หลักการ ทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9
หลั ก การทรงงาน ในหลวงรั ช กาลที ่ 9
ค ำ � นำ � ตลอดระยะเวลา 7 ทศวรรษการครองราชย์ ข องพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทร มหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงอุทิศพระวรกายบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ ด้วยพระวิริยะอุตสาหะ ทั้งในพื้นที่ห่างไกลและถิ่นทุรกันดาร เพื่อพัฒนาประเทศและ ช่วยบรรเทาทุกข์ของพสกนิกรให้มคี ณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี พออยูพ ่ อกิน ด้วยพระมหากรุณาธิคณ ุ อันล้นพ้นแก่ราษฎรทุกหมูเ่ หล่า และทรงเปีย่ มด้วยพระปรีชาสามารถรอบด้าน ได้พระราชทาน แนวคิด “เศรษฐกิจพอเพียง” ที่จะช่วยให้การพัฒนาเกิดความสมดุล องค์รวม และยั่งยืน โดยมีหลักการความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอที่จะ ต้านทานผลกระทบจากสภาพภายนอกได้อย่างรอบคอบ การทรงงานของพระองค์ ท ่ า นทรงยึ ด ลั ก ษณะทางสายกลางที่ ส ามารถน�ำมาปฏิ บั ติ ได้จริง เรียบง่าย และเป็นแนวทางการพัฒนาที่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน โดย หนังสือ “23 หลักการทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9” ฉบับนี้ได้รวบรวมเนื้อหาจาก “หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” ของส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ (กปร.) เพื่อเผยแพร่และเสริมสร้าง ความรู้ความเข้าใจในหลักการทรงงานของพระองค์ท่าน อันจะยึดเป็นแนวปฏิบัติตาม รอยเบื้องพระยุคลบาท ให้ทุกคนสามารถพึ่งตนเอง พัฒนาชุมชน และสร้างรากฐานของ ประเทศชาติในวิถีพอเพียง ตลอดจนใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ส า ร บั ญ 6
ในหลวงรัชกาลที่ 9
10
หลักการทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9 13 1. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ 14 2. ระเบิดจากข้างใน 17 3. แก้ปัญหาที่จุดเล็ก 18 4. ท�ำตามล�ำดับขั้น 21 5. ภูมิสังคม 22 6. องค์รวม 25 7. ไม่ติดต�ำรา 26 8. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด
29 45 9. ท�ำให้ง่าย 17. การพึ่งตนเอง 30 46 10. การมีส่วนร่วม 18. พออยู่พอกิน 33 49 11. ประโยชน์ส่วนรวม 19. เศรษฐกิจพอเพียง 34 50 12. บริการรวมที่จุดเดียว 20. ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน 37 53 13. ทรงใช้ธรรมชาติ ช่วยธรรมชาติ 21. ท�ำงานอย่างมีความสุข 38 54 14. ใช้อธรรมปราบอธรรม 22. ความเพียร : พระมหาชนก 41 56 15. ปลูกป่าในใจคน 23. รู้ รัก สามัคคี 42 16. ขาดทุนคือก�ำไร
ใน หลวงรั ชกาลที่
6
ตั้ ง แต่ ป ี 2502 เป็ น ต้ น มา พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 พร้ อ มด้ ว ยสมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ ในรั ช กาลที่ 9 ได้ เ สด็ จ พระราชด�ำเนิ น ไปทรงกระชั บ สั ม พั น ธไมตรี กั บ ประเทศ ต่ า งๆ ทั้ ง ในยุ โ รป อเมริ ก า ออสเตรเลี ย และเอเชี ย และได้ เ สด็ จ พระราชด�ำเนิ น ไป ทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ทุกภาค ทรงประจักษ์ในปัญหาของราษฎรตามชนบท ที่ ด�ำรงชี วิ ต ด้ ว ยความยากจนและด้ อ ยโอกาส ได้ ท รงพระวิ ริ ย ะอุ ต สาหะหาทาง แก้ ป ั ญ หาตลอดมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น อาจกล่ า วได้ ว ่ า ทุ ก หนทุ ก แห่ ง บนผื น แผ่ น ดิ น ไทย ที่ ร อยพระบาทได้ ป ระทั บ ลง ได้ ท รงขจั ด ทุ ก ข์ ย ากน�ำความผาสุ ก และทรงยกฐานะ ความเป็ น อยู ่ ข องราษฎรให้ ดี ขึ้ น ด้ ว ยพระบุ ญ ญาธิ ก ารและพระปรี ช าสามารถ ปราดเปรื่องพร้อมด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพื่อประโยชน์สุข ของราษฎรและพัฒนาประเทศชาติตลอดระยะเวลา โดยมิได้ทรงค�ำนึงถึงประโยชน์สุข ส่วนพระองค์ นอกจากนี้ได้พระราชทานโครงการนานัปการจ�ำนวน 4,596 โครงการ ทั้งด้านการแพทย์สาธารณสุข การเกษตร การชลประทาน การพัฒนาที่ดิน การศึกษา การพระศาสนา การสั ง คมวั ฒ นธรรม การคมนาคม ตลอดจนการเศรษฐกิ จ เพื่ อ ประโยชน์ สุ ข ของพสกนิ ก รในชนบท ทั้ ง ยั ง ทรงขจั ด ปั ญ หาทุ ก ข์ ย ากของ ประชาชนในชุ ม ชนเมื อ ง เช่ น ทรงแก้ ป ั ญ หาการจราจร อุ ท กภั ย เป็ น ต้ น พระองค์ ทรงตรากตร�ำพระวรกายทรงงานอย่ า งมิ ท รงเหน็ ด เหนื่ อ ยแม้ ใ นยามทรง พระประชวร ก็ มิ ไ ด้ ท รงหยุ ด ยั้ ง พระราชด�ำริ หรื อ แม้ ย ามที่ ป ระเทศประสบภาวะ เศรษฐกิจ ทั้ ง นี้ ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2539 เป็ น ต้ น มา ได้ พ ระราชทานแนวทางด�ำรงชี พ ตามแบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม่” ให้ราษฎรได้พึ่งตนเองบนผืนแผ่นดินไทย ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ที่สามารถด�ำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน
7
8
9
23
หลักการทรงงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9 หลั ก การทรงงานในพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ตามที่ ส�ำนั ก งานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด�ำริ (กปร.) ได้ ร วบรวมไว้ มี ห ลากหลายถึ ง 23 หลั ก การ ซึ่ ง ปวงชนชาวไทยสามารถน้ อ มน�ำไปปฏิ บั ติ ไ ด้ ต าม ความเหมาะสม
10
11
12
1
ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ การที่จ ะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่ งจะทรงศึกษาข้ อมู ลรายละเอีย ดอย่า งเป็น ระบบ ทั้งจาก ข้อมูลเบื้องต้นจากเอกสาร แผนที่ สอบถามเจ้าหน้าที่ นักวิชาการ และราษฎรในพื้นที่ ให้ได้รายละเอียด อย่ า งถู ก ต้ อ ง เพื่ อ ที่ จ ะพระราชทานความช่ ว ยเหลื อ ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง รวดเร็ ว ตรงตามความต้ อ งการ ของประชาชน
13
2
ระเบิดจากข้างใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงมุ่งเน้นเรื่อง การพัฒนาคน มีพระราชด�ำรัสว่า “ต้องระเบิดจากข้างใน” นั้นหมายความว่า ต้องมุ่งพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ให้ ค นและครอบครั ว ในชุ ม ชนที่ เ ข้ า ไปพั ฒ นา ให้ มี ส ภาพพร้ อ มที่ จ ะรั บ การพั ฒ นาเสี ย ก่ อ น แล้ ว จึ ง ค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก มิใช่การน�ำเอาความเจริญจากสังคมภายนอกเข้าไปหาชุมชนและหมู่บ้าน ซึ่ ง หลายชุ ม ชนยั ง ไม่ ทั น ได้ มี โ อกาสเตรี ย มตั ว หรื อ ตั้ ง ตั ว จึ ง ไม่ ส ามารถปรั บ ตั ว ได้ ทั น กั บ กระแส การเปลี่ยนแปลงและน�ำไปสู่ความล่มสลายได้
14
15
16
3
แก้ปัญหาที่จุดเล็ก พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงเปี่ยมไปด้ ว ย พระอัจฉริยภาพในการแก้ไขปัญหา ทรงมองปัญหาในภาพรวม (Macro) ก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหา ของพระองค์จะเริ่มจากจุดเล็ก ๆ คือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมักจะมองข้าม ดังพระราชด�ำรัสที่ว่า
“
“
…ถ้าปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออก เป็นอย่างนั้นต้องแก้ไขการปวดหัว นี้ก่อน...มันไม่ได้เป็นการแก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้อยู่ในสภาพที่คิดได้...แบบ Macro นี้เขาจะท�ำแบบ รื้อทั้งหมด ฉันไม่เห็นด้วย...อย่างบ้านคนอยู่ เราบอกบ้านนี้ มันผุตรงนั้น ผุตรงนี้ ไม่คุ้มที่จะไปซ่อม...เอาตกลงรื้อบ้านนี้ ระเบิดเลย เราจะไปอยู่ที่ไหน ไม่มีที่อยู่...วิธีท�ำต้องค่อยๆ ท�ำ จะไประเบิดหมดไม่ได้...
17
4
ทำ�ตามลำ�ดับขั้น ในการทรงงาน พระองค์จะทรงเริ่มต้นจากสิ่งที่จ�ำเป็นของประชาชนที่สุดก่อน ได้แก่ สาธารณสุข เมื่อมี ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงแล้วก็จะสามารถท�ำประโยชน์ด้านอื่นๆ ต่อไปได้ จากนั้นจะเป็นเรื่องสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐานและสิ่งจ�ำเป็นในการประกอบอาชีพ อาทิ ถนน แหล่งน�้ำเพื่อการเกษตร การอุปโภคบริโภค ที่ เ อื้ อ ประโยชน์ ต ่ อ ประชาชนโดยไม่ ท�ำลายทรั พ ยากรธรรมชาติ รวมถึ ง การให้ ค วามรู ้ ท างวิ ช าการ และเทคโนโลยี ที่ เ รี ย บง่ า ย เน้ น การปรั บ ใช้ ภู มิ ป ั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ที่ ร าษฎรสามารถน�ำไปปฏิ บั ติ ไ ด้ แ ละ เกิดประโยชน์สูงสุด ดังพระบรมราโชวาท เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ ความตอนหนึ่งว่า
“
...การพัฒนาประเทศจ�ำเป็นต้องท�ำตามล�ำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือความพอมีพอกิน พอใช้ของ ประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้ พื้นฐานที่มั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจ ขั้นที่สูงขึ้นโดยล�ำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มสร้างความเจริญยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชน โดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิด ความไม่สมดุลในเรื่องต่างๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด ดังเห็นได้ที่อารยประเทศ ก�ำลังประสบปัญหาทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงในเวลานี้ การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชน ในการประกอบอาชีพ และตั้งต้วให้มีความพอกิน พอใช้ก่อนอื่นเป็นพื้นฐานนั้น เป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งยวด เพราะผู้ที่มีอาชีพ และฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง ย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าระดับที่สูงได้ต่อไปโดยแน่นอน ส่วนการถือหลักที่จะส่งเสริมความเจริญให้ค่อยเป็นไปตามล�ำดับ ด้วยความรอบคอบระมัดระวังและ ประหยัดนั้น ก็เพื่อป้องกันความผิดพลาดล้มเหลวและเพื่อให้บรรลุผลส�ำเร็จได้แน่นอนบริบูรณ์...
“
18
19
20
5
ภูมิสังคม การพัฒนาใด ๆ ต้องค�ำนึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยาเกี่ยวกับ ลักษณะนิสยั ใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิน่ ทีม่ คี วามแตกต่างกัน ดังพระราชด�ำรัส ความตอนหนึ่งว่า
“
...การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ในสังคมวิทยา คือ นิสัยใจคอของ คนเรา จะไปบังคับให้คนคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะน�ำ เราเข้าไปช่วย โดยที่จะคิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถ้าเราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูว่า เขาต้องการอะไรจริง ๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการ ของการพัฒนานี้ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง...
“ 21
6
องค์รวม ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวม (Holistic) หรือมองอย่างครบวงจร ในการที่จะพระราชทานพระราชด�ำริ เกี่ ย วกั บ โครงการหนึ่ ง นั้ น จะทรงมองเหตุ ก ารณ์ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และแนวทางแก้ ไ ขอย่ า งเชื่ อ มโยง ดั ง เช่ น กรณีของ “ทฤษฎีใหม่” ที่พระราชทานให้แก่ปวงชนชาวไทย เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพนับเป็น แนวทางหนึ่งที่พระองค์ทรงมองอย่างองค์รวม ตั้งแต่การถือครองที่ดินโดยเฉลี่ยของประชาชนคนไทย ประมาณ 10 – 15 ไร่ เพื่ อ การบริ ห ารจั ด การที่ ดิ น และแหล่ ง น�้ ำ อั น เป็ น ปั จ จั ย พื้ น ฐานที่ ส�ำคั ญ ในการประกอบอาชีพ เมื่อมีน�้ำในการท�ำเกษตรแล้วจะส่งผลให้ผลผลิตดีขึ้น และหากมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น เกษตรกรจะต้องรู้จักวิธีการจัดการและการตลาด รวมถึงการรวมกลุ่มรวมพลังชุมชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่ อ พร้ อ มที่ จ ะออกสู ่ ก ารเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมภายนอกได้ อ ย่ า งครบวงจร นั่ น คื อ ทฤษฎี ใ หม่ ขั้นที่ 1, 2 และ 3
22
23
24
7
ไม่ติดตำ�รา การพัฒนาตามแนวพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลมและรอมชอมกับสภาพธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และสภาพของสังคม จิตวิทยาแห่งชุมชน คือ “ไม่ติดต�ำรา” ไม่ผูกมัดติดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทย
25
8
ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงประหยั ด มาก แม้ เ ป็ น เรื่ อ งส่ ว นพระองค์ ดั ง ที่ ป ระชาชนชาวไทยเคยเห็ น ว่ า หลอดยาสี พ ระทนต์ นั้ น ทรงใช้ อ ย่ า งคุ ้ ม ค่ า อย่างไร ฉลองพระองค์แต่ละองค์ทรงใช้อยู่เป็นเวลานาน หรือแม้แต่ฉลองพระบาทหากช�ำรุดก็จะส่งซ่อม และใช้อย่างคุ้มค่า ขณะเดียวกันการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎรทรงใช้หลักในการแก้ไขปัญหาด้วยความ เรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถท�ำได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้สิ่งสิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้นๆ มาแก้ไขปัญหาโดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ไม่ยุ่งยากนัก ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า
26
“
“
...ให้ปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก โดยปล่อยให้ขึ้นเองตามธรรมชาติ จะได้ประหยัดงบประมาณ...
27
28
9
ทำ�ให้ง่าย ด้ ว ยพระอั จ ฉริ ย ภาพและพระปรี ช าสามารถในพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ท�ำให้การคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงานการพัฒนาประเทศตามแนวพระราชด�ำริ ด�ำเนินไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และที่ส�ำคัญคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศ โดยส่ ว นรวม ตลอดจนสภาพทางสั ง คมของชุ ม ชนนั้ น ๆ ทรงโปรดที่ จ ะท�ำสิ่ ง ที่ ย ากให้ ก ลายเป็ น ง่ า ย ท�ำสิ่งที่สลับซับซ้อนให้เข้าใจง่าย อันเป็นการแก้ปัญหาด้วยการใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทางนั่นเอง ฉะนั้นค�ำว่า “ท�ำให้ง่าย” จึงเป็นหลักคิดส�ำคัญของการพัฒนาประเทศในรูปแบบของโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ
29
10
การมีส่วนร่วม พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงเป็ น นั ก ประชาธิ ป ไตย ทรงเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายทั้งสาธารณชน ประชาชน หรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ทุ ก ระดั บ ได้ เ ข้ า มาร่ ว มกั น แสดง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ ร ่ ว ม กั น ท�ำ ง า น โ ค ร ง ก า ร พ ร ะ ร า ช ด�ำ ริ โ ด ย ค�ำ นึ ง ถึ ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ประชาชนหรื อ ความต้ อ งการของสาธารณชนด้ ว ย ส�ำหรั บ วิ ธี ก ารมี ส ่ ว นร่ ว มพระองค์ ท รงน�ำ “ประชาพิ จ ารณ์ ” มาใช้ ใ นการบริ ห ารจั ด การด�ำเนิ น งาน ซึ่ ง เป็ น วิ ธี ก ารที่ เ รี ย บง่ า ยตรงไปตรงมา โดยหากจะท�ำโครงการใดจะทรงอธิ บ ายถึ ง ความจ�ำเป็ น และผลกระทบที่ เ กิ ด กั บ ประชาชนทุ ก ฝ่ า ย รวมทั้ ง ผู ้ น�ำชุ ม ชนในท้ อ งถิ่ น เมื่ อ ประชาชนในพื้ น ที่ เ ห็ น ด้ ว ยแล้ ว หน่ ว ยราชการต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และร่วมด�ำเนินการมีความพร้อม จึงจะพระราชทานพระราชด�ำริให้ด�ำเนินโครงการนั้น ๆ ต่อไป
30
31
32
11
ประโยชน์ส่วนรวม การปฏิ บั ติ พ ระราชกรณี ย กิ จ และการพระราชทานพระราชด�ำริ ใ นการพั ฒ นาและช่ ว ยเหลื อ พสกนิ ก ร ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงระลึกถึงประโยชน์ของ ส่วนรวมเป็นส�ำคัญ ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า
“
...ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจร�ำคาญด้วยซ�้ำว่า ใครต่อใครมาก็บอกว่า ขอให้คิดถึงประโยชน์ส่วนรวม อาจมานึกในใจว่า ให้ ๆ อยู่เรื่อยแล้ว ส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คิดว่าคนที่ให้เพื่อส่วนรวมนั้น มิได้ให้ส่วนรวมแต่อย่างเดียว เป็นการให้เพื่อตัวเอง สามารถที่จะมีส่วนรวมที่จะอาศัยได้...
“
พระบรมราโชวาท มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2514
33
12
บริการรวมที่จุดเดียว การบริการรวมที่จุดเดียวเป็นรูปแบบการบริการแบบเบ็ดเสร็จ หรือ One Stop Services ที่เกิดขึ้นเป็น ครั้งแรกในระบบบริหารราชการแผ่นดินของประเทศไทย โดยทรงให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชด�ำริ เ ป็ น ต้ น แบบในการบริ ก ารรวมที่ จุ ด เดี ย ว เพื่ อ ประโยชน์ ต ่ อ ประชาชนที่ จ ะมาขอใช้ บ ริ ก าร จะประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย โดยจะมีหน่วยงานราชการต่าง ๆ มาร่วมด�ำเนินการและให้บริการประชาชน ณ ที่แห่งเดียว ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า
“
...กรม กองต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประชาชนทุกด้านได้ สามารถแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ปรองดองกัน ประสานกัน ตามธรรมดาแต่ละฝ่ายต้องมีศูนย์ของตน แต่ว่าอาจจะมีงานถือว่าเป็นศูนย์ของตัวเองคนอื่นไม่เกี่ยวข้อง และศูนย์ศึกษาการพัฒนา เป็นศูนย์ที่รวบรวมก�ำลังทั้งหมดของเจ้าหน้าที่ทุกกรม กอง ทั้งในด้านเกษตรหรือ ในด้านสังคม ทั้งในด้านหางาน การส่งเสริมการศึกษามาอยู่ด้วยกัน ก็หมายความว่า ประชาชนซึ่งจะต้องใช้วิชาการทั้งหลายก็สามารถที่จะมาดู ส่วนเจ้าหน้าที่จะให้ความอนุเคราะห์ แก่ประชาชนก็มาอยู่พร้อมกันในที่เดียวกันเหมือนกัน ซึ่งเป็นสองด้าน ก็หมายถึงว่า ที่ส�ำคัญ ปลายทางคือ ประชาชนจะได้รับประโยชน์และต้นทางของผู้เป็นเจ้าหน้าที่จะให้ประโยชน์...
“
34
35
36
13
ทรงใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรงเข้ า ใจถึ ง ธรรมชาติ และต้ อ งการให้ ป ระชาชนใกล้ ชิ ด กั บ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ทรงมองอย่ า งละเอี ย ดถึ ง ปั ญ หา ธรรมชาติ หากเราต้ อ งการแก้ ไ ขธรรมชาติ จ ะต้ อ งใช้ ธ รรมชาติ เ ข้ า ช่ ว ยเหลื อ อาทิ การแก้ ไ ข ปัญหาป่าเสื่อมโทรม ได้พระราชทานพระราชด�ำริ “การปลูกป่า โดยไม่ต้องปลูก” ปล่อยให้ธรรมชาติ ช่ ว ยในการฟื ้ น ฟู ธ รรมชาติ หรื อ แม้ ก ระทั่ ง “การปลู ก ป่ า ๓ อย่ า ง ประโยชน์ ๔ อย่ า ง” ได้ แ ก่ ปลูกไม้เศรษฐกิจ ไม้ผล และไม้ฟืน นอกจากได้ประโยชน์ตามชื่อของไม้แล้ว ยังช่วยสร้างความชุ่มชื้น ให้ แ ก่ พื้ น ดิ น ด้ ว ย เห็ น ได้ ว ่ า ทรงเข้ า ใจธรรมชาติ และมนุ ษ ย์ อ ย่ า งเกื้ อ กู ล กั น ท�ำให้ ค นอยู ่ ร ่ ว มกั บ ป่าได้อย่างยั่งยืน
37
14
ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงน�ำความจริ ง ในเรื่ อ งความเป็ น ไปแห่ ง ธรรมชาติ แ ละกฎเกณฑ์ ข องธรรมชาติ ม าเป็ น หลั ก การ แนวปฏิ บั ติ ที่ ส�ำคั ญ ในการแก้ ป ั ญ หาและปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลงสภาวะที่ ไ ม่ ป กติ เข้ า สู ่ ร ะบบที่ เ ป็ น ปกติ เช่น การน�ำน�้ำดี ขับไล่น�้ำเสีย หรือเจือจางน�้ำเสียให้กลับเป็นน�้ำดี ตามจังหวะการขึ้นลงตามธรรมชาติ ของน�้ ำ การบ�ำบั ด น�้ ำ เสี ย โดยใช้ ผั ก ตบชวาซึ่ ง มี ต ามธรรมชาติ ให้ ดู ด ซึ ม สิ่ ง สกปรกปนเปื ้ อ นในน�้ ำ ดังพระราชด�ำรัสความว่า
38
“
“
ใช้อธรรมปราบอธรรม
39
40
15
ปลูกป่าในใจคน เป็ น การปลู ก ป่ า ลงบนแผ่ น ดิ น ด้ ว ยความต้ อ งการอยู ่ ร อดของมนุ ษ ย์ ท�ำให้ ต ้ อ งมี ก ารบริ โ ภคและ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง เพื่อประโยชน์ของตนเองและสร้างความเสียหายให้แก่สิ่งแวดล้อม ดั ง นั้ น การที่ จ ะฟื ้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ ห้ ก ลั บ คื น มาจะต้ อ งปลู ก จิ ต ส�ำนึ ก ในการรั ก ผื น ป่ า ให้ แก่คนเสียก่อน ดังพระราชด�ำรัสความตอนหนึ่งว่า
“
“
...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ควรจะปลูกต้นไม้ ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดิน และรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง...
41
16
ขาดทุนคือกำ�ไร
“
“
...ขาดทุน คือ ก�ำไร Our loss is our gain การเสีย คือ การได้ ประเทศชาติก็จะก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้...
จากพระราชด�ำรั ส ดั ง กล่ า ว คื อ หลั ก การในพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ มี ต ่ อ พสกนิ ก รไทย “การให้ ” และ “การเสี ย สละ” เป็ น การกระท�ำอั น มี ผ ลเป็ น ก�ำไร คือความอยู่ดีมีสุขของราษฎร ซึ่งสามารถสะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจนได้ ดังพระราชด�ำรัส ที่ ไ ด้ พ ระราชทานแก่ ตั ว แทนของปวงชนชาวไทย ที่ ไ ด้ เ ข้ า เฝ้ า ฯ ถวายพระพร เนื่ อ งในโอกาส เฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2534 ณ ศาลาดุสิดาลัย พระต�ำหนั ก จิ ต รลดารโหฐาน ความตอนหนึ่งว่า
42
“
“
...ประเทศต่าง ๆ ในโลก ในระยะ 3 ปีมานี้ คนที่ก่อตั้งประเทศที่มีหลักทฤษฎีในอุดมคติที่ใช้ ในการปกครองประเทศล้วนแต่ล่มสลายลงไปแล้ว เมืองไทยของเราจะสลายลงไปหรือ เมืองไทย นับว่าอยู่ได้มาอย่างดี เมื่อประมาณ 10 วันก่อน มีชาวต่างประเทศมาขอพบ เพื่อขอโอวาท เกี่ยวกับการปกครองประเทศว่าจะทําอย่างไร จึงได้แนะนําว่า ให้ปกครองแบบคนจน แบบที่ไม่ติดตํารามากเกินไป ทําอย่างมีสามัคคี มีเมตตากัน ก็จะอยู่ได้ตลอดไม่เหมือนกับ คนที่ท�ำตามวิชาการ ที่เวลาปิดตําราแล้วไม่รู้จะทําอย่างไร ลงท้ายก็ต้องเปิดหน้าแรก เริ่มใหม่ ถอยหลังเข้าคลอง ถ้าเราใช้ตําราแบบอะลุ้มอล่วยกันในที่สุดได้ก็เป็นการดี ให้โอวาทเขาไปว่าขาดทุนเป็นการได้กําไรของเรา นักเศรษฐศาสตร์คงค้านว่าไม่ใช่ แต่เราอธิบายได้ว่า ถ้าเราทําอะไรที่เราเสีย แต่ในที่สุดเราเสียนั้น เป็นการได้ทางอ้อม ตรงกับงาน ของรัฐบาลโดยตรง เงินของรัฐบาลหรืออีกนัยหนึ่งคือเงินของประชาชน ถ้าอยากให้ประชาชน อยู่ดี กินดี ก็ต้องลงทุน ต้องสร้างโครงสร้าง ซึ่งต้องใช้เงิน เป็นร้อย พัน หมื่นล้าน ถ้าทําไป เป็นการจ่ายเงินของรัฐบาล แต่ในไม่ช้า ประชาชนจะได้รับผล ราษฎรอยู่ดีกินดี ราษฎร ได้กําไรไป ถ้าราษฎรมีรายได้ รัฐบาลก็เก็บภาษีได้สะดวก เพื่อให้รัฐบาลได้ทําโครงการต่อไป เพื่อความก้าวหน้าของประเทศชาติ ถ้ารู้รัก สามัคคี รู้เสียสละ คือการได้ ประเทศชาติ ก็จะก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดีมีสุขนั้น เป็นการนับที่เป็นมูลค่าเงินไม่ได้...
43
44
17
การพึ่งตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดํารัส เพื่อแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพื่อให้ มีความแข็งแรง พอที่จะดํารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไป ก็คือการพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ ตามสภาพแวดล้อมและสามารถ “พึ่งตนเองได้” ในท่ีสุด ดังพระราชดํารัสความตอนหนึ่งว่า
“
“
...การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพ และตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอื่นเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งพาตนเองได้ ย่อมสามารถสร้างความเจริญในระดับสูงขั้นต่อไป...
45
18
พออยู่พอกิน การพั ฒ นาเพื่ อ ให้ พ สกนิ ก รทั้ ง หลายประสบความสุ ข สมบู ร ณ์ ใ นชี วิ ต ได้ เริ่ ม จากการเสด็ จ ฯ ไปเยี่ ย ม ประชาชนทุ ก หมู ่ เ หล่ า ในทุ ก ภู มิ ภ าคของประเทศไทย ได้ ท อดพระเนตรความเป็ น อยู ่ ข องราษฎรด้ ว ย พระองค์ เ อง จึ ง ทรงสามารถเข้ า พระราชหฤทั ย ในสภาพปั ญ หาได้ อ ย่ า งลึ ก ซึ้ ง ว่ า มี เ หตุ ผ ลมากมาย ที่ทําให้ราษฎรตกอยู่ในวงจรแห่งทุกข์เข็ญ จากนั้นได้พระราชทานความช่วยเหลือให้พสกนิกร มีความ กินดีอยู่ดี มีชีวิตอยู่ในขั้น “พออยู่พอกิน” ก่อนแล้วจึงขยับขยายให้มีขีดสมรรถนะที่ก้าวหน้าต่อไป ในการพัฒนานั้น หากมองในภาพรวมของประเทศมิใช่งานเล็กน้อย แต่ต้องใช้ความคิดและกําลังของ คนทั้ ง ชาติ จึ ง จะบรรลุ ผ ลสํ า เร็ จ ด้ ว ยพระปรี ช าญาณในพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 จึ ง ทํ า ให้ ค นทั้ ง หลายได้ ป ระจั ก ษ์ ว ่ า แนวพระราชดํ า ริ ใ นพระองค์ นั้ น “เรียบง่าย ปฏิบัติได้ผล” เป็นที่ยอมรับโดยทั่วกัน ดังพระราชดํารัสความตอนหนึ่งว่า
46
“
“
...ถ้าโครงการดี ในไม่ช้า ประชาชนก็ได้ก�ำไร จะได้ผล ราษฎรจะอยู่ดีกินดีขึ้น จะได้ประโยชน์ไป...
47
48
19
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 มีพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ ก่ อ นเกิ ด วิ ก ฤตการณ์ ท างเศรษฐกิ จ และเมื่ อ ภายหลั ง ได้ ท รงย�้ ำ แนวทางการแก้ ไ ข เพื่ อ ให้ ร อดพ้ น และสามารถดํ า รงอยู ่ ไ ด้ อ ย่ า งมั่ น คงและยั่ ง ยื น ภายใต้ ก ระแสโลกาภิ วั ต น์ แ ละความเปลี่ ย นแปลงต่ า ง ๆ ดังปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ได้พระราชทานไว้ดังนี้ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เพื่ อ ให้ ก ้ า วทั น ต่ อ โลกยุ ค โลกาภิ วั ต น์ ความพอเพี ย ง หมายถึ ง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนําวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผน และการดําเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นั ก ทฤษฎี และนัก ธุรกิจ ในทุก ระดับ ให้ มีส�ำนึ กในคุ ณ ธรรม ความซื่ อ สั ต ย์ สุจริ ต และให้ มี ค วามรอบรู้ ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี 49
20
ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานพระราชดํ า รั ส เรื่ อ ง ความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต จริ ง ใจต่ อ กั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตลอดมา เพราะเห็ น ว่ า หากคนไทยทุ ก คนได้ ร่วมมือกันช่วยชาติ พัฒนาชาติด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกันแล้ว ประเทศไทยจะเจริญก้าวหน้า อย่างมาก ดังพระราชด�ำรัส ดังนี้
“
...ผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมท�ำประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้ มากกว่าผู้มีความรู้มากแต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบริสุทธิ์ใจ... พระราชดํารัส เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2533
“
“ “
พระราชดํารัส เมื่อวันที่ 12 กรกฏาคม 2522
...ผู้ว่า CEO ต้องเป็นคนที่สุจริต ทุจริตไม่ได้ ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียวก็ขอแช่งให้มีอันเป็นไป... ...ข้าราชการหรือประชาชนมีการทุจริต ถ้ามีทุจริตแล้ว บ้านเมืองพัง ที่เมืองไทยพังมาเพราะมีทุจริต...
50
“
“
...คนที่ไม่มีความสุจริต คนที่ไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มักง่ายไม่มีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวม ที่ส�ำคัญอันใดได้ ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะท�ำงานส�ำคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณ เป็นประโยชน์แท้จริงได้ส�ำเร็จ...
พระราชดํารัส เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2546
51
52
21
ทำ�งานอย่างมีความสุข พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงพระเกษมส�ำราญและทรงมี ความสุขทุกคราที่จะช่วยเหลือประชาชน ซึ่งเคยมีพระราชด�ำรัสครั้งหนึ่งความว่า
“
“
...ท�ำงานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจาก การมีความสุขร่วมกัน ในการท�ำประโยชน์ให้กับผู้อื่น...
53
22
ความเพียร : พระมหาชนก จากพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” เป็นพระราชนิพนธ์ที่พระองค์ทรงใช้เวลาค่อนข้างนานในการคิด ประดิษฐ์ ท�ำให้เข้าใจง่าย และปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสภาพสังคมปัจจุบัน อีกทั้งภาพประกอบ และคติธรรม ต่าง ๆ ได้ส่งเสริมให้หนังสือเล่มนี้มีความศักดิ์สิทธิ์ที่หากคนไทยน้อมรับมาศึกษา วิเคราะห์และปฏิบัติ ตามรอยพระมหาชนก กษัตริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝั่ง ก็ยังว่ายน�้ำต่อไป เพราะถ้าไม่เพียรว่าย ก็จะตกเป็นอาหาร ปู ปลา และไม่ได้พบกับเทวดาที่มาช่วยเหลือมิให้จมน�้ำไป เช่ น เดี ย วกั บ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 ที่ ท รงริ เ ริ่ ม ท�ำโครงการต่ า ง ๆ ในระยะแรก ที่ ไ ม่ มี ค วามพร้ อ มในการท�ำงานมากนั ก และทรงใช้ พ ระราชทรั พ ย์ ส่วนพระองค์ทั้งสิ้น แต่พระองค์ก็มิได้ท้อพระราชหฤทัย มุ่งมั่นพัฒนาบ้านเมืองให้บังเกิดความร่มเย็น เป็นสุข
54
55
23
รู้ รัก สามัคคี พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ในหลวงรั ช กาลที่ 9 มี พ ระราชด�ำรั ส ในเรื่ อ ง “รู้ รัก สามัคคี” มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นค�ำสามค�ำที่มีค่าและมีความหมายลึกซึ้ง พร้อมทั้งสามารถ ปรับใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย รู้ : การที่เราจะลงมือท�ำสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหา และรู้ถึงวิธีแก้ปัญหา รัก : คือ ความรัก เมื่อเรารู้ครบถ้วนกระบวนความแล้ว จะต้องมีความรักการพิจารณาที่จะเข้าไปลงมือ ปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้น ๆ สามัคคี : การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรค�ำนึงเสมอว่า เราจะท�ำงานคนเดียวไม่ได้ ต้องท�ำงานร่วมมือ ร่วมใจเป็นองค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี
56
ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ในหลวงรัชกาลที่ 9 57
“
“
ฉันเป็นกษัตริย์ก็จริง แต่ฉันก็ยังมีอาชีพเป็นช่างภาพของ หนังสือพิมพ์แสตนดาร์ดได้เงินเดือนละ 100 บาท ตั้งหลายปีมาแล้ว จนบัดนี้ยังไม่เห็นเขาขึ้นเงินเดือนให้สักที เขาก็คงถวายเดือนละ 100 บาทอยู่เรื่อยมา (ศูนย์วัฒนธรรมฯ, 2530 : 95)
เนื้อหาของหนังสืออ้างอิงจาก “หนังสือ หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.)
พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ.2561 จำ�นวน 7,000 เล่ม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 49 พระราม 6 ซอย 30 พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร. 02 278 8400-19, 02 298 5630 อีเมล info@deqp.mail.go.th เว็บไซต์ www.deqp.go.th สงวนลิขสิทธิ์ ภาพกราฟิก และอินโฟกราฟิก โดย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับการพิมพ์เพื่อเผยแพร่ภาพถ่ายซ�้ำต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อนเท่านั้น