คำแปลบาลีไทย

Page 1


สารบั ญ อิตป ิ ิ โส ........................................................................................................................................................ 3 พาหุง........................................................................................................................................................... 4 มะหาการุณโิ ก ........................................................................................................................................... 5 ยอดพระกั ณ ฑ์ไ ตรปิ ฎก ................................................................................................................ 6 พระไตรปิ ฎก .................................................................................................................................. 12 มงคลสูต ร ..................................................................................................................................... 14 กะระณียะเมตตะสุตตัง แปล ......................................................................................................... 16 อุปมาใบประดูล ่ าย ......................................................................................................................... 18 ปฏิจ จสมุ ป บาท ....................................................................................................................................................... 23 ๗. อาณิสต ู ร - สงั ยุตตนิกาย นิทานวรรค โอปั มมสงั ยุตต์ ...................................................................... 24 คาถาพระพุ ท ธเจ ้า 5 องค์ต อนชนะมาร ..................................................................................................... 25 คาถามหาวิเ ศษ ....................................................................................................................................................... 25 กาลามสูตร .................................................................................................................................... 26 คาถาบูชาหลวงปู่ ใหญ่พระครูธรรมเทพโลกอุดร .......................................................................... 27 บทกรวดน้ า อิม น ิ า ................................................................................................................................................. 28 มงคลจั ก รวาลน อ ้ ย สั พ พะพุ ท ธา ................................................................................................................... 29 บทสวดมงคลจั ก รวาลใหญ่ .............................................................................................................................. 30 อานาปานสติสูต ร (๑๑๘) ................................................................................................................................. 32 อานาปานสติสต ุ ฺต .......................................................................................................................... 38 หัวใจ ๑๐๘ (บ ้านเฮาเอิน ้ ว่า ตับ ๑๐๘) ........................................................................................ 44 คาแผ่ เ มตตา ................................................................................................................................ 47 บทแผ่ เ มตตา ......................................................................................................................... 47 แผ่ เ มตตาให ้ตนเอง ............................................................................................................. 47 บทแผ่ เ มตตา ......................................................................................................................... 47 แผ่ เ มตตาพรหมวิห ารส ี่ ........................................................................................................... 48 นวหรคุณ (อิตป ิ ิ โส เก ้าห ้อง) ................................................................................................................................ 49 พระคาถาถวายพระพรชัย มงคล ๗ รอบ ๘๔ พรรษ ........................................................................... 51


อิต ป ิ ิ โส-พาหุง -มะหาการุ ณิโ ก ั มา สม ั พุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มา สม ั พุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มา สม ั พุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม

ขอนอบน ้อมแด่พระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน ้ ซงึ่ เป็ นผู ้ไกลจากกิเลส ตรัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค์เอง ขอนอบน ้อมแด่พระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน ้ ซงึ่ เป็ นผู ้ไกลจากกิเลส ตรัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค์เอง ขอนอบน ้อมแด่พระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน ้ ซงึ่ เป็ นผู ้ไกลจากกิเลส ตรัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค์เอง

พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ

ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระพุทธเจ ้าเป็ นสะระณะ

ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ

ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระธรรมเจ ้าเป็ นสะระณะ

สงั ฆัง สะระนั ง คัจฉามิ

ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระสงฆเจ ้าเป็ นสะระณะ

ทุตย ิ ัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ

แม ้ครัง้ ทีส ่ อง ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระพุทธเจ ้าเป็ นสะระณะ

ทุตย ิ ัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ

แม ้ครัง้ ทีส ่ อง ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระธรรมเจ ้าเป็ นสะระณะ

ทุตย ิ ัมปิ สงั ฆัง สะระนัง คัจฉามิ

แม ้ครัง้ ทีส ่ อง ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระสงฆเจ ้าเป็ นสะระณะ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระนัง คัจฉามิ

แม ้ครัง้ ทีส ่ าม ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระพุทธเจ ้าเป็ นสะระณะ

ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระนัง คัจฉามิ

แม ้ครัง้ ทีส ่ าม ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระธรรมเจ ้าเป็ นสะระณะ

ตะติยัมปิ สงั ฆัง สะระนัง คัจฉามิ

แม ้ครัง้ ทีส ่ าม ข ้าพเจ ้าขอถือเอา พระสงฆเจ ้าเป็ นสะระณะ

อิต ป ิ ิ โส

ั มา สม ั พุทโธ วิชชาจะระณะสม ั ปั นโน สุคะโต โลกะวิทู อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สม ั ถา เทวะมะนุสสานั ง พุทโธ ภะคะวาติฯ อะนุตตะโร ปุรส ิ ะทัมมะสาระถิ สต พระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน ้ เป็ นผู ้ทรงแจกจ่ายธรรม เป็ นพระอรหันต์ตรัสรู ้ดีโดยชอบด ้วยพระองค์เอง ทรงถึง พร ้อมด ้วยวิชชา และ จรณะ (ความรู ้และความประพฤติ) เสด็จไปดี (คือไปทีใ่ ดก็ยังประโยชน์ให ้ทีน ่ ัน ้ ) ทรงรู ้ แจ ้งโลก ทรงเป็ นสารถีฝึกคนทีค ่ วรฝึ ก หาผู ้อืน ่ เปรียบมิได ้ ทรงเป็ นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย ทรง เป็ นผู ้ตืน ่ ทรงเป็ นผู ้แจกจ่ายธรรม

ั ทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสโิ ก โอปะนะยิโก สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สน ปั จจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหต ิ ฯิ พระธรรมอันพระผู ้มีพระภาคเจ ้าตรัสดีแล ้ว อันผู ้ปฏิบัตเิ ห็นชอบได ้ด ้วย ตนเอง ไม่ประกอบด ้วยกาลเวลา ควรเรียกมาดูได ้ ควรนอบน ้อมเข ้าไปหา อันผู ้รู ้พึงรู ้ได ้ด ้วยตนเอง

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อุชป ุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ญา ยะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจป ิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ


ยะทิทัง จัตตาริ ปุรส ิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรส ิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ พระสงฆ์สาวกของพระผู ้มีพระภาค เป็ นผู ้ปฏิบัตดิ แี ล ้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู ้มีพระภาคเป็ นผู ้ ปฏิบัตต ิ รง พระสงฆ์สาวกของพระผู ้มีพระภาคเป็ นผู ้ปฏิบัตเิ พือ ่ ความรู ้ พระสงฆ์สาวกของพระผู ้มีพระภาคเป็ นผู ้ ี่ ู่ เป็ นบุคคลแปด เป็ นผู ้ควรบูชา เป็ นผู ้ควร ปฏิบัตช ิ อบ พระสงฆ์สาวกของพระผู ้มีพระภาคนั น ้ จัดเป็ นบุรษ ุ สค รับทิกษิณา เป็ นผู ้ควรกราบไหว ้ เป็ นเนือ ้ นาบุญของโลก หาสงิ่ อืน ่ เปรียบมิได ้

พาหุ ง

พาหุงสะหัส สะมะภินม ิ มิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทต ิ ะโฆ ระสะเสนะมารัง ิ ะวา มุนน ทานาทิธัมมะวิธน ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

สมเด็จพระผู ้มีพระภาค ผู ้เป็ นจอมของนักปราชญ์ ทรงชนะพญามารพร ้อมด ้วยเสนา ซงึ่ เนรมิตแขนได ้ตัง้ พัน มี ้ รเี มขล์ สง่ เสย ี งสนั่ นน่ากลัว ทรงชนะด ้วยธรรมวิธม มือถืออาวุธครบทัง้ พันมือ ขีช ่ างคิ ี ท ี านบารมี เป็ นต ้น และด ้วย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า เดชะของพระผู ้มีพระภาคพระองค์นัน ้ ขอชย

ั พะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง มาราติเร กะมะภิยช ุ ฌิตะสพ ิ ะวา มุนน ขันตีสท ุ ันตะวิธน ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

สมเด็จพระผู ้มีพระภาค พระจอมมุนท ี รงชนะอาฬวกยักษ์ ผู ้โหดร ้ายบ ้าคลั่ง น่าสพึงกลัว ซงึ่ ต่อสูกั้ บพระองค์ ิ้ ด ้วยขันติธรรมวิธอ ตลอดทัง้ คืนรุนแรงยิง่ กว่าพญามาร จนละพยศร ้ายได ้สน ี ันพระองค์ได ้ฝึ กไว ้ดีแล ้ว และด ้วย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า เดชของพระผู ้มีพระภาคพระองค์นัน ้ ขอชย

นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง ิ ะวา มุนน เมตตัมพุเสกะวิธน ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

้ ชอ ื่ นาฬาคิร ี ซงึ่ กาลังตกมันจัด ทารุณโหดร ้ายยิง่ นัก ดุจ สมเด็จพระผู ้มีพระภาค พระจอมมุนท ี รงชนะพญาชาง ั มงคล ไฟป่ าจักราวุธและสายฟ้ า ด ้วยพระเมตตาธรรม และด ้วยเดชของพระผู ้มีพระภาคพระองค์นัน ้ ขอชย ทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า

อุกขิตตะขัคคะมะติหต ั ถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลม ิ าละวันตัง ิ ะวา มุนน อิทธีภส ิ งั ขะตะมะโน ชต ิ โทตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

ื่ องคุลม สมเด็จพระผู ้มีพระภาค พระจอมมุนท ี รงชนะมหาโจร ชอ ี าล ในมือถือดาบเงือ ้ ง่าโหดร ้ายทารุณยิง่ วิง่ ไล่ ตามพระองค์หา่ งออกไปเรือ ่ ย ๆ เป็ นระยะทางถึง ๓ โยชน์ ด ้วยทรงบันดาลมโนมยิทธิ (ฤทธิท ์ างใจ) และด ้วย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า เดชของพระผู ้มีพระภาคพระองค์นัน ้ ขอชย

กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินย ี า จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ ั เตนะ โสมะวิธน ิ ะวา มุนน สน ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

สมเด็จพระผู ้มีพระภาค พระจอมมุนท ี รงชนะคากล่าวใสร่ ้ายท่ามกลางชุมชน ของนางจิญจมาณวิกา ผู ้ผูกท่อนไม ้ ่ นไว ้ทีท ซอ ่ ้องแสร ้งทาเป็ นหญิงมีครรภ์ ด ้วยความจริง ด ้วยความสงบเยือกเย็นด ้วยวิธส ี มาธิอันงาม และด ้วยเดช ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า ของพระผู ้มีพระภาคพระองค์นัน ้ ขอชย

ั จัง วิหายะ มะติสจ ั จะกาวาทะเกตุง วาทาภิโรปิ ตะมะนัง อะติอน สจ ั ธะภูตัง ิ ะวา มุนน ปั ญญาปะทีปะชะลิโต ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

ั จกนิครนถ์ ผู ้เชด ิ ชูลัทธิของตนว่าจริงแท ้อย่างเลิศลอย ราวกับชู สมเด็จพระผู ้มีพระภาค พระจอมมุนท ี รงชนะสจ ธงขึน ้ ฟ้ า ผู ้มุง่ โต ้วาทะกับพระองค์ ด ้วยพระปั ญญาอันเป็ นเลิศดุจประทีปอันโชติชว่ ง ด ้วยเทศนาญาณวิถ ี และ ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า ด ้วยเดชของพระผู ้มีพระภาคพระองค์นัน ้ ขอชย

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพธ ุ ัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต ิ ะวา มุนน อิทธูปะเทสะวิธน ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ


ื่ นั นโทปนั นทะ ผู ้หลงผิดและมีฤทธิม สมเด็จพระผู ้มีพระภาค พระจอมมุนท ี รงชนะพญานาคชอ ์ าก ด ้วยทรงแนะนา ื่ ง และด ้วยเดชของพระผู ้มี วิธ ี และ อิทธิฤทธิแ ์ ก่พระโมคคัลลานะ พระเถระภุชงค์ พุทธบุตร ให ้ไปปราบจนเชอ ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า พระภาคพระองค์นัน ้ ขอชย

ทุคคาหะทิฏฐิภช ุ ะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสท ุ ธิชต ุ ม ิ ท ิ ธิพะกาภิธานัง ิ ะวา มุนน ญาณาคะเทนะ วิธน ิ า ชต ิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

ื่ ท ้าวพูกะ ผู ้รัดรึงทิฏฐิ คือ ความเห็นผิดไว ้แนบแน่น โดย สมเด็จพระผู ้มีพระภาค พระจอมมุนท ี รงชนะพรหม ชอ สาคัญผิดว่าตนบริสท ุ ธิม ์ ฤ ี ทธิร์ งุ่ โรจน์ด ้วยวิธวี างยาอันวิเศษ คือ เทศนาญาณ และด ้วยเดชของพระผู ้มีพระภาค ั มงคลทัง้ หลายจงมีแก่ข ้าพเจ ้า พระองค์นัน ้ ขอชย

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวธิ านิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปั ญโญ

ั มงคลคาถา ๘ บทนี้ ทุกวัน ย่อมเป็ นเหตุให ้พ ้นอุปัทว แม ้นรชนใดไม่เกียจคร ้าน สวดก็ด ี ระลึกก็ด ี ซงึ่ พุทธชย อันตรายทัง้ ปวง นรชนผู ้มีปัญญาย่อมถึงซงึ่ ความสุขสูงสุดแล สวิ โมกข์นฤพานอันเป็ นเอกันตบรมสุข

มะหาการุ ณิ โ ก

ั พะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สพ ั พา ปั ตโต สม ั โพธิ มะหาการุณโิ ก นาโถ หิตายะ สพ มุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ

ั ว์ทรงบาเพ็ญบารมีทัง้ ปวง เพือ ั ว์ทัง้ หลาย พระพุทธเจ ้าผู ้ทรงมีพระมหากรุณา เป็ นนาถะของสต ่ เกือ ้ กูลแก่มวลสต ั โพธิฐาณอันสูงสุดด ้วยสจ ั วาจา ภาษิตนี้ ขอชย ั มงคลทัง้ หลายจงมีแดท่านเถิด ทรงบรรลุพระสม

ั ยานั ง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยันโต โพธิยา มูเล สก ิ ะปั ลลังเก สเี ส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สพ ั พะ พุทธานัง ชะยะมังคะเล อะปะราชต อัคคัปปั ตโต ปะโมทะติฯ ขอท่านจงมีชยั ชะในชยั มงคลพิธเี หมือนพระจอมมุนี ผู ้เพิม่ พูนความยินดีแก่ ิ บังลังก์ ชาวศากยะทัง้ หลาย ทรงชานะมาร ณ โคนโพธิพฤกษ์ ทรงถือความเป็ นผู ้เลิศบรรเทิง อยูบ ่ นอปราชต ิ​ิ​ิ เหนือพืน ้ ปฐพี อันเป็ นทีแ ่ รกเกิดแห่งดอกบัว เป็ นจอมดินซงึ่ เป็ นทีอภิ ่ เษกแห่ง

สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหฏ ุ ฐิตัง สุขะโณ สุมห ุ ุตโต จะ สุยฏ ิ ฐัง พรัมหมะ จาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธเี ต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ

พระพุทธเจ ้าทุกๆพระองค์ฉะนัน ้ เถิด กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันสุจริต เป็ นฤกษ์ด ี มงคลดี แข็งดี รุง่ ดีขณะ ดี ครูด ่ ี และเป็ นการบูชาดี ในท่านผู ้ประพฤติพรหมจรรย์ทัง้ หลาย คนทากรรมทีส ่ จ ุ ริตย่อมได ้ผลเจริญดี

ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา สพ ั พะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวะตุ สพ ภะวันตุ เตฯขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า อเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอานุภาพแห่ง พระพุทธเจ ้า ขอความสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ ่ เทอญ

ั พะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สพ ั พะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวะตุ สพ ภะวันตุ เตฯ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า อเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอาณุภาพแห่งพระ ธรรมเจ ้าทัง้ ปวง ขอความสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ ่ เทอญ

ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา สพ ั พะสงั ฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวะตุ สพ ภะวันตุ เต ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า อเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอาณุภาพแห่งพระสงฆ์ ทัง้ ปวง ขอความสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ ่ เทอญ


คาถายอดพระกั ณ ฑ์ไ ตรปิ ฎก ยอดพระกัณฑ์ฉ บับ นี้ ได ้มาจากต ้นฉบับ เดิม ที่จ ารไว ้บนใบลานเป็ นอัก ษรขอมซ ึ่ ง เปิ ดกรุ ้ น จะป้ องกัน ครั ง้ แรกที่เ มือ งสวรรคโลก มีบันทึก เอาไว ้ว่า ผู ้ใดสวดมนต์เ ป็ นประจาทุก เช าเย็ ์ องการ ภั ย อันตรายต่างๆได ้รอบด ้าน ภาวนาพระคาถาอืน ่ สัก ๑๐๐ ปี ก็ ไม่เ ท่า กับอานิส งส ข สวดยอดพระกัณฑ์พระไตรปิ ฎกนี้เ พีย งครั ง้ เดีย ว ผู ้ใดที่ส วดครบ ๗ วั น หรือ ครบอายุ ปั จ จุบัน ของตัวเอง จะมีโ ชคลาภ ทามาค ้าขายรุ่ง เรือง ปราศจากภั ย พิบัต ท ิ ั ง้ ปวง

๑. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เป็ นผู ้ไกลจากกิเลส ั ปั นโน วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรง อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสม ถึงพร ้อมด ้วยความรู ้และความประพฤติ

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เป็ นผู ้รู ้แจ ้งโลก ั มาสม ั พุทโธ วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เป็ นผู ้ตรัสรู ้ อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สม เองโดยชอบ อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เป็ นผู ้เสด็จ ไปดีแล ้ว

๒. อะระหัง ตั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้เป็ นพระอรหันต์วา่ เป็ นทีพ ่ งึ่ กาจัดภัย ิ ะสา นะมามิ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้เป็ นพระอรหันต์ ด ้วยเศยี รเกล ้า ได ้จริง อะระหัง ตั ง ส ร สัม มาสัม พุ ทธั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ทรงตรัสรู ้เองโดยชอบว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ิ ะสา นะมามิ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้ทรงตรัสรู ้เอง ด ้วย กาจัดภัยได ้จริง สัม มาสัม พุ ท ธั ง ส ร ี รเกล ้า วิช ชาจะระณะ สัม ปั น นั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ถึงพร ้อมด ้วย เศย ิ ะสา นะมามิ ความรู ้และความป ระพฤติ ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กาจัดภั ยได ้จริง วิช ชาจะระณะ สั ม ปั น นั ง ส ร ี รเกล ้า ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้ถึงพร ้อมด ้วยความรู ้และค วามประพฤติ ด ้วยเศย

สุค ะตั ง สะระณั ง คั จฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้เสด็จไปดีแล ้ว ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กาจัดภั ยได ้จริง สุค ะตั ง ส ริ ะสา นะมามิ ข ้าพเจ ้าขอนอบนอ้ มพระองค์ผู ้เสด็จไปดีแล ้ว ด ้วยเศยี รเกล ้า โลกะวิทั ง สะระณั ง คั จฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้รู ้แจ ้งโลก ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กาจัดภั ยได ้จริง โลกะวิทั ง ส ริ ะสา นะมามิ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้รู ้แจ ้งโลก ด ้วยเศยี รเกล ้า ๓. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะนุ ต ตะโร วัจ จะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เป็ นอนุตตะ โร คือ ยอดเยีย ่ ม อิต ป ิ ิ โส ภะคะวา สัต ถา เทวะมะนุ สสานั ง วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้ มีพระภาคเจ ้านั น ้ เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุ ษย์ทัง้ หลาย อิต ป ิ ิ โส ภะคะวา ปุรส ิ ะธัม มะ สาระถิ วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เป็ นนายสารถีผู ้ฝึ กบุรุษ อิต ป ิ ิ โส ภะคะวา พุท โธ วัจจะ โส ภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เป็ นผู ้ตืน่ จากกิเลส ๔. อะนุ ต ตะรั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ยอดเยีย่ ม ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กาจัดภั ย ได ้จริง

อะนุ ต ตะรั ง ส ริ ะสา นะมามิข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้ยอดเยีย่ ม ด ้วยเศยี รเกล ้า ปุรส ิ ะธั ม มะสาระถิ สะระณั ง คั จ ฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้เป็ นนายสารถีผู ้ฝึ กบุรุษ ว่าเป็ นที่ พึง่ กาจัดภัยได ้จริง ปุร ส ิ ะธั ม มะสาระถิ ส ริ ะสา นะมามิ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้เป็ นนาย ี รเกล ้า สัต ถา เทวะมะนุ ส สานั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึง สารถีผู ้ฝึ กบุรุษ ด ้วยเศย พระองค์ผู ้เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุ ษย์ทัง้ หลายว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กาจัดภัยได ้จริง


สัต ถา เทวะมะนุ ส สานั ง ส ริ ะสา นะมามิ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระองค์ผู ้เป็ น ศาสดาของเทวดา ี รเกล ้า พุท ธั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระองค์ผู ้ตืน และมนุษย์ทัง้ หลาย ด ้วยเศย ่ จากกิเลส ิ ะสา นะมามิ อิต ป ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ กาจัดภั ยได ้จริง พุท ธั ง ส ร ิ ิ โส ภะคะวาฯ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อม ี รเกล ้า พระองค์ผู ้ตืน ่ จากกิเ ลส ด ้วยเศย

๕. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา รูป ะขัน โธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น รูปขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา เวทะนาขั น โธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น เวทนาขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สัญ ญาขั น โธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น สัญญาขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สังขาระขั นโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น สังขารขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วิญ ญาณะขัน โธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัม ปั น โน อิตป ิ ิ โสภะคะวาฯ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น วิญญาณขันธ์ เป็ นอนิจจลักษณะ แต่พระบารมีถงึ พร ้อมแล ้ว

ิ า ตาวะติงสาธาตุสั ม มาทิ ๖. อิตป ิ ิ โสภะคะวา ปะฐะวีจั ก กะวาฬะ จะตุม ะหาราชก ยานะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ ดินจักรวาล เทวโลกชัน้ ิ าและชัน ้ ดาวดึงส ์ จาตุมหาราชก

ิ า ตาวะติงสา ธาตุสั ม มาทิย า อิตป ิ ิ โส ภะคะวา เตโชจั ก กะวาฬะ จะตุม ะหาราชก นะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ ไฟจักรวาล เทวโลกชัน้ จาตุ ิ าและชัน ้ ดาวดึงส ์ มหาราชก

ิ า ตาวะติงสา ธาตุสัม มาทิย า อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วาโยจั กกะวาฬะ จะตุม ะหาราช ก นะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ ลมจักรวาล เทวโลกชัน้ จาตุ ิ าและชัน ้ ดาวดึงส ์ มหาราชก

ิ า ตาวะติงสา ธาตุสั ม มาทิย า อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อาโปจั ก กะวาฬะ จะตุม ะหาราชก นะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ น้าจักรวาล เทวโลกชัน้ จาตุ ิ าและชัน ้ ดาวดึงส ์ มหาราชก

ิ า ตาวะติงสา ธาตุสั ม มาทิ อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อากาสะจั กกะวาฬะ จะตุม ะหาราชก ยานะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ อากาศจักรวาล เทวโลก ้ จาตุมหาราชก ิ าและชัน ้ ดาวดึงส ์ ช ัน

๗. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

ั ้ ยามา พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ สวรรค์ชน

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา นิม มานะระติ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

ั ้ ดุสต ิ พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ สวรรค์ชน

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา รูป าวะจะระ ธาตุสั ม มาทิย านะ สัม ปั น โน

ั ้ นิมมานรดี พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ สวรรค์ชน

ิ า ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ตุส ต

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ อันเป็ นไปในกามาวจรภูม ิ

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ อันเป็ นไปในรูปาวจรภูม ิ


๘. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ ปฐมญาน

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ ทุตย ิ ญาน

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ปั ญ จะมะฌานะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ ตติยญาน

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา ทุต ย ิ ะฌานะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ จตุตถญาน

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา จะตุถ ะฌานะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ ปั ญจมญาน

๙. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อากาสานั ญ จายะตะนะ เนวะสัญ ญานาสัญ ญายะตะนะ อะรู ปาวะจะนะ ธาตุสั ม มาทิย านะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรม ทีเ่ ป็ นธาตุ อันเป็ นไปในอรูปาวจรภูม ิ คือ อากาสานั ญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา วิญ ญาณั ญ จายะตะนะ เนวะสัญ ญานาสัญ ญายะตะนะ อะรูป า วะจะนะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่ เป็ นธาตุ อันเป็ นไปในอรูปาวจรภูม ิ คือ วิญญาณั ญจายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อากิญ จั ญ ญาจายะตะนะ เนวะสัญ ญานาสัญ ญายะตะนะ อะรู ปาวะจะนะ ธาตุสั ม มาทิย านะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรม ทีเ่ ป็ นธาตุ อันเป็ นไปในอรูปาวจรภูม ิ คือ อากิญจัญญายตนะและเนวสัญญานาสัญญายตนะ

๑๐. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา โสตาปะฏิมั ค คะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ พระโสดาปั ตติมรรค

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา สะกิท าคาปะฏิมั ค คะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมั ค คะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค

อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัต ตะปะฏิมั ค คะ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ พระอรหัตตมรรค

๑๑. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัต ตะปะฏิผะละ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน

พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ พระโสดาปั ตติผล และ พระ อรหัตตผล อิต ป ิ ิ โส ภะคะวา สะกิท าคาอะระหัต ตะปะฏิผ ะละ ธาตุสัม มาทิย านะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล และ พระอรหัตตผล อิต ป ิ ิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัต ตะปะฏิผะละ ธาตุสั ม มาทิ ยานะ สัม ปั น โน พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ทรงถึงพร ้อมด ้วยธรรมที่เป็ นธาตุ คือ พระ อนาคามิผล และ พระอรหัตตผล


๑๒. กุส ะลา ธั ม มา อิต ป ิ ิ โส ภะคะวา อะ อา ยาวะช วี ั ง พุทธั ง สะระณั ง คั จฉามิ ชมภูทป ิ ั ญ จะอิส สะโร ธรรมะฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั ้น ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ พระผู ้มีพระภาคเจ ้า ผู ้เป็ นอิสสระแห่งชมภูทวีป

กุสะลา ธั ม มา นะโม พุท ธายะ นะโม ธัม มายะ นะโม สัง ฆายะ ธรรมะฝ่ ายกุศล ขอ นอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระสังฆเจ ้า ปั ญ จะพุทธา นะมามิหัง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้าห ้าพระองค์

อา ปา มะ จุ ปะ ด ้วยหัวใจพระวินัยปิ ฎก ที มะ สัง อัง ขุ ด ้วยหัวใจพระสุตตันตปิ ฎก สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ ด ้วยหัวใจพระอภิธรรมปิ ฎก อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ ด ้วยมนต์คาถา โส โสสะ สะ อะ อะ อะ อะ ด ้วยหัวใจมรรคส ี่ ผลส ี่ และ นิพพานหนึง่ นิ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว ิ ชาติทรงแสดงการบาเพ็ญบารมีสบ ิ ด ้วยหัวใจพระเจ ้าสบ อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ ด ้วยหัวใจพระพุทธคุณเก ้า พะ อิ สะ วา สุ สุ สะ วา อิ ด ้วยหัวใจพระไตรรัตนคุณ กุสะลา ธั ม มา จิต ติ วิอัต ถิ ธรรมะฝ่ ายกุศล มีนัยอันวิจต ิ รพิสดาร

๑๓. อิตป ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชวี ัง พุทธั ง สะระณั ง คั จฉามี สา โพธิปัญ จะ อิส สะโร ธั ม มา พระผู ้มีพระภาคเจ ้านั น ้ เป็ นผู ้ไกลจากกิเลส ข ้าพเจ ้าขอถึง พระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ

๑๔. กุส ะลา ธั ม มา นั นทะวิวังโก อิต ิ สัม มาสัม พุ ท โธ สุค ะลาโน ยาวะชวี ัง พุทธั ง สะระณั ง คั จฉามิ ธรรมะฝ่ ายกุศล ของผู ้มีพระภาคเจ ้า เป็ นผู ้ตรัสรู ้เองโดยชอบ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ

ิ า อิส สะโร กุส ะลา ธั ม มา อิต ิ วิชชาจะระณะ สัม ปั น โน อุ อุ ยาวะ จาตุม ะหาราช ก ั ้ จาตุมหาราชก ิ า ธรรมะฝ่ ายกุศล ชวี ัง พุทธั ง สะระณั ง คั จฉามิ เป็ นอิสสระถึงเทวโลกชน พระผู ้มีพระภาคเจ ้า เป็ นผู ้ถึงพร ้อมด ้วยความรู ้และความประพฤติ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ

ตาวะติงสา อิส สะโร กุส ะลา ธั ม มา นั น ทะปั ญ จะ สุค ะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ั ้ ดาวดึงส ์ ธรรมะฝ่ ายกุศล ยาวะชวี ัง พุทธั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน พระพุทธเจ ้าเป็ นผู ้เสด็จไปดีแล ้ว เป็ นผู ้รู ้แจ ้งโลก ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ

ยามา อิส สะโร กุส ะลา ธั ม มา พรั หมมา สัท ทะปั ญ จะ สั ต ตะ สัต ตาปาระมี อะนุ ต ั ้ ยามา ตะโร ยะมะกะขะ ยาวะชวี ัง พุทธั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน ธรรมะฝ่ ายกุศล ด ้วยความศรัทธาต่อพระพรหม ด ้วยพระบารมีอันยอดเยี่ยมของพระโพธิสัตว์ ทัง้ ห ้า ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ


ิ า อิส สะโร กุส ะลา ธั ม มา ปุ กะ ยะ ปะ ปุรส ๑๕. ตุส ต ิ ะธัม มะสาระถิ ยาวะชวี ัง พุทธั ง สะระณั ง คั จฉามิ ธรรมะฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้า ผู ้เป็ นนายสารถีผู ้ฝึ กบุรุษ ั ้ ดุสต ิ ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน

๑๖. นิม มานะระติ อิส สะโร กุส ะลา ธั ม มา เหตุโปวะ สัต ถา เทวะมะนุ สสานั ง ตะ ถะ ยาวะช วี ั ง พุทธั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ ธรรมะฝ่ ายกุศล พระผู ้มีพระภาคเจ ้า พระองค์ผู ้

เป็ นศาสดาของเทวดาและมนุ ษย์ทัง้ หลาย ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ ั ้ นิมมานรดี เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน

๑๗. ปาระนิม มิต ะ อิส สะโร กุส ะลา ธั ม มา สังขาระขั น โธ ทุกขัง อะนิจจั ง อะนั ต ตา รูป ะขัน โธ พุท ธะปะผะ ยาวะช วี ั ง พุทธัง สะระณั งคั จฉามิ ธรรมฝ่ ายกุศล พระผู ้มี พระภาคเจ ้า เป็ นผู ้รู ้แจ ้ง สงั ขารขันธ์ รูปขันธ์ เป็ นของไม่เทีย ่ ง เป็ นความทุกข์ มิใชเ่ ป็ นตัวตน ั ้ ปรนิม ของเราจริง ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ เป็ นอิสสระถึงสวรรค์ชน มิตตวสวัสดี

๑๘. พรั หมา อิส สะโร กุส ะลา ธั ม มา นั ต ถิปั จจะยา วินะปั ญ จะ ภะคะวะตา ยาวะ นิพ พานั ง สะระณั ง คั จ ฉามิ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัม มั สสะ นะโม สัง ฆั ส สะ พุทธิ ลาโภ กะลากะระกะนา เอเตนะ สัจ เจนะ สุวัต ถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวา หายะ ธรรมะฝ่ ายกุศล ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้า ว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตลอดชวี ต ิ เป็ นอิสสระถึง ั ้ พรหมโลก ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า ขอ สวรรค์ชน นอบน ้อมแด่พระสังฆเจ ้า ด ้วยคาสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด ่ ระนิพพาน ข ้าพเจ ้าขอถึงพระพุทธเจ ้าว่าเป็ นทีพ ่ งึ่ ตราบเข ้าสูพ

๑๙. นะโม พุทธั ส สะ นะโม ธั ม มั สสะ นะโม สัง ฆัส สะ วิต ติ วิต ติ วิต ติ มิต ติ มิต ติ จิต ติ จิต ติ อัต ติ อัต ติ มะยะสุ สุวัต ถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหา ยะ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า ขอนอบ น ้อมแด่พระสังฆเจ ้า ด ้วยการสวดมนต์พระคาถานี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแ ก่ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด

๒๐. อิน ทะสาวัง มะหาอินทาสาวัง จั กกะวัต ติส าวัง มะหาจั ก กะวัต ติส าวัง ิ าวัง มะหาอิส ส ิ าวั ง อิส ส สัป ปุรส ิ ะสาวั ง มะหาสัป ปุรส ิ ะสาวั ง ิ ธิ วิช ชาธะรานั งสาวัง อะระหัต ตะสาวัง สัพพะส ท พรั ห มมะสาวัง มะหาพรั หมมะสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง มุนีส าวัง มะหามุนีส าวัง พุทธะสาวัง ปั จเจกะพุทธะสาวัง สัพพะโลกา อิรย ิ านั งสาวัง เอเตนะ สัจ เจนะ สุวัต ถิ โหนตุ

ด ้วยการสวดพระคาถามหาทิพมนต์นี้ และด ้วยการกล่าวคาสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดี จงมีแก่ข ้าพเจ ้าด ้วยเถิด


ิ ธิกัม มั ง นิพพานั ง ปุญ ญั งภาคะยัง ๒๑. สาวัง คุณั ง วะชะพะลั ง เตชัง วิรย ิ ัง สท ี ั ง ปั ญ ญานิก ตั ป ปั ง สุขัง ส ริ ริ ูปั ง จะตุว ส ิ ะติเ ทสะนั ง โมกขั ง คุยหะกัง ฐานั ง ส ล ขัง เอเตนะ สัจ เจนะ สุวัต ถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหา ยะ ด ้วยการสวดพระคาถา มหาทิพมนต์นี้ และด ้วยการกล่าวคาสัตย์ปฏิญาณนี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแ ก่ข ้าพเจ ้าด ้วย เถิด

๒๒. นะโม พุทธั ส สะ ทุกขัง อะนิจจั ง อะนั ต ตา รูป ะขัน โธ เวทะนาขัน โธ สัญ ญา ขันโธ สังขาระขั น โธ วิญ ญาณะขั นโธ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ผู ้เข ้าถึงรูป

่ ัวตนของเรา ขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ง มิใชต จริง นะโม อิต ป ิ ิ โส ภะคะวาฯ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค์นัน ้

๒๓. นะโม พุทธัส สะ ทุกขัง อะนิจจั ง อะนั ต ตา รูป ะขัน โธ เวทะนาขัน โธ สัญ ญา ขันโธ สังขาระขั น โธ วิญ ญาณะขั นโธ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ผู ้เข ้าถึงรูป

่ ัวตนของเรา ขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ง มิใชต จริง นะโม สะหวากขาโต ภะคะวะตา ธั ม โม ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระธรรม ที่ พระพุทธเจ ้าตรัสไว ้ดีแล ้ว

๒๔. นะโม ธั ม มั ส สะ ทุกขัง อะนิจจั ง อะนั ต ตา รูป ะขัน โธ เวทะนาขัน โธ สัญ ญา ขันโธ สังขาระขั น โธ วิญ ญาณะขั นโธ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า รูปขันธ์ ่ ัวตนของเราจริง เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ง มิใชต ข ้าพเจ ้า นะโม สะหวากขาโต ภะคะวะตา ธั ม โม ขอนอบน ้อมพระธรรมทีพ ่ ระพุทธเจ ้า ตรัสไว ้ดีแล ้ว

๒๕. นะโม ธั ม มั ส สะ ทุกขัง อะนิจจั ง อะนั ต ตา รูป ะขัน โธ เวทะนาขัน โธ สัญ ญา ขันโธ สังขาระขั น โธ วิญ ญาณะขั นโธ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระธรรมเจ ้า รูปขันธ์

่ ัวตนของเราจริง เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ง มิใชต นะโม สุป ะฏิปัน โน ภะคะวะโต สาวะกะสัง โฆ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมพระสงฆ์ สาวกของ พระพุทธเจ ้า ผู ้ปฏิบัตด ิ แ ี ล ้ว

๒๖. นะโม สังฆัส สะ ทุกขัง อะนิจจั ง อะนั ต ตา รูป ะขัน โธ เวทะนาขัน โธ สัญ ญา ขันโธ สังขาระขั น โธ วิญ ญาณะขั นโธ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระสังฆเจ ้า รูปขันธ์ ่ ัวตนของเราจริง เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ เป็ นทุกข์ ไม่เทีย ่ ง มิใชต นะโม สุป ะฏิปัน โน ภะคะวะโต สาวะกะสัง โฆ วาหะปะริต ตั ง ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อม พระสงฆ์ สาวกของพระพุทธเจ ้า ผู ้ปฏิบัตด ิ แ ี ล ้ว

๒๗. นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขั ง อะนิจจั ง อะนั ต ตา ยาวะ ตั สสะ หาโย โม นะ อุ อะ มะ ทุกขั ง อะนิจจั ง อะนั ต ตา ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ด ้วยคา ่ ัวตนของเราจริง สอนของ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ความไม่เทีย ่ ง เป็ นทุกข์ มิใชต

อุ อะ มะ อา วันทา นะโมพุทธายะ นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ ทุกขัง อะนิจ จั ง อะนั ต ตา ข ้าพเจ ้าขอกราบไหว ้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ข ้าพเจ ้าขอนอบน ้อมแด่พระพุทธเจ ้า ด ้วยพระธรรมคาสั่งสอน ความไม่เทีย ่ ง เป็ นทุกข์ มิใช ่ ตัวตนของเราจริง


พระไตรปิ ฎก อา ปา มะ จุ ปะ ที มะ สัง อั ง ขุ สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ วินั ย ปิ ฎก

อา ปา

อา ปา มะ จุ ปะ

ิ ขาบท หรือ ศ ีล - วิภั ง ค์ – สุต ตวิภั ง ค์ ปาฏิโ มกข์ สก

ิ 4, สั ง ฆาทิเ สส 13, อนิย ต 2 อาทิกั ม มิก ะ -ปาราช ก ปาจิต ติย ะ

ขัน ธกะ

มะ จุ ปะ

มหาวรรค จุล วรรค ปริว าร

สุต ตัน ตปิ ฎก

ที มะ สัง อัง ขุ

ที มะ สั ง อัง ขุ

ทีฆ นิก าย

อภิธัม มปิ ฎก

สงั วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ

มั ช ฌิม นิก าย สั ง ยุต ตนิก าย อั ง คุต ตรนิก าย ขุท ทกนิก าย

สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ ธัมมสงั คณี - สงั คณี วิภังค์ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัต ิ กถาวัตถุ ยมก ปั ฏฐาน - มหาปกรณ์

โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ - โลกุตตรธรรมเก ้า มรรคส ี่ ผลส ี่ นิพพานหนึง่ โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ

โสดาปั ตติมรรค โสดาปั ตติผล สกทาคามิมรรค สกทาคามิผล อนาคามิมรรค อนาคามิผล อรหัตตมรรค อรหัตตผล นิพพาน


เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว ิ ชาติ (หัวใจทศชาติ) ทรงแสดงการบาเพ็ญบารมีสบ ิ 10 ทศชาติชาดก - หัวใจพระเจ ้าสบ

เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว

พระเตมียใ์ บ ้ – เนกขัมมบารมี พระมหาชนก – วิรย ิ บารมี พระสุวรรณสาม – เมตตาบารมี พระเนมิราช – อธิษฐานบารมี พระมโหสถ – ปั ญญาบารมี ี บารมี พระภูรท ิ ั ต – ศล พระจันทกุมาร - ขันติบารมี พระมหานารทกัสสปะ – อุเบกขาบารมี ั บารมี วิธรุ บัณฑิต – สจ ั ดร – ทานบารมี พระเวสสน

อะ สงั วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ

นวหรคุณ -อิตป ิ ิ โส เก ้าห ้อง

ิ้ เชงิ บทนีใ้ ชด้ ้านกันไฟทัง้ ปวง ๑.อะระหัง หมายถึง เป็ นผู ้ดับเพลิงทุกข์ เพลิงกิเลสโดยสน ั มาสม ั พุทโธ หมายถึง เป็ นผู ้ตรัสรู ้ชอบได ้ด ้วยตัวพระองค์เอง บทนีใ้ ชเป็ ้ นตบะเดชะเสริมสร ้างสง่าราศ ี ๒.สม ั ปั นโน หมายถึง เป็ นผู ้พร ้อมด ้วยวิชาและจรณะ บทนีใ้ ชด้ ้านโภคทรัพย์โชคลาภ ๓. วิชาจะระณะสม ้ ๔. สุคะโต หมายถึงเป็ นผู ้ดาเนินไปได ้ด ้วยดี บทนีใ้ ชในด ้านการเดินทาง ทัง้ ทางบก น้ า อากาศ ้ ๕.โลกะวิทู หมายถึง เป็ นผู ้รู ้โลกอย่างแจ่มแจ ้ง บทนีใ้ ชภาวะนาเมื อ ่ เข ้าป่ าหรือทีม ่ ด ื ้ ๖. อนุตตโร ปุรส ิ ะทัมมะสารถี หมายถึง เป็ นผู ้ฝึ กบุรุษผู ้ควรฝึ กได ้ อย่างไม่มใี ครยิง่ กว่า บทนีใ้ ชทางมหาอ านาจ ตวาดผี ั ถาเทวะมนุษานัง หมายถึง เป็ นครูของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย บทนีใ้ ชทางเมตามหานิ ้ ๗. สต ยม สมณะ ขุน นางเอ็นดู ้ ๘. พุทโธ หมายถึง ผู ้รู ้ ผู ้ตืน ่ ผู ้เบิกบาน บทนีใ้ ชภาวนาอารมณ์ ทาให ้ไม่ตกตา่ อับจน ั ว์ดังนี้ บทนีใ้ ชในทางป้ ้ ๙. ภะคะวา ติ หมายถึง เป็ นผู ้จาเริญ จาแนก ธรรม สงั่ สอนสต องกันภยันอันตรายอันจะ กระทาแก่เรา ไม่วา่ จะเป็ นมนุษย์


มงคลสูต ร นา (หันทะ มะยัง มังคะละสุตตะคาถาโย ภะนามะ เส.) เอวัมเม สุตงั เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิ ณฑิกส ั สะ อาราเม อะถะ โข อัญญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปั ง เชตะวะนัง โอภาเสตะวา เยนะ ภะคะวา เตนุปะสงั กะมิ อุปสงั กะมิตวา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตวา เอกะมันตัง อัฏฐาส ิ เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาส ิ พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสต ถานัง พรูห ิ มังคะละมุตตะมัง อะเสวะนา จะ พาลานัง ปิ ณฑิตานัญจะ เสวะนา ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ปะฏิรป ู ะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา ั มาปะณิธ ิ จะ อัตตะสม เอตัมมังคะละมุตตะมัง ั จัญจะ สป ิ ปั ญจะ พาหุสจ ิ ขิโต วินะโย ตะ สุสก ิ า จะ ยา วาจา สุภาสต เอตัมมังคะละมุตตะมัง มาตาปิ ตอ ุ ป ุ ั ฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สงั คะโห อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังตะละมุตตะมัง

ในสมัยหนึง่ พระอานนท์เถระเจ ้า ได ้สดับมาว่า พระผู ้มีพระภาคเจ ้าเสด็จประทับอยูใ่ นพระเชตว นาราม ของอนาถปิ ณฑิกเศรษฐี ในกรุงสาวัตถี ครัง้ นัน ้ แล เทพยดาองค์ใดองค์หนึง่ ครัน ้ เมือ ่ ราตรีปฐมยามล่วงไปแล ้ว มีรัศมีอน ั งามยิง่ นัก ิ้ ให ้สว่าง ยังเชตวันทัง้ สน พระพุทธเจ ้าเสด็จประทับอยูใ่ นทีใ่ ดก็เข ้าไปเฝ้ า โดยทีน ่ ัน ้ ครัน ้ เข ้าไปเฝ้ าแล ้ว จึงถวายอภิวาท พระผู ้มีพระ ภาคเจ ้าแล ้ว ยืนอยูใ่ นท่ามกลางสว่ นข ้างหนึง่ ครัน ้ เทพยดานัน ้ ยืนในทีส ่ มควรสว่ นข ้างหนึง่ แล ้วแล ได ้ทูลพระผู ้มีพระภาคเจ ้า ด ้วยคาถาว่า หมูเ่ ทวดาและมนุษย์เป็ นอันมาก ผู ้หวังความสวัสดี ได ้พากันคิดถึงมงคล คือเหตุให ้ถึงความเจริญทัง้ หลาย ขอพระองค์จงเทศนา มงคลอันสูงสุด การไม่คบคนพาลทัง้ หลาย ๑ การคบบัณฑิตทัง้ หลาย ๑ การบูชาชนควรบูชาทัง้ หลาย ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด ๑ การอยูใ่ นประเทศอันสมควร ๑ การเป็ นผู ้มีบญ ุ อันทาแล ้วในกาลก่อน๑ การตัง้ ตนไว ้ชอบ ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด ๑ ิ ปศาสตร์ ๑ การได ้ฟั งมาแล ้วมาก ๑ ศล ึ ษาดีแล ้ว ๑ วินัยอันชนศก วาจาอันชนกล่าวดีแล ้ว ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด ๑ การบารุงมารดาและบิดา ๑ การสงเคราห์ลก ู และเมีย ๑ การงานทัง้ หลายไม่อากูล ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด๑


ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สงั คะโห อะนะวัชชานะ กัมมานิ เอตัมมังตะละมุตตะมัง อาระตี วีระตี ปาปา ั ญะโม มัชชะปานา จะ สญ อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง คาระโว จุ นิวาโต จะ ั ตุฏฐี จะ กะตัญญุตา สน กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ตะโป จะ พรัหมะ จะริยัญจะ ั จานะ ทัสสะนัง อะริยะสจ ั ฉิกริ ย นิพพานะสจ ิ า จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ อะโสกัง วิระชงั เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง เอตาทิสานิ กัตวานะ ั พัตถะ มะปะราชต ิ า สพ ั พัตถะ โสตถิง คัจฉั นติ สพ ตันเตสงั มังคะละมุตตะมัง

การให ้ ๑ การประพฤติธรรม ๑ การสงเคราะห์ญาติทงั ้ หลาย ๑ กรรมทัง้ หลายไม่มโี ทษ ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด การงดเว ้นจากบาป ๑ การเว ้นจากการดืม ่ น้ าเมา ๑ ความไม่ประมาทในธรรมทัง้ หลาย ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด การเคารพ ๑ การไม่จองหอง ๑ อุปการะ อันท่านทาแล ้วแก่ตน ๑ การฟั งธรรมโดยกาล ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด ๑ ความอดทน ๑ การเป็ นผู ้ว่าง่าย ๑ การเห็นสมณะทัง้ หลาย ๑ การเจรจาธรรมโดยกาล ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด ๑ ความเพียรเผากิเลส ๑ ความประพฤติอย่าง พรหม ๑ ั ทัง้ หลาย ๑ การเห็นอริยสจ การทาพระนิพพานให ้แจ ้ง ๑ ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด จิตของผู ้ใด อันโลกธรรมทัง้ หลาย ถูกต ้องแล ้ว ย่อมไม่หวั่นไหว ไม่มโี ศก ปราศจากธุล ี เกษม ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด เทพยดาและมนุษย์ทงั ้ หลาย กระทามงคล ่ นีแ ทัง้ หลายเชน ้ ล ้ว เป็ นผู ้ไม่พา่ ยแพ ้ในทีท ่ ัง้ ปวง ย่อมถึงความสวัสดีในทีท ่ งั ้ ปวง ข ้อนีเ้ ป็ นมงคลอันสูงสุด ของเทพยดา และ มนุษย์ทัง้ หลายเหล่านัน ้ แล

คัดลอกจาก......หนังสือธรรมานุสรณ์ วัดถ้าแฝด ต.เขาน ้อย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี


กะระณี ย ะเมตตะสุต ตั ง (หันทะ มะยัง กะระณียะเมตตะสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส)

ั ตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สน -กิจอันภิกษุ (ผู ้บาเพ็ญสมณธรรมอยูใ่ นป่ า) ผู ้ฉลาดในประโยชน์ ั ตบทอยูเ่ สมอ พึงกระทาก็คอ ใคร่จะบรรลุสน ื

ั โก อุช ู จะ สุหช สก ุ ู จะ

ื่ -พึงเป็ นผู ้อาจหาญ เป็ นคนตรง และเป็ นคนซอ

สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี -เป็ นผู ้ว่าง่าย อ่อนโยน และไม่เย่อหยิง่

ั ตุสสะโก จะ สุภะโร จะ สน ั โดษ เป็ นผู ้เลีย -เป็ นผู ้สน ้ งง่าย

ั ละหุกะวุตติ อัปปะกิจโจ จะ สล

-เป็ นผู ้มีกจิ น ้อย มีความประพฤติเบาพร ้อม(คือเหมาะสม)

ั ตินท๎ รโิ ย จะ นิปะโก จะ สน

-มีอน ิ ทรียอ ์ ันสงบระงับ มีปัญญารักษาตน

อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคท ิ โธ

-เป็ นผู ้ไม่คะนอง เป็ นผู ้ไม่พัวพันกับชาวบ ้าน

นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง -ไม่พงึ ประพฤติในสงิ่ ทีเ่ ลวทรามใดๆ ทีเ่ ป็ นเหตุให ้คนอืน ่ ซงึ่ เป็ นผู ้รู ้ ติเตียนเอาได ้

ั เพ สต ั ตา ภะวันตุ สุขต สุขโิ น วา เขมิโน โหตุ สพ ิ ัตตา ั ว์ทัง้ ปวง จงเป็ นผู ้มีความสุขกายสุขใจ -จงเจริญเมตตาจิตว่า ขอสต มีแต่ความเกษมสาราญเถิด

เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ

ั ว์มช -สต ี วี ต ิ ทัง้ หลาย ทุกเหล่าหมดบรรดามี

ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา

-ทีเ่ ป็ นประเภทเคลือ ่ นไหวได ้ก็ด ี ประเภทอยูก ่ ับทีก ่ ็ด ี

ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา ั ว์มข ั ้ ก็ด ี -เป็ นสต ี นาดลาตัวยาว ปานกลาง หรือสน ั เป็ นสตว์มล ี าตัวใหญ่ ปานกลาง หรือเล็กก็ด ี เป็ นชนิดมีลาตัวละเอียด หรือมีลาตัวหยาบก็ด ี

ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา

-เป็ นจาพวกทีไ่ ด ้เห็นแล ้ว หรือไม่ได ้เห็นก็ด ี

ั ติ อะวิทเู ร เย จะ ทูเร วะสน

-เป็ นผู ้อยูใ่ นทีไ่ กล หรือในทีใ่ กล ้ก็ด ี

ั ภะเวส ี วา ภูตา วา สม

-เป็ นผู ้ทีเ่ กิดแล ้ว หรือกาลังแสวงหาทีเ่ กิดอยูก ่ ็ด ี

ั เพ สต ั ตา ภะวันตุ สุขต สพ ิ ัตตา

ั ว์ทัง้ ปวงนั น -ขอสต ้ จงเป็ นผู ้มีความสุขกายสุขใจเถิด

นะ ปะโร ปะรัง นิกพ ุ เพถะ -บุคคลไม่พงึ ข่มแหงกัน

นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ

-ไม่พงึ ดูหมิน ่ เหยียดหยามกัน ไม่วา่ ในทีไ่ หนๆ


ั ญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ พยาโรสะนา ปะฏีฆะสญ -ไม่พงึ คิดก่อทุกข์ให ้แก่กน ั และกัน เพราะความโกรธและความคุ ้มแค ้น

มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข -มารดาถนอมบุตรคนเดียว ผู ้เกิดในตน ด ้วยการยอมสละชวี ต ิ ของตนแทน ฉั นใด

ั พะภุเตสุ มานะสม ั ภาวะเย อะปะริมาณั ง เอวัมปิ สพ -พึงเจริญเมตตาจิตอันกว ้างใหญ่ อันหาประมาณมิได ้ ั ว์ทัง้ ปวง แม ้ฉั นนั น ในสต ้ เถิด

ั พะโลกัส๎มงิ มานะสม ั ภาวะเย อะปะริมาณั ง เมตตัญจะ สพ ั พาธัง อะเวรัง อะสะปั ตตัง อุทธัง อะโธ จะ ติรย ิ ัญจะ อะสม -พึงเจริญเมตตาจิตอันกว ้างใหญ่ อันหาขอบเขตมิได ้ ั ว์โลกทัง้ สน ิ้ ทัง้ ในทิศเบือ อันไม่มเี วร ไม่มศ ี ัตรูคภ ู่ ัย ไปในสต ้ งบน ในทิศเบือ ้ งตา่ และในทิศขวาง

ิ โน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ ติฏฐัญจะรัง นิสน เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎ รัห๎มะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ -บัณฑิตทัง้ หลาย กล่าวเมตตาวิหารธรรมนีว้ า่ เป็ นพรหมวิหารในพระศาสนานี้

ี ะวา ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สล

ั กายทิฐเิ สย ี ได ้เป็ นผู ้มีศล ี -บุคคลผู ้นัน ้ ละความเห็นผิด คือสก

ั ปั นโน ทัสสะเนนะ สม

-ถึงพร ้อมแล ้ว ด ้วยญาณทัสสนะ ั ๔ ด ้วยญาณ ซงึ่ เป็ นองค์โสดาปั ตติมรรค) (คือการเห็นอริยสจ

กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง

ี ได ้ (ด ้วยอนาคามิมรรค) -สามารถกาจัดความยินดีในกามทัง้ หลายเสย

นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีตฯิ

-ย่อมไม่ถงึ ซงึ่ การนอนในครรภ์อก ี โดยแท ้ทีเดียวแล (คือไม่กลับมาเกิดอีก) วัดอรุณราชวราราม(คณะ๓) เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ


อุป มาใบประดู่ ล าย ี ปาปณฺ ณานิ ปาณินา คเหตฺ วา [๑๑/๑๗๑๒] อถ โข ภควา ปริตฺตานิ สส ภิกฺขู อามนฺ เตส ิ ต กึ มญฺญถ ภิกฺขเว กตม นุ โข พหุตร ฯยานิ วา ี ปาปณฺ ณานิ ปาณินา คหิตานิ ยทิท อุปริ สส ี ปาวเนติ ฯ มยา ปริตฺตานิ สส ี ปาปณฺ ณานิ ปาณินา อปฺปมตฺตกานิภนฺ เต ภควตา ปริตฺตานิ สส คหิตานิ อถ ี ปาวเนติ ฯ โข เอตาเนว พหุตรานิ ยทิท อุปริ สส ครัง้ นัน ้ พระผู ้มีพระภาคทรงถือใบประดูล ่ าย ๒-๓ ใบด ้วยฝ่ าพระหัตถ์ แล ้วตรัสเรียกภิกษุ ทัง้ หลายมา แล ้วตรัสถามว่า ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลายเธอทัง้ หลายจะสาคัญความข ้อนัน ้ เป็ นไฉน ใบ ประดูล ่ าย ๒-๓ ใบทีเ่ ราถือด ้วยฝ่ ามือกับใบทีบ ่ นต ้นไหนจะมากกว่ากัน? ภิกษุ ทัง้ หลายกราบทูล ว่าข ้าแต่พระองค์ผู ้เจริญ ใบประดูล ่ าย ๒-๓ ใบทีพ ่ ระผู ้มีพระภาคทรงถือด ้วยฝ่ าพระหัตถ์ม ี ประมาณน ้อยทีบ ่ นต ้นมากกว่า พระเจ ้าข ้า

เอวเมว โข ภิกฺขเว เอตเทว พหุตร ย โว มยา อภิญฺญาย อนกฺขาต ฯ กสฺมา เจต ภิกฺขเว มยา อนกฺขาต ฯ น เหต ภิกฺขเว อตฺถสญฺหต ิ นาทิพฺรหฺมจริยก น นิพฺพท ิ าย น วิราคาย น นิโรธาย น อุปสมาย น อภิญฺญาย น สมฺโพธาย น นิพฺพานาย สวตฺตติ ฯ ตสฺมาต มยาอนกฺขาต ฯ พ. อย่างนัน ้ เหมือนกัน ภิกษุ ทงั ้ หลาย สงิ่ ทีเ่ รารู ้แล ้วมิได ้บอกเธอทัง้ หลายมีมากก็เพราะเหตุไร ่ รหมจรรย์เบือ เราจึงไม่บอกเพราะสงิ่ นัน ้ ไม่ประกอบด ้วยประโยชน์ มิใชพ ้ งต ้นย่อมไม่เป็ นไปเพือ ่ ความหน่ายความคลายกาหนัด ความดับ ความสงบ ความรู ้ยิง่ ความตรัสรู ้นิพพาน เพราะเหตุนัน ้ เราจึงไม่บอก

[๑๗๑๓] กิญฺจ ิ ภิกฺขเว มยา อกฺขาต ฯ อิท ทุกฺขนฺ ต ิ ภิกฺขเว มยา อกฺขาต อย ทุกฺขสมุทโยติ มยา อกฺขาต อย ทุกฺขนิโรโธติ มยา อกฺขาต อย ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทาติ มยา อกฺขาต ฯ กสฺมา เจต ภิกฺขเว มยา อกฺ ขาต ฯ เอตญฺห ิ ภิกฺขเว อตฺถสญฺหต ิ เอต อาทิพฺรหฺมจริยก เอต นิพฺพท ิ าย วิ ราคาย นิโรธาย อุปสมาย อภิญฺญาย สมฺโพธาย นิพฺพานาย สวตฺตติ ฯ ตสฺ มาต อกฺขาต ฯ ตสฺมา ติห ภิกฺขเว อิท ทุกฺขนฺ ต ิ โยโค กรณีโย ฯเปฯ อย ทุกฺขนิโรธคามินี ปฏิปทาติ โยโค กรณีโยติ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สงิ่ อะไรเราได ้บอกแล ้ว เราได ้บอกแล ้วว่า นีท ้ ก ุ ข์ ... นีท ้ ก ุ ขนิโรธคามินี ปฏิปทา ก็เพราะเหตุไรเราจึงบอก เพราะสงิ่ นัน ้ ประกอบด ้วยประโยชน์ เป็ นพรหมจรรย์เบือ ้ งต ้น ย่อมเป็ นไปเพือ ่ ความหน่าย ... นิพพาน เพราะฉะนัน ้ เราจึงบอกดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย เพราะฉะนัน ้ แหละ เธอทัง้ หลายพึงกระทาความเพียรเพือ ่ รู ้ตามความเป็ นจริงว่า นีท ้ ก ุ ข์ฯลฯ นีท ้ ก ุ ขนิโรธคา มินป ี ฏิปทา ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า ขอเหล่าเทพยดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอานุภาพแห่งพระ ธรรม ขอความสุขสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ ่ ขอสรรพมงคลจงมีแก่ข ้าพเจ ้า ขอเหล่าเทพยดาทัง้ ปวงจงรักษาข ้าพเจ ้า ด ้วยอานุภาพแห่ง พระสงฆ์ ขอความสุขสวัสดีทงั ้ หลาย จงมีแก่ข ้าพเจ ้าทุกเมือ ่


ขคฺควิสาณสุตฺตํ พระไตรปิ ฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิ ฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวตุ ตกะ-สุตตนิบาต [๒๙๖]

|๒๙๖.๔๕๘|

สพฺเพสุ ภูเตสุ นิธาย ทณฺฑํ อวิเหฐยํ อญฺ ตรมฺปิ เตสํ น ปุตฺตมิจฺเฉยฺย กุโต สหายํ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลวางอาชญาในสัตว์ทั้งปวงแล้ว ไม่เบียดเบียนบรรดา สัตว์เหล่านัน้ แม้ผู้ใดผู้หนึ่งให้ลาํ บาก ไม่พึงปรารถนาบุตร จะพึงปรารถนาสหายแต่ที่ไหน พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๕๙|

สํสคฺคชาตสฺส ภวนฺติ เสฺนหา เสฺนหนฺวยํ ทุกฺขมิทํ ปโหติ อาทีนวํ เสฺนหชํ เปกฺขมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

ความเยื่อใยย่อมมีแก่บุคคลผู้เกี่ยวข้องกัน ทุกข์นี้ย่อมเกิดขึ้นตาม ความเยื่อใย บุคคลเล็งเห็นโทษอัน เกิดแต่ความเยื่อใย พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๖๐|

มิตฺเต สุหชฺเช อนุกมฺปมาโน หาเปติ อตฺถํ ปฏิพทฺธจิตฺโต เอตํ ภยํ สนฺถวเปกฺขมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลอนุเคราะห์มิตรสหายเป็นผู้มีจิตปฏิพัทธ์แล้ว ชื่อว่าย่อมยังประโยชน์ให้เสื่อม บุคคลเห็นภัย คือ การยัง ประโยชน์ให้เสื่อมในการเชยชิดนี้ พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือน นอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๖๑|

วํโส วิสาโล ว ยถา วิสตฺโต ปุตฺเตสุ ทาเรสุ จ ยา อเปกฺ ขา วํสากฬีโร ว อสชฺชมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลข้องอยู่แล้ว ด้วยความเยือ่ ใย ในบุตรและภริยา เหมือนไม้ไผ่กอใหญ่เกี่ยวก่ายกัน ฉะนัน้ บุคคลไม่ข้องอยู่เหมือนหน่อไม้ พึงเที่ยวไป ผู้เดียว เหมือน นอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๖๒|

มิโค อรญฺ มฺหิ ยถา อพนฺโธ เยนิจฺฉกํ คจฺฉติ โคจราย วิญฺ ู นโร เสริตํ เปกฺขมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

เนื้อในป่าทีบ่ ุคคลไม่ผูกไว้แล้ว ย่อมไป หากินตามความปรารถนา ฉันใด นรชนผู้รู้แจ้ง เพ่งความ ประพฤติตามความพอใจของตน พึงเที่ยวไปแต่ผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๖๓|

อามนฺตนา โหติ สหายมชฺเฌ วาเส ฐาเน คมเน จาริกาย อนภิชฺฌิตํ เสริตํ เปกฺขมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

การปรึกษาในที่อยู่ ที่ยืน ในการไป ในการเที่ยวย่อมมีในท่ามกลางแห่งสหาย บุคคลเพ่งความ ประพฤติตามความพอใจ ทีพ่ วกบุรุษชั่วไม่เพ่งเล็งแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๖๔|

ขิฑฺฑา รตี โหติ สหายมชฺเฌ ปุตฺเตสุ จ วิปูลํ โหติ เปมํ ปิยวิปฺปโยคํ วิชิคุจฺฉมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

การเล่น การยินดี ย่อมมีในท่ามกลางแห่งสหาย อนึ่ง ความรักที่ ยิ่งใหญ่ย่อมมีในบุตรทั้งหลาย บุคคลเมื่อเกลียดชังความพลัดพราก จากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก พึงเที่ยวไป ผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๖๕|

จาตุทฺทิโส อปฺปฏิโฆ จ โหติ สนฺตุสฺสมาโน อิตรีตเรน ปริสฺสยานํ สหิตา อฉมฺภี เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลย่อมเป็นอยู่ตามสบาย ในทิศทั้งสี่และไม่เดือดร้อน ยินดีดว้ ย ปัจจัยตามมีตามได้ ครอบงําเสียซึ่งอันตราย ไม่หวาดเสียว พึงเป็นผู้เที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๖๖|

ทุสฺสงฺคหา ปพฺพชิตาปิ เอเก อโถ คหฏฺฐา ฆรมาวสนฺตา อปฺโปสฺสุโก ปรปุตฺเตสุ หุตฺวา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

แม้บรรพชิตบางพวก ก็สงเคราะห์ได้ยาก อนึ่ง คฤหัสถ์ผู้อยู่ครอง เรือนสงเคราะห์ ได้ยาก บุคคลเป็นผู้มีความขวนขวายน้อยในบุตร ของผู้อื่น พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๖๗|

โอโรปยิตฺวา คิหิพฺยญฺชนานิ สญฺฉินฺนปตฺโต ยถา โกวิฬาโร เฉตฺวาน ธีโร คิหิพนฺธนานิ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

นักปราชญ์ละเหตุ อันเป็นเครือ่ งปรากฏแห่งคฤหัสถ์ ดุจต้นทองหลางมีใบ ร่วงหล่น ตัดเครื่องผูกแห่งคฤหัสถ์ได้แล้ว พึงเที่ยวไป ผู้เดียว เหมือนนอแรดฉะนัน้


|๒๙๖.๔๖๘|

สเจ ลเภถ นิปกํ สหายํ สทฺธึจรํ สาธุวิหาริธีรํ อภิภุยฺย สพฺพานิ ปริสฺสยานิ จเรยฺย เตนตฺตมโน สติมา ฯ

ถ้าว่าบุคคลพึงได้สหาย ผู้มีปัญญาเครื่องรักษาตน ผู้เที่ยวไปร่วมกัน ได้ มีปรกติอยูด่ ้วยกรรมดี เป็นนักปราชญ์ไซร้ พึงครอบงําอันตราย ทั้งปวง เป็นผู้มีใจชืน่ ชม มีสติ เที่ยวไปกับสหายนั้นหากว่าบุคคลไม่ พึงได้สหายผู้มีปัญญาเครื่องรักษาตน ผู้เที่ยว ไปร่วมกันได้ มีปรกติ อยู่ด้วยกรรมดี เป็นนักปราชญ์ไซร้ พึงเที่ยวไปแต่ผู้เดียว ดุจพระราชาทรงละแว่นแคว้นอัน

|๒๙๖.๔๗๐|

อทฺธา ปสํสาม สหายสมฺปทํ เสฏฺฐา สมา เสวิตพฺพา สหายา เอเต อลทฺธา อนวชฺชโภชี เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

พระองค์ทรงชนะแล้วเสด็จไปแต่ผู้เดียว ดุจช้างชื่อมาตังคะ ละโขลง เที่ยวอยู่ในป่าแต่ผู้เดียว ฉะนั้น เราย่อมสรรเสริญ สหายผู้ถึงพร้อมด้วยศีลขันธ์เป็นต้น พึงคบสหาย ผู้ประเสริฐ สุด ผู้เสมอกัน กุลบุตรไม่ได้สหายผู้ประเสริฐสุดและผู้ เสมอกันเหล่านี้แล้ว พึงเป็นผูบ้ ริโภคโภชนะไม่มีโทษ เที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๗๑|

ทิสฺวา สุวณฺณสฺส ปภสฺสรานิ กมฺมารปุตฺเตน สุนิฏฐฺ ิตานิ สงฺฆฏฺฏมานานิ ทุเว ภุชสฺมึ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลแลดู กําไลทองทั้งสองอันงามผุดผ่อง ที่บุตรแห่งนายช่างทอง ให้ สําเร็จด้วยดีแล้ว กระทบกันอยู่ในข้อมือ พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๗๒|

เอวํ ทุติเยน สหามมสฺส วาจาภิลาโป อภิสชฺชนา วา เอตํ ภยํ อายติ เปกฺขมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

การที่เราจะพึงพูดจากับพระกุมารที่สอง หรือการข้องอยู่ดว้ ยอํานาจ แห่งความเยื่อใย พึงมีได้อย่างนี้ บุคคลเล็งเห็นภัยนี้ในอนาคต พึงเที่ยวไป ผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๗๓|

กามา หิ จิตฺรา มธุรา มโนรมา วิรปู รูเปน มเถนฺติ จิตฺตํ อาทีนวํ กามคุเณสุ ทิสฺวา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

ก็กามทั้งหลายงามวิจิตร มีรสอร่อย เป็นทีร่ ื่นรมย์ใจ ย่อมย่ํายีจติ ด้วยรูปแปลกๆบุคคลเห็นโทษในกามคุณทั้งหลายแล้ว พึงเที่ยวไปผู้ เดียวเหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๗๔|

อีตี จ คณฺโฑ จ อุปทฺทโว จ โรโค จ สลฺลญฺจ ภยญฺจ เมตํ เอตํ ภยํ กามคุเณสุ ทิสฺวา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลเห็นภัย คือ จัญไร ผีอุปัทวะ โรค ลูกศร และความน่ากลัวนี้ ในกามคุณทั้งหลายแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๗๕|

สีตญฺจ อุณฺหญฺจ ขุทํ ปิปาสํ วาตาตเป ฑํสสิรึสเป จ สพฺพานิเปตานิ อภิสมฺภวิตวฺ า เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลพึงครอบงําอันตรายเหล่านี้แม้ทั้งปวง คือ หนาว ร้อน หิว ระหาย ลม แดด เหลือบและสัตว์เสือกคลานแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๗๖|

นาโคว ยูถานิ วิวชฺชยิตฺวา สญฺชาตกฺขนฺโธ ปทุมี อุฬาโร ยถาภิรนฺตํ วิหรํ อรญฺเ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโปฯ

บุคคลพึงเป็นผู้เที่ยวไปผู้เดียวเช่นกับนอแรด เปรียบเหมือนช้างใหญ่ผู้เกิดในตระกูลปทุม มีศีลขันธ์เกิดขึน้ แล้ว ละโขลงอยูใ่ นป่าตาม อภิรมย์ ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๗๗|

อฏฺฐาน ตํ สงฺคณิการตสฺส ยํ ผุสฺสเย สามยิกํ วิมุตฺตํ อาทิจฺจพนฺธุสฺส วโจ นิสมฺม เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

(พระปัจเจกพุทธเจ้าได้กล่าวกึ่งคาถาว่า) บุคคลพึงใคร่ครวญถ้อยคํา ของพระพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุพ์ ระ- อาทิตย์ว่า การที่บุคคลผู้ยนิ ดี แล้วด้วยการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ จะพึงบรรลุวิมุตติอันมีในสมัยนั้น ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ (พระกุมารได้กล่าวกึ่งคาถาที่พระปัจเจกพุทธ เจ้านามว่าอาทิจจ พันธุกล่าวแล้วให้บริบูรณ์วา่ ) พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น


|๒๙๖.๔๗๘|

ทิฏฺฐีวิสูกานิ อุปาติวตฺโต ปตฺโต นิยามํ ปฏิลทฺธมคฺโค อุปปฺ นฺน าโณมฺหิ อนญฺ เนยฺโย เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

เราล่วงพ้นทิฐิอันเป็นข้าศึกได้แล้ว ถึง ความเป็นผู้เที่ยง ได้มรรค แล้ว เป็นผู้มีญาณเกิดขึ้นแล้ว อันผู้อื่นไม่พึงแนะนําพึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๗๙|

นิลโฺ ลลุโป นิกฺกโุ ห นิปฺปปิ าโส นิมฺมกฺโข นิทฺธนฺตกสาวโมโห นิราสโย สพฺพโลเก ภวิตฺวา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลผู้ไม่โลภ ไม่หลอกลวง ไม่มีความกระหาย ไม่ลบหลู่ มีโมหะดุจน้าํ ฝาดอันกําจัดเสียแล้ว ไม่มีความอยาก ครอบงํา โลกทั้งปวงได้แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๘๐|

ปาปํ สหายํ ปริวชฺชเยถ อนตฺถทสฺสึ วิสเม นิวิฏฺ สยํ น เสเว ปสุตํ ปมตฺตํ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

กุลบุตรพึงเว้นสหายผู้ลามกไม่พงึ เสพด้วยตนเอง ซึ่งสหายผู้ชี้บอก ความฉิบหายมิใช่ประโยชน์ ผู้ตั้งอยู่ในกรรม อันไม่เสมอ ผู้ข้องอยู่ ผู้ ประมาท พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๘๑|

พหุสฺสุตํ ธมฺมธรํ ภเชถ มิตฺตํ อุฬารํ ปฏิภาณวนฺตํ อญฺ าย อตฺถานิ วิเนยฺย กงฺขํ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลพึงคบมิตรผู้เป็นพหูสูต ทรงธรรม ผู้ยิ่งด้วยคุณธรรม มี ปฏิภาณ บุคคลรูจ้ ักประโยชน์ ทัง้ หลาย กําจัดความสงสัยได้แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๘๒|

ขิฑฺฑํ รตึ กามสุขญฺจ โลเก อนลงฺกริตฺวา อนเปกฺขมาโน วิภสู นฏฺฐานา วิรโต สจฺจวาที เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลไม่พอใจการเล่น ความยินดี และกามสุขในโลกแล้ว ไม่เพ่งเล็ง อยู่ เว้นจากฐานะแห่ง การประดับ มีปรกติกล่าวคําสัตย์ พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๘๓|

ปุตตฺ ญฺจ ทารํ ปิตรญฺจ มาตรํ ธนานิ ธญฺ านิ จ พนฺธวานิ หิตฺวาน กามานิ ยโถธิกานิ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลละบุตร ภริยา บิดา มารดา ทรัพย์ ข้าวเปลือก พวกพ้อง และกามซึ่งตั้งอยู่ ตามส่วนแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

๒๙๖.๔๘๔|

สงฺโค เอโส ปริตฺตเมตฺถ โสขฺยํ อปฺปสฺสาโท ทุกฺขเมตฺถ ภิยฺโย คณฺโฑ ๑- เอโส อิติ ตฺวา มติมา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บัณฑิตทราบว่า ความเกี่ยวข้องในเวลาบริโภคเบญจกามคุณนี้ มีสุขน้อย มีความยินดีน้อย มีทุกข์มาก ดุจหัวฝี ดังนี้แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๘๕|

สนฺทาลยิตฺวาน สํโยชนานิ ชาลํ ว เฉตฺวา สลิลมฺพุจารี อคฺคีว ทฑฺฒํ อนิวตฺตมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลพึงทําลาย สังโยชน์ทั้งหลายเสีย เหมือนปลาทําลายข่าย เหมือนไฟ ไม่หวนกลับมาสู่ที่ไหม้แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือน นอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๘๖|

โอกฺขิตฺตจกฺขุ น จ ปาทโลโล คุตฺตินฺทฺริโย รกฺขิตมานสาโน อนวสฺสุโต อปริฑยฺหมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลผู้มีจักษุทอดลงแล้ว ไม่คะนองเท้า มี อินทรีย์อันคุ้มครองแล้ว มีใจอันรักษาแล้ว ผู้อนั กิเลสไม่รวั่ รด แล้ว และอันไฟ คือกิเลสไม่แผด เผาอยู่ พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๘๗|

โอหารยิตฺวา คิหิพฺยญฺชนานิ สญฺฉินฺนปตฺโต ยถา ปาริฉตฺโต กาสายวตฺโถ อภินิกฺขมิตฺวา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลละเพศแห่งคฤหัสถ์ ดุจต้นทองหลางมีใบร่วงหล่นแล้ว นุ่งห่ม ผ้ากาสายะ ออก บวชเป็นบรรพชิต พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๘๘|

รเสสุ เคธํ อกรํ อโลโล อนญฺ โปสี สปทานจารี กุเล กุเล อปฺปฏิพทฺธจิตฺโต เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

ภิกษุไม่กระทําความยินดีในรสทัง้ หลาย ไม่โลเล ไม่เลี้ยงคนอื่น มี ปรกติเที่ยวบิณฑบาตตามลําดับตรอก ผู้มี จิตไม่ผูกพันในตระกูล พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น


|๒๙๖.๔๘๙|

ปหาย ปญฺจาวรณานิ เจตโส อุปกฺกิเลเส พฺยปนุชฺช สพฺเพ อนิสฺสิโต เฉตฺวา สิเนหโทสํ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลละธรรมเป็นเครือ่ งกั้นจิต ๕ อย่าง บรรเทา อุปกิเลสทั้งปวง แล้ว ผู้อนั ทิฐิไม่อาศัย ตัดโทษคือความเยื่อใยได้แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๙๐|

วิปฏิ ฺฐิกตฺวาน สุขํ ทุกฺขญฺจ ปุพเฺ พว จ โสมนสฺสโทมนสฺสํ ลทฺธานุเปกฺขํ สมถํ วิสุทฺธํ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลละสุข ทุกข์ โสมนัสและโทมนัสในกาลก่อนได้ ได้อุเบกขาและสมถะอันบริสุทธิ์แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๙๑|

อารทฺธวิริโย ปรมตฺถปตฺติยา อลีนจิตฺโต อกุสีตวุตฺตี ทฬฺหนิกฺกโม ถามพลูปปนฺโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลปรารภความเพียรเพื่อบรรลุ ปรมัตถประโยชน์ มีจิตไม่หดหู่ มี ความประพฤติไม่เกียจคร้าน มีความบากบั่นมัน่ ถึงพร้อมแล้วด้วย กําลังกายและกําลังญาณ พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๙๒|

ปฏิสลฺลานํ ฌานมริญฺจมาโน ธมฺเมสุ นิจฺจํ อนุธมฺมจารี อาทีนวํ สมฺมสิตา ภเวสุ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลไม่ละการหลีกเร้นและฌาน มีปรกติประพฤติธรรม อันสมควร เป็นนิตย์ในธรรมทั้งหลาย พิจารณาเห็นโทษใน ภพทั้งหลาย พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๙๓|

ตณฺหกฺขยํ ปตฺถยํ อปฺปมตฺโต อเนลมูโค สุตวา สติมา สงฺขาตธมฺโม นิยโต ปธานวา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลผู้ปรารถนาความสิ้นตัณหา พึงเป็นผู้ไม่ประมาท ไม่เป็นคนบ้า คนใบ้ มีการสดับ มีสติ มีธรรมอันกําหนดรู้แล้ว เป็นผู้เที่ยง มีความ เพียร พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๙๔|

สีโหว สทฺเทสุ อสนฺตสนฺโต วาโตว ชาลมฺหิ อสชฺชมาโน ปทุมํว โตเยน อลิมฺปมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลไม่สะดุ้งในธรรมมีความ ไม่เที่ยงเป็นต้น เหมือนราชสีห์ไม่สะดุ้งในเสียง ไม่ข้องอยู่ ในธรรมมีขันธ์และอายตนะเป็นต้น เหมือนลมไม่ข้องอยู่ ในข่าย ไม่ติดอยู่ดว้ ยความยินดีและความโลภ เหมือน ดอกปทุมไม่ติดอยูด่ ้วยน้ํา พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น

|๒๙๖.๔๙๕|

สีโห ยถา ทาฐพลี ปสยฺห ราชา มิคานํ อภิภุยฺยจารี เสเวถ ปนฺตานิ เสนาสนานิ เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลพึงเสพเสนาสนะอันสงัด เป็นผู้เที่ยวไป ผู้เดียวเช่นกับนอแรด เหมือนราชสีห์มีเขี้ยวเป็นกําลัง ข่มขี่ ครอบงําหมู่เนื้อเที่ยวไป เหมือน นอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๙๖|

เมตฺตํ อุเปกฺขํ กรุณํ วิมุตฺตํ อาเสวมาโน มุทิตญฺจ กาเล สพฺเพน โลเกน อวิรุชฺฌมาโน เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

บุคคลเสพอยู่ซึ่งเมตตาวิมุติ กรุณาวิมุติ มุทิตาวิมุติ และอุเบกขาวิมุติ ในกาลอันควร ไม่ยนิ ร้ายด้วยโลกทั้งปวง พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือน นอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๙๗|

ราคญฺจ โทสญฺจ ปหาย โมหํ สนฺทาลยิตฺวาน สํโยชนานิ อสนฺตสํ ชีวิตสงฺขยมฺหิ

บุคคลละราคะ โทสะ และโมหะแล้ว ทําลายสังโยชน์ทั้งหลายแล้ว ไม่สะดุ้งในเวลาสิน้ ชีวิต พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนัน้

|๒๙๖.๔๙๘|

ภชนฺติ เสวนฺติ จ การณตฺถา นิกกฺ ารณา ทุลฺลภา อชฺช มิตฺตา อตฺตตฺถปญฺ า อสุจี มนุสฺสา เอโก จเร ขคฺควิสาณกปฺโป ฯ

มนุษย์ทั้งหลายผู้ไม่สะอาด มีปญ ั ญามุ่งประโยชน์ตน ย่อมคบหา สมาคมเพราะมีเหตุเป็นประโยชน์ ผู้ไม่มีเหตุมาเป็นมิตร หาได้ยาก ในทุกวันนี้ บุคคล พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น ฯ


ปฏิจ จสมุป บาท อวิชชาปั จจะยา สงั ขารา สงั ขาระปั จจะยา วิญญานั ง วิญญาณะปั จจะยา นามะรูปัง นามะรูปะปั จจะยา สะฬายะตะนัง สะฬายะตะนะปั จจะยา ผัสโส ผัสสะปั จจะยา เวทนา เวทะนายะปั จจะยา ตัณหา ตัณหาปั จจะยา อุปาทานัง อุปาทานะปั จจะยา ภะโว ภะวะปั จจะยา ชาติ ชาติปัจจะยา ชะรามะระณั ง

เพราะอวิชชาเป็ นปั จจัย สงั ขารจึงมี เพราะสงั ขารเป็ นปั จจัย วิญญาณจึงมี เพราะวิญญาณเป็ นปั จจัย นามรูปจึงมี เพราะนามรูปเป็ นปั จจัย สฬายตนะจึงมี เพราะสฬายตนเป็ นปั จจัย ผัสสะจึงมี เพราะผัสสะเป็ นปั จจัย เวทนาจึงมี เพราะเวทนาเป็ นปั จจัย ตัณหาจึงมี เพราะตัณหาเป็ นปั จจัย อุปาทานจึงมี เพราะอุปาทานเป็ นปั จจัย ภพจึงมี เพราะภพเป็ นปั จจัย ชาติจงึ มี เพราะชาติเป็ นปั จจัย ชรามรณะจึงมี

ั ภะวันติ โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา สม

ความโศก ความครา่ ครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค ้นใจ ก็มพ ี ร ้อม

เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ สะมุทะโย โหติ การเกิดขึน ้ แห่งกองทุกข์ทัง้ ปวงนี้ จึงมีด ้วยประการฉะนี้ ฯ

อวิชชายะ เตววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สงั ขาระนิโรโธ เพราะอวิชชาสารอกดับไปไม่เหลือ สงั ขารจึงดับ

สงั ขาระนิโรธา วิญาณะนิโรโธ วิญญาณะนิโรธา นามรูปะนิโรโธ นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ ผัสสะนิโรธา เวทนานิโรโธ เวทนานิโรธา ตัณหานิโรโธ ตัณหานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ ภะวะนิโรธา ชาตินโิ รโธ ชาตินโิ รธา ชะรามะระณั ง

เพราะสงั ขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะนามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจงึ ดับ เพราะชาติดบ ั ชรามรณะจึงดับ

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ

ความโศก ความครา่ ครวญ ทุกข์ โทมนัส และความคับแค ้นใจจึงดับ

เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ นิโรโธ โหติ การดับแห่งกองทุกข์ทัง้ ปวงนี้ จึงมีด ้วยประการฉะนี้ ฯ


๗. อาณิสูต ร - สั ง ยุ ต ตนิก าย นิท านวรรค โอปั มมสั ง ยุ ต ต์ ๗. อาณิสต ู ร [๖๗๒] พระผู ้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อารามของท่าน อนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ... พระผู ้มีพระภาคได ้ตรัสว่า ดูกรภิกษุ ื่ อานกะของพวกกษั ตริยผ ทัง้ หลาย เรือ ่ งเคยมีมาแล ้ว ตะโพนชอ ์ ู ้มีพระนามว่า ทสารหะได ้มีแล ้ว เมือ ่ ตะโพนแตก พวกทสารหะได ้ตอกลิม ่ อืน ่ ลงไป สมัยต่อมา ื่ อานกะก็หายไป ยังเหลือแต่โครงลิม โครงเก่าของตะโพนชอ ่ แม ้ฉั นใด ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย พวกภิกษุ ในอนาคตกาล เมือ ่ เขากล่าวพระสูตรทีต ่ ถาคตกล่าวแล ้ว อันลึก มีอรรถอันลึก เป็ นโลกุตตระ ประกอบด ้วยสุญญตธรรม อยู่ จักไม่ปรารถนาฟั ง ึ ษา จักไม่เข ้าไปตัง้ จิตเพือ ่ รู ้ และจักไม่สาคัญธรรมเหล่านั น ้ ว่าควรเล่าเรียน ควรศก แต่วา่ เมือ ่ เขากล่าวพระสูตรอันนักปราชญ์รจนาไว ้ อันนักปราชญ์ร ้อยกรองไว ้ มี อักษรอันวิจต ิ ร มีพยัญชนะอันวิจต ิ ร เป็ นของภายนอก เป็ นสาวกภาษิต อยู่ จัก ปรารถนาฟั งด ้วยดี จักเงีย ่ โสตลงสดับ จักเข ้าไปตัง้ ไว ้ซงึ่ จิตเพือ ่ รู ้ และจักสาคัญ ึ ษา ฯ ธรรมเหล่านั น ้ ว่าควรเรียน ควรศก [๖๗๓] ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย พระสูตรเหล่านัน ้ ทีต ่ ถาคตกล่าวแล ้ว อันลึก มีอรรถอันลึก เป็ นโลกุตตระ ประกอบด ้วยสุญญตธรรม จักอันตรธาน ึ ษาอย่างนีว้ า่ เมือ ฉั นนัน ้ เหมือนกัน เพราะเหตุดังนีน ้ ัน ้ เธอทัง้ หลายพึงศก ่ เขา กล่าวพระสูตรทีต ่ ถาคตกล่าวแล ้ว อันลึก มีอรรถอันลึก เป็ นโลกุตตระ ประกอบ ด ้วยสุญญตธรรม อยู่ พวกเราจักฟั งด ้วยดี จักเงีย ่ โสตลงสดับ จักเข ้าไปตัง้ ไว ้ซงึ่ ึ ษา ดังนี้ ดูกรภิกษุ จิตเพือ ่ รู ้ และจักสาคัญธรรมเหล่านั น ้ ว่า ควรเรียน ควรศก ึ ษาอย่างนีแ ทัง้ หลาย เธอทัง้ หลายพึงศก ้ หละ ฯจบ สูตรที่ ๗ [๖๗๒] สาวตฺถย ิ วิหรติ ... ภูตปุพฺพ ภิกฺขเว ทสารหาน ิ อานโก นาม มุทงิ ฺโค อโหส ิ ฯ ตสฺส ทสารหา อานเก ผฬเตอญฺ ญ อาณึ โอทหึสฯ ุ อหุ โข โส ภิกฺขเว สมโย ย อานกสฺส มุทงิ ฺ คสฺส โปราณ โปกฺขร ผลก อนฺ ตรธายิ อาณิสงฺ ฆาโต ิ ยิฯ เอวเมว โข ภิกฺขเว ภวิสฺสนฺ ต ิ ภิกฺขู อนาคตมทฺธาน เย เต สุตฺตนฺ ตา ตถาคตภา จ ๑- อวสส ิ า คมฺภรี า คมฺภรี ตฺถา โลกุตฺตรา สุญฺญตปฏิสญฺญต ิ ฺสนฺ ต ิ สต ุ ฺตา เตสุ ภญฺญมาเนสุ น สุสฺสส ุ ส ๒- นอญฺญาจิตฺต อุปฏฺฐาเปสฺสนฺ ต ิ น จ เต ธมฺเม อุคฺคเหตพฺพ ปริยาปุณต ิ พฺพมญฺญส ิ ฺสนฺ ตฯิ เย ิ า เตสุ ภญฺญ ปน เต สุตฺตนฺ ตา กวิกตา กาเวยฺยา จิตฺตกฺขรา จิตฺตพฺยญฺชนา พาหิรกา สาวกภาสต ิ ฺสนฺ ต ิ โสต โอทหิสฺสนฺ ต ิ อญฺญาจิตฺต อุปฏฺฐาเปสฺสนฺ ต ิ เตจ ธมฺเมอุคฺคเหตพฺพ มาเนสุ สุสฺสส ุ ส ปริยาปุณต ิ พฺพ มญฺญส ิ ฺสนฺ ต ิ ฯ ิ าน คมฺภรี าน ๑- คมฺภรี ตฺถาน โลกุตฺ [๖๗๓] เอวเมว เตส ภิกฺขเว สุตฺตนฺ ตาน ตถาคตภาสต ิ ฺ ขต ตราน สุญฺญตปฏิสญฺญต ุ ฺตาน อนฺ ตรธาน ภวิสฺสติ ฯ ตสฺมาติห ภิกฺขเว เอว สก ิ พฺพ เย เต ิ า คมฺภรี า คมฺภรี ตฺถา โลกุตฺตรา สุญฺญตปฏิสญฺญต สุตฺตนฺ ตา ตถาคตภาสต ุ ฺตา เตสุ ภญฺญมาเนสุ ิ ฺสาม โสต @เชงิ อรรถ: ๑ ม. ยุ. ว ฯ ๒ ม. สุสฺสส ิ ฺสนฺ ต ิ ฯ เอวมุปริปิ ฯ โอทหิสฺสาม สุสฺสส ุ ส ู ส อญฺญาจิตฺต อุปฏฺฐาเปสฺสาม เตจ ธมฺเม อุคฺคเหตพฺพ ปริยาปุณต ิ พฺพ มญฺญส ิ ฺสามาติเอวญฺห ิ ิ ฺขต โว ภิกฺขเว สก ิ พฺพนฺ ต ิ ฯ สตฺตม ฯ


คาถาพระพุ ท ธเจ า้

5

องค์ต อนชนะมาร

ปั ญ จะมาเรช โิ นนาโถ ปั ต โตสัม โพธิมุต ตะมั ง ข ้าพเจ ้าขอนอบน อ ้ มบูช าพระพุท ธองค์ ผู ้ทรงชนะมารทั ง้ ห ้า ผู ้ถึง พร ้อมด ้วยปั ญ ญาวิมุต

จตุสัจ จั งปกาเสส ิ ธั ม มจั ก กัง ปวัต ตะยิ ผู ้ทรงประกาศอริย สั จ ส ี่ ผู ้ยั ง ให ้พระธั ม มจั ก รให ้หมุน ไป

เอเตนะสัจ จะวั ชเชนะ โหตุเ มชยมั งคะลัง ด ้วยการกล่า วสัจ จวาจานี้ ขอชั ย มงคลจงมีแ ก่ข ้าพเจ ้าเทอญ (หากสวดให ้ผู ้อื่น ให ้เปลี่ย น เม เป็ น เต)

คาถามหาวิเ ศษ

นโม พุทธายะ นะมะพะทะ จะภะกะสะ มะอะอุ อิสวาสุอาปามะจุปะ ทีมะสงั อังคุ สงั วิธาปุกะยะปะ สะทะวิปิปปะสะอุ อะสงั วิสโุ ลปุสะพุภะ นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอออนออะ นะอะกะ อัง อิตอ ิ ะ ระหังพุทธังสรณังคัจฉามิ อิตอ ิ ะระหังธัมมังสะระณั งคัจฉามิ อิตอ ิ ะระอังสงั ฆังสะระณั งคัจฉามิ ติต ิ ิ งั รูปังนิพพานัง นามะรูปังทุกขัง นามะรูปังอนิจจัง นามะรูปังอนัตตา อะ อุนิ จิเจรุนจ ิ ต ิ ตัง เจตะสก ั มาสม ั พุทโธ พุทธสงั มิ มังคะลังโวเจติ อิ ยังอัตตะพาโว อสุจ ิ อสุภัง อะระหังหะรินังหัคคะตา สม ติอะระหัง อะระหังพุทโธ นโมพุทธายะ ้ เป็ น คาถาทีเ่ จ ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์โต ใชเสกผงท าพระสมเด็จ คาถานีแ ้ ก ้คุณไสย ได ้ ทุกประการและสวดบ่อยๆยังเป็ นการอาราธนาคุณพระเข ้าตัวอีกด ้วย คาถานี้ สมเด็จโตได ้ ื ต่อคาถานีม ถ่ายทอดให ้กับ หลวงพ่อเงินบางคลาน และพระอาจารย์ทางพิจต ิ รทัง้ หลายได ้สบ ้ า ้ จนถึง พระครูพม ิ ลธรรมานุดษ ิ ฐ์ (หลวงพ่อขวัญ ปวโร วัดบ ้านใร่ จ.พิจต ิ ร)ท่านใด ้ใชเสกตะกั ว่ ใน การทาตะกร ้อปรากฏว่าคงกระพันแคล ้วคลาดดีมาก ท่านจึงได ้ถ่ายทอดให ้สาธุชนได ้ท่อง ื มา สาธยายสบ


กาลามสูต ร

ิ้ ดี เหล่าผู ้เชย ี่ วชาญทีว่ ก สาหรับผู ้ที่ ไร ้อารมณ์ขน ั สน ิ พ ิ เี ดียมีบทความ ทีโ่ คตรมีสาระที่ ทีน ่ !ี่ กาลามสูตร แปลว่า พระสูตรทีพ ่ ระพุทธเจ ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมูบ ่ ้านเกสปุตติยนิคม แคว ้นโกศล เรียกว่า เกสปุตตสูตร ก็ม ี ื่ ไม่ให ้เชอ ื่ งมงายโดยไม่ใชปั้ ญญาพิจารณาให ้เห็นจริงถึงคุณ กาลามสูตรเป็ นหลักแห่งความเชอ ื่ มี ๑๐ ประการคือ โทษหรือดีไม่ด ี ก่อนเชอ ื่ ตามทีฟ ๑.มา อนุสสเวนะ อย่าเพิง่ เชอ ่ ั งๆ กันมา ื่ ตามทีท ๒.มา ปรัมปายะ อย่าเพิง่ เชอ ่ าต่อๆ กันมา ื่ ตามคาเล่าลือ ๓.มา อิตก ิ ริ ายะ อย่าเพิง่ เชอ ั ปทาเนนะ อย่าเพิง่ เชอ ื่ โดยอ ้างตารา ๔.มา ปิ ฏกสม ื่ โดยนึกเดา ๕.มา ตักกเหตุ อย่าเพิง่ เชอ ื่ โดยคาดคะเนเอา ๖.มา นยเหตุ อย่าเพิง่ เชอ ื่ โดยนึกคิดตามแนวเหตุผล ๗.มา อาการปริวต ิ ก ั เกนะ อย่าเพิง่ เชอ ื่ เพราะถูกกับทฤษฎีของตน ๘.มา ทิฏฐินช ิ ฌานักขันติยา อย่าเพิง่ เชอ ื่ เพราะมีรป ื่ ได ้ ๙.มา ภุพพรูปตายะ อย่าเพิง่ เชอ ู ลักษณ์ทค ี่ วรเชอ ื่ เพียงเพราะผู ้พูดเป็ นครูบาอาจารย์ของตน ๑๐.มา สมโณ โน ครูต ิ อย่าเพิง่ เชอ

เมือ ่ ใด ท่านทัง้ หลายพึงรู ้ด ้วยตนเองว่า ธรรมเหล่านีเ้ ป็ นกุศล ธรรมเหล่านีไ้ ม่มโี ทษ ธรรมเหล่านี้ ท่านผู ้รู ้สรรเสริญ ธรรมเหล่านีใ้ ครสมาทานให ้บริบรู ณ์แล ้ว เป็ นไปเพือ ่ ประโยชน์เกือ ้ กูล เพือ ่ ความสุข เมือ ่ นัน ้ ท่านทัง้ หลายควรเข ้าถึงธรรมเหล่านัน ้ เถิด


คาถาบูช าหลวงปู่ ใหญ่ พ ระครู ธ รรมเทพโลกอุ ด ร โย อะริโย มะหาเถโร ั ภิทัปปั ตโต ปะฎิสม พะหู เมตตาทิวาสะโน อะมะตัญเญวะ สุชวี ะติ โส โลกุตตะโร นาโม อิธะ ฐานูปะมาคัมมะ ปุตตะเมวะ ปิ ยัง เทส ี ปะระมะสารีรก ิ ะธาตุ โส โลเก จะ อุปปั นโน อะยัง โน โข ปุญญะลาโภ สาธุกันตัง อะนุกะริสสามะ โลกุตตะโร จะ มะหาเถโร โลกุตตะระคุณัง เอตัง มะหาเถรานุภาเวนะ

อะระหัง อะภิญญาธะโร เตวิชโช พุทธะสาวะโก มะหาเถรานุสาสะโก อะภินันที คุหาวะนัง อัมเหหิ อะภิปช ู โิ ต กุสะเล โน นิโยชะเย มัคคะผะลัง วะ เทสสะติ วะชริ ัญจาปิ วานิตัง เอเกเนวะ หิตังกะโล อัปปะมัตโต ภะเวตัพโพ ิ ัง ยังวะเรนะ สุภาสต เทวะตานะระปูชโิ น อะหัง วันทามิ ตัง สะทา สุขัง โสตถีภะวันตุเม


บทกรวดน้ า อิม ิน า นะโม 3 จบ

อิมน ิ า ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา อาจะริยป ู ะการา จะ มาตา ปิ ตา จะ ญาตะกา ปิ ยา มะมัง สุรโิ ย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ พรัหมมะ มาราจะ อินทา จะ ทุโลกะปาลา จะ เทวะตา ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ ั เพ สต ั ตา สุข ี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม สพ สุขัง จะ ติวธิ ัง เทนตุ ขิปปั ง ปาเปถะ โว มะตัง อิมน ิ า ปุญญะกัมเมนะ อิมน ิ า อุททิเสนะ จะ ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุ ปาทานะเฉทะนัง ั ตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง เย สน ั ตุ สพ ั พะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว นัสสน ั เลโข วิรย อุชจ ุ ต ิ ตัง สะติปัญญา สล ิ ัมหินา มารา ละภันตุ โนกาสงั กาตุญจะ วิรเิ ยสุ เม พุทธาทิปะ วะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม นาโถ ปั จเจกะพุทโธ จะ สงั โฆ นาโถตตะโร มะมัง เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสงั ละภันตุมา ั โพธิ มุตตะมัง ปั ญจะมาเร ชเิ ร นาโถ ปั ตจะสม ั จัง ปะกาเสส ิ มหาเวรัง จะตุสจ ั พะพุทเธ นะมามิหงั สพ อิทัง เม ญาตินัง โหตุ สุขต ิ า โหนตุ ญาตะโย


มงคลจั ก รวาลน อ ้ ย สั พ พะพุ ท ธา ั พะพุทธานุภาเวนะ สพ ั พะธัมมานุภาเวนะ สพ ั พะสงั ฆานุภาเวนะ สพ พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สงั ฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนานัง ี ส อานุภาเวนะ จะตุราสต ิ ะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ ิ ะสาวะกานุภาเวนะ สพ ั เพ เต โรคา ปิ ฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชน ั เพ เต ภะยา สพ ั เพ เต อันตะรายา สพ ั เพ เต อุปัททะวา สพ ั เพ เต ทุนนิมต ั เพ เต อะวะมังคะลา วินัสสน ั ตุ สพ ิ ตา สพ อายุวัฑฒะโก ธะนะวัฑฒะโก สริ วิ ัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก ั พะทา ฯ พะละวัฑฒะโก วัณณะวัฑฒะโก สุขะวัฑฒะโก โหตุ สพ ั ตุ จุปัททะวา ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สต ั ตุ จะ เตชะสา อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสน ิ ธิ ธะนัง ลาภัง โสตถิ ภาคยัง สุขงั พะลัง ชะยะสท สริ ิ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา ิ ธี ภะวันตุ เต ฯ สะตะวัสสา จะ อายู จะ ชวี ะสท ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา ภะวะตุ สพ ั พะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต สพ ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา ภะวะตุ สพ ั พะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต สพ ั พะมังคะลัง รักขันตุ สพ ั พะเทวะตา ภะวะตุ สพ ั พะสงั ฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต สพ


บทสวดมงคลจ ก ั รวาลใหญ่ ้ บทสวดมงคลจักรวาลใหญ่ เป็ นพระคาถาทีใ่ ชสวดสะเดาะเคราะห์ กบ ั ให ้ตนเองได ้ครอบจักรวาล ึ ว่าดวงตกมาก ทาอะไรไม่ดเี ลย ป่ วยมา ทัง้ การเงิน การงาน ความรัก ครอบครัว หากท่านรู ้สก ให ้สวดบทนีบ ้ อ ่ ย จะชว่ ยสะเดาะเคราะห์ ได ้ทุกอย่าง ิ ธิมะหิทธิมะหาคุณาปะริมต สริ ธิ ต ิ ม ิ ะติเตโชชะยะสท ิ ะปุญญาธิการัสสะ ั พันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สม ั มาสม ั พุทธัสสะ สพ ทวัตติงสะมะหาปุรส ิ ะลักขะณานุภาเวนะ ด ้วยอานุภาพ แห่งพระมหาปุรส ิ ลักษณะ ๓๒ ประการ แห่งพระผู ้มีพระภาคเจ ้าผู ้เป็ นพระอรหันต์ ผู ้ตรัสรู ้ชอบโดยพระองค์เอง ผู ้มีบญ ุ ญาธิการอันกาหนดมิได ้ ด ้วยพระฤทธิอ ์ น ั ใหญ่ และพระคุณ อันใหญ่ อันสาเร็จด ้วยพระสริ ิ พระปั ญญาเป็ นเครือ ่ งตัง้ มัน ่ พระปั ญญาเป็ นเครือ ่ งรู ้ พระเดชและ ั ผู ้สามารถห ้ามเสย ี ซงึ่ สรรพอันตราย พระชย ี ยาพยัญชะนานุภาเวนะ อะสต อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ิ านุภาเวนะ ฉั พพัณณะรังสย เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ ี ะสะมาธิปัญญานุภาเวนะ สล พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สงั ฆานุภาเวนะ เตชานุภาเวนะ เดชอิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ ี ส จะตุราสต ิ ะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ อัฎฐะสะมาปั ตติยานุภาเวนะ ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ ั จะญาณานุภาเวนะ จะตุสจ ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ ั พัญญุตะญาณานุภาเวนะ สพ เมตตากะรุณามุทต ิ าอุเปกขานุภาเวนะ ั พะปะริตตานุภาเวนะ สพ ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ ั พะโรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายา ตุยหัง สพ ั ตุ สาวินัสสน ั พะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ สพ ั พะสงั กัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ สพ

ด ้วยอานุภาพแห่งอนุพยัญชนะ ๘๐ ด ้วยอานุภาพแห่งมงคล ๑๐๘ ประการ ด ้วยอานุภาพแห่งพระรัศมีมพ ี รรณ ๖ ประการ ด ้วยอานุภาพแห่งพระเกตุมาลา ด ้วยอานุภาพแห่งพระบารมี ๑๐ ประการ ด ้วยอานุภาพแห่งพระอุปปารมี ๑๐ ประการ ด ้วยอานุภาพแห่งพระปรมัตถปารมี ๑๐ ประการ ี สมาธิ ปั ญญา ด ้วยอานุภาพแห่งศล ด ้วยอานุภาพแห่งพระพุทธรัตนะ ด ้วยอานุภาพแห่งพระธรรมรัตนะ ด ้วยอานุภาพแห่งพระสงั ฆรัตนะ ด ้วยอานุภาพแห่งพระ ด ้วยอานุภาพแห่งพระฤทธิ์ ด ้วยอานุภาพแห่งพระกาลัง ด ้วยอานุภาพแห่งพระเญยยธรรม ด ้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์ ๘ หมืน ่ ๔ พัน ด ้วยอานุภาพแห่งโลกุตตรธรรม ๙ ประการ ด ้วยอานุภาพแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ ด ้วยอานุภาพแห่พระสมาบัต ิ ๘ ประการ ด ้วยอานุภาพแห่งพระอภิญญา ๖ ประการ ั จะ ๔ ด ้วยอานุภาพแห่งพระญาณในสจ ด ้วยอานุภาพแห่งพระญาณมีกาลัง ๑๐ ประการ ั พัญญุตญาณ ด ้วยอานุภาพแห่งพระสพ ด ้วยอานุภาพแห่งพระเมตตา พระกรุณา พระมุทต ิ า พระอุเบกขา ด ้วยอานุภาพแห่งพระปริตรทัง้ ปวง ด ้วยอานุภาพแห่งการระลึกถึงพระรัตนตรัย

เหล่าโรค โศก อุปัทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ทัง้ ปวง ิ้ สูญไป ของท่าน จงสน ิ้ สูญไป แม ้เหล่าอันตรายทัง้ ปวง จงสน สรรพดาริทัง้ หลายของท่านจงสาเร็จด ้วยดี


ฑีฆายุตา ตุยหัง โหตุ ั พะทาฯ สะตะวัสสะชเี วนะ สะมังคิโก โหตุ สพ อากาสะปั พพะตะวะนะภูมค ิ ังคามะหาสะมุททา สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุฯ ั พะมังคะลัง ภะวะตุ สพ ั พะเทวตา รักขันตุ สพ ั พะพุทธานุภาเวนะ สพ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ั พะมังคะลัง ภะวะตุ สพ ั พะเทวตา รักขันตุ สพ ั สพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ั พะมังคะลัง ภะวะตุ สพ ั พะเทวตา รักขันตุ สพ ั พะสงั ฆานุภาเวนะ สพ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต นักขัตตะยักขะภูตานังปาปั คคะหะนิวาระณา ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสงั อุปัททะเว นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปั คคะหะนิวาระณา ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสงั อุปัททะเว นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปั คคะหะนิวาระณา ปะริตตัสสานุภาเวนะหันตวา เตสงั อุปัททะเวฯ

ความเป็ นผู ้มีอายุยน ื จงมีแก่ทา่ น ิ้ ท่านจงเป็ นผู ้มีความพร ้อมเพรียงด ้วยความเป็ นอยูส ่ น ๑๐๐ ปี ทุกเมือ ่ อารักขะ กา เทวะตาเทพเจ ้าทัง้ หลาย ผู ้คุ ้มครองสถิตย์ อยูใ่ นอากาศและบรรพตไพรสณฑ์ ภูมส ิ ถาน แม่น้ าคง คามหาสมุทร จงตามรักษาท่านทัง้ หลายทุกเมือ ่ เทอญฯ ขอสรรพมงคล จงมีแก่ทา่ น ขอเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาท่าน ด ้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ ้าทัง้ ปวง ขอความสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ทา่ น ขอสรรพมงคล จงมีแก่ทา่ น ขอเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาท่าน ด ้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทัง้ ปวง ขอความสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ทา่ น ขอสรรพมงคล จงมีแก่ทา่ น ขอเหล่าเทวดาทัง้ ปวงจงรักษาท่าน ด ้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทัง้ ปวง ขอความสวัสดีทัง้ หลาย จงมีแก่ทา่ น ความป้ องกัน บาปเคราะห์ทัง้ หลาย แต่สานั กแห่ง เหล่านักษั ตร และยักษ์ และภูตได ้มีแล ้ว ี ซงึ่ อุปัทวะ ด ้วยอานุภาพแห่งพระปริตร จงกาจัดเสย ทัง้ หลาย แต่สานักแห่งเหล่านั กษั ตร และยักษ์ และภูต เหล่านัน ้ ความป้ องกัน บาปเคราะห์ทัง้ หลาย แต่สานั กแห่ง เหล่านักษั ตรและยักษ์ และภูตได ้มีแล ้ว ี ซงึ่ อุปัทวะ ด ้วยอานุภาพแห่งพระปริตร จงกาจัดเสย ทัง้ หลาย แต่สานักแห่งเหล่านักษั ตร และยักษ์ และภูต เหล่านัน ้ ความป้ องกัน บาปเคราะห์ทัง้ หลาย แต่สานั กแห่ง เหล่านักษั ตร และยักษ์ และภูตได ้มีแล ้ว ี ซงึ่ อุปัทวะ ด ้วยอานุภาพแห่งพระปริตร จงกาจัดเสย ทัง้ หลาย แต่สานักแห่งเหล่านั กษั ตร และยักษ์ และภูต เหล่านัน ้

คาอธิบายเกีย ่ วกับบทสวดมงคลจักรวาลใหญ่ ในจักรวาลอืน ่ ๆ ไม่มพ ี ระพุทธเจ ้าไปบังเกิด จาเพาะมีแต่ในจักรวาลทีเ่ ราอยูน ่ จ ี้ งึ เรียกว่า มงคลจักรวาล คือ เป็ น จักรวาลทีม ่ ส ี งิ่ เป็ นสริ ม ิ งคล


อานาปานสติสูต ร (๑๑๘) [๒๘๒] ข ้าพเจ ้าได ้สดับมาอย่างนี-้ ิ าวิสาขา สมัยหนึง่ พระผู ้มีพระภาคประทับอยูท ่ ป ี่ ราสาทของอุบาสก มิคารมารดา ในพระวิหารบุพพาราม เขตพระนครสาวัตถี พร ้อมด ้วยพระสาวก ื่ เสย ี งเด่นมากรูปด ้วยกัน เชน ่ ท่านพระสารีบต ผู ้เถระมีชอ ุ ร ท่านพระมหา*โมคคัลลานะ ท่านพระมหากัสสป ท่านพระมหากัจจายนะ ท่านพระมหาโกฏฐิตะ ท่านพระมหากปิ ณะ ท่านพระมหาจุนทะ ท่านพระเรวตะ ท่านพระอานนท์ และ ื่ เสย ี งเด่นอืน พระสาวกผู ้เถระมีชอ ่ ๆ ก็สมัยนัน ้ แล พระเถระทัง้ หลายพากันโอวาท พร่าสอนพวกภิกษุ อยู่ คือ พระเถระบางพวกโอวาทพร่าสอนภิกษุ ๑๐ รูปบ ้าง บางพวกโอวาทพร่าสอน ๒๐ รูปบ ้าง บางพวกโอวาทพร่าสอน ๓๐ รูปบ ้าง บางพวก โอวาทพร่าสอน ๔๐ รูปบ ้าง ฝ่ ายภิกษุ นวกะเหล่านัน ้ อันภิกษุ ผู ้เถระโอวาทพร่า ั ธรรมวิเศษอย่างกว ้างขวางยิง่ กว่าทีต สอนอยู่ ย่อมรู ้ชด ่ นรู ้มาก่อน ฯ [๒๘๓] ก็สมัยนัน ้ แล พระผู ้มีพระภาคมีภก ิ ษุ สงฆ์ห ้อมล ้อมประทับนั่ง กลางแจ ้ง ในราตรีมจ ี น ั ทร์เพ็ญ วันนัน ้ เป็ นวันอุโบสถ ๑๕ คา่ ทัง้ เป็ นวัน ปวารณาด ้วย ขณะนัน ้ พระผู ้มีพระภาคทรงเหลียวดูภก ิ ษุ สงฆ์ ซงึ่ นิง่ เงียบอยูโ่ ดย ลาดับ จึงตรัสบอกภิกษุ ทัง้ หลายว่า ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย เราปรารภในปฏิปทานี้ เรามีจต ิ ยินดีในปฏิปทานี้ เพราะฉะนัน ้ แล พวกเธอจงปรารภความเพียร เพือ ่ ถึง คุณทีต ่ นยังไม่ถงึ เพือ ่ บรรลุคณ ุ ทีต ่ นยังไม่บรรลุ เพือ ่ ทาให ้แจ ้งคุณทีต ่ นยังไม่ทา ให ้แจ ้ง โดยยิง่ กว่าประมาณเถิด เราจักรออยูใ่ นเมืองสาวัตถีนแ ี้ ล จนถึงวันครบ ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เป็ นทีบ ่ านแห่งดอกโกมุท ๑- พวกภิกษุ ชาวชนบททราบข่าว ว่า พระผู ้มีพระภาคจักรออยูใ่ นเมืองสาวัตถีนัน ้ จนถึงวันครบ ๔ เดือนแห่ง ฤดูฝน เป็ นทีบ ่ านแห่งดอกโกมุท จึงพากันหลัง่ ไหลมายังพระนครสาวัตถี เพือ ่ เฝ้ าพระผู ้มีพระภาค ฝ่ ายภิกษุ ผู ้เถระเหล่านัน ้ ก็พากันโอวาทพร่าสอนภิกษุ นวกะ ิ สอง @๑. คือวันเพ็ญเดือนสบ เพิม ่ ประมาณขึน ้ คือ ภิกษุ ผู ้เถระบางพวกโอวาทพรา่ สอนภิกษุ ๑๐ รูปบ ้าง บาง*พวกโอวาทพร่าสอน ๒๐ รูปบ ้าง บางพวกโอวาทพร่าสอน ๓๐ รูปบ ้าง บางพวก โอวาทพร่าสอน ๔๐ รูปบ ้าง และภิกษุ นวกะเหล่านัน ้ อันภิกษุ ผู ้เถระโอวาท ั ธรรมวิเศษอย่างกว ้างขวางยิง่ กว่าทีต พร่าสอนอยู่ ย่อมรู ้ชด ่ นรู ้มาก่อน ฯ [๒๘๔] ก็สมัยนัน ้ แล พระผู ้มีพระภาคมีภก ิ ษุ สงฆ์ห ้อมล ้อมประทับนั่ง กลางแจ ้ง ในราตรีมจ ี น ั ทร์เพ็ญ เป็ นวันครบ ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เป็ นทีบ ่ าน แห่งดอกโกมุท วันนัน ้ เป็ นวันอุโบสถ ๑๕ คา่ ขณะนัน ้ พระผู ้มีพระภาคทรง เหลียวดูภก ิ ษุ สงฆ์ ซงึ่ นิง่ เงียบอยูโ่ ดยลาดับ จึงตรัสบอกภิกษุ ทงั ้ หลายว่า ดูกรี งคุย ดารงอยูใ่ นสารธรรม *ภิกษุ ทงั ้ หลาย บริษัทนีไ ้ ม่คย ุ กัน บริษัทนีเ้ งียบเสย ่ เดียวกันกับ อันบริสท ุ ธิ์ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ภิกษุ สงฆ์นี้ บริษัทนีเ้ ป็ นเชน บริษัททีค ่ วรแก่การคานับ ควรแก่การต ้อนรับ ควรแก่ทก ั ษิณาทาน ควรแก่การ กระทาอัญชลี เป็ นเนือ ้ นาบุญของโลกอย่างหาทีอ ่ น ื่ ยิง่ กว่ามิได ้ ภิกษุ สงฆ์นี้ ่ เดียวกันกับบริษัททีเ่ ขาถวายของน ้อย มีผลมาก และถวายของมาก บริษัทนีเ้ ป็ นเชน ่ เดียวกันกับบริษัท อันชาวโลก มีผลมากยิง่ ขึน ้ ภิกษุ สงฆ์นี้ บริษัทนีเ้ ป็ นเชน ่ เดียวกันกับบริษัทอันสมควร ยากทีจ ่ ะได ้พบเห็น ภิกษุ สงฆ์นี้ บริษัทนีเ้ ป็ นเชน ทีแ ่ ม ้คนผู ้เอาเสบียงคล ้องบ่าเดินทางไปชมนับเป็ นโยชน์ๆ ฯ [๒๘๕] ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ผู ้เป็ น


พระอรหันตขีณาสพ อยูจ ่ บพรหมจรรย์แล ้ว ทากิจทีค ่ วรทาเสร็จแล ้ว ปลงภาระ ิ้ สญ ั โญชน์ในภพแล ้ว พ ้นวิเศษ ได ้แล ้ว บรรลุประโยชน์ตนแล ้วโดยลาดับ สน ่ นีใ้ นหมูภ แล ้วเพราะรู ้ชอบ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ผู ้เป็ นอุปปาติกะ เพราะ ิ้ สญ ั โญชน์สว่ นเบือ สน ้ งตา่ ทัง้ ๕ จะได ้ปรินพ ิ พานในโลกนัน ้ ๆ มีอน ั ไม่กลับ ่ นีใ้ นหมูภ มาจากโลกนัน ้ อีกเป็ นธรรมดา แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ผู ้เป็ นพระสกทาคามี ิ้ สญ ั โญชน์ ๓ อย่าง และเพราะทาราคะ โทสะ โมหะให ้เบาบาง เพราะสน ่ นีใ้ นหมู่ มายังโลกนีอ ้ ก ี ครัง้ เดียวเท่านัน ้ ก็จะทาทีส ่ ด ุ แห่งทุกข์ได ้ แม ้ภิกษุ เชน ภิกษุ สงฆ์นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ผู ้เป็ นพระโสดาบัน เพราะ ิ้ สญ ั โญชน์ ๓ อย่าง มีอน สน ั ไม่ตกอบายเป็ นธรรมดา แน่นอนทีจ ่ ะได ้ตรัสรู ้ใน ่ นีใ้ นหมูภ เบือ ้ งหน ้า แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความเพียร ่ นีใ้ นหมูภ ในอันเจริญสติปัฏฐาน ๔ อยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ [๒๘๖] ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบ ั มัปปธาน ๔ อยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ นีใ้ นหมูภ ความเพียรในอันเจริญสม ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญอิทธิบาท ๔ อยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญอินทรีย ์ ๕ อยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญพละ ๕ อยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญโพชฌงค์ ๗ อยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐอยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญเมตตาอยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญกรุณาอยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความ ่ นีใ้ นหมูภ เพียรในอันเจริญมุทต ิ าอยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความเพียร ่ นีใ้ นหมูภ ในอันเจริญอุเบกขาอยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความเพียร ั ญาอยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ นีใ้ นหมูภ ในอันเจริญอสุภสญ ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบความเพียร ั ญาอยู่ แม ้ภิกษุ เชน ่ นีใ้ นหมูภ ในอันเจริญอนิจจสญ ่ ก ิ ษุ นี้ ก็มอ ี ยู่ ฯ [๒๘๗] ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ย่อมมีภก ิ ษุ ในภิกษุ สงฆ์นี้ ทีเ่ ป็ นผู ้ประกอบ ความเพียรในอันเจริญอานาปานสติอยู่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย อานาปานสติ อันภิกษุ เจริญแล ้ว ทาให ้มากแล ้ว ย่อม


์ าก ภิกษุ ทเี่ จริญอานาปานสติแล ้ว ทาให ้มากแล ้ว ย่อม มีผลมาก มีอานิสงสม บาเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให ้บริบรู ณ์ได ้ ภิกษุ ทเี่ จริญสติปัฏฐาน ๔ แล ้ว ทาให ้มากแล ้ว ย่อมบาเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให ้บริบรู ณ์ได ้ ภิกษุ ทเี่ จริญโพชฌงค์ ๗ แล ้ว ทาให ้มาก แล ้ว ย่อมบาเพ็ญวิชชาและวิมต ุ ติให ้บริบรู ณ์ได ้ ฯ [๒๘๘] ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ก็อานาปานสติ อันภิกษุ เจริญแล ้วอย่างไร ์ าก ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ภิกษุ ใน ทาให ้มากแล ้วอย่างไร จึงมีผลมาก มีอานิสงสม ธรรมวินัยนี้ อยูใ่ นป่ าก็ด ี อยูท ่ โี่ คนไม ้ก็ด ี อยูใ่ นเรือนว่างก็ด ี นั่งคู ้บัลลังก์ ตัง้ กายตรง ดารงสติมน ั่ เฉพาะหน ้า เธอย่อมมีสติหายใจออก มีสติหายใจเข ้า ั ว่า หายใจออกยาว หรือเมือ ั ว่า เมือ ่ หายใจออกยาว ก็รู ้ชด ่ หายใจเข ้ายาว ก็รู ้ชด ั ้ ก็รู ้ชด ั ว่า หายใจออกสน ั ้ หรือเมือ หายใจเข ้ายาว เมือ ่ หายใจออกสน ่ หายใจ ั ้ ก็รู ้ชด ั ว่า หายใจเข ้าสน ั ้ สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้กองลม เข ้าสน ทัง้ ปวง หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้กองลมทัง้ ปวง หายใจเข ้า สาเหนียก อยู่ ว่าเราจักระงับกายสงั ขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับกายสงั ขาร หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้ปี ต ิ หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้ ปี ต ิ หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้สุข หายใจออก ว่าเราจัก เป็ นผู ้กาหนดรู ้สุข หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้จิตสงั ขาร หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้จิตสงั ขาร หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเรา จักระงับจิตสงั ขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับจิตสงั ขาร หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้จิต หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้จิต หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักทาจิตให ้ร่าเริง หายใจออก ว่าเราจักทาจิตให ้ร่าเริง หายใจ เข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักตัง้ จิตมัน ่ หายใจออก ว่าเราจักตัง้ จิตมัน ่ หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเปลือ ้ งจิต หายใจออก ว่าเราจักเปลือ ้ งจิต หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความไม่เทีย ่ ง หายใจออก ว่าเราจักเป็ น ผู ้ตามพิจารณาความไม่เทีย ่ ง หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณา ความคลายกาหนัด หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความคลายกาหนัด หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ น ผู ้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความ สละคืนกิเลส หายใจเข ้า ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย อานาปานสติ อันภิกษุ เจริญแล ้ว ์ าก ฯ อย่างนี้ ทาให ้มากแล ้วอย่างนีแ ้ ล จึงมีผลมาก มีอานิสงสม [๒๘๙] ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ก็ภก ิ ษุ ทเี่ จริญอานาปานสติแล ้วอย่างไร ทา ให ้มากแล ้วอย่างไร จึงบาเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให ้บริบรู ณ์ได ้ ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ั ว่า หายใจออกยาว หรือเมือ สมัยใด เมือ ่ ภิกษุ หายใจออกยาว ก็รู ้ชด ่ หายใจเข ้า ั ว่า หายใจเข ้ายาว เมือ ั ้ ก็รู ้ชด ั ว่า หายใจออกสน ั้ ยาว ก็รู ้ชด ่ หายใจออกสน ั ้ ก็รู ้ชด ั ว่า หายใจเข ้าสน ั ้ สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ หรือเมือ ่ หายใจเข ้าสน กาหนดรู ้กองลมทัง้ ปวง หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้กองลมทัง้ ปวง หายใจ เข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับกายสงั ขาร หายใจออก ว่าเราจักระงับกายสงั ขาร ื่ ว่าพิจารณาเห็นกายในกาย หายใจเข ้า ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ในสมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ี ได ้อยู่ ดูกร มีความเพียร รู ้สก ภิกษุ ทัง้ หลาย เรากล่าวลมหายใจออก ลมหายใจเข ้านี้ ว่าเป็ นกายชนิดหนึง่ ื่ ว่าพิจารณาเห็นกายในกาย ในพวกกาย เพราะฉะนัน ้ แล ในสมัยนัน ้ ภิกษุ จงึ ชอ ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ี ได ้อยู่ ฯ มีความเพียร รู ้สก ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้


ปี ต ิ หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้ปี ต ิ หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเรา จักเป็ นผู ้กาหนดรู ้สุข หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้สุข หายใจเข ้า สาเหนียก อยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้จิตสงั ขาร หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้ จิตสงั ขาร หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักระงับจิตสงั ขาร หายใจออก ื่ ว่า ว่าเราจักระงับจิตสงั ขาร หายใจเข ้า ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ในสมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌาและ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู ้สก ี ได ้อยู่ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย เรากล่าวการใสใ่ จลมหายใจออก โทมนัสในโลกเสย ลมหายใจเข ้าเป็ นอย่างดีนี้ ว่าเป็ นเวทนาชนิดหนึง่ ในพวกเวทนา เพราะฉะนัน ้ แล ื่ ว่า พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความเพียร รู ้สก ึ ตัว ในสมัยนัน ้ ภิกษุ จงึ ชอ ี ได ้อยู่ ฯ มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนด รู ้จิต หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้กาหนดรู ้จิต หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจัก ทาจิตให ้ร่าเริง หายใจออก ว่าเราจักทาจิตให ้ร่าเริง หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักตัง้ จิตมัน ่ หายใจออก ว่าเราจักตัง้ จิตมัน ่ หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเปลือ ้ งจิต หายใจออก ว่าเราจักเปลือ ้ งจิต หายใจเข ้า ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ื่ ว่า พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู ้สก ึ ตัว มีสติ ในสมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ี ได ้อยู่ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย เราไม่กล่าว กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ึ ตัวอยู่ เพราะฉะนัน อานาปานสติแก่ภก ิ ษุ ผู ้เผลอสติ ไม่รู ้สก ้ แล ในสมัยนัน ้ ื่ ว่า พิจารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร รู ้สก ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌา ภิกษุ จงึ ชอ ี ได ้อยู่ ฯ และโทมนัสในโลกเสย ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณา ความไม่เทีย ่ ง หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความไม่เทีย ่ ง หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความคลายกาหนัด หายใจออก ว่าเราจัก เป็ นผู ้ตามพิจารณาความคลายกาหนัด หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจออก ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความดับกิเลส หายใจเข ้า สาเหนียกอยู่ ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจ ออก ว่าเราจักเป็ นผู ้ตามพิจารณาความสละคืนกิเลส หายใจเข ้า ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ื่ ว่า พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู ้สก ึ ตัว มีสติ ในสมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ี ได ้อยู่ เธอเห็นการละอภิชฌาและโทมนัสด ้วย กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ื่ ว่า ปั ญญาแล ้ว ย่อมเป็ นผู ้วางเฉยได ้ดี เพราะฉะนัน ้ แล ในสมัยนัน ้ ภิกษุ จงึ ชอ ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌาและ พิจารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร รู ้สก ี ได ้อยู่ ฯ โทมนัสในโลกเสย ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ภิกษุ ทเี่ จริญอานาปานสติแล ้วอย่างนี้ ทาให ้มากแล ้ว ื่ ว่าบาเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให ้บริบรู ณ์ได ้ ฯ อย่างนีแ ้ ล ชอ [๒๙๐] ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ก็ภก ิ ษุ ทเี่ จริญสติปัฏฐาน ๔ แล ้วอย่างไร ทาให ้มากแล ้วอย่างไร จึงบาเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให ้บริบรู ณ์ได ้ ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌา สมัยใด ภิกษุ พจิ ารณาเห็นกายในกาย มีความเพียร รู ้สก ี ได ้อยู่ ในสมัยนัน และโทมนัสในโลกเสย ้ สติยอ ่ มเป็ นอันเธอผู ้เข ้าไปตัง้ ไว ้แล ้ว ไม่เผลอเรอ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด สติเป็ นอันภิกษุ เข ้าไปตัง้ ไว ้แล ้วไม่เผลอเรอ ั โพชฌงค์ยอ ื่ ว่า ในสมัยนัน ้ สติสม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ย่อมเจริญสติสม ้ สติสม ่ มถึงความเจริญและความ บริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ เธอเมือ ่ เป็ นผู ้มีสติอย่างนัน ้ อยู่ ย่อมค ้นคว ้า ไตร่ตรอง ถึงความ พิจารณาธรรมนัน ้ ได ้ด ้วยปั ญญา ฯ


ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ เป็ นผู ้มีสติอย่างนัน ้ อยู่ ย่อมค ้นคว ้า ั โพชฌงค์ ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนัน ้ ด ้วยปั ญญา ในสมัยนัน ้ ธรรมวิจยสม ื่ ว่าย่อมเจริญธรรมวิจยสม ั โพชฌงค์ ย่อมเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ั โพชฌงค์ยอ สมัยนัน ้ ธรรมวิจยสม ่ มถึงความเจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ เธอ เมือ ่ ค ้นคว ้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมด ้วยปั ญญาอยู่ ย่อมเป็ นอันปรารภ ความเพียรไม่ยอ ่ หย่อน ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ ค ้นคว ้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณา ั โพชฌงค์ ธรรมนัน ้ ด ้วยปั ญญา ปรารภความเพียรไม่ยอ ่ หย่อน ในสมัยนัน ้ วิรย ิ สม ื่ ว่าย่อมเจริญวิรย ั โพชฌงค์ ย่อมเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ิ สม ั โพชฌงค์ยอ สมัยนัน ้ วิรย ิ สม ่ มถึงความเจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ปี ต-ิ *ปราศจากอามิสย่อมเกิดขึน ้ แก่ภก ิ ษุ ผู ้ปรารภความเพียรแล ้ว ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ปี ตป ิ ราศจากอามิสเกิดขึน ้ แก่ภก ิ ษุ ผู ้ปรารภ ั โพชฌงค์ยอ ความเพียรแล ้ว ในสมัยนัน ้ ปี ตส ิ ม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ื่ ว่าย่อมเจริญปี ตส ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ภิกษุ ชอ ิ ม ้ ปี ตส ิ ม ่ มถึงความเจริญ และความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ภิกษุ ผู ้มีใจเกิดปี ต ิ ย่อมมีทงั ้ กายทัง้ จิตระงับได ้ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ทัง้ กายทัง้ จิตของภิกษุ ผู ้มีใจเกิดปี ต ิ ระงับได ้ ั ธิสม ั โพชฌงค์ยอ ื่ ว่า ในสมัยนัน ้ ปั สสท ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ั ธิสม ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั ธิสม ั โพชฌงค์ยอ ย่อมเจริญปั สสท ้ ปั สสท ่ มถึงความเจริญ และความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ภิกษุ ผู ้มีกายระงับแล ้ว มีความสุข ย่อมมีจต ิ ตัง้ มัน ่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด จิตของภิกษุ ผู ้มีกายระงับแล ้ว มีความสุข ั โพชฌงค์ยอ ย่อมตัง้ มัน ่ ในสมัยนัน ้ สมาธิสม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ื่ ว่าย่อมเจริญสมาธิสม ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ภิกษุ ชอ ้ สมาธิสม ่ มถึงความ ่ นัน เจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ภิกษุ นัน ้ ย่อมเป็ นผู ้วางเฉยจิตทีต ่ งั ้ มัน ่ แล ้วเชน ้ ได ้เป็ นอย่างดี ฯ ่ นัน ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ เป็ นผู ้วางเฉยจิตทีต ่ งั ้ มัน ่ แล ้วเชน ้ ได ้ ั โพชฌงค์ยอ เป็ นอย่างดี ในสมัยนัน ้ อุเบกขาสม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ื่ ว่าย่อมเจริญอุเบกขาสม ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ภิกษุ ชอ ้ อุเบกขาสม ่ มถึง ความเจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ พจ ิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนา มีความึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ี ได ้อยู่ ในสมัยนัน *เพียร รู ้สก ้ สติยอ ่ มเป็ นอันเธอผู ้เข ้าไปตัง้ ไว ้แล ้วไม่เผลอเรอ... ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ พจ ิ ารณาเห็นจิตในจิต มีความเพียร ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ี ได ้อยู่ ในสมัยนัน รู ้สก ้ สติยอ ่ ม เป็ นอันเธอผู ้เข ้าไปตัง้ ไว ้แล ้วไม่เผลอเรอ... ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ พจ ิ ารณาเห็นธรรมในธรรม มีความเพียร ึ ตัว มีสติ กาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสย ี ได ้อยู่ ในสมัยนัน รู ้สก ้ สติยอ ่ ม เป็ นอันเธอผู ้เข ้าไปตัง้ ไว ้แล ้วไม่เผลอเรอ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด สติเป็ นอันภิกษุ เข ้าไปตัง้ ไว ้แล ้ว ไม่เผลอเรอ ั โพชฌงค์ยอ ื่ ว่า ในสมัยนัน ้ สติสม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ย่อมเจริญสติสม ้ สติสม ่ มถึงความเจริญและความ บริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ เธอเมือ ่ เป็ นผู ้มีสติอย่างนัน ้ อยู่ ย่อมค ้นคว ้า ไตร่ตรอง ถึงความ พิจารณาธรรมนัน ้ ด ้วยปั ญญา ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ เป็ นผู ้มีสติอย่างนัน ้ อยู่ ย่อมค ้นคว ้า ั โพชฌงค์ ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนัน ้ ด ้วยปั ญญา ในสมัยนัน ้ ธรรมวิจยสม ื่ ว่าย่อมเจริญธรรมวิจยสม ั โพชฌงค์ ย่อมเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ


ั โพชฌงค์ยอ สมัยนัน ้ ธรรมวิจยสม ่ มถึงความเจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ เมือ ่ เธอค ้นคว ้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรมนั น ้ ด ้วยปั ญญาอยู่ ย่อมเป็ นอัน ปรารภความเพียรไม่ยอ ่ หย่อน ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ ค ้นคว ้า ไตร่ตรอง ถึงความพิจารณาธรรม ั โพชฌงค์ยอ นัน ้ ด ้วยปั ญญา ปรารภความเพียรไม่ยอ ่ หย่อน ในสมัยนัน ้ วิรย ิ สม ่ ม ื่ ว่าย่อมเจริญวิรย ั โพชฌงค์ สมัยนัน เป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ชอ ิ สม ้ ั โพชฌงค์ยอ วิรย ิ สม ่ มถึงความเจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ปี ตป ิ ราศจากอามิส ย่อมเกิดขึน ้ แก่ภก ิ ษุ ผู ้ปรารภความเพียรแล ้ว ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ปี ตป ิ ราศจากอามิสเกิดขึน ้ แก่ภก ิ ษุ ผู ้ปรารภ ั โพชฌงค์ยอ ความเพียรแล ้ว ในสมัยนัน ้ ปี ตส ิ ม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ื่ ว่าย่อมเจริญปี ตส ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ภิกษุ ชอ ิ ม ้ ปี ตส ิ ม ่ มถึงความเจริญ และความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ภิกษุ ผู ้มีใจเกิดปี ต ิ ย่อมมีทงั ้ กายทัง้ จิตระงับได ้ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ทัง้ กายทัง้ จิตของภิกษุ ผู ้มีใจเกิดปี ต ิ ระงับได ้ ั ธิสม ั โพชฌงค์ยอ ในสมัยนัน ้ ปั สสท ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ภิกษุ ื่ ว่าย่อมเจริญปั สสท ั ธิสม ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั ธิสม ั โพชฌงค์ ย่อมถึง ชอ ้ ปั สสท ความเจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ภิกษุ ผู ้มีกายระงับแล ้ว มีความสุข ย่อมมีจต ิ ตัง้ มัน ่ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด จิตของภิกษุ ผู ้มีกายระงับแล ้ว มีความสุข ั โพชฌงค์ยอ ย่อมตัง้ มัน ่ ในสมัยนัน ้ สมาธิสม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ื่ ว่าย่อมเจริญสมาธิสม ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ภิกษุ ชอ ้ สมาธิสม ่ มถึงความ ่ นัน เจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ภิกษุ นัน ้ ย่อมเป็ นผู ้วางเฉยจิตทีต ่ งั ้ มัน ่ แล ้วเชน ้ ได ้เป็ นอย่างดี ฯ ่ นัน ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย สมัยใด ภิกษุ เป็ นผู ้วางเฉยจิตทีต ่ งั ้ มัน ่ แล ้วเชน ้ ได ้ ั โพชฌงค์ยอ เป็ นอย่างดี ในสมัยนัน ้ อุเบกขาสม ่ มเป็ นอันภิกษุ ปรารภแล ้ว สมัยนัน ้ ื่ ว่าย่อมเจริญอุเบกขาสม ั โพชฌงค์ สมัยนัน ั โพชฌงค์ยอ ภิกษุ ชอ ้ อุเบกขาสม ่ มถึง ความเจริญและความบริบรู ณ์แก่ภก ิ ษุ ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ภิกษุ ทเี่ จริญสติปัฏฐาน ๔ แล ้วอย่างนี้ ทาให ้มากแล ้ว ื่ ว่าบาเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให ้บริบรู ณ์ได ้ ฯ อย่างนีแ ้ ล ชอ [๒๙๑] ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ภิกษุ ทเี่ จริญโพชฌงค์ ๗ แล ้วอย่างไร ทาให ้ มากแล ้วอย่างไร จึงบาเพ็ญวิชชาและวิมต ุ ติให ้บริบรู ณ์ได ้ ดูกรภิกษุ ทัง้ หลาย ภิกษุ ั โพชฌงค์อน ั วิเวก อาศย ั วิราคะ อาศย ั ในธรรมวินัยนี้ ย่อมเจริญสติสม ั อาศย ั โพชฌงค์ ... ย่อม นิโรธ อันน ้อมไปเพือ ่ ความปลดปล่อย ย่อมเจริญธรรมวิจยสม ั โพชฌงค์ ... ย่อมเจริญปี ตส ั โพชฌงค์ ... ย่อมเจริญปั สสท ั ธิ เจริญวิรย ิ สม ิ ม ั โพชฌงค์ ... ย่อมเจริญสมาธิสม ั โพชฌงค์ ... ย่อมเจริญอุเบกขาสม ั โพชฌงค์ สม ั วิเวก อาศย ั วิราคะ อาศย ั นิโรธ อันน ้อมไปเพือ อันอาศย ่ ความปลดปล่อย ฯ ดูกรภิกษุ ทงั ้ หลาย ภิกษุ ทเี่ จริญโพชฌงค์ ๗ แล ้วอย่างนี้ ทาให ้มากแล ้ว ื่ ว่าบาเพ็ญวิชชาและวิมต อย่างนีแ ้ ล ชอ ุ ติให ้บริบรู ณ์ได ้ ฯ ื่ ชมยินดี พระผู ้มีพระภาคได ้ตรัสพระภาษิตนีแ ้ ล ้ว ภิกษุ เหล่านัน ้ ต่างชน พระภาษิตของพระผู ้มีพระภาคแล ฯ จบ อานาปานสติสต ู ร ที่ ๘


อานาปานสติสุตฺ ต [๒๘๒] เอวมฺเม สุต เอก สมย ภควา สาวตฺถย ิ วิหรติ ปุพฺพาราเม มิคารมาตุ ปาสาเท สมฺพหุเลหิ อภิญฺญาเตหิ อภิญฺญาเตหิ เถเรหิ สาวเกหิ สทฺธ ึ อายสฺมตา จ สารีปต ุ ฺเตน อายสฺมตา จ มหาโมคฺคลฺลาเนน อายสฺมตา จ มหากสฺสเปน อายสฺมตา จ มหากจฺจายเนน อายสฺมตา จ มหาโกฏฺฐเิ ตน อายสฺมตา จ มหากปฺปิเนน อายสฺมตา จ มหาจุนฺเทน อายสฺมตา จ เรวเตน อายสฺมตา จ อานนฺ เทน อญฺเญหิ จ อภิญฺญาเตหิ อภิญฺญาเตหิ เถเรหิ สาวเกหิ สทฺธ ึ ฯ เตน โข ปน สมเยน เถรา ภิกฺขู [๑]- โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ ฯ อปฺเปกจฺเจ เถรา ภิกฺขู ทสปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ อปฺเปกจฺเจ เถรา ภิกฺขู วีสมฺปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ อปฺเปกจฺเจ เถรา ภิกฺขู ตึสมฺปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ ี ปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ อปฺเปกจฺเจ เถรา ภิกฺขู จตฺตาฬสมฺ อนุสาสนฺ ต ิ ฯ เต จ นวา ภิกฺขู เถเรหิ ภิกฺขห ู ิ โอวทิยมานา ิ มานา โอฬาร ปุพฺเพนาปร วิเสส ปชานนฺ ต ิ ฯ อนุสาสย [๒๘๓] เตน โข ปน สมเยน ภควา ตทหุโปสเถ ปณฺ ณรเส ปวารณาย ปุณฺณาย ปุณฺณมาย รตฺตย ิ า ภิกฺขส ุ งฺฆปริวโุ ต ิ ฺ โน โหติ ฯ อถ โข ภควา ตุณฺหภ อพฺโภกาเส นิสน ี ต ู ๒- ภิกฺขส ุ งฺฆ @เชงิ อรรถ: ๑ ม. ยุ. นเว ภิกฺขู ฯ ๒ ยุ. ตุณฺหภ ี ต ู ตุณฺหภ ี ต ู นฺ ต ิ ทิสฺสติ ฯ อนุวโิ ลเกตฺวา ภิกฺขู อามนฺ เตส ิ อารทฺโธสฺม ิ ภิกฺขเว อิมาย ปฏิปทาย อารทฺธจิตฺโตสฺม ิ ภิกฺขเว อิมาย ปฏิปทาย ตสฺมาติห ภิกฺขเว ภิยฺโยโส มตฺตาย วิรย ิ อารภถ อปฺปตฺตสฺส ปตฺตย ิ า อนธิคตสฺส อธิคมาย อสจฺฉก ิ ตสฺส สจฺฉก ิ ริ ย ิ าย อิเธวาห สาวตฺถย ิ ิ ึ อาคเมสฺสามีต ิ ฯ อสฺโสสุ ํ โข ชานปทา ภิกฺขู โกมุท ึ จาตุมาสน ิ ึ อาคเมสฺสตีต ิ ฯ ภควา กิร ตตฺเถว สาวตฺถย ิ โกมุท ึ จาตุมาสน เต ชานปทา ภิกฺขู สาวตฺถย ิ โอสรนฺ ต ิ ภควนฺ ต ทสฺสนาย ฯ เต จ [๑]เถรา ภิกฺขู ภิยฺโยโส มตฺตาย นเว ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ ฯ อปฺเปกจฺเจ เถรา ภิกฺขู ทสปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ อปฺเปกจฺเจ เถรา ภิกฺขู วีสมฺปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ อปฺเปกจฺเจ เถรา ภิกฺขู ตึสมฺปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ อปฺเปกจฺเจ เถรา ี ปิ ภิกฺขู โอวทนฺ ต ิ อนุสาสนฺ ต ิ ฯ เต จ นวา ภิกฺขู จตฺตาฬสมฺ ิ มานา โอฬาร ๒ภิกฺขู เถเรหิ ภิกฺขห ู ิ โอวทิยมานา อนุสาสย ปุพฺเพนาปร วิเสส ปชานนฺ ต ิ ฯ [๒๘๔] เตน โข ปน สมเยน ภควา ตทหุโปสเถ ปณฺ ณรเส ิ ย โกมุทย ิ า จาตุมาสน ิ า ปุณฺณาย ปุณฺณมาย รตฺตย ิ า ภิกฺขส ุ งฺฆปริวโุ ต ิ ฺ โน โหติ ฯ อถ โข ภควา ตุณฺหภ อพฺโภกาเส นิสน ี ต ู ภิกฺขส ุ งฺฆ อนุวโิ ลเกตฺวา ภิกฺขู อามนฺ เตส ิ อปลาปาย ภิกฺขเว ปริสา นิปฺปลาปาย ภิกฺขเว ปริสา สุทฺธสาเร ๓- ปติฏฺฐต ิ า ฯ ตถารูโป อย ภิกฺขเว ภิกฺขส ุ งฺโฆ ตถารูปาย ภิกฺขเว ปริสา @เชงิ อรรถ: ๑ ม. เอตฺถนฺ ตเร โขสทฺโท อตฺถ ิ ฯ ๒ ม. ยุ. อุฬาร ฯ @๓ ม. ยุ. สุทฺธาสาเร ฯ ยถารูปา ปริสา อาหุเนยฺยา ๑- ปาหุเนยฺยา ทกฺขเิ ณยฺยา อญฺชลิกรณียา อนุตฺตร ปุญฺญกฺเขตฺต โลกสฺส ฯ ตถารูโป อย ภิกฺขเว


ภิกฺขส ุ งฺโฆ ตถารูปาย ภิกฺขเว ปริสา ยถารูปาย ปริสาย อปฺป ทินฺน พหุ โหติ พหุ ทินฺน พหุตร ฯ ตถารูโป อย ภิกฺขเว ภิกฺขส ุ งฺโฆ ตถารูปาย ภิกฺขเว ปริสา ยถารูปา ปริสา ทุลฺลภา ทสฺสนาย โลกสฺส ฯ ตถารูโป อย ภิกฺขเว ภิกฺขส ุ งฺโฆ ตถารูปาย ภิกฺขเว ปริสา ยถารูป ปริส อล โยชนคณนานิ ทสฺสนาย คนฺ ตุ ํ ปูฏเสนาปิ ๒- ฯ [๒๘๕] สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ อรหนฺ โต ิ วนฺ โต กตกรณียา โอหิตภารา อนุปฺปตฺตสทตฺถา ขีณาสวา วุสต ปริกฺขณ ี ภวสญฺโญชนา สมฺมทญฺญา วิมต ุ ฺตา เอวรูปาปิ ภิกฺขเว สนฺ ต ิ ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ฯ สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ปญฺจนฺ น โอรมฺภาคิยาน สญฺโญชนาน ปริกฺขยา โอปปาติกา ตตฺถ ปรินพ ิ ฺพายิโน อนาวตฺตธิ มฺมา ตสฺมา โลกา เอวรูปาปิ ภิกฺขเว สนฺ ต ิ ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ฯ สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ติณฺณ สญฺโญชนาน ปริกฺขยา ราคโทสโมหาน ตนุตฺตา สกทาคามิโน สกิเทว อิม โลก อาคนฺ ตฺวา ทุกฺขสฺสนฺ ต กริสฺสนฺ ต ิ เอวรูปาปิ ภิกฺขเว สนฺ ต ิ ภิกฺขู อิมสฺม ึ @เชงิ อรรถ: ๑ ยุ. อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขเิ ณยฺโย อญฺชลิกรณีโยติ ทิสฺสติ ฯ @๒ ม. ยุ. ปุโฏเสนาปี ต ิ ทิสฺสติ ฯ ส.ี ปุฏเสนาติ อิต ิ ทิสฺสติ ฯ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ฯ สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ติณฺณ สญฺโญชนาน ปริกฺขยา โสตาปนฺ นา อวินป ิ าตธมฺมา นิยตา สมฺโพธิปรายนา เอวรูปาปิ ภิกฺขเว สนฺ ต ิ ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺเฆ ฯ สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ จตุนฺน สติปฏฺฐานาน ภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ เอวรูปาปิ ภิกฺขเว สนฺ ต ิ ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ฯ [๒๘๖] สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ จตุนฺน สมฺมปฺปธานาน ภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ ... จตุนฺน อิทฺธป ิ าทาน ... ปญฺจนฺ น อินฺทฺรย ิ าน ... ปญฺจนฺ น พลาน ... สตฺตนฺ น โพชฺฌงฺคาน ... อริยสฺส อฏฺฐงฺ คก ิ สฺส มคฺคสฺส ภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ เอวรูปาปิ ภิกฺขเว สนฺ ต ิ ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ฯ สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ เมตฺตาภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ ... กรุณาภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ ... มุทต ิ าภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ ... อุเปกฺขาภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ ... อสุภภาวนานุ โยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ ... อนิจฺจสญฺญาภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ เอวรูปาปิ ภิกฺขเว สนฺ ต ิ ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ ฯ [๒๘๗] สนฺ ต ิ ภิกฺขเว ภิกฺขู อิมสฺม ึ ภิกฺขส ุ งฺ เฆ อานาปานสติภาวนานุโยคมนุยต ุ ฺตา วิหรนฺ ต ิ ฯ อานาปานสติ ภิกฺขเว ภาวิตา พหุลก ี ตา มหปฺผลา โหติ มหานิสสา ฯ อานาปานสติ ภิกฺขเว ภาวิตา พหุลก ี ตา จตฺตาโร สติปฏฺฐาเน ปริปเู รนฺ ต ิ ๑- ฯ จตฺตาโร @เชงิ อรรถ: ๑ โป. ยุ. ปริปเู รติ ฯ สติปฏฺฐานา ภาวิตา พหุลก ี ตา สตฺต โพชฺฌงฺ เค ปริปเู รนฺ ต ิ ฯ สตฺต โพชฺฌงฺ คา ภาวิตา พหุลก ี ตา วิชฺชาวิมต ุ ฺต ึ ปริปเู รนฺ ต ิ ฯ [๒๘๘] กถ ภาวิตา จ ภิกฺขเว อานาปานสติ กถ พหุลก ี ตา มหปฺผลา โหติ มหานิสสา ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ อรญฺญคโต วา ี ติ ปลฺลงฺก อาภุชต ิ ฺ วา รุกฺขมูลคโต วา สุญฺญาคารคโต วา นิสท อุช ุ ํ กาย ปณิธาย ปริมข ุ สตึ อุปฏฺฐเปตฺวา ฯ โส สโตว


อสฺสสติ สโต ปสฺสสติ ฯ {๒๘๘.๑} ทีฆ วา อสฺสสนฺ โต ทีฆ อสฺสสามีต ิ ปชานาติ ทีฆ วา ปสฺสสนฺ โต ทีฆ ปสฺสสามีต ิ ปชานาติ ฯ รสฺส วา อสฺสสนฺ โต รสฺส อสฺสสามีต ิ ปชานาติ รสฺส วา ปสฺสสนฺ โต รสฺส ปสฺสสามีต ิ ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ สพฺพกายปฏิสเวที ปชานาติ ฯ สพฺพกายปฏิสเวที อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ ปสฺสมฺภย กายสงฺ ขาร อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ ปสฺสมฺภย กายสงฺขาร ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปี ตป {๒๘๘.๒} ปี ตป ิ ฏิสเวที อสฺสสส ิ ฏิสเวที ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ สุขปฏิสเวที อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ จิตฺตสงฺ ขารปฏิสเวที สุขปฏิสเวที ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ จิตฺตสงฺ ขารปฏิสเวที ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปสฺสมฺภย จิตฺตสงฺ ขาร ปสฺสมฺภย จิตฺตสงฺ ขาร อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ จิตฺตปฏิสเวที {๒๘๘.๓} จิตฺตปฏิสเวที อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ ิ ฺขติ ฯ อภิปฺปโมทย จิตฺต อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ ปสฺสสส สก ิ ฺขติ ิ ฺสามีต ิ สก อภิปฺปโมทย จิตฺต ปสฺสสส ิ ฺขติ ฯ สมาทห จิตฺต อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ สมาทห จิตฺต สก ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ วิโมจย จิตฺต อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ วิโมจย จิตฺต ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ อนิจฺจานุปสฺส ี {๒๘๘.๔} อนิจฺจานุปสฺส ี อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ วิราคานุปสฺส ี อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ นิโรธานุปสฺส ี อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ วิราคานุปสฺส ี ปสฺสสส ิ ฺขติ นิโรธานุปสฺส ี ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ ปฏินส สก ิ ฺสคฺคานุปสฺส ี ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปฏินส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ฯ อสฺสสส ิ ฺสคฺคานุปสฺส ี ปสฺสสส เอว ภาวิตา โข ภิกฺขเว อานาปานสติ เอว พหุลก ี ตา มหปฺผลา โหติ มหานิสสา ฯ [๒๘๙] กถ ภาวิตา จ ภิกฺขเว อานาปานสติ กถ พหุลก ี ตา จตฺตาโร สติปฏฺฐาเน ปริปเู รนฺ ต ิ ๑- ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ ทีฆ วา อสฺสสนฺ โต ทีฆ อสฺสสามีต ิ ปชานาติ ทีฆ วา ปสฺสสนฺ โต ทีฆ ปสฺสสามีต ิ ปชานาติ รสฺส วา อสฺสสนฺ โต รสฺส อสฺสสามีต ิ ปชานาติ รสฺส วา ปสฺสสนฺ โต รสฺส ปสฺสสามีต ิ ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ สพฺพกายปฏิสเวที ปชานาติ สพฺพกายปฏิสเวที อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ ิ ฺขติ ิ ฺสามีต ิ ปสฺสสส สก ปสฺสมฺภย กายสงฺขาร อสฺสสส ิ ฺขติ ปสฺสมฺภย กายสงฺขาร ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ กาเย สก กายานุปสฺส ี ภิกฺขเว ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฌ ฺ าโทมนสฺส ฯ กาเยสุ กายญฺญตราห ภิกฺขเว เอต วทามิ ยทิท อสฺสาสปสฺสาส ๒- ฯ ตสฺมาติห ภิกฺขเว @เชงิ อรรถ: ๑ โป. ม. ยุ. ปริปเู รติ ฯ ๒ โป. ม. อสฺสาสปสฺสาสา ฯ กาเย กายานุปสฺส ี ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺส ฯ ิ ฺสามีต ิ {๒๘๙.๑} ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ ปี ตป ิ ฏิสเวที อสฺสสส ิ ฺขติ ปี ตป ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ สุขปฏิสเวที อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฏิสเวที ปสฺสสส ิ ฺขติ สุขปฏิสเวที ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ จิตฺตสงฺขารปฏิสเวที สก ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ จิตฺตสงฺ ขารปฏิสเวที ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปสฺสมฺภย จิตฺตสงฺ ขาร ปสฺสมฺภย จิตฺตสงฺ ขาร อสฺสสส


ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ เวทนาสุ เวทนานุปสฺส ี ภิกฺขเว ตสฺม ึ สมเย ปสฺสสส ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺส ฯ เวทนาสุ เวทนาญฺญตราห ภิกฺขเว เอต วทามิ ยทิท อสฺสาสปสฺสาสาน ิ าร ฯ ตสฺมาติห ภิกฺขเว เวทนาสุ เวทนานุปสฺส ี ตสฺม ึ สาธุก มนสก สมเย ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺส ฯ ิ ฺสามีต ิ {๒๘๙.๒} ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ จิตฺตปฏิสเวที อสฺสสส ิ ฺขติ จิตฺตปฏิสเวที ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ อภิปฺปโมทย จิตฺต อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ อภิปฺปโมทย จิตฺต ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ สมาทห จิตฺต สก ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ สมาทห จิตฺต ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ วิโมจย จิตฺต อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ วิโมจย จิตฺต ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ จิตฺเต อสฺสสส จิตฺตานุปสฺส ี ภิกฺขเว ตสฺส ึ สมเย ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺส ฯ นาห ภิกฺขเว มุฏฺฐสติสฺส อสมฺปชานสฺส อานาปานสตึ วทามิ ฯ ตสฺมาติห ภิกฺขเว จิตฺเต จิตฺตานุปสฺส ี ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺส ฯ ิ ฺสามีต ิ {๒๘๙.๓} ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ อนิจฺจานุปสฺส ี อสฺสสส ิ ฺขติ อนิจฺจานุปสฺส ี ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ วิราคานุปสฺส ี อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ วิราคานุปสฺส ี ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ นิโรธานุปสฺส ี อสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ นิโรธานุปสฺส ี ปสฺสสส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปฏินส สก ิ ฺสคฺคานุปสฺส ี ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ปฏินส ิ ฺสามีต ิ สก ิ ฺขติ ธมฺเมสุ อสฺสสส ิ ฺสคฺคานุปสฺส ี ปสฺสสส ธมฺมานุปสฺส ี ภิกฺขเว ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฌ ฺ าโทมนสฺส ฯ โส ยนฺ ต อภิชฺฌาโทมนสฺสาน ปหาน [๑]- ปญฺญาย ทิสฺวา สาธุก อชฺฌเุ ปกฺขต ิ า โหติ ฯ ตสฺมาติห ภิกฺขเว ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺส ี ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฌ ฺ าโทมนสฺส ฯ เอว ภาวิตา โข ภิกฺขเว อานาปานสติ เอว พหุลก ี ตา จตฺตาโร สติปฏฺฐาเน ปริปเู รนฺ ต ิ ๒- ฯ [๒๙๐] กถ ภาวิตา จ ภิกฺขเว จตฺตาโร สติปฏฺฐานา กถ พหุลก ี ตา สตฺต โพชฺฌงฺ เค ปริปเู รนฺ ต ิ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ กาเย กายานุปสฺส ี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺส อุปฏฺฐต ิ สฺส ตสฺม ึ สมเย สติ โหติ อปฺปมฺมฏ ุ ฺฐา ๓- ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น อุปฏฺฐต ิ า สติ @เชงิ อรรถ: ๑ โป. ม. ยุ. เอตฺถนฺ ตเร ตนฺ ต ิ ทิสฺสติ ฯ ๒ โป. ม. ยุ. ปริปเู รติ ฯ @๓ ม. ยุ. อสมฺมฏ ุ ฺฐา ฯ โหติ อปฺปมฺมฏ ุ ฺฐา สติสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ สติสมฺโพชฺฌงฺค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ สติสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๑} โส ตถาสโต วิหรนฺ โต ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ ติ ปวิจรติ ๑- ปริวม ี ส อาปชฺชติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตถาสโต วิหรนฺ โต ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ ติ ปวิจรติ ปริวม ี ส อาปชฺชติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ ฯ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺ โค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๒} ตสฺส ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ โต ปวิจรโต ปริวม ี ส


อาปชฺชโต อารทฺธ โหติ วิรย ิ อสลฺลน ี ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ โต ปวิจรโต ปริวม ี ส อาปชฺชโต อารทฺธ โหติ วิรย ิ อสลฺลน ี วิรย ิ สมฺโพชฺฌงฺ โค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ วิรย ิ สมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ วิรย ิ สมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๓} อารทฺธวิรย ิ สฺส อุปฺปชฺชติ ปี ต ิ นิรามิสา ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺธวิรย ิ สฺส อุปฺปชฺชติ ปี ต ิ นิรามิสา ปี ตส ิ มฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ ปี ตส ิ มฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ ปี ตส ิ มฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๔} ปี ตม ิ นสฺส กาโยปิ ปสฺสมฺภติ จิตฺตมฺปิ ปสฺสมฺภติ ฯ @เชงิ อรรถ: ๑ ม. ปวิจยติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น ปี ตม ิ นสฺส กาโยปิ ปสฺสมฺภติ จิตฺตมฺปิ ปสฺสมฺภติ ปสฺสทฺธส ิ มฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ ปสฺสทฺธส ิ มฺโพชฺฌงฺค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ ปสฺสทฺธส ิ มฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๕} ปสฺสทฺธกายสฺส สุขโิ น จิตฺต สมาธิยติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น ปสฺสทฺธกายสฺส สุขโิ น จิตฺต สมาธิยติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๖} โส ตถาสมาหิต จิตฺต สาธุก อชฺฌเุ ปกฺขต ิ า โหติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตถาสมาหิต จิตฺต สาธุก อชฺฌเุ ปกฺขต ิ า โหติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺ โค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๗} ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ เวทนาสุ ... จิตฺเต ... ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺส ี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺส อุปฏฺฐต ิ สฺส ตสฺม ึ สมเย สติ โหติ อปฺปมฺมฏ ุ ฺฐา ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น อุปฏฺฐต ิ า สติ โหติ อปฺปมฺมฏ ุ ฺฐา สติสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ สติสมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ สติสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๘} โส ตถาสโต วิหรนฺ โต ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ ติ ปวิจรติ ปริวม ี ส อาปชฺชติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตถาสโต วิหรนฺ โต ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ ติ ปวิจรติ ปริวม ี ส อาปชฺชติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๙} ตสฺส ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ โต ปวิจรโต ปริวม ี ส อาปชฺชโต อารทฺธ โหติ วิรย ิ อสลฺลน ี ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น ต ธมฺม ปญฺญาย ปวิจน ิ โต ปวิจรโต ปริวม ี ส อาปชฺชโต อารทฺธ โหติ วิรย ิ อสลฺลน ี วิรย ิ สมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ วิรย ิ สมฺโพชฺฌงฺค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ วิรย ิ สมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๑๐} อารทฺธวิรย ิ สฺส อุปฺปชฺชติ ปี ต ิ นิรามิสา ฯ ยสฺม ึ


สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น อารทฺธวิรย ิ สฺส อุปฺปชฺชติ ปี ต ิ นิรามิสา ปี ตส ิ มฺโพชฺฌงฺ โค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ ปี ตส ิ มฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ ปี ตส ิ มฺโพชฺฌงฺ โค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๑๑} ปี ตม ิ นสฺส กาโยปิ ปสฺสมฺภติ จิตฺตมฺปิ ปสฺสมฺภติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น ปี ตม ิ นสฺส กาโยปิ ปสฺสมฺภติ จิตฺตมฺปิ ปสฺสมฺภติ ปสฺสทฺธส ิ มฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ ปสฺสทฺธส ิ มฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ ปสฺสทฺธส ิ มฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๑๒} ปสฺสทฺธกายสฺส สุขโิ น จิตฺต สมาธิยติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขโุ น ปสฺสทฺธกายสฺส สุขโิ น จิตฺต สมาธิยติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺ โค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ สมาธิสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ {๒๙๐.๑๓} โส ตถาสมาหิต จิตฺต สาธุก อชฺฌเุ ปกฺขต ิ า โหติ ฯ ยสฺม ึ สมเย ภิกฺขเว ภิกฺขุ ตถาสมาหิต จิตฺต สาธุก อชฺฌเุ ปกฺขต ิ า โหติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺ โค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น อารทฺโธ โหติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺ ค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขุ ภาเวติ อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺโค ตสฺม ึ สมเย ภิกฺขโุ น ภาวนาปาริปรู ึ คจฺฉติ ฯ เอว ภาวิตา โข ภิกฺขเว จตฺตาโร สติปฏฺฐานา เอว พหุลก ี ตา สตฺต โพชฺฌงฺ เค ๑- ปริปเู รนฺ ต ิ ฯ [๒๙๑] กถ ภาวิตา จ ภิกฺขเว สตฺต โพชฺฌงฺ คา กถ พหุลก ี ตา วิชฺชาวิมต ุ ฺต ึ ปริปเู รนฺ ต ิ ฯ อิธ ภิกฺขเว ภิกฺขุ สติสมฺโพชฺฌงฺ ค ิ วิราคนิสฺสต ิ นิโรธนิสฺสต ิ โวสฺสคฺคปริณามึ ฯ ภาเวติ วิเวกนิสฺสต ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺ ค ภาเวติ ... วิรย ิ สมฺโพชฺฌงฺ ค ภาเวติ ... ปี ตส ิ มฺโพชฺฌงฺ ค ภาเวติ ... ปสฺสทฺธส ิ มฺโพชฺฌงฺ ค ภาเวติ ... สมาธิ ิ สมฺโพชฺฌงฺ ค ภาเวติ ... อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺ ค ภาเวติ วิเวกนิสฺสต ิ นิโรธนิสฺสต ิ โวสฺสคฺคปริณามึ ฯ เอว ภาวิตา โข วิราคนิสฺสต ภิกฺขเว สตฺต โพชฺฌงฺคา เอว พหุลก ี ตา วิชช ฺ าวิมต ุ ฺต ึ ปริปเู รนฺ ตต ี ิฯ @เชงิ อรรถ: ๑ ม. ยุ. สมฺโพชฺฌงฺ เค ฯ ิ อิทมโวจ ภควา อตฺตมนา เต ภิกฺขู ภควโต ภาสต อภินนฺ ทน ุ ฺต ิ ฯ อานาปานสติสต ุ ฺต นิฏฺฐต ิ อฏฺฐม ฯ ----------


หั ว ใจ ๑๐๘ (บ ้านเฮาเอิน ้ ว่า ตั บ ๑๐๘) หัวใจพระธรรม ๗ คั ม ภีร์ หัวใจพระสูต ร หัวใจพระวินั ย หัวใจสัต ตะโพชฌงค์ หัวใจพระรั ต นตรั ย หัวใจพาหุง หัวใจพระพุทธเจ ้า หัวใจปฏิสั งขาโย หัวใจพระไตรปิ ฎก ี หัวใจยอดศ ล หัวใจธรรมบท ( เปรต ) หัวใจปถมั ง หัวใจอิธ ะเจ หัวใจตรีนิส งิ เห หัวใจสนธิ หัวใจแม่พ ระธรณี หัวใจยะโตหัง หัวใจพระกุกกุสั น โธ หัวใจพระโกนาคมน์ หัวใจพระกัส สป หัวใจสั งคะหะ หัวใจนอโม หัวใจไฟ หัวใจลม หัวใจบารมี หัวใจน้ า หัวใจดิน หัวใจวิรูปั กเข หัวใจพระปริต ร หัวใจพระนิพ าน หัวใจยานี หัวใจกรณีเมตตสูต ร หัวใจวิปัส สนา หัวใจมงคลสูต ร หัวใจอายั นตุโภนโต หัวใจมหาสมั ย หัวใจเสฎฐัน

คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ

สั งวิช าปุกะยะปะ ทีม ะสั ง อั งขุ อาปามะจุป ะ สะธะวิปิ ปะสะอุ อิสะวาสุ พามานาอุกะสะนะทุ อิกะวิต ิ จิปิ เสคิ สะระณะมะ พุ ทธะสั งมิ ทุสะนะโส ทุสะมะนิ อิทะคะมะ สะชะฏะตรี งะญะนะมะ เมกะมุอุ นะหิโสตั ง นะมะกะยะ นะมะกะตะ กะระมะถะ จิเ จรุนิ นะอุเ ออะ เตชะสะติ วายุละภะ ิ ะ ผะเวสั จ เจเอช ม อาปานุ ต ิ ปะถะวิยั ง เมตะสะระภูมู สะยะสะปะยะอะจะ ส วิ ัง พุ ทธั ง ยะนิรัต นั ง เอตั งสะติง วิระสะติ เอตะมั งคะลั ง อานิชะนิ กาละกัญ ธามหาภิสะมา เสพุเสวะเสตะอะเส


หัวใจปาฏิโ มกข์ ี่ ้าน หัวใจเพชรส ด ี สบ ิ หัวใจศ ล หัวใจอริย สั จ ๔ หัวใจธรรมจั กร์ หัวใจนิพ พานจั กรี หัวใจทศชาติ หัวใจธาตุทั ง้ ๔ หัวใจธาตุพระกรณี ย ์ หัวใจพระกรณี ย ์ ี หัวใจปลายศ ล หัวใจกิน นุ สัต รมาโน หัวใจพระยายั กษ์ หวัใ จภาณยัก ษ์ หัวใจอาวุธ พระพุท ธเจ ้า หัวใจนะโม หัวใจกะขะ ี พระ หัวใจศ ล หัวใจโลกทั ง้ ๑๐ หัวใจยั นต์ หัวใจขุนแผน หัวใจแค ้ลวคลาด หัวใจเกราะเพชร หัวใจจั งงัง หัวใจอิทธิฤทธิ หัวใจกาสั ง หัวใจพระภูม ิ หัวใจนิพ พานสูต ร หัวใจแก ้วสามประการ หัวใจพระฉิม พลี หัวใจสัค เค หัวใจพระญาณรั ง ษี หัวใจสัม พุท เธ หัวใจคงคาเดือด หัวใจพระเวสสั นดร หัวใจพระวิฑูร หัวใจพระมโหสถ หัวใจพระเตมีย ์ หัวใจพนฃระภูรฑ ิ ัต

คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ

เมอะมะอุ ิ ัต ติป ะภั ส มิง อะส ส ปาสุอุช า ทุสะนิม ะ ติต อ ิ ุน ิ อิสะระมะสาพุเ ทวา เตชะสุเนมะภูจะนาวิเ ว นะมะพะทะ จะภะกะสะ จะอะภะคะ อิสะปะมิ กะนะนะมา ภะยะนะยะ กะยะพะตั ง ิ ะ ปะส ส นะวะอัสสะ กะยะนะอัง พุ ทธสั งอิ โลกะวิทู ยั นตั งสั นตั ง สุนะโมโล อะหังติโ ก ภูต ากังเก กะระสะติ อะหัง นุ กา กาละถานุ กุม มิภุม มิ อะนิโสสะ มะติย าโน นะชาลีต ิ นะสะมิเห สะกะจะพาหุ สะทะปะโต กะขะชะนะ สะระนะตะ นะมะสั ง อิ ิ ุอ ะ ปาส อ กะระเตจะ มะสะนิว า


หัวใจพระสุวรรณสาม หัวใจพระมหาชนก หัวใจวิปั ส ส ิ หัวใจพระมาลั ย หัวใจพระยาร ้อยเอ็ด หังใจพระยาหมี หัวใจทิพย์ม นต์ หัวใจงู หัวใจเณร ิ หัวใจฆะเตส ก หัวใจพระยานาค หัวใจพระยาม ้า หัวใจพระยามั จจุร าช หัวใจพระยามาร หัวใจสัต ว์ หัวใจท ้าวเวสสุวรรณ หัวใจพาลี หัวใจองคต หัวใจมดง่าม หัวใจไก่เถื่อน หัวใจเต่า เรือน หัวใจการเวก ี ์ หัวใจราชส ห หัวใจพระเจ ้า ๔ พระองค์ หัวใจปลาไหลเผือ ก หัวใจ กอ.ขอ. หัวใจอุณลุม หัวใจโจร หัวใจปลวก หัวใจหนุ ม าน หัวใจมนุ ษย์ หัวใจหญิง หัวใจชาย หัวใจทรหด หัวใจมหาอุจ(เขีย นแบบเดิม ) หัวใจลิงลม

คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ คือ

อะวะสะทะ ปะพะยะหะ สะขิสะปิ พะลั ยยะ อิส วิ ริ ะ สะปิ ระ กะจะยะสะ อะหิสัป โป ิ ะอุอะวะสะหัง สะส ส ิ ะมิ ปะส จ อะงะสะ สุก เขยโย กาละมั จจุ นุ ภ าวโต อันตะภาโวพะ เวสสะพุสะ หันตะนุ ภ า พะหะวารา ิ านะ กะส ต ติว ก ิ ุก ู นาสั งส โิ ม การะวิโก ี ะทานั ง สห นะกะอะปิ อะยาเวยยะ มอลอข ้อโข อุป ะสัม ปะ กันหะเนหะ วะโมทุทั นตานั ง ยะตะมะอะ , หรือ หะนุ ม านะ มะนุ ญ ญั ง จิต ตั งภคินิเ ม จิต ตั งปุร โิ ส นะหิโลกัง อุทธั งอัท โธ ยุว าพะวา , วิง วังกัง หะ , หรือ จิข ะจุต ิ

พระคาถายอดหัวใจ ๑๐๘ คือ นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ จะภะกะสะ


คาแผ่เ มตตา บทแผ่เ มตตา ์ น อิทัง ปุญญะผะลัง อานิสงสอ ั ใด ทีข ่ ้าพเจ ้าทัง้ หลาย ได ้บาเพ็ญไปแล ้วนี้ ขอผลบุญนี้ จงแผ่ไปถึง เจ ้ากรรมนายเวรทัง้ หลาย ทีข ่ ้าพเจ ้าได ้ล่วงเกินมาแล ้ว แต่ชาติกอ ่ นก็ด ี ชาตินก ี้ ด ็ ี ิ รรมกันตัง้ แต่ ขอให ้เจ ้ากรรมนายเวรทัง้ หลาย ได ้มาอนุโมทนา เมือ ่ อนุโมทนาแล ้ว ขอให ้อโหสก บัดนี้ เวลานีเ้ ป็ นต ้นไป ขอแผ่บญ ุ กุศลนี้ ไปถึงเทพเจ ้าทัง้ หลาย ทีร่ ก ั ษาตัวข ้าพเจ ้าอยูก ่ ็ด ี นอกจากนีก ้ ็ด ี ทั่วสากลพิภพ จงมีความสุขโดยเฉพาะอย่างยิง่ เทพพรหมทัง้ หลาย ภูผป ี ี ศาจทัง้ หลายทีอ ่ ยูใ่ น นีก ้ ็ด ี อยูบ ่ ้านของข ้าพเจ ้าก็ด ี ขอให ้ทุกท่านจงมีความสุข ั พะสต ั ว์ทงั ้ หลาย มีบด และขอแผ่บญ ุ กุศลนี้ ไปถึงสพ ิ ามารดา ครูบาอาจารย์ ญาติพน ี่ ้อง มิตรสหาย ของข ้าพเจ ้าทัง้ หลาย ทีเ่ สวยความสุขอยูก ่ ด ็ ี เสวยความทุกข์อยูก ่ ็ด ี ขอให ้ทุกท่านจงมีความสุข โดยเฉพาะอย่างยิง่ พระสยามเทวาธิราชทุกท่าน ขอให ้ทุกท่านจงมี ความสุข ์ ี้ จงเป็ นปั จจัยให ้ข ้าพเจ ้าทัง้ หลาย ได ้อยูด ขอผลานิสงสน ่ ก ี น ิ ดี มีความสุขความ เจริญยิง่ ๆ ขึน ้ ไป และได ้เข ้าถึงซงึ่ พระนิพพานในชาติปัจจุบน ั นี้ ด ้วยเทอญฯ

แผ่เ มตตาให ้ตนเอง อะหัง สุขโิ ต โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้ามีความสุข อะหัง นิททุกโข โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้าปราศจากความทุกข์ อะหัง อะเวโร โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้าปราศจากเวร อะหัง อัพยาปั ชโฌ โหมิ ขอให ้ข ้าพเจ ้าปราศจากอุปสรรค อันตรายทัง้ ปวง สุข ี อัตตานัง ปะริหะรามิ ั ปชญ ั ญะ อยูท ขอให ้ข ้าพเจ ้าจงมีสติสม ่ ก ุ เมือ ่ รักษากาย วาจา ใจ ให ้พ ้นจากความ ทุกข์ภัยทัง้ ปวงเถิด บทแผ่เ มตตา ั เพ สต ั ตา: สพ

ั ว์ทัง้ หลายทีเ่ ป็ นเพือ ิ้ สต ่ นทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด ้วยกันหมดทัง้ สน

อะเวรา โหนตุ:

จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได ้มีเวรซงึ่ กันและกันเลย

อัพยาปั ชฌา โหนตุ:

จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได ้พยาบาทเบียดเบียน ซงึ่ กันและกันเลย

อะนีฆา โหนตุ:


จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได ้มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย

สุข ี อัตตานัง ปะริหะรันตุ:

ิ้ เถิด จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนให ้พ ้น จากทุกข์ภัย ทัง้ สน

แผ่ เ มตตาพรหมวิห ารส ี่

ั เพ สต ั ตา สพ

ั ว์ทัง้ หลายทีเ่ ป็ นเพือ ิ้ สต ่ นทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทัง้ สน

อะเวรา โหนตุ

จงเป็ นผู ้ไม่มเี วรแก่กันและกัน

อัพยาปั ชฌา โหนตุ

จงเป็ นผู ้ไม่เบียดเบียน ซงึ่ กันและกัน

อะนีฆา โหนตุ

จงเป็ นผู ้ไม่มท ี ก ุ ข์กาย ทุกข์ใจกันเถิด

สุข ี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

ิ้ เถิด จงเป็ นผู ้มีสข ุ พ ้นจากทุกข์ภัย ทัง้ สน

ั เพ สต ั ตา สพ

ั ว์ทัง้ หลายทีเ่ ป็ นเพือ ิ้ สต ่ นทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทัง้ สน

ั พะทุกขา ปะมุจจันตุ สพ จงพ ้นจากทุกข์เถิด

ั เพ สต ั ตา สพ

ั ว์ทัง้ หลายทีเ่ ป็ นเพือ ิ้ สต ่ นทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทัง้ สน

ั ปั ตติโต วิมจ มา ลัทธะสม ุ จันตุ

จงอย่าไปปราศจากสมบัต ิ อันตนได ้แล ้วเถิด

ั เพ สต ั ตา สตั ว์ทัง้ หลายทีเ่ ป็ นเพือ่ นทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทัง้ สนิ้ สพ กัมมัสสะกา เป็ นผู ้มีกรรมเป็ นของของตน กัมมะทายาทา เป็ นผู ้รับผลของกรรม กัมมะโยนิ เป็ นผู ้มีกรรมเป็ นกาเนิด กัมมะพันธุ เป็ นผู ้มีกรรมเป็ นเผ่าพันธุ์ กัมมะปะฏิสะระณา เป็ นผู ้มีกรรมเป็ นทีพ ่ งึ่ พาอาศัย ยัง กัมมัง กะริสสันติ กระทากรรมอันใดไว ้ กัลยาญัง วา ปาปะกัง วา ดีหรือชวั่ ั ติ จักเป็ นผู ้รับผลของกรรมนัน้ ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสน


นวหรคุ ณ (อิต ป ิ ิ โส เก า้ ห ้อง) คือ คุณเก ้าประการ ของพระพุทธเจ ้า จากบทพุทธคุณนัน ้ เอง หรือ ทีเ่ รียกกันตามตาราว่า อิตป ิ ิ โส เก ้าห ้อง นับตัง้ แต่ห ้องที่ ิ้ เชงิ บทนีใ้ ชด้ ้านกันไฟทัง้ ปวง ๑.อะระหัง หมายถึง เป็ นผู ้ดับเพลิงทุกข์ เพลิงกิเลสโดยสน ั มาสม ั พุทโธ หมายถึง เป็ นผู ้ตรัสรู ้ชอบได ้ด ้วยตัวพระองค์เอง บทนีใ้ ชเป็ ้ นตบะเดชะ ๒.สม เสริมสร ้างสง่าราศ ี ั ปั นโน หมายถึง เป็ นผู ้พร ้อมด ้วยวิชาและจรณะ บทนีใ้ ชด้ ้านโภคทรัพย์โชค ๓. วิชาจะระณะสม ลาภ ้ ๔. สุคะโต หมายถึงเป็ นผู ้ดาเนินไปได ้ด ้วยดี บทนีใ้ ชในด ้านการเดินทาง ทัง้ ทางบก น้ า อากาศ ้ ๕.โลกะวิทู หมายถึง เป็ นผู ้รู ้โลกอย่างแจ่มแจ ้ง บทนีใ้ ชภาวะนาเมื อ ่ เข ้าป่ าหรือทีม ่ ด ื ๖. อนุตตโร ปุรส ิ ะทัมมะสารถี หมายถึง เป็ นผู ้ฝึ กบุรษ ุ ผู ้ควรฝึ กได ้ อย่างไม่มใี ครยิง่ กว่า บทนีใ้ ช ้ ทางมหาอานาจ ตวาดผี ั ถาเทวะมนุษานัง หมายถึง เป็ นครูของเทวดาและมนุษย์ทงั ้ หลาย บทนีใ้ ชทางเมตามหา ้ ๗. สต นิยม สมณะ ขุนนางเอ็นดู ้ ๘. พุทโธ หมายถึง ผู ้รู ้ ผู ้ตืน ่ ผู ้เบิกบาน บทนีใ้ ชภาวนาอารมณ์ ทาให ้ไม่ตกตา่ อับจน ั ว์ดงั นี้ บทนีใ้ ชในทางป้ ้ ๙. ภะคะวา ติ หมายถึง เป็ นผู ้จาเริญ จาแนก ธรรม สงั่ สอนสต องกันภยัน อันตรายอันจะกระทาแก่เรา ไม่วา่ จะเป็ นมนุษย์ ั ว์เดียรฉาน ป้ องกันการประทุษร ้ายเหล่านัน ิ้ แล หรือสรุปโดยย่อ อมนุษย์ อสูรกาย สต ้ ได ้ ทัง้ สน เป็ นองค์ภาวนา คาถานวหรคุณ ก็คอ ื "อะ สงั วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ" นั่นคือเป็ นหัวใจพระพุทธคุณ นั่นเอง



พระคาถาถวายพระพรชัย มงคล ๗ รอบ ๘๔ พรรษ (ภูม พ ิ ะละมหาราชะวรั ส สะ ชะยะมัง คะละคาถา)

ภูม พ ิ ะโล มะหาราชา นะวะโม จั ก กิวั งส โิ ก รั ฏ ฐัป ปะสาสะเน พยัต โต นีต จ ิ าริต ตะโกวิโ ท สัม พุท ธะมามะโก อัค โค สาสะนั ส สูป ะถั ม ภะโก ธั ม มิโ ก ทะสะธั ม เมหิ รั ชชัง กาเรติ สัพพะทา สะวีร โิ ย สะมุส สาโห ทีฆะทั ส ส ี วิจั ก ขะโณ ทั ย ยานั ง วุฑ ฒิเ ปกโข โส สั นติมั ค คะนิโ ยชะโก เตสั ง ทุกขาปะเนตาจะ สะทา สุโข ปะสัง หะโร สัพพั ต ถะ สัพ พะทั ย ยานั ง อะติป ปิ โย มะโนหะโร สัพเพเปเต ปิ ยายั น โต ปิ ยะปุต เต ปิ ตาริวะ สัพพะทั ย ยานะมั ต ถายะ ฐาเนสุ จะระมั ต ตะนา สัม มาอาช วี ะ โยคั ส สะ วิธ งิ วิเ นติ โยนิโส ิ า สะมะชวี ต ยา เจสา โลกะนาเถนะ ภาส ต ิ า อัต ตานั ง อุป ะมั ง กัต วา อะนุ ยุญ ชะติ ตั ง สะทา ทัยยานั ง รั ฏ ฐะปาลีนั ง เอตั ญ เจวานุ สาสะติ ิ ขะกามานั ง ปิ ฏะ กัต ตะ ยะ ส ก ิ ขะนั ง ภิกขูนั ง ส ก สุพพะตั ง ภิกขุสั ง ฆัญ จะ ภิย โยโส อุป ะถั ม ภะติ อิท าเนโส มะหาราชา ทัย ยานั ง รั ฏ ฐะวัฑ ฒะโน สัฏ ฐิวั ส สานิ ธั ม เมนะ รั ชชัง กาเรติ โสตถิน า อีท เิ ส มั งคะเล กาเล เทมั ส สะ ชะยะมั งคะลั ง ระตะนั ต ตะยานุ ภ าเวนะ ระตะนั ต ตะยะ เตชะสา จิรัญ ช วี ะตุ ทีฆ ายุ ทั ย ยานั ง ธั ม มะ ขั ต ติโ ย วั ณ ณะวา พะละสั ม ปั น โน นิร ามะโย จะ นิพภะโย อิจ ฉิตั ง ปั ต ถิตั ง ยั ง ยั ง ตั ง ตั ง ตัสสะ สะมิชฌะตุ สะทา ปั ส สะตุ ภั ท รานิ นิจจั ง รั ชเช ปะติฏ ฐะตูต ฯ ิ ข ้าพระพุทธเจ ้าทั ง้ หลาย ขอน อ้ มเกล ้าฯ ถวายพระพรชัย มงคลด ้วยความ ิ ธิ์ จงรั กภั กดี ขออาราธนาคุณพระศรีรั ต นตรั ย และอานุ ภ าพแห่งสรรพส งิ่ ศั ก ดิส ์ ท ทั่ว สากล ดวงพระวิญ ญาณสมเด็ จบูร พมหากษั ต ริย าธิร าชเจ ้าทุก พระองค์ ได ้ โปรดอภิบ าลรั ก ษาพ่ อและแม่แ ห่งแผ่นดินให ้ทรงพระส ริ ส ิ วัส ดิ์ มีพระพลานามั ย ทีส ่ มบูร ณ์ มีพระราชประสงค์ใ นส งิ่ ใด ขอจงสัม ฤทธิด ์ ั ง พระราชหฤทั ย ปรารถนา สถิต เป็ นมิง่ ขวัญ ของปวงข ้าพระพุ ท ธเจ ้าทั ง้ หลาย ตราบชั่วนิรัน ดร์กาล ขอพระองค์ท รงพระเจริญ ด ้วยเกล ้าด ้วยกระหม่อ ม ขอเดชะ กราบแทบพระบาท



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.