการบริหารเชิญผูบริหารระดับสูงเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ เพื่อใหขอมูลหรือรายละเอียดเพิ่มเติมในฐานะเปนผูที่เกี่ยวของโดยตรงและ เพื่อให คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ไดมีโอกาสรูจักกับผูบริหารระดับสูง คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ สามารถเขาถึงและขอขอมูลคําปรึกษาและบริการตางๆ ที่จําเปน เพิ่ม เติม ไดจากประธานกรรมการบริห ารหรือผูบ ริห ารอื่น ที่ไดรับ มอบหมายหรืออาจขอความเห็น ที่เปน อิสระจากที่ป รึกษา ภายนอกได 70
ฝายบริหารและผูบริหารระดับสูงมีหนาที่ใหขอมูลคําปรึกษาและบริการตางๆ ที่เหมาะสมและทัน เวลาแก คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ กําหนดใหเลขานุการบริษัทของบริษัทฯ จัดสงหนังสือเชิญประชุม พรอมดวยระเบียบวาระการประชุม และ เอกสารประกอบการประชุมในแตละวาระใหแกกรรมการกอนการประชุมลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหกรรมการ ทุกทานมีเวลาเพียงพอที่จะศึกษาขอมูลตางๆ กอนการเขารวมประชุมในแตละครั้ง ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัท ฯ ทุกครั้งมีการบัน ทึกรายงานการประชุม อยางครบถวนทุก วาระเปนลายลักษณอักษรและจัดเก็บรายงานดังกลาวที่ผานการรับ รองจากคณะกรรมการบริษัท ของบริษัท ฯ แลว เพื่อใหคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ และ/หรือผูที่เกี่ยวของสามารถตรวจสอบไดตลอดเวลา 5.4) การประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ไดสนับสนุนใหมีการประเมินตนเองของคณะกรรมการบริษัท ของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ จะประเมิน ผลการปฏิบัติงานดวยตนเองเปน ประจําทุกป เพื่อให คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ รวมกันพิจารณาผลงานปญหาและอุปสรรค เพื่อการปรับ ปรุงแกไขตอไปซึ่งในการ ประเมินผลดังกลาวเปนการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ 5.5) คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร บริษัทฯ ไดกําหนดคาตอบแทนกรรมการในเรื่องเบี้ยประชุมไวอยางชัดเจนและโปรงใสซึ่ง คาตอบแทนดังกลาวไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนในกรณีกรรมการไดรับมอบหมายใหทําหนาที่และมีความ รับผิดชอบเพิ่มมากขึ้น เชน การเปนสมาชิกของคณะกรรมการชุดยอย เปน ตน จะไดรับ คาตอบแทนเพิ่ม ในระดับ ที่ เหมาะสมกับหนาที่และความรับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายเพิ่มมากขึ้นบริษัทฯ มีคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน ทําหนาที่กําหนดหลักเกณฑในการประเมินผลงานของผูบริหารระดับสูงและกําหนดการจายคาตอบแทนหรือคาจางที่ เปน ธรรมและชั ดเจนและใหความเห็น ชอบในกรณีที่ บริ ษัท ฯ มี การเสนอขายหลักทรัพ ยที่ออกใหมตอกรรมการ ผูบริหารระดับสูงหรือพนักงานและมีกรรมการผูบริหารระดับสูงหรือพนักงานที่ไดรับจัดสรรหลักทรัพยเกิน กวารอยละ 5 ของจํานวนหลักทรัพยทั้งหมดที่จะจัดสรร ทั้งนี้ ตองไมมีกรรมการที่จะไดรับ จัดสรรหลักทรัพยเกิน กวารอยละ 5 ดังกลาวเปนกรรมการในคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มีนโยบายใหเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับคาตอบแทนของ กรรมการและคาตอบแทนของผูบริหารไวในรายงานประจําปและเว็บไซตของบริษัทฯ 5.6) การพัฒนากรรมการและผูบริหาร บริษัทฯ ไดดําเนินการพัฒนากรรมการและผูบริหารดังนี้ - สรุ ป และนํา เสนอกฎระเบี ย บประกาศตา งๆ ที่ เ กี่ย วข องรวมทั้ งที่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ สํ าคั ญ ให กรรมการบริหารและผูบริหารรับทราบเปนประจําทุกเดือน 71
-
-
-
สงเสริมใหกรรมการเขาอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของกรรมการในธุรกิจตัวกลางในตลาด ทุน เพื่อใหมีความรูความเขาใจในบทบาทหนาที่ของกรรมการและสามารถปฏิบัติห นาที่ไดอยาง ถูกตองครบถวน กรรมการที่ ไ ด รั บ เลื อ กตั้ ง หรื อ แต ง ตั้ ง ใหม ทุ ก คนจะต อ งได รั บ ความเห็ น ชอบจากสํ า นั ก งาน คณะกรรมการกํากับ หลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกอนปฏิบัติห นาที่ในฐานะ กรรมการ และ/หรือมีคุณสมบัติตามขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต ผูที่ดํารงตําแหนงกรรมการในครั้งแรกจะไดรับทราบขอมูลของบริษัทฯ กฎระเบียบและคูมือกรรมการ ของบริษัทฯ
10.2
คณะกรรมการชุดยอย บริ ษั ท แม มีค ณะกรรมการทั้ง หมด 6 ชุ ด ประกอบไปด ว ย คณะกรรมการบริ ษั ท แม คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการลงทุน คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง และคณะกรรมการดาน การกํากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งไดเปดเผยรายชื่อของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอยแตละชุดไวแลวในหัวขอ โครงสราง การจัดการโดยขอบเขตหนาที่ของคณะกรรมการแตละชุดมีรายละเอียดดังตอไปนี้ 10.2.1 ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทแม 1. ดําเนินกิจการของบริษัท แม ใหเปน ไปตามกฎหมายวัตถุป ระสงคขอบังคับ ของบริษัท แม ตลอดจนมติของที่ ประชุมผูถือหุนดวยความซื่อสัตยสุจริต ระมัดระวัง รอบคอบ และโปรงใสดํารงไว เพื่อประโยชนสูงสุดตอผูถือ หุน 2. กําหนดทิศทางในการดําเนินธุรกิจและควบคุมติดตามการดําเนินงานของบริษัท แม และบริษัท ฯใหดําเนิน การ ถูกตองตามที่กฎหมายประกาศขอบังคับของหนวยงานทางการที่กํากับดูแลกําหนดตลอดจนการเปดเผยขอมูล อยางเพียงพอตอผูถือหุน หรือบุคคลที่มีสวนไดเสียทุกกลุม ดวยความโปรงใสเปน ไปตามหลักการกํากับ ดูแ ล กิจการที่ดี (Good Governance) 3. จัดใหมีหลักการกํากับดูแลกิจการของบริษัทแม เปน ลายลักษณอักษร ทบทวนหลักการ และประเมิน ผลการ ปฏิบัติตามหลักการดังกลาวอยางนอยปละครั้ง 4. พิจารณาอนุมัติรายการที่มีสาระสําคัญที่เกี่ยวกับการเขาทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน / การไดมาหรือจําหนายไปซึง่ ทรั พย สิน / การขายหรือ การตัด จํ าหน ายสิน ทรัพ ย ใดๆ ออกจากบัญชี ตลอดจนการเข าทํ า รายการใดๆ ซึ่ ง กฎหมายประกาศขอบังคับของหนวยงานทางการที่กํากับ ดูแลหรือระเบียบปฏิบัติของบริษัท แม ในเรื่องนั้น ๆ กําหนดไวใหตองไดรับการอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแม หรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทแม 5. คณะกรรมการอาจพิจารณาแตงตั้งกรรมการผูบ ริห ารจํานวนหนึ่งตามที่เห็น สมควรใหเปน คณะกรรมการชุด ยอย เพื่อชวยในการบริหารจัดการตลอดจนการควบคุม กํากับ ดูแลการดําเนิน การของบริษัท แม ใหเปน บรรลุ ตามวัตถุประสงคนโยบายเปาหมายและมีความสอดคลองตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีทกี่ ําหนด 6. พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ผนลงทุ น ของบริ ษั ท แม ตามที่ ฝ า ยจั ด การเสนอซึ่ ง ผ า นการพิ จ ารณาเห็ น ชอบโดย คณะกรรมการการลงทุนตามที่คณะกรรมการบริษัทแม ไดมีการแตงตั้ง 72
7. 8.
9.
10.
11. 12. 13.
14. 15. 16.
พิจารณาอนุมัติการลงทุนในการประกอบธุรกิจหรือการขยายธุรกิจตลอดจนการเขารวมทุนกับผูประกอบกิจการ อื่นๆ เพื่อการนํามาใหไดซึ่งผลประโยชนสูงสุดจากการดําเนินธุรกิจของบริษัทแม และบริษัทฯ สงเสริมใหมีการจัดทําจรรยาบรรณธุรกิจที่เปน ลายลักษณอักษรและจัดใหมีการสื่อสารจรรยาบรรณธุรกิจแก กรรมการผูบริหารพนักงานบริษัทแม และบริษัทฯอยางมีประสิทธิภาพสม่ําเสมอและโดยอยางตอเนือ่ งตลอดจน กําหนดนโยบายที่กอใหเกิดวัฒนธรรมองคกรเกี่ยวกับการผลักดันใหเกิดการตอตานการทุจริตคอรรัป ชั่น อยาง เปนรูปธรรมและติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวเปนประจํา จัดใหมีระบบการควบคุมและการตรวจสอบภายในที่ดี เพื่อการปกปองรักษาขอมูลสารสนเทศและทรัพยสนิ ของ บริษัทแม บริษัทฯ ลูกคาและผูถือหุนตลอดจนบุคคลที่มีสวนไดเสียและ เพื่อใหแนใจไดวาการบัน ทึกขอมูลทาง บัญชีการเงินเปนไปอยางถูกตองเพียงพอและ เพื่อใหเกิดความมั่นใจวารายการทางธุรกิจไดรับ การดําเนิน การ อยางถูกตองเหมาะสมซึ่งเปน ไปตามเปาหมายสามารถสรางผลตอบแทนใหแกบ ริษัท ไดโดยคณะกรรมการ บริ ษั ท แม จะประเมิ น ความเพี ย งพอและเหมาะสมของระบบการควบคุ ม ภายในเป น ประจํ า ทุก ป แ ละให ความเห็นไวในรายงานประจําป จัดใหมีระบบการบริหารความเสี่ยงในการดําเนินงานทุกดานของบริษัท แม และบริษัท ฯโดยการมอบหมายให คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงที่แตงตั้งเปนผูกําหนดนโยบายการบริห ารความเสี่ยงที่ครอบคลุม ทุกธุรกรรม และทบทวนประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดนั้นๆ รายงานใหคณะกรรมการ บริษัทแม ทราบอยางนอยปละครั้ง รับผิดชอบในขอมูลงบดุลและขอมูลทางการเงินที่ปรากฏอยูในรายงานประจําปของบริษัทแม แตงตั้งประธานเจาหนาที่บริหาร / กรรมการผูจัดการและกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติเปนไปขอบเขตอํานาจหนาที่ ตามที่คณะกรรมการกําหนดหรือมอบหมาย แตงตั้งและจัดใหมีเลขานุการบริษัทแม เพื่อใหการปฏิบัติของบริษัทแม ถูกตองเปนไปตามที่กฎหมายประกาศ ขอบังคับของหนวยงานทางการที่กําหนดตลอดจนการดูแลกิจกรรมของคณะกรรมการและการประสานงานให มีการปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริษัทแม ไดอยางเหมาะสมรวมถึงการดูแลและสนับ สนุน ใหบ ริษัท แม ดําเนินการตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีการรักษาเอกสารขอมูลตลอดจนการติดตอสื่อสารกับ ผูถือหุน และ หนวยงานทางการที่กํากับดูแลที่เกี่ยวของ ดูแลใหบริษัทแม มีระบบที่เหมาะสมในการสื่อสารอยางมีป ระสิท ธิภาพตอผูถือหุน ผูลงทุน และผูมีสวนไดเสีย ของบริษัทแม ตลอดจนสาธารณชน ประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทแม เปน ประจําทุกป เพื่อการพิจารณารวมกัน ถึงผลการ ปฏิบัติงานและปญหา เพื่อการปรับปรุงแกไขอันนํามาซึ่งการปฏิบัติหนาที่ไดอยางมีประสิทธิผล กํากับ ดูแลบริษัท ฯเสมือนหนวยงานหนึ่งของบริษัท แม และควบคุม ดูแลบริษัท ฯใหป ฏิบัติตามขอบังคับ ของ บริษัทแม อยางเครงครัด
73
10.2.2 ขอบเขตอํานาจหนาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบ ริษัท แม และบริษัท ฯมีรายงานทางการเงิน อยางถูกตองและเปดเผยอยางเพียงพอโดยรวมกับ ผูสอบบัญชีของบริษัทแม และผูบริหารของบริษัทแม ที่รับผิดชอบจัดทํารายงานทางการเงิน 2. สอบทานการปฏิบัติงานของบริษัทแม ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยขอ กําหนด ของตลาดหลักทรัพยหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจของบริษัทแม 3. สอบทานให บ ริ ษั ท แม และบริ ษั ท ฯมี ร ะบบการควบคุ ม ภายในและระบบการติ ด ตามตรวจสอบภายในที่ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพตลอดจนการพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายในและกํากับ ดูแลการปฏิบัติงานและการใหความเห็น ชอบในการพิจารณาแตงตั้งโยกยายการเลิกจางและการประเมิน ผล การปฏิบัติงานผูบริหารสูงสุดของหนวยงานตรวจสอบภายในและการกํากับดูแลตามที่ฝายบริหารเสนอ 4. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแตงตั้งผูสอบบัญชีของบริษัทแม ตลอดจนคาตอบแทนของผูสอบบัญชี 5. พิจ ารณารายการเกี่ ย วโยงกัน หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทางผลประโยชน ใ ห เป น ไปตามกฎหมาย ขอกําหนดของหนวยงานทางการที่กํากับดูแลกําหนด เพื่อใหมั่นใจไดวามีความถูกตองสมเหตุสมผลและ เพื่อ ประโยชนสูงสุดตอบริษัทแม 6. จัดทํารายงานคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท แม ซึ่งรายงานดังกลาวลง นามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ รายงานดังกลาวอยางนอยใหมีขอมูลดังนี้ 6.1 ความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการจัดทําและการเปดเผยขอมูลรายงานทางการเงินของบริษัทแม ในความถูก ตองครบถวนเปนที่เชื่อถือได 6.2 ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทแม 6.3 ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี 6.4 ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจของบริษัทแม 6.5 ความเห็นเกี่ยวกับรายการเกี่ยวโยงหรือที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน 6.6 ความเห็นหรือขอสังเกตอื่นใดที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบภายใตขอบเขตหนาที่และความ รับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทแม 7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทแม มอบหมายและคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นชอบ 10.2.3 ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคาตอบแทน 1. สรรหาและพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเสนอชื่อเปน กรรมการบริษัท แม กรรมการชุดยอย และประธานเจาหนาที่บริหาร / กรรมการผูจัดการเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท แม โดยใชขอกําหนด คุณสมบัติของกรรมการที่ไดรับอนุมัติโดยคณะกรรมการบริษัทแม และกฎเกณฑของหนวยงานทางการที่กํากับ ดูแลกําหนดที่เกี่ยวของเปนเกณฑในการพิจารณาและเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทแม หรือที่ประชุม ผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ (ตามแตละกรณีที่กําหนดไว) 74
2. เสนอชื่อบุคคล เพื่อทําหนาที่เปนกรรมการอิสระโดยมีการประเมิน ความเปน อิสระตลอดจนคุณสมบัติตามที่ หนวยงานทางการที่กํากับดูแลกําหนดของบุคคลดังกลาว เพื่อเสนอตอคณะกรรมการบริษัทแม 3. พิจารณาเสนอแนะเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงจํานวนกรรมการบริษัท แม ตอคณะกรรมการบริษัท แม ในกรณี เห็นวามีเหตุจําเปนและ/หรือโดยความเหมาะสม 4. สอบทานแผนและนโยบายคาตอบแทนของบริษัท แม และบริษัท ฯ เพื่อใหสอดคลองตามเปาหมายประจําป หรือเปาหมายระยะยาวของบริษัทแม และบริษัทฯโดยใหมีความสอดคลองกับผลประโยชนของผูถือหุน 5. จัดทําหลักเกณฑและนโยบายในการกําหนดคาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท แม คณะกรรมการชุดยอย และประธานเจาหนาที่บ ริห าร / กรรมการผูจัดการเสนอตอที่ป ระชุม คณะกรรมการบริษัท แม เพื่อพิจารณา อนุมัติหรือการใหความเห็นชอบ เพื่อเสนอตอที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ (ตามแตละกรณีที่กําหนดไว) 6. พิจารณากําหนดคาตอบแทนสําหรับกรรมการบริษัทแม กรรมการชุดยอยประธานเจาหนาที่บริหาร / กรรมการ ผูจัดการโดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับ ภาระหนาที่ความรับ ผิดชอบ เพื่อการดึงดูดรักษาและ/ หรือจูงใจ บุคคลที่มีคุ ณภาพเสนอตอ ที่ป ระชุม คณะกรรมการบริษัท แม พิจารณาใหความเห็น ชอบและนํา เสนอตอ ที่ ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ 7. สอบทานผลตอบแทนสําหรับ พนักงานบริษัท แม และบริษัท ฯและนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท แม เพื่อ อนุมัติกอนการจัดสรรเปนคาตอบแทนรายปใหแกพนักงาน 8. พิจารณาสอบทานสัญญาคาตอบแทนหรือผลประโยชนพิเศษสําหรับผูบ ริห ารและพนักงานในตําแหนงสําคัญ (ถามี) รวมถึงขอตกลงในการวาจางคาชดเชยตอผูมีอํานาจในการจัดการ เพื่อเสนอตอผูบริหาร 10.2.4
ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี 1. กําหนดขอบเขตนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษทั แม และบริษทั ฯเสนอตอคณะกรรมการบริษทั แม ตลอดจนการเสนอแนะแนวปฏิบัติ ขอแนะนํา ในเรื่ องของการกํากั บ กิจการที่ดี ตามหลักบรรษัท ภิบ าลใหแ ก คณะกรรมการบริษัทแม 2. ติดตามดูแลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทแม และฝายบริหารใหเปน ไปตามนโยบายการกํากับ ดูแล กิจการที่ดีของบริษัทแม และหนวยงานทางการทีก่ ํากับดูแลกําหนด 3. พิจารณาทบทวนแนวปฏิบั ติด านการกํา กับ ดูแ ลกิจ การที่ ดีของบริษั ท แม และบริ ษัท ฯให มีค วามเป น สากล ทันสมัยอยางตอเนื่องเสนอตอคณะกรรมการบริษัทแม เพื่อการพิจารณาปรับปรุง 4. พิจารณาทบทวนความเปนอิสระของคณะกรรมการบริษัทแม รวมทั้งการมีผลประโยชนขัดแยงที่อาจเกิดขึ้น ใน การปฏิบัติหนาที่ 5. เสนอแนะแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทแม คณะกรรมการชุดยอยรวมถึงการ ติดตามและสรุปผลการประเมินใหคณะกรรมการบริษัทแม ทราบ เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาปรับปรุง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 6. พิจารณาทบทวนแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท แม และคณะกรรมการชุด ยอยตางๆ เปนประจําทุกป 75
10.2.5 ขอบเขตอํานาจหนาที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 1. ชว ยเหลือ คณะกรรมการบริ ษั ท แม ในการบริ ห ารจั ดการความเสี่ ยงโดยดํา เนิ น การให มีก ลยุ ท ธน โยบาย มาตรฐานและรวมถึงมาตรการในการควบคุมความเสี่ยงในดานตางๆ ของบริษัท แม และบริษัท ฯ เพื่อใหการ บริหารงานของบริษัทแม เกิดประสิทธิภาพสูงสุดภายใตความเสี่ยงที่ควบคุมไดอยางมีระบบ 2. พิจารณากําหนดแนวทางการควบคุมความเสี่ยงและขั้นตอนวิธีปฏิบัติของหนวยงานตางๆ ของบริษัท แม และ บริษัทฯ เพื่อใชเปนแนวทางในการบริหารความเสี่ยงของหนวยงานนั้นๆ และรวมถึงการติดตามและควบคุมการ บริหารความเสี่ยงใหอยูภายใตขอบเขตที่บริษัทแม กําหนดตลอดจนสอดคลองตามหลักการบริห ารความเสี่ยง ตามแนวทางที่หนวยงานทางการที่กํากับดูแลกําหนด 3. สอบทานใหบริษัทแม และบริษัทฯมีนโยบายและกระบวนการขั้นตอนที่เพียงพอในการประเมินความเสี่ยงและ การบริหารจัดการความเสี่ยงทั้งปจจัยที่เกิดจากภายนอกและภายในที่เกี่ยวของกับ ความเสี่ยงนั้น ๆ ตลอดจน วิเคราะหผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัทแม เพื่อนําไปสูการจัดการความเสี่ยงใหมีประสิทธิภาพ 4. ควบคุมดูแลประเมินประสิทธิภาพในการบริหารจัดการความเสี่ยงของฝายงานตางๆ และสอบทานใหบริษัท แม และบริษัทฯมีโครงสรางพื้นฐานทรัพยากรและระบบงานที่เพียงพอในการชวยใหการบริห ารจัดการความเสี่ยง อยูในระดับที่รับได 5. ทบทวนระบบการบริหารความเสี่ยงขององคกรเปนครั้งคราวโดยครอบคลุม ธุรกรรมตางๆ ของบริษัท แม และ บริษัทฯตลอดจนการมอบหมายใหบุคคลใดหรือคณะกรรมการชุดยอยเปนผูดูแลและบริห ารจัดการความเสี่ยง โดยรวมของบริษัทแม และบริษัทฯตามความเหมาะสมและรายงานใหคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงทราบ 6. จัดทํารายงานประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงรวมทั้งกําหนดเปาหมาย ในการดําเนินการสําหรับปตอไปเสนอตอคณะกรรมการบริษัทแม เพื่อทราบ 7. ปฏิบัติหนาที่หรืองานอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทแม มอบหมายและคณะกรรมการบริห ารความเสี่ยงมี ความเห็นชอบ 10.2.6
ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการลงทุน 1. พิจารณากําหนดนโยบายการหลักเกณฑแผนการลงทุน ของบริษัท แม และบริษัท ฯโดยสอดคลองเปน ไปตาม นโยบายที่คณะกรรมการบริษัท แม กําหนดซึ่งพิจารณาธุรกิจหรือกิจการที่เห็น ควรเขารวมลงทุน ตามกรอบ นโยบายของบริษัทแม อนุมัติ 2. กําหนดและทบทวนนโยบายการลงทุนของบริษัทแม และบริษัทฯใหมีความเหมาะสมสอดคลองกับสภาวการณ ลงทุน เพื่อกอประโยชนสูงสุดตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทแม เสนอตอคณะกรรมการบริษัท 3. พิจารณาทบทวนนโยบายและมาตรการบริหารความเสี่ยงใหเหมาะสมสําหรับการลงทุน ของบริษัท แม ภายใต นโยบายของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง 4. กํากั บ ดู แลเป าหมายกลยุ ท ธ และนโยบายหลัก ในการลงทุ น ของบริ ษัท แม ให เป น ไปตามกรอบนโยบายที่ คณะกรรมการบริษัทแม กําหนด 76
5. พิจารณาใหความเห็น ชอบแผนการลงทุน ประจําปที่ฝายจัดการหรือฝายการลงทุน ของบริษัท แม เพื่อเสนอ คณะกรรมการบริษัทแม พิจารณาอนุมัติ 6. พิจารณาศึกษาขอมูลของธุรกิจหรือกิจการที่ควรเขาไปลงทุนตามกรอบนโยบายของบริษัทแม เพื่อใหไดม าซึ่ง ผลประโยชนสูงสุดในการลงทุนนั้นๆ ของบริษัทแม และเสนอคณะกรรมการบริษัทแม พิจารณาอนุมัติ 7. มีอํานาจในการพิจารณาเชิญหรือวาจางบุคคลภายนอกที่มีความรูความเชี่ยวชาญเปนที่ป รึกษาในการเขารวม ลงทุนดวยคาใชจายของบริษัทแม 8. พิจารณาใหความเห็นเสนอตัวแทนของบริษัทแม ในการเขาเปนกรรมการหรือผูบริหารของบริษทั แม ทีจ่ ะเขาไป รวมลงทุนตอคณะกรรมการบริษัทแม เพื่อการพิจารณาอนุมัติใหความเห็นชอบ 9. กํากับดูแลและควบคุมการบริหารการลงทุนใหเปนไปตามกรอบนโยบายการลงทุนที่กําหนดและรายงานผลการ ลงทุนใหคณะกรรมการบริษัทแม ทราบ 10. พิจารณาการเพิ่มเงินลงทุนหรือลดเงินลงทุนหรือการยกเลิกการลงทุนของบริษัทแม ที่ไดเขารวมลงทุน เสนอตอ คณะกรรมการบริษัทแม เพื่อการพิจารณาอนุมัติ 11. ปฏิบัติหนาที่หรือดําเนินการใดๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 10.3
การสรรหาและแตงตั้งกรรมการและผูบริหาร 10.3.1 การสรรหากรรมการบริษัทแม ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทแม ครั้งที่ 2/2557 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2557 ไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการ สรรหาและพิจารณาคาตอบแทน เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของโครงสรางและองคป ระกอบของคณะกรรมการ บริษัทแม และกําหนดคุณสมบัติที่เหมาะสมของกรรมการและผูบ ริห ารระดับ สูงและหลักเกณฑในการสรรหา เพื่อ ดํารงตําแหนงกรรมการและผูบริหารระดับสูงรวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการที่ครบกําหนดวาระและ ผูบริหารระดับสูง อยางไรก็ตามในการเลือกตั้งกรรมการในป 2557 นั้น บริษทั แม ไดปฏิบัติตามขอบังคับ ของบริษัท แม ซึ่งได กําหนดใหผูถือหุนคนหนึ่งมีคะแนนเสียงหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติบ ริษัท มหาชน จํากัดพ.ศ. 2535 โดยในขอบังคับของบริษัทแม หมวดที่ 5 คณะกรรมการ ขอ 17 ถึงขอ 38 ไดกําหนดเรื่องเกี่ยวกับ การเลือกตั้งกรรมการของบริษัทแม ซึ่งสามารถสรุปสวนที่เปนสาระสําคัญไดดังนี้ 1. กําหนดใหกรรมการบริษัทแม มีไมนอยกวา 5 คน แตไมเกิน 15 คน โดยกรรมการไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวน กรรมการทั้งหมดจะตองมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย กรรมการของบริษัทแม จะเปนผูถ อื หุน ของบริษทั แมหรือไมกไ็ ด 2. ผูที่จะเปนกรรมการของบริษัทแม ไดตองประกอบดวยคุณสมบัติดังนี้ 2.1 ตองเปนบุคคลธรรมดาและบรรลุนิติภาวะ 2.2 ไมเปนบุคคลลมละลายคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถ 2.3 ไมเคยรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพยที่ไดกระทําโดยทุจริต 2.4 ไมเคยถูกลงโทษไลออกหรือปลดออกจากราชการ หรือ องคการ หรือ หนวยงานของรัฐ ฐานทุจริตตอหนาที่ 77
3. กรรมการคนใดเมื่อไดรับเลือกตั้งแลวปรากฏวาขาดคุณสมบัติดังกลาวมาในขอ 2 หรือที่ประชุม ผูถือหุน ลงมติให ถอดถอนเสียจากกรรมการตามข อ 6.4 ยอมพน จากตํ าแหนงกรรมการทั น ทีก รรมการคนใดจะลาออกจาก ตําแหนงใหยื่นใบลาออกตอบริษัทแม การลาออกมีผลนับแตวันที่ใบลาออกไปถึงบริษัท แม กรรมการซึ่งลาออก ดังกลาวนั้นจะแจงการลาออกของตนใหนายทะเบียนทราบดวยก็ได 4. ใหที่ประชุมผูถือหุนเลือกตั้งกรรมการบริษัทแม ตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 4.1 ผูถือหุนหนึ่งคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 4.2 ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดตาม 4.1 เลือกตั้งบุคคลเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก ได ในกรณีที่เลือกตั้งบุคคลหลายคนเปนกรรมการ จะแบงคะแนนเสียงใหแกผูใดมากนอยเพียงใดไมได 4.3 บุคคลที่ไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวนกรรมการที่จะ พึงมี ห รือ จะพึ งเลื อกตั้งในครั้ งนั้น ในกรณีที่บุ คคลซึ่งไดรับ การเลื อกตั้ งในลําดั บ ถั ดลงมามี คะแนนเสีย ง เทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหประธานที่ประชุมเปนผูออกเสียงชี้ขาด 5. ในการประชุม ผูถื อหุ น สามัญประจํ าป ทุก ครั้ ง ให กรรมการออกจากตํา แหนง จํา นวนหนึ่ งในสามของจํ านวน กรรมการในขณะนั้นถาจํานวนกรรมการจะแบงออกใหตรงเปน สามสวนไมไดก็ใหออกโดยจํานวนใกลที่สุดกับ สวนหนึ่งในสามกรรมการซึ่งพนจากตําแหนงอาจไดรับ เลือกใหกลับ เขามารับ ตําแหนงอีกไดกรรมการที่จะตอง ออกจากตําแหนงในปแรกและปที่สองภายหลังจดทะเบียนบริษัท แม นั้น ใหจับ สลากกัน สวนปห ลังๆ ตอไปให กรรมการคนที่อยูในตําแหนงนานที่สุดนั้นเปนผูออกจากตําแหนง 6. นอกจากกรรมการจะพนตําแหนงตามวาระแลวกรรมการจะพนตําแหนงเมื่อ 6.1 เสียชีวิต 6.2 ลาออก 6.3 ขาดคุ ณสมบัติ ห รื อ มี ลักษณะต อ งหา มตามกฎหมายว า ดว ยบริ ษั ท มหาชนจํ า กัด และกฎหมายว า ด ว ย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 6.4 ที่ประชุมผูถือหุนลงมติใหออกตามขอ 8 6.5 ศาลมีคําสั่งใหออก 7. กรรมการคนใดจะลาออกจากตําแหนงใหยื่นใบลาออกตอบริษัทแม โดยการลาออกนั้นจะมีผลนับ แตวัน ที่ใบลา ออกไปถึงบริษัทแม กรรมการซึ่งลาออกตามความในวรรคแรกอาจแจงการลาออกของตนใหนายทะเบียนทราบ ดวยก็ได 8. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระไดดวยคะแนนเสียงไม นอยกวาสามในสี่ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียงและมีหุนนับรวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่ง ของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 9. ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระใหคณะกรรมการเลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามกฎหมายวาดวยบริษัท มหาชนจํากัดและกฎหมายวาดวยหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยเขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไปเวน แตวาระของกรรมการผู นั้นจะเหลือนอยกวาสองเดือนโดยบุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงเทา 78
10.
11.
12.
13.
14.
15.
วาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนเขามาแทนมติของคณะกรรมการตามความในวรรคแรกจะตองประกอบดวย คะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการที่ยังเหลืออยู กรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงจนเหลือนอยกวาจํานวนที่จะเปนองคประชุมใหกรรมการที่เหลืออยูกระทําการใน นามของคณะกรรมการไดแตเฉพาะการจัดใหมีการประชุม ผูถือหุน เพื่อเลือกตั้งกรรมการแทนตําแหนงที่วาง ทั้งหมดเทานั้นการประชุมตามวรรคแรกใหกระทําภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่จํานวนกรรมการวางลงเหลือนอย กวาจํานวนที่จะเปนองคประชุมและบุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนตามวรรคหนึ่งจะอยูในตําแหนงไดเพียงเทา วาระที่เหลืออยูของกรรมการซึ่งตนแทน ในกรณีที่ ก รรมการพ น จากตํ า แหน ง ทั้ง คณะให ค ณะกรรมการที่พ น จากตํ า แหน ง ยัง คงตอ งอยูรั ก ษาการใน ตําแหนง เพื่อดําเนินกิจการของบริษัทแม ตอไปเพียงเทาที่จําเปนจนกวาคณะกรรมการชุดใหมเขารับหนาที่เวน แตศาลจะมีคําสั่งเปน อยางอื่น ในกรณีที่คณะกรรมการพน จากตําแหนงตามขอ 6.5 คณะกรรมการที่พน จาก ตําแหนงตองจัดใหมีการประชุมผูถือหุน เพื่อเลือกตั้งคณะกรรมการชุดใหมภายในหนึ่งเดือนนับ แตวัน พน จาก ตําแหนงโดยสงหนังสือนัดประชุมใหผูถือหุนทราบไมนอยกวาสิบสี่วันกอนวันประชุม กรรมการมีสิทธิไดรับเงินบําเหน็จกรรมการในวงเงินไมเกินรอยละสิบของกําไรสุทธิของบริษัท แม ทั้งนี้ ใหอยูใน ดุลพินิจของคณะกรรมการและใหคณะกรรมการมีสิท ธิ ไดรับ เงิน คาจางเบี้ย ประชุม คา พาหนะสวั สดิการและ คาตอบแทนอื่นตลอดจนมีสทิ ธิเบิกเงินคารับรองและคาใชจายใดๆ อันเกี่ยวเนื่องกับการทํางานตามระเบียบของ บริษัทแม ดวยขอความในวรรคหนึ่งจะไมกระทบกระเทือนสิทธิของกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งมาจากพนักงาน หรือลูกจางของบริษัทแม ในอันที่จะไดรับคาตอบแทนและผลประโยชนในฐานะที่เปน พนักงานหรือลูกจางของ บริษัทแม ใหคณะกรรมการเลือกกรรมการหนึ่งคนเปนประธานกรรมการ ในกรณีที่คณะกรรมการพิจารณาเห็น สมควรจะ เลือกกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนเปนรองประธานกรรมการก็ได รองประธานกรรมการมีห นาที่ตามขอบังคับ ในกิจการซึ่งประธานกรรมการมอบหมาย ในการประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะครบ องคประชุมและใหประธานกรรมการทําหนาที่เปนประธานในที่ประชุมคณะกรรมการในกรณีทปี่ ระธานกรรมการ ไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ได ในกรณีที่มีรองประธานกรรมการอยูใหรองประธานกรรมการ เปนประธานที่ป ระชุม แตถาไมมีรองประธานกรรมการ หรือมีแตไมอยูในที่ป ระชุม นั้น หรือไมสามารถปฏิบัติ หนาที่ไดใหกรรมการซึ่งมาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปน ประธานที่ป ระชุม การวินิจฉัยชี้ขาดของที่ป ระชุม คณะกรรมการใหถือเสียงขางมากกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งเสียงในการลงคะแนนเวนแตกรรมการซึ่งมีสวนได เสียในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในเรื่องนั้น และถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในทีป่ ระชุม ออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่ง เพื่อเปนเสียงชี้ขาด ในการเรี ยกประชุม คณะกรรมการใหป ระธานกรรมการ หรือผูซึ่งได รับ มอบหมายสงหนั งสือนัดประชุม ไปยั ง กรรมการไมนอยกวาเจ็ดวันกอนวันประชุม เวนแตในกรณีจําเปนรีบดวน เพื่อรักษาสิทธิและประโยชนของบริษัท แม จะแจงการนัดประชุมโดยวิธีอื่นและกําหนดวันประชุมใหเร็วกวานั้นก็ได 79
16. ในการดําเนินกิจการบริษัทแม กรรมการตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมายวัตถุประสงคและขอบังคับของ บริษัทตลอดจนมติของที่ประชุมผูถือหุนดวยความซื่อสัตยสุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทแม 17. หามมิใหกรรมการประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันกับกิจการของบริษัทแม หรือเขา เปนหุนสวนในหางหุนสวนสามัญหรือเปนหุนสวนไมจํากัดความรับ ผิดในหางหุน สวนจํากัด หรือเปน กรรมการ ของบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัดอื่นใดที่ประกอบกิจการอันมีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันกับ กิจการของบริษัทแม ไมวาเขาทํา เพื่อประโยชนตนเองหรือประโยชนผูอื่น เวน แตจะไดแจงใหที่ป ระชุม ผูถือหุน ทราบกอนที่จะมีมติแตงตั้งกรรมการผูนั้น 18. กรรมการตองแจงใหบริษัทแม ทราบโดยไมชักชาในกรณีที่กรรมการมีสวนไดเสียไมวาโดยตรงหรือโดยออมใน สัญญาใดทีบ่ ริษัทแม ทําขึ้นหรือในกรณีที่จํานวนหุนหรือหุนกูของบริษทั แม หรือบริษัทในเครือทีก่ รรมการถืออยู มีจํานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง 19. คณะกรรมการจะตองประชุมกันอยางนอยสามเดือนตอครั้ง ณ จังหวัด อันเปนที่ตั้งสํานักงานใหญของบริษัท แม หรือจังหวัดใกลเคียงหรือ ณ สถานที่อื่นใดโดยการกําหนดวันเวลาและสถานที่เปนไปตามดุลยพินิจของประธาน กรรมการกรรมการตั้งแตสองคนขึ้นไปอาจรองขอใหประธานกรรมการเรียกประชุม คณะกรรมการ ในกรณีนี้ให ประธานกรรมการ หรือกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากประธานกรรมการกําหนดวันประชุมภายในสิบสีว่ นั นับแต วันที่ไดรับการรองขอ 20. ในการลงชื่อผูกพันบริษัทแม ใหประธานกรรมการ หรือประธานกรรมการบริหารคนใดคนหนึ่งลงลายมือชื่อและ ประทับตราสําคัญของบริษัทแม หรือกรรมการอื่นสองคนลงลายมือชื่อรวมกันและประทับ ตราสําคัญของบริษัท แมคณะกรรมการมีอํานาจพิจารณากําหนดและแกไขเปลี่ยนแปลงชื่อกรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษทั แม ได 21. กรรมการคนใดซื้อทรัพยสินของบริษัทแม หรือขายทรัพยสินใหแกบริษัทแม หรือกระทําธุรกิจอยางใดอยางหนึ่ง กับบริษัทแม ไมวากระทําในนามของตนหรือของบุคคลอื่นถามิไดรับความยินยอมจากคณะกรรมการแลวการซือ้ ขายหรือกระทําธุรกิจนั้นไมมีผลผูกพันบริษัทแม 22. ใหกรรมการแจงใหบ ริษัท แม ทราบโดยมิชักชาเมื่อถือหุน หรือหุน กูในบริษัท แม หรือบริษัท ในเครือโดยระบุ จํานวนทั้งหมดที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงในระหวางรอบปบัญชี 10.3.2 การสรรหากรรมการอิสระ สําหรับการแตงตั้งกรรมการอิสระนั้นคณะกรรมการบริษัท แม ไดพิจารณาแตงตั้งตามคุณสมบัติซึ่งเปน ไป ตามข อกํา หนดขั้น ต่ํ าตามประกาศคณะกรรมการกํา กับ ตลาดทุ น และมีห นาที่ ในลั กษณะเดีย วกับ ที่กํา หนดไวใ น ประกาศตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยวาดวยคุณสมบัติและขอบเขตการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ ดังนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทแม บริษัทใหญบริษัทฯบริษัทรวมผูถอื หุนรายใหญหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทแม ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของกับกรรมการอิสระ รายนั้นๆ ดวย 80
2. ไมเปนหรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงานลูกจางพนักงานที่ปรึกษาที่ไดเงินเดือนประจําหรือผูมีอาํ นาจ ควบคุมของบริษัทแม เวนแตจะไดพน จากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ปกอนไดรับ การแตงตั้ง ทั้งนี้ ลักษณะตองหามดังกลาวไมรวมถึงกรณีที่กรรมการอิสระที่เคยเปนขาราชการหรือที่ปรึกษาของสวนราชการ ซึ่งเปนผูถือหุนรายใหญหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทแม 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิตหรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปนบิดามารดาคู สมรสพี่นองและบุตรรวมทั้งคูสมรสของบุตรของผูบริหารผูถือหุนรายใหญผูมีอํานาจควบคุมหรือบุคคลที่จะไดรับ การเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทแม หรือบริษัทฯ 4. ไมเคยหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทแม บริษัทใหญ บริษัทฯ บริษัท รวม ผูถือหุน รายใหญห รือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัทแม ในลักษณะที่อาจเปน การขัดขวางการใชวิจารญาณอยางอิสระของตนรวมทั้งไม เปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัยหรือผูมีอํานาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับ บริษัท แม บริษัท ใหญ บริษัท ฯ บริษัท รวม ผูถือหุน รายใหญห รือผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัท แม เวน แตจะไดพน จากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง 5. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทแม บริษัทใหญ บริษัท ฯ บริษัท รวม ผูถือหุน รายใหญห รือผูมีอํานาจ ควบคุมของผูขออนุญาตและไมเปน ผูถือหุน ที่มีนัยผูมีอํานาจควบคุม หรือหุน สวนของสํานักงานสอบบัญชีซึ่ง ผูสอบบัญชีของบริษัทแม บริษัทใหญ บริษัทฯ บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญหรือผูมีอํานาจควบคุม ของบริษัท แม สังกัดอยูเวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ปกอนไดรับการแตงตั้ง 6. ไมเป น หรือ เคยเปน ผู ใหบ ริการทางวิชาชี พใดๆ ซึ่ง รวมถึงการให บ ริการเป น ที่ป รึ กษากฎหมายหรือที่ป รึกษา ทางการเงินซึ่งไดรับคาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัทแม บริษัทใหญ บริษัทฯ บริษัทรวม ผูถ อื หุน ราย ใหญ ห รื อ ผู มีอํ า นาจควบคุ ม ของบริ ษั ท แม และไม เ ป น ผู ถื อหุ น ที่ มีนั ย ผู มีอํ า นาจควบคุ ม หรื อ หุน ส ว นของผู ใหบริการทางวิชาชีพนั้น ดวยเวน แตจะไดพน จากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ปกอนไดรับ การ แตงตั้ง 7. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้น เพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทแม ผูถือหุนรายใหญหรือผูถือหุน ซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ 8. ไมประกอบกิจการที่มีสภาพเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทแม หรือบริษัทฯ หรือไมเปน หุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงานลูกจางพนักงานที่ป รึกษาที่รับ เงิน เดือน ประจําหรือถือหุน เกิน รอยละ 1 ของจํานวนหุน ที่มีสิท ธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท อื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มี สภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทแม หรือบริษัทฯ 9. ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทแม
81
10.4 การกํากับดูแลการดําเนินงาน ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ 1. กําหนดนโยบาย เปาหมาย และวัตถุประสงคในการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติบริษัท มหาชนจํากัด กฎและระเบียบของสํานักงาน ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพยฯ หนวยงานกํากับ ดูแลภายนอก มติที่ ประชุมใหญผูถือหุน รวมถึงขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต 2. พิจารณาอนุมัติแผนการดําเนินงานและงบประมาณประจําป 3. แตงตั้งคณะกรรมการบริหาร เพื่อดําเนินการบริหารงานบริษัทฯ 4. กําหนดรายชื่อกรรมการผูมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ 5. แตงตั้งบุคคลแทนกรรมการที่ออกกอนวาระ 6. พิจารณาแตงตั้ง ถอดถอน ใหออก ประธานกรรมการบริห าร และกรรมการผูจัดการใหญ รวมทั้งอนุมัติอัตรา เงินเดือน คาตอบแทนหรือผลประโยชนอนื่ ๆ แกบุคคลดังกลาว 7. พิจารณาอนุมัติงบเงินเดือน โบนัส และผลประโยชนอื่นของพนักงานบริษัทฯ 8. พิจารณาอนุมัติรายการที่เกี่ยวกับการเงินและทรัพยสินของบริษัทฯ 9. ดําเนินการอื่นใด เพื่อใหบรรลุนโยบาย เปาหมาย และวัตถุประสงคของบริษัทฯ 10. จัดประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ 1. สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินที่ถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและมีป ระสิท ธิผล และพิจารณาความเป น อิสระของสายตรวจสอบและกํา กับ ดู แล ตลอดจนให ความเห็ น ชอบในการพิจารณา แตง ตั้ง โยกย าย เลิ กจ าง ผูอํ านวยการฝา ยตรวจสอบภายใน หรื อหน วยงานอื่น ใดที่รั บ ผิด ชอบเกี่ยวกับ การ ตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ และขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระ เพื่อทําหนาที่เปน ผูสอบบัญชีของบริษัท ฯ และเสนอ คาตอบแทนผูสอบบัญชีของบริษัท ฯ รวมทั้งเขารวมประชุม กับ ผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุม ดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปน ไปตามกฎหมายและ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยฯ รวมถึงขอบังคับของบริษัทฯ ที่จะแกไขในอนาคต ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการ ดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชนสูงสุดตอบริษัทฯ 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัท ฯ ซึ่งรายงานดังกลาว ตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบ และตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ 6.1. ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัทฯ 82
6.2. ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ 6.3. ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ข อ กํ า หนดของ หลักทรัพยหรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 6.4. ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี 6.5. ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน 6.6. จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละทาน 6.7. ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร (Charter) 6.8. รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับ ผิดชอบที่ไดรับ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ 7. ปฏิบั ติก ารอื่น ใดตามที่ค ณะกรรมการบริษั ท ของบริ ษัท ฯ มอบหมายด วยความเห็น ชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ 8. ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีขอสงสัยวามีรายการหรือการกระทําดังตอไปนีซ้ งึ่ อาจมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหคณะกรรมการตรวจสอบ รายงานต อ คณะกรรมการบริ ษัท ของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ ดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก ไขภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควร 8.1. รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน 8.2. การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพรองที่สําคัญในระบบควบคุมภายใน 8.3. การฝาฝนกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่ เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ หากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ หรือผูบ ริห ารไมดําเนิน การใหมีการปรับ ปรุงแกไขภายในเวลาตามวรรคหนึ่ง กรรมการตรวจสอบรายใดรายหนึ่ ง อาจรายงานว า มี ร ายการหรื อ การกระทํ า ตามวรรคหนึ่ ง ต อ คณะกรรมการบริ ษั ท แม สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย หรือตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ 1. บริหาร ดูแล และติดตามผลการบริหารและการจัดการบริษัทฯ ใหเปน ไปตามนโยบาย เปาหมาย วัตถุป ระสงค แผนการดําเนินงาน และงบประมาณประจําป ซึ่งไดผานคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ อนุมัติแลว 2. พิจารณาอนุมัติแตงตั้ง ถอดถอน บุคคลหรือนิติบุคคล เปน ที่ป รึกษาของคณะกรรมการบริห าร เพื่อทําหนาที่ ใหบ ริการ ใหคําแนะนํา หรือใหคําปรึกษาหารือที่เปน ประโยชนแกการดําเนิน งานของบริษัท ฯ รวมทั้งอนุมั ติ คาตอบแทนแกบุคคลดังกลาว 3. พิจารณาอนุมัติบรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน และโยกยายพนักงานระดับตั้งแตกรรมการผูจัดการขึ้น ไป รวมถึงอนุมัติ อัตราเงินเดือน คาตอบแทน หรือผลประโยชนอื่นๆ แกบุคคลดังกลาว 4. พิจารณาดําเนินการเรื่องที่คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ มอบหมาย 83
5. จัดประชุมคณะกรรมการบริหาร โดยการวินิจฉัยชี้ขาดของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการบริห ารคนหนึ่ง มีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน เวนแตกรรมการบริหารซึ่งมีสวนไดเสียในเรื่องใดไมมีสิท ธิออกเสียงในเรื่องนั้น ถา คะแนนเสียงเทากันใหประธานกรรมการบริหารออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด อนึ่ง เพื่อประโยชนของบริษัทฯ ในกรณีจําเปนและเรงดวน ใหประธานกรรมการบริหารมีอํานาจพิจารณา ดําเนินการ หรืออนุมัติแทนคณะกรรมการบริหารในเรื่องตางๆ ที่อยูในอํานาจของคณะกรรมการบริห ารที่ระบุไวขางตน หรือในกรณีมิได ระบุไว ใหดําเนินการไดตามดุลพินิจที่เห็นวาเหมาะสม แลวรายงานใหคณะกรรมการบริหารทราบ ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการลงทุนของบริษัทฯ ศึกษาและพิจารณาการลงทุนในหลักทรัพย เพื่อบัญชีของบริษัทฯ ใหไดรับผลตอบแทนสูงสุด ตามแนวนโยบายและ กรอบที่คณะกรรมการของบริษัทฯ กําหนด ซึ่งคณะกรรมการการลงทุน มีความเปน อิสระ แยกจากฝายการตลาดและฝายงาน อื่นๆ รวมทั้งทําหนาที่กําหนดแนวทางหลักเกณฑและระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการลงทุนที่ชัดเจนซึ่งการลงทุนแตละประเภทจะมี การกําหนดวงเงินและแผนกลยุทธการลงทุนเปนประจําทุกป ขอบเขตอํานาจหนาที่ของประธานเจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการใหญของบริษัทฯ 1. มอบนโยบายจากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ และคณะกรรมการบริหาร และประสานงานกับผูบริห ารและ พนักงานในการดําเนิน กิจการและการบริห ารงานประจําวัน ของบริษัท ฯ ใหเปน ไปตามนโยบาย แผนการการ ดําเนินงาน กลยุทธ เพื่อใหบรรลุเปาหมายและในงบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษทั ของบริษทั ฯ 2. กําหนดระเบียบ ขอกําหนด ประกาศ และกํากับดูแลใหการปฏิบัติงานของสวนงานตางๆ เปนไปตามกฎ ระเบียบ หรือขอบังคับของบริษัทฯ และเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาด หลักทรัพยฯ หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ 3. มีอํานาจพิจารณาอนุมัติตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ และคณะกรรมการบริหาร 4. สงเสริม และพัฒนาความรู ความสามารถและศั กยภาพของผู บ ริห ารและพนัก งาน ประสานความสามัค คีใ น องคกร เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพขององคกร 5. แสวงหาโอกาสทางธุรกิจ ทั้งดานนายหนาคาหลักทรัพย วาณิชธนกิจ และกิจการที่เกี่ยวของกับ ธุรกิจหลักทรัพย รวมทั้งธุรกิจใหม เพื่อเปนการเพิ่มรายไดใหแกบริษัทฯ และพนักงาน 6. พิจารณาอนุมัติวงเงินดานธุรกิจหลักทรัพย เชน บัญชีเงินสด บัญชีเครดิตบาลานซ Short Sell การเปลี่ยนแปลง คําสั่งซื้อขายหลักทรัพย การอนุมัติแกไขรายการซื้อขายหลักทรัพยผิดพลาดเขาบัญชีบ ริษัท ฯ (Trading Error) เปนตน ในวงเงินตามที่กําหนดไว ทั้งนี้ ในการดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบที่คณะกรรมการบริหารกําหนด 7. รวมพิจารณาอนุมัติคาใชจายอันมีลักษณะเปน การลงทุน ซึ่งมิไดกําหนดไวในงบลงทุน หรือในแผนการดําเนิน ธุรกิจประจําปสําหรับรอบปทางการบัญชีใดๆ ซึ่งมีวงเงินไมเกิน 500,000 บาทตอธุรกรรม และรายงานคาใชจาย ใหคณะกรรมการบริหารทราบ 8. รวมพิจารณาอนุมัติคาใชจายในการดําเนินธุรกิจทั่วไปของบริษัทฯ ซึ่งมีวงเงินไมเกิน 200,000 บาทตอธุรกรรม 84
9. นําเสนอนโยบายการจายเงิน โบนัสและการตั้งสํารองเงิน โบนัส และรวมพิจารณาอนุมัติการจายเงิน โบนัสแก ผูบริหารและพนักงาน โดยพิจารณาตามผลประกอบการของบริษัท ฯ และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน เพื่อ นําเสนอตอคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนและนําเสนอคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ เพื่ออนุมัติ 10. รวมพิจารณาอนุมัติการจายผลตอบแทนใหแกเจาหนาที่การตลาด หัวหนาทีม การตลาด และผูจัดการสาขา ให เปนไปตามประกาศของตลาดหลักทรัพยฯ 11. มีหนาที่ในการรายงานตอคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ และคณะกรรมการบริหาร 12. รวมพิจารณาอนุมัติการจางงาน บรรจุ แตงตั้ง ถอดถอน โยกยาย ปรับตําแหนงพนักงานหรือลูกจางของบริษัท ฯ ระดับตําแหนงต่ํากวากรรมการผูจัดการ 13. รว มพิ จารณา เพิ่ ม ลด ตั ดเงิน เดื อนหรื อค าจ างของพนัก งานหรือ ลูก จา งของบริ ษัท ฯ ระดับ ตํา แหนง ต่ํา กว า กรรมการผูจัดการ 14. ลงโทษทางวินัยพนักงานหรือลูกจางตามขอบังคับการทํางานของบริษัทฯ 15. ปฏิบัติหนาที่อื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ และคณะกรรมการบริหาร การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการบริษัทแม กําหนดใหมีนโยบายการควบคุมและกํากับดูแลการดําเนินงานของกิจการ / ธุรกิจที่บ ริษัท แม เขาไปลงทุน เพื่อเปน ไปตามหลักเกณฑเกี่ยวกับ การกํากับ ดูแลการดําเนิน งานของบริษัท ฯและบริษัท รวมตามประกาศ คณะกรรมการกํากับตลาดทุน (ก.ล.ต.) ที่เกี่ยวของกําหนดตลอดจนแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยกําหนดเปนแนวทางปฏิบัติซึ่งนโยบายนีบ้ ริษัทแม ใหความสําคัญเปนอยางยิ่งวาเปนกลไกสําคัญที่จะนําไปสูการมี ระบบการบริหารจัดการที่ดีโปรงใสสามารถตรวจสอบไดและสามารถกําหนดทิศทางการบริหารงานทีบ่ ริษัท แม ที่เขาไปลงทุน นั้น ไดอยางมีป ระสิท ธิภาพเสมือนว าเปน ฝายงานหรื อหนวยงานหนึ่งในองคกรของบริษั ท แม อีกทั้งยังสามารถติดตามการ บริหาร / ดําเนินงานของกิจการที่เขาไปลงทุน เพื่อการดูแลรักษาซึ่งผลประโยชนในการลงทุนของบริษัทแม ได บริษัทแม เล็งเห็นวาการมีนโยบาย / มาตรการในการกํากับดูแลกิจการจะชวยสงเสริมประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันนํามาซึ่งการเพิ่มมูลคาและความเชื่อมั่นตอผูถือหุนผูมีสวนไดเสียทุกกลุมของบริษัทแม ซึ่งกิจการทีบ่ ริษัทแม เขาไปลงทุนนัน้ จะดําเนินการไดอยางตอเนื่องและยั่งยืน อยางมั่น คงโดยบริษัท แม กําหนดนโยบายการควบคุม และกํากับ ดูแลกิจการเปน 2 ดานดังนี้ 1) นโยบายการกํากับดูแลดานการบริหาร 1.1) บริษัทแม กําหนดแนวทางของการใชสิทธิออกเสียงโดยผานตัวแทนของบริษัทแม ในการประชุมผูถือหุน ของบริษัทฯ และบริษัทรวม ในวาระการพิจารณาที่สําคัญ เชน การรับรองรายงานประชุม / การรับ รอง งบการเงิ น ประจํ า ป / การเลื อกกรรมการ / การกํ า หนดค า ตอบแทน / การแต ง ตั้ ง ผู สอบบั ญชี แ ละ คาตอบแทน / การจัดสรรกําไร เปนตน เพื่อใหสอดคลองกับสัดสวนการถือหุนในบริษทั ฯ และบริษทั รวม และตามแนวทางของการกํา กั บ ดู แ ลกิจ การที่ ดี (Good Corporate Governance) เพื่ อรั ก ษาไว ซึ่ ง ผลประโยชนสูงสุดของบริษัทแม บริษัทฯ บริษัทรวม และของผูถือหุน ผูมีสวนไดเสียทุกกลุม 85
1.2) บริษัทแม มีนโยบายควบคุมดูแลการจัดการ และรับผิดชอบการดําเนินงานบริษัทฯ และบริษทั รวมเสมือน เป น หน ว ยงานหนึ่ ง ของบริ ษั ท แม จึ ง กํ า หนดให ก รณี ดั ง ต อ ไปนี้ ไ ด รั บ การอนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทแม หรือที่ประชุมผูถือหุน (แลวแตกรณี) เพื่อใหบริษทั แม มีกลไกกํากับดูแลบริษทั ฯ และบริษัทรวมทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งมีมาตรการในการติดตามการบริหารงานของบริษัทฯ และ บริษัทรวม เพื่อดูแลรักษาผลประโยชนในเงินลงทุนของบริษัทแม 1.2.1 เรื่องที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทแม 1.2.1.1 การแตงตั้งหรือเสนอชื่อบุคคลเปนกรรมการหรือผูบริหารในบริษัทฯและ/หรือบริษัท รวมอยางนอยตามสัดสวนการถือหุนของบริษัทแม ในบริษัทฯและ/หรือบริษัท รวมโดย ใหกรรมการและผูบริห ารที่บ ริษัท แม เสนอชื่อหรือแตงตั้งมีดุลยพินิจในการพิจารณา ออกเสี ย งในการประชุ ม คณะกรรมการของบริ ษั ท ฯและ/หรื อ บริ ษั ท ร ว มในเรื่ อ งที่ เกี่ยวกับการบริหารจัดการทั่วไปและดําเนินธุรกิจตามปกติของบริษัทฯและ/หรือบริษัท รวมไดตามแตที่กรรมการและผูบริห ารของบริษัท ฯและ/หรือบริษัท รวมจะเห็น สมควร เพื่อประโยชนสูงสุดของบริษัทแม บริษัทฯและ/หรือบริษัท รวมเวน แตเรื่องที่กําหนดไว ในขอ 1.2.2 นี้ ทั้งนี้ กรรมการหรือผูบริหารตามวรรคขางตนที่ไดรับการเสนอชื่อนั้นตองเปนบุคคลที่มี รายชื่อ อยูใ นระบบขอ มูลรายชื่อ กรรมการและผูบ ริห ารของบริษั ท ที่ ออกหลั กทรัพ ย (White List) รวมถึงและมีคุณสมบัติบทบาทหนาที่และความรับ ผิดชอบตลอดจนไมมี ลักษณะขาดความนาไววางใจตามประกาศคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาด หลั ก ทรั พย ว า ด ว ยการกํ าหนดลั ก ษณะขาดความไมน า ไว วางใจของกรรมการและ ผูบริหารของบริษัทแม 1.2.1.2 พิจารณาการจายเงินปนผลประจําปและเงินปนผลระหวางกาล (หากมี) ของบริษัทฯ 1.2.1.3 การแกไขขอบังคับของบริษัทฯเวนแตการแกไขขอบังคับในเรื่องที่มีนัยสําคัญ 1.2.2.6 1.2.1.4 การพิจารณาอนุมัติงบประมาณประจําปของบริษัทฯ รายการตั้งแตขอ 1.2.1.5 ถึงขอ 1.2.1.13 นี้เปน รายการที่ถือวามีสาระสําคัญและหาก เข า ทํ า รายการจะมี ผ ลกระทบอย า งมี นั ย สํ า คั ญต อ ฐานะการเงิ น และการผลการ ดําเนินงานของบริษัทฯดังนั้นจะตองไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทแม กอน ทั้งนี้ ตองเปน กรณีที่เมื่ อคํานวณขนาดรายการที่บ ริษัท ฯจะเขาทํารายการเปรียบเทียบกั บ ขนาดของบริษัทแม (โดยนําหลักเกณฑการคํานวณรายการตามที่กําหนดไวในประกาศ ของคณะกรรมการกํากับตลาดทุนและคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่องการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน และ/หรือเรื่องการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน (แลวแตกรณี) มาบังคับ ใชโดยอนุโลม) แลวอยูในเกณฑตองไดรับ การพิจารณาอนุมัติ จากคณะกรรมการบริษัทแม ซึ่งรายการดังตอไปนี้คือ 86
1.2.1.5 กรณีทบี่ ริษัทฯตกลงเขาทํารายการกับ บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัท ฯหรือรายการที่ เกี่ยวกับการไดมาหรือทํารายการจําหนายไปซึง่ สินทรัพยของบริษัทฯ 1.2.1.6 การโอนหรือสละสิทธิประโยชนรวมตลอดถึงการสละสิท ธิเรียกรองที่มีตอผูที่กอความ เสียหายแกบริษัทฯ 1.2.1.7 การขายหรือโอนกิจการของบริษัทฯทั้งหมดหรือบางสวนที่สําคัญใหแกบุคคลอื่น 1.2.1.8 การซื้อหรือการรับโอนกิจการของบริษัทอื่นมาเปนของบริษัทฯ 1.2.1.9 การเขาทําแกไขหรือเลิกสัญญาเกี่ยวกับ การใหเชาจัดกิจการของบริษัท ฯทั้งหมดหรือ บางสวนที่สําคัญการมอบหมายใหบุคคลอื่นเขาจัดการธุรกิจของบริษัท ฯหรือการรวม กิจการกับบุคคลอื่น 1.2.1.10 การเชาหรือใหเชาซื้อกิจการหรือทรัพยสินของบริษัทฯทั้งหมดหรือสวนที่มีสาระสําคัญ 1.2.1.11 การกูยืมเงินการใหกูยืมเงินการใหสินเชื่อการค้ําประกัน การทํานิติกรรมผูกพัน บริษัท ฯ ใหตองรับภาระทางการเงินเพิ่มขึ้นหรือการใหความชวยเหลือดานการเงิน ในลักษณะ อื่นใดแกบุคคลอื่นและมิใชธุรกิจปกติของบริษัทฯ 1.2.1.12 การเลิกกิจการของบริษัทฯ 1.2.1.13 รายการอื่นใดที่ไมใชรายการธุรกิจปกติของบริษัทฯและเปนรายการที่จะมีผลกระทบตอ บริษัทฯอยางมีนัยสําคัญ 1.2.2 เรื่องที่ตองไดรับการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทแม ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสาม ในสี่ (3/4) ของจํานวนเสียงทั้งหมดของผูถือหุนซึ่งมาประชุม และมีสิทธิออกเสียงลงคะแนน กอน บริษัทฯ เขาทํารายการ 1.2.2.1 กรณีที่บ ริษัท ฯตกลงเขาทํ ารายการกั บ บุคคลที่เกี่ ยวโยงกัน ของบริษัท ฯหรือรายการที่ เกี่ยวกับ การไดม าหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน ของบริษั ท ฯ ทั้งนี้ ตองเปน กรณีที่เมื่ อ คํานวณขนาดของรายการทีบ่ ริษัทฯจะเขาทํารายการเปรียบเทียบกับ ขนาดของบริษัท แม (โดยนําหลักเกณฑการคํานวณรายการตามที่กําหนดไวในประกาศที่เกี่ยวของของ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนและคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมา บังคับใชโดยอนุโลม) แลวอยูในเกณฑตองไดรับการพิจารณาอนุมัติจากที่ป ระชุม ผูถือ หุนของบริษัทแม 1.2.2.2 การเพิ่มทุนโดยการออกหุนเพิ่มทุนของบริษัทฯและการจัดสรรหุนรวมทั้งการลดทุน จด ทะเบียนซึ่งไมเปนไปตามสัดสวนการถือหุนเดิมของผูถือหุนอันจะเปนผลใหสัดสวนการ ใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนของบริษัทแม ทั้งทางตรงและ/หรือทางออมในที่ประชุมผูถอื หุนของบริษัทฯไมวาในทอดใดๆ ลดลงเกินกวารอยละสิบ (10) ของจํานวนเสียงทัง้ หมด ในที่ ป ระชุ ม ผู ถื อ หุ น ของบริ ษั ท ฯนั้ น หรื อ เป น ผลให สั ด ส ว นการใช สิ ท ธิ อ อกเสี ย ง ลงคะแนนของบริษัทแม ทั้งทางตรงและ/หรือทางออมในที่ประชุม ผูถือหุน ของบริษัท ฯ 87
ไมวาในทอดใดๆ ลดลงเหลือนอยกวารอยละหาสิบ (50) ของจํานวนเสียงทั้งหมดในที่ ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯนั้น 1.2.2.3 การดําเนินการอื่นใดอันเปนผลใหสัดสวนการใชสิทธิออกเสียงลงคะแนนของบริษัท แม ทั้งทางตรงและ/หรือทางออมในที่ป ระชุม ผูถือหุน ของบริษัท ฯไมวาในทอดใดๆ ลดลง เกินกวารอยละสิบ (10) ของจํานวนเสียงทั้งหมดในที่ป ระชุม ผูถือหุน ของบริษัท ฯหรือ เปนผลใหสัดสวนการใชสิท ธิออกเสียงลงคะแนนของบริษัท แม ทั้งทางตรงและ/หรือ ทางออมในที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯไมวาในทอดใดๆ ลดลงเหลือนอยกวารอยละ หาสิ บ (50) ของจํ านวนเสี ยงทั้งหมดในที่ป ระชุม ผู ถือ หุน ของบริษัท ฯในการเข าทํ า รายการอื่นใดที่มิใชธุรกิจปกติของบริษัทฯ 1.2.2.4 การเลิกกิจการของบริษัทฯ ทั้งนี้ ตองเปนกรณีที่เมื่อคํานวณขนาดของกิจการบริษัท ฯที่ จะเลิกนั้นเปรียบเทียบกับขนาดของบริษัทแม (โดยนําหลักเกณฑการคํานวณรายการ ตามที่ กํ า หนดไว ใ นประกาศของคณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น และประกาศ คณะกรรมการการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเรื่องการไดม าหรือจําหนายไปซึ่ง ทรัพยสินมาบังคับใชโดยอนุโลม) แลวอยูในเกณฑตองไดรับการพิจารณาอนุมัติจากที่ ประชุมผูถือหุนของบริษัทแม 1.2.2.5 รายการอื่น ใดที่ไมใชรายการธุรกิจปกติของบริษัท ฯและรายการที่จะมีผลกระทบต อ บริ ษั ท ฯอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทั้ ง นี้ ต อ งเป น กรณี ที่ เ มื่ อ คํ า นวณขนาดรายการนั้ น เปรียบเทียบกับ ขนาดของบริษัท แม (โดยนําหลั กเกณฑก ารคํานวณรายการตามที่ กําหนดไวในประกาศของคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุน และประกาศคณะกรรมการ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเรื่องการไดม าหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน มาบังคับ ใชโดยอนุโลม) แลวอยูในเกณฑตองไดรับการพิจารณาอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนของ บริษัทแม 1.2.2.6 การแก ไขขอบั งคั บ ของบริษั ท ฯในเรื่อ งที่ อาจสง ผลกระทบอย างมี นัย สํา คัญต อฐานะ การเงิ น และการผลการดําเนิน งานของบริษัท ฯซึ่ งรวมถึ งแต ไม จํา กัดเพีย งการแกไ ข ขอบังคับของบริษัท ฯที่สงผลกระทบตอสิท ธิในการออกเสียงลงคะแนนของบริษัท แม ในที่ประชุมคณะกรรมการและ/หรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯหรือการจายเงินปนผล ของบริษัทฯ เปนตน 1.3) กรรมการของบริษัทแม จะติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ และบริษัทรวม ใหเปนไปตามแผนงาน และงบประมาณอยางตอเนื่อง และติดตามใหบริษัทฯเปดเผยขอมูลรายการเกี่ยวโยง และรายการไดม า หรือจําหนายไปซึ่งสินทรัพยตอบริษัทแม ตามประกาศที่เกี่ยวของของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน และ ประกาศคณะกรรมการตลาดหลั กทรัพย (แล วแต กรณี) มาบัง คับ ใชโ ดยอนุโ ลม อย างครบถว น และ ถูกตอง 88
1.4) กรรมการของบริษัทแม ตองจัดใหบริษัทฯที่ประกอบธุรกิจหลักมีระบบการควบคุมภายในทีเ่ หมาะสมและ รัดกุมเพียงพอ เพื่อปองกันการทุจริตที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัท ฯ รวมทั้งควรใหบ ริษัท ฯจัดใหมีระบบงานที่ ชัดเจน เพื่ อแสดงไดว าบริษัท ฯมี ระบบเพียงพอในการเปดเผยขอ มูลการทํารายการที่มีนั ยสําคัญตาม หลักเกณฑที่กําหนดไดอยางตอเนื่อง และนาเชื่อถือและมีชองทางใหกรรมการ และผูบริหารของบริษทั แม สามารถไดรับขอมูลของบริษัทฯในการติดตามดูแลผลการดําเนิน งาน และฐานะการเงิน การทํารายการ ระหวางบริษัทฯกับกรรมการ และผูบ ริห ารของบริษัท ฯ และการทํารายการที่มีนัยสําคัญของบริษัท ฯได อยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ตองจัดใหบริษัทฯมีกลไกในการตรวจสอบระบบงานดังกลาวในบริษัท ฯ โดยใหทีมงานผูตรวจสอบภายใน และกรรมการอิสระของบริษัทแม สามารถเขาถึงขอมูลไดโดยตรง และ ใหมีการรายงานผลการตรวจสอบระบบงานดังกลาวใหกรรมการ และผูบ ริห ารของบริษัท แม เพื่อให มั่นใจไดวาบริษัทฯมีการปฏิบัติตามระบบงานที่จัดทําไวอยางสม่ําเสมอ 1.5) กรรมการ และผูบริหารของบริษัทฯตองเปดเผย และนําสงขอมูลสวนไดเสียของตน และบุคคลที่มีความ เกี่ยวของตอคณะกรรมการของบริษัทแม ใหทราบถึงความสัมพันธ และการทําธุรกรรมกับ บริษัท แม ใน ลักษณะที่อาจกอใหเกิดความขัดแยงทางผลประโยชน และหลีกเลี่ยงการทํารายการที่อาจกอใหเกิดความ ขัด แย ง ทางผลประโยชนกั บ บริ ษัท ฯหรื อ บริษั ท แม โดยคณะกรรมการของบริ ษัท ฯมีห นา ที่ แจ ง เรื่ อ ง ดังกลาวใหคณะกรรมการของบริษัท แม ทราบภายในกําหนดเวลาที่บ ริษัท แม กําหนด เพื่อเปน ขอมูล ประกอบการพิจารณาตัดสินหรืออนุมัติใดๆ ซึ่งการพิจารณานั้นจะคํานึงถึงประโยชนโดยรวมของบริษัท ฯ และบริษัทแม เปนสําคัญ ทั้งนี้ กรรมการของบริษัทฯตองไมมีสวนรวมอนุมัติในเรื่องที่ตนเองมีสวนไดเสีย หรือความขัดแยงทางผลประโยชนทั้งทางตรง และทางออมนัน้ ดวย อนึ่งการกระทําดังตอไปนี้ ซึ่งเปน ผล ให ก รรมการผู บ ริ ห าร หรื อ บุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งของบริ ษั ท ฯได รั บ ประโยชน ท างการเงิ น อื่ น นอกเหนือจากที่พึงไดตามปกติ หรือเปนเหตุใหบริษัทฯหรือบริษัทแม ไดรับความเสียหายใหสนั นิษฐานวา เปนการกระทําที่ขัด หรือแยงกับประโยชนของบริษัทฯอยางมีนัยสําคัญ 1.5.1 การทําธุรกรรมระหวางบริษัทฯ กับกรรมการผูบริหารหรืบุคคลที่มีความเกี่ยวของโดยมิไดเปน ไป ตามหลักเกณฑของการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน 1.5.2 การใชขอมูลของบริษัทแม หรือบริษัทฯที่ลวงรูมาเวนแตเปนขอมูลที่เปดเผยตอสาธารณชนแลว 1.5.3 การใชทรัพยสิน หรือโอกาสทางธุรกิจของบริษัทแม หรือบริษัทฯในลักษณะเดียวกันกับที่บริษัทแม กระทํา และเปนการฝาฝนหลักเกณฑ หรือหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่คณะกรรมการกํากับ ตลาดทุน ประกาศกําหนด 1.6) บริษัทฯตองรายงานแผนการประกอบธุรกิจ การขยายธุรกิจ โครงการลงทุน ขนาดใหญ ตลอดจนการเขา รวมลงทุนกับผูประกอบการรายอื่นๆ ตอบริษัทแม ผานรายงานผลการดําเนินงานประจําเดือน บริษัท แม มีสิทธิเรียกใหบริษัทฯเขาชี้แจง หรือนําสงเอกสารประกอบการพิจารณาดังกลาว ซึ่งบริษัท ฯตองปฏิบัติ ตามอยางเครงครัดทันที 89
1.7) บริษัทฯตองนําสงขอมูลหรือเอกสารที่เกี่ยวของดวยการดําเนินงานใหกับ บริษัท แม เมื่อไดรับ การรองขอ ตามความเหมาะสม 1.8) กรณีทบี่ ริษัทแม ตรวจพบประเด็นที่มีนัยสําคัญใดๆ อาจแจงใหบริษัทฯชี้แจง และ/หรือนําสงเอกสาร เพือ่ ประกอบการพิจารณาของบริษัทแม ได 1.9) หามมิใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน ลูกจาง หรือผูรับมอบหมายของบริษัท ฯ และบริษัท รวม รวมถึงคู สมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาวใชขอมูลภายในของบริษัท แม และของบริษัท ฯ หรือ บริษั ท ร วม ทั้ง ที่ไ ดม าจากการกระทํ าตามหนาที่ ห รือ ในทางอื่น ใด ที่มีห รือ อาจมีผลกระทบเป น นัยสํา คัญต อบริษั ท แม บริษั ท ฯ หรือบริษัท รวม เพื่อ ประโยชน ตอตนเอง และผูอื่น ไมว าทางตรง หรื อ ทางออม และไมวาจะไดรับผลตอบแทนหรือไม 1.10) กรรมการ ผูบ ริห าร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของของบริษัท ฯ จะกระทําธุรกรรมกับ บริษัท ฯไดตอเมื่อ ธุรกรรมดังกลาวไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษทั แม หรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทแม (แลวแต กรณี) ตามแตขนาดรายการที่คํานวณได โดยนําหลักเกณฑที่กําหนดในประกาศรายการที่เกี่ยวโยงกัน และหลักเกณฑที่เกี่ยวของของสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ กําหนดมาใชโดยอนุโลม ทั้งนี้ เว น แต เป น การทํา ธุร กรรมที่เ ป น ข อตกลงทางการคา ในลั ก ษณะเดี ยวกั บ ที่ วิ ญู ช นจะพึ ง กระทํา กั บ คูสัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอรองทางการคาที่ป ราศจากอิท ธิพลในการที่ตนมี สถานะเปนกรรมการผูบริหาร หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวของ แลวแตกรณี และเปน ขอตกลงทางการคาที่ ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการของบริษัทแม หรือเปนไปตามหลักการที่คณะกรรมการบริษัทแม อนุมตั ไิ ว แลว 2) นโยบายการควบคุมดานการเงินของบริษัทฯ 2.1) บริษัทฯ และบริษัทรวมมีหนาที่นําสงผลการดําเนินงานรายเดือน และงบการเงิน ฉบับ ผานการสอบทาน โดยผูสอบบัญชีรายไตรมาส ตลอดจนขอมูลประกอบการจัดทํางบการเงินดังกลาวของบริษัทฯ และบริษทั รวมใหกับบริษัทแม พรอมยินยอมใหบริษัทแม ใชขอมูลดังกลาวนั้น เพื่อประกอบการจัดทํางบการเงิน รวม หรือรายงานผลประกอบการของบริษัทแม ประจําไตรมาสหรือประจําปนั้นแลวแตกรณี 2.2) บริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท รว มมีห น าที่ จั ด ทํา งบประมาณผลการดํ าเนิ น งาน และสรุ ป เปรี ยบเทีย บผลการ ดําเนินงานตามแผนการดําเนินงานจริงเปนรายไตรมาส รวมถึงติดตามผลการดําเนิน งานใหเปน ไปตาม แผน เพื่อรายงานตอบริษัทแม 2.3) บริษัทฯ และบริษัทรวมมีหนาที่รายงานประเด็นปญหาทางการเงิน ที่มีนัยสําคัญตอบริษัท แม เมื่อตรวจ พบ หรือไดรับการรองขอจากบริษัทแม ใหดําเนินการตรวจสอบ และรายงาน
90
10.5
การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทแม ไดกําหนดใหมีนโยบายการกํากับ ดูแลการใชขอมูลภายใน เพื่อใหมีม าตรการปองกัน และการกํากับ ดูแล การใช ขอ มูลภายในอยา งมี ป ระสิท ธิภ าพและปอ งกั น มิ ใหมี การใชขอ มูลภายในแสวงหาผลประโยชน เพื่ อตนเองหรือ เอื้ อ ประโยชนแกบุคคลอื่นในทางมิชอบตลอดจนสอดคลองตามหลักการของการกํากับ ดูแลกิจการที่ดีและการบริห ารจัดการดวย ความโปรงใส โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. คณะกรรมการบริษัทแม และผูบริหาร รวมถึงคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ มีหนาที่ตองรายงานการถือ หลักทรัพยของตน ใหเปนไปตามกฎระเบียบของสํานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพยฯ ตามที่กําหนด 2. หามมิใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และลูกจางของบริษัทแม และบริษัทฯ ใชขอมูลภายในของบริษัท แม และ บริษัทฯ ในประการที่มีห รืออาจมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพยของบริษัท แม ซึ่งยังมิได เปดเผยตอสาธารณชน ซึ่งตนไดลวงรูมาในตําแหนง หนาที่ หรือฐานะ เชน นั้น มาใช เพื่อการซื้อหรือขาย หรือ เสนอซื้อ หรือเสนอขาย หรือชักชวนใหบุคคลอื่นซื้อหรือขาย หรือเสนอซื้อหรือเสนอขายซึ่งหุน หรือหลักทรัพยอื่น (ถามี) ของบริษัทแม ไมวาทั้งทางตรงหรือทางออม ในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกบ ริษัท แม ไมวาทั้ง ทางตรงหรือทางออม และไมวาการกระทําดังกลาวจะทํา เพื่อประโยชนตอตนเอง หรือผูอื่น หรือนําขอเท็จจริง เชน นั้นออกเปดเผย เพื่อใหผูอื่นกระทําดังกลาว โดยตนไดรับผลประโยชนตอบแทนหรือไมก็ตาม 3. ชั้นความลับ ของขอมูลกําหนดใหขอมูลภายในซึ่งเปน ความลับ ทางธุรกิจตองไดรับ การดูแลปกปดมิใหรั่วไหล ออกไปภายนอก ความลับของขอมูลอาจแบงไดเปนหลายชั้น ตามความสําคัญ เชน ขอมูลที่เปดเผยได ขอมูล ปกป ด ข อ มูลลั บ และขอ มู ลลับ มาก ซึ่ ง การใชข อ มู ลต อ งอยู ใ นกรอบที่ถื อ ว าเป น ขอ มู ลในหน าที่ แ ละความ รับ ผิด ชอบที่ได รับ มอบหมายเทานั้ น ไม เปด เผยขอมู ลที่ถือ วาเปน ความลั บ ของบริ ษัท แม อัน นํามาซึ่ง ความ เสียหายหรือมีผลกระทบตอความสามารถในการแขงขันของบริษัท แม ไมวาจะเปน ขอมูลอิเล็กทรอนิกส ขอมูล การเงิน การปฏิบัติงาน ขอมูลธุรกิจ แผนงานในอนาคตของบริษัทแม และอื่นๆ ระหวางที่ปฏิบัติงานใหบริษัทแม และหลังจากพนสภาพการปฏิบัติงานแลว 4. การเปดเผยขอมูลสูภายนอกกําหนดใหการเผยแพรข อมูลภายในสูสาธารณชนต องไดรับ ความเห็ น ชอบจาก ประธานเจาหนาที่บริหาร หรือผูบริหาร / ฝายงาน / บุคคลที่ไดรับมอบหมายเทานั้น 5. กําหนดใหมีการจัดทําเปนระเบียบปฏิบัติวาดวยมาตรการปองกันและการใชขอมูลภายในเปน ลายลักษณอักษร และจัดใหมีการสื่อสารเผยแพร นโยบาย / กฎระเบียบดังกลาว แกกรรมการ ผูบริหารและพนักงานทุกระดับอยาง ทั่วถึ งทั้ง องคกร และเปน ไปอยา งตอ เนื่ อง เพื่ อให ได รับ ทราบถึง หน าที่แ ละความรั บ ผิด ชอบตามที่ บ ริษั ท แม กําหนดไวในนโยบาย / ระเบียบนั้น ๆ 91
10.6
การอนุมัติรายการ
คาตอบแทนผูสอบบัญชี 10.6.1 คาตอบแทนจากการสอบบัญชี ป 2557 ไดรบั อนุมัติจากทีป่ ระชุมสามัญผูถือหุน ประจําป 2557 กําหนดคาสอบบัญชีใหแกผูสอบบัญชี เปนเงินจํานวน 2.45 ลานบาท 10.6.2 คาบริการอื่น – ไมมี –
92
11. ความรับผิดชอบตอสังคม
บริษัทฯ ใหความสําคัญและตระหนักถึงบทบาทและความรับ ผิดชอบตอสังคมเปน อยางมากและเนน ใหบ ริษัท ฯ ดําเนิน กิจการดวยความเปนธรรม เพื่อจะนําพาบริษัทฯ ใหเจริญเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน พรอมสรางทัศนคติวัฒนธรรมของการ ทํา หน า ที่ด ว ยความซื่ อ สัต ย สุจ ริ ตมี คุ ณธรรมของกรรมการผู บ ริ ห ารและพนั ก งานอี ก ทั้ งยั ง มี ค วามมุ ง มั่ น ที่ จ ะแสดงความ รับผิดชอบตอสังคมใหแกผูมีสวนไดสวนเสียตอเนื่องเปนประจําทุกป ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีนโยบายเกี่ยวกับแนวทางบริหารจัดการ ที่ซื่อสัตยสุจริตโปรงใสตรวจสอบไดใหกับผูถือหุนและสรางประโยชนและความเปนธรรมตอผูมีสวนไดเสียทุกๆ ฝาย 1) การประกอบกิจการดวยความเปนธรรม บริษัทฯ สนับสนุนและสงเสริมการดําเนินการทางธุรกิจอยางเปนธรรมและปฏิบัติตามกฎระเบียบและหลักเกณฑ ของทางการอยา งเครงครั ดโดยเฉพาะอย างยิ่ง การปฏิบัติ ตามหลักเกณฑเ กี่ยวกั บ อัตราคาธรรมเนียมในการเป น นายหนาซื้อ ขายหลักทรัพยแ ละซื้อ ขายตราสารอนุ พัน ธ รวมถึ งการจายผลตอบแทนใหกับ ผูติด ตอกับ ผูลงทุ น และ หัวหนาทีมการตลาด บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจกับกิจการคูคาโดยปฏิบัติตามเงื่อนไขในสัญญาทีบ่ ริษัทฯ ไดทําไวซึ่งจะตองไมเสื่อมเสียตอ บริษัทฯ หรือขัดตอกฎหมายใดๆ ไมลวงละเมิดทรัพยสิน ทางปญญา เชน การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีลิขสิท ธิ์ ถูกตอง เปนตน และคํานึงถึงความเสมอภาคในการดําเนินการทางธุรกิจอยางเปน ธรรมและมีจรรยาบรรณบริษัท ฯ ยึดมั่นในสัญญาและถือปฏิบัติตามเงื่อนไขและขอตกลงที่กําหนดไวในสัญญาการกูยืม กับ เจาหนี้ห รือการซื้อสิน คา และบริการในการชําระคืนเงินตนดอกเบี้ยและการดูแลหลักประกันและการชําระคาซื้อสินคาและบริการ 2) การตอตานทุจริตคอรรัปชั่น บริษัทฯ ไดมีนโยบายในการตอตานทุจริตและหามรับ/จายสิน บน (คอรรัป ชั่น ) เพื่อผลประโยชนท างธุรกิจของ บริษัทฯการรายงานการกระทําที่ไมเหมาะสมโดยบริษัทฯ ไดมีคูมือการปฏิบัติงานของพนักงานที่จัดทําขึ้น เพื่อใชเปน แนวทางในการปฏิบัติห นาที่และปฏิบัติตนใหเปน ไปดวยความซื่อสัตยสุจริตไมแสวงหาผลประโยชนห รือรองเรียก สินจางอันสอเจตนาไปในทางทุจริตตอหนาที่ทั้งทางตรงและทางออม 3) การเคารพสิทธิมนุษยชน บริษัทฯ สนับสนุนและเคารพการปกปองสิทธิมนุษยชนดูแลมิใหธุรกิจของบริษัทฯ เขาไปมีสวนเกี่ยวของกับ การ ลวงละเมิดสิทธิมนุษยชน เชน ไมสนับสนุนการบังคับใชแรงงาน (Forced Labour) ตอตานการใชแรงงานเด็ก (Child Labour) รวมถึงใหความเคารพนับถือและปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียทุกฝายดวยความเปนธรรมบนพื้น ฐานของศักดิ์ศรี ความเปนมนุษยไมเลือกปฏิบัติไมแบงแยกถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ เพศ อายุ สีผิว ศาสนา สภาพรางกาย ฐานะและชาติ ตระกูล 4) การปฏิบัติตอแรงงานอยางเปนธรรม 4.1 ดานความปลอดภัยและสุขอนามัยของพนักงาน 93
บริษัทฯ ปรับปรุงสภาพแวดลอมโดยการขยายพื้นที่การทํางานใหมากขึ้น เพื่อลดความแออัดในการทํางาน ใหพนั กงานมีคุณภาพชีวิตที่ ดี เพื่อใหพนั กงานสรา งสรรคผลงานที่ดีเลิ ศและพัฒนาความสามารถของ ตนเองอยูเสมออีกทั้งบริษัทฯ ไดทําประกันสุขภาพใหกับพนักงานทุกคน 4.2 การพัฒนาบุคคลากร บริษัทฯ มีคณะอนุกรรมการสรรหา เพื่อคัดเลือกบุคลากรมีการฝกอบรมภายในและสงบุคลากรของบริษัท ฯ ไปอบรมภายนอก เพื่อ พัฒ นาความสามารถในการทํ างานรวมทั้ งส งเสริ ม ใหพ นัก งานมี คุณธรรมและ จริยธรรมในการปฏิบัติงานอยางซื่อสัตยสุจริตและจะตองเก็บรักษาขอมูลของบริษัทฯ และของลูกคาไวเปน ความลับ 4.3 การดูแลเรื่องคาตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน บริษัทฯ มีนโยบายดูแลเรื่องคาตอบแทนโดยนําระบบ KPI มาใชในการพิจารณาคาตอบแทนตามผลการ ปฏิบัติงานของพนักงานทุกคนอยางเทาเทียมเปนธรรมและมีคณะอนุกรรมการพิจารณาคาตอบแทน เพื่อ พิจารณาผลตอบแทนที่เหมาะสม 4.4 จัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงาน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพคือกองทุนที่นายจางและลูกจางรวมกัน จัดตั้งขึ้น เงิน ของกองทุน มาจากเงิน ที่ลูกจาง จายสวนหนึ่งเรียกวา "เงินสะสม”และนายจางจายเงินเขาอีกสวนหนึ่งเรียกวา "เงิน สมทบ" นั่น คือนอกจาก ลูกจางจะออมแลวนายจางยังชวยลูกจางออมอีกแรงหนึ่งดวย จึงอาจกลาวไดวาการจัดตั้งกองทุน สํารอง เลี้ยงชีพเปนรูปแบบหนึ่งของการใหสวัสดิการแกลูกจางจึงชวยสรางแรงจูงใจใหลูกจางทํางานใหกับนายจาง นานๆ การจั ดตั้ ง กองทุ น สํ ารองเลี้ย งชี พนอกจากจะทํา ให ลูกจ า งมี การออมอย า งต อ เนื่อ งมี วิ นัย และมี นายจางชวยออมแลวยังมีการนําเงินไปบริหารใหเกิดดอกผลงอกเงย โดยผูบริหารมืออาชีพที่เรียกวา "บริษทั จัดการ" โดยดอกผลที่เกิดขึ้นจะนํามาเฉลี่ยใหกับสมาชิกกองทุน ทุกคนตามสัดสวนของเงิน ที่แตละคนมีอยู ในกองทุน ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556บริษัท ฯ มีพนักงานทั้งหมด 728 คน แบงเปน พนักงานการตลาดจํานวน 363 คน พนั กงานดา นปฏิบั ติก าร 365 คน นอกจากนี้ใ นวั น ที่ 1 มี น าคม 2557 บริ ษัท ฯ ได จัด กิ จกรรมที่ สํา คัญสร า ง ความสัมพันธที่ดีในการจางงานคือ งานสังสรรคสําหรับพนักงานกรุงเทพปริมณฑลและสาขาตางจังหวัด เพื่อเปน การ ขอบคุณที่รวมเหน็ดเหนื่อยไปพรอมกับบริษัทฯ ตลอดทั้งป 5.) ความรับผิดชอบตอผูบริโภค บริษั ท ฯ มี ความมุ งมั่ น ในการสรางความพึงพอใจสูง สุด ให แกลูกค าโดยการเอาใจใส และรับ ผิด ชอบอย างมี หลักเกณฑตลอดจนมีการปฏิบัติที่ชัดเจนและเปนธรรมในการดําเนินธุรกิจกับลูกคาทุกรายรวมทั้งพัฒนารูปแบบการ ใหบ ริก ารและเพิ่ ม ช องทาง / ทางเลือ กในการใหบ ริก ารแกลูกค าโดยใหข อมูลที่ค รบถว นถูก ตอ งและไมบิ ดเบือ น ขอเท็จจริง ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดจัดเตรียมชองทางในการรับเรื่องรองเรียนและแจงเบาะแสจากลูกคาและกําหนดขั้น ตอน ปฏิบัติที่ชัดเจน เพื่อใหลูกคาของบริษัท ฯ เกิดความมั่น ใจวาบริษัท ฯ มีระบบการปฏิบัติงานที่รวดเร็วยุติธรรมและ เชื่อ ถือ ได นอกจากนี้ บ ริ ษัท ฯ ไดเ ขา รว มกระบวนการอนุญาโตตุลาการกับ สํา นักงาน ก.ล.ต. หากเกิ ดข อพิ พาท 94
ระหวางบริษัทฯ กับลูกคาตามลักษณะที่กําหนดไวในประกาศของสํานักงาน ก.ล.ต. ลูกคาสามารถจะนําขอพิพาทเขา สูกระบวนการดังกลาวได 6.) การดูแลรักษาสิ่งแวดลอม บริษัทฯ มีนโยบายสงเสริมใหมีการใหความรูและฝกอบรมพนักงานในเรื่องสิ่งแวดลอมดังนี้ 6.1 ปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด 6.2 สงเสริมใหพนักงานเขารับการฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับ สิ่งแวดลอม เพื่อสรางจิตสํานึกและความ รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม 6.3 สงเสริม ใหพนัก งานไดมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณเกี่ยวกับ สิ่ง แวดลอมระหวา ง พนักงานดวยกันหรือระหวางหนวยงานตางๆ ของบริษัทฯ 6.4 ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให พ นั ก งานมี ก ารรั ก ษาสภาพแวดล อ มและปรั บ ปรุ ง การปฏิ บั ติ ง านให เหมาะสมกับสภาพแวดลอมอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ บริษัทฯ มีนโยบายบริหารการจัดการโดยมีเปาหมาย เพื่อปองกันไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทบทวน และประเมินผลการดําเนินงานของบริษัทฯ อยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ เพื่อติดตามความกาวหนา 7.) การรวมพัฒนาชุมชนหรือสังคม บริษัทฯ ตระหนักถึงบทบาทและความรับผิดชอบตอสังคม อีกทั้งยังมีความมุงมัน่ ที่จะแสดงความรับผิดชอบตอสังคมแก ผูมีสวนไดสวนเสียตอเนื่องเปนประจําทุกป บริษัทฯ ไดจัดสรรงบประมาณสวนหนึ่ง เพื่อนํามาดําเนินกิจกรรมทางสังคม โดยเนนการสงเสริมดานการศึกษา การทํานุ บํารุงศาสนา และการสงเสริมคุณภาพชีวิตทางสังคมอยาง เชน ทุกป ในป 2557 บริษทั ฯ ดําเนินกิจกรรมดานการศึกษาทั้งหมด 3 โครงการ ดานการทํานุบํารุงศาสนา 6 โครงการ และดานการสงเสริมคุณภาพสังคม 4 โครงการ ดานการศึกษา 1. สนับสนุนการจัดโครงการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อปรับ ปรุงศูน ยการ เพื่อ สงเสริ ม และสนับ สนุ น ใหชุ ม ชนมีสวนรว มในการดํ าเนิน โครงการ เกิด ความรักความสามั คคี และสรา งความ เขมแข็งใหกับชุมชน 2. การจั ด อบรม สั ม มนา ให กั บ มหาวิ ท ยาลั ย ต า งๆ เพื่ อ ให ความรู ด า นการลงทุ น อาทิ มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต มหาวิ ท ยาลั ย เกริ ก มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลพระนคร มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลธั ญบุ รี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีม า มหาวิทยาลัยนเรศวร และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (นิดา) รวมถึงนักศึกษาจากโครงการนักลงทุน รุน ใหม เพื่อสังคม (NIP) โดยใหโอกาสนักศึกษา เขาเยี่ยมชมบริษัทแม พรอมใหความรูดานการลงทุน
95
ดานการทํานุบํารุงศาสนา 1. รวมเปนเจาภาพทําบุญถวายผาปาสามัคคี วัดปากเหมือง ต.ขัวมุง อ.สารภี จ.เชียงใหม 2. รวมเปนเจาภาพทําบุญวัดปาดอยแสงธรรม อ.เวียงเกา จ.ขอนแกน 3. รวมเปนเจาภาพทอดผาปาสามัคคี มูลนิธิ 14 ตุลา ณ วัดพุทธปญญา จ. นนทบุรี 4. รวมเปนเจาภาพทอดกฐินสามัคคี เพื่อสมทบทุนสรางศาลาการเปรียญ ทอดถวาย ณ วันสันติธรรมบรรพต (ภูนอย) 5. รวมเปนเจาภาพทําบุญถวายผากฐินสามัคคี วัดโปงโก ต. บางสะพาน จ. ประจวบคีรีขันธุ 6. รวมเปนเจาภาพทอดกฐินสามัคคี ณ วัดอัมพวันปยาราม ต.คลองกระแชง อ.เมือง เพชรบุรี ดานการสงเสริมคุณภาพสังคม 1. สนับสนุนโตะวางคอมพิวเตอร เพื่อใชสําหรับการเรียนการสอน และสําหรับฝกอาชีพ เพิ่มทักษะอาชีพตางๆ ใหกับผูห ญิงทีป่ ระสบปญหาเดือดรอน ของสมาคมสงเสริมสถานภาพสตรีในพระอุปถัมภพระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ 2. สนับสนุนโครงการถวายตูยา ในพระอุปถัมภพระเจาหลานเธอพระองคเจาทีปงกรรัศมีโชติ จํานวน 11 ตู 3. รวมบริจาคเสื้อผามือสองแกมูลนิธิกระจกเงา 4. รวมบริจาคตุกตาแกโรงพยาบาลเด็ก
96
12. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง
12.1 ความเห็นของคณะกรรมการบริษัท บริษัทฯ มีคณะกรรมการตรวจสอบ จํานวน 3 ทาน ปฏิบัตหิ นาที่ โดยมีนายไพรยง ธีระเสถียร เปน เลขานุการ และ ทําหนาที่รายงานการตรวจสอบและกํากับดูแลการปฏิบัติงาน เปนประจําทุกเดือน สําหรับป 2557 คณะกรรมการตรวจสอบได มีการประชุมรวมทั้งหมด 12 ครั้ง ตามที่ไดแสดงไวในรายงานคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งอยูในรายงานประจําป 2557 ทั้งนี้ ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ ครั้งที่ 2/2558 เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2558 ซึ่งมีคณะกรรมการตรวจสอบเขา รวมประชุมดวย คณะกรรมการบริษัทของบริษัท ฯ ไดป ระเมิน ระบบควบคุม ภายในของบริษัท ฯ โดยพิจารณาจากขอมูลและ รายงานตางๆ รวมถึงการซักถามจากฝายบริหารเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ทั้ง 5 ดาน คือ ดา นองค ก รและสภาพแวดลอ ม ด า นการบริ ห ารความเสี่ ย ง ด า นการควบคุ ม การปฏิ บั ติ ง านของฝ า ยบริ ห าร ด า นระบบ สารสนเทศและการสื่อสารขอมูล และ ดานระบบการติดตาม ซึ่งภายหลังจากการประเมิน แลว คณะกรรมการของบริษัท ฯ มี ความเห็นวาบริษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายใน ในเรื่องดังกลาวอยางเหมาะสมและเพียงพอแลว สําหรับ ระบบการควบคุม ภายในดานอื่นๆ คณะกรรมการบริษัทของบริษัทฯ เห็นวาบริษัทฯ ไดมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอแลว เชนกัน และ ทัง้ นี้ ผูสอบบัญชีของบริษัทฯ ซึ่งเปนผูตรวจสอบงบการเงินรายไตรมาสและประจําป 2557 ไมไดแสดงความเห็นในรายงานการสอบ บัญชีวาบริษัทฯ มีขอบกพรองใด ๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน บริษัทฯ ไดกําหนดใหมีสายตรวจสอบและกํากับ ดูแลการปฏิบัติงาน เพื่อทําหนาที่ในการตรวจสอบและกํากับ ดูแล การปฏิบัติง านของบริษั ท ใหมีป ระสิท ธิภาพ และเปน ศูน ยกลางการกํากับ ดูแลการดําเนิน ธุรกิจของบริษัท ฯ ให เปน ไปตาม กฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ นโยบาย และหลักเกณฑของหนวยงานทางการที่กํากับดูแลกําหนด และใหจัดทําสรุป รายงาน ผลการตรวจสอบและการปฏิบัติงานโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบทุกเดือน กอนนําเสนอตอคณะกรรมการบริษัท ของ บริษัท ฯ ยกเวน ในกรณีมี เหตุจํ าเป น เร งดวนที่ตอ งแจ งใหฝายบริห าร และคณะกรรมการบริ ษัท ของบริ ษัท ฯ รับ ทราบ เพื่ อ ดําเนินการโดยทันที ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดแตงตั้ง นายไพรยง ธีระเสถียร รองกรรมการผูจัดการสายตรวจสอบและกํากับ ดูแล ทํา หนาที่เปน หัวหน าสายตรวจสอบ และหัวหนาสายกํากับ ดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance) ของบริษัท ฯ ซึ่งเปน บุคคลที่ มี ประสบการณในการปฏิบัติงานดานการตรวจสอบภายในและงานกํากับ ดูแลการปฏิบัติงาน ในธุรกิจหลักทรัพยและสถาบัน การเงิน เปน ระยะเวลากวา 15 ป โดยมีคุณสมบัติ และผานการอบรมในหลัก สูตรที่ เกี่ย วกับ การปฏิ บัติง านทั้ง ในดา นการ ตรวจสอบ และการกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑของสํานักงาน ก.ล.ต. ที่กําหนด อนึ่ง ตามที่สํานักงาน ก.ล.ต. ไดเขาตรวจสอบการดําเนินงานของบริษัทฯ ในชวงป 2557 โดยภาพรวมบริษัท แม ไดมี การปรับปรุงแกไขการปฏิบัติจากการตรวจสอบในครั้งกอนที่รัดกุม ซึ่งผลการตรวจสอบในครั้งนี้บริษัทแม ผลการประเมิน ความ เสี่ยงตามแนวทาง RBA ของสํานักงาน ก.ล.ต. บริษัทแม อยูระดับปานกลาง (ระดับ 3) จากในครั้งกอนอยูในระดับ คอนขางสูง (4) อยางไรก็ดีมีขอสังเกตในบางประเด็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจยังไมครบถวน สอดคลอง ตามแนวทางที่กําหนด ซึ่งฝาย ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ไดมีการติดตามตรวจสอบและจัดทํารายงานผลการตรวจสอบในแตละเดือนรวมถึงประเด็นที่ฝาย ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตั้งขอสังเกตเพิ่มเติม เพื่อจัดสงใหแกคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบถึงขอสังเกตดังกลาวและ ความคืบหนาในการแกไข ซึ่งจะทําใหมั่นใจไดวาระบบควบคุมภายในของบริษัท ฯ เปน ไปตามแนวทางของสํานักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ ตามขอมูลจากสรุปรายงานผลการตรวจสอบฝายตรวจสอบภายในป 2557 มีประเด็น สําคัญที่ตรวจพบและแนวทางการ แกไขดังตอไปนี้ 97
ขอสังเกต* 1. การพิ จารณาทบทวนวงเงิ น ของลู กค ายั งไม รัด กุม เพี ย ง พอที่จะปองกัน และจัดการความเสี่ยงในเรื่องดังกลาวได อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อั น เนื่ อ งจากไม ไ ด มี ก ารทบทวน วงเงิ น ของลู ก ค า ให ค รบถ ว น สอดคล อ งตามแนวทางที่ สมาคมบริษัทหลักทรัพยไทย (ASCO) กําหนด
2.
การกํ า กั บ ดู แ ลการเข า ถึ ง ข อ มู ล ในระบบการซื้ อ ขาย หลั ก ทรั พ ย อาจยั ง ไม รั ด กุม เพีย งพอเท าที่ ค วร เกี่ย วกั บ กรณีการกําหนดสิทธิพนักงานบางสวนงานเขาดูขอมูลใน ระบบ
3. การกํากับดูแลการซื้อขาย เพื่อบัญชีบริษัทยังไมรัดกุม บาง กรณี ที่อาจทําใหมีความเสี่ยงที่บริษัทอาจปฏิบัติไมเปนไป ตามหลักเกณฑที่กําหนด
4. บริ ษั ท กํ า กั บ ดู แ ลการซื้ อ ขายของพนั ก งานและบุ ค คลที่ เกี่ยวของยังไมรัดกุมเพียงพอ โดยไมมีการตรวจสอบที่อยู ตรงกันระหวางพนักงานและลูกคาใหครบถวน
การดําเนินการของบริษทั บริษัทฯ ไดดําเนินการทบทวนวงเงินลูกคาครบถวนแลว และ ไดมีการกํา หนดมาตรการเขม งวด กรณีลูกคา ที่ไมท บทวน วงเงินใหแลวเสร็จภายใน 1 เดือนนับ จากวัน ที่ครบกําหนด บริษัท กําหนดให Lock บัญชีของลูกคารายนั้น ทั้งนี้ สาย งานตรวจสอบและกํ า กั บ ดู แ ลได มี ก ารติ ด ตามในเรื่ อ ง ดังกลาว และเสนอรายงานการตรวจสอบใหคณะกรรมการ ตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทในการประชุมแลว บริษัทแม ไดพิจารณาทบทวนลดจํานวนพนักงานที่มีห นาที่ ในการเขาถึงขอมูล เพื่อการปฏิบัติงานตามความเหมาะสม และจําเปนตอการปฏิบัติงานแลว และใหสายงานตรวจสอบ และกํากับดูแล ติดตามตรวจสอบ ทั้งนี้ สายงานตรวจสอบ และกํากั บ ดู แลไดมีก ารติดตามในเรื่องดังกลา ว และเสนอ รายงานการตรวจสอบให ค ณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริษัทในการประชุมแลว บริษัทแม ไดมีการติดตามตรวจสอบการลงทุน ซื้อขาย เพื่อ บัญชี บ ริ ษั ท แม เป น ประจํ า ทุ กเดื อ น และรวมถึ ง ได มี ก าร ปรับปรุงหลักเกณฑเกี่ยวกับ การซื้อขาย เพื่อบัญชีบ ริษัท ให สอดคลอ งตามหลั กเกณฑที่ สมาคมบริ ษัท หลั กทรัพ ยไ ทย (ASCO) กําหนด ทั้งนี้ สายงานตรวจสอบและกํากับ ดูแล ได มี ก ารติ ด ตามในเรื่ อ งดั ง กล า ว และเสนอรายงานการ ตรวจสอบให คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ บริษัทในการประชุมแลว บริ ษัท ได ดํา เนิ น การตรวจสอบเรื่ องที่ อยู ตรงกั น ของลูก ค า และพนักงาน พรอมทั้งมีการบันทึกขอมูลรายละเอียดกรณีที่ พบวามีความสัมพันธในระบบแลว ทั้งนี้ สายงานตรวจสอบ และกํากั บ ดู แลไดมีก ารติดตามในเรื่องดังกลา ว และเสนอ รายงานการตรวจสอบให ค ณะกรรมการตรวจสอบและ คณะกรรมการบริษัทในการประชุมแลว
*ขอสังเกตบางประเด็นอาจเขาขายเปนการกระทําผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ซึ่งบริษัทฯ ไดถูกเปรียบเทียบปรับในกรณี ดังกลาว พรอมทั้งมีการปรับปรุงแกไขและรายงานตอสํานักงาน ก.ล.ต. ไปเรียบรอยแลว
98
ทั้ ง นี้ ตามรายงานการประชุ ม ของคณะกรรมการตรวจสอบที ไ ด มี ก ารประชุ ม ในแต ละคราว ประจํ า ป 2557 คณะกรรมการตรวจสอบไดเห็นชอบรายงานการสอบทานการปฏิบัติงานตามประเด็น /ขอสังเกตขางตน ตามที่ฝายตรวจสอบ ภายในของบริษัท ฯ รายงานใหท ราบ และกํ าชับ ให ติดตามดู แล และตรวจสอบการปฏิบั ติงานของพนั กงานอยางตอเนื่อ ง เพื่อใหมีการปฏิบัติเปนไปตามประกาศหลักเกณฑของหนวยงานทางการและระเบียบบริษัทของบริษัทฯ ที่กําหนดไว 12.2 หัวหนางานตรวจสอบภายในและหัวหนางานกํากับดูแลการปฏิบัติงาน ฝายตรวจสอบภายในและกํากับดูแลของบริษัทฯ ทําหนาที่กํากับดูแลฝายงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับธุรกรรมตางๆ ของ บริษัทฯ ใหเปน ไปตามที่กฎหมายและนโยบายที่บ ริษัท ฯ กําหนด โดยรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบรวมถึงผูบ ริห าร ระดับสูงของบริษัทฯ และเปนที่ปรึกษาในเรื่องกฎระเบียบที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ ตามมติที่ป ระชุม คณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 12/2556 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2556 ไดแตงตั้งให นายไพรยง ธีระเสถียร เปนหัวหนาฝายตรวจสอบภายในและกํากับดูแลของ บริษัทฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวา นายไพรยง ธีระเสถียร มีคุณสมบัติเหมาะสมที่จะปฏิบัตหิ นาที่ดังกลาวได อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการแตงตั้ง ถอดถอน และโยกยายผูดํารงตําแหนงหัวหนางานตรวจสอบภายในและกํากับ ดูแลจะตอง ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการตรวจสอบ ปจจุบันบริษัทฯ มีพนักงานในฝายตรวจสอบภายในและกํากับดูแลรวมทั้งสิ้น 8 ทาน
99
13. รายการระหวางกัน
หมายเหตุ - มูลคาของรายการรายไดระหวางกันไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม - * การซื้อขาย T-FEX ในชอง Volume จะเปนจํานวนของสัญญา ไมไดนํามารวมในยอดรวม
100
รายละเอียดรายการระหวางกันของบริษัทฯ กับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนที่เกิดขึ้นในป ระหวางป 2557 บุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน
มูลคารายการ (บาท) ลักษณะรายการ
ยอดยกมา ณ 1 ม.ค. 57
ยอดคงเหลือ ณ 31 ธ.ค. 57
ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของ รายการระหวางกันตามความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
ดอกเบี้ยจาย
544.71
550.60
759,188.14
761,315.81
13,844.10
13,994.11
3,857,168.74
2,517.76
ดร.ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ
49,982.30
-
นางสาวอําพันธ แปงคํา
6,710.21
-
-
พล.ต.ต.วีรพงษ ชื่นภักดี
340.93
344.64
4.33
50,795.29
122.88
992.55
ม.ล. ศานติดิศ ดิศกุล
614.63
621.29
5.94
นายทอมมี่ เตชะอุบล
8,057.46
13,458.92
71,866.70
-
60.51
0.74
26,622.06
10,076,528.63
50,439.27
นายเบน เตชะอุบล นายบี เตชะอุบล นายสดาวุธ เตชะอุบล นางหลุยส ดิศกุล ณ อยุธยา
นายคชา ชื่นภักดี
นางจารุวัชร วาณิชเสนี บริษัท คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)
เงินฝากในนาม บริษัท เพื่อลูกคา
101
6.93 การเขาทํา รายการเปนไป เพื่อ การซื้อขายหลัก ทรัพ ย 6,638.52 ซึ่ ง เป น ไปตามการดํ า เนิ น งานตามปกติ ข องบริ ษั ท ฯ และมีการกําหนดอัตราราคาใหเปนไปตามอัตราราคา 179.04 ตลาด ดั ง นั้ น รายการดั ง กล า วจึ ง มี ค วามจํ า เป น และ 95,485.76 ความสมเหตุสมผล -
มูลคารายการ (บาท) บุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน
ลักษณะรายการ
กองทุนรวมทีบ่ ริหารโดย บริษัทรวม
เงินลงทุนสุทธิ
บริษัท คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)
ยอดยกมา ณ เพิ่มขึ้น ลดลง ยอดคงเหลือ ณ ดอกเบี้ย 1 ม.ค. 56 ระหวางงวด ระหวางงวด 31 ธ.ค. 56 รับ 556,063
99,845,902
-
100,401,965
-
76,395,664
-
76,395,664
มูลคารายการ (บาท) บุคคลที่อาจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน
ลักษณะรายการ
ยอดยกมา ณ เพิ่มขึ้น 1 ม.ค. 57 ระหวางงวด
กองทุนรวมที่บริหารโดย บริษัทรวม
เงินลงทุนสุทธิ
100,401,965
1,001,334
- 101,403,299
76,395,664
2,641,234
-
บริษัท คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน)
102
ลดลง ยอดคงเหลือ ดอกเบี้ย ระหวางงวด ณ 30 มิ.ย. 57 จาย
79,036,898
ความจําเปนและความ สมเหตุสมผลของ รายการระหวางกันตาม ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ - การเขาลงทุนดังกลาวเปนไปตาม การดํ า เนิ น งานตามปกติ ข อง - บริษัทฯ
ความจําเปนและความ สมเหตุสมผลของ รายการระหวางกันตาม ความเห็นของคณะกรรมการ ตรวจสอบ - การเขาลงทุนดังกลาวเปนไปตาม การดํ า เนิ น งานตามปกติ ข อง - บริษัทฯ
รายการอื่นๆ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน นายเบน เตชะอุบล
ลักษณะรายการ
12,479.59 174,944.02 1,343,181.95
นางหลุยส ดิศกุล ณ อยุธยา ดอกเบี้ยรับ นางสาวพิมพร วาณิชเสนี
ป 2556
คานายหนาซื้อขายหลักทรัพย
นายบี เตชะอุบล
261,934.31 8,124.57
คานายหนาซื้อขายหลักทรัพย
392,551.46
ดร.ประสิทธิ์ ศรีสุวรรณ
ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของ รายการระหวางกันตามความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
มูลคารายการ (บาท) ป 2557
218,066.51 การเข า ทํ า รายการเป น ไป เพื่ อ การซื้ อ ขาย 50.59 หลั ก ทรั พ ย ซึ่ ง เป น ไปตามการดํ า เนิ น งาน 202,961.17 ตามปกติ ข องบริษั ท ฯ และมี ก ารกํ า หนดอั ต รา ราคาให เ ป น ไปตามอั ต ราราคาตลาด ดั ง นั้ น 431.55 รายการดั ง กล า วจึ ง มี ค วามจํ า เป น และความ 670.28 สมเหตุสมผล -
83,733.36
4,464.06
2,653,907.27
5,001.12
18,530.00
-
3,163,657.86
-
555,297.41
7,505.41
16,419.10
-
นายไสว ชื่นภักดี
1,688.59
-
นายคชา ชื่นภักดี
9,083.82
48,518.90
นายครรชิต จุลจิราภรณ
1,379.23
284.87
นางสาวเบ็ญจมาศ แปงคํา นางสาวอําพันธ แปงคํา คานายหนาซื้อขายสัญญาซื้อขาย ลวงหนา ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยสุทธิ ดอกเบี้ยรับ นายนิกร แปงคํา
คานายหนาซื้อขายหลักทรัพย
103
รายการอื่นๆ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน บริษัท อีดีพี เอ็นเตอรไพรส จํากัด
ลักษณะรายการ คา ใช จา ยเกี่ย วกั บอาคาร สถานที่ และอุปกรณ
มูลคารายการ (บาท) ป 2556 1,210,337.34
โดยคิดอั ตราราคาอยู ที่ 341 บาท/ ตารางเมตร/เดื อ น รวมพื้ น ที่ เ ช า 302.66 ตารางเมตร บริษัท ซิงเสียนเยอะเปา จํากัด
คาใชจายอื่น
1,043,250.00
540,350 คาโฆษณา เพื่อการดําเนินงานปกติของบริษัทฯ และมีก ารกํา หนดอั ต ราราคาอ า งอิง ตามอั ต รา ราคาตลาด ดั ง นั้ น รายการดั ง กล า วจึ ง มี ค วาม จําเปนและความสมเหตุสมผล
48,150.00
101,650 คาโฆษณาคางจาย เปนไปตามการดําเนินงาน ปกติ ของบริษั ทฯ และมี การกํ าหนดอั ตราราคา ให เป นไปตามอัต ราราคาตลาด ดัง นั้น รายการ ดั ง ก ล า ว จึ ง มี ค ว า ม จํ า เ ป น แ ล ะ ค ว า ม สมเหตุสมผล
70,976,457.06
14,946,972.47 การเข า ทํ า รายการเป น ไป เพื่ อ การซื้ อ ขาย 138,460.67 หลั ก ทรั พ ย ซึ่ ง เป น ไปตามการดํ า เนิ น งาน ตามปกติ ข องบริษั ท ฯ และมี ก ารกํ า หนดอั ต รา ราคาให เ ป น ไปตามอั ต ราราคาตลาด ดั ง นั้ น
คาใชจายคางจาย
คานายหนาซื้อขายหลักทรัพย คานายหนาจากการเปนตัวแทนซื้อ ขายหนวยลงทุน
619,242.36 คาเชาโกดัง เพื่อใชในการดําเนินงานตามปกติ ของบริษัทฯ และมีการกําหนดอัตราราคาอางอิง ตามอัตราราคาตลาด ดังนั้นรายการดังกลาวจึง มีความจําเปนและความสมเหตุ สมผล
โดยมีอัตราราคาอยูที่ 70,000 บาท/เดือนสําหรับหนากระดาษ 4 สีขนาด 8x2 นิ้ว
บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย จั ด การกองทุ น เอ็ ม เอฟซี จํากัด (มหาชน)
ป 2557
ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของ รายการระหวางกันตามความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ
343,334.42
104
รายการอื่นๆ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน
ลักษณะรายการ
มูลคารายการ (บาท) ป 2556
ป 2557
ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของ รายการระหวางกันตามความเห็นของ คณะกรรมการตรวจสอบ รายการดั ง กล า วจึ ง มี ค วามจํ า เป น และความ สมเหตุสมผล
คาธรรมเนียมและบริการ
284,916.54
114,595.94 คาธรรมเนียมรับที่ปรึกษาการลงทุน เปนไปตาม การดําเนินงานตามปกติของบริษัทฯ และมีการ กํ า หนดอั ต ราราคาให เ ป น ไปตามอั ต ราราคา ตลาด ดังนั้ นรายการดังกลาวจึ งมีค วามจํ าเป น และความสมเหตุสมผล
คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นวาทุกรายการดังกลาวขางตน ใชนโยบายราคาและเงื่อนไขการกําหนดราคาระหวางกันเปนไปตามเงื่อนไข เชน เดียวกับธุรกิจปกติทั่วไป มี ความเหมาะสมและสมเหตุสมผล รวมทั้งมีการเปดเผยขอมูลที่เกี่ยวของไดถูกตองครบถวนตามหลักเกณฑที่ตลาดหลักทรัพยฯ กําหนด
105
14. ขอมูลทางการเงินทีส่ ําคัญ
งบการเงิน 14.1 ผูสอบบัญชี ป 2557 นายชวาลา เทียนประเสริฐกิจ ผูสอบบัญชีรับ อนุญาต เลขทะเบียน 4301 บริษทั ดีลอยท ทูช โธมัท สุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด 14.2 สรุปรายงานการตรวจสอบของผูสอบบัญชีของบริษทั แม และบริษทั ฯ ในระยะ 3 ปที่ผานมา ความเห็น ของผูสอบบัญชีของบริษทั ฯ ป 2557 ผูสอบบัญชีไดใหความเห็นในรายงานการตรวจสอบแบบไมมีเงื่อนไขแตมีวรรคเนน ป 2556 ผูสอบบัญชีไดใหความเห็นในรายงานการตรวจสอบแบบไมมีเงื่อนไขแตมีวรรคเนน ป 2555 ผูสอบบัญชีไดใหความเห็นในรายงานการตรวจสอบแบบไมมีเงื่อนไขแตมีวรรคเนน
106
ตารางงบการเงินของบริษทั ฯ
107
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และ 2555
สินทรัพย เงิ นสดและรายการเที ยบเท าเงินสด เงิ นฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยแ ละสัญญาซือ้ ขายลวงหนาสุท ธิ เงิ นลงทุน สุทธิ เงิ นลงทุน ในบริษัท รวมสุทธิ ที่ดิน อาคารและอุป กรณสุทธิ สินทรัพยไม มีตัวตนสุท ธิ สินทรัพยภาษี เงินไดรอการตั ดบัญชี สินทรัพยอื่นสุทธิ รวมสินทรัพย หนี้สินและสว นของเจ าของ หนี้สิน เจาหนี้สํานั กหั กบัญชี เจาหนี้ธุ รกิจหลักทรัพย หนี้ สินตราสารอนุพันธ ตราสารหนี้ ที่ออกและเงินกูยืมอื่น หนี้ สินตามสัญ ญาเชาการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชน ของพนัก งาน หนี้ สินอื่น รวมหนี้สิน สวนของเจาของ ทุนเรือนหุน ทุน จดทะเบียน หุ นสามัญ 2,589,743,484 หุน มูลคาหุ นละ 1.00 บาท หุ นสามัญ 3,189,785,935 หุน มูลคาหุ นละ 1.00 บาท หุ นสามัญ 3,149,549,316 หุน มูลคาหุ นละ 1.00 บาท ทุน ที่อ อกและเรียกชําระแลว หุ นสามัญ 2,589,743,484 หุน มูลคาหุ นละ 1.00 บาท หุ นสามัญ 2,330,759,812 หุน มูลคาหุ นละ 1.00 บาท สวนเกินมู ลคาหุน องคประกอบอืน่ ของสวนของเจาของ กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุ นสํารองตามกฎหมาย ยังไมไดจัดสรร รวมสวนของเจาของ
รวมหนี้สินและส วนของเจาของ
(หนวย : บาท)
2557 จํานวนเงิน
งบการเงินที่แ สดงเงิน ลงทุนตามวิธีสว นไดเสีย ณ วัน ที่ 31 ธั นวาคม 2556 2555 (ปรับปรุง ใหม) % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน %
1,144,607,815 269,310,000 32,189,616 2,304,223,685 975,606,502 546,612,943 152,259,533 98,225,958 107,331,535 127,419,856 5,757,787,443
19.88 4.68 0.56 40.02 16.94 9.49 2.64 1.72 1.86 2.21 100.00
1,073,087,608 569,310,000 442,940,349 1,531,023,127 237,449,760 340,153,559 186,622,547 96,575,450 143,055,030 127,887,922 4,748,105,352
22.60 11.99 9.33 32.25 5.00 7.16 3.93 2.04 3.01 2.69 100.00
1,443,205,116 106,380,455 252,466,917 2,755,683,095 37,998,384 314,181,134 203,343,149 88,402,206 141,456,906 121,300,068 5,464,417,430
26.41 1.95 4.62 50.43 0.70 5.75 3.72 1.62 2.59 2.21 100.00
187,679,778 1,846,213,834 3,110,971 44,045,050 188,342,967 2,269,392,600
3.26 32.06 0.05 0.77 3.27 39.41
25,096,463 1,129,699,869 57,273 3,428,712 46,864,861 165,355,749 1,370,502,927
0.53 23.79 0.07 0.99 3.48 28.86
186,522,483 1,624,143,954 456,765 338,911,299 5,422,380 39,664,089 195,176,462 2,390,297,432
3.41 29.72 0.01 6.20 0.10 0.73 3.57 43.74
2,589,743,484
3,189,785,935
3,149,549,316
2,589,743,484
44.98
2,589,743,484
54.54
139,078,735 (5,170,661)
2.42 (0.09)
139,078,735 (8,940,060)
2.93 (0.18)
2,330,759,812 139,318,081 3,712,491
42.65 2.55 0.07
75,408,087 689,335,198 3,488,394,843 5,757,787,443
1.31 11.97 60.59 100.00
55,574,679 602,145,587 3,377,602,425 4,748,105,352
1.17 12.68 71.14 100.00
39,853,695 560,475,919 3,074,119,998 5,464,417,430
0.73 10.26 56.26 100.00
108
บริ ษัทหลัก ทรั พย คั นทรี่ กรุ ป จํากัด (มหาชน) งบกํา ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรั บแตละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และ 2555
รายได คานายหนา คาธรรมเนียมและบริการ กําไรจากเงินลงทุ น กําไรจากตราสารอนุพันธ สวนแบงกําไรจากเงิน ลงทุนตามวิธีสวนไดเ สีย ดอกเบีย้ และเงิน ปนผล ดอกเบีย้ เงินใหกูยืมเพื่อ ซื้อ หลักทรัพย รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุ นทางการเงิ น คาธรรมเนียมและบริการจ าย คาใชจายในการดําเนิ นงาน คาใชจายเกี่ยวกับพนั กงาน คาใชจายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่ และอุปกรณ คาตอบแทนกรรมการ คาใชจายอื่น หนี้สูญ และหนี้ สงสัยจะสูญ (โอนกลับ ) รวมคาใชจ าย กําไรสุทธิกอ นภาษี เงินได ภาษีเ งินได กําไรสุทธิ กําไร (ขาดทุน) เบ็ด เสร็จอืน่ กําไรสุทธิ กําไร (ขาดทุ น) เบ็ดเสร็จ อืน่ กําไร (ขาดทุ น) จากการวัดมูลคาเงิ นลงทุน เผื่อ ขาย ปรับปรุงสวนเกินทุนจากการวัดมู ลคาเงิน ลงทุน เผือ่ ขายที่ข ายระหวางป กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชน พนั กงาน ภาษี เงินไดเกี่ยวกับองคประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสุทธิ กําไรเบ็ดเสร็ จรวม กําไรตอหุนขั้ นพื้นฐาน (บาท) จํานวนหุนสามัญ ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก
(หนวย : บาท)
2557 จํานวนเงิน
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธี สว นไดเสีย สําหรับปสิ้นสุด วัน ที่ 31 ธันวาคม 2556 2555 (ปรับปรุ งใหม) % จํานวนเงิน % จํานวนเงิน %
1,024,704,552 61,716,999 99,042,759 3,162,726 60,406,932 68,289,745 45,069,986 237,975,720 1,600,369,419
64.03 3.86 6.19 0.20 3.77 4.27 2.81 14.87 100.00
1,695,680,086 39,588,808 66,150,446 19,723,499 86,424,302 90,959,489 56,604,590 13,707,904 2,068,839,124
81.96 1.91 3.20 0.95 4.18 4.40 2.74 0.66 100.00
1,269,677,471 18,776,393 80,900,069 20,810,298 50,793,506 85,101,807 74,110,923 15,108,743 1,615,279,210
78.60 1.16 5.01 1.29 3.14 5.27 4.59 0.94 100.00
21,075,886 105,938,478
1.32 6.62
53,583,831 156,610,947
2.59 7.57
42,571,603 122,168,959
2.64 7.56
690,507,227 170,039,332 11,365,000 133,877,698 2,874,350 1,135,677,971 464,691,448 (79,739,855) 384,951,593
43.15 10.62 0.71 8.36 0.18 70.96 29.04 (4.98) 24.05
1,072,167,248 194,926,006 11,145,000 144,756,121 15,931,601 1,649,120,754 419,718,370 (74,904,818) 344,813,552
51.82 9.42 0.54 7.00 0.77 79.71 20.29 (3.62) 16.67
850,379,711 192,260,120 11,255,000 132,697,931 (63,769,192) 1,287,564,132 327,715,078 (67,326,502) 260,388,576
52.65 11.90 0.70 8.22 (3.95) 79.71 20.29 (4.17) 16.12
384,951,593
24.05
344,813,552
16.67
260,388,576
16.12
4,040,613
0.25
(15,815,602)
(0.76)
4,421,325
0.27
891,137
0.06
-
-
(24,391,430)
(1.51)
8,626,069
0.54
-
-
7,365,728
0.46
(2,887,565) 10,670,254 395,621,847 0.149 2,589,743,484
(0.18) 0.67 24.72
3,230,654 (9,373,723) 251,014,853 0.112 2,330,759,812
0.20 (0.58) 15.54
109
3,163,051 (12,652,551) 332,161,001 0.138 2,491,133,102
0.15 (0.61) 16.06
บริ ษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสว นของเจาของ สําหรับป สนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 (หน วย : บาท) ทุนที่อ อก และเรียกชําระแลว
สว นเกิน มูลคาหุน
งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย องคป ระกอบอื่นของ กําไรสะสม สว นของเจาของ จัดสรรแลว ยั งไมไดจัดสรร สว นเกิน (ต่ํา) กวาทุน ทุนสํารอง จากการวัด ตามกฎหมาย มูลคาเงินลงทุน 3,712,491 39,853,695 560,475,919
รวม สวนของเจาของ
ยอดคงเหลือ ณ วัน ที่ 1 มกราคม 2556 การเปลี่ยนแปลงในระหวางป เพิ่มทุ น สวนต่ํากวามูลคาหุน เงิ นปน ผลจาย กําไร (ขาดทุ น) เบ็ดเสร็จรวม ทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556
2,330,759,812
139,318,081
258,983,672 2,589,743,484
(239,346) 139,078,735
(12,652,551) (8,940,060)
15,720,984 55,574,679
(287,422,900) 344,813,552 (15,720,984) 602,145,587
258,983,672 (239,346) (287,422,900) 332,161,001 3,377,602,425
ยอดคงเหลือ ณ วัน ที่ 1 มกราคม 2557 การเปลี่ยนแปลงในระหวางป เงิ นปน ผลจาย กําไร (ขาดทุ น) เบ็ดเสร็จรวม ทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557
2,589,743,484
139,078,735
(8,940,060)
55,574,679
602,145,587
3,377,602,425
2,589,743,484
139,078,735
3,769,399 (5,170,661)
19,833,408 75,408,087
(284,829,429) 391,852,448 (19,833,408) 689,335,198
(284,829,429) 395,621,847 3,488,394,843
110
3,074,119,998
บริษทั หลักทรัพ ย คันทรี่ กรุป จํา กัด (มหาชน) งบกระแสเงิ นสด สําหรับแต ละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และ 2555 หน วย : บาท งบการเงินทีแ่ สดงเงิ นลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย 2557 กระแสเงิ นสดจากกิจกรรมดํา เนินงาน กําไรกอนภาษี เงิ นได ปรับปรุงดวย คาเสื่อ มราคาและคาตัด จํา หนา ย หนี้ สูญและหนี้ สงสัย จะสู ญ (โอนกลับ ) กําไรที่ยั งไม เกิดขึ้ นจากการวัด มูลคาเงิน ลงทุน เพื่อ คา ขาดทุ นที่ยั งไมเกิด ขึ้ นจากการวัดมูล คา หนี้สิ นตราสารอนุพั น ธ กําไรจากการขายเงินลงทุ นเพื่ อคา ขาดทุ น (กําไร) จากการขายเงินลงทุนเผื่ อขาย โอนกลับคา เผื่อการดอ ยคาของเงิน ลงทุน ในบริ ษทั รวม ขาดทุ น (กําไร) จากการขายและตัดจํา หนายอาคาร และอุป กรณ และสิน ทรัพ ยไมมี ตวั ตน สวนแบงกําไรจากเงินลงทุ นตามวิธี สวนไดเสีย คาใชจ ายผลประโยชนของพนั ก งาน ตนทุน ทางการเงิน รายไดดอกเบี้ ยและเงิน ปน ผล เงินสดรั บจากดอกเบี้ ย เงินสดจ ายดอกเบี้ ย เงินสดจ ายภาษีเงินได กําไรจากการดํา เนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพ ยแ ละหนี้สินดําเนินงาน สิ นทรัพยดําเนิน งาน (เพิ่ มขึ้ น) ลดลง เงินฝากในสถาบัน การเงิน ลูก หนี้ สํานั กหั กบั ญชี ลูก หนี้ ธุรกิจ หลักทรั พย และสั ญญาซื้ อขายลว งหนา เงินสดจ ายซื้อเงินลงทุนเพื่อคา เงินสดรั บจากการขายเงินลงทุ นเพื่ อคา สิน ทรัพยอื่น สุท ธิ เงินสดรั บจากการขอคืน ภาษีเงินได
2556
2555 (ปรับปรุงใหม)
464,691,448
419,718,370
327,715,078
57,724,619 2,874,350 (10,542,265) 25 (75,206,834) (13,293,660) (205,589,985)
64,047,127 15,931,601 (78,923) 85,797 (66,072,048) 525 -
68,179,653 (63,769,192) (412,229) 246,439 (46,283,505) (34,204,335) -
(3,220,940) (60,406,932) 9,977,897 21,075,886 (113,359,731) 99,583,043 (21,075,886) (4,463,410)
3,032,653 (86,424,302) 12,465,402 53,583,831 (147,564,079) 135,939,639 (53,310,198) (89,950,487)
2,542,546 (50,793,506) 13,304,823 42,571,603 (159,212,730) 139,968,975 (42,845,236) (2,090,738)
148,767,625
261,404,908
194,917,646
300,000,000 (462,929,545) (768,716) 410,750,733 (190,473,432) (33,350,927) (776,074,908) 1,208,591,250 (1,722,209,708) (83,256,941,378) (64,394,949,930) (57,593,292,933) 82,654,660,573 64,474,955,300 57,680,735,107 (211,699) 97,868,654 (2,991,375) 1,573,463 1,066,469
111
บริษทั หลักทรัพ ย คันทรี่ กรุป จํา กัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับแต ละปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 และ 2555 หนวย : บาท งบการเงินทีแ่ สดงเงิ นลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย 2557 กระแสเงิ นสดจากกิจกรรมดํา เนินงาน (ตอ) หนี้สิ นดําเนิ นงานเพิ่มขึ้ น (ลดลง) เจ าหนี้ สํานั กหั กบั ญชี เจ าหนี้ ธุรกิจหลั กทรั พย หนี้ สินตราสารอนุ พัน ธ ภาระผูก พัน ผลประโยชน ของพนั กงาน หนี้ สินอื่ น เงินสดสุทธิ ได มาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดํา เนินงาน กระแสเงิ นสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจ ายซื้อเงินลงทุนเผื่อขาย เงินสดรั บจากการขายเงินลงทุ นเผื่ อขาย เงินสดจ ายซื้อเงินลงทุนทั่ วไป เงินสดจ ายซื้อตั๋วแลกเงิน เงินสดรั บจากตัว๋ แลกเงิน เงินสดรั บจากเงิน ปน ผลของเงินลงทุนในหลั กทรั พย เงินสดรั บจากเงิน ปน ผลของเงินลงทุนในบริษัทร วม เงินสดจ ายซื้ออาคารและอุปกรณ และสิ นทรัพย ไมมีตัวตน เงินสดรั บจากการขายอาคารและอุ ปกรณ และสิ นทรั พย ไมมีตัวตน เงินสดสุทธิ ได มาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงิ นสดจากกิจกรรมจัด หาเงิ น เงินสดรั บจากตราสารหนี้ ที่ออกและเงินกูยืมอื่น เงินสดจ ายชําระตราสารหนี้ที่ ออกและเงิน กูยืมอื่น เงินสดจ ายชําระหนี้สิ นตามสั ญญาเชา การเงิน เงินสดรั บจากการเพิ่ม ทุน เงินปน ผลจ าย เงินสดสุทธิ ได มาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัด หาเงิน เงิน สดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่ม ขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงิน สดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วัน ที่ 1 มกราคม เงิ นสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธั นวาคม
2555 (ปรับปรุงใหม)
162,583,315 716,513,965 (57,298) (4,171,639) (15,483,885) 340,335,404
(161,426,020) (494,444,085) (485,289) (5,264,630) (104,562,933) 229,857,711
151,081,040 994,779,925 (2,276,463) (11,445,130) 34,265,887 (309,489,178)
(207,737,627) 80,423,862 80,000,000 (9,850) 10,399,375 74,758,750 (38,601,308)
(140,707,432) 1,018 (150,965,817) 80,000,000 249,464 50,835,950 (60,307,202)
(117,000,000) 444,334,905 3,866,346 73,216,000 (77,792,648)
17,262,878 16,496,080
2,227,523 (218,666,496)
39,252 326,663,855
(481,848) (284,829,429) (285,311,277)
364,550,018 (715,000,000) (2,180,166) 67,111 (28,745,686) (381,308,723)
678,870,140 (350,000,000) (32,643,644) (205,077,188) 91,149,308
(370,117,508) 1,443,205,116 1,073,087,608
108,323,985 1,334,881,131 1,443,205,116
71,520,207 1,073,087,608 1,144,607,815
112
2556
อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย สําหรับปสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557
อัตราสวนแสดงความสามารถในการทํากําไร (Profitability Ratio) อัตรากําไรขั้นตน (%) อัตรากําไร(ขาดทุน) สุทธิ (%) อัตราผลตอบแทนผูถือหุน (%) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (%)
2556
2555 (ปรับปรุงใหม)
90.24 24.05 11.21 14.33
89.32 16.67 10.69 23.73
89.37 16.12 8.53 19.44
7.33 0.30
6.75 0.41
5.55 0.34
* * 39.94 79.10 0.65 60.06
* * 37.70 67.55 0.41 82.62
4.31 11.12 26.73 68.97 0.78 107.13
29.43 88.00
17.34 242.05
12.38 106.20
0.149 0.092 1.35
0.138 0.11 1.30
0.112 0.1233333333 1.32
21.26 65.59 (33.87) (29.32) 11.64
(13.11) (42.66) 27.06 19.92 32.42
39.64 170.09 4.40 1.27 2.33***
อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratio) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย (%) อัตราการหมุนของสินทรัพย (เทา)
อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Ratio) อัตราสวนสินทรัพยสภาพคลองตอเงินกู (เทา) อัตราสวนสินทรัพยกอรายไดตอเงินกู (เทา) อัตราสวนสินทรัพยคลองตัวตอสินทรัพยรวม (%) อัตราสวนสินทรัพยกอรายไดตอสินทรัพยรวม (%) อัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของ (เทา) อัตราการจายเงินปนผล (%)
อัตราสวนอื่น อัตราสวนเงินลงทุนในหลักทรัพยตอสินทรัพย (%) เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิ (%)
ขอมูลตอหุน กําไร (ขาดทุน) สุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน ** (บาท) เงินปนผลตอหุน (บาท) มูลคาตามบัญชีตอหุน (บาท)
อัตราการเจริญเติบโต สินทรัพยรวม (%) หนี้สินรวม (%) รายไดธุรกิจหลักทรัพย (%) คาใชจายดําเนินงาน (%) กําไร (ขาดทุน) สุทธิ (%)
113
หมายเหตุ : - บริษัทไดนํานโยบายการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีมาใชเปนครั้งแรกสําหรับงบการเงินป 2556 โดยถือปฏิบัติตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง “ภาษีเงิ นได ” ดังนั้นข อมูลในงบการเงิ นสําหรับป สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธั นวาคม 2555 ที่ นํามา เปรียบเทียบจึงเป นข อมู ลที่ จัดทําขึ้ นตามนโยบายการบัญชีใหม โดยผลสะสมจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบั ญชี ตองบ การเงิน มีดังตอไปนี้
งบแสดงฐานะการเงิน หนวย : บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555
สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ยอดคงเหลือกอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเพิ่มขึ้นของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ยอดคงเหลือหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
141,456,906 141,456,906
องคประกอบอื่นของสวนของเจาของ ยอดคงเหลือกอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การลดลงของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ยอดคงเหลือหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
4,420,527 (708,036) 3,712,491
กําไรสะสม - ยังไมไดจัดสรร ยอดคงเหลือกอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเพิ่มขึ้นของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การเพิ่มขึ้นของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของบริษัทรวม ยอดคงเหลือหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
114
418,018,865 141,451,131 1,005,923 560,475,919
งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ หนวย : บาท สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2555
ภาษีเงินได ภาษีเงินไดกอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเพิ่มขึ้นของภาษีเงินได ภาษีเงินไดหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
15,003,795 52,322,707 67,326,502
ภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นกอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การเพิ่มขึ้นของภาษีเงินไดเกี่ยวกับ องคประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น ภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
3,230,654 3,230,654
กําไรสุทธิ กําไรสุทธิกอนการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี การลดลงของกําไรสุทธิ กําไรสุทธิหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชี
312,318,441 (51,929,865) 260,388,576
กําไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐานกอนการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี การลดลงของกําไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิตอหุนขั้นพื้นฐานหลังการเปลี่ยนแปลง นโยบายการบัญชี
0.134 (0.022) 0.112
* ไมสามารถคํานวณได เนื่องจากบริษัทฯ ไมมีเงินกูยืม ** ถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก *** กําไรสุทธิสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ที่นํามาคํานวณอัตราการเจริญเติบโตของกําไรสุทธิป 2555 ไมไดถูก จัดทําขึ้นตามนโยบายการบัญชีใหม
115
14. การวิเคราะหคําอธิบายของฝายจัดการ ภาพรวมของการดําเนินธุรกิจและผลการดําเนินงาน บริษัท หลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) มีผลการดําเนินงานตามงบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนได เสียสําหรับปสิ้น สุดวันที่ 31 ธัน วาคม 2557 เปนกําไรสุท ธิจํานวน 384.95 ลานบาท เพิ่มขึ้น 40.14 ลานบาท หรือรอ ยละ 11.64 เมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปกอนที่มีกําไรสุทธิจํานวน 344.81 ลานบาท โดย ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 บริษัท มีกําไรสะสมจํานวน 764.74 ลานบาท ดังรายละเอียดตอไปนี้ รายไดรวม สําหรับ ปสิ้น สุดวัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัท ฯ มีร ายไดร วมจํานวน 1,600.37 ลานบาท ลดลง 468.47 ลานบาท หรือรอยละ 22.64 เมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปกอนที่จํานวน 2,068.84 ลานบาท เปน ผลมา จากในป 2557 บริษัทฯ มีรายละเอียดของรายไดแตละประเภท สรุปไดดังนี้ หนวย : บาท
รายไดธุรกิจหลักทรัพย รายไดคานายหนา รายไดคาธรรมเนียมและบริการ กําไรจากเงินลงทุน กําไรจากตราสารอนุพันธ รายไดจากดอกเบี้ยและเงินปนผล รายไดจากดอกเบี้ยเงินใหกูยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย รวมรายไดธุรกิจหลักทรัพ ย
สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 1,024,704,552 61,716,999 99,042,759 3,162,726 68,289,745 45,069,986 1,301,986,767
2556 1,695,680,086 39,588,808 66,150,446 19,723,499 90,959,489 56,604,590 1,968,706,918
2555 1,269,677,471 18,776,393 80,900,069 20,810,298 85,101,807 74,110,923 1,549,376,961
1. รายไดธุรกิจหลักทรัพยรวม จํานวน 1,301.99 ลานบาท ลดลง 666.72 ลานบาทหรือรอยละ 33.87 เมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปกอนที่จํานวน 1,968.71 ลานบาท โดยเปนผลมาจาก 1.1 รายได คา นายหน า 1,024.70 ล านบาท ลดลง 670.98 ล านบาท หรื อ รอ ยละ 39.57 เมื่ อ เปรีย บเทียบกั บ งวดเดีย วกั น ของป กอ นที่ 1,695.68 ลานบาท สวนใหญ เ นื่อ งมาจากปริ ม าณการซื้ อ ขาย หลั กทรั พยข องลูกค าลดลง ซึ่ งเป น ไปตามปริ มาณการซื้อ ขายหลัก ทรั พย ข องตลาดหลั กทรัพ ย ฯ ที่ล ดลง ประกอบกับ มีผูบริห ารระดับ สูงและเจาหนาที่การตลาดของบริษัทฯ จํานวนหนึ่งลาออก 1.2 คาธรรมเนียมและบริการจํานวน 61.72 ลานบาท เพิ่มขึ้น 22.13 ลานบาท หรือรอ ยละ 55.90 เมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปกอนที่จํานวน 39.59 ลานบาท เนื่องมาจากรายไดคาธรรมเนียมจากการ จัดจําหนายหลักทรัพยเพิ่มขึ้นจํานวน 8.55 ลานบาท รายไดคาธรรมเนียมการเปนที่ปรึกษาการเงิน และบริการ อื่นๆ เพิ่มขึ้นจํานวน 14.24 ลานบาท ในขณะที่รายไดคาธรรมเนียมการเปน ที่ป รึกษาการลงทุน ลดลงจํานวน 0.66 ลานบาท 1.3 กําไรจากเงิน ลงทุนและตราสารอนุพัน ธจํานวน 102.20 ลานบาท เพิ่มขึ้น 16.33 ลานบาท หรือ รอยละ 19.02 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกัน ของปกอนที่จํานวน 85.87 ลานบาท สวนใหญเปน ผลมาจาก 116
กําไรจากการซื้อขายหลักทรัพยเพิ่มขึ้น 22.43 ลานบาท กําไรจากการวัดมูลคาเงิน ลงทุนเพื่อคาเพิ่มขึ้น 10.46 ลานบาท ในขณะที่กําไรจากตราสารอนุพัน ธลดลงจํานวน 16.56 ลานบาท 1.4 รายไดดอกเบี้ยรับและเงิน ปน ผลจํานวน 68.29 ลานบาท ลดลง 22.67 ลานบาท หรือ รอ ยละ 24.92 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกันของปกอนที่จํานวน 90.96 ลานบาท สวนใหญเนื่องมาจากดอกเบี้ยรับ จากเงิน ฝากสถาบัน การเงิน ลดลง 35.40 ลานบาทจากอัตราดอกเบี้ยในตลาดโดยเฉลี่ยที่ลดลง ในขณะที่เ งิน ปน ผลรับเพิ่มขึ้น 10.15 ลานบาท 1.5 ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมเพื่อซื้อหลักทรัพยจํานวน 45.07 ลานบาท ลดลง 11.53 ลานบาท หรือ รอย ละ 20.37 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกัน ของปกอ นที่จํานวน 56.60 ลานบาท จากยอดเงิน ใหกูยืมเพื่อ ซื้อ หลักทรัพยโดยเฉลี่ยที่ลดลง 2. สวนแบงกําไรจากเงินลงทุน ในบริษัทรวม จํานวน 60.41 ลานบาทลดลง 26.01 ลานบาท หรือ รอยละ 30.10 เมื่อเปรียบเทียบกับงวดเดียวกัน ของปกอนที่จํานวน 86.42 ลานบาท 3. รายไดอ ื่ น จํ านวน 237.98 ล านบาท เพิ่ ม ขึ้ น 224.27 ล า นบาท หรื อ ร อ ยละ 1,635.81 เมื่ อ เปรียบเทียบกับงวดเดียวกัน ของปกอนที่จํานวน 13.71 ลานบาท สวนใหญเปนผลมาจากบริษัท ฯ ไดโอนกลับ คาเผื่อการดอยคาเงินลงทุนในบริษัทรวมจํานวน 205.59 ลานบาทเปน รายได เนื่อ งจากมูลคายุติธรรมของ บริษัทรวมสูงกวามูลคาตามบัญชี และการไดรับ เงิน คืน จากเงินสมทบและผลประโยชนท ี่สมาชิกกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพไมมีสิท ธิ์ไดรับจากการที่มีผูบ ริหารระดับสูงและเจาหนาที่ของบริษัทฯจํานวนหนึ่งลาออก คาใชจายรวม สําหรับปสิ้น สุดวันที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัทฯ มีคาใชจายรวมจํานวน1,135.68 ลานบาท ลดลง 513.44 ลานบาท หรือรอยละ 31.13 เมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปกอนที่จํานวน 1,649.12 ลานบาท สวนใหญเปน ผลมาจาก 1. ตน ทุนทางการเงิน จํานวน 21.08 ลานบาท ลดลง 32.50 ลานบาท หรือรอ ยละ 60.66 เมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกัน ของปกอนที่จํานวน 53.58 ลานบาท เนื่องจากดอกเบี้ยจายใหแ กเ งิน ฝากหลักประกัน ของลูกคา ลดลงตามปริมาณเงินฝากของลูกคาและอัตราดอกเบี้ยโดยเฉลี่ยที่ลดลง และดอกเบี้ยจาย-ตั๋วแลกเงิน และเงิน กูยืมจากสถาบัน การเงิน ลดลงตามยอดตราสารหนี้ท ี่ออกและเงินกูยืมที่ลดลง 2. คาธรรมเนียมและบริการจาย จํานวน 105.94 ลานบาท ลดลง 50.67 ลานบาท หรือ รอยละ 32.35 เมื่อ เปรี ย บเที ยบกั บ งวดเดี ยวกั น ของปกอ นที่จํ า นวน 156.61 ล า นบาท ซึ่ ง แปรผั น ตามปริ ม าณการซื้ อ ขาย หลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาที่ลดลง
117
3. คาใชจายในการดําเนินงาน จํานวน 1,005.79 ลานบาท ลดลง 417.20 ลานบาท หรือ รอยละ 29.32 เมื่อ เปรียบเทียบกับ งวดเดียวกัน ของปกอนที่จํานวน 1,422.99 ลานบาท สวนใหญลดลงจากคาใชจายเกี่ยวกับ พนักงานเนื่องจากคาใชจายที่แปรผันตามปริมาณการซื้อขายหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาลดลง เชน คาตอบแทนเจาหน าที่การตลาด และสวนแบงกําไรจากการบริ หารทีมค าหลักทรัพย/สํานักงานสาขา เปน ต น นอกจากนี้คาใชจายในการดําเนิ น งานยังลดลง เนื่อ งจากสํานักงานสาขาลดลงและผู บ ริห ารระดับ สูง และ เจาหนาที่การตลาดจํานวนหนึ่งลาออก จึงทําใหค าใชจายที่เ กี่ยวขอ ง เชน เงิ น เดือ น โบนัส และคาใชจา ย เกี่ยวกับ อาคาร สถานที่ และอุปกรณ เปน ตน ลดลงดวย 4. หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ จํานวน 2.87 ลานบาท สวนใหญเกิดจากหลักประกัน ของลูกหนี้รายเดิมมีมูลคา ลดลง โดยสรุป ผลกําไรสุท ธิ ตามงบการเงิน ที่แ สดงเงิน ลงทุน ตามวิ ธีสวนไดเ สียสํ าหรับ ปสิ้น สุดวัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัท ฯ มีกําไรสุท ธิจํานวน 384.95 ลานบาท (คิดเปน กําไรตอหุนเทากับ 0.149 บาท) เพิ่มขึ้น 40.14 ลานบาท หรือ รอยละ 11.64 เมื่อเปรียบเทียบกับ งวดเดียวกันของปกอนที่มีกําไรสุท ธิจํานวน 344.81 ลานบาท (คิดเปนกําไรตอหุน เทากับ 0.138 บาท) และบริษัทฯ มีอัตรากําไรสุทธิเทากับ รอยละ 24.05 ปรับ ตัวดีขึ้น กวางวดเดียวกัน ของปกอนที่มีอัตรากําไรสุท ธิ เทากับรอยละ 16.67 เนื่องจากในป 2557 บริษัท ฯ มีคาใชจายรวมลดลง 513.44 ลานบาทหรือ รอยละ 31.13 ในขณะที่ บริษัท ฯ มีรายไดรวมลดลงเพียง 468.47 ลานบาทหรือรอยละ 22.64 จึงทําใหกําไรสุท ธิข องบริษัท ฯ ปรับ ตัวเพิ่ม ขึ้น สงผล ใหอัตราผลตอบแทนผูถือหุนเพิ่มขึ้นจากรอยละ 10.69 ในป 2556 เปนรอยละ 11.21 ในป 2557 การวิเคราะหฐานะการเงินของบริษทั ฯ สินทรัพย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มีสินทรัพยรวมทั้งสิ้น จํานวน 5,757.79 ลานบาท เพิ่มขึ้น 1,009.68 ลานบาท หรือรอยละ 21.26 เมื่อเปรียบเทียบกับ สิ้น ปกอนที่มีสิน ทรัพยรวมจํานวน 4,748.11 ลานบาท โดยสินทรัพยของบริษทั ฯ เปน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดรอยละ 19.88 เงินฝากในสถาบันการเงินรอยละ 4.68 ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญา ซื้อขายล วงหนาสุท ธิรอ ยละ 40.02 เงิน ลงทุน สุท ธิรอยละ 16.94 เงิน ลงทุน ในบริษัท รวมรอ ยละ 9.49 ที่ ดิน อาคารและ อุปกรณรอยละ 2.64 และสวนที่เหลือประมาณรอยละ 6.35 เปนลูกหนี้สํานักหักบัญชี สิน ทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยภาษีเงิน ไดรอการตัดบัญชีและสินทรัพยอื่นๆ การเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยที่สําคัญ สรุปไดดังนี้ 1. เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและเงินฝากในสถาบันการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจํานวน 1,413.92 ลานบาท ลดลง 228.48 ลานบาทหรือรอยละ 13.91 เมื่อเปรียบเทียบกับสิ้นปกอนที่จํานวน 1,642.40 ลานบาท ซึ่ง โดยสวนใหญเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดและเงินฝากในสถาบันการเงินของบริษัทฯ จะอยูในรูปเงินฝาก เงินใหกยู มื ระยะ สั้นกับสถาบันการเงิน เงิน ฝากประจําและบัตรเงิน ฝาก เพื่อใหมีความคลองตัวในการนํามาใชเปนเงิน ทุน หมุน เวียนสําหรับ ชํา ระค าซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ยแ ละสั ญ ญาซื้ อ ขายลว งหน า สนั บ สนุน ธุ ร กรรมการใหกูยื ม เงิ น เพื่ อ ซื้ อ หลัก ทรั พ ยแ ละการ ดําเนินงานประจําวัน 2. ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจํานวน 32.19 ลานบาท ลดลง 410.75 ลานบาทหรือรอยละ 92.73 เมื่อเปรียบเทียบกับสิ้นปกอนที่จํานวน 442.94 ลานบาท ซึ่งลูกหนี้สํานักหักบัญชีนี้มีความสัม พัน ธโดยตรงกับ มูลคา การซื้อขายหลักทรัพยของลูกคาและของบัญชีบ ริษัทฯ ในชวง 3 วันทําการสุดทายกอนสิ้นป 118
3. ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจํานวน 2,304.22 ลานบาท เพิ่มขึ้น 773.20 ลานบาทหรือรอยละ 50.50 เมื่อเปรียบเทียบกับสิ้นปกอนที่จํานวน 1,531.02 ลานบาท โดยสวนใหญ เปนการเพิ่มขึ้นจากลูกหนี้ซื้อหลักทรัพยดวยเงิน สดจํานวน 739.89 ลานบาท ซึ่งลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพ ยน ี้มีความสัมพัน ธ โดยตรงกับมูลคาการซื้อขายหลักทรัพยของลูกคาในชวง 3 วัน ทําการสุดทายกอนสิ้นป สําหรับ นโยบายในการตั้งคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ บริษัท ฯ มีน โยบายในการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โดยการ ประเมิน ฐานะลูกหนี้แตละราย ซึ่งการประเมิน นี้รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยงในการเรียกชําระและมูลคาของหลักประกัน ที่ใชค้ําประกัน บริษัท ฯ ตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเมื่อหนี้นั้น มีห ลักประกัน ไมเพียงพอ หรือมีโอกาสที่ลูกหนี้จะชําระเงิน ตน และดอกเบี้ ยคื น ไมค รบจํา นวน ทั้ งนี้ ยั งได ปฏิ บ ั ติ การจั ดชั้ น หนี้ ตามหลั กเกณฑ ที่ กํ าหนดไว ในประกาศของสํ านั กงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่ กธ. 33/2543 ลงวัน ที่ 25 สิงหาคม 2543 และ กธ. 5/2544 ลงวัน ที่ 15 กุมภาพัน ธ 2544 บริษัท ฯ ไดตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับ มูลหนี้ที่จัดชั้นสงสัยจะสูญทั้งจํานวนแลว โดย ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 มีรายละเอียดดังนี้ ระยะเวลาคางชําระ
บัญชีเงินสด 1- 3 เดือน > 3 < = 6 เดือน > 6 < = 12 เดือน > 12 < = 24 เดือน มากกวา 24 เดือน รวม ลูกหนี้อื่น 1- 3 เดือน > 3 < = 6 เดือน > 6 < = 12 เดือน > 12 < = 24 เดือน มากกวา 24 เดือน รวม รวมทั้งสิน้
จํานวน
ยอดหนี้
มูลคา หลักประกัน (ลานบาท)
มูลหนี้สุทธิ (ลานบาท)
สํารองหนี้ สงสัยจะสูญ (ลานบาท)
-
-
0.06 13.54
0.06 13.54
13.60
13.60
0.73
0.73
341.50 342.23 355.83
341.50 342.23 355.83
(ราย)
(ลานบาท)
-
-
1 38
0.06 13.54
-
39
13.60
-
2
0.73
9 11 50
383.65 384.38 397.98
-
42.15 42.15 42.15
ผลการติดตาม
อยูระหวางการติดตาม 26 รายอยูระหวางการติดตามและ 12 รายอยูระหวางดําเนินคดี
อยูระหวางการติดตาม
อยูระหวางดําเนินคดี
4. เงินลงทุนสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีจํานวน 975.61 ลานบาท เพิ่มขึ้น 738.16 ลานบาทหรือรอยละ 310.87 เมื่อเปรียบเทียบกับสิ้นปกอนที่จํานวน 237.45 ลานบาท เนื่องจากบริษัทฯ มีการลงทุนในตราสารหนี้เพิ่มขึ้น 683.15 ลานบาทซึ่งเปนเงินลงทุนเพื่อคา ลงทุนในเงินลงทุนเผื่อขายซึ่งเปนหลักทรัพยจดทะเบียนเพิ่มขึ้น 130.08 ลานบาท ในขณะที่ ลงทุนในตั๋วแลกเงินระยะสั้นลดลง 76.40 ลานบาท โดยเงินลงทุน นี้เปนเงิน ลงทุนเพื่อคารอยละ 70.64 เงิน ลงทุนเผื่อขายรอย 119
ละ 27.26 และเงินลงทุนทั่วไปรอยละ 2.10 ซึ่งสวนใหญของเงินลงทุน จะเปน หลักทรัพยจดทะเบียน ตราสารหนี้และหนวย ลงทุนที่อยูในความตองการของตลาด ทั้งนี้ เงิน ลงทุน ที่อ ยูในรูป เงิน ลงทุน ในหลักทรัพยนั้น บริษัท ยอ ยไดจัดใหมีคณะกรรมการการลงทุน ดูแ ลการ ลงทุนในหลักทรัพยเพื่อบัญชีบริษัทฯ ซึ่งทําหนาที่ในการกําหนดแนวทางการลงทุนอยางรอบคอบ พรอมทั้งบริษัท ฯไดรับรูคา เผื่อการปรับมูลคาและคาเผื่อการดอยคาไวครบถวนตามมาตรฐานบัญชี และประกาศของสํานักงาน ก.ล.ต. 5. ที่ดิน อาคารและอุป กรณ และสินทรัพยไมมีตัวตน ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 มีจํานวน 250.49 ลาน บาท ลดลง 32.71 ลานบาทหรือรอยละ 11.55 เมื่อเปรียบเทียบกับสิ้นปกอนที่จํานวน 283.20 ลานบาทเนื่องจากในป 2557 บริษัทฯ ไดมีการขายสํานักงานสาขาและทรัพยสิน ของสํานักงานสาขาหลายแหงใหกับ บริษัท หลักทรัพยอื่น หนี้สิน ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัทฯ มีหนี้สิน รวมทั้งสิ้นจํานวน 2,269.39 ลานบาท เพิ่มขึ้น 898.89 ลานบาทหรือ รอยละ 65.59 เมื่อเปรียบเทียบกับ สิ้น ปกอนที่มีหนี้สิน รวมจํานวน 1,370.50 ลานบาท โดยการเพิ่มขึ้น ของหนี้สิน รวมสวน ใหญมาจากเจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพยเพิ่มขึ้น 716.51 ลานบาท และเจาหนี้สํานักหักบัญชีเพิ่ม ขึ้น 162.58 ลานบาท ซึ่งเปน ผลของมูลคาการซื้อขายหลักทรัพยในชวง 3 วัน ทําการสุดทายกอนสิ้นป สวนของเจาของ ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัทฯ มีสวนของเจาของจํานวน 3,488.39 ลานบาท เพิ่มขึ้น 110.79 ลานบาทหรือ รอยละ 3.28 เมื่อเปรียบเทียบกับสิ้นปกอนที่มีสวนของเจาของจํานวน 3,377.60 ลานบาท สวนใหญเนือ่ งมาจากบริษทั ฯ มี การจายเงิน ปน ผลประจําป 2556 ใหแ กผูถือ หุน คิดเปน เงิน จํานวน 284.83 ลานบาท นอกจากนี้บ ริษัท ฯ มีกําไรสะสม เพิ่มขึ้น จากผลการดําเนินงานที่มีกําไรสุทธิสําหรับปสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 จํานวน 384.95 ลานบาท สภาพคลอ งและความเพีย งพอของเงินทุน ของบริษัทฯ แหลงที่มาของเงิน ทุน ในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ สวนใหญมาจากเงิน ทุน ของบริษัท ฯ นอกจากนี้บริษัทฯ มี วงเงิน สินเชื่อที่ไดรับจากธนาคารพาณิชยตางๆ เพื่อเปนแหลงเงิน ทุน หมุน เวียนและรองรับ การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ สําหรับอัตราสวนเงินกองทุนสภาพคลองสุทธิของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 มีสัดสวนรอยละ 88.00 ซึ่งยังคง ถือวามีอัตราสวนอยูในระดับที่สูงมากเมื่อเปรียบเทียบกับอัตราขั้นต่ําที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดใหบริษัทหลักทรัพยตอ งดํารงไว ที่รอยละ 7 สําหรับ การดํารงอัตราสวนเงิน กองทุน สภาพคลองสุท ธิของบริษัท ฯ นั้น สามารถสรุปไดดังนี้ 2557 บริษทั หลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) - เงินกองทุนสภาพคลองสุทธิ (ลานบาท) - หนี้สินทั่วไปและทรัพยสินที่ตองวางเปนประกัน (ลานบาท) - อัตราสวนเงินกองทุนสภาพคลองสุทธิ (NCR)
1,918.86 2,180.57 88.00%
120
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 2,970.28 1,227.14 242.05%
2555 2,190.97 2,063.10 106.20%
สภาพคลอ ง จากงบกระแสเงินสดของบริษัท ฯ และบริษัท ยอยปรากฏวา กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน สําหรับ ปสนิ้ สุด วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัท ฯ มียอดเงิน สดสุทธิไดมาจํานวน 340.34 ลานบาท เนื่องจากโดยสวนใหญเปน ผลจากการ เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น ของบัญชีลูกหนี้และเจาหนี้สํานักหักบัญชี 573.33 ลานบาท เงินฝากในสถาบัน การเงิน 300.00 ลาน บาท และเปน ผลจากการเปลี่ยนแปลงลดลงของบัญชีเ งิน สดจายซื้อ เงิน ลงทุน เพื่อ คาสุท ธิจากเงิน สดรับ จากการขายเงิน ลงทุนเพื่อคา 602.28 ลานบาท สําหรับ กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน สําหรับปสิ้น สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มียอดเงิน สดสุท ธิไดม า จํานวน 16.50 ลานบาท เนื่องจากบริษัท ฯ มีเงิน สดรับ สุท ธิจากเงิน ลงทุน และเงิน ปน ผลรับ จากการลงทุน ในหลักทรัพย 37.83 ลานบาท ในขณะทีม่ ีเงินสดจายสุท ธิจากอาคาร อุป กรณและสินทรัพยไมมีตันตน 21.34 ลานบาท สําหรับ กระแสเงิน สดจากกิจกรรมจัดหาเงิน สําหรับปสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 บริษัทฯ มียอดเงิน สดสุทธิใช ไปจํานวน 285.31 ลานบาท สวนใหญเนื่องจากบริษัท ฯ มีการจายเงิน ปน ผลประจําป 2556 จํานวน 284.83 ลานบาท ใหแกผูถือหุนของบริษัทฯ กลาวโดยสรุป บริษัทฯ จัดเปนบริษัทหลักทรัพยที่มีฐานะการเงินที่แข็งแกรงและมีสภาพคลองทางการเงินสูง โดยมี อัตราส วนเงิน กองทุน สภาพคลองสุท ธิ (NCR) ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 สูงถึงร อยละ 88.00 ซึ่งเปน อัตราที่สูงมากเมื่ อ เปรียบเที ยบกับ อัตราสวนที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนดให บ ริษัท หลักทรัพยตองดํารงไวที่ รอยละ 7 นอกจากนี้ ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ ยังมีเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดสูงถึง 1,144.61 ลานบาท (คิดเปนรอยละ 19.88 ของสินทรัพย รวม) มีอัตราสวนสินทรัพยคลองตัวตอสินทรัพยรวมที่รอยละ 39.94 มีอัตราสวนสินทรัพยกอรายไดตอสินทรัพยรวมที่รอยละ 79.10 มีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของเจาของอยูท ี่ 0.65 เทา สําหรับ สวนของเจาของ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทฯ มี จํานวน 3,488.39 ลานบาท และมีกําไรสะสมที่ยังไมจดั สรรจํานวน 689.34 ลานบาท โดยมีอัตราผลตอบแทนผูถือหุน เพิ่มขึ้น จากที่รอยละ 10.69 ในป 2556 เปน รอยละ 11.21 ในป 2557
121
รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผูบริหาร ผูมีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษทั ของบริษทั ฯ ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
ศาสตราจารยประยูร จินดา ประดิษฐ - ประธานกรรมการ (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม)
86
นายเดช นําศิริกุล - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ - รองประธานกรรมการ
78
- ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางการบัญชี (เทียบเทาปริญญาโท) - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียน อัสสัมชัญ บางรัก
ตําแหนง
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
-
2549 - ปจจุบัน 2547 - ปจจุบัน 2536 - ปจจุบัน
ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานสงเสริมกิจการมหาวิทยาลัย
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บมจ. เอเชียนอินซูเลเตอร มหาวิทยาลัยบูรพา
-
2557 - ปจจุบัน
กรรมการอิสระ กรรมการดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ
บมจ. คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส
2549 - ปจจุบัน 2553 - ปจจุบัน 2537 - ปจจุบัน 2530 - 2544
122
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บจก.ยูเนี่ยนพัทยาพร็อพเพอรตี้ บจก. ยูเนียนเพาเวอรพรอพเพอรตี้ บมจ. ธนาคารกรุงเทพ
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
พลเอกวัฒนา สรรพานิช - กรรมการอิสระ - รองประธานกรรมการ
พลตํารวจเอกสมชาย วาณิชเสนี - กรรมการอิสระ - ประธานกรรมการตรวจสอบ
77
72
- ประกาศณียบัตรชั้นสูงการ บริหารงานภาครัฐ และกฎหมาย มหาชน สถาบันพระปกเกลา - รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย รามคําแหง - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย รามคําแหง - ปริญญาบัตรวิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร - วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนาย รอยพระจุลจอมเกลา หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยตํารวจ หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - Director Certification Program - Audit Committee Program - Finance for Non – Finance Director
2549 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน 2534 – 2549 2546 – 2548 2543 – 2549 2543 – 2549 2543 – 2549
-
2538 – 2542 2534 – 2543 2541 – 2542 2539 – 2542 2538 – 2539 2549 – ปจจุบัน
-
2548 – 2549 2549 – ปจจุบัน 2546 – 2548 2546 – 2546 2543 – 2545
123
ตําแหนง
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
กรรมการอิสระและรองประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ สมาชิกวุฒิสภา (จ.กาญจนบุร)ี รองประธานกรรมาธิการ การทหาร รองประธานกรรมาธิการ กิจการองคกร อิสระ สมาชิกวุฒิสภาและกรรมาธิการ คมนาคม สมาชิกวุฒิสภา ตุลาการศาลทหารสูงสุด จเรทหารทั่วไป รองผูบัญชาการทหารสูงสุด
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บมจ. ภูเก็ตแฟนตาซี บมจ. ซาฟารีเวิลด บจก. หลักทรัพย เอเพกซ วุฒิสภา (จากการเลือกตั้งครั้งที่ 1) วุฒิสภา
กรรมการอิสระ และประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ รองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป
วุฒสิ ภา วุฒิสภา วุฒิสภา (จากการแตงตั้ง) ศาลทหาร กระทรวงกลาโหม กองบัญชาการทหารสูงสุด
บมจ. ภูเก็ตแฟนตาซี บจ. หลักทรัพย เอเพกซ บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป สํานักงานตํารวจแหงชาติ
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
นายชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย - กรรมการอิสระ - กรรมการตรวจสอบ
62
- มัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียน อัสสัมชัญ ศรีราชาและโรงเรียน เซนตดอมินิก - ปริญญาเอกกิตติมศักดิ์, University of America
2551 – ปจจุบัน 2551 – 2551 2547 – ปจจุบัน 2528 – 2550 2524 – 2528
-
124
ตําแหนง
กรรมการอิสระ และกรรมการตรวจสอบ กรรมการ ประธานกรรมการ ผูจัดการ ผูจัดการ
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บจ. ซีเค ไดมอนด โรงแรมราชาพาเลซ บจ. สินเจริญการลงทุน
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
นายสดาวุธ เตชะอุบล - ประธานกรรมการบริหาร (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม)
62
- Honorable Degree (Business Administration), Kensington University, California, USA - Diploma (Commerce), Davis School, Brighton, UK - ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) มหาวิทยาลัยรามคําแหง หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - หลักสูตรผูบริหารระดับสูงสถาบัน วิทยาการตลาดทุน รุนที่ 12
-
เปนบิดาของ นายทอมมี่ เตชะอุบล
2556 - ปจจุบัน 2556 - ปจจุบัน
ประธานกรรมการ กรรมการบริหาร
2552 - ปจจุบัน 2550 - 2552
ประธานกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ ประธานกรรมการบริหาร และรักษาการกรรมการผูจัดการใหญ กรรมการและประธานกรรมการบริหาร กรรมการและกรรมการบริหาร ประธานกรรมการ นายกสมาคม ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการ คณะกรรมการที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวง พาณิชย (นายอุทัย พิมพใจชน) คณะที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย (พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ) ที่ปรึกษารัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง (นาย ไชยยศ สะสมทรัพย) ที่ปรึกษารัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย (นายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน) ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์รัฐมนตรีประจําสํานักนายกฯ (นายสวัสดิ์ คําประกอบ) กรรมการ
2549 - 2550 2555 - ปจจุบัน 2552 - ปจจุบัน 2537 - ปจจุบัน 2553 - ปจจุบัน 2553 - ปจจุบัน 2553 - ปจจุบัน 2549 - ปจจุบัน 2549 - ปจจุบัน 2548 - ปจจุบัน 2547 - 2556
125
ตําแหนง
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ชมรมสงเสริมการคาสัมพันธระหวาง ประเทศจีนกับนานาชาติ (องคกรของ ประเทศจีน) บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป
บมจ.หลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟ ซี บจก. คันทรี่ กรุป สมาคมการคาและอุตสาหกรรมไทย บจ. ซิงเสียนเยอะเปา บมจ. คันทรี่ กรุป ดีเวลล็อปเมนท บจ. โพรฟทเวนเจอร บจ. บานไรเตชะอุบล บจ. แบงค็อค ดีเวลล็อปเมนท บจ. แลนดมารค ดีเวลล็อปเมนท กรุป กิจการองคการคลังสินคากระทรวงพาณิชย สมาคมผูประกอบการคา (ประเทศไทย) กระทรวงพาณิชย กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการคลัง กระทรวงมหาดไทย สํานักนายกรัฐมนตรี คณะกรรมการพิจารณาการจัดตั้งตลาดซื้อขาย สินคาเกษตรลวงหนา
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
นายสุรพล ขวัญใจธัญญา - กรรมการ - รองประธานกรรมการบริหาร (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม)
นายฮองไซ ซิม - กรรมการ
63
57
- บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA) สาขาวิชาการเงิน, University of Washington, USA โดยทุนมหาวิทยาลัย - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขา วิศวกรรมอุตสาหการ, University of Washington, USA โดยทุนมหาวิทยาลัย - วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขา ไฟฟา, University of Washington หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - Director Certification Program - หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.) รุนที่ 11 - Securitization โดย Fannie Mae of USA - Finance and Banking โดย HSBC (Hong Kong)
-
- มัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบัน เซนตโจเซฟ ประเทศสิงคโปร
-
2553 - 2555
รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร และ กรรมการดานการกํากับดูแลกิจการที่ดี กรรมการ และรองประธาน กรรมการบริหาร ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ ประธานอนุกรรมการ บริหารความเสี่ยง อนุกรรมการวินัย กรรมการ
2547- 2553 2540- 2545
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการผูจัดการ
2550 – ปจจุบัน 2543 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน
กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ
2556 - ปจจุบัน 2554 - ปจจุบัน 2549 - ปจจุบัน 2546 - ปจจุบัน 2555 - ปจจุบัน 2553 - 2555 2553 - 2555
126
ตําแหนง
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส บลจ. เอ็มเอฟซี จก. (มหาชน) บล. คันทรี่ กรุป จํากัด(มหาชน) บมจ. ไทยคูน เวิลดไวด กรุป (ประเทศไทย) สมาคมการคาและอุตสาหกรรมไทย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย บมจ. ตลาดสัญญาซื้อขายลวงหนา (ประเทศไทย) บริษัท ปริญสิริ จํากัด (มหาชน) บตท. สถาบันการเงินสังกัด กระทรวงการคลัง
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บจก. แพนโรสท อินเตอรเนชั่นแนล บจก. ไทยเรียลเว็นเจอร
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
นายฤทธิ์ คิ้วคชา - กรรมการ
32
- Master of Science in Management and Regulation of Risk, The London School of Economics and Political Science, London, UK - Bachelor of Engineering in Information Systems (Honors), Imperial College of Science, Technology and Medicine, London, UK หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - Director Certification Program - Audit Committee Program - Finance for Non – Finance Director - Director Diploma Examination, The Australian Institute of Directors Association, Australia
2550 – ปจจุบัน 2552 – ปจจุบัน 2551 – ปจจุบัน 2549 – ปจจุบัน
-
127
ตําแหนง
กรรมการ รองผูจัดการใหญ (การตลาด) กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บมจ. ซาฟารีเวิลด บมจ. ภูเก็ตแฟนตาซี บจก. คชาบราเธอรส
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
นายสมคาด สืบตระกูล - กรรมการ
62
- พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต (MPA) สาขารัฐประศาสนศาสตร (นโยบายสาธารณะและการวางแผน) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (NIDA) - นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.) มหาวิทยาลัยรามคําแหง - ประกาศนียบัตรชัน้ สูง หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบบ ประชาธิปไตย สําหรับนักบริหาร ระดับสูง - ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรนัก บริหาร การยุติธรรมการปกครอง ระดับสูง วิทยาลัยการยุติธรรมการ ปกครอง ศาลปกครอง - ประกาศนียบัตรชั้นสูง หลักสูตรนัก บริหารการบริหารเมืองระดับสูง สถาบัน เพื่อการพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร หลักสูตรการอบรม - การเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง สถาบัน พระปกเกลา รุนที่ 10 (ปปร.10) - Director Accreditation Program - Director Certification Program
2556 – ปจจุบัน
-
2551 – ปจจุบัน 2552 – ปจจุบัน 2553 – ปจจุบัน
กรรมการ ประธานกรรมการลงทุน รองประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ ประธานกรรมการการลงทุน กรรมการ
2545 – ปจจุบัน 2545 – 2546
ที่ปรึกษากฎหมาย ที่ปรึกษา
2556 – ปจจุบัน
2544 – 2544 2543 – 2549 2541 – 2542 2539 – 2543 2535 – 2539
128
ตําแหนง
กรรมการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ที่ปรึกษาฯ กรรมาธิการติดตา งบประมาณวุฒิสภา ที่ปรึกษา เลขานุการผูวาราชการกรุงเทพมหานคร (ดร. พิจิตต รัตตกุล) นักวิชาการ-ผูชํานาญการและที่ปรึกษาฯ คณะกรรมาธิการยุติธรรมและสิทธิ มนุษยชน
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส บมจ. อุตสาหกรรม อีเล็คโทรนิคส บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บมจ. ไทยรับเบอรลาเท็คซคอรปอเรชั่น ประเทศไทย บมจ. อารียา พรอพเพอรตี้ ประธานวุฒิสภา (พล.ต. มณูญกฤตรูปขจร) สภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา ประธานกรรมการบริหาร องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย (นายมีชัย วีระไวทยะ) กรุงเทพมหานคร สภาผูแทนราษฎร
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
พลตํารวจโทวีรพงษ ชื่นภักดี - กรรมการ
5
- พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายรอยตํารวจ หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - Director Certification Program - Audit Committee Program - Financial Statements for Directors - Role of the Compensation Committee
2556 - ปจจุบัน 2556 - ปจจุบัน 2554 - ปจจุบัน 2553 - ปจจุบัน
-
2553 - ปจจุบัน 2552 - ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน 2549 - 2554 2552 - 2553 2551 - 2552 2551 - 2551 2550 - 2551
129
ตําแหนง
กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการอิสระและประธานกรรมการ ตรวจสอบ รองผูบัญชาการ ตํารวจภูธรภาค 1 กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษา รองผูบัญชาการ สํานักงานงบประมาณ และการเงิน รองผูบัญชาการ สํานักงานผูบัญชาการ ตํารวจแหงชาติ ผูบังคับการ ตํารวจภูธร จ.สระบุรี ผูบังคับการ ตํารวจภูธร จ.นครนายก
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บริษัท ซิงเสียนเยอะเปา จํากัด สํานักงานตํารวจแหงชาติ บมจ. คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท บจ. ไทยฮั้วยางพารา บจ. ฟูสิน อุตสาหกรรมเหมืองแร (ประเทศไทย) บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป สํานักงานตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ สํานักงานตํารวจแหงชาติ
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
นายนิพนธ วิสิษฐยุทธศาสตร - กรรมการ
นางสาวสุดธิดา จิระพัฒนสกุล กรรมการ - กรรมการบริหาร - ประธานเจาหนาที่บริหาร (ผูจัดการ) (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม)
อายุ (ป)
75
61
คุณวุฒิทางการศึกษา
- พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตรการอบรม - ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหาร ระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาด ทุน รุนที่ 12 - ประกาศนียบัตรหลักสูตรผูบริหาร ระดับสูง ธรรมศาสตร เพื่อสังคม รุนที่ 2 - ประกาศนียบัตรผูบริหาร ระดับสูง ดานการบริหารพัฒนาเมือง รุนที่ 3 - ประกาศนียบัตร Asian Disaster Preparedness Center (ADPC) - Director Accreditation Program - ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก - ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
-
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
ตําแหนง
2556 – ปจจุบัน
กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณา คาตอบแทน กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ และ ประธานกรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน กรรมการอิสระและประธานกรรมกา ตรวจสอบ
2554 – ปจจุบัน 2553 – ปจจุบัน 2542 – ปจจุบัน
-
2556 – ปจจุบัน 2553 – ปจจุบัน 2556 – 2556 2552 – 2556 2550 – 2552 2548 – 2550 2547 – 2548
130
ประธานเจาหนาที่บริหาร (ผูจัดการ) กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการผูจัดการใหญ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการใหญ
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บมจ. แกรนดคาแนล แลนด บมจ. วนชัย กรุป
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป
บจก. หลักทรัพย ฟารอีสท บมจ. หลักทรัพย ยูไนเต็ด บจก. หลักทรัพย เอเพกซ
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
นายทอมมี่ เตชะอุบล - กรรมการ - ประธานเจาหนาที่บริหาร - กรรมการการลงทุน (กรรมการผูมีอํานาจลงนาม)
31
นายชนะชัย จุลจิราภรณ - กรรมการ - กรรมการบริหาร - ประธานเจาหนาที่บริหาร
49
- ปริญญาโท Master of Business Administration (เกียรตินิยม) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - ปริญญาตรี Bachelor of Law, University of New South Wales - ปริญญาตรี Bachelor of Commerce Finance Major (เกียรตินิยม) หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - หลักสูตรกลยุทธการบริหารธุรกิจ อสังหาริมทรัพยรุนที่ 40 - ปริญญาธุรกิจมหาบัณฑิตสําหรับ ผูบริหาร มหาวิทยาลัยรามคําแหง - ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง - ปริญญาตรี สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต หลักสูตรการอบรม - Director Accreditation Program - Director Certification Program
-
เปนบุตรของ นายสดาวุธ เตชะอุบล
2556 2555 2553 2557 2556 -
ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน 2557
2554 - ปจจุบัน
2556 – ปจจุบัน 2556 – ปจจุบัน 2556 – 2556 2555 – ปจจุบัน 2555 – ปจจุบัน 2554 – 2555
-
131
ตําแหนง
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
กรรมการและประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร ที่ปรึกษาคณะกรรมการบริหาร ผูชวยกรรมการผูจัดการอาวุโส สาย พัฒนาธุรกิจ ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายพัฒนาธุรกิจ
บมจ. คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บจก.ซิงเสียนเยอะเปา บมจ. หลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี (MFC)
กรรมการ ประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการผูจัดการใหญ กรรมการบริหาร กรรมการผูจัดการ สายตราสารทุน รองกรรมการผูจัดการ ประธานเจาหนาที่บริหาร กรรมการบริหาร
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป
บมจ. ซีมิโก บมจ. โกลเบล็ก บมจ. ฟนันเซียไซรัส
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
ตําแหนง
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
นายชูพงศ ธนเศรษฐกร - กรรมการผูจัดการ สายวาณิชธนกิจ
57
- MBA University of Detroit, USA - วิทยาศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
-
2551 - ปจจุบัน 2550 - 2551 2546 - 2550 2545 - 2546
กรรมการผูจัดการ กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการบริหาร
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บจก. หลักทรัพย เคทีบี บมจ. หลักทรัพย ซีมิโก บมจ. หลลักทรัพย ฟลลิป
นายพิษณุ วิชิตชลชัย - กรรมการผูจัดการ สายตราสารทุน
60
- ปริญญาตรี Bachelor of Economics, West Virginia University, U.S.A. - ปริญญาโท Master of Economics ,University of Central Missouri, U.S.A.
-
2557 - ปจจุบัน
กรรมการ
2557- ปจจุบัน ปจจุบัน 2552 - 2556
ผูชวยกรรมการผูจัดการ สายตราสารทุน 4 กรรมการ ประธานเจาหนาที่บริหาร
บมจ. หลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี (MFC) บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป ธนาคารออมสิน บมจ. โกลเบล็ก
นางสาวเนตรชนก อาณาวรรณ - ผูบริหารสูงสุดสายบัญชีและ การเงิน - ผูชวยกรรมการผูจัดการสาย บัญชีและการเงิน
44
- บัญชีมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย - บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
-
2554 - ปจจุบัน
ผูบริหารสูงสุดสายบัญชีและการเงิน และ บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป ผูชวยกรรมการผูจัดการ รักษาการสายบัญชีและการเงินและ ผูอํานวยการอาวุโส ผูอํานวยการอาวุโส ผูอํานวยการสายบัญชีและการเงิน ผูอํานวยการ กลุมวางแผนและบริหาร ตนทุน
2553 - 2554 2553 - 2553 2550 - 2553 2549 - 2550
132
ชื่อ-สกุล / ตําแหนง
อายุ (ป)
คุณวุฒิทางการศึกษา
สัดสวนถือ หุน (%)
ความสัมพันธทาง ครอบครัวระหวาง กรรมการและ ผูบริหาร
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ปยอนหลัง ชวงเวลา
นางสาวณัฐณิชา เกษมวุฒิ - เลขานุการบริษัท
29
- นิติศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลักสูตรการอบรม -Fundamental Practice for Corporate Secretary ; FPCS รุนที่ 30, สมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
-
2557 - ปจจุบัน 2556 - ปจจุบัน 2554 - 2556
133
ตําแหนง
เลขานุการบริษัท รองผูจัดการ สํานักกฎหมาย นิติกร
บริษัท/ประเภทธุรกิจ
บมจ. หลักทรัพย คันทรี่ กรุป บมจ. ดั๊บเบิ้ล เอ (1991)
หนาที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษทั ของบริษทั ฯ 1. ใหคําแนะนําเบื้องตน แกกรรมการเกี่ยวกับ ขอกฎหมายหลักเกณฑระเบียบและขอบังคับ ตางๆ ของบริษัทแม และ ดูแลใหมีการปฏิบ ัติใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ และขอบังคับ ตางๆ ของบริษัทแม 2. สงเสริมใหคณะกรรมการมีความรูความเขาใจเ กี่ยวกับการกํากับ ดูแลกิจการ และผลักดันใหมีการปฏิบัติตาม 3. จัดเตรียมระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุมผูถือหุน และการประชุมคณะกรรมการ 4. จัดการประชุมผูถือหุน และการประชุมคณะกรรมการใหเปน ไปตามกฎหมาย ขอ บังคับ ของบริษัท แม และแนว ปฏิบ ัติท ี่ดี 5. บันทึกรายงานการประชุมผูถือหุน และการประชุมคณะกรรมการรวมทั้งติดตามใหมีการปฏิบัติตามมติทปี่ ระชุมผู ถือหุน และที่ป ระชุมคณะกรรมการ 6. จั ด ทํ า และเก็ บ รั ก ษาทะเบี ยนกรรมการรายงานประจํ า ป หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม ผู ถื อ หุ น หนั ง สื อ นั ดประชุ ม คณะกรรมการ รายงานการประชุมผูถือหุนและรายงานการประชุมคณะกรรมการ 7. ดําเนิ น การให กรรมการและผูบ ริ ห ารจัดทํ ารายงานการมีสว นไดเ สียของตนและผูท ี่ เกี่ยวขอ งตามที่กฎหมาย กําหนด 8. เก็บ รักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบริห ารตามที่กฎหมายกําหนด 9. ดูแลใหมีการเปดเผยขอมูล และรายงานสารสนเทศในสวนที่รับผิดชอบตอหนวยงานที่กํากับ ดูแล 10. ประสานงานกับ ผูถือหุนและหนวยงานที่กํากับ ดูแล 11. ปฏิบ ัติห นาที่อื่นๆ ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
134
ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการ ผูบริหาร และผูมอี ํานาจควบคุมของบริษทั ฯ 1. ศาสตราจารยประยูร จินดาประดิษฐ 2. นายเดช นําศิริกุล 3. พลเอกวัฒนา สรรพานิช 4. พลตํารวจเอกสมชาย วาณิชเสนี 5. นายชาญ ตุลยาพิศิษฐชัย 6. นายสดาวุธ เตชะอุบล 7. นายสุรพล ขวัญใจธัญญา 8. นายฮอง ไซ ซิม 9. นายฤทธิ์ คิ้วคชา 10. นายสมคาด สืบตระกูล 11. พลตํารวจโท วีรพงษ ชื่นภักดี 12. นายนิพนธ วิสิษฐยุทธศาสตร 13. นางสาวสุดธิดา จิระพัฒนสกุล 14. นายทอมมี่ เตชะอุบล 15. นายชนะชัย จุลจิราภรณ 16. นายชูพงศ ธนเศรษฐกร 17. นายพิษณุ วิษิตชลชัย 18. นางสาวเนตรชนก อาณาวรรณ
หมายเหตุ :
X //
= =
บริษทั ฯ X / / / / // // / / / / / // / // /// /// ///
ประธานกรรมการ กรรมการบริห าร
บริษัทแม / X / / / / // ///
/ ///
= =
กรรมการ ผูบ ริหาร
134
MFC // // -
รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหนางานตรวจสอบภายในและหัวหนางานกํากับดูแลการปฎิบัติงานของบริษทั ฯ
ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง อายุ คุณวุฒิทางการศึกษา การฝกอบรม
ขอมูล นายไพรยง ธีระเสถียร รองกรรมการผูจัดการสายตรวจสอบและกํากับ ดูแล 46 ป ป 2550 : ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต / มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ป 2536 : ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต / มหาวิท ยาลัยรามคําแหง 1. การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในหลักสูตร 2 โดยสมาคมนักบัญชีและผูสอบ บัญชีรบั อนุญาตแหงประเทศไทย 2. ความรูพ้นื ฐานและเทคนิคการกํากับกับดูแลการปฏิบัติงานสําหรับผูกํากับ ดูแลการปฏิบ ัติงานดานหลักทรัพย (Compliance Officer) 3. การตรวจสอบสถาบันการเงิน 4. หลักสูตรแนวทางปฎิบ ัตทิ ี่เกี่ยวของกับตราสารอนุพนั ธ(DRG) 5. การพัฒนาองคความรูเกี่ยวกับขัน้ ตอนปฏิบัติงานในกลุมธุรกิจและการ รายงานการทําธุรกรรมที่มเี หตุอัน ควรสงสัยของสถาบัน การเงิน 6. หลักสูตรมาตรฐานวิชาชีพสําหรับผูกาํ กับดูแลการปฏิบัติงานดานธุรกิจ หลักทรัพย– ระดับกลาง 7. หลักสูตรความรูเกี่ยวกับการกํากับ ดูแลการปฏิบัติงาน (ASCO) Compliance Training Program) จํานวน 18 ชั่วโมง (กันยายน 2556)
ประวัติการทํางาน
ระยะเวลาของสัญญาจาง
ป 2556 – ปจจุบนั : รองกรรมการผูจัดการ / บมจ. หลักทรัพยคันทรี่กรุป ป 2555 – 2556 : ผูอํานวยการ / บริษทั คลาสสิกโกลดฟว เจอรสจํากัด ป 2549 – 2555 : ผูอํานวยการอาวุโส / บริษทั หลักทรัพยเคทีบี (ประเทศไทย) จํากัด ป 2546 – 2549 : ผูจัดการ / บมจ. หลักทรัพยยูไนเต็ด ไมมีกําหนดระยะเวลา
135
หนาทีค่ วามรับผิดชอบ ของหัวหนางานกํากับ ดูแลการปฎิบตั ิงาน
ขอมูล หนาทีค่ วามรับผิดชอบโดยสังเขป 1. ตรวจสอบและกํากับ ดูแลการดําเนินธุรกิจของบริษทั เปน ไปตามกฎหมาย ประกาศขอบังคับและกฎระเบียบทีเ่ กี่ยวของตามทีห่ นวยงานทางการที่ กํากับดูแลกําหนดตลอดจนพัฒนาระบบงานตางๆ เพื่อใหการกํากับดูแล และตรวจสอบของบริษทั มีประสิทธิภาพและเปน ไปตามกฎเกณฑท ี่ เกี่ยวของกําหนด 2. จัดอบรมใหความรูเกี่ยวกับหลักเกณฑท ี่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานใหแก พนักงานของบริษทั 3. ใหความเห็น / คําแนะนําเกี่ยวกับ เกณฑการปฏิบัติตางๆ ทีห่ นวยงาน ทางการที่กาํ กับ ดูแลกําหนดตอกรรมการผูบริห ารและหนวยงานตางๆ ภายในของบริษทั 4. จัดทําแผนงานตรวจสอบและกํากับดูแลประจําปตลอดจนประเมินความ เพียงพอและประสิท ธิภาพของระบบการควบคุมภายในของบริษทั เสนอ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุมัตติ ลอดจน ดําเนินการตรวจสอบใหบรรลุตามแผนงานฯที่อนุมัติ 5. ปฏิบ ัตหิ นาที่เลขานุการของคณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั 6. สนับสนุน และใหความรวมมือกับหนวยงานทางการที่กํากับดูแลเมือ่ มีการ รองขอในกรณีตางๆ 7. เสริมสรางและพัฒนาบุคลากรสายตรวจสอบและกํากับดูแลใหมีความรู ความเขาใจตอการปฏิบัติงานไดอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 8. ดําเนินกิจกรรมอืน่ ๆ ตามทีบ่ ริษทั มอบหมาย
136
รายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต เสนอผูถือหุนและคณะกรรมการ บริษทั หลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) ขาพเจาไดตรวจสอบงบการเงิน ที่แสดงเงิน ลงทุนตามวิธีสวนไดเสียและงบการเงิน เฉพาะกิจการ ของบริษัท หลักทรัพย คัน ทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) ซึ่งประกอบดวย งบแสดงฐานะการเงิน ที่แสดงเงิน ลงทุนตามวิธีสวนไดเสียและเฉพาะกิจการ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 และงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสียและเฉพาะกิจการ งบแสดงการเปลี่ยนแปลง สวนของเจาของที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสียและเฉพาะกิจการ และงบกระแสเงิน สดที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนได เสียและเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวัน เดียวกัน รวมถึงหมายเหตุสรุป นโยบายการบัญชีท ี่สําคัญและหมายเหตุเรื่องอื่น ๆ ความรับผิดชอบของผูบ ริหารตอ งบการเงิน ผูบ ริห ารเปน ผูรับ ผิดชอบในการจัดทําและการนําเสนองบการเงิน เหลานี้โดยถูกตองตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงิน และรับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผูบริห ารพิจารณาวาจําเปน เพื่อ ใหสามารถจัดทํางบการเงิน ที่ป ราศจาก การแสดงขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบในการแสดงความเห็นตองบการเงิน ดังกลาวจากผลการตรวจสอบของขาพเจา ขาพเจาไดป ฏิบ ัติงาน ตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกําหนดใหขาพเจาปฏิบัติตามขอ กําหนด ดานจรรยาบรรณ รวมถึงวางแผนและ ปฏิบ ัติงานตรวจสอบเพื่อใหไดความเชื่อมั่น อยางสมเหตุสมผลวางบการเงิน ปราศจากการแสดงขอ มูลที่ขัดตอขอ เท็จจริงอัน เปน สาระสําคัญหรือไม การตรวจสอบรวมถึงการใชวิธีการตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีเกี่ยวกับ จํานวนเงิน และการเปดเผยขอมูล ในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบที่เลือกใชขึ้น อยูกับ ดุลยพินิจของผูสอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมิน ความเสี่ยงจากการแสดง ขอมูลที่ขัดตอขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญของงบการเงิน ไมวาจะเกิดจากการทุจริตหรือขอผิดพลาด ในการประเมิน ความ เสี่ยงดังกลาว ผูสอบบัญชีพิจารณาการควบคุมภายในที่เกี่ยวของกับ การจัดทําและการนําเสนองบการเงินโดยถูกตองตามที่ ควรของกิจการ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบที่เหมาะสมกับสถานการณ แตไมใชเพื่อวัตถุประสงคในการแสดงความเห็น ตอ ประสิท ธิผล ของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบรวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ ผูบ ริห ารใชและความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีท ี่จัดทําขึ้นโดยผูบ ริหารรวมทั้งการประเมินการนําเสนองบ การเงิน โดยรวม ขาพเจาเชื่อวาหลักฐานการสอบบัญชีที่ขาพเจาไดรับ เพียงพอและเหมาะสมเพื่อใชเปนเกณฑในการแสดงความเห็นของ ขาพเจา
129
ความเห็น ขาพเจาเห็นวา งบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธสี วนไดเสียและงบการเงิน เฉพาะกิจการขางตนนี้ แสดงฐานะการเงิน ของ บริษัท หลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 และผลการดําเนินงานและกระแสเงิน สดสําหรับป สิ้น สุดวันเดียวกันโดยถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ขอมูลและเหตุการณท ี่เนน โดยที่มิใชเปน การแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไป ตามที่กลาวไวในหมายเหตุป ระกอบงบการเงิน ขอ 1.2 และขอ 38 บริษัท ไดจัดตั้งบริษัท คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) ตามแผนการปรับโครงสรางกิจการของบริษัท ซึ่งบริษัท คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) ไดทําคําเสนอซื้อหุนสามัญของบริษัทโดยการแลกเปลี่ยนกับหุนสามัญของบริษัท คัน ทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) ไดสําเร็จเมื่อวัน ที่ 25 ธันวาคม 2557 มีผลทําใหบริษัท เปน บริษัท ยอยของบริษัท คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) นอกจากนี้บริษัท ไดเพิกถอนหุนสามัญของบริษัทออกจากการเปน หลักทรัพยจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวัน ที่ 8 มกราคม 2558
ชวาลา เทียนประเสริฐกิจ กรุงเทพมหานคร วันที่ 23 กุมภาพัน ธ 2558
ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 4301 บริษทั ดีลอยท ทูช โธมัทสุ ไชยยศ สอบบัญชี จํากัด
130
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท หมาย เหตุ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ตามวิธีสวนไดเสีย ณ วันที่
ณ วันที่
ณ วันที่
ณ วันที่
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2557
2556
2557
2556
สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด
5
1,144,607,815
1,073,087,608
1,144,607,815
1,073,087,608
เงินฝากในสถาบันการเงิน
6
269,310,000
569,310,000
269,310,000
569,310,000
ลูกหนี้สํานักหักบัญชี
7
32,189,616
442,940,349
32,189,616
442,940,349
ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาสุทธิ
8
2,304,223,685
1,531,023,127
2,304,223,685
1,531,023,127
เงินลงทุนสุทธิ
10
975,606,502
237,449,760
975,606,502
237,449,760
เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ
11
546,612,943
340,153,559
532,567,296
326,977,310
ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ
12
152,259,533
186,622,547
152,259,533
186,622,547
สินทรัพยไมมีตัวตนสุทธิ
13
98,225,958
96,575,450
98,225,958
96,575,450
สินทรัพยภาษีเ งินไดรอการตัดบัญชี
14
107,331,535
143,055,030
107,331,535
145,690,285
สินทรัพยอื่นสุทธิ
15
127,419,856
127,887,922
127,419,856
127,887,922
5,757,787,443
4,748,105,352
5,743,741,796
4,737,564,358
รวมสินทรัพย หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
131
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท หมาย เหตุ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ตามวิธีสวนไดเ สีย ณ วันที่
ณ วันที่
ณ วันที่
ณ วันที่
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
31 ธันวาคม
2557
2556
2557
2556
หนี้สินและสวนของเจาของ หนี้สิน เจาหนีส้ าํ นักหักบัญชี เจาหนีธ้ รุ กิจหลักทรัพย
187,679,778
25,096,463
187,679,778
25,096,463
1,846,213,834
1,129,699,869
1,846,213,834
1,129,699,869
หนี้สินตราสารอนุพันธ
16
-
57,273
-
57,273
หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
17
3,110,971
3,428,712
3,110,971
3,428,712
ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน
18
44,045,050
46,864,861
44,045,050
46,864,861
หนี้สินอื่น
19
188,342,967
165,355,749
188,342,967
165,355,749
2,269,392,600
1,370,502,927
2,269,392,600
1,370,502,927
รวมหนี้สิน สวนของเจาของ
20
ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน 1.00 บาท
หุนสามัญ 2,589,743,484 หุน มูลคาหุนละ
2,589,743,484
หุนสามัญ 3,189,785,935 หุน มูลคาหุนละ
2,589,743,484 3,189,785,935
1.00 บาท
3,189,785,935
ทุนที่ออกและชําระแลว หุนสามัญ 2,589,743,484 หุน มูลคาหุนละ
2,589,743,484
2,589,743,484
2,589,743,484
2,589,743,484
21
139,078,735
139,078,735
139,078,735
139,078,735
10.3
(5,170,661)
(8,940,060)
(13,631,538)
(2,179,721)
25
75,408,087
55,574,679
75,408,087
55,574,679
689,335,198
602,145,587
683,750,428
584,844,254
รวมสวนของเจาของ
3,488,394,843
3,377,602,425
3,474,349,196
3,367,061,431
รวมหนี้สินและสวนของเจาของ
5,757,787,443
4,748,105,352
5,743,741,796
4,737,564,358
1.00 บาท สวนเกินมูลคาหุน องคประกอบอื่นของสวนของเจาของ กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุนสํา รองตามกฎหมาย ยังไมไดจดั สรร
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
132
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท หมาย เหตุ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ตามวิธีสวนไดเสีย 2557
2556
2557
2556
รายได คานายหนา
26
1,024,704,552
1,695,680,086
1,024,704,552
1,695,680,086
คาธรรมเนียมและบริการ
27
61,716,999
39,588,808
61,716,999
39,588,808
10.4
99,042,759
66,150,446
99,042,759
66,150,446
3,162,726
19,723,499
3,162,726
19,723,499
60,406,932
86,424,302
-
-
68,289,745
90,959,489
143,048,495
141,795,439
45,069,986
56,604,590
45,069,986
56,604,590
237,975,720
13,707,904
237,975,720
13,707,904
รวมรายได
1,600,369,419
2,068,839,124
1,614,721,237
2,033,250,772
ตนทุนทางการเงิน
21,075,886
53,583,831
21,075,886
53,583,831
105,938,478
156,610,947
105,938,478
156,610,947
คาใชจายเกี่ยวกับพนักงาน
690,507,227
1,072,167,248
690,507,227
1,072,167,248
คาใชจายเกี่ยวกับอาคาร สถานทีแ่ ละอุปกรณ
170,039,332
194,926,006
170,039,332
194,926,006
กําไรจากเงินลงทุน กําไรจากตราสารอนุพันธ สวนแบงกําไรจากเงินลงทุนตามวิธสี วนไดเสีย ดอกเบี้ยและเงินปนผล
10.5
ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย รายไดอื่น
28
คาใชจาย
คาธรรมเนียมและบริการจาย คาใชจ ายในการดําเนินงาน
คาตอบแทนกรรมการ
30
11,365,000
11,145,000
11,365,000
11,145,000
คาใชจายอื่น
31
133,877,698
144,756,121
133,877,698
144,756,121
2,874,350
15,931,601
2,874,350
15,931,601
1,135,677,971
1,649,120,754
1,135,677,971
1,649,120,754
464,691,448
419,718,370
479,043,266
384,130,018
(79,739,855)
(74,904,818)
(82,375,110)
(69,710,333)
384,951,593
344,813,552
396,668,156
314,419,685
หนี้สูญและหนีส้ งสัยจะสูญ รวมคาใชจาย กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสุทธิ
33
133
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท หมาย เหตุ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ตามวิธีสวนไดเสีย 2557
2556
2557
2556
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่
4,040,613
(15,815,602)
891,137
-
891,137
-
8,626,069
-
8,626,069
-
(2,887,565)
3,163,051
917,740
759,155
10,670,254
(12,652,551)
(4,550,962)
(3,036,623)
395,621,847
332,161,001
392,117,194
311,383,062
บาท
0.149
0.138
0.153
0.126
หุน
2,589,743,484
2,491,133,102
2,589,743,484
2,491,133,102
กําไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขาย
(14,985,908)
(3,795,778)
ปรับปรุงสวนเกินทุนจากการวัดมูลคา เงินลงทุนเผื่อขายที่ขายระหวางป กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสํา หรับโครงการผลประโยชนของ พนักงาน ภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคประกอบของ กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น
33
รวมกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสุทธิ กําไรเบ็ดเสร็จรวม
กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก
20
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
134
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท หมายเหตุ ทุนที่ออก และชําระแลว
2,330,759,812
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556
สวนเกิน มูลคาหุน
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย องคประกอบอื่นของ กําไรสะสม สวนของเจาของ จัดสรรแลว ยังไมไดจัด สรร สวนเกิน (ต่ํา) กวาทุน ทุนสํารอง จากการวัด ตามกฎหมาย มูลคาเงินลงทุน
139,318,081
3,712,491
39,853,695
560,475,919
รวม สวนของเจาของ
3,074,119,998
การเปลี่ยนแปลงในระหวางป เพิ่มทุน
258,983,672
สวนต่ํากวามูลคาหุน เงินปนผลจาย
24
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม
(239,346)
-
-
-
-
-
-
-
258,983,672
-
-
-
(239,346)
-
-
(287,422,900)
(287,422,900)
-
344,813,552
332,161,001
(12,652,551)
ทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
2,589,743,484
139,078,735
(8,940,060)
15,720,984 55,574,679
(15,720,984) 602,145,587
3,377,602,425
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
2,589,743,484
139,078,735
(8,940,060)
55,574,679
602,145,587
3,377,602,425
-
(284,829,429)
(284,829,429)
-
391,852,448
395,621,847
(19,833,408) 689,335,198
3,488,394,843
การเปลี่ยนแปลงในระหวางป เงินปนผลจาย
24
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ทุนสํารองตามกฎหมาย ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
-
-
-
-
2,589,743,484
3,769,399
139,078,735
(5,170,661)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
135
19,833,408 75,408,087
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสวนของเจาของ (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท หมาย เหตุ
งบการเงินเฉพาะกิจการ ทุนที่ออก
สวนเกิน
องคประกอบอื่นของ
และชําระแลว
มูลคาหุน
สวนของเจาของ สวนเกิน (ต่ํา) กวาทุน จากการวัด มูลคาเงินลงทุน
2,330,759,812
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2556
139,318,081
กําไรสะสม จัดสรรแลว ทุนสํารอง ตามกฎหมาย
856,902
39,853,695
รวม ยังไมไดจัดสรร
สวนของเจา ของ
573,568,453
3,084,356,943
การเปลีย่ นแปลงในระหวางป เพิ่มทุน
258,983,672
สวนต่าํ กวามูลคาหุน
-
เงินปนผลจา ย
24
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม ทุนสํารองตามกฎหมาย
(239,346)
-
-
-
258,983,672
-
-
-
(239,346)
-
(287,422,900)
(287,422,900)
-
-
-
-
-
-
(3,036,623)
-
15,720,984
314,419,685 (15,720,984)
-
311,383,062
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
2,589,743,484
139,078,735
(2,179,721)
55,574,679
584,844,254
3,367,061,431
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2557
2,589,743,484
139,078,735
(2,179,721)
55,574,679
584,844,254
3,367,061,431
การเปลีย่ นแปลงในระหวางป เงินปนผลจา ย
-
-
-
-
(284,829,429)
(284,829,429)
กําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวม
-
-
(11,451,817)
-
403,569,011
392,117,194
ทุนสํารองตามกฎหมาย
-
-
-
19,833,408
(19,833,408)
(13,631,538)
75,408,087
683,750,428
24
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557
2,589,743,484
139,078,735
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
136
3,474,349,196
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ตามวิธีสว นไดเสีย 2557
2556
2557
2556
464,691,448
419,718,370
479,043,266
384,130,018
57,724,619
64,047,127
57,724,619
64,047,127
2,874,350
15,931,601
2,874,350
15,931,601
(10,542,265)
(78,923)
(10,542,265)
(78,923)
25
85,797
25
85,797
กํา ไรจากการขายเงินลงทุนเพือ่ คา
(75,206,834)
(66,072,048)
(75,206,834)
(66,072,048)
ขาดทุน (กํา ไร) จากการขายเงินลงทุนเผือ่ ขาย
(13,293,660)
525
(13,293,660)
525
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษีเงินได ปรับปรุงดวย คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย หนี้สูญ และหนี้สงสัยจะสูญ กํา ไรที่ยงั ไมเกิดขึ้นจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเพือ่ คา ขาดทุนที่ยงั ไมเกิดขึ้นจากการวัดมูลคาหนี้สนิ ตราสารอนุพันธ
โอนกลับคาเผือ่ การดอยคาจากเงินลงทุนในบริษัทรวม
(205,589,985)
-
(205,589,985)
-
ขาดทุน (กํา ไร) จากการขายและตัดจําหนายอาคาร และอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตวั ตน
(3,220,940)
3,032,653
สว นแบง กําไรจากเงินลงทุนตามวิธสี วนไดเสีย
(60,406,932)
(86,424,302)
9,977,897
12,465,402
9,977,897
12,465,402
21,075,886
53,583,831
21,075,886
53,583,831
(113,359,731)
(147,564,079)
(188,118,481)
(198,400,029)
99,583,043
135,939,639
99,583,043
135,939,639
(21,075,886)
(53,310,198)
(21,075,886)
(53,310,198)
(4,463,410)
(89,950,487)
(4,463,410)
(89,950,487)
148,767,625
261,404,908
148,767,625
261,404,908
คาใชจา ยผลประโยชนของพนักงาน ตนทุนทางการเงิน รายไดดอกเบี้ยและเงินปนผล เงินสดรับจากดอกเบี้ย เงินสดจายดอกเบี้ย เงินสดจายภาษีเงินได
(3,220,940) -
3,032,653 -
กําไรจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงใน สินทรัพยและหนี้สนิ ดําเนินงาน
137
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท งบการเงินเฉพาะกิจการ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสว นไดเ สีย 2557 2556
2557
2556
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน (ตอ) สินทรัพยดําเนินงาน (เพิ่มขึน้ ) ลดลง เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนา
300,000,000 410,750,733 (776,074,908)
(462,929,545) (190,473,432) 1,208,591,250
300,000,000 410,750,733 (776,074,908)
(462,929,545) (190,473,432) 1,208,591,250
(83,256,941,378)
(64,394,949,930)
(83,256,941,378)
(64,394,949,930)
82,654,660,573
64,474,955,300
82,654,660,573
64,474,955,300
(211,699) -
97,868,654 1,573,463
(211,699) -
97,868,654 1,573,463
เจา หนีส้ าํ นักหักบัญ ชี
162,583,315
(161,426,020)
162,583,315
(161,426,020)
เจา หนีธ้ ุรกิจหลักทรัพย หนี้สนิ ตราสารอนุพันธ ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน
716,513,965 (57,298) (4,171,639)
(494,444,085) (485,289) (5,264,630)
716,513,965 (57,298) (4,171,639)
(494,444,085) (485,289) (5,264,630)
หนี้สินอื่น
(15,483,885)
(104,562,933)
(15,483,885)
(104,562,933)
340,335,404
229,857,711
340,335,404
229,857,711
(207,737,627)
(140,707,432)
(207,737,627)
(140,707,432)
80,423,862
1,018
80,423,862
1,018
เงินสดจายซือ้ เงินลงทุนเพือ่ คา เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนเพือ่ คา สินทรัพยอนื่ สุทธิ เงินสดรับจากการขอคืนภาษีเงินได หนี้สนิ ดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง)
เงินสดสุทธิไดมาจากกิจกรรมดํา เนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดจายซือ้ เงินลงทุนเผื่อขาย เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนเผื่อขาย เงินสดจายซือ้ ตั๋วแลกเงิน เงินสดรับจากตั๋วแลกเงิน เงินสดจายซือ้ เงินลงทุนในตราสารทุน
-
(150,965,817)
80,000,000 (9,850)
80,000,000 -
-
(150,965,817)
80,000,000 (9,850)
80,000,000 -
เงินสดรับจากเงินปนผลของเงินลงทุนในหลักทรัพย
10,399,375
249,464
10,399,375
249,464
เงินสดรับจากเงินปนผลของเงินลงทุนในบริษัทรวม
74,758,750
50,835,950
74,758,750
50,835,950
(38,601,308)
(60,307,202)
(38,601,308)
(60,307,202)
17,262,878
2,227,523
17,262,878
2,227,523
16,496,080
(218,666,496)
16,496,080
(218,666,496)
เงินสดจายซือ้ อาคารและอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตวั ตน เงินสดรับจากการขายอาคารและอุปกรณ และสินทรัพยไมมีตวั ตน เงินสดสุทธิไดมาจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน
138
บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) งบกระแสเงินสด (ตอ) สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 หนวย : บาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ตามวิธีสว นไดเสีย 2557
2556
2557
2556
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดรับจากตราสารหนี้ทอี่ อกและเงินกูย ืมอื่น
-
364,550,018
-
364,550,018
เงินสดจายชําระตราสารหนี้ที่ออกและเงินกูยืมอื่น
-
(715,000,000)
-
(715,000,000)
เงินสดจายชําระหนี้สนิ ตามสัญญาเชาการเงิน
(481,848)
เงินสดรับจากการเพิ่มทุน
-
เงินปนผลจา ย
(2,180,166) 67,111
(481,848) -
(2,180,166) 67,111
(284,829,429)
(28,745,686)
(284,829,429)
(28,745,686)
(285,311,277)
(381,308,723)
(285,311,277)
(381,308,723)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึน้ (ลดลง) สุทธิ
71,520,207
(370,117,508)
71,520,207
(370,117,508)
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 1 มกราคม
1,073,087,608
1,443,205,116
1,073,087,608
1,443,205,116
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
1,144,607,815
1,073,087,608
1,144,607,815
1,073,087,608
เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึ่งของงบการเงินนี้
139
บริษทั หลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน สําหรับปสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธัน วาคม 2557 1.
ขอมูลทั่วไป 1.1 ขอมูลทั่วไปของบริษัท บริษัทหลักทรัพย คันทรี่ กรุป จํากัด (มหาชน) (“บริษัท”) เปนนิติบุคคลที่จัดตั้งขึน้ ในประเทศไทย ในป 2536 บริษทั ไดเขาเปนบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพยฯ”) และเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 บริษัท ไดเพิกถอนหุน สามัญออกจากเปน หลักทรัพ ยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ (ดูห มายเหตุขอ 1.2) บริษัทไดจดทะเบียนแปลงสภาพเปนบริษัทมหาชนจํากัด ตามกฎหมายวาดวยบริษัทมหาชนจํากัด เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2537 โดยมีสํานักงานใหญ จดทะเบียนตั้งอยูเลขที่ 132 อาคารสินธร 1 ชั้น 2 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขต ปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 บริษัทใหญของบริษัท คือ บริษัท คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) (“คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส”) ซึ่งเปนบริษัทที่ จัดตั้งขึ้นในประเทศไทยโดยถือหุนของบริษัทคิดเปนรอยละ 99.1 (ดูหมายเหตุขอ 1.2) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีสาขาอยูจํานวน 41 สาขา และ 50 สาขา ตามลําดับ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2551 กระทรวงการคลังอนุมัติใบอนุญาตประกอบธุร กิจหลักทรัพยแบบ ก เลขที่ ลก0002-01 ใหแกบริษัท และยกเลิกใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรั พยเดิมเลขที่ 51/2517 และเลขที่ 18/2547 ใบอนุ ญาตประกอบธุ รกิ จหลักทรัพยแ บบ ก เป น ใบอนุ ญาตให ป ระกอบธุ รกิ จหลักทรัพ ยไดห ลายประเภท ดังตอไปนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
การเปนนายหนาซื้อขายหลักทรัพย การคาหลักทรัพย การจัดจําหนายหลักทรัพย การเปนที่ปรึกษาการลงทุน การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนสวนบุคคล กิจการการยืมและใหยืมหลักทรัพย การจัดการเงิน รวมลงทุน
บริษัทไดรับความเห็นชอบเปนที่ปรึกษาทางการเงินตั้งแตวันที่ 21 มีนาคม 2555 ถึงวันที่ 20 มีน าคม 2560 จาก สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
140
เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2551 บริษัทไดรับใบอนุญาตเลขที่ 0007/2551 ใหประกอบธุรกิจหลักทรัพยป ระเภทการ เปน นายหนาซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนาจากคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยแ ละตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ การอนุญาตมีผลตั้งแตวันที่ 31 กรกฎาคม 2551 เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2553 บริษัท ไดรับ อนุญาตใหป ระกอบธุร กิจหลักทรัพยป ระเภทกิจการการยืมและ ใหยืมหลักทรัพยเฉพาะในฐานะตัวการ (Principal) จากสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย สําหรับการประกอบธุรกิจหลักทรัพยประเภทการจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนสวนบุคคล และการจัด การเงิน รวมลงทุน บริษัท จะเริ่มดําเนินการไดกต็ อเมื่อไดรับความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว 1.2
การปรับโครงสรางกิจการ เมื่อวั นที่ 29 เมษายน 2557 ที่ ประชุ มสามัญผูถือหุ น ประจําป 2557 ของบริษั ทมี มติอ นุมั ติแ ผนการปรั บ โครงสรางกิจการของบริษัทโดยจะดําเนินการใหมีการจัดตั้งบริษัทโฮลดิ้งภายใตชื่อ บริษัท คัน ทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) เพื่อประกอบธุรกิจทางดานลงทุนและถือหุนของบริษัทโดย คันทรี่ กรุป โฮลดิง้ ส จะทําคําเสนอซือ้ หลักทรัพยท ั้งหมดของบริษัท แลกเปลี่ยนกับหลักทรัพยประเภทเดียวกันของบริษัท ในอัตราแลกหลักทรัพยเทากับ 1 ตอ 1 ซึ่งในที่น ี้จะเทากับ 1 หุนสามัญของบริษัทตอ 1 หุนสามัญของ คัน ทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ณ วันที่ 25 ธันวาคม 2557 ซึ่งเปนวันครบกําหนดระยะเวลาทําคําเสนอซื้อ คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ไดสรุป จํานวนหุนสามัญของบริษัท ที่รับซื้อไดคิดเปนสัดสวนรอยละ 99.1 ของจํานวนหุนสามัญที่ออกแลวของบริษัท ทั้งนี้ สัดสวนของหลักทรัพยที่ไดมาจากการทําคําเสนอซื้อมีจํานวนไมต่ํากวารอยละ 75 ของจํานวนหลักทรัพยท ี่ ออกแลวทั้งหมด จึงถือวาการทําคําเสนอซื้อเปนผลสําเร็จ และมีผลทําใหบริษัท เปนบริษัทยอยของ คัน ทรี่ กรุป โฮลดิ้งส เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 บริษัทไดเพิกถอนหุนสามัญออกจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียนใน ตลาด หลักทรัพยฯ และหุนสามัญของ คัน ทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ไดเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ แทน ซึ่งเปนการ ดําเนินการตามแผนการปรับโครงสรางกิจการของบริษัท
141
2.
หลักเกณฑการจัดทําและนําเสนองบการเงิน 2.1 บริษัทจัดทําบัญชีเปนเงินบาทและจัดทํางบการเงินตามกฎหมายเปนภาษาไทยตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และวิ ธี ป ฏิบ ั ติท างการบั ญ ชี ที่ รั บ รองทั่ วไปในประเทศไทยและได จัดทํ าขึ้ น ตามประกาศของสํ า นัก งาน คณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย งบการเงินของบริษัทไดจัดทําขึ้น ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับ ที่ 1 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง “การนําเสนอ งบการเงิน” และตามขอกําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (“กลต.”) ที่ สธ/ข/น. 53/2553 ลงวันที่ 15 ธัน วาคม 2553 เรื่อง “แบบงบการเงิน สําหรับ บริษัท หลักทรัพย” 2.2
มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่มีผลตอการรายงาน และ/หรือการเปดเผยขอมูลในงบการเงินสําหรับรอบ บัญชีปจจุบ ัน สภาวิชาชีพบั ญชีไ ดออกประกาศที่เ กี่ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่มี ผลบั งคับ ใชสําหรั บ งบ การเงิน ที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวัน ที่ 1 มกราคม 2557 เปนตนไป ดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2555) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2555)
การนําเสนองบการเงิน งบกระแสเงินสด ภาษีเงินได สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน เงินตราตางประเทศ การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินลงทุนในบริษัทรวม สวนไดเสียในการรวมคา งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย สินทรัพยไมมีตัวตน
142
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2555) การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2555) การรวมธุรกิจ ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2555) สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและ การดําเนินงานที่ยกเลิก ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2555) สวนงานดําเนินงาน การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 15 สัญญาเชาดําเนินงาน - สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา ฉบับที่ 27 การประเมินเนื้อหาของรายการที่เกี่ยวกับรูปแบบของกฎหมาย ตามสัญญาเชา ฉบับที่ 29 การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 32 สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 การเปลี่ยนแปลงในหนี้สินที่เกิดขึ้นจากการรื้อถอน การบูรณะและ หนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน ฉบับที่ 4 การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม ฉบับที่ 5 สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรื้อถอน การบูรณะและ การปรับปรุงสภาพแวดลอม ฉบับที่ 7 การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงิ น ในสภาพเศรษฐกิ จที่ มี ภาวะเงิ น เฟ อ รุนแรง ฉบับที่ 10 งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา ฉบับที่ 12 ขอตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 13 โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา ฉบับที่ 17 การจายสินทรัพยท ี่ไมใชเงินสดใหเจาของ ฉบับที่ 18 การโอนสินทรัพยจากลูกคา มาตรฐานการรายงานทางการเงินขางตน ไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบการเงิน นี้ นอกจากนี้ สภาวิชาชีพบัญชีไดออกประกาศ เรื่อง กรอบแนวคิดสําหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) ซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว และมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 15 ตุลาคม 2557 เปนตนไป เพื่อใชแทนแมบท การบั ญชี (ปรั บปรุ ง 2552) กรอบแนวคิดสํ าหรั บการรายงานทางการเงิน ดั งกล าวไม มีผลกระทบอยางเป น สาระสําคัญตองบการเงินนี้
143
2.3
มาตรฐานการรายงานทางการเงินซึ่งไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว แตยังไมมีผลบังคับ ใช สภาวิชาชีพบั ญชีไ ดออกประกาศที่เ กี่ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิ น ที่มี ผลบั งคับ ใชสําหรั บ งบ การเงิน ที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวัน ที่ 1 มกราคม 2558 เปนตนไป ดังตอไปนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 11 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 16 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 20 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 21 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 23 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 24 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 26 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 28 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 33 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 34 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 37 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 38 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 40 (ปรับปรุง 2557)
การนําเสนองบการเงิน สินคาคงเหลือ งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชีและ ขอผิดพลาด เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน สัญญากอสราง ภาษีเงินได ที่ดิน อาคารและอุปกรณ สัญญาเชา รายได ผลประโยชนของพนักงาน การบัญชีสําหรับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลและการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับ ความชวยเหลือจากรัฐบาล ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา ตางประเทศ ตนทุนการกูยืม การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับบุคคล หรือกิจการที่เกี่ยวของกัน การบัญชีและการรายงานโครงการผลประโยชนเมื่อออกจากงาน งบการเงินเฉพาะกิจการ เงินลงทุนในบริษัทรวมและการรวมคา การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่เงินเฟอรุนแรง กําไรตอหุน งบการเงินระหวางกาล การดอยคาของสินทรัพย ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น และสินทรัพยที่อาจเกิดขึ้น สินทรัพยไมมีตัวตน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน
144
มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 2 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 3 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 6 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 8 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 10 ฉบับที่ 11 ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 13 การตีความมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 25 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 27 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 31 (ปรับปรุง 2557) ฉบับที่ 32 (ปรับปรุง 2557)
การจายโดยใชหุนเปนเกณฑ การรวมธุรกิจ สินทรัพยไมห มุน เวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนิน งานที่ยกเลิก การสํารวจและประเมินคาแหลงทรัพยากรแร สวนงานดําเนินงาน งบการเงิน รวม การรวมการงาน การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสวนไดเสียในกิจการอื่น การวัดมูลคายุติธรรม
ความชวยเหลือจากรัฐบาล-กรณีท ี่ไมมีความเกี่ยวของอยาง เฉพาะเจาะจงกับกิจกรรมดําเนินงาน สัญญาเชาดําเนินงาน-สิ่งจูงใจที่ใหแกผูเชา ภาษีเงินได-การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางภาษีของกิจการ หรือของผูถือหุน การประเมินเนื้อหาสัญญาเชาที่ทําขึ้นตามรูปแบบกฎหมาย การเปดเผยขอมูลของขอตกลงสัมปทานบริการ รายได-รายการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับบริการโฆษณา สินทรัพยไมมีตัวตน-ตนทุนเว็บไซต
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2557) การเปลี่ยนแปลงในหนี้สนิ ทีเ่ กิดขึน้ จากการรื้อถอน การบูรณะ และหนี้สินที่มีลักษณะคลายคลึงกัน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) การประเมินวาขอตกลงประกอบดวยสัญญาเชาหรือไม ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2557) สิทธิในสวนไดเสียจากกองทุนการรือ้ ถอน การบูรณะและการปรับปรุง สภาพแวดลอม ฉบับที่ 7 (ปรับปรุง 2557) การปรับปรุงยอนหลังภายใตมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรื่อง การรายงานทางการเงินในสภาพเศรษฐกิจที่มีภาวะเงินเฟอรุนแรง ฉบับที่ 10 (ปรับปรุง 2557) งบการเงินระหวางกาลและการดอยคา ฉบับที่ 12 (ปรับปรุง 2557) ขอตกลงสัมปทานบริการ ฉบับที่ 13 (ปรับปรุง 2557) โปรแกรมสิทธิพิเศษแกลูกคา
145
การตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 14 ขอจํากัดสินทรัพยตามโครงการผลประโยชน ขอกําหนดเงินทุนขัน้ ต่ํา และปฏิสัมพันธของรายการเหลานี้ สําหรับมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 (ปรับปรุง 2557) เรื่อง ผลประโยชนของพนักงาน ฉบับที่ 15 (ปรับปรุง 2557) สัญญาสําหรับการกอสรางอสังหาริมทรัพย ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2557) การจายสินทรัพยทไี่ มใชเงินสดใหเจาของ ฉบับที่ 18 (ปรับปรุง 2557) การโอนสินทรัพยจากลูกคา ฉบับที่ 20 ตนทุนการเปดหนาดินในชวงการผลิตสําหรับเหมืองผิวดิน สภาวิช าชีพ บัญชีไดอ อกประกาศที่เกี่ ยวกับ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ที่มี ผลบังคั บ ใชสําหรั บงบ การเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 เปนตนไป ดังตอไปนี้ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 4 (ปรับปรุง 2557) สัญญาประกันภัย ผูบ ริหารของบริษัทคาดวาจะนํามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่เกี่ยวของกับบริษัทมาเริ่มถือปฎิบัติ กับ งบการเงินของบริษทั เมื่อมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกลาวมีผลบังคับ ใช โดยผูบริห ารของบริษทั ไดป ระเมิน แลวเห็น วามาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังกลาวไมมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญตองบ การเงินสําหรับงวดที่เริ่มใชมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลาว 2.4
งบการเงินตามวิธีสวนไดเสีย สวนแบงกําไรจากเงิน ลงทุนตามวิธีสวนไดเสียคิดเปน รอยละของรายไดรวมในงบการเงินทีแ่ สดงเงินลงทุนตาม วิธีสวนไดเสีย ดังนี้
บริษัทหลักทรัพยจดั การกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) (ตรวจสอบโดยผูสอบบัญชีอื่น) - สวนแบงกําไรจากเงิน ลงทุนตามวิธีสว นไดเสีย (บาท) - รอยละของรายไดรวมของบริษทั
146
สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556
60,406,932 3.8
86,424,302 4.2
3.
นโยบายการบัญชีท ี่สําคัญ งบการเงินนี้ไดจัดทําขึ้นโดยใชเกณฑราคาทุนเดิมในการวัดมูลคาขององคประกอบของงบการเงิน ยกเวนตามที่ไดเปดเผย ในนโยบายการบัญชีท ี่สําคัญ นโยบายการบัญชีที่สําคัญของบริษัทโดยสรุปมีดังตอไปนี้ 3.1 การรับรูรายได คานายหนา คานายหนาจากการซื้อขายหลักทรัพย และสัญญาซื้อขายลวงหนาถือเปนรายได ณ วันที่เกิดรายการ คาธรรมเนียมและบริการ คาธรรมเนียมรับ รูตามเกณฑคงคาง สวนรายไดคาบริการถือเปน รายไดตามอัตราสวนของงานที่ท ําเสร็ จ ตามที่ระบุในสัญญาบริการ กําไร (ขาดทุน ) จากเงินลงทุนและตราสารอนุพนั ธ กําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนและตราสารอนุพันธรับรูเปนรายไดหรือคาใชจาย ณ วันที่เกิดรายการ ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย ดอกเบี้ยถือเปนรายไดตามเกณฑคงคาง เวน แตมีความไมแนน อนในการเรียกเก็บ เงินตนและดอกเบี้ย บริษัท จึงหยุดรับรูรายไดดอกเบี้ยดังกลาวตามเกณฑคงคาง กรณีดังตอไปนี้ ถือวามีความไมแนนอนในการเรียกเก็บ เงินตนและดอกเบี้ย 1) ลูกหนี้ท ั่วไปที่มีหลักประกัน ต่ํากวามูลหนี้ 2) ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงินไมเกินทุกสามเดือน ซึ่งคางชําระเงิน ตน หรือดอกเบี้ยตั้งแตสาม เดือนขึ้นไป 3) ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงิน เกิน กวาทุกสามเดือ น เวน แตมีห ลักฐานที่ชัดเจนและมีความ เปนไปไดคอนขางแนที่บริษัทจะไดรับชําระหนี้ท ั้งหมด 4) ลูกหนี้สถาบันการเงินที่มีปญหา 5) ลูกหนี้อื่นที่คางชําระดอกเบี้ยตั้งแตสามเดือนขึ้นไป เงื่อนไขดังกลาวขางตนเปนไปตามหลักเกณฑที่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย
147
ดอกเบี้ยและเงินปนผลจากเงินลงทุน ดอกเบี้ยจากเงิน ลงทุนถือเปนรายไดตามเกณฑคงคาง เงิน ปน ผลรับ จากเงิน ลงทุน ถือ เปน รายได เมื่อ มีการ ประกาศจาย 3.2
การรับรูคาใชจาย คาใชจายบันทึกตามเกณฑคงคาง สัญญาเชาดําเนินงาน สัญญาเชาซึ่งความเสี่ยงและผลตอบแทนสวนใหญของการเปน เจาของสิน ทรัพย ยังคงอยู กับผูใหเชาถือเป น สัญญาเชาดําเนินงาน รายจายภายใตสัญญาเชาดําเนินงานบัน ทึกในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จโดยวิธีเ สน ตรง ตลอดอายุสัญญาเชา ประโยชนที่ไดรับตามสัญญาเชาจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเปน สวนหนึ่งของคา เชาทั้งสิ้นตามสัญญา คาเชาที่อาจเกิดขึ้นจะบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในรอบบัญชีที่มีรายการดังกลาว
3.3
การรับรูและตัดบัญชีสินทรัพยของลูกคา บริษัทบันทึกเงินที่ลูกคาวางไวกับบริษัทเพื่อการซื้อขายหลักทรัพยบัญชีเงินสด การซื้อขายหลักทรัพย บัญชีเงินฝาก การซื้อขายหลักทรัพยในระบบเครดิตบาลานซ และการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนาเปนสินทรัพยและหนี้สินของ บริษัทและ ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน บริษัทไดตัดรายการดังกลาวออกทั้งดานสินทรัพยและหนี้สิน โดยจะ แสดงเฉพาะสินทรัพยและหนี้สินที่เปนของบริษัทเทานั้น
3.4
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดประกอบดวย เงินสดในมือ เงินฝากธนาคารกระแสรายวัน เงินฝากธนาคารออม ทรัพย เงิน ฝากประจําที่มีอายุคงเหลือไมเกิน 3 เดือ นนับ จากวัน ที่ไดมา และไมมีภาระผูกพัน ตัว๋ เงินประเภท เผื่ อเรียก และตั๋วสัญญาใชเงิ นที่ มีวัน ถึงกําหนดภายใน 3 เดื อนนั บ จากวัน ที่ ได มา ซึ่งเปน ไปตามประกาศ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
3.5
เงินฝากในสถาบันการเงิน เงิ น ฝากในสถาบั น การเงิ น ได แ ก เงิ น ฝากประจํ า ตั๋ ว สั ญ ญาใช เ งิ น ที่ มี อ ายุ คงเหลื อ เกิ น กว า 3 เดื อ น นับจากวันที่ไดมา เงินฝากที่มีภาระผูกพัน และบัตรเงินฝากที่มีอายุภายใน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมา แตบริษทั มี ความตั้งใจที่จะถือตอไปในรูปแบบเดิมโดยการตอตั๋ว
148
3.6
ลูกหนี้และเจาหนี้สํานักหักบัญชี ยอดดุลสุทธิลูกหนี้หรือเจาหนี้ที่เกิดจากการชําระราคาซื้อขายหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาผานสํานัก หักบัญชีของศูนยรับฝากหลักทรัพยในแตละวันและยอดดุลสุทธิลูกหนี้ หรือเจาหนีบ้ ริษทั หลักทรัพยตา งประเทศที่ เกิดจากการชําระราคาซื้อขายหลักทรัพยในตางประเทศผานบริษัทหลักทรัพ ยตางประเทศ แสดงเปน ยอดดุล สุท ธิลูกหนี้ห รือเจาหนี้สํานักหักบัญชี ซึ่งเปน ไปตามประกาศสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพยที่ สธ/ข/น. 53/2553 เรื่อง “แบบงบการเงิน สําหรับ บริษัท หลักทรัพย” ลงวัน ที่ 15 ธัน วาคม 2553
3.7
ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนา ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนา หมายถึง ยอดสุทธิลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขาย ลวงหนาหลังหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ ธุรกิ จหลั กทรัพ ย แบงเปน 3 ประเภท คือ ลูกหนี้ ซื้อหลักทรั พยดวยเงินสด ลูกหนี้เงิ นใหกูยืมเพื่อซื้ อ หลักทรัพย และลูกหนีอ้ ื่น ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพยดวยเงินสดเปนบัญชีท ี่ลูกหนี้จะตองชําระราคาคาซือ้ หลักทรัพยให บริษัทภายใน 3 วันทําการ สําหรับลูกหนี้ซื้อหลักทรัพยตราสารทุน และตามขอตกลงการชําระเงินสําหรับลูกหนีซ้ อื้ หลักทรัพยตราสารหนี้ ลูกหนี้เงินใหกูยืมเพื่อซื้อหลักทรัพยเปนบัญชีที่ลูกหนี้สามารถกูยืมเงินเพื่อซื้อหลักทรัพยได โดยตองวางหลักประกันการชําระหนี้ในอัตราที่ไมต่ํากวาอัตราที่ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยกําหนด ลูกหนีอ้ นื่ รวม ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาดวยเงินสดที่ไมสามารถชําระเงินไดภายในระยะเวลาที่กําหนดและ ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนา ที่อยูระหวางดําเนินคดี ประนอมหนี้หรือผอนชําระ บริ ษัท ถือ ปฏิบ ั ติในการตั้ งค าเผื่ อหนี้สงสัยจะสูญโดยการประเมิน ฐานะลู กหนี้ แต ละรายและลู กหนี้ โดยรวม ประกอบกับการพิจารณาตามกฎเกณฑประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ที่ กธ. 33/2543 และกธ. 5/2544 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2543 และวันที่ 15 กุมภาพันธ 2544 ตามลําดับ ซึ่งการประเมิน นี้รวมถึงการพิจารณาความเสี่ยงและมูลคาของหลักทรัพยที่ใชค้ําประกัน บริษัทตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับ ลูกหนี้เมื่อหนี้น ั้นมีหลักประกันไมเพียงพอและ/หรือมีโอกาสที่ลูกหนี้จะชําระเงินตนและดอกเบีย้ คืนไมครบจํานวน
149
ทั้งนี้บริษัทถือพื้นฐานการจัดชั้นหนี้และการตั้งสํารองตามหลักเกณฑท ี่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก) มูลหนี้จัดชั้นสูญ หมายถึง 1) มูลหนี้ของลูกหนี้ที่ไดติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแลว แตไมไดรับการชําระหนี้ และบริษัทไดดําเนินการ จําหนายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ตามกฎหมายภาษีอากรแลว 2) มูลหนี้ท ี่บริษัท ไดท ําสัญญาปลดหนี้ให ข) มูลหนี้จัดชั้นสงสัย หมายถึง มูลหนี้เฉพาะสวนที่สูงเกินกวาหลักประกันของลูกหนี้ที่เขาลักษณะดังนี้ 1) ลูกหนี้ทั่วไป ลูกหนี้สถาบันการเงินที่มีปญหา และลูกหนี้อื่นที่มีหลักประกันต่ํากวามูลหนี้ 2) ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงิน ไมเกิน ทุกสามเดือ น ซึ่งคางชําระเงิน ตน หรือ ดอกเบี้ย ตั้งแตสามเดือนขึ้นไป 3) ลูกหนี้ผอนชําระรายที่มีงวดการชําระเงินเกินกวาทุกสามเดือน เวนแตมีหลักฐานที่ชัดเจนและมีความ เปนไปไดคอนขางแนที่บ ริษัทจะไดรับ ชําระหนี้ทั้งหมด ค) มู ล หนี้ จั ด ชั้ น ต่ํ า กว า มาตรฐาน ห มายถึ ง มู ล หนี้ ส ว นที่ ไ ม สู ง เกิ น กว า หลั ก ประกั น ของลู ก หนี้ ที่เขาลักษณะตาม ข) ทั้งนี้บริษัทตัดจําหนายลูกหนี้จัดชั้นสูญออกจากบัญชีทันทีท ี่พบรายการ และตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราไมต่ํา กวารอยละหนึ่งรอยของมูลหนี้จัดชั้น สงสัยทั้งจํานวน 3.8
เงินลงทุน เงิน ลงทุน ที่เปนหลักทรัพยในความตอ งการของตลาดซึ่งถือ ไวเ พื่อ คา แสดงในมูลคายุติธรรมบริษทั บันทึก การเปลี่ยนแปลงจากการวัดมูลคาของเงิน ลงทุนเปนรายการกําไรหรือขาดทุนในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เงินลงทุ นในตราสารหนี้ท ี่บริษั ทตั้งใจและสามารถถื อจนกว าครบกําหนด แสดงในราคาทุ นตัดจําหนาย หักดวย ขาดทุนจากการดอยคาของเงินลงทุน ผลตางระหวางราคาทุนที่ซื้อมากับมูลคาไถถอนของ ตราสารหนี้จะถูก ตัดจายโดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงตลอดอายุของตราสารหนี้ที่เหลือ
150
เงินลงทุน ในตราสารหนี้และตราสารทุนซึ่งเปนหลักทรัพยในความตองการของตลาด นอกเหนือจากที่ถือไวเพื่อคา หรือตั้งใจถือไวจนครบกําหนด จัดประเภทเปนเงินลงทุน เผื่อขายและแสดงในมูลคายุติธรรม การเปลี่ยนแปลงจากการ วัดมูลคาเงินลงทุนดังกลาว แสดงเปนองคประกอบอื่นของสวนของเจาของในสวนของเจาของ ยกเวนขาดทุนจากการ ดอยคาของเงินลงทุนจะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และเมื่อมีการจําหนายเงิน ลงทุนจะตองรับ รูผลกําไรหรือ ขาดทุ น ที่ เคยบั น ทึ กในองค ประกอบอื่นของส วนของเจาของในส วนของเจาของโดยตรงเขาในงบกําไรขาดทุ น เบ็ดเสร็จ สําหรับกรณีที่เปนเงินลงทุนประเภทที่มีดอกเบี้ย จะตองบันทึกดอกเบี้ยในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จโดยวิธี อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง เงิ น ลงทุ น ในตราสารทุ น ซึ่ ง ไม ใ ช ห ลั ก ทรั พ ย ใ นความต อ งการของตลาดแสดงในราคาทุ น สุ ท ธิ จ าก คาเผื่อการดอยคา (ถามี) มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยในความตองการของตลาดคํานวณจากราคาเสนอซื้อ หลัง สุด ณ สิ้น วัน ทํา การสุดทายของปของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย มูลคายุติธรรมของหนวยลงทุนในกองทุนปดคํานวณจาก มูลคาสินทรัพยสุทธิของหนวยลงทุน มูลคายุติธรรมของตราสารหนีค้ ํานวณโดยใชอัตราผลตอบแทนเสนอซื้อลาสุด ของสมาคมตราสารหนี้ไทย การคํานวณตนทุนสําหรับเงินลงทุนในตราสารทุนใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักและสําหรับเงินลงทุนในสัญญาซื้อขาย ลวงหนาใชวิธีเขากอนออกกอน การดอยคา ขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ของเงินลงทุนบันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จเมื่อราคาตามบัญชี สูงกวาราคาที่ คาดวาจะไดรับคืน 3.9
เงินลงทุนในบริษัทรวม เงินลงทุนในบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียแสดงมูลคาตามวิธีสวนไดเสีย เงินลงทุนในบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีราคาทุนสุทธิจากคาเผื่อการดอย คา (ถามี)
151
ณ วันที่ซื้อเงินลงทุน บริษัทรับรูผลตางระหวางตนทุนของเงินลงทุนกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย หนี้สิน และ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นที่ระบุไดในบริษัทรวมเปนคาความนิยม ซึ่งแสดงรวมอยูในมูลคาตามบัญชีเงินลงทุน บริษัทจะบันทึกขาดทุนจากการดอยคา (ถามี) ของเงินลงทุนในบริษัทรวมในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 3.10
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ ที่ดิน แสดงในราคาทุน อาคารและอุปกรณแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อ การดอยคา (ถา มี) คาเสื่ อมราคาบั นทึ กเป นค าใชจ ายในงบกํ าไรขาดทุ น เบ็ ดเสร็ จ และคํานวณโดยวิ ธีเส นตรงตามอายุการให ประโยชนโดยประมาณของอาคารและอุปกรณแตละรายการ เมื่ออาคารและอุปกรณนั้นพรอมใชงาน ประมาณการอายุการใหประโยชนแสดงไดดังนี้ อาคาร สวนปรับปรุงอาคาร/อาคารในที่เชา เครื่องตกแตงและอุป กรณสํานักงาน ยานพาหนะ
20 5 3-5 5
ป ป ป ป
สินทรัพยท ี่เชา สัญญาเชาที่บ ริษัทไดรับ สวนใหญข องความเสี่ยงและผลตอบแทนจากการครอบครองทรัพยสิน ที่เชานั้น ๆ ยก เ ว น ก ร ร ม สิ ท ธิ์ ท า ง ก ฎ ห ม า ย จั ด ป ร ะ เ ภ ท เ ป น สั ญ ญา เ ช าท า ง กา ร เ งิ น สิ น ท รั พ ย ที่ เ ช า ที่ไดมาโดยทําสัญญาเชาทางการเงิน บัน ทึกเปน สิน ทรัพยดวยมูลคายุติธรรมหรือ มูลคาปจจุบัน ของจํานวน เงิน ขั้น ต่ําที่ตอ งจายตามสัญญาเชาแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวานับ จากวัน เริ่มตน ของสัญญาเชา หักดวยคา เสื่อมราคาสะสมและขาดทุนจากการดอยคา(ถามี) คาเชาที่ชําระจะแยกเปน สวนที่เปนคาใชจายทางการเงินและ สวนที่จะหักจากหนี้ตามสัญญา คาใชจายทางการเงินจะบันทึกโดยตรงในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ การดอยคา อาคารและอุปกรณจะมีการทดสอบการดอยคาเมื่อมีขอบงชี้วา อาคารและอุปกรณนั้นอาจดอยคา รายการกําไรและขาดทุน จากการจําหนายคํานวณโดยการเปรียบเทียบจากสิ่งตอบแทนที่ไดรับ กับ ราคาตาม บัญชี และบัน ทึกรวมในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
152
3.11
สินทรัพยไมมีตัวตน สินทรัพยไมมีตัวตนที่อายุการใหประโยชนทราบแนนอนแสดงดวยราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม และคาเผื่อการ ดอยคา (ถามี) คาตัดจําหนายบัน ทึก เปน คา ใช จายในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ คํา นวณโดยวิ ธีเ สน ตรงตามอายุ การให ประโยชนโดยประมาณของสินทรัพยไมมีตัวตนแตละรายการ เมื่อสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอายุการใหป ระโยชน ทราบแนน อนนั้น พรอมใชงาน ประมาณการอายุการใหประโยชนแสดงไดดังนี้ คาธรรมเนียมการใชระบบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนา โปรแกรมคอมพิวเตอร
1 - 5 ป 5 ป
สินทรัพยไมมีตัวตนที่อายุการใหประโยชนไมทราบแนนอน จะทดสอบการดอยคาเมื่อมีขอบงชี้วา สินทรัพยไมมี ตัวตนนั้นอาจดอยคาและตั้งคาเผื่อการดอยคา (ถามี) 3.12
สิน ทรัพยท ี่ถือไวเพื่อขาย สินทรัพยจัดเปนสินทรัพยที่ถือไวเพื่อขาย เมื่อมูลคาตามบัญชีที่จะไดรับคืนสวนใหญมาจากการขายมิใชมาจาก การใชสินทรัพยนั้นตอไป ซึ่งผูบริหารของบริษัทคาดวา การขายมีความเปนไปไดสูงมาก และสิน ทรัพยดังกลาว จะตองมีไวเพื่อขายทัน ทีในสภาพปจจุบัน สิน ทรัพยท ี่ถือไวเพื่อขายประกอบดวย อสังหาริมทรัพยซึ่งแสดงดวยราคาทุน หรือมูลคายุติธรรมหักตน ทุน ใน การขายแลวแตราคาใดจะต่ํากวา
3.13
สิท ธิการเชา สิท ธิการเชาแสดงดวยราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม และคาเผื่อการดอยคา (ถามี) คาตัดจําหนายบัน ทึกเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ คํานวณโดยวิธีเสนตรงตามอายุสัญญาเชา
3.14
อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนแสดงดวยราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อการดอยคา (ถามี)
153
3.15
เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย เจ า หนี้ ธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย เ ป น ภาระของบริ ษั ท จากการประกอบธุ ร กิ จ หลั ก ทรั พ ย แ ละธุ ร กิ จ สั ญ ญา ซื้อขายลวงหนาที่มตี อบุคคลภายนอก
3.16
หนี้สิน ตราสารอนุพันธ บริษัท บันทึกภาระจากใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพัน ธเปน รายการหนี้สินและบัน ทึกการเปลี่ยนแปลงของมูลค า ยุติธรรมในงบกําไรขาดทุ นเบ็ดเสร็จ มูลคายุ ติธรรมของใบสําคั ญแสดงสิทธิอนุพันธคํ านวณจากราคาเสนอขาย หลังสุด ณ สิ้นวันทําการสุดทายของปของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
3.17
เงินกูยืม เงินกูยืมรับรูเริ่มแรกดวยมูลคายุติธรรมของสิ่งตอบแทนที่ไดรับ ในเวลาตอ มาเงิน กูยืมวัดมูลคาดวยวิธีราคา ทุนตัดจําหนายตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ผลตางระหวางสิ่งตอบแทนเมื่อเทียบกับมูลคาที่จายคืน เพื่อ ชําระ หนี้นั้น จะรับรูในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จตลอดชวงเวลาการกูยืม
3.18
ประมาณการหนี้สิน บริษัทรับรูประมาณการหนี้สินในงบการเงิน เมื่อสามารถประมาณมูลคาหนี้สินนั้นไดอยางนาเชื่อถือ และเปนภาระ ผูกพันในปจจุบันเมื่อมีความเปนไปไดคอนขางแนท ี่จะทําใหบริษัทสูญเสียทรัพยากร ที่มีประโยชนเชิงเศรษฐกิจตอ บริษัท เพื่อจายชําระภาระผูกพันดังกลาว
3.19
เครื่องมือทางการเงิน เครื่องมือทางการเงินที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงินประกอบดวย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากใน สถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนา เงินลงทุน เงินลงทุนใน บริษัทรวม เจาหนี้สํานักหักบัญชี เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตราสารอนุพันธ และหนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ซึ่งนโยบายการบัญชีเฉพาะสําหรับ รายการแตละรายการไดเปดเผยแยกไวในแตละหัวขอที่เกี่ยวของ
3.20
ผลประโยชนพนักงาน 3.20.1 กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินจายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานบันทึกเปนคาใชจายเมื่อเกิดรายการ
154
3.20.2
ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน บริษัทคํานวณภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงานหลังออกจากงานตามพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงานจากขอสมมติฐานทางคณิตศาสตรประกันภัย ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานดวยวิธีคิดลด แตละหนวยที่ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) ซึ่งเปน การประมาณการจาก มูลคาปจจุ บ ัน ของกระแสเงิน สดของผลประโยชนที่ คาดว าจะตองจายในอนาคตโดยคํ านวณบน พื้นฐานของขอสมมติฐานทางคณิตศาสตรประกันภัย อันไดแก เงินเดือนพนักงาน อัตราการลาออก อั ต รามรณะ อายุ ง านและป จ จั ย อื่ น ๆ ทั้ ง นี้ อั ต ราคิ ด ลดที่ ใ ช ใ นการคํ า นวณภาระผู ก พั น ผลประโยชนของพนักงานหลังออกจากงานนั้น อางอิงจากอัตราผลตอบแทนของพันธบัตรรัฐบาล บริ ษั ทรั บ รู ค าใช จ ายโครงการผลประโยชน ของพนั กงานหลั งออกจากงานเป น ค าใช จายเกี่ ยวกั บ พนักงานในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ผลกําไรจากการประมาณการตามหลั กคณิตศาสตรประกั น ภัยสําหรั บ โครงการผลประโยชนของ พนักงานหลังออกจากงานรับรูในรายการกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่น
3.21
ภาษีเงินได ภาษีเงินไดประกอบดวยภาษีเงินไดปจจุบันและภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินไดปจจุบัน บริษัทบันทึกภาษีเงินไดปจจุบันตามจํานวนที่คาดวาจะจายใหกับหนวยงานจัดเก็บภาษีของรัฐ โดยคํานวณจาก กําไรทางภาษีตามหลักเกณฑท ี่กําหนดในกฎหมายภาษีอากร ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี บริษัทบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชั่วคราวระหวางราคาตามบัญชีของสินทรัพยและหนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพยและหนี้สินที่เกี่ยวของนั้น โดยใชอัตราภาษีที่มีผลบังคับ ใช ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทรับรูห นี้สินภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีของผลแตกตางชั่วคราวที่ตองเสียภาษีทุกรายการ แตรบั รูสินทรัพย ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับผลแตกตางชั่วคราวที่ใชห ักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมไดใชในจํานวน เทาทีม่ ีความเปนไปไดคอนขางแนทบี่ ริษทั จะมีกาํ ไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใชประโยชนจากผลแตกตาง ชั่วคราวที่ใชหักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีท ี่ยังไมไดใชนนั้
155
บริษัทจะทบทวนมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยภาษีเงิน ไดรอการตัดบัญชีท ุกสิ้นรอบระยะเวลารายงานและจะ ทําการปรับลดมูลคาตามบัญชีดังกลาว หากมีความเปนไปไดคอนขางแนวาบริษัทจะไมมีกําไรทางภาษีเพียงพอ ตอการนําสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางสวนมาใชประโยชน บริษัทจะบันทึกภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังสวนของเจาของหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวของกับ รายการที่ ไดบ ันทึกโดยตรงไปยังสวนของเจาของ 3.22
กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยการหารกําไรสุทธิสําหรับป ดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุน สามัญที่ ถือโดยบุคคลภายนอกที่ออกอยูในระหวางป
3.23
รายการบัญชีที่เปนเงินตราตางประเทศ บริ ษั ท แปลงค ารายการบั ญ ชี ท ี่เ ป น สกุ ล เงิ น ตราต างประเทศที่ เ กิ ดขึ้ น ระหวา งป เ ป น เงิ น บาทด ว ยอั ตรา แลกเปลี่ยน ณ วัน ที่เกิดรายการ ยอดคงเหลือของสินทรัพยและหนี้สิน ที่เปนตัวเงินในสกุลเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ในงบการเงินแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราอางอิงของธนาคารแหงประเทศไทย ณ วันนั้น กําไรหรือ ขาดทุนจากการปริวรรตเงินตราตางประเทศที่เกิดจากการแปลงคาและการชําระเงินรับ รูเ ปน รายไดห รือ คาใชจาย ในงบกําไรขาดทุน เบ็ดเสร็จ
3.24
การใชประมาณการทางบัญชี ในการจัดทํางบการเงินใหเปน ไปตามหลักการบัญชีท ี่รับ รองทั่วไป บริษัท ตอ งอาศัยดุลยพินิจของผูบริหารใน การกําหนดนโยบายการบัญชี การประมาณการและการตั้งขอสมมติฐานหลายประการ ซึ่งมีผลกระทบตอ การแสดง จํานวนสิน ทรัพย หนี้สิน และการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับสินทรัพยและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น ณ วันที่ในงบการเงิน รวมทั้ งการแสดงรายได และค าใช จ ายของป บ ั ญชี ถึ งแม ว าการประมาณการของผู บริ ห าร ได พิจารณาอย าง สมเหตุ สมผลภายใต เหตุ การณ ณ ขณะนั้ น ผลที่ เกิ ดขึ้ น จริง อาจมี ความแตกต างไปจากประมาณการนั้ น โดยประมาณการทางการบัญชีมีดังตอไปนี้ มูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ในการเปดเผยมูลคายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินตองใชดุลยพินิจในการประมาณมูลคายุติธรรม ดังนั้น มูลคา ยุติธรรมที่ป ระมาณขึ้น ที่เปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน นี้จึงไมจําเปนตองบงชี้ถึงจํานวนเงินซึง่ เกิดขึน้ จริงในตลาดแลกเปลี่ยนในปจจุบัน การใชขอสมมติฐานทางการตลาดและ/หรือวิธีการประมาณที่แตกตางกันอาจมี ผลกระทบที่มีสาระสําคัญตอมูลคายุติธรรมที่ประมาณขึ้น
156
4.
ขอ มูลเพิ่มเติมเกี่ย วกับกระแสเงินสด รายการที่ไมเกี่ยวของกับเงิน สด มีดังนี้ 4.1 สัญญาเชาการเงินสําหรับยานพาหนะ มีดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเ สีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 บาท บาท 3,428,712 5,422,380 (481,848) (2,180,166) 164,107 186,498 3,110,971 3,428,712
หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ยกมา (หัก)เงินสดจาย บวก ดอกเบี้ยตัดบัญชี หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ยกไป 4.2
ในระหวางปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษทั มีกาํ ไร (ขาดทุน) จากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อ ขายและปรับปรุงสวนเกินทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขายทีข่ ายระหวางปที่แสดงเปนรายการบวก (หัก) ในองคประกอบอืน่ ของสวนของเจาของในงบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียจํานวนประมาณ 3.8 ลาน บาทและประมาณ (12.7) ลานบาทตามลําดับ และงบการเงินเฉพาะกิจการจํานวนประมาณ (11.5) ลานบาท และ ประมาณ (3.0) ลานบาท ตามลําดับ
4.3
ในระหวางปสิ้นสุดวัน ที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัท โอนกลับ คาเผื่อการดอยคาของเงิน ลงทุน ในบริษัท รวม จํานวน 205.6 ลานบาท (2556: ไมม)ี
157
5.
เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท เงิน สด เงินฝากระยะสั้น และตั๋วสัญญาใชเงินระยะสั้น ที่มีอายุไมเกิน 3 เดือนนับจากวันที่ไดมา (หัก) เงินฝากในนามบริษทั เพื่อลูกคา* รวม
1,631,237,837 (486,630,022) 1,144,607,815
1,747,942,993 (674,855,385) 1,073,087,608
(* ตามประกาศของสํ า นัก งานคณะกรรมการกํ ากั บ หลั กทรั พย และตลาดหลักทรั พย เงิ น ฝากในนามบริ ษั ท เพื่อลูกคาไมตองแสดงเปนสินทรัพยและหนี้สิน ในงบการเงิน) 6.
เงินฝากในสถาบันการเงิน 6.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีเงินฝากในสถาบันการเงินดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว นไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 เกินกวา รวม ไมเกิน เกินกวา รวม ไมเกิน 3 เดือน 3 เดือน แต 3 เดือน 3 เดือน แต ไมเกิน 1 ป ไมเกิน 1 ป บาท บาท บาท บาท บาท บาท เงินฝากประจํา 950,001,006 600,000,000 1,550,001,006 1,350,000,000 300,000,000 1,650,000,000 เงินฝากที่ตดิ ภาระผูกพัน 69,310,000 69,310,000 69,310,000 69,310,000 (หัก) เงินฝากในนามบริษัทเพือ่ ลูกคา* (750,001,006) (600,000,000) (1,350,001,006) (850,000,000) (300,000,000) (1,150,000,000) รวม 200,000,000 69,310,000 269,310,000 500,000,000 69,310,000 569,310,000
(* ตามประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เงิน ฝากในนามบริษัท เพื่อลูกคาไมตองแสดงเปน สิน ทรัพยและหนี้สินในงบการเงิน )
158
6.2
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เงินฝากในสถาบันการเงินของบริษัทไดนําไปวางเปน หลักประกันใหกับธนาคาร ดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท หนังสือค้ําประกันตามเงื่อนไขของสัญญา ซื้อ/ขายหุน ของบริษทั หลักทรัพย เอเพกซ จํากัด (ดูหมายเหตุขอ 34.2) ค้ําประกันวงเงินสินเชื่อเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืม อื่น ๆ รวม
7.
15,070,000 54,000,000 240,000 69,310,000
15,070,000 54,000,000 240,000 69,310,000
ลูกหนี้สํานักหักบัญชี งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 77,142,883 519,888,196 40,023,256 188,898,457 (233,851,724) (116,971,103) 32,189,616 442,940,349
ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนีบ้ ริษทั หลักทรัพยตางประเทศ (หัก) ลูกหนี้สํานักหักบัญชีในนามบริษทั เพื่อลูกคา* รวม
(* ตามประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ลูกหนี้สํานักหักบัญชีในนามบริษัท เพื่อลูกคาไมตองแสดงเปนสินทรัพยและหนี้สินในงบการเงิน)
159
8.
ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาสุทธิ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท ลูกหนี้ธรุ กิจหลักทรัพย ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพยดวยเงินสด เงิน ใหกูยืมเพื่อซื้อหลักทรัพย ลูกหนี้อนื่ - ลูกหนีท้ ี่อยูระหวางดําเนิน คดี - ลูกหนี้พน กําหนดและอืน่ ๆ รวมลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย (หัก) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ดูหมายเหตุขอ 9) รวม ลูกหนี้ธรุ กิจสัญญาซื้อขายลวงหนา ลูกหนี้อนื่ - ลูกหนี้พน กําหนดและอืน่ ๆ รวมลูกหนี้ธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนา (หัก) คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (ดูหมายเหตุขอ 9) รวม
1,628,510,098 633,556,638
888,615,382 597,706,948
396,739,119 513,182 2,659,319,037 (355,095,352) 2,304,223,685
396,739,119 912,648 1,883,974,097 (352,950,970) 1,531,023,127
729,968 729,968 (729,968) 2,304,223,685
1,531,023,127
ลูกหนี้ซื้อหลักทรัพยดวยเงินสดเขาเกณฑการจัดชั้นเปนลูกหนี้ปกติ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาที่ระงับ การรับรูรายไดจํานวนประมาณ 398.0 ลานบาท และประมาณ 397.7 ลานบาท ตามลําดับ สําหรับงบการเงิน ที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี วนไดเสียและงบการเงินเฉพาะกิจการ ซึ่งบริษัทไดตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับ มูลหนี้ที่จัดชั้นสงสัยจะสูญทั้งจํานวนแลว ตามประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย เรื่อง “การจัดทําบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ดอยคุณภาพของบริษัทหลักทรัพย” ที่ กธ. 33/2543 ลงวันที่ 25 สิงหาคม 2543 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมตามหนังสือที่ กธ. 5/2544 ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ 2544
160
บริษัทไดจําแนกลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาและดอกเบี้ยคางรับตามประกาศของ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เรื่อง “การจัดทําบัญชีเกีย่ วกับลูกหนี้ดอย คุณภาพของบริษัทหลักทรัพย” ซึ่งรายละเอียดของลูกหนี้จัดชั้นสรุปไดดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเ สียและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ลูกหนี้ธุรกิจ คาเผื่อ มูลคาลูกหนี้ ลูกหนี้ธุรกิจ คาเผื่อ มูลคาลูกหนี้ ธุรกิจ ธุรกิจ หลักทรัพยและ หนี้สงสัยจะสูญ หลักทรัพยและ หลักทรัพยและ หนี้สงสัยจะสูญ หลักทรัพยและ สัญญาซื้อขาย สัญญาซื้อขาย สัญญาซื้อขาย สัญญาซื้อขาย ลวงหนาและ ลวงหนาสุทธิ ลวงหนาและ ลวงหนาสุทธิ ดอกเบี้ยคางรับ ดอกเบี้ยคางรับ มูลหนี้ปกติ มูลหนี้จัดชั้นต่ํากวามาตรฐาน มูลหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ รวม
9.
2,262.1 42.1 355.8 2,660.0
(355.8) (355.8)
คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
2,262.1 42.1 2,304.2
1,486.3 44.7 353.0 1,884.0
(353.0) (353.0)
1,486.3 44.7 1,531.0
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 352,950,970 336,882,253 2,874,350 16,068,717 355,825,320 352,950,970
ยอดตนป (หัก) หนี้สงสัยจะสูญ ยอดปลายป
161
10. เงินลงทุนสุทธิ 10.1 ราคาทุนและมูลคายุตธิ รรม งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ราคาทุน/ มูลคายุติธรรม ราคาทุน/ มูลคายุติธรรม ราคาทุน ราคาทุน ตัดจําหนาย/ ตัดจําหนาย/ ราคาตามบัญชี ราคาตามบัญชี บาท บาท บาท บาท เงินลงทุนเพื่อคา หลักทรัพยหุนทุน: หลักทรัพยจดทะเบียน (หัก) คาเผื่อการปรับมูลคา รวมหลักทรัพยหุนทุนสุทธิ ตราสารหนี้: หุนกู บวก คาเผื่อการปรับมูลคา รวมตราสารหนี้สุทธิ รวมเงินลงทุนเพื่อคาสุทธิ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด ตั๋วแลกเงิน (หัก) สวนลดรับลวงหนา คาเผื่อการดอยคา รวมตราสารหนี้ที่ถือจนครบกําหนดสุทธิ เงินลงทุนเผื่อขาย หลักทรัพยหุนทุน: หนวยลงทุน หลักทรัพยจดทะเบียน (หัก) คาเผื่อการปรับมูลคา คาเผื่อการดอยคา รวมเงินลงทุนเผื่อขายสุทธิ เงินลงทุนทั่วไป หนวยลงทุน หลักทรัพยหุนทุน (หัก) คาเผื่อการปรับมูลคา คาเผื่อการดอยคา รวมเงินลงทุนทั่วไปสุทธิ รวม
6,107,667 (56,667) 6,051,000
6,051,000 6,051,000
1,173,880 (880) 1,173,000
1,173,000 1,173,000
672,553,850 10,598,053 683,151,903 689,202,903
683,151,903 683,151,903 689,202,903
1,173,000
1,173,000
139,000,000 (139,000,000) -
-
219,000,000 (3,604,336) (139,000,000) 76,395,664
76,395,664 76,395,664
101,500,000 180,819,549 (16,822,286) 265,497,263
97,304,323 168,192,940 265,497,263
1,000,000 46,420,754 (2,717,051) (5,713,322) 38,990,381
872,557 38,117,824 38,990,381
624,873 47,328,364 (217,137) (26,829,764) 20,906,336 975,606,502
407,736 23,417,609 23,825,345 978,525,511
100,629,565 41,605,192 (227,600) (21,116,442) 120,890,715 237,449,760
100,401,965 21,570,036 121,972,001 238,531,046
เงินลงทุนขางตนนี้ไมรวมหลักทรัพยที่ลูกคาฝากไวกับบริษัท เพื่อวัตถุป ระสงคในการใหบริษัท เปนตัวแทนนายหนาซื้อขายหลักทรัพยแทนลูกคา
162
10.2 เงินลงทุนในตราสารหนี้ตามอายุคงเหลือของสัญญา
ตราสารหนีท้ ี่จะครบกําหนด รวม
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ภายใน 1 ป มากกวา 1 - 5 ป มากกวา 5 ป รวม บาท บาท บาท บาท 76,395,664 76,395,664 76,395,664 76,395,664
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีเงินลงทุนในตราสารหนี้จํานวน 139.0 ลานบาท ซึ่งบริษัทตั้งคาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนทั้งจํานวนแลว 10.3 กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเผื่อขายที่รับรูในองคประกอบอื่นของ สวนของเจาของในสวนของเจาของ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท (8,940,060) 3,712,491
ยอดตน ป เปลี่ยนแปลงระหวางป - จากการวัดมูลคา 4,040,613 - ปรับปรุงสวนเกินทุนจากการวัด มูลคาเงินลงทุน เผื่อขายที่ 891,137 ขาย* - ภาษีเงินไดเกี่ยวกับองคป ระกอบ ของกําไรเบ็ดเสร็จอืน่ (ขาดทุน) (1,162,351) ยอดปลายป (5,170,661)
(15,815,602) -
3,163,051 (8,940,060)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท (2,179,721) 856,902 (14,985,908) 891,137
2,642,954 (13,631,538)
(3,795,778) -
759,155 (2,179,721)
(* รายการดั งกลาวเคยรั บรู เป น กําไรจากการวั ดมูลคาเงิ น ลงทุน ในงบกํ าไรขาดทุ นเบ็ ดเสร็ จอื่ น ในปก อน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 เงินลงทุนดังกลาวไดจําหนายออกไปและรับรูเปนกําไรหรือ ขาดทุนจากเงินลงทุนในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ)
163
10.4 กําไรจากเงินลงทุน
กําไรที่ยังไมเกิดขึ้นจากการวัดมูลคาเงินลงทุนเพื่อคา กําไรจากการขายเงินลงทุนเพื่อคา กําไร (ขาดทุน) จากการขายเงิน ลงทุนเผื่อขาย รวม
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับ ปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 10,542,265 78,923 75,206,834 66,072,048 13,293,660 (525) 99,042,759 66,150,446
10.5 ดอกเบี้ยและเงินปนผล
ดอกเบี้ยรับ เงินปนผล รวม
10.6
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 57,890,370 90,710,025 10,399,375 249,464 68,289,745 90,959,489
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 บาท บาท 57,890,370 90,710,025 85,158,125 51,085,414 143,048,495 141,795,43 9
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทที่มีปญหาเกี่ยวกับฐานะการเงิน และผลการดําเนินงานดังนี้
หุนสามัญ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ราคาทุน/ มูลคา คาเผื่อ ราคาทุน/ มูลคา คาเผื่อ ราคาตามบัญชี ยุติธรรม การดอยคา ราคาตามบัญชี ยุติธรรม การดอยคา บาท บาท บาท บาท บาท บาท 26,829,764 26,829,764 21,116,442 21,116,442
164
11. เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีเงินลงทุนในบริษัทรวมดังนี้ ชื่อบริษัท
บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) (หัก) คาเผื่อการดอยคา รวม
วิธีสวนไดเ สีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 2557
2557
546.6 546.6
532.6 532.6
340.2 340.2
หนวย : ลานบาท เงินปนผล สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
วิธีราคาทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 532.6 (205.6) 327.0
74.8 74.8
50.8 50.8
รายละเอียดและขอมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทรวม มีดังนี้ หนวย : ลานบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บริษัทหลักทรัพยจดั การกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) ลักษณะธุรกิจ : จัดการกองทุน ประเทศที่จัดตั้ง : ไทย สัดสวนเงินลงทุนทีบ่ ริษทั ถือ (รอยละ) มูลคาเงิน ลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย มูลคาเงิน ลงทุนตามวิธีราคาทุน สุทธิ ทุน เรียกชําระ สิน ทรัพยรวม หนี้สินรวม
24.9 546.6 532.6 120.0 1,579.1 229.1
24.9 340.2 327.0 120.0 1,638.6 286.1
หนวย : ลานบาท สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 942.4 1,179.1 236.4 340.8 297.5 302.2
รายไดรวม กําไรสุทธิ กําไรเบ็ดเสร็จรวม
165
เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2557 เงินลงทุนในบริษัทรวมดังกลาวขางตนจํานวน 29,903,500 หุน ไดจ ดจํานํา เพื่ อเปน หลัก ประกัน การกู ยืม จากสถาบัน การเงิน แหง หนึ ่ง ตอ มาเมื ่อ วัน ที่ 16 กุม ภาพัน ธ 2558 บริษัทไดไถถอนเงินลงทุนในบริษัทรวมดังกลาวขางตนที่ไดจดแจงการจํานําไวเพื่อเปนหลักประกันการ กูยืมจากสถาบันการเงินแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บริษัทไมมีการใชวงเงินกูยืมนี้ 12. ที่ดิน อาคารและอุปกรณสุทธิ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียและงบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ เพิ่มขึ้น ลดลง โอนเขา/ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ (โอนออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2557 บาท บาท บาท บาท บาท
ราคาทุน ที่ดิน อาคาร สวนปรับปรุงอาคาร/อาคารในที่เชา เครื่องตกแตงและอุปกรณสาํ นักงาน ยานพาหนะ สวนปรับปรุงอาคารระหวางกอสราง รวมราคาทุน
30,293,000 19,572,300 269,497,941 396,654,935 42,711,863 896,708 759,626,747
คาเสื่อมราคาสะสม อาคาร สวนปรับปรุงอาคาร/อาคารในที่เชา เครื่องตกแตงและอุปกรณสาํ นักงาน ยานพาหนะ รวมคาเสื่อมราคาสะสม คาเผื่อการดอยคา รวม
(16,161,699) (343,948) (172,956,141) (30,500,080) 19,552,515 (341,463,549) (25,578,779) 60,298,399 (40,472,858) (804,358) 6,249,999 (571,054,247) (57,227,165) 86,100,913 (1,949,953) 15,699 186,622,547
166
30,293,000 19,572,300 1,183,060 (27,169,255) 20,347,497 263,859,243 14,175,184 (65,146,539) 158,146 345,841,726 (6,250,000) 36,461,863 (20,505,643) 346,154 19,955,089 35,313,333 (98,565,794) 696,374,286
-
(16,505,647) (183,903,706) (306,743,929) (35,027,217) (542,180,499) (1,934,254) 152,259,533
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียและงบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดคงเหลือ เพิ่มขึ้น ลดลง โอนเขา/ ยอดคงเหลือ ณ วันที่ (โอนออก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2555 2556 บาท บาท บาท บาท บาท ราคาทุน ที่ดิน อาคาร สวนปรับปรุงอาคาร/อาคารในที่เชา เครื่องตกแตงและอุปกรณสาํ นักงาน ยานพาหนะ สวนปรับปรุงอาคารระหวางกอสราง รวมราคาทุน คาเสื่อมราคาสะสม อาคาร สวนปรับปรุงอาคาร/อาคารในที่เชา เครื่องตกแตงและอุปกรณสาํ นักงาน ยานพาหนะ รวมคาเสื่อมราคาสะสม คาเผื่อการดอยคา รวม
30,293,000 19,572,300 253,829,655 387,760,357 49,518,697 1,720,560 742,694,569
30,293,000 19,572,300 5,009,890 (13,869,749) 24,528,145 269,497,941 396,654,935 23,150,392 (14,255,814) (6,806,834) 42,711,863 23,704,293 (24,528,145 896,708 ) 51,864,575 (34,932,397) 759,626,747
(15,501,327) (660,372) (152,079,559) (30,201,380) 9,324,798 (325,203,031) (30,389,283) 14,128,765 (44,574,700) (2,073,966) 6,175,808 (537,358,617) (63,325,001) 29,629,371 (1,992,803) 42,850 203,343,149
คาเสื่อมราคาสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
-
(16,161,699) (172,956,141) (341,463,549) (40,472,858) (571,054,247) (1,949,953) 186,622,547
บาท บาท
57,227,165 63,325,001
ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2557 และ 2556 บริ ษั ทมี อ าคารและอุ ปกรณ จํ านวนหนึ่ งซึ่ งตั ดคาเสื่ อ มราคา หมดแลว แตยังใชงานอยู ราคาทุนกอนหักคาเสื่อมราคาสะสมของอาคารและอุปกรณดังกลาวมีจํานวนรวม ประมาณ 462.6 ลานบาท และประมาณ 356.0 ลานบาท ตามลําดับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีสัญญาเชาการเงินยานพาหนะกับบริษัทลิสซิ่งในประเทศแหง หนึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มูลคาตามบัญชีของยานพาหนะที่เชามีจํานวนรวมประมาณ 1.4 ลานบาท และประมาณ 2.2 ลานบาท ตามลําดับ
167
13. สินทรัพยไมมีตวั ตนสุทธิ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว นไดเสียและงบการเงินเฉพาะกิจการ อายุการตัด ยอดคงเหลือ เพิ่มขึ้น ลดลง โอนเขา / คาตัด คาเผื่อ จําหนาย ณ วันที่ (โอนออก) จําหนาย การดอยคา คงเหลือ 31 ธันวาคม 2556 บาท บาท บาท บาท บาท บาท คาธรรมเนียมการใชระบบธุรกิจ สัญ ญาซือ้ ขายลวงหนาสุทธิ โปรแกรมคอมพิวเตอรสทุ ธิ ใบอนุญาตหลักทรัพย คาสมาชิกธุรกิจสัญญาซือ้ ขายลวงหนา โปรแกรมคอมพิวเตอรระหวางติดตัง้ รวม
0 - 1 ป -
4 71,693,766 2,657,500 15,945,000 6,279,180 96,575,450
553,350 (1,592,756) 5,436,135 2,734,625 (5,436,135) 3,287,975 (1,592,756) -
(44,711) (44,711)
-
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว นไดเสียและงบการเงินเฉพาะกิจการ อายุการตัด ยอดคงเหลือ เพิ่มขึ้น ลดลง โอนเขา / คาตัด คาเผื่อ จําหนาย ณ วันที่ (โอนออก) จําหนาย การดอยคา คงเหลือ 31 ธันวาคม 2555 บาท บาท บาท บาท บาท บาท คาธรรมเนียมการใชระบบธุรกิจ สัญ ญาซือ้ ขายลวงหนาสุทธิ โปรแกรมคอมพิวเตอรสทุ ธิ ใบอนุญาตหลักทรัพย คาสมาชิกธุรกิจสัญญาซือ้ ขายลวงหนา โปรแกรมคอมพิวเตอรระหวางติดตัง้ รวม
0 - 2 ป -
76,869 68,064,929 2,657,500 15,945,000 1,657,908 88,402,206
2,838,630 5,603,997 8,442,627
คาตัดจําหนายสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556
-
982,725 (982,725) -
(76,865) (192,518) (269,383)
-
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 บาท
4 76,045,784 2,657,500 15,945,000 3,577,670 98,225,958
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บาท
4 71,693,766 2,657,500 15,945,000 6,279,180 96,575,450
บาท
44,711
บาท
269,383
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีสินทรัพยไมมีตัวตนจํานวนหนึ่ง ซึ่งตัดจําหนายหมดแลว แตยังใชงานอยู ราคาทุ นกอ นหักคาตัดจําหนายสะสมของสิน ทรัพยไมมีตัวตนดังกลาวมีจํานวนรวม ประมาณ 11.3 ลานบาท และประมาณ 10.5 ลานบาท ตามลําดับ
168
14. สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี สินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีรายละเอียดดังนี้
สินทรัพยภาษีเงิน ไดรอการตัดบัญชี
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 107,331,535 143,055,030 107,331,535 143,055,030
งบการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 บาท บาท 107,331,535 145,690,285 107,331,535 145,690,285
รายการเคลื่อนไหวของสินทรัพยภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีที่เกิดขึ้นในระหวางป มีดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสว นไดเสีย ยอดตนป รายการที่รับรูใน รายการที่รับรูใน ยอดปลายป 1 มกราคม กําไรหรือ กําไรเบ็ดเสร็จอื่น 31 ธันวาคม 2557 ขาดทุน 2557 บาท บาท บาท บาท ผลแตกตางชั่วคราว คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน สวนเกินทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุน อื่นๆ รวม
65,822,393 38,482,742 27,800,000 237,945 9,372,972 764,931 574,047 143,055,030
169
532,139 (38,482,742) 97,323 1,161,252 50,793 (36,641,235)
(1,725,214) 2,642,954 917,740
66,354,532 27,800,000 335,268 8,809,010 3,407,885 624,840 107,331,535
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสว นไดเสีย รายการที่รับรูใน รายการที่รับรูใน ยอดปลายป กําไรหรือ กําไรเบ็ดเสร็จอื่น 31 ธันวาคม ขาดทุน 2556 2556 บาท บาท บาท บาท
ยอดตนป 1 มกราคม
ผลแตกตางชั่วคราว คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน สวนเกินทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุน อื่นๆ รวม
62,702,132 43,677,228 27,800,000 475,807 6,459,672 5,775 336,292 141,456,906
3,120,261 (5,194,486) (237,862) 2,913,300 237,755 838,968
759,156 759,156
65,822,393 38,482,742 27,800,000 237,945 9,372,972 764,931 574,047 143,055,030
งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดตนป รายการที่รับรูใน รายการที่รับรูใน ยอดปลายป 1 มกราคม กําไรหรือขาดทุน กําไรเบ็ดเสร็จอื่น 31 ธันวาคม 2557 2557 บาท บาท บาท บาท ผลแตกตางชั่วคราว คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน สวนเกินทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุน อื่นๆ รวม
65,822,393 41,117,997 27,800,000 237,945 9,372,972 764,931 574,047 145,690,285
170
532,139 (41,117,997) 97,323 1,161,252 50,793 (39,276,490)
(1,725,214) 2,642,954 917,740
66,354,532 27,800,000 335,268 8,809,010 3,407,885 624,840 107,331,535
งบการเงินเฉพาะกิจการ ยอดตนป รายการที่รับรูใน รายการที่รับรูใน ยอดปลายป 1 มกราคม กําไรหรือขาดทุน กําไรเบ็ดเสร็จอื่น 31 ธันวาคม 2556 2556 บาท บาท บาท บาท ผลแตกตางชั่วคราว คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุนในบริษัทรวม คาเผื่อการดอยคาของเงินลงทุน สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงิน ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน สวนเกินทุนจากการวัดมูลคาเงินลงทุน อื่นๆ รวม
62,702,132 41,117,997 27,800,000 475,807 6,459,672 5,775 336,292 138,897,675
3,120,261 (237,862) 2,913,300 237,755 6,033,454
759,156 759,156
65,822,393 41,117,997 27,800,000 237,945 9,372,972 764,931 574,047 145,690,285
บริษัทใชอัตราภาษีรอยละ 20 ในการคํานวณภาษีเงินไดรอการตัดบัญชีสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 15. สินทรัพยอื่นสุทธิ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท ภาษีเงินไดถูกหัก ณ ที่จาย 1,293,644 1,293,644 คาใชจายจายลวงหนา 6,599,225 6,616,664 กองทุนทดแทนความเสียหายในระบบการชําระราคาและสงมอบหลักทรัพย 44,514,371 41,047,484 ลูกหนี้เงินทดรองจายและเงินใหกูยืมแกพนักงาน 5,321,927 8,533,060 สิทธิการเชาสุทธิ 999,756 1,452,499 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน สุท ธิ 24,066,779 24,066,779 เงินมัดจํา 19,953,910 26,638,047 รายไดคางรับ 19,073,071 16,457,553 อื่นๆ 5,597,173 1,782,192 รวม 127,419,856 127,887,922
171
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนสุทธิดังกลาวขางตนไดจ ดจํานองไว เปนหลักประกันวงเงินสินเชื่อกับสถาบันการเงินในประเทศแหงหนึ่ง 16. หนี้สินตราสารอนุพันธ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 หนีส้ ินตราสารอนุพนั ธ ประกอบดวย งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสียและงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 มูลคายุติธรรม จํานวนเงินตามสัญญา มูลคายุติธรรม จํานวนเงินตามสัญญา บาท บาท บาท บาท ตราสารอนุพนั ธเพื่อคา ใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ
-
-
57,273
247,379
17. หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทไดทําสัญญาเชายานพาหนะภายใตสัญญาเชาการเงินระยะ ยาว โดยมีจํานวนเงินขั้นต่ําที่จะตองจายสําหรับสัญญาเชาการเงิน ดังนี้
ไมเกิน 1 ป เกิน กวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป (หัก) ดอกเบี้ยรอการตัดบัญชี รวม
งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ จํานวนเงินขัน้ ต่ําทีต่ อ งจาย มูลคาปจจุบนั ของ จํานวนเงินขัน้ ต่ําที่ตองจาย ณ วัน ที่ 31 ธันวาคม ณ วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 2557 2556 บาท บาท บาท บาท 3,218,340 481,848 3,110,971 317,741 3,218,340 3,110,971 3,218,340 3,700,188 3,110,971 3,428,712 (107,369) (271,476) 3,110,971 3,428,712 3,110,971 3,428,712
172
18.
ภาระผูกพันผลประโยชนของพนักงาน บริ ษั ท มี โครงการผลประโยชน ข องพนัก งานหลั ง ออกจากงานตามพระราชบั ญญั ติคุมครองแรงงาน ซึ่งจัดเปนโครงการผลประโยชนที่กําหนดไวที่ไมไดจัดใหมีกองทุน จํานวนที่บันทึกในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จสําหรับผลประโยชนของพนักงานหลังออกจากงาน มีดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเ สีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2556 2557 บาท บาท 8,934,137 11,032,262 1,043,760 1,433,140 9,977,897 12,465,402
ตนทุนบริการปจจุบนั ตนทุน ดอกเบี้ย รวม
การเปลี่ยนแปลงในมูลคาปจจุบันของภาระผูกพันตามผลประโยชนของพนักงานหลังออกจากงาน มีดังนี้
ยอดยกมาของภาระผูกพัน ผลประโยชนของพนักงาน ตนทุนบริการปจจุบนั ตนทุนดอกเบี้ย ผลกําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกัน ภัย สําหรับ โครงการผลประโยชนของพนักงานหลังออกจากงาน (หัก) ผลประโยชนของพนักงานจายในระหวางป ยอดปลายป
173
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 บาท บาท 46,864,861 39,664,089 8,934,137 1,043,760
11,032,262 1,433,140
(8,626,069) (4,171,639) 44,045,050
(5,264,630) 46,864,861
ขอสมมติฐานหลักในการประมาณการตามหลักการคณิตศาสตรประกันภัยที่ใชในการคํานวณภาระผูกพัน ภายใตโครงการผลประโยชนของพนักงานหลังออกจากงานที่กําหนดไว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังตอไปนี้ งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วัน ที่ 31 ธัน วาคม 2556 2557 (รอยละตอป) (รอยละตอป) ขอสมมติฐานทางการเงิน อัตราคิดลด อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน
3.0 0 - 23.0 ขึ้นอยูกับชวงอายุของพนักงาน อัตราการเพิ่มขึน้ ของเงินเดือนที่คาดไว 0 - 4.0
19.
3.6 0 - 22.0 ขึ้น อยูกับชวงอายุของพนักงาน 0 - 4.0
หนี้สินอื่น
โบนัสคางจาย คาตอบแทนเจาหนาที่การตลาดคางจาย สวนแบงกําไรจากการบริห ารสาขา/ทีมการตลาดคางจาย ภาษีเงิน ไดห ัก ณ ที่จายและภาษีธุรกิจเฉพาะคางจาย เจาหนี้ภาษีมูลคาเพิ่ม เจาหนี้อนื่ ภาษีเงิน ไดน ิตบิ ุคคลคางจาย คาใชจายคางจายอืน่ รวม
174
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 49,933,519 50,993,350 9,201,589 2,729,837 20,793,642 29,951,252 10,700,362 8,831,718 6,686,312 3,935,444 15,777,320 16,229,712 38,635,210 36,615,013 52,684,436 188,342,967 165,355,749
20. ทุนเรือนหุน เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2553 บริษัทไดจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนและใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้อหุนสามัญของ บริษัท รุนที่ 5 ใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทที่จองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 464,393,602 หุน ในราคาหุนละ 1.30 บาท และ 464,393,602 หนวย โดยไมคิดมูลคาในอัตราสวน 1 หุนสามัญใหม ตอ 1 หนวยใบสําคัญ แสดงสิ ท ธิ ตามลํ าดับ โดยบริ ษั ทได รับเงิ นจากการจั ดสรรหุ นสามัญเพิ่ มทุ นครั้ งนี้ เป นจํ านวนเงิ นรวม 603,711,683 บาท ทั้งนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย สามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคาหุนละ 1.50 บาท อายุใบสําคัญแสดงสิทธิ 3 ป นับจากวันที่ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้เปนไปตาม เงื่อนไขการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิสามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญของบริษัทไดภายหลังจากพนกําหนดเวลา 6 เดือน นับแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ จนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ และกําหนดใหสามารถใช สิทธิไดทุกๆ 3 เดือน ในวันทําการสุดทายของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคมของแตละ ป ตลอดอายุ ของใบสําคั ญแสดงสิ ทธิ โดยกํ าหนดการใชสิทธิ ครั้งแรก คื อ วันที่ 30 กันยายน 2553 และ วันกํ าหนดการใช สิทธิ ครั้งสุดท าย คือ วันที่ 18 มกราคม 2556 ซึ่ งเป นวันที่ใบสําคั ญแสดงสิ ทธิมีอายุ ครบ กําหนด 3 ป นับแตวันที่ออกใบสําคัญแสดงสิทธิ เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2553 บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนที่ออกและเรียกชําระแลวจํานวน 464,393,602 บาท กับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ตอมาตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยรับหุนสามัญเพิ่มทุน และใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัท รุนที่ 5 เปนหลักทรัพยจดทะเบียนตั้งแตวันที่ 3 กุมภาพันธ 2553 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2554 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2554 มีมติใหอนุมัติการจายเงินปนผลใหแกผูถือ หุน ในอัตราที่ เกินกวาอัตราที่กําหนดในข อกําหนดสิ ทธิข องใบสําคัญแสดงสิทธิที่ จะซื้ อหุนสามั ญของ บริษัทรุนที่ 5 บริษั ทจึงปรับอัตราการใชสิทธิและราคาการใชสิทธิใหมตามเงื่อนไขการปรับสิท ธิ เปน ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย สามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญได 1.0625 หุน ในราคาหุน ละ 1.412 บาท มี ผลบังคับตั้งแตวันที่ 18 เมษายน 2554 เปนตนไป
175
เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2556 ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทรุนที่ 5 จํานวน 464,393,602 หนวย ไดถึงกําหนดการใชสิทธิครั้งสุดทายซื้อหุนสามัญของบริษัท โดยมีผูมาขอใชสิทธิจํานวน 44,738 หนวย แปลงเปนหุนสามัญจํานวน 47,529 หุน คิดเปนอัตราหุนละ 1.412 บาท เปนจํานวนเงิน 67,110.95 บาท ทั้ ง นี้ มี ผลทํ าให บริ ษั ทมี ทุ นที่ อ อกและเรี ยกชํ าระแล วเพิ่ มขึ้ น จาก 2,330,759,812 บาท เป น 2,330,807,341 บาท บริษัทไดนําหุนสามัญเพิ่มทุนดังกลาวไปจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนที่ออกและเรียก ชําระแลวตอกระทรวงพาณิ ชยเมื่ อวันที่ 25 มกราคม 2556 ตอมาตลาดหลักทรัพยแห งประเทศไทยรับหุ น สามัญเพิ่มทุนดังกลาวเปนหลักทรัพยจดทะเบียนตั้งแตวันที่ 30 มกราคม 2556 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2556 มีมติอนุมัติใหลดทุนจดทะเบียนของบริษทั โดยวิธีตัดหุนที่จําหนายไมหมดจํานวน 818,741,975 หุน และเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2556 บริษัทไดจดทะเบียน ลดทุนจดทะเบียนของบริษัทกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ทําใหทุนจดทะเบียนของบริษัท เปนจํานวน 2,330,807,341 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เปนจํานวนเงินรวม 2,330,807,341 บาท นอกจากนี้ ที่ ประชุ มสามั ญผู ถื อหุ นประจํ าป 2556 มี มติ ให เพิ่ มทุ นจดทะเบี ยนของบริ ษั ทจากเดิ ม 2,330,807,341 บาท เปน 3,189,785,935 บาท โดยการออกหุนสามัญใหมจํานวน 858,978,594 หุน มูล คาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เพื่อรองรับการจาย เงินปนผลเปนหุน จํานวน 258,978,594 หุน และการใชสิทธิของ ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 2 จํานวน 600,000,000 หุน และเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2556 บริษัทไดจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวง พาณิชย ทําใหทุนจดทะเบียนของบริษัทเปนจํานวน 3,189,785,935 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เปน จํานวนเงินรวม 3,189,785,935 บาท อี กทั้งที่ ประชุ มสามั ญผู ถือหุ น ประจํ าป 2556 มี มติ อ นุมั ติให บริษั ท จั ดสรรหุ นสามั ญเพิ่ มทุ น จํานวน 858,978,594 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท จากเดิม 2,330,807,341 บาท เปน 3,189,785,935 บาท โดยใหจัดสรรหุนสามัญใหมจํานวน 258,978,594 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เพื่อรองรับการจาย ปนผลเปนหุน และใหจัดสรรหุนสามัญใหมจํานวน 600,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เพื่อ รองรับการใชสิทธิของผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนของบริษัทตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2556 บริษัทจายปนผลเปนหุนสามัญใหแกผูถือหุนของบริษัทในอัตรา 9 หุนเดิม ตอ 1 หุนใหม รวมเปนหุนปนผลทั้งสิ้น 258,936,143 หุน และเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 บริษัทไดจด ทะเบี ยนเพิ่ มทุ น ที่ อ อกและเรี ยกชํ า ระแล ว จํ านวน 258,936,143 หุ น กั บ กรมพั ฒ นาธุ รกิ จ การค า กระทรวงพาณิชย ตอ มาตลาดหลัก ทรัพยแ หง ประเทศไทยรับ หุน สามัญเพิ่มทุน เปน หลักทรัพยจ ด ทะเบียนตั้งแตวัน ที่ 23 พฤษภาคม 2556
176
เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2557 มีมติอนุมัติแผนการปรับโครงสราง กิจการของบริษัท โดยบริษัทจะดําเนินการใหมีการจัดตั้งบริษัทโฮลดิ้งภายใตชื่อ บริษัท คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน) เพื่ อประกอบธุ รกิ จทางด านลงทุน และถื อหุ น ของบริษั ท โดย คั นทรี่ กรุ ป โฮลดิ้ ง ส จะทําคําเสนอซื้อหลักทรัพยท้งั หมดของบริษัท โดยแลกเปลี่ยนกับหลักทรัพยประเภทเดียวกันของ คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ในอัตราแลกหลักทรัพยเทากับ 1 ตอ 1 ซึ่งในที่นี้จะเทากับ 1 หุนสามัญของบริษัทตอ 1 หุน สามัญของ คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ภายหลังการทําคําเสนอซื้อหลักทรัพยเปนผลสําเร็จมากกวาหรือเทากับรอย ละ 75 คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จะเปนผูถือหุนรายใหญของบริษัท และหุน สามัญของคันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จะ เขาเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ แทนหุนสามัญของบริษัท ซึ่งจะถูกเพิกถอนออกจาก การเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ ในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อเปนการจูงใจและเปนการตอบแทนแกผูถือหุนของบริษัท ในการปรับโครงสรางกิจการในครั้งนี้ ภายหลังจากที่การปรับโครงสรางกิจการไดดําเนินการสําเร็จลุลวงและหุนสามัญของ คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส เขาจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ แทนหุนสามัญของบริษัทแลว คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จะออกใบสําคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื้อหุนสามัญของ คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ใหแกผูถอื หุน ทีท่ าํ การแลก หุนตามแผนการปรับโครงสรางกิจการตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยูใน คันทรี่ กรุป โฮล ดิ้งส ภายหลังดําเนินการปรับโครงสรางกิจการเปนผลสําเร็จ ในอัตราสวน 3 หุนสามัญที่นํามาแลกตอ 1 หน วยใบสํ าคั ญแสดงสิ ท ธิ โดยไม คิด มู ล ค า ซึ่ งเศษที่ห ารไมลงตั วจะป ดทิ้ ง โดยอั ตราการใชสิ ทธิ ข อง ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีสิทธิซื้อหุนสามัญของ คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ได 1 หุน นอกจากนี้ ที่ ประชุ มสามั ญผู ถื อ หุ นประจํ าป 2557 มี มติ ให ล ดทุ นจดทะเบี ยนของบริ ษั ทจากเดิ ม 3,189,785,935 บาท เปน 2,589,743,484 บาท โดยการตัดหุนที่ยังไมไดออกจําหนายของบริษัทจํานวน 600,042,251 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท ซึ่งเปนหุนที่เหลือจากการออกเพื่อรองรับการจายเงิน ปนผลเปนหุนจํานวน 42,451 หุน และเปนหุนที่เหลือจากการออกเพื่อ รองรับการใชสิท ธิแ ปลงสภาพ ใบสําคัญแสดงสิทธิของผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทตามโครงการ ESOP ครัง้ ที่ 2 จํานวน 600,000,000 หุน และเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2557 บริษัทไดจดทะเบียนลดทุนจดทะเบียนกับ กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ทําใหทุนจดทะเบียนของบริษัทเปนจํานวน 2,589,743,484 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท เปนจํานวนเงิน 2,589,743,484 บาท เมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2557 สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยไดอนุญาตให คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส เสนอขายหุนที่ออกใหมตอ ประชาชนพรอ มกับทําคําเสนอซื้อ หลักทรัพยเดิมของ บริษัท
177
ณ วันที่ 25 ธันวาคม 2557 ซึ่งเปนวันครบกําหนดระยะเวลาทําคําเสนอซื้อหลักทรัพยของบริษัทมีผูแสดง เจตนาขายหลักทรัพยของบริษัทเปนจํานวน 2,566,219,121 หุน หรือคิดเปนรอยละ 99.1 เมื่อเทียบกับ จํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัท โดยการแลกเปลี่ยนกับหลักทรัพยของ คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส ดังที่ได กลาวไวแ ล วขางต น ทั้งนี้มีผลให คัน ทรี่ กรุป โฮลดิ้งส เปน บริษัท ใหญข องบริษัท นอกจากนี้ บริษัทไดมีการเพิกถอนหลักทรัพยของบริษัทออกจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยฯ เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทคํานวณหุนสามัญถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนักดังนี้
หุน สามัญที่ออก ณ วันที่ 1 มกราคม ผลกระทบจากหุน ที่เพิม่ ขึน้ ในระหวางป หุน สามัญตามวิธีถัวเฉลีย่ ถวงน้ําหนักสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเ สียและ งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 หุน หุน 2,589,743,484 2,330,759,812 160,373,290 2,589,743,484
2,491,133,102
21. สวนเกินมูลคาหุน ตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 51 ในกรณีที่บริษัทเสนอขาย หุนสูงกวามูลค าที่ จดทะเบียนไว บริ ษัทตองนําคาหุ นส วนเกินนี้ตั้งเป นทุนสํารอง (“สวนเกิ นมู ลค าหุน”) สวนเกินมูลคาหุนนี้จะนําไปจายเปนเงินปนผลไมได 22. ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญตามโครงการจัดสรรหุนแกกรรมการและพนักงาน เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2556 มีมติอนุมัติใหออกและเสนอขาย ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และ/หรือที่ปรึกษาของ บริษัทตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 2 จํานวนไมเกิน 600,000,000 หนวย โดยไมคิดมูลคา อายุของใบสําคัญ แสดงสิทธิไมเกิน 3 ปนับจากวันที่ออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้งนี้ ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย สามารถใชสิทธิซื้อหุนสามัญได 1 หุน ในราคาหุนละ 1.30 บาท ซึ่งบริษัทยังไมไดออกและเสนอขายใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 2 นี้
178
ตอมาเมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2557 มีมติอนุมัติใหยกเลิกการออก และเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทใหแกกรรมการผูบริหาร พนักงาน และ/ หรือที่ปรึกษาของบริษัทตามโครงการ ESOP ครั้งที่ 2 จํานวนไมเกิน 600,000,000 หนวย ดังกลาวขางตน เนื่องจากหากบริษัทดําเนินการตามแผนการปรับโครงสรางกิจการ หุนทั้งหมดของบริษัท จะถูกเพิกถอน จากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียนซึ่งจะสงผลใหหุนทั้งหมดของบริษัทที่กรรมการ ผูบริหารและ/หรือ ที่ปรึกษาของบริษัทไดรับจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิไมมีตลาดรองในการซื้อขายหุนและอาจ ทํ าให ก ารออกและเสนอขายใบสํ าคั ญแสดงสิ ทธิ ที่ จ ะซื้ อหุน สามั ญของบริ ษั ทดั งกล าว ไม สนองต อ วัตถุ ประสงค ข องโครงการ ESOP ครั้ งที่ 2 อี กต อไป นอกจากนี้ ในแผนการปรั บโครงสร างกิ จการได กําหนดใหคันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จะตองออกและเสนอขายใบสําคัญแสดงสิทธิท่จี ะซือ้ หุน สามัญของคันท รี่ กรุป โฮลดิ้งส แกกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และ/หรือที่ปรึกษาของคันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส และบริษัท ซึ่ง จะมีรายละเอียด ขอกําหนด และเงื่อนไขของโครงการเปนไปตามที่ไดรับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือ หุน ประจําป 2556 ของบริษัทตามเดิมทุกประการ เวนแตที่ประชุมผูถือหุนของคันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จะมีมติ เปนประการอื่นภายหลังจากที่ดําเนินการตามแผนการปรับโครงสรางกิจการเปนผลสําเร็จ 23. การจัดการสวนทุน วัตถุประสงคในการจัดการสวนทุนของบริษัทเปนไปเพื่อการดํารงไวซึ่งความสามารถในการดําเนินงาน อยางตอเนื่องเพื่อสรางผลตอบแทนตอผูถือหุน เพื่อเปนประโยชนตอผูมีสวนไดเสียอื่น และเพื่อดํารงไว ซึ่งโครงสรางของทุนที่เหมาะสม 24. เงินปนผลจาย เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2556 ที่ป ระชุมสามัญผูถือ หุน ประจําป 2556 มีมติอ นุมัติการจัดสรรกําไรสุท ธิ ใหมีทุนสํารองตามกฎหมายเปนจํานวน 39,853,695 บาท และจายปนผลเปนหุนและเงินสดดังนี้ - จายปนผลเปนหุนสามัญใหแกผูถือหุนของบริษัท ในอัตรา 9 หุนเดิมตอ 1 หุนใหม รวมเปนหุนปนผล ทั้งสิ้น 258,978,594 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1.00 บาท คิดเปนเงินจํานวน 258,978,594 บาท หรือคิด เปนอัตราการจายปนผลเทากับ 0.111 บาทตอหุน ในกรณีที่มีเศษหุน บริษัทจะจายเงินปนผลเปนเงิน สดแทนในอัตราหุน ละ 0.111 บาท และ - จายป นผลเป นเงินสดใหแ ก ผูถื อหุ นของบริษั ท ในอัตราหุ นละ 0.012 บาท คิดเป นเงิ นจํ านวน 28,775,399 บาท เพื่อรองรับการหักภาษี ณ ที่จายตามอัตราที่กฎหมายกําหนด
179
เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2556 บริษัทไดจา ยเงิน ปน ผลใหแ กผูถือ หุน ของบริษัท เปน หุน และเงิน สด ดังนี้ - จายปนผลเปนหุนสามัญรวมทั้งสิ้น 258,936,143 หุน - จายปนผลเปนเงินสด คิดเปนเงินจํานวน 28,745,686 บาท เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2557 ที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2557 มีมติอนุมัติการจัดสรรกําไรสุทธิใหมี ทุนสํารองตามกฎหมายเปนจํานวน 55,574,679 บาท และอนุมัติจายเงินปนผลประจําป 2556 แกผูถือหุน สามัญในอัตราหุนละ 0.11 บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น 284,829,429 บาท เงินปนผลดังกลาวไดจายแลว วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 25. ทุนสํารองตามกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 116 บริษัทจะตองจัดสรรเงินสํารองอยาง นอยรอยละ 5 ของกําไรสุท ธิประจําปหลังจากหักขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาสํารองดังกลาวมีจํานวน เทากับรอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน ทุนสํารองตามกฎหมายดังกลาวไมสามารถนําไปจายเปนเงินปน ผลได 26. รายไดคานายหนา
คานายหนาจากการซื้อขายหลักทรัพย คานายหนาจากการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา รวม
180
งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 บาท บาท 985,503,909 1,617,009,051 39,200,643 78,671,035 1,024,704,552 1,695,680,086
27. รายไดคาธรรมเนียมและบริการ งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 บาท บาท 22,813,000 31,362,125 10,672,132 8,790,000 252,965 912,517 7,073,291 19,429,777 61,716,999 39,588,808
การจัดจําหนายหลักทรัพย ทีป่ รึกษาการเงิน ทีป่ รึกษาการลงทุน อื่นๆ รวม
28. รายไดอื่น
โอนกลับคาเผื่อการดอยคาเงินลงทุน ในบริษทั รวม กําไรจากการขายทรัพยสิน รายไดคาปรับจากการผิดนัดชําระ อื่นๆ รวม
181
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเ สีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธัน วาคม 2557 2556 บาท บาท 205,589,985 3,653,830 1,596,470 216,592 1,086,486 28,515,313 11,024,948 237,975,720 13,707,904
29. คาตอบแทนที่จายใหผูบริหารสําคัญ บริ ษัทไดบั นทึกค าใช จายเกี่ ยวกั บเงิ นเดื อน คาตอบแทน ผลประโยชนอื่ นที่เปนตั วเงิ นและผลประโยชน หลังออกจากงานที่จายใหแกผูบริหารของบริษัทตามนิยามในประกาศของสํานักงานคณะกรรมการกํากั บ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย อันไดแก ผูจัดการ หรือผูดํารงตําแหนงระดับบริหารสี่รายแรกตอจากผูจัดการ ลงมา และผูซึ่งดํารงตําแหนงเทียบเทาผูดํารงตําแหนงระดับบริหารรายที่สี่ทุกราย ดังนี้ งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 108,847,155 158,443,963 1,832,326 1,948,287 110,679,481 160,392,250
ผลประโยชนระยะสั้น ผลประโยชนหลังออกจากงาน รวม
30. คาตอบแทนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการนี้เปนผลประโยชนที่จายใหแกกรรมการของบริษัทตามมาตรา 90 ของพระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด โดยไมรวมเงินเดือนและผลประโยชนที่เกี่ยวของที่จายใหกับกรรมการซึ่งดํารงตําแหนง เปนผูบริหารของบริษัทดวย ทั้งนี้อัตราคาตอบแทนกรรมการไดรับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผูถือหุน
182
31. คาใชจายอื่น งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงิน เฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 3,663,461 5,207,999 27,615,725 26,292,891 22,371,514 24,033,413 14,186,304 13,270,364 33,301,280 37,305,654 5,063,649 5,828,561 6,462,680 11,152,102 17,439,603 25,438,619 133,877,698 144,756,121
คาภาษีอากร คาธรรมเนียมวิชาชีพและคาธรรมเนียมอืน่ คารับรอง คาน้ํามันรถและคาเดินทาง คาใชจายดานสารสนเทศและการสื่อสาร คาเครื่องเขียนแบบพิมพและวัสดุสํานักงาน คาโฆษณาและสงเสริมการขาย อื่น ๆ รวม
32. กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2545 บริษัทไดจดั ตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับพนักงานของบริษัทที่สมัครเปน สมาชิกของกองทุนโดยหักจากเงินเดือนของพนักงานสวนหนึ่ง และบริษัทจายสมทบใหอีกสวนหนึ่ง โดย ปจจุบันบริษัทใหบริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน) ซึ่ง ไดรับ อนุญาตเปน ผูจัดการกองทุน ตามพระราชบัญญัติกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทไดจายเงินสมทบเขากองทุนเปนจํานวนประมาณ 12.8 ลานบาท และประมาณ 14.4 ลานบาท ตามลําดับ
183
33. ภาษีเงินได ภาษีเงินไดสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ หนวย : พันบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน งบการเงินเฉพาะกิจการ ตามวิธีสวนไดเสีย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 2557 2556 ภาษีเงินไดสําหรับปปจจุบัน ภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี ภาษีเงินได
43,099 36,641 79,740
75,744 (839) 74,905
43,099 39,276 82,375
75,744 (6,034) 69,710
การกระทบยอดเพื่อหาอัตราภาษีที่แทจริง
กําไรกอนภาษีเงินได จํา นวนภาษีตามอัตราภาษีเงินได ผลกระทบทางภาษีของรายได และคาใชจา ยที่ไมถือเปนรายได หรือคาใชจายทางภาษี ภาษีเงินไดตามงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว นไดเสีย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 อัตราภาษี อัตราภาษี พันบาท (รอยละ) พันบาท (รอยละ) 464,691 20 419,718 20
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 อัตราภาษี อัตราภาษี พันบาท (รอยละ) พันบาท (รอยละ) 479,043 20 384,130 20
92,938
83,944
95,809
76,826
(13,198) 79,740
(9,039) 74,905
(13,434) 82,375
(7,116) 69,710
ตามพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 555 พ.ศ. 2555 ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลดอัตรา รัษฎากร ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 27 ธันวาคม 2555 อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลใหลดลงจากรอยละ 30 เปนรอยละ 23 ของกําไรสุทธิ เปนเวลา 1 รอบระยะเวลาบัญชีที่เ ริ่มในหรือ หลังวัน ที่ 1 มกราคม 2555 และรอยละ 20 ของกําไรสุทธิ เปนเวลา 2 รอบระยะเวลาบัญชีถัดมาที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม 2556 และตามพระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 577 พ.ศ. 2557 ออกตามความในประมวลรัษฎากรวาดวยการลด อัตรารัษฎากร ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 11 พฤศจิกายน 2557 อัตราภาษีเงินไดนิติบุคคลใหลดลงจากรอยละ 30 เปนรอยละ 20 ของกําไรสุทธิ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2558 แตไมเกิน วันที่ 31 ธันวาคม 2558 ดังนั้น บริษัทจึงไดใชอัตราภาษีรอยละ 20 ในการคํานวณคาใชจายภาษีเงินไดนติ ิบุคคลสําหรับปสนิ้ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 ตามลําดับ
184
ภาษีเงินไดทเี่ กี่ยวของกับองคประกอบของกําไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอืน่ หนวย : บาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว นไดเสีย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2556 2557 จํานวนกอน ผลประโยชน จํานวนสุทธิ ผลประโยชน ภาษี (คาใชจา ย) (คาใชจาย) ภาษี จากภาษี ภาษี (1,162,351) 15,815,602 3,769,399 (3,163,051)
จํานวนกอน ภาษี
สวนเกิน (สวนต่ํา) กวาทุนจากการวัดมูลคาเงิน 4,931,750 ลงทุน กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชนพนักงาน 8,626,069 รวม 13,557,819
(1,725,214) (2,887,565)
6,900,855 10,670,254
15,815,602
2557
สวนเกิน (สวนต่ํา) กวาทุนจากการวัดมูลคาเงิน (14,094,771) ลงทุน กําไรจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร ประกันภัยสําหรับโครงการผลประโยชนพนักงาน 8,626,069 รวม (5,468,702)
12,652,551
12,652,551 หนวย : บาท
2556
ผลประโยชน
จํานวนสุทธิ
(คาใชจาย) ภาษี 2,642,954
จากภาษี
(1,725,214) 917,740
จากภาษี
(3,163,051)
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม จํานวนกอน ภาษี
จํานวนสุทธิ
จํานวนกอน ภาษี
(11,451,817)
(3,795,778)
6,900,855 (4,550,962)
(3,795,778)
ผลประโยชน
จํานวนสุทธิ
(คาใชจาย) ภาษี 759,155
จากภาษี
759,155
(3,036,623) (3,036,623)
34. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นในภายหนา 34.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทมีภาระผูกพันจากสัญญาเชาดําเนินงานสําหรับอาคาร สํานักงานและยานพาหนะ ดังนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 53.7 70.2 25.1 56.6 78.8 126.8
ไมเกิน 1 ป เกิน กวา 1 ป แตไมเกิน 5 ป รวม
34.2
เมื่ อวั นที่ 25 พฤศจิ กายน 2557 บริษั ททํ าสั ญญากั บธนาคารในประเทศแห งหนึ่งให ออกหนังสือค้ํ า ประกันจํานวนประมาณ 15.1 ลานบาท ตามเงื่อนไขของสัญญาซื้อ/ขายหุน ของบริษทั หลักทรัพย เอ เพกซ จํากัด หนังสือค้ําประกันดังกลาวเปนการค้ําประกันเกี่ยวกับหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นของบริษัท ดังกลาว จากการตัดสินคดีความของศาลโดยมีเงินฝากระยะยาวค้ําประกัน (ดูหมายเหตุขอ 6.2) 185
34.3
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริ ษัทมีภาระผู กพั นที่ จะตองจ ายคาตอบแทนให แก พนักงานตามสัญญาที่บริษัทไดทําสัญญาแลวเปนจํานวน 26.7 ลานบาท และจํานวน 0.3 ลาน บาท ตามลําดับ
35. รายการธุรกิจกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน บุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกันไดแกบุคคลหรือบริษัทตางๆ ที่มีความเกี่ยวของกับบริษัทตางๆ ในกลุมบริษัท โดยการมีผูถือหุ นรวมกันหรือมี กรรมการรวมกัน รายการบั ญชีระหวางบุคคลหรือบริษัทที่ เกี่ยวของกันใช นโยบายราคาและเงื่อนไขการกําหนดราคาระหวางกันในเงื่อนไขทางธุรกิจปกติ นโยบายการกําหนดราคาสําหรับแตละรายการอธิบายไดดังตอไปนี้ คานายหนา คาธรรมเนียมและบริการ คาใชจา ย
นโยบายการกําหนดราคา ราคาตลาดซึ่งเปนอัตราเดียวกับที่คิดกับลูกคาทั่วไป ราคาที่ตกลงกันซึ่งประมาณตามราคาตลาด ราคาตลาด
ยอดคงเหลือที่มีสาระสําคัญกับบุคคลและบริษัท ที่เกี่ยวขอ งกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ ลักษณะ ความสัมพันธ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเ สีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท
เงินฝากในนามบริษทั เพือ่ ลูกคา บุคคลที่เกี่ยวของกัน บริษทั คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) รวม
บุคคลที่เกี่ยวของกัน 75,475 บริษทั ที่เกี่ยวของกัน 10,076,529 10,152,004
ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยสทุ ธิ บุคคลที่เกี่ยวของกัน
บุคคลที่เกี่ยวของกัน
เงินลงทุนสุท ธิ กองทุนรวมทีบ่ ริหารโดยบริษทั รวม บริษทั คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) รวม 186
บริษทั รวม บริษทั ที่เกี่ยวของกัน
-
4,747,247 26,622 4,773,869 3,163,658
407,736 100,401,965 76,395,664 407,736 176,797,629
ลักษณะ ความสัมพันธ
งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย และงบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท
สินทรัพยอนื่ สุท ธิ บริษทั คันทรี่ กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) คาใชจายคางจาย บริษทั ซิงเสียนเยอะเปา จํากัด
บริษทั ใหญ
2,518,396
บริษทั ที่เกี่ยวของกัน
256,800
-
48,150
รายการบัญชีท่ีมีส าระสําคัญระหวางบริษัทกับบุคคลและบริษัทที่เกี่ยวของกัน สําหรับปส้ินสุดวันที่ 31 ธัน วาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้ ลักษณะ ความสัมพันธ
คานายหนาจากการซื้อขายหลักทรัพย บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน กองทุนรวมทีบ่ ริหารโดยบริษัทรวม บริษัท คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) รวม คานายหนาจากการซื้อขายสัญญาซื้อขายลวงหนา บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสว นไดเสีย สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท
บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน บริษัทรวม บริษัททีเ่ กีย่ วของกัน
1,199,548 45,121,017 245,758 46,566,323
บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน
-
4,697,493 70,976,457 75,673,950 18,530
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท 1,199,548 45,121,017 245,758 46,566,323 -
4,697,493 70,976,457 75,673,950 18,530
คานายหนาจากการเปนตัวแทนซื้อขายหนวยลงทุน บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน)
บริษัทรวม
426,128
343,334
426,128
343,334
คาธรรมเนียมและบริการ บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน)
บริษัทรวม
252,965
284,917
252,965
284,917
เงินปนผลรับ บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน เอ็มเอฟซี จํากัด (มหาชน)
บริษัทรวม
74,758,750
50,835,950
ดอกเบี้ยรับ บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน ตนทุนทางการเงิน บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน บริษัท คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) รวม
-
-
บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน
7,937
817,232
7,937
817,232
บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน บริษัททีเ่ กีย่ วของกัน
175,640 50,439 226,079
162,424 434 162,858
175,640 50,439 226,079
162,424 434 162,858
187
ลักษณะ ความสัมพันธ
งบการเงินที่แสดงเงินลงทุน ตามวิธีสว นไดเสีย สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2557 2556 บาท บาท
คาใชจายเกี่ยวกับอาคาร สถานที่และอุปกรณ บริษัท อีดพี ี เอ็นเตอรไพรส จํา กัด
บริษัททีเ่ กีย่ วของกัน
1,238,485
1,210,337
1,238,485
1,210,337
คาใชจายอื่น - คาโฆษณา บริษัท ซิงเสียนเยอะเปา จํากัด
บริษัททีเ่ กีย่ วของกัน
1,021,850
1,043,250
1,021,850
1,043,250
กรรมการ บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน บริษัทรวม บริษัททีเ่ กีย่ วของกัน
56,662,250 17,672,083 10,188,277 6,013,345 90,535,955
44,229,385 18,149,880 2,378,833 6,253,479 71,011,577
56,662,250 17,672,083 10,188,277 6,013,345 90,535,955
44,229,385 18,149,880 2,378,833 6,253,479 71,011,577
เงินปนผลจาย บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน บุคคลทีเ่ กี่ยวของกัน กองทุนรวมทีบ่ ริหารโดยบริษัทรวม บริษัททีเ่ กีย่ วของกัน รวม
36. ขอมูลสวนงานดําเนินงาน บริ ษั ทได เปดเผยข อมู ลส วนงานดํ าเนิ นงานตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบั บที่ 8 เรื่ อง ส วนงาน ดําเนินงานตามเกณฑท่เี สนอใหแกผูมีอํานาจตัดสินใจสูงสุดดานการดําเนินงานของบริษทั เพือ่ ใชในการจัดสรร ทรัพยากรใหกับสวนงานและประเมินผลการปฏิบัติงานของสวนงานดังกลาว บริษัทดําเนินกิจการใน 3 สวนงานหลักคือ สวนงานนายหนาซื้อขายหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนา ส วนงานวานิ ชธนกิ จ ส วนงานค าหลั กทรั พย และสั ญญาซื้ อขายล วงหน า และดํ าเนิ นธุ รกิ จในส วนงานทาง ภูมิศาสตรหลักในประเทศ ขอมูลสวนงานดําเนินงานของบริษัทสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธัน วาคม 2557 และ 2556 มีดังตอไปนี้
188
หนวย: พันบาท
งบการเงินที่แสดงเงิน ลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธัน วาคม สวนงานนายหนา สวนงานคา หลักทรัพย ซื้อขายหลักทรัพย และสัญญาซื้อ และ ขาย สัญญาซื้อขาย สวนงานวานิช ลวงหนา สวนงานอืน่ ๆ ลวงหนา ธนกิจ รายได คานายหนา คาธรรมเนียมและบริการ กําไรจากเงิน ลงทุนและตรา สารอนุพนั ธ สวนแบงกําไรจากเงิน ลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย ดอกเบี้ยและเงินปนผล ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมเพื่อซื้อ หลักทรัพย รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับป
2557
2556
2557
2556
2557
2556
2557
2556
2557
1,024,705
1,695,680
-
-
-
-
-
-
1,024,705
1,695,680
22,225
9,779
39,492
29,810
-
-
-
-
61,717
39,589
(1,224)
1,267
-
-
103,429
84,607
-
-
102,205
85,874
-
-
-
-
-
-
60,406
86,424
60,406
86,424
-
-
-
-
14,809
249
53,481
90,710
68,290
90,959
45,070
56,605
-
-
-
-
-
-
45,070
56,605
-
-
-
-
-
-
237,976
13,708
237,976
13,708
29,810
118,238
84,856
351,863
190,842
1,600,369
2,068,839
(1,135,678)
(1,649,121)
464,691
419,718
(79,740)
(74,905)
384,951
344,813
1,090,776
1,763,331 39,492
งบการเงินเฉพาะกิจการ สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธัน วาคม สวนงานนายหนา สวนงานคา หลักทรัพย ซื้อขายหลักทรัพย และสัญญาซื้อ และ ขาย สัญญาซื้อขาย สวนงานวานิช ลวงหนา สวนงานอืน่ ๆ ลวงหนา ธนกิจ รายได คานายหนา
รวม
2557
2556
2557
2556
2557
2556
2557
2556
1,024,705
1,695,680
-
-
-
-
-
-
189
2556
หนวย: พันบาท
รวม 2557
2556
1,024,705 1,695,680
คาธรรมเนียมและบริการ กําไรจากเงิน ลงทุนและตรา สารอนุพนั ธ ดอกเบี้ยและเงินปนผล ดอกเบี้ยเงินใหกูยืมเพื่อซื้อ หลักทรัพย รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย กําไรกอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไรสุทธิสําหรับป
22,225
9,779
39,492
29,810
-
-
-
-
61,717
39,589
(1,224)
1,267
-
-
103,429
84,607
-
-
102,205
85,874
-
-
-
-
14,809
249
143,048
141,795
45,070
56,605
-
-
-
-
-
-
45,070
56,605
-
-
-
-
-
-
237,976
13,708
237,976
13,708
29,810
118,238
84,856
1,090,776
1,763,331 39,492
128,239 141,546
366,215 155,254 1,614,721 2,033,251 (1,135,678) (1,649,121)
190
479,043
384,130
(82,375)
(69,710)
396,668
314,420
สินทรัพยจําแนกตามสวนดําเนินงาน หนวย: บาท
สินทรัพยตามสวน ดําเนินงาน
สวนงานนายหนาซื้อขาย หลักทรัพยและ สัญญาซื้อขายลวงหนา
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556
สวนงานคา หลักทรัพยและ สัญญาซื้อขาย ลวงหนา
สวนงาน วานิชธนกิจ
2,541,625,565 2,142,902,339
3,109,047 2,366,083
984,938,729 205,514,398
รวมสวนงาน ดําเนินงาน
สินทรัพยที่ ไมไดปนสวน
รวม
3,529,673,341 2,350,782,820
2,228,114,102 2,397,322,532
5,757,787,443 4,748,105,352
37. การบริหารความเสี่ยง 37.1 ความเสี่ยงดานการใหสินเชื่อ ความเสี่ ยงด านการให สิ นเชื่ อคือ ความเสี่ ยงที่บริ ษัทไดรั บความเสี ยหายอั นสืบเนื่องมาจากการที่ คูสัญญาของบริษัทจะไมสามารถปฏิบัติตามภาระผูกพันที่ระบุไวในเครื่องมือทางการเงินได สินทรัพย ทางการเงินของบริษัทไมไดมีความเสี่ยงเกี่ยวกับการกระจุกตัวมาก และมูลคาสูงสุดของความเสี่ยงคือ มูลคาตามบัญชีของเครื่องมือทางการเงินหักดวยสํารองเผื่อขาดทุนตามทีแ่ สดงไวในงบแสดงฐานะ การเงิน 37.2 ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ย ความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยคือ ความเสี่ยงที่มูลคาของเครื่องมือทางการเงินจะเปลีย่ นแปลงไป เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยในตลาด ซึ่งมีผลกระทบตอผลการดําเนินงานและกระแสเงิน สดของบริษัท หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว นไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ ระยะเวลาคงเหลือกอนครบกําหนดของสัญญาหรือกอนกําหนดอัตราใหม อัตราดอกเบี้ยปรับขึ้น นอยกวา 1 - 5 ป มากกวา ลูกหนี้ ไมมี รวม อัตราดอกเบี้ย (รอยละ) ลง ตามอัตราตลาด 1 ป 5 ป ดอยคุณภาพ ดอกเบี้ย อัตราลอยตัว อัตราคงที่ สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํา นักหักบัญ ชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและ สัญ ญาซื้อขายลว งหนาสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรว มสุทธิ หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้สํานักหักบัญชี เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตามสัญ ญาเชาการเงิน
1,090.3 -
269.3 -
-
-
-
54.3 1,144.6 0.13 - 1.30 269.3 1.40 - 2.00 32.2 32.2 -
633.6 -
683.2 -
-
-
-
1,670.6 2,304.2 6.25 - 18.00 292.4 975.6 4.30 - 5.50 546.6 546.6 -
-
3.1
-
-
-
187.7 187.7 1,846.2 1,846.2 3.1
191
-
7.33
สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํา นักหักบัญ ชี ลูกหนี้ธุร กิจหลักทรัพยสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรว มสุทธิ
หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธสี ว นไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ ระยะเวลาคงเหลือกอนครบกําหนดของสัญญาหรือกอนกําหนดอัตราใหม อัตราดอกเบี้ยปรับขึ้น นอยกวา 1 - 5 ป มากกวา ลูกหนี้ ไมมี รวม อัตราดอกเบี้ย (รอยละ) ลง ตามอัตราตลาด 1 ป 5 ป ดอยคุณภาพ ดอกเบี้ย อัตราลอยตัว อัตราคงที่ 955.7 597.7 -
หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้สํานักหักบัญชี เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตราสารอนุพันธ หนี้สินตามสัญ ญาเชาการเงิน
-
569.3 76.4 -
0.3
-
-
-
3.1
-
-
-
117.4 1,073.1 0.13 - 2.35 569.3 1.90 - 2.40 442.9 442.9 933.3 1,531.0 5.75 - 18.00 161.0 237.4 7.00 340.2 340.2
25.1 25.1 1,129.7 1,129.7 0.1 0.1 3.4
-
7.33
หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ ระยะเวลาคงเหลือกอนครบกํา หนดของสัญญาหรือกอนกําหนดอัตราใหม อัตราดอกเบี้ยปรับขึ้น นอยกวา 1 - 5 ป มากกวา ลูกหนี้ ไมมี รวม อัตราดอกเบี้ย (รอยละ) ลง ตามอัตราตลาด 1 ป 5 ป ดอยคุณภาพ ดอกเบี้ย อัตราลอยตัว อัตราคงที่ สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพย และสัญญาซื้อขายลวงหนาสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ หนี้สินทางการเงิน เจา หนีส้ าํ นักหักบัญ ชี เจา หนีธ้ ุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
1,090.3 -
269.3 -
-
-
-
54.3 1,144.6 0.13 - 1.30 269.3 1.40 - 2.00 32.2 32.2 -
633.6 -
683.2 -
-
-
-
1,670.6 2,304.2 6.25 - 18.00 292.4 975.6 4.30 - 5.50 532.6 532.6 -
3.1
-
-
-
187.7 187.7 1,846.2 1,846.2 3.1
-
192
-
7.33
หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ ระยะเวลาคงเหลือกอนครบกํา หนดของสัญญาหรือกอนกําหนดอัตราใหม อัตราดอกเบี้ยปรับขึ้น นอยกวา 1 - 5 ป มากกวา ลูกหนี้ ไมมี รวม อัตราดอกเบี้ย (รอยละ) ลง ตามอัตราตลาด 1 ป 5 ป ดอยคุณภาพ ดอกเบี้ย อัตราลอยตัว อัตราคงที่ สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ หนี้สินทางการเงิน เจา หนีส้ าํ นักหักบัญ ชี เจา หนีธ้ ุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตราสารอนุพันธ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
955.7 597.7 -
-
569.3 76.4 -
0.3
-
-
-
3.1
-
-
117.4 1,073.1 0.13 - 2.35 569.3 1.90 - 2.40 442.9 442.9 933.3 1,531.0 5.75 - 18.00 161.0 237.4 7.00 327.0 327.0 -
25.1 25.1 1,129.7 1,129.7 0.1 0.1 3.4
-
7.33
อัตราผลตอบแทนเฉลีย่ ของสินทรัพยทางการเงินเฉลี่ยและตนทุนการเงินเฉลีย่ ของหนี้สนิ ทางการเงิน เฉลี่ยของบริษัทสําหรับเครือ่ งมือทางการเงินชนิดที่มีดอกเบีย้ แสดงไวในตารางตอไปนี้ หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือถัว ดอกเบีย้ รับ /จาย อัตราผลตอบแทนถัวเฉลีย่ / เฉลีย่ ตนทุน การเงินถัวเฉลี่ย (รอยละ) สินทรัพยท างการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบัน การเงิน ลูกหนี้ธรุ กิจหลักทรัพย และสัญญาซื้อขายลวงหนาสุท ธิ เงินลงทุน สุทธิ เงินลงทุน ในบริษัทรวมสุทธิ หนี้สนิ ทางการเงิน หนี้สิน ตามสัญญาเชาการเงิน
1,031.2 386.0
16.6 7.0
1.6 1.8
553.4 307.6 379.9
45.1 8.0 74.8
8.1 2.6 19.7
3.4
0.2
4.8
193
หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือถัว ดอกเบีย้ รับ /จาย อัตราผลตอบแทนถัวเฉลีย่ / เฉลีย่ ตนทุน การเงินถัวเฉลี่ย (รอยละ) สินทรัพยท างการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบัน การเงิน ลูกหนี้ธรุ กิจหลักทรัพยสุท ธิ เงินลงทุน สุทธิ เงินลงทุน ในบริษัทรวมสุทธิ หนี้สนิ ทางการเงิน ตราสารหนีท้ ี่ออกและเงินกูยืมอืน่ หนี้สิน ตามสัญญาเชาการเงิน
1,372.5 359.9 782.6 77.7 343.1
46.2 7.9 56.6 5.4 50.8
3.4 2.2 7.2 8.8 14.8
301.9 4.1
12.8 0.2
5.1 4.6 หนวย : ลานบาท
งบการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือถัว ดอกเบีย้ รับ/จาย อัตราผลตอบแทนถัวเฉลีย่ / เฉลีย่ ตนทุน การเงินถัวเฉลี่ย (รอยละ) สินทรัพยท างการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้ธรุ กิจหลักทรัพย และสัญญาซื้อขายลวงหนาสุท ธิ เงินลงทุน สุท ธิ เงินลงทุน ในบริษัทรวมสุท ธิ หนี้สนิ ทางการเงิน หนี้สิน ตามสัญญาเชาการเงิน
1,031.2 386.0
16.6 7.0
1.6 1.8
553.4 307.6 378.4
45.1 8.0 74.8
8.1 2.6 19.8
3.4
0.2
4.8
194
หนวย : ลานบาท งบการเงิน เฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือถัว ดอกเบีย้ รับ/จาย อัตราผลตอบแทนถัวเฉลีย่ / เฉลีย่ ตนทุน การเงินถัวเฉลี่ย (รอยละ) สินทรัพยท างการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้ธรุ กิจหลักทรัพยสุท ธิ เงินลงทุน สุท ธิ เงินลงทุน ในบริษัทรวมสุท ธิ หนี้สนิ ทางการเงิน ตราสารหนีท้ ี่ออกและเงินกูยืมอืน่ หนี้สิน ตามสัญญาเชาการเงิน
1,372.5 359.9 782.6 77.7 327.0
46.2 7.9 56.6 5.4 50.8
3.4 2.2 7.2 8.8 15.5
301.9 4.1
12.8 0.2
5.1 4.6
37.3 ความเสี่ยงดานสภาพคลอง ความเสี่ยงดานสภาพคลอง คือ ความเสี่ยงที่บริษัทอาจไดรบั ความเสียหายเนือ่ งจากบริษัทไม สามารถเปลีย่ นสินทรัพยเปนเงินสดและ/หรือไมสามารถจัดหาเงินทุนไดเพียงพอตามความตองการ และทันตอเวลาที่บริษัทจะตองนําไปชําระภาระผูกพันไดเมือ่ ครบกําหนด นอกจากนี้ ตามประกาศคณะกรรมการกํ ากับหลักทรัพยและตลาดหลั กทรัพย ที่ กธ. 18/2549 เรื่อง “การดํารงเงินกองทุนสภาพคลองสุทธิ” กําหนดใหบริษัทหลักทรัพยดํารงเงินกองทุนสภาพคลอง สุทธิเมื่อสิ้นวันทําการใดๆ ไมนอยกวา 15.0 ลานบาท และไมนอยกวารอยละ 7 ของหนี้สินทั่วไป บริษัทไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนาประเภทตัวแทนซือ้ ขายสัญญาซือ้ ขาย ลวงหนาตามกฎหมายวาดวยสัญญาซื้อขายลวงหนา บริษัทตองดํารงเงินกองทุนสภาพคลองสุทธิเมือ่ สิ้นวันทําการใดๆ ไมนอยกวา 25.0 ลานบาทและไมนอยกวารอยละ 7ของหนีส้ นิ ทัว่ ไปและทรัพยสนิ ที่ตองวางเปนประกัน เวนแตเปนกรณีที่บริษัทไดหยุดการประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายลวงหนา ประเภทดั งกล าว และได มีหนั งสื อแจ งความประสงค ดั งกล าวต อสํ านั กงานคณะกรรมการกํากั บ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว ใหบริษัทดํารงเงินกองทุนสภาพคลองสุทธิเมื่อสิ้นวันทําการใดๆ ตามที่กําหนดในวรรคที่สองแทน
195
นอกจากนี้ ตามขอบังคับสมาชิกของสํานักหักบัญชี (ประเทศไทย) จํากัด (“สํานักหักบัญชี”) หมวด 300 “สมาชิก” เรื่อง “คุณสมบัติของสมาชิกสมทบ” กําหนดใหสมาชิกสมทบตองมีสวนของเจาของ ไมนอยกวา 150.0 ลานบาท และ/หรือมีฐานะทางการเงินตามหลักเกณฑที่หนวยงานซึ่งมีหนาที่กํากับ ดูแลการประกอบธุรกิจของนิติบุคคลดังกลาวกําหนดตามกฎหมาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัท ดํารงเงินกองทุน สภาพคลองสุท ธิจํานวนประมาณ 1,918.9 ลานบาท และประมาณ 2,970.3 ลานบาท ตามลําดับ คิดเปนรอยละ 88.0 และรอยละ 242.1 ของหนี้สินทั่วไปและทรัพยสินที่ตองวางเปนประกัน ตามลําดับ วันที่ที่ครบกําหนดของเครื่องมือทางการเงินนับจากวันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 มีดังนี้
สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ
หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ เมื่อ ภายใน 1 - 5 ป เกิน 5 ป ไมมี ลูกหนี้ รวม ทวงถาม 1 ป กําหนด ดอยคุณภาพ 200.0 32.2 633.6 1,628.5 689.2 286.4 -
หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้สํานักหักบัญชี เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
-
196
187.7 1,846.2 3.1
-
-
-
1,144.6 69.3 42.1 546.6
-
-
1,144.6 269.3 32.2 2,304.2 975.6 546.6
-
187.7 1,846.2 3.1
หนวย : ลานบาท งบการเงินที่แสดงเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ ลูกหนี้ รวม เมื่อ ภายใน 1 - 5 ป เกิน 5 ป ไมมี กําหนด ดอยคุณภาพ ทวงถาม 1 ป สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ
500.0 597.7 -
หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้สํานักหักบัญชี เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตราสารอนุพันธ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
-
400.0 442.9 888.6 77.5 159.9 -
25.1 1,129.7 0.1 0.3
3.1
-
673.1 69.3 44.7 340.2
-
1,073.1 569.3 442.9 1,531.0 237.4 340.2
-
-
-
25.1 1,129.7 0.1 3.4
หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ เมื่อ ภายใน 1 - 5 ป เกิน 5 ป ไมมี ลูกหนี้ รวม ทวงถาม 1 ป กําหนด ดอยคุณภาพ สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยและสัญญาซื้อขายลวงหนาสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ
200.0 633.6 -
32.2 1,628.5 689.2 -
-
187.7 1,846.2 3.1
หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้สํานักหักบัญชี เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
197
286.4 -
-
-
1,144.6 69.3 42.1 532.6
-
1,144.6 269.3 32.2 2,304.2 975.6 532.6
-
-
-
187.7 1,846.2 3.1
หนวย : ลานบาท งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ยอดคงเหลือของเครื่องมือทางการเงินสุทธิ ลูกหนี้ รวม เมื่อ ภายใน 1 - 5 ป เกิน 5 ป ไมมี ทวงถาม 1 ป กําหนด ดอยคุณภาพ สินทรัพยทางการเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินฝากในสถาบันการเงิน ลูกหนี้สํานักหักบัญชี ลูกหนี้ธุรกิจหลักทรัพยสุทธิ เงินลงทุนสุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวมสุทธิ
500.0 597.7 -
400.0 442.9 888.6 77.5 -
-
25.1 1,129.7 0.1 0.3
หนี้สินทางการเงิน เจาหนี้สํานักหักบัญชี เจาหนี้ธุรกิจหลักทรัพย หนี้สินตราสารอนุพันธ หนี้สินตามสัญญาเชาการเงิน
159.9 -
-
3.1
-
673.1 69.3 44.7 327.0
-
1,073.1 569.3 442.9 1,531.0 237.4 327.0
-
-
-
25.1 1,129.7 0.1 3.4
37.4 ความเสี่ยงดานสภาวะตลาด บริษัทมีความเสี่ยงดานสภาวะตลาดที่เกิดจากความผันผวนของราคาหลักทรัพยและราคาของ ตราสารอนุพันธซึ่งอาจจะมีผลทําใหมูลคาเงินลงทุนของบริษัทลดลงอยางมีนัยสําคัญ อยางไรก็ ตาม บริษัทไดมีการจัดการความเสี่ยงดานสภาวะตลาดใหอยูในระดั บที่ยอมรับไดโดยกําหนด นโยบายในการบริหารความเสี่ยง การกําหนดตัวชี้วัดและเพดานความเสี่ยงที่เหมาะสมตลอดจน กําหนดใหมีหนวยงานในการติดตามและควบคุมความเสี่ยงใหเปนไปตามที่นโยบายของบริษัท กําหนด 37.5 ความเสี่ยงดานอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 และ 2556 บริษัทไมมีเครื่องมือทางการเงินที่เป นเงินตราตางประเทศที่มี สาระสําคัญ
198
37.6 มูลคายุติธรรม มูลค ายุติ ธรรมโดยประมาณของสิ นทรัพยทางการเงิ น และหนี้ สิ นทางการเงิ นส วนใหญ ถือตาม จํานวน ที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน เนื่อ งจากสินทรัพยทางการเงิน และหนี้สิน ทางการ เงินดังกลาวเปนสินทรัพยและหนี้สินระยะสั้นและมูลคาไมเปลี่ยนแปลงไปตามการเปลีย่ นแปลง ของอัตราดอกเบี้ย ยกเวนมูลคายุติธรรมโดยประมาณของเงินลงทุน ซึ่งเงินลงทุนเพื่อคาและเงิน ลงทุนเผื่อขาย มูลคายุติธรรมถือตามราคาเสนอซื้อหลังสุด ณ สิ้นวันทําการสุดทายของปของตลาด หลัก ทรัพ ยแ หง ประเทศไทย สํ าหรั บหนว ยลงทุ น ในกองทุ นป ดและเงิ น ลงทุ นทั่ วไปซึ่ งไมใ ช หลักทรัพยจดทะเบียน มูลคายุติธรรมประมาณจากมูลคาสินทรัพยสุทธิและสําหรับตราสารหนี้ที่ถือ จนครบกําหนด มูลคายุติธรรมประมาณโดยวิธีการหาส ว นลดกระแสเงินสด โดยพิจารณาอัตรา ดอกเบี้ยปจจุบันและระยะเวลาที่จะถือจนครบกําหนด และมูลคายุติธรรมของใบสําคัญแสดง สิ ท ธิ อ นุ พั น ธ คํ า นวณจากราคาเสนอขายหลัง สุ ด ณ สิ้ น วั น ทํา การสุ ดท ายของป ข องตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย 38. เหตุการณภายหลังรอบระยะเวลารายงาน เมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558 บริษัทไดขอเพิกถอนหุนสามัญของบริษัทออกจากการเปนหลักทรัพยจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 39. การอนุมัติใหออกงบการเงิน งบการเงิ นสํ า หรับ ป สิ้น สุ ดวัน ที่ 31 ธั น วาคม 2557 ไดรับ อนุ มัติใ หอ อกงบการเงิ นจากกรรมการผูมี อํานาจลงนามของบริษัท เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2558
199
200