“ทุนไม่ได้แปลว่าเงินเท่านั้น ทุนแปลว่าทุกอย่างที่เกื้อหนุน ส�ำคัญที่สุดคือความรู้และประสบการณ์ เสริมด้วยแรงงานและพลัง ความร่วมมือ สามัคคี หรือที่เราเรียกว่า network คือพลังของ เครือข่าย ส่วนเงินหรือเครื่องจักรหนุนเสริมนั้นมาหลังสุด ถ้ามองค�ำว่า ‘ทุน’ แบบนี้ก็จะเป็นทุนที่พอเพียง” อาจารย์ยักษ์ ดร.วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร
2
สารบัญ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5 การแปลงลงสู่การปฏิบัติ 19 การออกแบบพื้นที่เพื่อการจัดการน�้ำ 23 หลักกสิกรรมธรรมชาติ 31 สมุนไพรรสจืดกับการปรับปรุงดิน 35 ข้าว : ต้นทุนคนไทย 39 โครงการทุนพอเพียง 43 เอามื้อสามัคคี วิถีการขับเคลื่อนสังคมแบบไทยๆ 55
3
“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นเสมือนมรดกที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร พระราชทานไว้ให้กับปวงชนชาวไทย
ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
สุนทรพจน์ โคฟี อันนัน เฉลิมพระเกียรติในหลวงรัชกาลที่ 9 นายโคฟี อันนัน เลขาธิการสหประชาชาติ กล่าว สุนทรพจน์เพื่อถวายสดุดีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ด้านการพัฒนามนุษย์ในการอภิปรายของ คณะผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูง เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2549 กระทรวงการต่างประเทศ ความว่า
ขยายโอกาสแก่ปัจเจกชน ที่จะเลือกให้มีชีวิตยืนยาวด้วย การมีสุขพลานามัยที่แข็งแรง เป็นบุคลากรที่มีความรู้และ ความคิดที่สร้างสรรค์
ส�ำหรับสหประชาชาติ พิธีมอบรางวัลเชิดชูเกียรติ นี้ มี ค วามหมายส� ำ คั ญ ยิ่ ง เนื่ อ งจากเป็ น ครั้ ง แรกที่ สหประชาชาติได้จัดท�ำรางวัลเกียรติยศนี้ เพื่อมอบแด่ บุคคลดีเด่นทีไ่ ด้อทุ ศิ ตนตลอดช่วงชีวติ และสร้างคุณค่าของ ผลงานอันเป็นที่ประจักษ์และเป็นคุณูปการที่ผลักดันความ ก้าวหน้าในการพัฒนาคน
สหประชาชาติประจ�ำประเทศต่างๆ ใน 166 ประเทศ ทัว่ โลกและโดยผ่านรางวัลความส�ำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนา มนุษย์นี้
การพัฒนาคน เป็นการพัฒนาทีใ่ ห้คนเป็นเป้าหมาย ศูนย์กลางในการพัฒนา โดยมุ่งเน้นการพัฒนาความเติบโต “ในบ่ายวันนี้ ผมได้รับเกียรติอันยิ่งใหญ่ในการ ทางเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน สิทธิมนุษยชนและความมัน่ คงใน ทู ล เกล้ า ทู ล กระหม่ อ ม ถวายรางวั ล ความส� ำ เร็ จ สู ง สุ ด ชีวิต ความเท่าเทียมกัน และการมีส่วนร่วมทางการเมือง ด้านการพัฒนามนุษย์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สหประชาชาติให้ความส�ำคัญด้านการพัฒนาคน และผมมีความรู้สึกปิติยินดีอย่างยิ่งในเกียรติที่ผมได้รับ เป็นล�ำดับแรก และเราคงเพียรพยายามอย่างเต็มที่ใน ด้วยพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นที่ได้ร่วมเฉลิมพระเกียรติ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคน โดยผ่านรายงาน ถวายรางวั ล ดั ง กล่ า วแด่ พ ระองค์ ในวโรกาสแห่ ง การ การพั ฒ นาคนของยู เ อ็ น ดี พี ทั้ ง ในระดั บ โลกและระดั บ เฉลิมฉลองสิริราชสมบัติครบหกสิบปี ประเทศ ผ่ า นโครงการพั ฒ นาต่ า งๆ ภายใต้ ที ม งาน
ที่ ก ล่ า วมาทั้ ง หมดนี้ หากการพั ฒ นาคนหมาย ถึงการให้ล�ำดับความส�ำคัญประชาชนเป็นอันดับแรก ไม่ มี สิ่ ง อื่ น ใดอี ก แล้ ว ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ไ ปกว่ า การพั ฒ นาคน การพัฒนาคนโดยแก่นแท้แล้วเป็นแนวทางเรียบง่าย ภายใต้แนวทางการพัฒนาคนขององค์พระบาทสมเด็จ การพัฒนาคนเป็นเรือ่ งของการสร้างเสริมขีดความสามารถ พระเจ้าอยู่หัว แก่ ป ระชาชนมิ ใ ช่ เ พื่ อ เพี ย งคนสองสามคน มิ ใ ช่ เ พื่ อ เมื่ อ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงบรม คนจ�ำนวนมาก แต่เพือ่ คนทัง้ ปวงโดยถ้วนทัว่ การสร้างเสริม ราชาภิ เ ษกเสด็ จ เถลิ ง ถวั ล ย์ ร าชสมบั ติ ใ นปี พุ ท ธศั ก ราช ขีดความสามารถท�ำได้โดยผ่านทางการศึกษา การขยาย 2489 พระองค์ได้ทรงพระปฐมราชโองการไว้ว่า “เราจะ โอกาสและทางเลือกสุขอนามัยและโภชนาการ การพัฒนา ครองแผ่ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข แห่ ง มหาชน คนเป็นเรื่องของการสร้างเสริมขีดความสามารถในการ ชาวสยาม” นับแต่บัดนั้นเป็นต้นมา พระองค์ได้ทรงอุทิศ
6
พระวรกายและทรงงานโดยมิรเู้ หน็ดเหนือ่ ยเพือ่ พัฒนาชีวติ และการยกระดับพัฒนาชีวิตของประชาชนชาวไทย ความเป็นอยู่ของปวงชนชาวไทย โดยมิได้เลือกเชื้อชาติ อนึ่ ง ด้ ว ยพระปรี ช าสามารถในการเป็ น นั ก คิ ด วรรณะ และศาสนา ของพระองค์ท่าน ท�ำให้นานาประเทศตื่นตัวในการปรับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้รับการขนาน รูปแบบการพัฒนาภายใต้แนวคิดใหม่ นามจากชาวโลกว่า “ทรงเป็นพระมหากษัตริย์นักพัฒนา” พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว พระราชทาน พระองค์ทรงเยี่ยมเยียนพสกนิกรที่ยากไร้และด้อยโอกาส ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ชี้แนวทางการพัฒนา ทั่วทุกภูมิภาค ทรงสดับตรับฟังปัญหาทุกข์ยากของราษฎร ทีม่ งุ่ เน้นความสมดุล องค์รวมและยัง่ ยืน โดยเน้นหลักการ และทรงมีพระเมตตา พระราชทานแนวทางการด�ำรงชีพ ความพอประมาณและการมี ภู มิ คุ ้ ม กั น ในตั ว ที่ ดี พ อ เพือ่ ให้ประชาชนของพระองค์สามารถพึง่ พาตนเองได้อย่าง ที่จะต้านทาน และลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง เข้มแข็งและยั่งยืน ต่างๆ อย่างรวดเร็ว อันเนื่องมาจากกระแสโลกาภิวัตน์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงงานด้านการ ปรัชญาดังกล่าวซึ่งเน้นแนวทาง “การเดินสายกลาง” พัฒนาชนบท ยังประโยชน์นานัปการต่อประชาชนนับล้าน ท� ำ ให้ ส หประชาชาติ มี ป ณิ ธ านมุ ่ ง มั่ น พั ฒ นาคน ในประเทศ อาทิ โครงการที่มุ่งเน้นการเกษตรขนาดเล็ก ให้ ป ระชาชนเป็ น เป้ า หมายศู น ย์ ก ลางในการพั ฒ นา ด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืนต่อไป ทรัพยากรน�้ำอย่างยั่งยืน รวมทั้งการป้องกันและบรรเทา โครงการพั ฒ นาและปรั ช ญาแนวความคิ ด ของ ความเดือดร้อนจากน�้ำท่วมและภัยแล้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้เป็นแนวทางในการพัฒนา นอกจากนั้น โครงการพัฒนาพื้นที่สูงในภาคเหนือ ของพระองค์ท่าน และส�ำหรับประชาชนทุกหนแห่ง ภายใต้โครงการในพระราชด�ำริ ได้เปลี่ยนสภาพพื้นที่ปลูก ฝิ่นให้กลายเป็นแหล่งปลูกพืชทดแทน โครงการต่างๆ ในพระราชด�ำริเพื่อพัฒนาชนบท ท�ำให้คนในพื้นที่มีสุข อนามัยดีขึ้น มีโอกาสในการศึกษา และยังประโยชน์สุขแก่ ประชาชนในพื้นที่และผู้อยู่อาศัยบริเวณเขตชายแดนไทย แถบพม่าและลาวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
รางวัลความส�ำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์น้ี สหประชาชาติมีปณิธานที่จะส่งเสริมประสบการณ์ และ แนวทางปฏิ บั ติ ในการน� ำ ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง อั น ทรงคุ ณ ค่ า อย่ า งหาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ข องพระองค์ ท ่ า น เพื่อจุดประกายแนวความคิดการพัฒนาแบบใหม่สู่นานา ประเทศเพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ ความส� ำ เร็ จ สู ง สุ ด และ ในด้ า นการพั ฒ นาสั ง คมภายใต้ โ ครงการ ความมุ ่ ง มั่ น ในพระราชหฤทั ย ในการพั ฒ นาคนส� ำ หรั บ พระราชด�ำริต่างๆ พระองค์ท่านได้ทรงสนับสนุนด้านสุข ประชาชนของพระองค์” อนามัยและความเป็นอยูท่ ดี่ ขี องเด็ก มีการรณรงค์ลดภาวะ การขาดไอโอดีน รวมทั้งส่งเสริมสร้างโอกาสทางการศึกษา
7
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ท�ำอะไรให้ เหมาะสมกับฐานะของตัวเอง คือท�ำจากรายได้ 200-300 บาท ขึ้นไป เป็น 2 หมื่น 3 หมื่นบาท คนชอบเอาค�ำพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือ ท�ำเป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ความหมาย ไม่ใช่แบบที่ ฉันคิด ที่ฉันคิด คือ เป็น Self-Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดู TV ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจ�ำกัดเขาไม่ให้ ซือ้ TV ดู เขาต้องการดูเพือ่ สนุกสนาน ในหมูบ่ า้ นไกลๆ ทีฉ่ นั ไป เขามี TV ดู แต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า Sufficiency นัน้ มี TV เขาฟุม่ เฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มสี ตางค์ไปตัด Suit และยังใส่ Necktie Versace อันนี้ก็เกินไป” พระราชด�ำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 พระราชทาน ณ พระต�ำหนักเปี่ยมสุข วันที่ 17 มกราคม 2544
“ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นเสมือนมรดกที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานไว้ให้กับปวงชนชาวไทย เสมือนเชือกน�ำทางที่ให้เกาะก้าวย่างสู่เส้นทาง “สัจธรรม” เป็นปรัชญา ที่ตั้งอยู่บนทางสายกลางยึดโยงอย่างแนบแน่นกับค�ำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเมื่อแปลงสู่ การกระท�ำก็สอดรับกับหมุดหมายการพัฒนาของประชาคมโลก ที่มุ่งเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้คนบนโลกใบนี้ ด้วยเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) 8
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนทั้ง 17 ข้อ เป็นความ พยายามที่จะชักชวนประเทศต่างๆ บนโลกนี้ให้หันมา ร่ ว มกั น หั ก เหทิ ศ ทางการพั ฒ นาที่ เ ดิ น มาก่ อ นหน้ า นี้ ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเหลื่ อ มล�้ ำ ความอดอยากยากกจน การท�ำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจากการ ผลิตเพื่อบริโภคตามความต้องการของผู้คนที่ “มากเกิน พอดี” จนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาวะอากาศของโลก อย่างใหญ่หลวงและยากยิง่ ทีจ่ ะแก้ไขให้กลับมาเป็นเหมือน เดิม ปัญหาขยะ หมอกควัน มลพิษ การปนเปื้อนอาหาร โรคระบาด ฯลฯ ก�ำลังส่งผลกระทบโดยตรงต่อ “คุณภาพ ชีวิต” ของประชาชน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงมีสายพระเนตรกว้างไกล และมองเห็นเหตุการณ์ที่เกิด ขึ้นในวันนี้อย่างแจ่มชัด จึงได้ทรงสร้าง “ต้นแบบ” ของ การเดินสู่เส้นทางสายใหม่เส้นทางของค�ำว่า “พอ” อาจารย์ยกั ษ์ วิวฒ ั น์ ศัลยก�ำธร หนึง่ ในผูท้ ไี่ ด้รบั การ ยอมรับว่าเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท น้อมน�ำปรัชญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งลงสู ่ ก ารปฏิ บัติ ไ ด้ อย่ า งเป็ น รู ปธรรม ชายที่คนนับแสนนับถือว่าเป็น “ครู” เป็น “อาจารย์” ผู้ที่ท�ำเรื่องที่เข้าใจได้ยาก ให้ง่าย จับต้องได้ เดินตามได้ ให้ค�ำอธิบายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไว้อย่างน่าสนใจ
9
จากทฤษฎี ก็ จ ะเริ่ ม แปลงลงสู ่ วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ไ ด้ ก็ ต้องมีความรู้ แต่รู้แค่ข้อมูลอย่างเดียว หรือดาวน์โหลด ข้อมูลมาเก็บไว้ ก็ไม่พอ เพราะจะต้อง “ลงมือท�ำ” ด้วย การลงมือท�ำเป็นหัวใจส�ำคัญที่สุด คนจะเดินตามแนวนี้ก็ ต้องหาความรู้ ลงมือท�ำ ท�ำแล้วก็จะพบปัญหา พบปัญหา ก็กลับมาวิเคราะห์แก้ไข ทดลองใหม่จนเกิดผลส�ำเร็จ ก็จะ เกิดเป็น “นวัตกรรม” ขึ้นมาเพราะทฤษฎีต่างๆ ที่พระองค์ ท่านทรงพระราชทานแนวทางไว้ให้นั้นล้วนเป็นเรื่องใหม่ แนวคิดใหม่ ทฤษฎีใหม่ ที่พระราชด�ำริขึ้นจากการลงพื้นที่ ไปเห็นวิถีชีวิตของคนไทยจริงๆ ติดดินจริงๆ ได้พูดได้คุย กับคนที่มีชีวิตอยู่ที่นั่น ที่นี่ ในเมือง ในชนบท ในท้องถิ่น ทุรกันดาร พระองค์ท่านเสด็จมาหมดแล้ว ห้องทรงงาน ของท่ า นคื อ เมื่ อ พระองค์ ท ่ า นประทั บ อยู ่ กั บ ประชาชน ดั ง นั้ น ศาสตร์ นี้ จึ ง ล�้ ำ ค่ า เพราะมาจากการทรงงานของ พระเจ้าแผ่นดินถึง 70 ปี”
“ถ้าจะพูดถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชื่อก็บอก อยู่แล้วว่าเป็นเรื่องของปรัชญา เป็นร่มใหญ่ เป็นเบื้องหลัง ความคิด ความเชื่อ การกระท�ำ การตัดสินใจของแต่ละคน ซึ่ ง ในโลกนี้ ก็ มี ป รั ช ญาเบื้ อ งหลั ง ความคิ ด ที่ พั ฒ นามา อย่ า งหลากหลาย บ้ า งก็ เ ป็ น ปรั ช ญาด้ า นการเมื อ ง การปกครอง ปรั ช ญาทางศาสนา ซึ่ ง มี สิ่ ง ที่ เ หมื อ นกั น คือ ความเป็นปรัชญาจะมีนามธรรมสูงคือจับต้องไม่ได้ อธิบายได้แต่จับต้องไม่ได้ ทีนี้ระดับที่ยากขึ้นที่คนส่วนใหญ่ ไม่ ไ ด้ อ ธิ บ ายถึ ง ก็ คื อ การลงมื อ ท� ำ จะแปลงปรั ช ญาที่ มี ความเป็นนามธรรมสูงลงสู่การปฏิบัติได้อย่างไร สมมติ อธิบายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบอกว่าต้องมีสามห่วง สองเงื่อนไข แล้วเวลาท�ำจริงล่ะท�ำอย่างไร ก็จะเริ่มเห็น ความยาก เพราะมันเป็นนามธรรม พอประมาณ มีเหตุมผี ล มีภูมิคุ้มกัน ภายใต้สองเงื่อนไขคือความรู้และคุณธรรม มันเป็นนามธรรมทั้งหมด การจะแปลงสิ่งที่เป็นนามธรรมสูงมาสู่การปฏิบัติ จึงต้องมีส่ิงที่เป็นนามธรรมระดับที่ต�่ำลงมาหน่อย เริ่มมี รูปธรรมให้จับต้องได้แล้ว นั่นก็คือ “ทฤษฎี” ทฤษฎีจะเป็น ภาคปฏิบัติภายใต้ร่มใหญ่ของปรัชญา เช่น เกษตรทฤษฎี ใหม่เป็นการท�ำการเกษตรภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพี ย ง เพราะเป็ น การจั ด การที่ ดิ น ที่ มี อ ยู ่ จ� ำ กั ด ให้ มี น�้ำพอ ดินพอ มีความสมบูรณ์จากป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง มีพนื้ ทีป่ ลูกข้าวพอกิน เลีย้ งปลา เลีย้ งไก่ ก็จะท�ำให้ชวี ติ ของเกษตรกรไทยที่มีสมาชิกครอบครัวละประมาณ 5 คน มีที่ดินคนละเฉลี่ย 15 ไร่ (ในเวลานั้น) สามารถสร้างความ พอเพี ย งให้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ แต่ ต ้ อ งมี ค วามรู ้ แ ละมี คุ ณ ธรรม แล้วค่อยมาว่ากันต่อไปว่า ความรู้ที่จะต้องมีนั้นคืออะไร อธิบายแบบนี้ก็จะพอเห็นภาพการลดระดับจากปรัชญา เป็นทฤษฎี 10
เส้นทางการพัฒนาของโลก การจะเข้าใจหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ควรจะได้ท�ำความเข้าใจหลักคิดในการพัฒนาที่มีมาก่อนหน้านี้ และส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบัน ซึ่งมีอยู่ 2 กลุ่มความคิด ได้แก่
1. หลักคิดเศรษฐกิจการค้าเสรีหรือทุนนิยมในกลุ่มประเทศการปกครองแบบประชาธิปไตย 2. หลักคิดเศรษฐกิจชุมชนหรือชุมชนนิยมในกลุ่มประเทศการปกครองแบบคอมมิวนิสต์
ยุคเกษตรกรรมสู่ยุคอุตสาหกรรมจึงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ข้อดีคือช่วยให้เกิดการกระจายรายได้ การเพิ่มผลผลิต ให้เพียงพอต่อความต้องการ แต่กส็ ง่ ผลกระทบต่อทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมอย่างหนัก เนื่องจากความพยายามในการ คิดค้นวิธีการที่จะสามารถเอาชนะธรรมชาติได้เก่งกว่า ธรรมชาติ และน�ำความรู้ใหม่ๆ ที่ได้จากวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเข้ามาพัฒนาระบบอุตสาหกรรม ผลที่เกิดขึ้น ก็คอื การพรากธรรมชาติออกจากสภาวะสมดุล เมือ่ ธรรมชาติ ขาดดุลยภาพก็แสดงอาการต่างๆ ที่ส่งผลต่อการใช้ชีวิต ของมนุษย์ เช่น อากาศแปรปรวน ลมพายุรุนแรง ฝนตก ผิดฤดูกาลส่งผลให้เกิดน�้ำท่วม ดินถล่ม แผ่นดินไหว มนุษย์ จึงยิ่งเร่งความพยายามเพิ่มมากขึ้นในการที่จะเอาชนะ ธรรมชาติ ใ ห้ ไ ด้ ม ากขึ้ น ไปอี ก โดยเร่ ง การคิ ด ค้ น หนทาง ออกด้ ว ยเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ แต่ ก็ ก ลั บ ยิ่ ง เป็ น การดึ ง เอา ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้มากยิ่งขึ้น ความเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วนี้แสดงผลของมันอย่างชัดเจนใน 50 ปีหลัง ทุนนิยมขยายแนวคิดออกไปทั่วโลก ก่อให้เกิดการ มานี้ สะสมทุนและความมั่งคั่ง การแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ หลั ก คิ ด ที่ ส องมาจากกลุ ่ ม ที่ ไ ม่ เ ชื่ อ เรื่ อ งของ จากประเทศต่างๆ เพื่อแลกเปลี่ยนการค้าอย่างเสรี และ เพิ่มอัตราเร่งด้วยความส�ำเร็จหลังยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ทุนนิยมเสรี โดยมองว่าท้ายที่สุดแล้วทุนจะไปสะสมอยู่ ที่ส่งผลให้ระบบการผลิตเปลี่ยนแปลงจากระบบครัวเรือน ทีค่ นเพียงกลุม่ เดียว และกลายเป็นการสร้างความเหลือ่ มล�ำ้ เป็นระบบการผลิตขนาดใหญ่ ผลิตสินค้าครั้งละปริมาณ ขึ้นในสังคมจนกลายเป็นปัญหาใหญ่ และจะก่อให้เกิด มากๆ ส่งผลให้ต้นทุนถูกลง แรงงานจึงเริ่มเคลื่อนย้ายจาก การผูกขาดอ�ำนาจโดยกลุ่มทุน จ�ำเป็นต้องสร้างพลังของ ภาคการเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงจาก ประชาชนให้แข็งแรงเพื่อต้านทานพลังอ�ำนาจจากทุนนิยม หลั ก คิ ด ทุ น นิ ย มนั้ น มี พั ฒ นาการมาจากนั ก คิ ด ที่ส�ำคัญของระบบทุนนิยมคือ อดัม สมิท (Adam Smith) นักปรัชญาและเศรษฐศาสตร์การเมืองชาวสก็อตแลนด์ ผู้เขียนหนังสือซึ่งมีอิทธิพลต่อทฤษฎีเศรษฐกิจทุนนิยม เสรีนยิ มคือ The Wealth of Nations (พ.ศ. 2319) โดยเขา มีความเชื่อในสิทธิ์ของบุคคลที่ควรได้รับโอกาสอย่างเสรี ในการแข่ ง ขั น เพื่ อ สร้ า งความก้ า วหน้ า ทางเศรษฐกิ จ ไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของสมาคมอาชีพหรือของรัฐซึ่งมี บทบาทอยู่ในขณะนั้น ทฤษฎีของ อดัม สมิธมีผลกระทบ ต่อระบบเศรษฐกิจของยุโรป ท�ำให้ยุโรปส่วนใหญ่เกิดการ เปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบบการค้าเสรี ผู้ประกอบการสามารถ รวมตั ว กั น ได้ เ พื่ อ เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพของการแข่ ง ขั น มีการแบ่งงานกันท�ำ และส่งเสริมให้เกิดกลไกการตลาด หรือ “มือที่มองไม่เห็น” หรือ invisible hand ซึ่งถือเป็น กลจักรส�ำคัญของเศรษฐกิจทุนนิยม
11
ในปี พ.ศ. 2525 เป็นช่วงเวลาที่การแพร่ขยาย การปกครองตามหลั ก คิ ด ของลั ท ธิ ทุ น นิ ย ม และลั ท ธิ สั ง คมนิ ย มขยายผลมาถึ ง ทวี ป เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ด้านหนึง่ มีผทู้ เี่ ชือ่ มัน่ ในลัทธิคอมมิวนิสต์คอื ประเทศจีนเป็น ผูแ้ พร่ความคิด อีกด้านคือกลุม่ ทีย่ ดึ มัน่ ในแนวทางทุนนิยมเสรีนิยม คืออเมริกาและยุโรป ทั้งสองพยายามอย่างยิ่งที่ จะท�ำให้ประเทศต่างๆ ในดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เข้าเป็นพวกเป็นฝ่ายของตนซึ่งเมื่อประเมินดูแล้วดูเหมือน ว่าฝ่ายคอมมิวนิสต์จะได้เปรียบเนื่องจากแพร่รูปแบบการ ปกครองคอมมิวนิสต์มาทางลาว เวียดนามเหนือและกัมพูชา จึงเกิดค�ำว่า “ทฤษฎีโดมิโน” ขึ้น ซึ่งหมายความว่า หากมี ประเทศใดประเทศหนึ่งเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็น ความขั ด แย้ ง ของสองขั้ ว ความคิ ด ก่ อ ให้ เ กิ ด ยุ ค คอมมิวนิสต์แล้วประเทศที่เหลือในเอเชียตะวันออกเฉียง แห่งสงครามเย็นที่ทุกประเทศก้าวเข้าสู่สงครามที่รบรากัน ใต้จะเปลี่ยนแปลงตามไปทั้งหมด ด้วยความคิด ด้วย “หลักคิด” ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม ประเทศไทยในเวลานัน้ เปรียบเสมือน “แนวกันชน” การเมือง การปกครอง เป็นการปะทะกันของสองขั้วความ คิดใหญ่ด้านการพัฒนาประเทศ โดยแบบหนึ่งนั้นคือ ลัทธิ คื อ อยู ่ ต รงกลางระหว่ า งฝั ่ ง ขวาของแม่ น�้ ำ โขงคื อ ลาว ทุนนิยม-เสรีนยิ ม ซึง่ ก�ำเนิดในอังกฤษ และพัฒนาขึน้ เรือ่ ยๆ เวียดนาม กัมพูชา ซึ่งเปลี่ยนการปกครองเป็นระบอบ นับถึงปัจจุบนั ก็เป็นเวลา 200 ปี ทีแ่ นวทางดังกล่าวเผยแพร่ คอมมิวนิสท์ทั้งหมด และฝั่งซ้ายคือ พม่า อินเดีย เปลี่ยน ไปทั่ ว ประเทศและทั่ ว โลก ในขณะที่ ห ลั ง จากเกิ ด ลั ท ธิ การปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย ทุนนิยมขึ้นมาได้ราว 70 กว่าปีที่ผ่านมานี้เอง ประเทศเล็กๆ แห่งนี้จึงกลายเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ รากฐานความคิดของกลุ่มนี้มาจาก คาร์ล มาร์กซ์ ซึง่ เขียนหนังสือชือ่ ค�ำประกาศจากชุมชน หรือ คอมมิวนิสต์ เมนิเฟสโตร่วมกับเฟรดริด แองเกลส์ (The Communist Manifesto by Karl Marx and Friedrich Engels) ให้ความส�ำคัญกับการกระจายรายได้ให้เท่าเทียมเพื่อมา ค้านกับหลักเศรษฐกิจค่ายทุนนิยมเสรี หลักคิดนี้กระจาย เข้ า สู ่ ก ลุ ่ ม ประเทศที่ ป กครองโดยระบอบคอมมิ ว นิ ส ต์ เริ่ ม จากประเทศเยอรมั น ซึ่ ง ก็ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางความคิดอย่างรุนแรง จนเยอรมันแบ่งแยกออกเป็น 2 ประเทศออก-ตก ลามไปสู่ประเทศรัสเซีย จีน และแพร่สู่ เวียดนาม กัมพูชา และลาว
ที่ ฟ ากฝั ่ ง ทุ น นิ ย มจ� ำ เป็ น ต้ อ งยั น ไว้ ใ ห้ ไ ด้ แ ละฟากฝั ่ ง คอมมิวนิสต์ก็จ�ำเป็นที่จะต้องยึดให้ได้เพื่อล้มทั้งกระดาน จึงเกิดการปะทะกันขึน้ เนืองๆ ตามแนวชายแดน ในเวลานัน้ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงแสดงพระอัจฉริยะภาพด้านการพัฒนาโดยน�ำหลัก การพัฒนาเข้าไปยุติสงครามด้วยวิธีง่ายๆ คือเริ่มที่การ แก้ ป ั ญ หาส� ำ คั ญ คื อ “ปั ญ หาความยากจน” ให้ กั บ คน ชายแดน ด้วยการสร้างอ่างเก็บน�้ำแนวชายแดนเพื่อให้
จากความแตกต่ า งทางความคิ ด และความเชื่ อ ในลั ท ธิ เ ศรษฐกิ จ ก็ ส ่ ง ผลสะท้ อ นถึ ง ระบอบการเมื อ ง การปกครอง การท�ำการค้า วิถีชีวิต การก�ำหนดทิศทางใน การพัฒนาประเทศ จึงก่อให้เกิดการแบ่งประเทศออกเป็น 2 ส่วนบ้าง 3 ส่วนบ้าง เช่น จีน เวียดนาม ลาว กัมพูชา ไปจนถึงแตกแยกเป็น 10 ประเทศอย่างรัสเซียก็ล้วนแล้ว แต่เป็นผลของความขัดแย้งทางความคิดของ 2 ลัทธิใหญ่ ที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อ 200 กว่าปีที่ผ่านมานี้ทั้งสิ้น
12
ชาวบ้านได้ใช้หาปลา ปลูกผักหญ้า ปลูกข้าว ประกอบอาชีพ ต่างๆ ทั้งๆ ที่อยู่ในพื้นที่แห้งแล้งของจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งสมัยนั้นยังไม่ได้แยกตัวไปเป็นจังหวัดสระแก้วอย่าง ปัจจุบนั เมือ่ แก้ปญ ั หาความยากจนได้กไ็ ม่ตกเป็นเหยือ่ ทาง ความคิ ด ของใครง่ายๆ เพราะมีพอเพียง พึ่งตนเองได้ จึงมีความเชื่อมั่นศรัทธาในตนเอง และอ่างเก็บน�้ำที่สร้าง ไว้ยังได้ใช้เป็นพื้นที่ป้องกันการบุกรุกจากข้าศึกในพื้นที่ ชายแดนกัมพูชาอีกด้วย
และในวั น พฤหั ส บดี ที่ 19 กรกฎาคม 2517 ได้กล่าวย�้ำในการพระราชทานปริญญาบัตร ณ หอประชุม มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ บางเขน พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระบรมราโชวาทซ�้ำว่า ด้วยแนวทางการพัฒนา อย่างพอเพียงความตอนหนึ่งว่า …
“…การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับ ขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ ของ ประชาชนเป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ ที่ ป ระหยั ด แต่ ถู ก ต้ อ งตามหลั ก วิ ช า เมื่ อ ได้ พื้ น ฐาน มั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อย เสริ ม ความเจริ ญ และฐานะทางเศรษฐกิ จ ขั้ น ที่ สู ง ขึ้ น โดยล�ำดับ ต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกฐานะทางเศรษฐกิ จ ขึ้ น ได้ ร วดเร็ ว แต่ ป ระการเดี ย ว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศ และของประชาชน โดยสอดคล้องด้วย จะเกิดความไม่สมดุล ในเรื่องต่างๆ ได้ ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลว ในที่สุด…”
ผลส�ำเร็จได้แน่นอนบริบูรณ์…”
“…ในการพัฒนาประเทศนั้น จ�ำเป็นต้องท�ำตาม ล�ำดับขั้น เริ่มด้วยการสร้างพื้นฐาน คือความมีกินมีใช้ ของประชาชนก่อน ด้วยวิธีการที่ประหยัดระมัดระวัง ในห้วงเวลาของความขัดแย้งนั้น พระเจ้าแผ่นดิน แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควร รัชกาลที่ 9 ได้พระราชทานแนวทางออกให้ โดยประกาศ แล้ว จึงค่อยสร้างความเจริญขั้นที่สูงขึ้นไปตามล�ำดับ เศรษฐกิจพอเพียงขึ้นเป็นครั้งแรก ในงานพระราชทาน …การถือหลักที่จะส่งเสริมความเจริญ ให้ค่อยเป็น ปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันพุธที่ ไปตามล�ำดับด้วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัด 18 กรกฎาคม 2517 ไว้ความตอนหนึ่งว่า นั้น ก็เพื่อป้องกันความผิดพลาดล้มเหลว และเพื่อให้บรรลุ หลังจากนั้นทรงมีพระราชด�ำรัส “เน้นย�้ำ” เรื่อง ความพอมี พอกิน พอใช้ พระราชทานให้คณะบุคคล ที่ เ ข้ า เฝ้ า เนื่ อ งในวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา ณ ศาลา ดุสิตดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2517 ความตอนหนึ่งว่า … “…คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทย ล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่เราอยู่ พอมี พอกิน และขอให้ทุกคน มีความปรารถนา ที่จะให้เมืองไทย พออยู่ พอกิน มีความสงบ และท�ำงาน ตัง้ จิตอธิษฐาน ตัง้ ปณิธาน ในทางนีท้ จี่ ะให้เมืองไทยอยูแ่ บบ พออยูพ่ อกิน ไม่ใช่วา่ จะรุง่ เรืองอย่างยอด แต่วา่ มีความพออยู่ พอกิน มีความสงบเปรียบเทียบกับประเทศ อื่นๆ ถ้าเรา รักษาความพออยู่พอกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิ่งยวดได้…”
13
ประเทศของเรามั่งคั่ง และเป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์ ถ้าหากมีความขัดแย้งเกิดขึ้น ใครๆ ก็ต้องการประเทศนี้ และตามปกติแล้วโลกก็มีความขัดแย้งอยู่เสมอ ดังนั้น เราจะยังคงยืนหยัดอยู่ที่นี่ ยืนหยัดเพื่อเป็นประโยชน์ ต่อคนทั้งโลก Our country is rich. And strategic. So that if there is any struggle in the world, people want to get this country. And there’s always a struggle in the world. “We still stand here. We stand here for the good of the whole world” Thailand’s working Royalty National Geographic, October 1982 หลังจากนั้นมาประเทศไทยก็เริ่มก้าวเข้าสู่การพัฒนาเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดด เศรษฐกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว จากราคาที่ดินที่สูงขึ้นช่วงเวลานั้น เกษตรกรต่างขายที่ดินท�ำกินเป็นเศรษฐีข้ามคืน การเงินสะพัดอย่างมากจน นายกรัฐมนตรีในสมัยนั้นประกาศจะน�ำพาประเทศก้าวไปเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่หรือเสือตัวที่ 5 แห่งเอเชีย (Newly industrialized country) เป็นอีกครัง้ ทีพ่ ระเจ้าแผ่นดิน รัชกาลที่ 9 มีกระแสพระราชด�ำรัส เน้นย�ำ้ ว่าเราไม่จำ� เป็นต้อง “ก้าวหน้าอย่างมาก” เพราะหากก้าวหน้าอย่างมากจะถอยหลังอย่างน่ากลัว และเราไม่ได้เป็นประเทศร�่ำรวย เรามีพอสมควร พออยู่ได้ ดังนั้นวิธีการบริหารที่เหมาะกับเราคือท�ำ “แบบคนจน” บนความสามัคคีและเมตตากัน “เราไม่เป็นประเทศร�่ำรวย เรามีพอสมควรพออยู่ได้ แต่ไม่เป็นประเทศที่ก้าวหน้าอย่างมาก เราไม่อยากจะ เป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมาก เพราะถ้าเราเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมาก ก็จะมีแต่ถอยกลับ ประเทศเหล่านัน้ ที่เป็นประเทศอุตสาหกรรมก้าวหน้า จะมีแต่ถอยหลัง และถอยหลังอย่างน่ากลัว แต่ถ้าเรามีการบริหารแบบ เรียกว่า “แบบคนจน” แบบที่ไม่ติดกับต�ำรามากเกินไป ท�ำอย่างมีสามัคคีนี้แหละคือ เมตตากัน จะอยู่ได้ตลอดไป” พระราชด�ำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2539 ปี 2540 เพียงปีเดียวหลังจากพระราชด�ำรัส ประเทศไทยก็ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ “ถอยหลังอย่างน่ากลัว” เมื่อความจริงของเศรษฐกิจปรากฏ เงินทองและความร�่ำรวยที่เห็นนั้นคือมายาของฟองสบู่ เหตุการณ์ฟองสบู่แตก เกิดวิกฤตเศรษฐกิจที่ล้มกระดานโดมิโนไปทั่วเอเชีย เริ่มต้นจากประเทศไทย ในชื่อ “วิกฤตต้มย�ำกุ้ง (Tom-Yum-Kung Crisis)” เป็นภาพที่ปรากฏชัดเจนว่า “เงินทองเป็นของมายา ข้าวปลาสิของจริง”
14
ท่ า มกลางวิ ก ฤตการณ์ ที่ ถ าโถม ผู ้ ค นก� ำ ลั ง ระส�่ำระสาย ภาคธุรกิจล้มละลาย คนรวยล้นฟ้าลงมาเดิน ดิ น ขายแซนวิ ช ขายอาหาร ตลาดนั ด เปิ ด ท้ า ยขายของ เก่าเกิดขึ้น และผู้คนจากชนบทพากันเดินทางกลับบ้าน พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 พระราชทาน “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” อย่างชัดเจนและเป็นการอธิบายความหมายและ ความแตกต่างกับ “เศรษฐกิจการค้า” และเป้าหมายการ ท�ำให้กลับเป็นเศรษฐกิจพอเพียง เพียง 1 ใน 4 ของการกระท�ำ ไม่ต้องทั้งหมดและท�ำทั้งหมดก็ไม่ได้ ความบางส่วน ดังนี้ “มาเร็วๆ นี้ โครงการต่างๆ โรงงานเกิดขึ้นมามาก จนกระทั่งคนนึกว่าประเทศไทยนี้จะเป็นเสือตัวเล็กๆ แล้ว ก็เป็นเสือตัวโตขึ้นเราไปเห่อว่าจะเป็นเสือ ความจริงเคย พูดเสมอในทีป่ ระชุมอย่างนีว้ า่ การจะเป็นเสือนัน้ ไม่สำ� คัญ ส�ำคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมี พอกิน “แบบพอมี พอกิน” นั้นหมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียง กั บ ตั ว เอง อั น นี้ ก็ เ คยบอกว่ า ความพอเพี ย งนี้ ไ ม่ ไ ด้ หมายความว่าทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวจะ ต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนัน้ มันเกินไปแต่วา่ ในหมูบ่ า้ นหรือใน อ�ำเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่าง ที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการ ก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก อย่างนี้ท่าน นักเศรษฐกิจต่างๆ ก็มาบอกว่าล้าสมัย จริง อาจจะล้าสมัย คนอื่นเขาต้องมีการเศรษฐกิจที่ต ้อ งมีก ารแลกเปลี่ ย น เรียกว่าเป็นเศรษฐกิจการค้า ไม่ใช่เศรษฐกิจความพอเพียง เลยรู้สึกว่าไม่หรูหรา แต่เมืองไทยเป็นประเทศที่มีบุญ อยู่ว่า ผลิตให้พอเพียงได้
ภาพ : ประเทศที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตต้มย�ำกุ้ง/
อย่างข้าวที่ปลูก เคยสนับสนุนให้ปลูกข้าวให้พอ เพียงกับตัวเอง แต่ละครอบครัวเก็บเอาไว้ในยุง้ เล็กๆ แล้วถ้า มีพอก็ขาย แต่คนอื่นกลับบอกว่าไม่สมควร โดยเฉพาะ ในทางภาคอีสาน เขาบอกว่าต้องปลูกข้าวหอมมะลิเพื่อจะ ขาย อันนี้ถูกต้อง ข้าวหอมมะลิขายได้ดี แต่เมื่อขายแล้ว จะบริโภคเองต้องซื้อ ต้องซื้อจากใคร ทุกคนก็ปลูกข้าว หอมมะลิ ในภาคอีสานส่วนมากเขาชอบบริโภคข้าว เหนียว ซึ่งใครจะเป็นคนปลูกข้าวเหนียว เพราะประกาศ โฆษณาว่า คนที่ปลูกข้าวเหนียวเป็นคนโง่ อันนี้เป็น สิ่งที่ส�ำคัญ เลยได้สนับสนุนบอกว่าให้เขาปลูกข้าวบริโภค เขาจะชอบข้าวเหนียวก็ปลูกข้าวเหนียว เขาจะชอบปลูก ข้าวอะไรก็ตาม ให้เขาปลูกข้าวอย่างนั้น และเก็บไว้เพื่อ ที่จะบริโภคตลอดปี ถ้ามีที่ที่จะท�ำนาปรัง หรือมีที่มากพอ ส�ำหรับปลูกข้าว ก็ปลูกข้าวหอมมะลิ เพื่อที่จะขาย
15
ที่พูดอย่างนี้ก็เพราะว่า ข้าวที่ปลูกส�ำหรับบริโภค ไม่ต้องเที่ยวรอบโลก ถ้าข้าวที่ซื้อมา ต้องเที่ยว อาจจะ ไม่ถึงรอบโลก แต่ก็ต้องข้ามจังหวัด หรืออาจจะข้าม ประเทศ ค่าขนส่งนั้นก็บวกเข้าไป ในราคาข้าว ตกลง เขาจะต้องขายข้าวในราคาถูก เพราะว่าข้าวนั้นต้องขนส่ง ไปสู่ต่างประเทศ ที่จะขายได้ก�ำไร ก็ต้องบวกค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายต่างๆ ก็บวกเข้ามาในราคาข้าว หมายความว่า ราคาข้าวของเกษตรกรจะถูกตัด เขาบอกว่าขายข้าวหอม มะลิได้ราคาแพง จริง ตอนขายถึงผู้บริโภคในต่างประเทศ แต่ตน้ ทางก็ไม่ได้คา่ ตอบแทนมากนัก และยังต้องไปซือ้ ข้าว บริโภค ซึ่งจะแพงกว่า เพราะว่าจะต้องขนส่งมา
พอเพียง” ซึ่งฝรั่งเรียก SELF-SUFFICIENT ECONOMY ทีไ่ หนท�ำแบบ SELF-SUFFICIENT ECONOMY คือเศรษฐกิจ แบบพอเพี ย งกั บ ตั ว เอง เราก็ อ ยู ่ ไ ด้ ไม่ ต ้ อ งเดื อ ดร้ อ น อย่างทุกวันนี้เราเดือดร้อน ส�ำหรับข้าวก็เห็นชัด ส�ำหรับ สิ่งอื่นประชาชนก็ต้องใช้ มีสิ่งของจ�ำเป็นที่จะใช้หลาย อย่างที่เราท�ำได้ในเมืองไทย แล้วก็สามารถที่จะเป็นสินค้า ใช้ เ องด้ ว ย และเป็ น สิ น ค้ า ส่ ง นอกด้ ว ย แต่ ว ่ า ส� ำ หรั บ ส่งนอกนัน้ ก็มพี ธิ กี ารทีจ่ ะต้องผ่านมากมาย ลงท้ายก�ำไร เกือบไม่เหลือ แต่ถ้าสามารถติดต่อโดยตรง ก็อย่างกลองนี้ เขาติดต่อโดยตรง ก็ส่งไปลงเรือ ที่เรียกว่าCON-TAINER ส่งไปเต็ม CONTAINER และค่าขนส่งนั้นก็ไม่แพงนัก
ในข้อนี้ได้ทราบดีเพราะเมื่อมีภัยธรรมชาติ จะเป็น ที่ไหนก็ตาม สมมติว่าเกิดที่เชียงราย มีเจ้าหน้าที่ออกไป สงเคราะห์ แล้วก็ขอข้าวเพื่อไปแจก เราก็ซื้อข้าว ซื้อข้าว ในราคากรุงเทพฯ หมายความว่า ข้าวนั้นมาจากเชียงราย เพราะเชียงรายเป็นอู่ข้าวอู่น�้ำ ขนส่งมาถึงกรุงเทพฯ ซื้อที่ กรุ ง เทพฯ แล้ ว ก็ ส ่ ง ไปเชี ย งราย เสี ย ค่ า ขนส่ ง เท่ า ไหร่ แท้จริงไปซื้อที่เชียงรายได้ซื้อที่กรุงเทพฯ นี่ แต่ให้เขา จ่ายที่เชียงราย ข้าวนั้นไม่ต้องเดินทาง แต่ว่าราคานั้น “เดินทาง” คือพ่อค้าเขาน�ำข้าวมาในนาม - ในเอกสาร - น�ำเข้ากรุงเทพฯ และเมื่อเราสั่งข้าว ค�ำสั่งนั้นต้องเดิน ทางไปเชียงรายแต่ไม่ใช่เอกสารสั่งข้าวเท่านั้นที่เดินทาง ไป เขายังเอาค่าขนส่งข้าวจากเชียงรายเข้ากรุงเทพฯ และ ค่าขนส่งจากกรุงเทพฯ กลับไปเชียงรายบวกเข้าไปอีก ลงท้าย ต้องเสียราคาข้าวแพง ผู้ที่บริโภคข้าวในภาคเหนือ ก็ตอ้ งเสียราคาแพง ทางภาคใต้กเ็ ช่นเดียวกัน นัน่ ใกล้หน่อย อย่างนราธิวาสซื้อข้าวจากพัทลุง
ที่พูดกลับไปกลับมาในเรื่องการค้า การบริโภค การผลิตและการขายนี้ ก็นึกว่าท่านทั้งหลายก�ำลังกลุ้มใจ ในวิกฤตการณ์ ตั้งแต่คนที่มีเงินน้อยจนกระทั่งคนที่มีเงิน มากล้วนเดือดร้อน แต่ถ้าสามารถที่จะเปลี่ยนไป ท�ำให้ กลับเป็นเศรษฐกิจแบบพอเพียง ไม่ต้องทั้งหมด แม้แค่ ครึ่งก็ไม่ต้อง อาจจะสักเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็จะสามารถอยู่ ได้ การแก้ไขอาจจะต้องใช้เวลา ไม่ใช่ง่ายๆ โดยมาก คนก็ใจร้อนเพราะเดือดร้อน แต่ว่าถ้าท�ำตั้งแต่เดี๋ยวนี้ ก็สามารถที่จะแก้ไขได้ ที่จริงในที่นี้ ก็มีนักเศรษฐกิจต่างๆ ก็ควรจะเข้าใจที่พูดไปดังนี้
อย่างรถที่น่ังมาตะกี้ ท่านเห็นหรือไม่เห็น ก็ไม่ ทราบ สร้างด้วยฝีมือคนไทย แล้วก็ใช้วัตถุดิบในเมือง ไทยจ�ำนวนหนึ่ง โดยเฉพาะค่าแรง โรงงานเดี๋ยวนี้ผลิตไม่ ได้เพราะว่าไม่มีคนซื้อ อาจจะมีคนอยากซื้อ แต่คนซื้อไม่มี เงิน ไม่มีการหมุนเวียนของเงิน เขาเลยสร้างรถคันนี้มา คนทีส่ ร้างรถคันเดียวนีม้ จี ำ� นวนสองร้อยกว่าคน ก็เลยท�ำให้ สิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องของ “เศรษฐกิจแบบค้าขาย” เห็นว่า น่าจะหาทางที่จะช่วยเหลือคนที่อยู่ในโรงงานนี้ ภาษาฝรั่งเขาเรียก TRADE ECONOMY ไม่ใช่ “แบบ 16
แม้ แ ต่ กิ จ การ ที่ น ายกฯ ได้ พู ด ถึ ง เรื่ อ งทฤษฎี โรงงานเขาก็ดี เขาก็ดแู ลคนงาน ไม่ได้ทำ� ให้คนงานเดือดร้อน จนเกินไป เขาเท่ากับมีสวัสดิการ งานก็ทำ� ไม่มากเท่าก่อนนี้ ใหม่ เรื่องอะไรพวกนี้ก็ต้องมีผู้ที่สนับสนุน เพราะว่า ชาวบ้ า นหรื อ เกษตรกรอาจจะไม่ มี ทุ น พอส� ำ หรั บ เริ่ ม แล้วเงินที่ได้ก็อาจจะไม่มากเท่าก่อนนี้ แต่พออยู่ได้ โครงการแต่ถ้าสนับสนุนแล้ว คือเอกชนสนับสนุนก็ได้ เขามีความตั้งใจที่จะท�ำการเกษตรกรรมในพื้นที่ ทางราชการก็สนับสนุนด้วย เงินที่สนับสนุนจะเป็นเงิน ที่ยังว่างเปล่าอยู่ เขาบอกว่าเขาขอไปดูโครงการที่เขาหิน ที่ท�ำงาน เงินท�ำงานนี่ก็หมายความว่ามีผลขึ้นมา มีผล ซ้อน ว่าท�ำอย่างไร ส�ำหรับเพาะปลูกในที่ทุรกันดาร ที่ไม่ ขึ้นมาต่อเกษตรกร และมีผลต่อประเทศชาติในส่วนรวม ค่อยเหมาะสมในการเพาะปลูก แล้วก็ต้ังใจที่จะสนับสนุน เศรษฐกิจของประเทศชาติก็จะไม่ฝืดเคือง และอย่างนี้ ให้เขาตั้งโรงสี เหมือนโรงสีในสวนจิตรฯ นี้ ซึ่งก็ไม่แพงนัก ก็ท�ำได้เร็วพอใช้ เมื่อตั้งโรงสี ปลูกข้าวเองบ้าง และไปซื้อข้าวจากเกษตรกร เมื่อไม่กี่เดือนมานี่ มีคนเอาที่ดินมาให้ อยู่ที่อ�ำเภอ บ้างน�ำมาสี และขายในราคาทีเ่ หมาะสม เป็นในรูปสหกรณ์ ที่ท�ำที่สวนจิตรฯ นี้ ไม่ได้ใช้ข้าวที่ปลูกในสวนจิตรฯ เพราะ ปักธงชัย ตอนแรกเขาจะให้ 9 ไร่ เวลามาพบเขาเกิดพอใจ ว่าข้าวที่ปลูกในสวนจิตรฯ เอาไปเข้าพิธีแรกนาขวัญ ข้าวที่ เขาบอกว่าเขามีที่ 30 ไร่ เขาขอที่ 9 ไร่เอาไว้ส�ำหรับแจก ให้ลูก 3 คน คนละ 3 ไร่ ส่วนอีก 21 ไร่นั้น เขาให้ จะท�ำ โรงสีนี้ เป็นข้าวที่ไปซื้อจากเกษตรกรโดยตรง โดยให้ราคา โครงการอะไรก็ได้ ตอนแรกเขานึกจะตั้งวัด มีเพื่อนของ ที่เหมาะสม เกษตรกรก็มีความสุข เพราะขายข้าวในราคา เขาคัดค้านว่า มีวัดอยู่แล้ว เขาก็เลยบอกว่าจะตั้งที่พัก ทีเ่ หมาะสม และผูบ้ ริโภคก็ซอื้ ได้ในราคาถูก เพราะว่าไม่ตอ้ ง ส�ำหรับโรงพยาบาล ซึ่งอยู่ห่างจากที่นั้นประมาณหนึ่ง มีการขนส่งมากเกินไปไม่ต้องมีคนกลางมากเกินไป ตกลง กิโลเมตร ในที่สุดเขาเอามาให้ บอกว่าท�ำอะไรก็ได้ เรานึก ทั้งผู้ผลิต ทั้งผู้บริโภคก็มีความสุข ว่าถ้าท�ำทีพ่ กั โรงพยาบาลก็อาจจะยังไม่มปี ระโยชน์ในทันที จึงตกลงท�ำโครงการสาธิต ทฤษฎีใหม่ ในที่ที่เหลือ ส่วน หนึง่ จะท�ำการเพาะปลูกแบบชาวบ้าน แบบไม่ได้สง่ เสริม หมายความว่าใช้น�้ำฝน ใช้ธรรมชาติ อีกส่วนหนึ่งจะท�ำ แบบ ทฤษฎีใหม่ โดยขุดสระและแบ่งเป็นส่วนที่จะปลูก ข้าว และส่วนที่จะปลูกไม้ยืนต้น กับปลูกพืชไร่พืชสวน เริ่มมาไม่กี่เดือนนี้ ได้รับรายงานเมื่อวานนี้ ว่าได้ด�ำเนิน การแบ่งส่วนที่จะท�ำอะไรๆ และมีรูปภาพสระที่ขุดแล้ว มีความบกพร่องอยู่บ้างว่า น�้ำมีความเป็นด่างเกินไป เลี้ยง ปลายังไม่ได้ ต้องมีการแก้ไขให้น�้ำนั้นมีค่าเป็นกลาง เพื่อที่ จะให้ใช้น�้ำนั้นส�ำหรับเลี้ยงปลาได้ ที่จริงก็แปลกเพราะว่า ที่อื่นที่ไปท�ำ น�้ำมันเปรี้ยว ที่นี่น�้ำเป็นด่าง วิธีแก้น�้ำที่เป็น ด่าง ก็เอาปุ๋ยคอกแช่ลงไปในน�้ำ ซึ่งจะท�ำให้น�้ำนั้นกลาย เป็นกลางได้
กิจการแบบนีก้ เ็ คยแนะน�ำหน่วยทหารบางหน่วย ให้เขาท�ำโรงสี และสนับสนุนเกษตรกร ที่อยู่รอบๆ กอง ทหารนั้น ก็ดูมีความสุข ที่นิคมต่างๆ มีนิคมที่ประจวบฯ ที่ภาคใต้บ้าง และที่อื่น เขามีโรงสี และท�ำให้การซื้อข้าว ขายข้าวนั้นเป็นที่พอใจของผู้ขายและผู้ซื้อ ก็เคยได้แนะน�ำ บริษทั ใหญ่ๆ ให้ทำ� แบบนี้ แต่ไม่ทราบว่าท�ำหรือไม่ทำ � แต่วา่ ถ้าท�ำอย่างทีก่ องทหารและนิคมสร้างตนเองท�ำ ก็สามารถที่ จะประหยัดและมีกนิ การตัง้ โรงสีกย็ อ่ มต้องมีการลงทุนการ เพาะปลูกผลิตข้าวหรือผลิตสิ่งของทางเกษตร ก็ต้องมีการ ลงทุน จะเอาเงินลงทุนมาจากไหน ก็นึกว่าผู้ที่มีจิตใจกุศล ก็สามารถที่จะสนับสนุน อย่างมีพ่อค้าบางคนเขาก็บริจาค เงินเพื่อสนับสนุนกิจการที่ท�ำอยู่
17
พระราชด�ำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม 2541 ค�ำว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ไม่มีในต�ำรา ไม่เคยมีระบบเศรษฐกิจพอเพียง มีอย่างอื่นแต่ไม่ใช้ค�ำนี้ ... ฉะนั้น จึงพูดว่าเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติเพียงเศษหนึ่งส่วนสี่ ก็ควรจะพอและท�ำได้ อันนี้เป็นข้อหนึ่ง ที่จะอธิบายค�ำพูด ที่พูดมาเมื่อปีที่แล้ว ค�ำว่าพอเพียงมีความหมายอีกอย่างหนึ่ง มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอ ส�ำหรับใช้เองเท่านั้น แต่มีความหมายว่าพอมีพอกิน ... เราควรจะปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละคนพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิ่งถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลา นั้น ก็เริ่มจะไม่พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย สมัยก่อนนี้พอมีพอกิน มาสมัยนี้ชักจะไม่พอมีพอกิน จึงต้องมีนโยบายที่จะท�ำเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อที่จะให้ทุกคนมีพอเพียงได้ ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่มเฟือย แต่ถ้าท�ำให้มีความสุข ถ้าท�ำได้ก็สมควรที่จะท�ำ สมควรที่จะปฏิบัติ อันนี้ก็ความหมายอีกอย่างของเศรษฐกิจ หรือ ระบบพอเพียง เมื่อปีที่แล้วตอนที่พูดพอเพียง แปลในใจ แล้วก็ได้พูดออกมาด้วย ว่าจะแปลเป็น Self-sufficiency (พึ่งตนเอง) ถึงได้บอกว่าพอเพียงแก่ตนเอง แต่ความจริงเศรษฐกิจพอเพียงนี้ กว้างขวางกว่า Self-sufficiency คือ Self-sufficiency นั้นหมายความว่า ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอซื้อคนอื่น อยู่ได้ด้วยตนเอง ... แต่พอเพียงนี้มีความหมายกว้างขวางยิ่งกว่านี้อีก คือค�ำว่าพอก็เพียงพอ เพียงนี้ก็พอดังนั้นเอง คนเรา ถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด “อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ” มีความคิดว่าท�ำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่าง มาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้ พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ท�ำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง พระราชด�ำรัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 23 ธันวาคม 2542 “โครงการต่างๆ หรือเศรษฐกิจที่ใหญ่ ต้องมีความสอดคล้องกันดีที่ไม่ใช่เหมือนทฤษฎีใหม่ ที่ใช้ที่ดินเพียง 15 ไร่ และสามารถที่จะปลูกข้าวพอกิน กิจการนี้ใหญ่กว่า แต่ก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คนไม่เข้าใจว่า กิจการใหญ่ๆ เหมือนสร้างเขื่อนป่าสักก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึกว่าเป็นเศรษฐกิจสมัยใหม่ เป็นเศรษฐกิจที่ห่างไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แต่ที่จริงแล้ว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน”
18
การแปลง
ลงสู่การปฏิบัติ
ที่ครอบคลุมทุกศาสตร์ของรัชกาลที่ 9 คือปรัชญาแห่ง ความพอเพียง
การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ิ ยึด เป้าหมายตามพระราชด�ำรัสคือ “พอมี พอกิน” เป็นอันดับ แรก หรือเป็นเศรษฐกิจพอเพียงขัน้ พืน้ ฐานโดยการแปลงลง สู่การปฏิบัตินั้น อาจารย์ยักษ์ วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร ประมวล ให้สั้น กระชับ พอเป็นแนวทางไว้ว่า ต้องมีองค์ประกอบ 5 เรื่องคือ
“แค่ค�ำว่าพอ ก็พอแล้ว” สิ่งนี้คือปรัชญา การยืน หยัดอยูด่ ว้ ยความพอเพียงไม่เป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมาก เพราะถ้าเป็นประเทศก้าวหน้าอย่างมากเราจะถอยหลัง เข้าคลองอย่างน่ากลัว เป็นค�ำตรัสซึ่งเป็นปรัชญาแนวคิดที่ 1. ระดั บ ปรั ช ญา คื อ ความพอ “แค่ ค� ำ ว่ า พอ ครอบคลุมสิ่งที่ทรงท�ำทุกเรื่องทุกโครงการ ทุกทฤษฎี ก็พอแล้ว” ระดับที่ 2 ที่ทรงสะท้อนออกมาจะเป็นทฤษฎี 2. ระดับทฤษฎี เช่น เกษตรทฤษฎีใหม่ ศาสตร์ดา้ น เพราะมีหลัก มีเกณฑ์ มีหลักการ ท่านรับสั่งกับคณะ การจัดการดิน ศาสตร์การจัดการน�้ำ ฯลฯ เจ้าหน้าที่ของศูนย์ศึกษาที่ไปเฝ้าฯ พระองค์ท่านในวัง 3. ระดับการปฏิบตั ิ วิธกี ารทีต่ อ้ งท�ำเป็นขัน้ เป็นตอน สวนจิตรลดา บอกว่า เราท�ำไปเรื่อยๆ และค่อยๆ สรุป 4. เทคนิคและนวัตกรรม ที่แตกต่างตามภูมิสังคม เป็ น ทฤษฎี ซึ่ ง ก็ คื อ การสร้ า งทฤษฎี ข องมานุ ษ ยวิ ท ยา 5. วิธีการบริหารจัดการ “แบบคนจน” (Anthropology) เป็นการสร้างทฤษฎีแบบ Qualitative ศาสตร์พระราชาที่มุ่งเน้นแปลงสู่การปฏิบัตินั้น Inductive ซึ่งเป็นวิธีการที่ท่านรับสั่ง คนที่ท�ำงานในศูนย์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ ตามความเป็นนามธรรม ศึกษาไปเฝ้าฯ ท่าน ท่านก็รบั สัง่ บอก เราท�ำ เราเก็บข้อมูลไป จากระดับที่หนึ่งเป็นนามธรรมสูง มีความเป็นปรัชญา และสรุปเป็นทฤษฎี ซึ่งมีมากกว่า 40 ทฤษฎี 20
ระดับที่ 3 ระดับการลงมือปฏิบัติ ท่านอธิบายว่า การท� ำ งานอย่ า ข้ า มขั้ น ตอน ให้ ท� ำ เป็ น ขั้ น เป็ น ตอน ก็ แ ปลว่ า การแปลงทฤษฎี ไ ปสู ่ ก ารปฏิ บั ติ ใ ห้ ท� ำ เป็ น ขั้ น เป็นตอน จึงจะแน่นอน ท่านใช้ค�ำนี้ไม่ใช่จึงจะยั่งยืนแต่ ใช้ค�ำว่าจึงจะแน่นอน ที่พูดทั้งหมดมีบันทึกไว้ทั้งหมดเลย ในส�ำนักงาน กปร ก็เขียนไว้ ตัวผมเองก็เขียนไว้ในหนังสือที่ สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งชาติ (สนช ) ท�ำไว้ซงึ่ ผมเป็นบรรณาธิการ ก็มีบันทึกไว้
ท่านบอกว่า อย่ารอ ท�ำเลย ท�ำแล้วก็พฒ ั นาไปด้วยพร้อมกัน ท�ำไปด้วยพัฒนาไปด้วยภายใต้ความขาดแคลน เมือ่ ท�ำงาน อย่าอ้างความขาดแคลน แล้วก็ทรงเรียกสิ่งนี้ว่าเป็นการ บริหารแบบคนจน ค�ำพูดทั้งหมดนี้ลอกพระองค์ท่านมา ผมท�ำจนขึ้นใจ แล้วสอนชาวบ้านให้น�ำไปท�ำ แล้วก็ได้ผล จริง ผมลอกค�ำสอนพระองค์ท่านแล้วไปประมวล แล้วพา ชาวบ้านท�ำ “5 เรือ่ งในมุมมองของผมนัน้ หนึง่ ปรัชญาเป็นนาม ธรรมมสูงสุด ต�่ำลงมาคือระดับทฤษฎี ต�่ำลงมาอีกคือระดับ ปฏิบัติการ ท่านจึงมีตัวอย่างการปฏิบัติ 4,000 กว่าแห่ง ศูนย์ศึกษาอีก 6 แห่ง ทั้งหมดคือระดับปฏิบัติการ ส่วนการ ท�ำงานนั้นให้ท�ำเป็นขั้นเป็นตอน และขั้นที่ 4 ก็คือเรื่องของ นวัตกรรมซึ่งเกิดขึ้นเมื่อท�ำซ�้ำๆ และสุดท้ายก็คือ วิธีการ บริหารแบบคนจน นี่คือปรัชญาของพระองค์ท่าน”
ระดับที่ 4 เป็นผลการลงมือปฏิบัติที่จับต้องได้ ผลจากการปฏิ บั ติ จ ะก่ อ ให้ เ กิ ด นวั ต กรรม เทคนิ ค และ องค์ความรู้ใหม่ ซึ่งจะพบว่าเทคนิคที่ค้นพบนั้นได้รางวัล นวัตกรรมระดับโลก
และเรื่องสุดท้ายเรื่องที่ 5 เป็นระดับการบริหาร แบบเมื อ งไทย ท่ า นบอกการบริ ห ารแบบโลกตะวั น ตก ต้องครบจึงจะซ้อม ต้องมีงบประมาณ มีคน มีเครื่องมือ อาจารย์ยักษ์ วิวัฒน์ ศัลยก�ำธรอธิบายความหมาย เท่านัน้ เท่านี้ แล้วจึงจะเริม่ ด�ำเนินการโครงการ แต่พระองค์ ของการแปลงปรัชญาสู่การปฏิบัติ
21
การแปลงปรัชญาสูก่ ารปฏิบัติ 5 ระดับ 1.
ปรัชญาแห่งความพอเพียง เป็นร่มใหญ่ มีความเป็นนามธรรมสูงเป็นหลักคิด แนวทางการด�ำเนินชีวิต โดยท�ำความเข้าใจความแตกต่างระหว่างปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กับปรัชญาของโลกเสรี และโลกคอมมิวนิสต์
2.
ระดับทฤษฎี สามารถปฏิบัติตามได้ เช่น ทฤษฎีใหม่ด้านการเกษตร คือเกษตรทฤษฎีใหม่ เน้นการจัดการ ดินและน�้ำให้เพียงพอ ก่อนที่จะท�ำการเพาะปลูก เป็นทฤษฎีภายใต้ความพอเพียงที่เป็นร่มใหญ่ นอกจากนั้น ยังมีทฤษฎีการฟื้นฟูดิน ทฤษฎีการฟื้นฟูน�้ำ การปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง การท�ำฝนเทียม การบ�ำบัด น�้ำเสีย ทฤษฎีอีกมากมายที่พระองค์ท่านพระราชทานไว้ให้
3.
วิธีปฏิบัติ ต้องท�ำอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ท�ำตามล�ำดับขั้น การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นขั้นเป็นตอน สามารถท�ำตามได้ง่าย ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติแปลงปรัชญาสู่การปฏิบัติเป็น ทฤษฎี บันได 9 ขั้นสู่ความพอเพียง
4.
นวัตกรรมใหม่ที่เกิดจากการลงมือปฏิบัติ เมื่อน�ำปรัชญาลงสู่การปฏิบัติด้วยตนเองแล้วจะค้นพบสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น กั บ ตนเอง เป็ น การค้ น พบ “นวั ต กรรม” ที่ แ ตกต่ า งกั น ออกไปตามภู มิ สั ง คมเป็ น รู ป ธรรม เช่ น การฟื ้ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่อมโทรมในที่สูง ที่ราบ ที่ลุ่ม ที่ดอน ที่ป่าพรุ ฯลฯ และการน�ำเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ ในคนกลุม่ ต่างๆ ทัง้ คนเมือง คนชนบท เกษตรกร คนรุน่ ใหม่ นักคิด นักบริหาร นักการตลาด นักการเมือง ล้วนแล้วแต่ แตกต่างและจะสร้าง “นวัตกรรม” ที่มีความเฉพาะในตนเอง ขึ้นตามค�ำว่า “ภูมิสังคม” ที่พระองค์ท่านพระราชทานไว้ให้
5.
วิธีการบริหารภายใต้ปรัชญาใหม่ พระองค์ท่านทรงใช้ค�ำว่า การบริหารบนความขาดแคลน หรือ ‘แบบคนจน’ การบริหารแบบคนจนนี้เป็นสิ่งส�ำคัญ สังคมไทยมักมองว่าการท�ำตัวให้เป็นคนจนนั้นด้อยค่า น่ารังเกียจ ควรท�ำตน ให้ดูมั่งมีเพื่อให้ผู้คนนับหน้าถือตา ทั้งที่แท้จริงแล้วเป็นมายา เป็นความลวงที่สร้างสังคมแห่งการหลอกลวงขึ้นมา พร้อมทั้งการใช้ทรัพยากรของโลกอย่างมากมายเพื่อตอบสนองการสร้างภาพลักษณ์และความร�่ำรวย ดังนั้นการจะ เดินสวนกระแสหลากของสังคมต้องท�ำบนเส้นทางความขาดแคลนเพื่อเปิดโอกาสให้คนท�ำตามได้จ�ำนวนมากและ ไม่กลายเป็นการเร่งการท�ำลายล้างทรัพยากรของลูกหลาน
“ที่จริงแล้วคนจนนั่นแหละ ‘รวย’ ถ้าท�ำตัวแบบคนจนจะรวยแต่ถ้าท�ำตัวแบบคนรวยจะจน เราเห็นกันมาแล้ว ตั้งแต่สมัยโบราณ ผ้าขี้ริ้วห่อทองนั่นแหละที่คนโบราณว่าไว้ แต่คนจนไม่ได้หมายถึงมีไม่พอ ไม่ได้หมายถึงไม่มีน�้ำใจ ไม่ได้หมายถึงไม่มีเลยไม่ให้คนอื่น ถ้าคุณได้สัมผัสคนในสังคมนี้จริงๆ คุณจะรู้ว่า คนไทยมีน�้ำใจและน่าแปลกที่ยิ่งจน ยิ่งมีน�้ำใจ ยิ่งจนยิ่งให้ทาน ส่วนยิ่งรวยนั้นเราก็เห็นกันอยู่” อาจารย์ยักษ์ย�้ำ 22
การออกแบบพื้นที่ เพื่อการจัดการน�้ำ
“ดินในประเทศไทย ยังไม่เคยเห็นที่ไหนเก็บน�้ำไม่ได้”
ค�ำพูดของ อาจารย์ยักษ์ วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร ที่เรามักได้ยินอยู่เสมอเกือบทุกพื้นที่ที่อาจารย์เดินทางไปช่วยดู และชี้แนะแนวทางการบริหารจัดการน�้ำในพื้นที่ให้มีความคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด “พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงค�ำนวณว่า ทั้งปีฤดูฝนประมาณ 5 เดือน และไม่ได้ตกทุกวัน ฝนจะตกประมาณ 65 วัน แปลว่าทั้งปี แดดจะออก 300 วัน เพราะฉะนั้น วันแดดออกจะเผาน�้ำระเหย วันละ 1 เซนติเมตร 300 วัน เท่ากับ 3 เมตร ถ้าขุดบ่อลึก 3 เมตร แดดเผาอย่างเดียวน�ำ้ ก็หมดแล้ว บอกคนขุดบ่อ 2 เมตร บอกน�ำ้ ไม่พอ จะพออย่างไร แดดเผา อย่างเดียวก็หมดแล้ว ขนาดบ่อน�ำ้ หรือการออกแบบพืน้ ทีข่ องแต่ละทีจ่ งึ ไม่เหมือนกัน เพราะภูมศิ าสตร์แต่ละทีไ่ ม่เหมือนกัน ความรูต้ อ้ ง ปรับใช้ให้เหมาะกับภูมศิ าสตร์ สังคมไม่เหมือนกันวิธปี ฏิบตั กิ ต็ า่ งกัน ไม่ใช่ทฤษฎีเดียวใช้ได้กบั ทุกที่ มันต้องปรับให้เหมาะกับ ภูมิศาสตร์ สังคมศาสตร์ วัฒนธรรม แม้แต่เทคโนโลยีก็ต้องปรับใช้ให้เหมาะสมกับสังคม ภูมิศาสตร์ พระเจ้าอยู่หัวทรง เรียกว่า ตามหลัก “ภูมิสังคม” ภูมิคือกายภาพ ดิน น�้ำ ลม ไฟ สังคมคือวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ความเชื่อ ซึ่งก็คือคน”
การออกแบบพื้นที่เพื่อการจัดการน�้ำตามหลักภูมิสังคม เป็นการออกแบบที่ประยุกต์ใช้จากทฤษฎีใหม่ส�ำหรับ เกษตรกรที่มีที่ดินจ�ำนวนน้อย โดยมีหลักการ คือ 1. การบริหารและจัดแบ่งที่ดินออกเป็นสัดส่วนที่ชัดเจน เพื่อประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร 2. มีการค�ำนวณ ปริมาณน�้ำฝนในพื้นที่ และปริมาณการใช้น�้ำของครัวเรือนทั้งการอุปโภค บริโภคให้เพียงพอ 3. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบส�ำหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีขั้นตอนทั้งสิ้น 3 ขั้นตอน 24
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น หลักการและแนวทางส�ำคัญ 1. เป็นการผลิตแบบพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับที่ประหยัดก่อน 2. ข้าวเป็นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรือนจะต้องบริโภค โดยหลักวิชาการเกี่ยวกับปริมาณน�้ำที่จะกักเก็บให้พอเพียง ต่อการเพาะปลูกได้ตลอดปีได้แก่ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สองและทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม 3. ต้องมีน�้ำเพื่อการเพาะปลูกส�ำรองไว้ใช้ในฤดูแล้งหรือระยะฝนทิ้งช่วงได้อย่างพอเพียง 4. การจัดแบ่งที่ดิน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยทรงให้ใช้อัตราส่วนคร่าวๆ ในพื้นที่ ทั้งนี้ชุมชนต้องมีความ สามัคคี ร่วมมือ ร่วมใจ ในการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ดังนัน้ ทุกครัวเรือนควรปลูกข้าวเพือ่ ให้มขี า้ วพอกินตลอดปี โดยไม่ตอ้ งซือ้ หาในราคาแพง ยึดหลักพึง่ ตนเองได้อย่าง มีอิสรภาพ จึงจ�ำเป็นต้องกันที่ดินส่วนหนึ่งไว้ขุดสระน�้ำ โดยมีหลักว่าต้องมีน�้ำเพียงพอที่จะท�ำการเพาะปลูกได้ตลอดปี สูตรการแบ่งพื้นที่ดิน (คร่าวๆ) 30 : 30 : 30 : 10 แบ่งเป็น 30 % แรก ขุดสระน�้ำ (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชน�้ำ เช่น ผักบุ้ง ผักกระเฉด ฯลฯ) 30 % ที่สอง ท�ำนา 30 % ที่สาม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยืนต้น ไม้ใช้สอย ไม้สร้างบ้าน พืชไร่ พืชผัก สมุนไพร ฯลฯ) 10 % สุดท้าย เป็นที่อยู่อาศัย และอื่น ๆ (กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชผักสวนครัว ฯลฯ) โดยอัตราส่วนดังกล่าวเป็นหลักการโดยประมาณ สามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ได้ตามความเหมาะสม โดยขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่ดิน ปริมาณน�้ำฝน และสภาพแวดล้อม
ทฤษฎีใหม่ขั้นตอนที่สอง ให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ร่วมแรงร่วมใจกัน ด�ำเนินการในด้าน 1. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) 2. การตลาด (ลานตากข้าว ยุง้ เครื่องสีข้าว การจ�ำหน่ายผลผลิต) 3. ความเป็นอยู่ (กะปิ น�้ำปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) 4. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) 5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) 6. สังคมและศาสนา 25
กิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น ส่วนราชการ องค์กรเอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนเป็นการท�ำงานบนค�ำว่า “สามัคคี”
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม กลุ่มเกษตรกรหรือสหกรณ์เมื่อสร้างพื้นฐานให้เข้มแข็งดีแล้ว ควรติดต่อประสานงานเพื่อจัดหาทุนหรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้าน เอกชน มาช่วยในการลงทุน และพัฒนาคุณภาพชีวิต ดังนั้นฝ่ายเกษตรกรและ ฝ่ายธนาคาร กับบริษัท จะได้รับประโยชน์ร่วมกันกล่าวคือ
เกษตรกรขายข้าวในราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) ธนาคารกับบริษัทซื้อข้าวบริโภคในราคาต�่ำ (ซื้อข้าวเปลือกตรงกับเกษตรกรและสีเอง) เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภค บริโภคในราคาต�่ำ (เป็นร้านสหกรณ์ ราคาขายส่ง) ธนาคารกับบริษัทสามารถกระจายบุคลากร (เพื่อไปด�ำเนินการในกิจกรรมต่างๆ)
โคกหนองนา โมเดล โคกหนองนา โมเดล คือ เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์ คือใช้หลักการของทฤษฎีใหม่มาออกแบบให้เหมาะสมตาม พืน้ ที่ เติมด้วยศิลปะเพือ่ ให้เกิดความสวยงามแล้วแปลงเป็นค�ำทีช่ าวบ้าน เข้าใจง่ายๆ คือ “โคก หนอง นา” โดยมีหลักการ ง่ายๆ คือ ออกแบบหนองให้มีความคดโค้ง และวางอยู่ในต�ำแหน่งที่เหมาะสม หนองสามารถมีได้มากกว่า 1 หนอง เพือ่ ให้นำ�้ กระจายไปเต็มพืน้ ทีใ่ ห้ขดุ “คลองไส้ไก่” ตามภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน คดเคีย้ วไปตามเพิม่ ความชุม่ ชืน้ ลดพลังงานใน การรดน�้ำต้นไม้ นอกจากนั้นยังสามารถท�ำ ฝายทดน�้ำ เพื่อเก็บน�้ำเข้าไว้ในพื้นที่ให้มากที่สุด โดยเฉพาะเมื่อพื้นที่โดยรอบ ไม่มีการกักเก็บน�้ำ น�้ำจะหลากลงมายังหนองน�้ำ และคลองไส้ไก่ ให้ท�ำฝายทดน�้ำเก็บไว้ใช้ยามหน้าแล้ง ดินที่ขุดท�ำหนองน�้ำนั้นให้น�ำมาท�ำโคก บนโคกปลูก “ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทางพระราชด�ำริ และเพื่อให้โคกที่ยกสูงมีน�้ำไหลเวียนตลอดเวลา ควรขุดคลองไส้ไก่ตามระดับชั้นความสูงและท�ำบ่อพักน�้ำไว้เป็นระยะๆ บางครั้งหากโคกมีความสูงมาก สามารถขุดหนองน�้ำเล็กๆ ไว้บนโคกและต่อปั๊มน�้ำด้วยระบบโซลาร์เซลล์เพื่อน�ำน�้ำจาก หนองขึ้นไปไว้บนโคกแล้วปล่อยไหลเวียนตลอดเวลา โคกที่มีน�้ำชุ่มชื้นจะเร่งความเจริญเติบโตของต้นไม้ที่ปลูก ผนวกกับ การใช้ฟางหรือใบไม้แห้งห่มดิน ต้นไม้จะเติบโตอย่างรวดเร็ว ในระยะแรกควรน�ำร่องด้วยกล้วยเพราะล�ำต้นกล้วยเก็บน�้ำ ได้ดีและใบที่กว้างจะช่วยบังแสงแดดให้กับต้นกล้าที่ก�ำลังเติบโต
26
พื้นที่นานั้นให้ยกคันนาสูงอย่างน้อย 1 เมตร และกว้างอย่างน้อย 2 เมตร เพื่อใช้เป็นพื้นที่ปลูกพืช ผัก สวน ครัว กล้วย หรือปลูกไม้ผลได้ ที่ส�ำคัญ “คันนาคือเขื่อนของชาวนา” คันนาที่สูงและกว้างจะใช้เป็นที่กักเก็บน�้ำไว้ให้กับชาวนา ในช่วงฤดูปลูกข้าวจะมีปลา กุ้งฝอย และสัตว์น�้ำต่างๆ มาอาศัยอยู่หากปลูกข้าวอินทรีย์พื้นบ้าน ไม่ใช้ยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลง กลายเป็นอาหารอย่างดีส�ำหรับเกษตรกร คันนาที่สูงและกว้างเราเรียกว่า “หัวคันนาทองค�ำ” สร้างความมั่งคั่งและสร้าง รายได้มากกว่าข้าวในนา การออกแบบพื้นที่ “โคกหนองนา โมเดล” สามารถออกแบบได้ด้วยตนเอง โดยควรท�ำความรู้จักพื้นที่ของตนเอง ทั้งดิน น�้ำ อากาศ แสงแดด โดยเฉพาะทิศทางน�้ำ ทิศทางลม ทิศทางแดด จากนั้นออกแบบพื้นที่รับน�้ำโดยเป้าหมายคือ ต้องเก็บ “น�้ำฝนที่ตกลงในพื้นที่ไว้ให้ได้ทั้ง 100%” เพราะโคกหนองนา โมเดล ประยุกต์มาจากเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มุ่งใช้ น�้ำจากฟ้าให้มากที่สุด ไม่ปล่อยหลากไปท่วมเพื่อนบ้านและเพื่อให้มีน�้ำใช้ในยามฝนทิ้งช่วง
27
การออกแบบพื้นที่ด้วยตัวเอง
การออกแบบพื้นที่ด้วยตัวเอง สามารถท�ำได้ โดยเริ่มจากการตอบค�ำถามต่อไปนี้
1. พื้นที่ของคุณมีขนาดเท่าไหร่ 1 ตารางวา มีคา่ เท่ากับ พืน้ ทีข่ องสีเ่ หลีย่ ม จัตุรัสที่มีด้านยาว 1 วา (2 เมตร) หรือ 4 ตาราง เมตร ในทางกลับกัน
1 งาน = 1 ไร่ = 1 ไร่ =
100 ตารางวา 400 ตารางวา 1,600 ตารางเมตร (40 X 40 เมตร)
2. ปริมาณน�้ำฝนในพื้นที่ของคุณโดยเฉลี่ยต่อปี (มม.) ค�ำนวณปริมาณน�้ำฝนที่ตกในพื้นที่ พื้นที่ 3 ไร่ อยู่ในเขตฝนตก 1,400 มม./ปี ปริมาตรน�้ำฝนที่ตกในพื้นที่ พื้นที่ 1 ไร่ = 40 X 40 ม. = 1,600 ตร.ม. ฝนตก 1,400 มม. = ความสูง 1.4 เมตรจากพื้นดิน เมื่อตกในพื้นที่ 1 ไร่ = 1,600 X 1.4 ม เป็นปริมาตรน�้ำฝนที่ตกในพื้นที่ 1 ไร่ 2,240 ลบ.ม. (ม3) มีพื้นที่ 3 ไร่ = 6,720 ลบ.ม. 28
ค�ำนวณพื้นที่กักเก็บน�้ำ กรณีท�ำการเกษตร พื้นที่นา 1 ไร่ ปลูกข้าวส�ำหรับกินในครัวเรือน ยกคันนาสูง 1 เมตร เก็บน�้ำไว้ได้ 1,600 ลบ.ม. หนองพื้นที่ 1 ไร่ ขุดลึก 6 เมตรเก็บน�้ำไว้ได้ 9,600 ลบ.ม. น�้ำระเหย 3 เมตร เหลือน�้ำ 3 เมตร = โคก น�ำดินที่ขุดลึก 6 เมตร ไปถม สูงได้ครึ่งหนึ่งคือ 3 เมตร ในพื้นที่กว้าง 2 งาน ฝนตกบนโคก 1,120 ลบ.ม. เก็บน�้ำใต้ดินเฉลี่ย 50% ของฝนที่ตก = 560 ลบ.ม. (น�้ำใต้ดินแตกต่างตามลักษณะดิน) (รวมปริมาตรน�้ำฝนที่กักเก็บไว้ได้ในพื้นที่ = 6,960 ลบ.ม.) =104% พื้นที่ 2 งาน (200 ตารางวา เป็นบ้านเรือนและเลี้ยงสัตว์ ทางเดิน)
29
สรุปพืน้ ทีต่ วั อย่าง ขนาด 3 ไร่ แบ่งเป็น 1. ที่นาพื้นที่ 1 ไร่ ยกหัวคันนาสูง 1 เมตร 2. ขุดหนองขนาด 1 ไร่ ลึก 6 เมตร 3. โคกความสูง 3 เมตร บนพื้นที่ ครึ่งไร่ 4. พื้นที่ส่วนที่เหลือครึ่งไร่ ท�ำเป็น ทางเดิน โรงเรือน ฯลฯ
หลักการออกแบบพื้นที่ ดูตัวแปร 5 ตัว คือ ดิน น�้ำ ลม ไฟ คน 1) ทิศ (ไฟและแสง) : ค้นหาทิศเหนือ ใต้ ออก ตก และทิศทางการขึน้ ของดวงอาทิตย์ทแี่ น่นอน ของพื้นที่นั้นๆ ควรอยู่ในพื้นที่เพื่อดูการขึ้นของ ดวงอาทิตย์จะขึน้ ไม่เหมือนกัน เช่นบางช่วงเป็น ช่วงตะวันอ้อมข้าวแล้วไปส�ำรวจอาจได้ขอ้ มูลไม่ 2) ลม : ลมฝนนั้ น จะเข้ า ทางทิ ศ ตะวั น ตก เฉียงใต้ ลมหนาวหรือลมข้าวเบาเข้าทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือ ลมที่พัดโดยเฉลี่ยทั่วๆ ไป วางอาคารบ้านเรือน หรือลานตากข้าว ลานนวด ข้าวไม่ให้ไปขวางทิศทางลมหนาว เมือ่ สร้างบ้าน ต้องก�ำหนดทิศทางของช่องลม ในแต่ละฤดูกาล ก็ต้องก�ำหนดจัดวางทิศทางช่องลมของบ้านให้ เหมาะสม 3) ดิน : ลักษณะของดิน ความอุ้มน�้ำของดิน ดินทราย ดินเหนียว เพื่อวางแผนการขุดหนอง น�้ำให้เหมาะสม 4) น�้ำ : ขุดหนองน�้ำ โดยดูทางไหลของน�้ำเข้า และออกจากพื้นที่ วางต�ำแหน่งหนองน�้ำในทิศ ที่ให้ลมร้อนพัดผ่านก็จะท�ำให้บ้านมีความเย็น ยิ่งขึ้น 5) โคก : อยู่ทางทิศตะวันตก เมื่อปลูกต้นไม้ สูงๆ ไว้บนโคกหรือเนินก็จะสามารถบดบังแสง อาทิตย์ยามบ่ายซึ่งร้อนจัดไม่ให้เข้ามาแผ่ความ ร้อนในบ้านได้ คน : ความต้องการของคนที่เป็น เจ้าของ ต้องการการออกแบบพื้นที่แบบไหน
ขอบคุณภาพประกอบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง ศูนย์บูรณาการเทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาประเทศ (ITOK) มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ 30
หลักกสิกรรม ธรรมชาติ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระราชทานแนวพระราชด�ำริในการดูแล และรักษาดินไว้หลากหลายแนวทาง แนวทางที่ง่ายและสามารถท�ำได้คอื “การห่มดิน” เพือ่ ให้ดินมีความชุ่มชืน้ จุลนิ ทรีย์ ท�ำงานได้ดี “...การปรับปรุงทีด่ นิ นัน้ ต้องอนุรกั ษ์ผวิ ดินซึง่ มีความสมบูรณ์ไว้ ไม่ให้ไถหรือลอกหน้าดินทิง้ ไปสงวนไม้ยนื ต้น ที่ยังเหลืออยู่ เพื่อที่จะรักษาความชุ่มชื้นของผืนดิน...”
พระราชด�ำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เกี่ยวกับการอนุรักษ์ดิน
หัวใจของหลักกสิกรรมธรรมชาติจึงเป็นเรื่องของดิน โดยแปลงเป็นคาถาให้จ�ำขึ้นใจว่า “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช” เป็นการเพาะปลูกโดยไม่เผา ไม่ท�ำลายหน้าดิน ไม่ปอกเปลือกเปลือยดิน แต่น�ำเศษไม้ ใบหญ้า เศษฟาง มาห่มดินไว้และ รดด้วยปุย๋ น�ำ้ หมัก “แห้งชาม น�ำ้ ชาม” แล้วปล่อยให้จลุ นิ ทรียท์ ำ� หน้าที่ เป็นแนวทางในการฟืน้ ฟูและบ�ำรุงดิน เปลีย่ นจากดิน ที่ตายแล้วคือดินที่ไม่มีสิ่งมีชีวิตหลงเหลืออยู่ อันเกิดจากการปอกเปลือกเปลือยดิน การใช้ยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลง การที่ไม่มี ต้นไม้ปกคลุมท�ำให้สิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ ในดินไม่สามารถอาศัยอยู่ได้ ดินไม่มีจุลินทรีย์ ไม่มีไส้เดือน ไม่มีแมลงเล็ก ๆ จึงเรียก ว่าดินตาย อันเป็นที่มาของค�ำ “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” ที่เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติใช้เป็นหลักยึดในการท�ำการกสิกรรม กระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อเราห่มดินด้วยฟาง คือไอน�้ำที่ระเหยจากดินในเวลากลางคืนจะขึ้นมาติดอยู่กับเศษซาก ใบไม้และฟางทีห่ ม่ ไว้กลายเป็นน�ำ้ เป็นความชืน้ ทีเ่ พียงพอส�ำหรับพืชได้อยูร่ อด และความร้อนทีเ่ กิดจากฟางจะท�ำให้หญ้า ไม่สามารถขึ้นได้ เมล็ดหญ้าที่ติดมาก็ไม่สามารถงอกได้เป็นการคุมหญ้าไปในตัว นอกจากนั้นเมื่อฟางเริ่มย่อยสลายจะมี อุณหภูมิที่พอเหมาะกับเชื้อราต่าง ๆ บวกกับการราดรดด้วยน�้ำหมักจุลินทรีย์จะท�ำให้จุลินทรีย์บูมท�ำหน้าที่ย่อยสลาย ฟางหรือใบไม้แห้งที่คลุมดินไว้ให้กลายเป็นปุ๋ยของพืช แต่ที่ส�ำคัญต้องเป็นพืชที่เลี้ยงแบบธรรมชาติ ปลูกแบบธรรมชาติ ไม่ปรนเปรอด้วยน�้ำ ด้วยปุ๋ยจนอ่อนแอ หากินเองไม่เป็น รากพืชที่เพาะปลูกแบบธรรมชาติ จะยาวและแข็งแรง เพราะ ต้องหาอาหารกินเองตามคุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
32
ต้นไม้กค็ อื “สิง่ มีชวี ติ ” จึงต้องการเอาชีวติ ตัวเองให้รอด พืชทีเ่ ลีย้ งดูแบบธรรมชาติจงึ แกร่งพอทีจ่ ะรอดจากอากาศ ที่แห้งแล้ง แปรปรวน เกษตรกรเพียงช่วยปรับสภาพแวดล้อมที่มนุษย์ท�ำลายลงไปให้หมดความสมดุล โดยคืนจุลินทรีย์ดี ให้กลับสู่พื้นดิน ซึ่งจุลินทรีย์นั้นก็อยู่ในน�้ำหมัก ปุ๋ยหมักที่เราหมักจากเศษใบไม้ และเติมหัวเชื้อจุลินทรีย์ลงไป หรือเก็บ จุลินทรีย์ตามธรรมชาติมาเลี้ยงให้เพิ่มจ�ำนวน แล้วจุลินทรีย์ก็จะไปท�ำหน้าที่ย่อยฟาง ย่อยใบไม้ ซึ่งเป็นปุ๋ยชั้นดีของพืช ปุ๋ยจึงมาจากเศษซากพืช ซากสัตว์ ขี้วัว ขี้ควายต่างๆ ที่เราใส่เข้าไป จากนั้นจุลินทรีย์ปลายรากของต้นไม้แต่ละชนิด จะได้มาย่อยเอาไปเป็นอาหารตามความชอบ ความถนัดของพืชแต่ละต้นในแต่ละช่วงเวลา จะเติมฮอร์โมนให้เขาในเวลา ที่พืชตั้งท้องก็ได้ ก็เหมือนเราบ�ำรุงครรภ์ก็ต้องเพิ่มอาหารดีๆ นั้นคือหลักการท�ำกสิกรรมธรรมชาติง่ายๆ แต่ต้องรู้จัก ธรรมชาติ และให้อาหารพืชที่เป็นธรรมชาติ หลักกสิกรรมธรรมชาติจึงปฏิเสธปุ๋ยเคมี และยาฆ่าแมลงทุกชนิด เพราะจะไปฆ่าแมลงดีๆ ที่มากินแมลงตัวร้าย ตายไปด้วย และปฏิเสธเคมีที่มาในรูปของกากขยะน�้ำมัน N P K ทุกชนิด เพราะเราไม่จ�ำเป็นต้องซื้อ เราสร้างอาหารพืช ได้ด้วยตัวเอง ประหยัด พึ่งตนเองได้ ถ้าเราเริ่มปลูกจากการเผา ท�ำลาย เราก็จะสลายอาหารพืช ที่ดีที่สุดไปด้วยไฟ ถ้าเราเริ่มปลูกจากการฆ่า เราก็เริ่มต้นวงจร “ระบบนิเวศ อาหาร” ด้วยการท�ำลาย ถ้าเราเริม่ ปลูกจากการ “ให้” ให้จากใจเราเอง ให้กบั ธรรมชาติ ให้กับโลก เราก็จะอยู่ในโลกนี้ได้ ถ้าทุกคนเริม่ จากตนเอง เราก็จะมีกลั ยาณมิตร เป็นเครือข่ายที่ มีคุณธรรม เป็นเพื่อน เป็นมิตรกัน ดูแลกันไปตลอดชีวิต วงจร แห่งความเจริญจึงเริ่มต้นได้จากจุดเล็กๆ ในใจของแต่ละคนที่ มองเห็นความเชื่อมโยงของทุกสรรพสิ่งบนโลกนี้ และเมตตา ต่อกัน ต่อๆ กันไป จากหลักกสิกรรมธรรมชาติเล็กๆ “เลี้ยงดิน ให้ดินเลี้ยงพืช” จึงสามารถสร้างแหล่งอาหารเลี้ยงดูผู้คน และสร้าง แหล่งพักพิงด้วยใจของคนที่เต็มไปด้วยเมตตาและการให้ เป็นแหล่งพักใจท่ามกลางความแล้ง ร้อน โลภ ของสังคม มุ่งแข่งขันอย่างทุกวันนี้
33
ภาพเปรียบเทียบการฟื้นฟูดินเลวชายทะเลด้วยหลักการกสิกรรมธรรมชาติ 34
น�้ำหมักสมุนไพรรสจืด กับการปรับปรุงดิน
มูลนิธกิ สิกรรมธรรมชาติ ให้ความหมายของค�ำว่า “ปุย๋ ” แตกต่างจากความหมายของปุย๋ ทีค่ นทัว่ ไปส่วนใหญ่เข้าใจ ว่า ปุ๋ยคืออาหารของพืชที่หมายถึง ไนโตรเจน โปแตสเซียม และฟอสฟอรัส ซึ่งปัจจุบันผลิตจากกากของการผลิตน�้ำมัน ปุ๋ยที่แท้จริงหมายถึงอาหารของพืชที่มาจากฮิวมัสซึ่งเกิดจากการสะสมของซากพืช ซากสัตว์ตามธรรมชาติ ดังนั้นอาหารของพืชจึงมาจากธาตุอาหารในดินแท้ๆ และเนื่องจากภูมิศาสตร์ของประเทศไทยโดยเฉพาะบริเวณ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น�้ำเจ้าพระยาเป็นพื้นที่น�้ำหลากจากเทือกเขาสูงทางภาคเหนือจากต้นน�้ำปิง วัง ยม น่าน เจ้าพระยา ป่าสัก ที่เป็นป่าไม้อุดมสมบูรณ์ น�้ำที่หลากลงมาจึงพัดพาเอาฮิวมัสมาสะสมไว้ทุกปี เพิ่มความสมบูรณ์ให้กับ หน้าดิน จึงเป็นสาเหตุให้ผืนดินแถบนี้มีค่าดั่งทอง ปัจจุบันความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจากวิถีการเกษตรที่เปลี่ยนแปลงไป ป่าต้นน�้ำกลายเป็นเขาหัวโล้น หน้าดินถูก ชะล้างพังทลายมาสะสมเป็นตะกอนตื้นเขิน เกษตรกรผู้เพาะปลูกจึงยิ่งต้องเติมปุ๋ย ยา เคมีต่างๆ ลงไปหวังเร่งผลผลิต แต่เมือ่ ไม่มจี ลุ นิ ทรียใ์ นดินเพราะปอกเปลือกเปลือยดินจนดินตายหมด รากต้นไม้กไ็ ม่มผี ชู้ ว่ ยย่อยธาตุอาหารในดินให้กลาย เป็นอาหารพืช พืชจึงไม่สามารถเจริญเติบโตได้เหตุเพราะไม่ “ห่มดิน” นั่นเอง การปอกเปลือกเปลือยดิน การใช้สารเคมี การชะล้างหน้าดินล้วนเป็นสาเหตุให้ความอุดมสมบูรณ์ของดินหมดไป และท�ำให้เกษตรกรยิ่งจนมากขึ้นไปอีก ในขณะที่คนกินก็ได้รับสารเคมีสะสมเป็นจ�ำนวนมาก คนปลายน�้ำก็ได้รับสารพิษ ยาฆ่าหญ้า ฆ่าแมลงที่มากับน�้ำแทนที่จะเป็นฮิวมัสเหมือนในอดีต ชาวกสิกรรมธรรมชาติจึงยึดหลักการของอาจารย์ยักษ์อย่างเหนียวแน่นคือ ต้องปรับปรุงบ�ำรุงดินก่อนอย่าง น้อย 1 เดือนก่อนเพาะปลูก เรียกว่าการหมักดองดิน โดยอาศัยเพียง “น�้ำหมักสมุนไพรรสจืด” ที่ท�ำขึ้นเองจากพืชรสจืด ที่หาได้ เช่น กล้วย ผักบุ้ง น�ำมาหมักตามสูตรผสมน�้ำราดรดหรือไถกลบไปในนาแล้วหมักดองไว้จนจุลินทรีย์ท�ำงานเต็มที่ ดินก็จะถูกชะล้างน�ำสารพิษออกไปพร้อมที่จะเพาะปลูกได้
36
การท�ำปุ๋ยแห้งและปุ๋ยน�้ำ (แห้งชาม น�้ำชาม) สูตรการท�ำปุ๋ยแห้ง (แห้งชาม)
สูตรการท�ำน�้ำหมักรสจืด (น�้ำชาม)
วัสดุและอุปกรณ์
วัสดุและอุปกรณ์
1. เศษวัสดุที่เหลือใช้จากการท�ำเกษตร เช่น เศษใบไม้, เศษหญ้าแห้ง 2. มูลสัตว์ 3. แกลบดิบ 4. แกลบเผา 5. ร�ำหยาบหรือละอองข้าว 6. ปุ๋ยน�้ำจุลินทรีย์
1. วัตถุดบิ (พืช สมุนไพรรสจืด เช่น กล้วย ผักบุง้ ) 3 กิโลกรัม 2. หัวเชื้อจุลินทรีย์ 1 ลิตร 3. น�้ำตาลอ้อย น�้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม (ความหวานจะมากกว่ากากน�้ำตาล) 4. น�้ำสะอาด 10 ลิตร 5. ถังขนาด 20 ลิตร แบบฝาปิดล็อค 1 ถัง
ขั้นตอนและวิธีท�ำ
ขั้นตอนและวิธีท�ำ
1. น�ำวัตถุดบิ ทีเ่ ตรียมมาในข้อ 1-5 ผสมคลุกเคล้า ให้เข้ากันในอัตราส่วน 1 : 1 2. น�ำปุ๋ยน�้ำจุลินทรีย์มาผสมกับน�ำสะอาด ในอัตราส่วน 1 : 100 3. น�ำส่วนผสมในข้อที่ 1 และ 2 ผสมให้เข้ากัน 4. ตรวจเช็คความชื้นด้วยการหยิบขึ้นมาก�ำบีบ ให้แน่น เมื่อแบมือแล้วไม่แตกและไม่มีน�้ำไหล ออกมาจากง่ามนิ้วมือถือว่าใช้ได้ 5. ตักใส่กระสอบโดยไม่ต้องกระแทกให้แน่น หมักทิ้งไว้ 7-15 วันจึงน�ำไปกองบนฟางที่ห่มไว้ โคนต้น
1. สับพืชที่ใช้ (เช่นกล้วยหรือผักบุ้ง) ให้ได้ขนาด เล็กๆ (ย่อยสลายไว) ชัง่ ให้ได้ 3 ส่วนแล้วน�ำมา ใส่ถงั ทีเ่ ตรียมไว้ (ควรน�ำถังไว้ในต�ำแหน่งทีร่ ม่ ) 2. น�ำน�้ำตาลอ้อย หรือน�้ำตาลทรายแดง 1 ส่วน มาละลายกับน�้ำสะอาดที่เตรียมไว้ 10 ส่วน 3. เติมหัวเชื้อจุลินทรีย์ 1 ส่วน 4. น�ำน�้ำที่ผสมหัวเชื้อและน�้ำตาลอ้อย หรือ น�้ำตาลทรายแดงไว้แล้วเทใส่ ปิดฝาให้แน่น 5. เขียนวัน/เดือน/ปี พร้อมทัง้ ชือ่ วัตถุดบิ ทีน่ ำ� มา หมัก หมักทิ้งไว้ 90 วันจึงพร้อมใช้งาน 6. เมื่อต้องการใช้งานน�ำมาผสมในอัตราส่วน ที่เจือจาง 1:200 ราดทุกสัปดาห์
ข้อควรระวังคือ ไม่ควรใช้ในอัตราที่เข้มข้นเกินไป เพราะอาจท�ำให้ต้นไม้ตายได้ 37
38
ข้ต้นาทุวนคนไทย
“ข้าวเป็น ‘อารยธรรม’ ไม่ใช่สินค้า คนไทยเรานับถือและกตัญญูต่อข้าว ต่อดิน เราจึงเรียกข้าวว่าแม่โพสพและ เรียกดินว่าแม่พระธรณี ความเชือ่ นีส้ มั พันธ์กบั วิถชี วี ติ ของคนไทยมาช้านาน จนเกิดเป็นประเพณีมากมายเพือ่ การบูชาคุณ พระแม่ธรณีและพระแม่โพสพ “.. ข้าวต้องปลูก เพราะอีก 20 ปีประชากรอาจจะ 80 ล้านคน ข้าวจะไม่พอ ถ้าลดการปลูกข้าวไปเรื่อยๆ ข้าวจะไม่พอ เราจะต้องซือ้ ข้าวจากต่างประเทศ เรือ่ งอะไร ประชาชนคนไทยไม่ยอม คนไทยนีต้ อ้ งมีขา้ ว แม้ขา้ ว ที่ปลูกในเมืองไทยจะสู้ข้าวที่ปลูกในต่างประเทศไม่ได้ เราก็ต้องปลูก..” พระราชด�ำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เมื่อครั้งเสด็จฯ พระราชด�ำเนินทอดพระเนตร โครงการโคกภูแล จังหวัดนราธิวาส พ.ศ. 2536 ข้าวพันธุ์ท้องถิ่นของไทยมีมากกว่า 17,000 สายพันธุ์ แต่ปัจจุบันคนนิยมกินข้าวเพียงไม่กี่สายพันธุ์ โครงการทุน พอเพียง โดยน�ำ้ มันร�ำข้าวคิง จึงเน้นให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุข์ า้ วท้องถิน่ อย่างน้อย 3 สายพันธุแ์ ละเน้นให้ความรู้ ด้านการคัดเลือกพันธุ์ข้าวเพื่อให้ได้ข้าวพันธุ์ดีที่เกิดจากการคัดเลือกของเกษตรกรเอง และเพื่ออนุรักษ์พันธุ์ข้าวท้องถิ่น ที่นับวันแต่จะหายไป องค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์พันธุ์ข้าว ได้มาจากอาสาสมัครของมูลนิธิข้าวขวัญ คุณกนกพร ดิษฐกระจันทร์ ที่ได้ ให้เกียรติมาสอนผู้เข้าร่วมโครงการ
40
การคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าว 1. เลือกจากเมล็ดข้าวกล้องที่กะเทาะเปลือกออกแล้วโดยการคัดแยกทีละเมล็ด 2. การกะเทาะเปลือกข้าวท�ำได้หลายวิธี เช่น การแกะด้วยมือ โดยแกะทางด้านหางของเมล็ดเพื่อไม่ให้จมูกข้าว หลุด เพราะจมูกข้าวเป็นบริเวณทีร่ ากของข้าวจะงอกออกมา การกะเทาะด้วยเครือ่ งสีขา้ วกล้องสามารถท�ำได้ แต่ตอ้ งปรับ ระดับการขัดสีเพื่อให้จมูกข้าวไม่หลุด 3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการคัดข้าว ได้แก่ ปากคีบ แว่นขยาย ถุงซิป ปากกาเคมี และที่ส�ำคัญต้องมีแสงสว่างเพียงพอ 4. ลักษณะของข้าวที่เหมาะสมน�ำไปท�ำพันธุ์ สี : ข้าวเจ้าจะมีสีขาวใส มันวาว ข้าวเหนียวมีสีขาวขุ่น ยกเว้น ข้าวที่มีสีเฉพาะเช่น ข้าวหอมมะลิแดง ข้าวเหนียวด�ำ รูปทรง : รูปร่างเมล็ดเรียวยาว เต็มเมล็ด หัวและท้ายเมล็ดเท่ากัน ท้องข้าว : ท้องไม่เป็นลาย เป็นจุดท้องไข่ จมูก : จมูกสมบูรณ์ ไม่หลุดหรือหัก
การเพาะกล้าข้าว
เตรียมวัสดุเพาะ ประกอบด้วย ทรายหยาบ จานรอง กระดาษหนังสือพิมพ์ บัวรดน�้ำ รองกระดาษให้พอดีกับก้นกระถาง ใส่ทรายหยาบ ¾ ส่วนของพื้นที่ โรยเมล็ดข้าวที่คัดเลือกแล้วลงไป กลบด้วยทรายหยาบ 0.5 เซนติเมตร วางกระถางบนจางรองหล่อน�้ำกันมด แมลง และเพื่อรักษาความชื้น น�ำกระถางวางในที่แดดส่องถึง ประมาณ 3-5 วันรากกข้าวจะงอก เขียนชื่อพันธุ์ วัน เดือน ปี ระบุไว้ ที่กระถาง ย้ายข้าวกล้องลงปลูก หรือปักด�ำเมื่ออายุ 15 วัน
41
การคัดเลือกข้าวจากกอเพื่อท�ำพันธุ์ เลื อ กข้ า วที่ แ ตกกอดี ทรงกอสวยเจริ ญ เติ บ โตดี ทั้งกลุ่ม ออกรวงพร้อมกัน ได้รวงข้าวใหญ่ ระแง้ถี่เมล็ดเต็ม มีเมล็ดลีบน้อย เติบโตได้ดีโดยไม่มีแมลงรบกวนแสดงว่าข้าว สามารถเติบโตได้ดีในพื้นที่ที่ปลูก การเก็บเกี่ยวข้าวเพื่อท�ำพันธุ์ควรเลือกรวงที่อยู่ห่าง จากขอบแปลงข้างละ 1 เมตร เพื่อป้องกันการปนพันธุ์กับข้าว พันธุ์อื่น เก็บให้ได้ประมาณ 200 รวง เพื่อให้พอต่อการท�ำพันธุ์ น�ำรวงข้าวไปนวดหรือตากแดด ประมาณ 1-2 แดด ให้ความชื้นอยู่ที่ประมาณ 14% บรรจุเมล็ดพันธุ์ข้าวในถุงที่ระบายอากาศได้ดี เช่น กระสอบ หรือถุงผ้า เขียนชื่อพันธุ์ วันที่เก็บ และอายุการเก็บเกี่ยว
42
โครงการ
ทุนพอเพียง
ทุนพอเพียง ทุนแห่งการปฏิบัติเพื่อพัฒนาวิถีชีวิต 2. ต้องมีการท�ำอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปี หรือ ตามความตั้งใจคือ 9 ปี เพราะช่วงแรกจะเป็นการสร้างคน เหมือนการตอกเสาเข็มยังไม่เห็นผลความส�ำเร็จทันใจ ยังไม่ เห็นโครงสร้างอาคาร ถ้าท�ำแค่ปีสองปีแล้วเลิกก็จะบอกว่า ไม่เห็นผล
“ทุนไม่ได้แปลว่าเงินเท่านั้น ทุนแปลว่าทุกอย่าง ที่เกื้อหนุน ส�ำคัญที่สุดคือความรู้และประสบการณ์ เสริม ด้วยแรงงานและพลังความร่วมมือ สามัคคี หรือที่เราเรียก ว่า network คือพลังของเครือข่าย ส่วนเงินหรือเครื่องจักร หนุนเสริมนัน้ มาหลังสุด ถ้ามองค�ำว่า ‘ทุน’ แบบนีก้ จ็ ะเป็น ทุนที่พอเพียง” อาจารย์ยักษ์ ดร.วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร กล่าว
3. คนในองค์กรต้องเข้ามาร่วมเรียนรู้ด้วย เพราะ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้พระราชทานให้กับคนไทยทุก คน ความเปลี่ยนแปลงในองค์กรจะเกิดไปพร้อมกันกับการ ท�ำโครงการ ส่วนใหญ่แล้วเรียกร้องให้คนอืน่ เรียนแต่ตวั เอง ไม่เรียน ไม่เปลี่ยน ดังนั้น กติกาหนึ่งคือต้องมีใจเข้ามาร่วม กันจริง ๆ
เมือ่ มีหน่วยงานหรือองค์กร แสดงเจตนาและความ มุ่งมั่นที่จะสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาวิถีชีวิต ตาม “ศาสตร์พระราชา” ในแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงให้กับประชาชนที่มีศักยภาพหรือความตั้งใจจริงที่ จะด�ำเนินชีวิตตามรอยพ่อ
“เพราะสิง่ ทีจ่ ะท�ำให้งานของพระเจ้าแผ่นดินเราเผย ใช่ว่า..ทุกองค์กร จะได้รับการพิจารณาให้ท�ำงาน แพร่และขยายตัวอย่างต่อเนื่อง คือ ปฏิบัติที่ตน พนักงาน ร่วมกับมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ..เสมอไป ในองค์กรนั้นจึงต้องมาเรียนรู้มาท�ำงานร่วมกัน จะได้รู้ว่า “ที่นี่ไม่เคยขอใคร มีแต่อยากเอามาให้ อยากเอา พระเจ้าอยู่หัวท�ำงานหนักเหน็ดเหนื่อยขนาดไหน” มาให้ก็ต้องพิสูจน์ ไม่ใช่ว่าจะเอาเงินมาให้มาบริจาคอย่าง กลุ่มบริษัทน�้ำมันร�ำข้าวคิง เป็นองค์กรหนึ่งที่ผ่าน เดียว เรามีกติกาที่ต้องท�ำร่วมกัน ต้องพิสูจน์ให้เห็นว่าคุณ ตั้งใจจริง” อาจารย์ยักษ์ (ประธานมูลนิธิฯ ในขณะนั้น) ขั้นตอนของการพิสูจน์ความตั้งใจจริงที่จะสนับสนุน “ทุน” กล่าว และขยายความถึงกติกา 3 ข้อที่วางไว้ หากมีองค์กร เพื่อการพัฒนาต่อยอดให้กับประชาชนหรือเกษตรกรที่มี หนึง่ องค์กรใด ประสงค์จะให้ทนุ สนับสนุนการขยายความรู้ ความตัง้ ใจด�ำเนินชีวติ ด้วยศาสตร์พระราชา จึงเกิดโครงการ “ทุนพอพียง โดยกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง” ขึ้น โดยความร่วม สู่ประชาชน มือของสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ 1. ผู้บริหาร พนักงาน หรือทีมงานจะต้องมาเอา และกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง แรง เอาความรู้ โดยเข้ามาร่วมกิจกรรมด้วย ไม่ใช่ให้เงินมา อย่างเดียว ต้องมานัง่ เรียนให้รปู้ รัชญา รูว้ ธิ กี ารอย่างจริงจัง แล้วลงมือท�ำไปร่วมกัน
44
ทุนพอเพียง โดยกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง คุณปราโมทย์ สันติวฒ ั นา ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ น�ำ้ มัน ร�ำข้าวคิง กล่าวถึงที่มาของโครงการฯ ว่า
คุณปราโมทย์ สันติวัฒนา
“ในโอกาสครบรอบ 40 ปี ของการด�ำเนินธุรกิจ (พ.ศ.2520 - 2560) กลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง จึงท�ำ 4 โครงการ ให้ครอบคลุมทุกกลุ่ม ที่เกี่ยวข้องกับเรา ได้แก่ โครงการประกวดโครงร่างงานวิจัย ส�ำหรับ นักศึกษาปริญญาตรี-โท-เอก ในสาขาโภชนาการ สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอาหาร และสาขาคหกรรม โครงการให้ทนุ แก่เกษตรกร เพื่อสนับสนุนการเริ่มต้นหรือต่อยอดศาสตร์พระราชา โครงการมอบ น�ำ้ มันร�ำข้าวคิง 4,000 ลัง ให้แก่ 4 กลุม่ คือ สถานศึกษา สถานพยาบาล สถานสงเคราะห์ และต�ำรวจทหารตระเวนชายแดน และการจัดสัมมนา วิชาการกลุ่มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารและนักวิชาการด้าน โภชนาการ เป็นความตั้งใจของบริษัทในการจัดท�ำโครงการต่าง ๆ เพื่อต่อยอดสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่มคนที่หลากหลายในสังคม ส�ำหรับโครงการให้ทุนแก่เกษตรกรเพื่อเริ่มต้นหรือต่อยอด ศาสตร์พระราชานี้ ในตอนแรกคือเราอยากให้ทุนแก่ชาวนา เพราะ เราตระหนักในหัวใจว่าต้นทางของร�ำข้าวคือชาวนา และไม่ใช่ชาวนา ทุกคนจะมีความพร้อม เราจึงอยากให้ทุนกับชาวนา แต่ยังหาวิธีการ หรือกระบวนการไม่ได้ จนกระทั่งคุณบุษกร อ่อนประดิษฐ์ ได้มาเสนอ แนวทางโครงการใหม่ที่ผมก็เห็นว่าน่าประทับใจ และท�ำให้เราเข้าไปมี ส่วนร่วมสืบสานศาสตร์พระราชาได้อย่างเป็นรูปธรรม”
45
คุณบุษกร อ่อนประดิษฐ์ ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาดและสือ่ สาร องค์กร หนึ่งในผู้ผลักดันให้โครงการนี้ประสบความส�ำเร็จ กล่าวถึงแรง บันดาลใจในการท�ำโครงการฯ ว่า “ก่อนอืน่ ต้องขอย้อนเล่าถึงครัง้ แรกทีไ่ ด้ฟงั อาจารย์ยกั ษ์พดู ทาง ทีวีโดยบังเอิญ ท่านพูดว่า “...คนรักในหลวง เคารพ เทิดทูนในหลวง แต่มีกี่คนที่ท�ำตามในหลวง..” ก็รู้สึกกระทบหัวใจมาก เมื่อเรารัก เทิดทูนพระองค์ดังลูกรักพ่อ การกตัญญูต่อพ่ออย่างหนึ่ง คือ ท�ำอย่างที่ พ่อสอน พระองค์ท่านสอนให้เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ท�ำความดีเพื่อ ความดี โดยที่เราต้องเริ่มที่ตัวเองก่อน คุณบุษกร อ่อนประดิษฐ์
เรามีแรงบันดาลใจจากทีฟ่ งั อาจารย์ยกั ษ์พดู บวกกับมีความสนใจ ในศาสตร์พระราชา จึงมาเรียนปรึกษากับอาจารย์ยกั ษ์วา่ ทางกลุม่ น�ำ้ มัน ร�ำข้าวคิงมีความตั้งใจอยากให้ทุนกับเกษตรหรือผู้ท่ีมีความสนใจอยาก เริ่มต้นหรือต่อยอดการเดินตามศาสตร์พระราชา โดยครั้งแรกตั้งใจจะ ให้ทุนไว้กับทางอาจารย์ยักษ์ เพื่อให้ท่านน�ำไปให้ต่อ ด้วยความที่อาจารย์ยักษ์ท่านเป็นนักกลยุทธ์ ท่านจึงออกแบบ โครงการนี้ได้อย่างงดงาม ให้เกิดการมีส่วนร่วม ไม่ใช่แค่กับคนรับทุน แม้แต่ผู้ให้ทุนก็ต้องมีส่วนร่วม จึงเกิดเป็นโครงการ “ทุนพอเพียง โดยกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง” โครงการนี้ได้พื้นที่ 3 พื้นที่เป็นพื้นที่ท�ำงานร่วมกัน ซึ่งต้องบอก เลยว่าโครงการนี้เป็นครั้งแรกๆ เลยที่เราเข้าถึงพี่น้องเกษตรกรชาวนา ชาวไร่โดยตรง เราได้เจอ ได้เห็น ได้พูดคุย ได้ร่วมกิจกรรม ได้ลงแรง กินอยู่กับพวกเขา เป็นสิ่งที่ประทับใจมาก การที่ได้อ่าน ได้ยิน มันไม่ ส� ำ เหนี ย กเหมื อ นการได้ ม าอยู ่ กั บ หมู ่ เ หล่ า มั น เกิ ด ภาพนั้ น จริ ง ๆ มันเกิดงานที่ประจักษ์ต่อสายตา เกิดความเป็นพี่เป็นน้อง เกิดความ สามัคคี เหมือนที่ในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชทานค�ำสอนไว้ใน ส.ค.ส.พระราชทานปี 2547 และอาจารย์ยักษ์ก็พูดอยู่เสมอว่า สามัคคี เป็นพลังค�้ำจุนแผ่นดินไทย” 46
ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาดและสือ่ สารองค์กร ยังกล่าวถึงความศรัทธาและความเชือ่ มัน่ ต่อการน้อมน�ำศาสตร์พระราชามาเป็นแนวทางของการด�ำเนินชีวิตว่า “ส่วนตัวแล้วเราเชื่อว่าพลังบวกจะขยายไปโดยตัวมันเอง เพราะเมื่อเรามาอยู่ในวงนี้ แล้ว เรารู้สึกได้เลยว่า การที่เรามีความศรัทธาในศาสตร์พระราชา ศรัทธาในอาจารย์ยักษ์ เราเหมือนศิษย์มคี รู มีเพือ่ น มีพม่ี นี อ้ ง มันอบอุน่ มีกำ� ลังใจให้กนั และกัน มีตวั อย่างทีป่ ระสบความ ส�ำเร็จในเส้นทางนี้ ไม่ว่าจะเป็นที่ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้องหรือบ้านลูกศิษย์คนอื่น ๆ ที่ท�ำมาภายใน 5 ปี มันจะเห็นผลแบบพลิกหน้ามือเป็นหลังมือ ทุกปีมันจะมีการเปลี่ยนแปลง เรื่องทุนความรู้หรือทุนเงิน ยังสู้ทุนเครือข่ายไม่ได้ มันส�ำคัญยิ่งกว่าเงิน แต่ความรู้มัน ต้องมีอยู่ ทุนเครือข่ายเป็นขุมพลัง เพราะความรู้ก็อยู่ในเครือข่าย ก�ำลังแรงกายแรงใจอยู่ใน เครือข่ายหมด ท�ำคนเดียวมันจะไปได้ยาก ความรูอ้ าจจะบิดเบีย้ ว แต่เพราะเรามีครูบาอาจารย์ มันเหมือนมีแก่นแกน เราเชือ่ ว่าคนท�ำจริงจัง ถ้าไม่มปี จั จัยทีจ่ ะท�ำให้เกิดอะไรเปลีย่ นแปลงแบบพลิกผัน อย่าง ปัจจัยที่เราควบคุมไม่ได้ เช่น น�้ำท่วม หรือภัยพิบัติอื่น มันต้องได้ผล ที่เราเข้าไปร่วมก็ไม่เคยมี ความคิดว่าเป็นเจ้าของทุน แต่คิดว่าเป็นสมาชิกเครือข่ายด้วยคนหนึ่ง อะไรช่วยได้ก็ช่วยเท่าที่ แรงเรามี เสิร์ฟน�้ำได้ก็เสิร์ฟ ขุดอะไรได้นิดหน่อยเท่าที่แรงเรามีก็ขุดเท่าที่ท�ำได้ เหนื่อยก็พัก ทีแรกนึกว่าเราไปช่วยเขา พอเห็นเขาช่วยกัน เห็นเขาท�ำจริง มันยิ่งใหญ่มาก เราได้ เรียนรู้ไปด้วยกัน สิ่งที่เราได้นั้นได้เยอะกว่าที่คาดไว้ เพราะเมื่อมันเกิดการฟอร์มตัวกัน เกิดความผูกพันกัน แม้ยังไม่เห็นผล แต่เราว่านั่นคือส�ำเร็จแล้ว เราประสบความส�ำเร็จแล้ว ตั้งแต่อาจารย์ยักษ์รับโครงการนี้ก็เชื่อว่าจะไปได้ดีอยู่แล้ว แค่รอผลให้ประจักษ์แก่สายตาเรา”
และเมื่อถามถึงความรู้สึกส่วนตัวของคุณบุษกรต่อโครงการนี้ เธอบอกว่า
“หลังจากผ่านกระบวนมาจนเสร็จ รู้สึกดีใจและภูมิใจที่ได้มีโอกาสท�ำโครงการนี้ และปลื้มใจที่โครงการนี้ออกผลงดงาม ต้องขอบคุณจริงๆ ที่อาจารย์ยักษ์รับโครงการนี้ และ ขอบคุณผู้บริหารของเราด้วยที่อนุมัติให้จัดท�ำโครงการนี้ อนาคตโครงการนี้จะขยายผลไป เป็นการขยายผล “ศาสตร์พระราชา” จากการร่วมแรง ร่วมใจกันจริงๆ จนเห็นเป็นงานที่ ก้าวหน้า เป็นการพิสูจน์เจตนาของเราด้วยผลของการกระท�ำว่าเราต้องการท�ำเพื่อให้จริงๆ เกิดประโยชน์จริงๆ และโครงการนี้ก็จะไม่หยุดนิ่ง จะยังเดินหน้าต่อไป”
47
และอี ก หนึ่ ง เฟื อ งส� ำ คั ญ ของการขั บ เคลื่ อ นโครงการ “ทุ น พอเพียง โดยกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง” คือ คุณเอื้อมพร ลอยประดิษฐ์ ผู้ประสานงานโครงการของสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ได้กล่าวถึง โครงการนี้ว่า
คุณเอื้อมพร ลอยประดิษฐ์
“โครงการนี้เป็นอีกหนึ่งโครงการที่เราท�ำโดยมีความเข้าใจ แนวทางการท�ำงานภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างลึกซึ้งมาก ขึน้ เราจึงทดลองแนวทางใหม่ของการท�ำงานโดยการกระตุน้ ให้ผเู้ ข้ารับ การอบรม หรือผู้ที่ได้รับทุนความรู้รวมกลุ่มกันเพื่อบริหารงานโครงการ กันเอง คือเป็นการสร้างแกนน�ำการบริหารงานโครงการขึ้นมาพร้อม ๆ กับการท�ำงานโครงการ ซึง่ จะท�ำให้เราได้ทมี งานใหม่ทงั้ หมด เพราะตรงนี้ เป็นคอขวดในการขยายงานของสถาบัน เราจึงให้กลุม่ ผูส้ มัครเข้ารับการ อบรมทุนความรู้ ได้มีส่วนร่วมในการพิจารณาตัดสินผลการด�ำเนินงาน ว่า ใครควรจะได้รบั ทุนในการลงไปร่วมแรง ร่วมใจกันปรับปรุงพืน้ ทีเ่ พือ่ ท�ำตามแผนงานที่เสนอมาของแต่ละพื้นที่ก่อนหลัง ด้วยปัจจัยต่างๆ กัน กระบวนการร่วมกันคิด ร่วมกันตัดสินใจจึงเริม่ ขึน้ ตัง้ แต่เริม่ โครงการ ซึง่ ก็ เจอโจทย์ยากเพราะเขาต้องตัดสินใจระหว่าง พืน้ ทีซ่ งึ่ ขาดแคลน ล�ำบาก ต้องการการช่วยเหลือมาก กับพื้นที่ซึ่งพร้อมถ้าลงไปหนุนนิดเดียวก็จะ เกิด แต่เราก็ไม่ได้โดดเดี่ยวพวกเขา มีทีมของกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิงเป็นพี่ เลี้ยง และมีอาจารย์ยักษ์เป็นที่ปรึกษา จากการเริม่ ต้นทีจ่ ะตัดสินใจร่วมกัน พวกเขายังต้องเผชิญความ ท้าทายต่อไป คือการจัดกิจกรรมร่วมกันภายใต้ความขาดแคลน จะท�ำ อย่างไรให้เพือ่ นได้เดินทางไปร่วมเรียนรูใ้ นพืน้ ทีก่ จิ กรรมของเราด้วย จะ ประสานงานหน่วยงานต่างๆ ในพืน้ ทีอ่ ย่างไร การท�ำงานภาคปฏิบตั ทิ งั้ 3 พื้นที่จึงขัดเกลาพวกเขาให้เข้ามาร่วมกันเป็นทีม ที่ส�ำคัญ “ขัดใจ” พวก เขาให้ลดอัตตา ลดตัวตน และมองผลทีป่ ระโยชน์ตอ่ ส่วนรวมไปพร้อมๆ กับประโยชน์ตนเอง
48
โครงการ “ทุนพอเพียง โดยกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง” จึงไม่เป็นเพียงแค่โครงการรับมอบทุนเพื่อพัฒนาพื้นที่ แต่เป็นโครงการที่สร้าง “ทีมท�ำงาน” ขึ้นมาพร้อมกัน ผ่านไปหนึ่งปีพวกเขาเป็นทีมที่แข็งแกร่งอีกทีมหนึ่งที่ก�ำลัง เติบโตขึ้นมาอย่างช้าๆ สมกับค�ำว่า “เดินทีละก้าว กินข้าวทีละค�ำ ท�ำทีละอย่าง” และเป็นการสร้างโมเดลการ ท�ำงานใหม่ที่แก้ปัญหาคอขวดคนท�ำงานที่มีความเข้าใจไม่พอ เป็นการท�ำงานบนการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง หรือที่เรียกว่า Active Learning ไปพร้อมๆ กัน ผ่านไปหนึ่งปี เราจึงมีความมั่นใจว่าโครงการนี้ได้เพาะเมล็ดและ หยั่งรากความพอเพียงลงไปในใจพร้อมความหมายของ “ทุน” ที่มากกว่าแค่เงินแต่มันคือ มิตรภาพ และความ จริงใจ ที่มีให้แก่กัน” บุ ค คลส� ำ คั ญ ที่ สุ ด อี ก คนหนึ่ ง ของโครงการนี้ ดร.วิ วั ฒ น์ ศัลยก�ำธร ได้กล่าวสรุปปิดท้ายถึงความหมายและสิ่งส�ำคัญที่สุด ของโครงการ “ทุนพอเพียง” ว่า
ดร.วิวัฒน์ ศัลยก�ำธร
“สุดท้ายอยากจะย�้ำว่า ทุนที่ส�ำคัญที่สุด คือสองเงื่อนไขของ ความพอเพียง คือความรู้ และคุณธรรมนั่นเอง ทุนความรู้นั้นต้องเน้น ที่ความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ส่วนคุณธรรมส�ำคัญที่จะน�ำมาซึ่ง ความพอเพียงคือความเพียร เพราะหากรู้แล้ว ไม่ขยัน ไม่หมั่นเพียร ไม่อดทน เจองานหนักก็เหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ ล�ำบากก็ไม่เอา ก็ไม่สามารถ สร้างความพอเพียงได้จริง โครงการทุนพอเพียงโดยกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าว คิง จึงไม่ได้เน้นที่เงินอย่างเดียว แต่ตั้งใจให้การศึกษาคนที่เกี่ยวข้อง ว่า นิยามของทุนที่แท้ที่มีความหมายส�ำคัญต่อมนุษย์ คือ ความรอบรู้ และคุณธรรมคือความดี รูจ้ ริง ดีจริง จึงเรียกว่าเป็นคนทีม่ ที นุ มาก มีทนุ หนัก ถ้าเป็นคนท�ำงานใครก็อยากร่วมงานด้วย ถ้าเป็นคนหนุม่ สาว ใคร ก็อยากได้ไปร่วมครอบครัว ความรอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง อย่างผู้รู้ จริง และคุณธรรมส�ำคัญ คือความเพียร อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต มุ่งมั่น ท�ำงานโดยไม่ยึดถือว่าเป็นของตน เมื่อท�ำส�ำเร็จแล้วปล่อยวางให้กับผู้ อืน่ พัฒนายกระดับจิตใจไปเรือ่ ยนีจ่ งึ ถือเป็นทุนพอเพียงทีแ่ ท้ ผูเ้ ข้าร่วม โครงการทุนพอเพียงรุ่นนี้จะเป็นรุ่นบุกเบิก พัฒนาน�ำค�ำว่าทุนที่แท้ให้ โลกเข้าใจพระเจ้าอยู่หัวมากขึ้น”
49
50
51
52
53
54
เอามื้อสามัคคี
วิถีขับเคลื่อนสังคมแบบไทยๆ
เอามื้อสามัคคี วิถีขับเคลื่อนสังคมแบบไทย ๆ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุยเดช บรมนาถบพิตร ทรงพระราชทานค�ำสอนไว้ใน ส.ค.ส.พระราชทาน ปี พ.ศ.2547 ว่า “สามัคคีเป็นพลังค�้ำจุนแผ่นดินไทย”
“พระองค์ทรงเตือนพสกนิกรชาวไทย เพราะสมัยนัน้ เศรษฐกิจการค้าเสรีกำ� ลังแพร่กระจายไปทัว่ โลก กดดันให้คน ต้องหาเงิน ท�ำการค้า สร้างความมั่งคั่ง ซึ่งต่อมาก็เกิดวิกฤติการเงินล่มสลาย พระองค์ทรงเล็งเห็น และทรงพระราชทาน แนวทางแก้ไขปัญหาไว้แล้ว เห็นได้จาก ส.ค.ส.พระราชทานปี พ.ศ.2547 ที่ตรงกลางของภาพมีข้อความว่า “สามัคคี เป็นพลังค�้ำจุนแผ่นดินไทย” ซึ่งสามารถท�ำได้ด้วยแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นแนวความคิดใหม่ที่ไม่ได้ มุ่งเน้นความร�่ำรวย การหาเงินหาทองจ�ำนวนมาก แต่เน้นการสร้างความพอ ในสิ่งที่เป็นความจ�ำเป็นของชีวิตที่แท้จริง นัน่ คือ พอมี พอกิน พออยู่ พอใช้ ซึง่ เป็นสิง่ ทีจ่ ะช่วยให้เรามีชวี ติ ต่อไปได้ ไม่วา่ จะเกิดวิกฤติหรือภัยพิบตั ดิ า้ นใด” ดร.วิวฒ ั น์ ศัลยก�ำธร หรืออาจารย์ยักษ์ กล่าวถึงความหมายในภาพ ส.ค.ส.พระราชทาน จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุยเดช บรมนาถบพิตร เมื่อปี พ.ศ.2547 56
เอามื้อสามัคคี วิถีไทย การลงแขก เอามื้อ เอาแรง เป็นสิ่งที่บรรพบุรุษเรา ท�ำกันมาตั้งแต่โบราณกาล เมื่อมีงานหรือกิจกรรมใดที่เป็น ของคนในชุมชน ชาวชุมชนจะมารวมตัวช่วยกันลงมือลงแรง ท�ำงานนั้นๆ ให้ส�ำเร็จลุล่วง ไม่ว่าจะเป็นงานบุญ งานสร้าง งานสวน ไร่ นา หรืองานอื่นใด ความสามัคคีที่เกิดจากการ ร่วมแรงร่วมใจกลายเป็นพลังอันยิ่งใหญ่ที่ผลักดันให้ทุก ภาระงานก้าวสู่ความส�ำเร็จหรือข้ามผ่านวิกฤติอุปสรรคไป ได้ด้วยดีเสมอมา
ข้อ 4. เคล็ดลับ เทคนิค จาก 5 เรือ่ งทีพ่ ระเจ้าแผ่นดินนีส้ อน” อาจารย์ยกั ษ์ วิวฒ ั น์ ศัลยก�ำธร กล่าวในช่วงหนึง่ ของการอบรม หลักสูตร “ผู้น�ำการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในโครงการ “ทุนพอเพียง โดยกลุ่มน�้ำมันร�ำข้าวคิง” ในการอบรมหลักสูตร “ผู้น�ำการขับเคลื่อนปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” โครงการ “ทุนพอเพียง โดยกลุม่ น�ำ้ มัน ร�ำข้าวคิง” ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนนอกจากจะถือว่าเป็น ผูไ้ ด้รบั ทุนความรูจ้ ากโครงการแล้ว ทุกคนยังถือเป็นผูม้ สี ว่ น ร่วมในการพิจารณาคัดเลือกผูท้ เี่ หมาะสมทีส่ ดุ ในกลุม่ ให้ได้ รับทุนสนับสนุนเพือ่ การต่อยอดพัฒนาพืน้ ที่ โดยกลุม่ น�ำ้ มัน ร�ำข้าวคิงเป็นผู้สนับสนุนเงินทุน ส่วนเพื่อนๆ เครือข่าย ผู้รับการอบรมในโครงการเป็นผู้ให้แรงรวมตัวร่วมใจกันลง ไปช่วยปรับปรุงพื้นที่นั้นๆ ด้วยวิถีแบบไทยๆ ที่เรียกว่า การเอามื้อสามัคคี
“พลังความร่วมมือ สามัคคี หรือที่เราเรียกว่า networking พลังของเครือข่ายแสดงออกมาเป็นวัฒนธรรมคน ไทย คือ การลงแขกลงแรงเอามื้อ พลังเครือข่ายแท้ๆ แบบ ไทยๆ คอื นัดกันแล้วก็ลงแรงกัน แบกแมคโครมือถือคนละคัน พากั น ขุ ด คลอง ทุ ก ครั้ ง ที่ ล งมื อ ท� ำ ร่ ว มกั น คุ ณ จะได้ องค์ความรูใ้ หม่เพิม่ เสมอๆ ความรูใ้ หม่ทไี่ ด้เพิม่ เสมอๆ อยูใ่ น
เอามื้อสามัคคี ณ พื้นที่ผู้ ได้รับทุน 3 พืน้ ทีข่ องผูไ้ ด้รบั การสนับสนุนทุนพัฒนาพืน้ ทีต่ าม “ศาสตร์พระราชา” ในโครงการ “ทุนพอเพียง โดยกลุม่ น�ำ้ มัน ร�ำข้าวคิง” ได้แก่ น้องหนุ่ม..แม่ลาน้อย นายเอกพันธ์ เกียรติภูทอง บ้านแม่กวางเหนือ ต.ท่าผาปุ้ม อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน พ่อสิงทอง-แม่ค�ำพูล..ท่าคันโท นายสิงทอง ตะคุ บ้านดงสมบูรณ์ ต.ดงสมบูรณ์ อ.ท่าคันโท จ.กาฬสินธุ์ พี่นก..คลองลาน นางอรพันธุ์ พูลสังข์ บ้านคลองใหญ่ใหม่ ต.คลองน�้ำไหล อ.คลองลาน จ.ก�ำแพงเพชร
57
เอามื้อ ยกที่ 1 : ปั้นแท็งก์ กู้ดอย @ แม่ลาน้อย
“แปลงนี้ เ ป็ น พื้ น ที่ ข องผู ้ น� ำ ชุ ม ชนในหมู ่ บ ้ า นที่ เสียสละที่นาตนเองให้เป็นต้นแบบของชุมชน ขนาดพื้นที่ ประมาณ 3 ไร่ ก ว่ า ผมเป็ น คนในพื้ น ที่ ก็ เ ลยลุ ก ขึ้ น มา ท�ำ ก่อนหน้านี้ทาง อบต.จ้างอาจารย์จากแม่โจ้มาท�ำเรื่อง การจัดการชุมชน เรื่องการจัดการพื้นที่ป่า ที่นี่ก็เป็นพื้นที่ ต้นแบบเหมือนกันแต่มากันไม่กี่เดือนจากนั้นก็ไปกัน ไม่มี ใครสนใจ แปลงนี้ก็เลยเป็นแปลงว่างเปล่า ไม่ได้ท�ำอะไร พออาจารย์ ยั ก ษ์ ม า ตรงนี้ ก็ เ ลยเป็ น แปลงต้ น แบบของ โคกหนองนา โมเดล อาจารย์ยกั ษ์มาสนับสนุน อบต.มาหนุน เสริม เราก็เลยเริ่มกันใหม่เมื่อปลายปี 58 แต่ก็ยังไม่ได้เป็น รูปธรรมที่ชัดเจน แค่พอมีอะไรกินบ้าง ผมก็เลยอยากจะไป รับจ้างในเมือง เพื่อเก็บเงินก้อนเล็กๆ มาท�ำต่อ แต่ก็พอดี มาได้รับทุนตรงนี้ ก็เป็นทุนมาเสริมมาต่อยอดพื้นที่แปลงนี้ ให้ส�ำเร็จเร็วขึ้น ให้งานมันเดินเร็ว เห็นผลชัดเจนเป็น
รูปธรรมขึน้ ” น้องหนุม่ - เอกพันธ์ เกียรติภทู อง เล่าถึงความ เป็นมาของพื้นที่ที่เพื่อน ๆ เครือข่ายทุนพอเพียงมาช่วยกัน ท�ำกิจกรรม “ปัน้ แท็งก์กดู้ อย @ แม่ลาน้อย” จ.แม่ฮอ่ งสอน “พื้นที่นี้มีปัญหาเรื่องน�้ำครับ อย่างปีก่อนผมปลูก อะไรเยอะแยะ แต่พอหน้าแล้งไม่มีน�้ำไปรด ต้นไม้ก็ตาย เลยลงแค่กล้วยอย่างเดียว แล้วก็ลงพืชผักช่วงหน้าฝนอย่าง เดียว ถ้าใครอยากจะมาช่วยอะไรก็จะเอาเรือ่ งน�ำ้ เป็นอันดับ แรกครับ เมื่อได้รับทุนเลยคิดว่าน่าจะเอามาท�ำแท็งก์ยักษ์ มาตรฐานโจน” น้องหนุ่ม อธิบายเหตุผลของความต้องการ สร้างแท็งก์น�้ำในพื้นที่ พร้อมกับขยายความแท็งก์ยักษ์ มาตรฐานโจน ให้ฟังว่า แท็งก์ยักษ์จะใหญ่เก็บน�้ำได้เยอะ มาตรฐานโจน คือ โจน จันได คือ การใช้วสั ดุอปุ กรณ์ทเี่ รามี อยูใ่ นพืน้ ทีใ่ นการสร้าง ซึง่ จะช่วยประหยัดต้นทุน โครงสร้าง ของแท็งก์ลูกนี้จึงเป็นไม้ไผ่ที่มีอยู่มากมายในพื้นที่ 58
ส่งต่อก�ำลังใจให้ผู้ร่วมทางสายเดียวกัน “อยากให้คิดว่า ชีวิตนี้มันต้องมีอะไรสักอย่างที่มัน ชัดเจน ไม่ว่าจะท�ำอาชีพอะไร มันต้องสร้างความชัดเจนให้ กับตัวเอง ต้องสร้างพืน้ ฐานให้กบั ตัวเองให้มนั มัน่ คง มันต้อง สู้ครับ ถ้าสู้มีโอกาสชนะ แต่ถ้าไม่สู้แพ้อย่างเดียวครับ
ขั้นพื้นฐาน 4 ขั้นนี้เราก็จะอยู่ได้แล้ว คือ อันดับแรกเรา ต้องมีกิน มีใช้ มีที่อยู่อาศัย แล้วก็มีอากาศเป็นของตัว เอง แค่นี้คุณก็ไม่ต้องไปท�ำอะไรอย่างอื่นแล้ว แค่นี้คุณก็ อยู่ได้แล้วครับ อันนี้คือพื้นฐานของศาสตร์พระราชาที่ผม ได้ไปเรียนรู้ครับ ต้องสร้างฐานให้มันมั่นคงก่อน พอฐาน มั่นคงแล้วจะท�ำอะไรอย่างอื่นก็ไม่ต้องห่วง แม้เราจะไป ล้มเหลวที่อื่น แต่เรายังมีฐานให้กับตัวเอง มีบ้านเป็นของ ตัวเอง มีอาหารที่เราผลิตเอง มีของใช้ที่เราท�ำเอง และก็มี อากาศที่เราไม่ต้องท�ำอะไรเลย”
ฐานอันดับแรกคือทุนของเรา ทุนหรือศักยภาพทีเ่ รา มีอยู่ เอามาเป็นต้นทุน ถ้าไม่มีอะไรเป็นทุน บางครั้งเราอยู่ กับเครือข่ายอยูเ่ ป็นพีเ่ ป็นน้องอยูก่ บั พ่อแม่มนั ก็มาช่วยเสริม มาต่อยอดได้ ถ้าเราสร้าพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
59
เอามื้อ ยกที่ 2 : ปลูกป่า กู้ดิน @ ท่าคันโท พระมหาวิษณุ พระลูกชายของพ่อสิงทอง - แม่คำ� พูล ตะคุ เล่าถึงความเป็นมาและความตั้งใจในการปรับพัฒนา พื้นที่ผืนนี้ ให้ฟังว่า “พื้นที่นี้เป็นที่มรดกจากคุณตา เป็นป่า ยางพารารวมที่นาประมาณ 33 ไร่ พื้นที่ตรงนี้เดิมเคยเป็น ป่าอุดมสมบูรณ์มาก่อนทีค่ นรุน่ คุณตาจะมาถากถาง เมือ่ 30 ปีก่อน อาตมาก็เลยคิดว่า เรามาจัดสรรใหม่ให้เป็นไปตาม แนวทางทีเ่ ราเรียนรูม้ า คือ อยากให้เป็นทัง้ พืน้ ทีป่ า่ เป็นทัง้ พื้นที่ต้นแบบของเทคนิคกสิกรรมธรรมชาติ ชื่อโครงการที่ อยากจะสร้าง คือ “สวนท�ำธรรม กสิกรรมวิถี ปลดหนี้ สร้าง สุข” ท�ำ คือ มีพื้นที่ไว้ท�ำให้เกษตรกรในลุ่มนี้มาดูเป็นพื้นที่ ตัวอย่างและท�ำได้จริงด้วย ในพืน้ ทีท่ จี่ ดั สรรไว้ประมาณ 10 ไร่เศษในรูปแบบการผสมผสานโคก หนอง นา กับหลักภูมิ สังคม อันนี้โซนหนึ่งส่วนอีกโซนอยากให้เป็นป่า เป็นป่า แซมยางพาราเดิมที่มีอยู่แล้ว เพื่อเป็นพื้นที่ไว้ท�ำกิจกรรม สาธารณะต่างๆ ในเชิงสร้างสรรค์”
เป็นงานของครอบครัวหรือว่าเป็นงานต่อยอดกัน โดยเริ่ม พาพ่อแม่มาอบรม คือเน้นที่คนก่อน พื้นที่ค่อยตามมา
ปัญหาของเกษตรกรก็วนเวียน ความสุขก็ไม่ค่อยมี ท�ำไป ก็มีแต่หนี้ น�ำไปสู่ความเสื่อมโทรมของครอบคัว ของชุมชน ลูกหลานเข้าเมือง เราก็เลยอยากจะท�ำอะไรสักอย่างขึ้นมา ก็ปรึกษากับครอบครัวว่าเรามาเปลีย่ นวิถชี วี ติ ใหม่กนั พอดี ปีทแี่ ล้วหลวงพีม่ โี อกาสอยูม่ าบเอือ้ ง ช่วยงานหลวงพ่อสังคม อยู่ปีนึง ก็เลยอยากจะน�ำประสบการณ์เหล่านั้นมาย่อยให้
“ความรูข้ องพ่อก็เหมือนคนทีห่ ลับตาอยู่ ตอนนีต้ นื่ มองเห็นโลกใหม่ ๆ สูค่ วามคิด ความเปลีย่ นแปลงใหม่ๆ พ่อ คิดว่ามันน่าจะดี ก็เลยสานต่อเจตนารมณ์ของท่าน ก็คิดว่า มันน่าจะบวกมากว่าลบ เพราะหนึง่ เราได้ทำ� ด้วยมือของเรา เอง สองมันมีเพือ่ นร่วมทีมร่วมงานเขามาช่วย ก็อยากได้อกี นะเพื่อนน่ะ อยากได้เพื่อนมากๆ มาศึกษามาแนะแนวทาง
ช่วงเริ่มไปเกาะเกี่ยวกับเครือข่ายนี่แหละ เริ่มเห็น ความเปลี่ยนแปลงได้ชัด คนเริ่มเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เริ่มมีการ เปรียบเทียบกับวิถีเก่า เริ่มมีการพูดคุยกัน เหมือนกับการ ค่อยๆ ขัดเกลามาอยูเ่ รือ่ ยๆ ในฐานะเราเป็นพระเป็นผูร้ เิ ริม่ น�ำก็พยายามทีจ่ ะจัดสรรเวลา หาศิลปะในการขัดเกลาพวก เขาเหล่านี้ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ญาติพี่น้องหรือ แม่กระทั่งชุมชนที่เราขยายออกไปให้มันถูกขัดเกลาไปอยู่ เรื่อยๆ ให้มันประคับประคองกันมาเรื่อยๆ ความยากกง่าย ก็มีอยู่ทุกวัน พยายามเข้าไปอยู่ในเหตุปัจจัยของครอบครัว ของอาชีพที่เขาเป็นอยู่ พยายามค่อยๆ เปลี่ยนทิศทางมา ทางนีท้ งั้ หมด ระหว่างนัน้ เราก็หาคนช่วยบ้างตามทีเ่ ห็นควร กับเครือข่ายบ้างอะไรบ้างให้มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ นั ให้ มันเดินไปข้างหน้า ที่ส�ำคัญคนที่จะเปลี่ยนได้ ทุกอย่างต้อง กิจกรรมเอามื้อสามัคคี ณ พื้นที่นี้ จึงเป็นการช่วย กลับมาเปลีย่ นทีฐ่ านจิต ค่อยๆ ย้ายฐานจิตให้มาอยูก่ บั พืน้ ที่ กันปลูกป่า ขุดดินท�ำคลองไส้ไก่ ซึง่ ถือเป็นก้าวแรกของการ แห่งความสุขใหม่” เริ่มต้นเพื่อเดินไปสู่เป้าหมายของการสร้าง “สวนท�ำธรรม ความตั้งใจของพระลูกชาย ดูจะเข้าใกล้ความเป็น กสิกรรมวิถี ปลดหนี้ สร้างสุข” จริงไปทุกขณะ เพราะทั้งโยมพ่อและโยมแม่ ต่างก็เริ่ม “ทั้งหมดทั้งมวลเพิ่งเริ่มขึ้นเมื่อประมาณต้นปี ที่มี ยอมรับและเปลีย่ นแปลง ดังทีพ่ อ่ สิงทอง ตะคุ บอกถึงความ การพูดคุยกับครอบครัวว่า เราเห็นปัญหา อย่างทีร่ ๆู้ กันอยู่ รู้สึกของตนให้ฟังว่า
60
เหมือนกับไก่กำ� ลังจะหัดขัน อยากขันเสียงดังต้องขอแรงใจ แรกๆ แม่ก็คัดค้าน เพราะไม่เคยศึกษา ก็คิดว่าแล้วมันจะดี หรือ มันจะใช่เหรอ ลูกก็อธิบายให้ฟงั ก็เลยว่า ลองดูกไ็ ด้ พอ จากเพื่อนด้วย” ท�ำแล้วก็มีความสุขจริงๆ นะ แล้วก็คิดไปถึงที่ในหลวงท่าน เช่นเดียวกับความรู้สึกของแม่ติก - ค�ำพูล ตะคุ สอนก็เหมือนท่านว่าจริงๆ เคยได้ยินแต่เศรษฐกิจพอเพียง “แม่กร็ สู้ กึ เหมือนเปลีย่ นแปลงตัวเอง ไม่เคยท�ำแบบ แต่ไม่เคยศึกษา เพราะทีแรกก็ปลูกกินท�ำกินเฉยๆ ไม่ได้ นี้ก็เปลี่ยนใหม่เลย พระลูกชายบอกเปลี่ยนใหม่เลยนะแม่ก็ ปลูกต้นไม้อะไรมากมาย พอได้มาปลูกหลายๆ อย่างก็คิด เป็นอย่างทีเ่ ขาว่าจริง ๆ แม่ไม่เคยท�ำ ไม่เคยมีความคิดแบบ ว่า คงจะดีแบบที่ท่านว่า ซึ่งก็คิดว่าดีไปแล้ว 80 เปอร์เซ็นต์ นี้มาก่อน ก็เลยลองท�ำ ก็รู้สึกเรารักธรรมชาติขึ้น แต่ตอน ของความรู้สึก”
ส่งต่อก�ำลังใจให้ผู้ร่วมทางสายเดียวกัน “อย่างแรกต้องมีนสิ ยั รักเรียนรู้ รักธรรมชาติ เราต้อง เช็ ค ตั ว เองก่ อนว่ า เรามีขอพวกนี้อยู่หรือเปล่า ถ้าเรามี ทุกอย่างมันจะง่าย เพราะว่าเราเป็นรักเรียบง่าย รักสมถะ คือ ถ้าไม่อยากรวยแล้วทุกอย่างจะง่ายลง ความต้องการมัน จะน้อย แต่มันก็จะสุขได้เหมือนกัน คือถ้าเราพอใจกับตรง นั้น อย่างอื่นมันก็เป็นไปได้ มันไม้ต้องเปะ เพราะทุกวันมัน มีเรื่องขอการปรับเปลี่ยน มีอะไรที่เราไม่คาดคิดเกิดขึ้นอยู่ แล้ว แต่ถ้าเราเองเราได้บ่มเพาะ ได้มองเห็นธรรมชาติ ได้มี เวลาอยู่กับมัน แล้วเรารู้สึกมีความสุข และเราเลือกว่าเรา
อยากจะมีความสุขกับสิง่ นี้ ทุกอย่างก็ไม่ยากหรอก ไม่วา่ แง่ ใดมองในแง่บวกไว้ โดยเฉพาะคนเริม่ ใหม่ คนรุน่ ใหม่ ให้มอง เห็นอะไรที่มันง่าย ๆ เล็ก ๆ ก่อน ค่อย ๆ ท�ำไป เพราะการ ท�ำอะไรที่ใหญ่ๆ ได้มันต้องบ่มเพาะมาพอสมควร ไม่ว่าจะ เป็นด้านเทคนิค ด้านใจตนเองทีต่ อ้ งฝึกฝนมา การออกแบบ ตั ว เองเป็ น ออกแบบงานเป็ น ซึ่ ง เป็ น ทั ก ษะที่ เ พิ่ ม ได้ แต่ต้องเอาเรื่องใจมาก่อน หาที่อยู่ของใจให้ได้ก่อน เพราะ ถ้าเหนื่อยกับสิ่งที่ใช่ แต่มันมีความสุข” พระมหาวิษณุ พระลูกชายพ่อสิงทอง 61
เอามื้อ ยกที่ 3 : ก่อคันนา กู้ข้าว @ คลองลาน “พืน้ ทีต่ รงนีเ้ พิง่ จะปรับให้เป็นโคก หนอง นา โมเดล หลังจากทีอ่ บรมกับอาจารย์ยกั ษ์มา รุน่ 495 เมือ่ เดือนเมษา ที่ผ่านมา ซึ่งเดิมก็ท�ำทฤษฎีใหม่อยู่แล้ว ก็ลองผิดลองถูก มาเรื่อย ๆ ตั้งแต่ปี 41 มีปลูกผลไม้ล�ำไยบ้าง ส้มโอบ้าง มีไม้สัก ไม้ยืนต้นไว้ใช้สอยปลูกบ้าน แล้วก็ใช้พื้นที่ปลูกมัน ส�ำปะหลังเรื่อยมา แล้วก็มาปลูกปาล์มน�้ำมันตอนปี 52 คือ พืน้ ทีท่ งั้ หมดเป็น 2 แปลงติดกัน แปลง 9 ไร่ 2 งาน กับ 27 ไร่ 2 งาน รวมก็ประมาณ 37 ไร่ แต่ว่ามาท�ำโคก หนอง นา 9 ไร่
บ้างน�ำ้ ท่วมบ้าง ก็มานัง่ คิดว่าอดีตเราเคยเป็นชาวไร่ชาวนา คนไทยยังกินข้าวอาหารหลักก็ตอ้ งเป็นข้าวก่อนน่ะค่ะ ก็เลย คิดอยากท�ำในเรื่องของหลักเศรษฐกิจพอเพียง เราต้องพอ อยู่พอกินก่อนนะ ก่อนที่จะไปดิ้นรนอย่างอื่น” กิจกรรมเอามือ้ สามัคคีในพืน้ ทีข่ องพีน่ ก จึงเป็นการ ขุดหัวคันนาทองค�ำ ขุดหนองและคลองไส้ไก่ “ตอนที่ได้รับทุนก็ดีใจจนพูดไม่ออก แพลนก็คือ อยากให้ทุกคนรู้จักที่นี่รู้จักวิถีของคนที่นี่ ก็ดีใจที่พอได้ทุน แล้ว ทุกคนจะมาเอามือ้ สามัคคีทนี่ ี่ มาช่วยเราท�ำในกิจกรรม ที่เราอยากจะท�ำ เคยเรียนกับอาจารย์ยักษ์แกก็สอนให้ เราท�ำคันนาทองค�ำ แล้วนึกไปอดีตบ้านเราก็เคยท�ำแบบ นี้ ก็เลยเขียนแผนการที่จะท�ำแปลง ว่าจะก่อคันนาและใช้ ประโยชน์สูงสุดจากนา เพื่อเป็นแหล่งอาหารของเรา
คือทีด่ นิ ทีน่ กท�ำนามันเป็นทีด่ นิ ทราย ประสบปัญหา น�ำ้ แล้ง น�ำ้ ท่วม ทุกปี ในฤดูกาลหน้าน�ำ้ ก็จะเป็นน�ำ้ ซับ ปลูก อะไรก็จะแฉะน�้ำ ไม่ค่อยได้ผลผลิต หว่านข้าวบางครั้งก็มี ทรายไหลทับ การจัดการที่ดินค่อนข้างยากมากในการที่จะ ปลูกพืช หน้าแล้งถ้าหมดฝนไปสักประมาณ 2 อาทิตย์ดิน นี่ ก็ ถื อ เป็ น ก้ า วแรกของการท� ำ หั ว คั น นาทองค� ำ ก็จะแข็ง ปัญหาที่เจอก็คือใช้ที่ดินไม่คุ้มค่าถ้าเราไม่ท�ำเป็น เพราะคนแถวนี้ก็มองว่าดินเป็นดินทรายจะขุดคันนายังไง โคก หนอง นา” จะขังน�้ำได้ยังไง เพราะนกมีแผนที่จะใช้น�้ำตรงคันนาที่เรา พี่นก-อรพันธุ์ พูลสังข์ เล่าถึงความเป็นมาและ ขุดขึ้นมา ในการท�ำนา ปลูกผักบุ้ง เลี้ยงปลา เลี้ยงหอย ปัญหาของพื้นที่ ซึ่งเป็นเหตุผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพื้นที่ เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปูนาตรงนั้นได้ นอกจากที่เราจะท�ำข้าวในนา บางส่วนเพื่อเป็นพื้นที่โคก หนอง นา ซึ่งก่อนหน้านี้ก็ไม่เคยท�ำแบบนี้ “ครอบครัวนกตอนสมัยนกเป็นเด็กประถม ตา ยาย พอเรามาขุดเป็นคันนาทองค�ำแล้ว หนึง่ -เราสามารถ แม่ก็เป็นลูกชาวนา ปิดเทอมก็ไปอยู่กับตายาย ก็รู้สึกว่า มีน�้ำเก็บกักไว้ใช้ในฤดูแล้งได้ เราสามารถเลี้ยงสัตว์น�้ำได้ ในน�้ำมีปลาในนามีข้าวเราไม่เคยอดอยาก การหาเงินบาง ปลูกผัก ผลไม้ ตรงหนอง คลองไส้ไก่ และก็ตรงคันนาได้ ครั้งเหมือนมันไม่ค่อยจ�ำเป็นมาก เราก็หาได้ทุกวันแต่เรา อย่างน้อยๆ เราก็มีอาหารการกินทุกวันที่เราไม่ต้องซื้อ ก็ไม่มีเรื่องที่ต้องจ่าย พอแต่งงานมีครอบครัวมาท�ำเกษตร ปลูกกระเฉด ผักกูด ที่เราจะน�ำมากิน เหลือกินเราก็แลก เชิงเดีย่ ว ท�ำข้าวโพดเลีย้ งสัตว์ เราก็มคี วามรูส้ กึ ว่ามันมีความ แล้วก็แจกจ่ายเพื่อน ๆ ในหมู่บ้าน เพื่อนที่มาเที่ยวหา” เสี่ยง ท�ำไปบางทีมันก็เจ๊ง มันส�ำปะหลังก็เจ๊ง บางปีน�้ำแล้ง
62
ส่งต่อก�ำลังใจให้ผู้ร่วมทางสายเดียวกัน “โคกหนองนาท�ำให้คนได้อยู่ที่บ้าน ไม่ต้องอพยพ ย้ายถิ่นไปอยู่ที่อื่น มันจะกลับมาอยู่วิถีไทยแบบดั้งเดิม อยู่พร้อมกัน พ่อ แม่ ลูก ในครอบครัว ท�ำกิจกรรมใน แปลง มีโคก มีหนอง มีนามีอาหารการกินอยู่ในพื้นที่ที่ อุดมสมบูรณ์ เหมือนประเทศไทยในอดีต ในน�้ำมีปลา ใน นามีข้าว คือไปทุ่งนาก็ไม่ต้องเอาอะไรไปมาก ถ้าเป็นคน อีสานหุงข้าวเหนียวกะติบเดียวก็ไปหาอาหารในท้องนาได้ ก็คิดว่าถ้าเราท�ำตรงนี้เราจะก้าวผ่านในเรื่องเศรษฐกิจ นกคิดว่าประเทศไทยตอนนีม้ ปี ญ ั หาเรือ่ งเศรษฐกิจไม่มนั่ คง
ถ้าโครงการโคกหนองนาโมเดลเกิดและขยายไปได้หลาย ๆ พื้นที่ นกว่าอย่างน้อย ๆ ถ้าเรามีความมั่นคงทางอาหาร เราลดรายจ่ายในแต่ละวันได้ มันก็น่าจะท�ำให้คนไทยมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เพราะทุกคนหาเงินเพื่อนปากท้อง ทั้งนั้น หาเงินเพื่อมาซื้อข้าวกิน ชุมชนที่บ้านมีแค่ 70 กว่า ครัวเรือน ค่าข้าวสารปีนึงค�ำนวณตก 3-4 แสนบาท ก็เลย คิดว่าโครงการโคกหนองนาโมเดลจะท�ำให้สังคมน่าอยู่ขึ้น ยั่งยืนขึ้น เป็นการพัฒนา สร้างฐานให้ทุกคนมีอยู่มีกิน”
63
กิจกรรม ทุนพอเพียง
64