เอกสารแสดงภาพรวมภูมิทัศน์ระยะ 20 ปี

Page 1

ภูมิทัศนดิจิทัลของไทย ในระยะเวลา ๒๐ ป

20

ระยะที่ ๓ Digital Thailand II: Full Transformation

ระยะที่ ๑ Digital Foundation

ประเทศไทยลงทุน และพัฒนา โครงสรางพื้นฐานดิจิทัลประสิทธิภาพสูง ใหครอบคลุมทั่วประเทศ

ประเทศไทยกาวสูการเปนดิจิทัลไทยแลนด ที่ขับเคลื่อนและใชประโยชน จาก นวัตกรรมดิจิทัลไดอยางเต็มศักยภาพ

๑๐ ป

๑ ป ๖ เดือน

๑๐ - ๒๐ ป

๕ ป

ระยะที่ ๒ Digital Thailand I: Inclusion

ทุกภาคสวนของประเทศมีสวนรวม ในเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลตาม แนวทางประชารัฐ

ระยะที่ ๔ Global Digital Leadership

ประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่ พัฒนาแลว สามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัล สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ และคุณคาทางสังคมอยางยั่งยืน

อินเทอรเน็ตความเร็วสูงมีใชทุกหมูบาน

โครงสรางพื้นฐาน

ชองทางของอินเทอรเน็ตสื่อสารระหวางประเทศ เพิ่มขึ้น ๒ เทา รองรับการสื่อสาร และการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อินเทอรเน็ตสาธารณะฟรีครอบคลุม กศน. ตำบล (นักเรียน ๒,๐๐๐,๐๐๐ คน ) และโรงเรียน ตชด. ศูนยดิจิทัลชุมชน รวม ๑๐,๐๐๐ จุด ทั่วประเทศ

การสงเสริมผูประกอบการ SMEs OTOP และวิสาหกิจชุมชน -

เศรษฐกิจ

-

บมเพาะผูประกอบการ Tech Startup ๑,๕๐๐ ราย บมเพาะอยางครบวงจร ๑๕,๐๐๐ ราย และสรางมาตรฐานสินคาออนไลน ๑๐๐,๐๐๐ รายการ สรางรานคาออนไลนชุมชนอยางนอย ๑๐,๐๐๐ ราย ผานเครือขายศูนยดิจิทัลชุมชน นำรองพัฒนา Smart Farming ตรวจสอบยอนกลับสินคา เกษตรอินทรีย เชน ขาว ผัก ผลไม

ตัวอยางกิจกรรมขับเคลื่อน ระยะเรงดวน ๑ ป ๖ เดือน - ตอยอดโครงการคนกลาคืนถิ่นเพื่อบมเพาะ ใหเปนเกษตรกรดิจิทัล (Digital Farmer) ๑,๖๐๐ คน

- SMEs ในอุตสาหกรรมทองเที่ยวเขาถึงแพลตฟอรมออนไลน

ทองเที่ยวกลางที่สรางขึ้นใหม สามารถเชื่อมโยงกับออนไลน แพลตฟอรมการทองเที่ยวระดับโลกไดอยางสะดวก มีตนทุนต่ำ

เมืองอัจฉริยะ

สรางเมืองอัจฉริยะ(Smart City) ๕ แหง นำรอง ภูเก็ต เชียงใหม

National e-Payment

สนับสนุนการพัฒนามาตรฐานขอมูลสำหรับรองรับ ระบบ National e-Payment

สาธารณสุข

สรางและเชื่อมตอระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกสสวนบุคคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมโยง รพ.สต. ทั่วประเทศ โดยมีประชาชนเขาใชระบบไมนอยกวา ๑๕๐,๐๐๐ ราย

สังคม

เพิ่มทักษะการใชเทคโนโลยีดิจิทัล

- ผูพิการ/ ผูสูงอายุ/ผูดอยโอกาส มีทักษะในการใชประโยชนจากดิจิทัล

สรางรายได สรางอาชีพ

- นักเรียน นักศึกษา และบุคลากร สำนักงานคณะกรรการการอาชีวศึกษา

๗๐๐,๐๐๐ คน และประชาชนไมนอยกวา ๔๐๐,๐๐๐ คน เขาถึงสื่อ ดิจิทัลไดตลอดเวลา

โครงสรางพื้นฐานกลางภาครัฐ

- กำหนดและรับรองมาตรฐานบริการดิจิทัลของรัฐ การปกปองขอมูล

บริการภาครัฐ

ดูแลความมั่นคงปลอดภัยขอมูลหนวยงานรัฐ - บริการโครงสรางพื้นฐานกลางภาครัฐ (Government Shared Infrastructure/Data Center) ผานบริการเครือขายภาครัฐ (GIN) บริการ G-Cloud และ ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกสกลางเพื่อสื่อสาร ในภาครัฐ (MailGoThai)

การศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต

- บูรณาการแพลตฟอรมการศึกษาออนไลนหลักสำหรับ

ประชาชนผานระบบการจัดการการเรียนการสอนออนไลน แบบเปด(MOOC) ทั้งในและนอกระบบการศึกษา - สรางระบบ e-Learning ที่มี Mobile App. สำหรับประชาชน ทุกกลุม ไดแก ประชาชาชนทั่วไป ขาราชการ ผูประกอบการ ลูกจาง เพื่อเพิ่มทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ที่จำเปนเพื่อเขาสู AEC โรงเรียนชายขอบ ๒๐ โรงเรียน เขาถึงอินเทอรเน็ตความเร็วสูง - และสื่อการเรียนรูไดทัดเทียมกับโรงเรียนในเมือง

อำนวยความสะดวก

- ลดการใชสำเนาเอกสารในบริการของภาครัฐ (Smart Service) ไมนอยกวา ๗๙ บริการ - มีระบบสนับสนุนอำนวยความสะดวกผูประกอบการ ในชวงแรกของการเริ่มตนธุรกิจ (Doing Business Platform) - มีระบบติดตอสื่อสารออนไลนสำหรับหนวยงานภาครัฐผานอุปกรณ สื่อสารเคลื่อนที่ (G Chat) รองรับผูใชงานกวา ๑๕,๐๐๐ คน

เขาถึงและการมีสวนรวม

www.digitalthailand.in.th/

มีศูนยกลางบริการภาครัฐสำหรับประชาชน (GovChannel) ๓ ชองทาง ๑. ผ. านเว็บไซต (govchannel.co.th, egov.go.th, data.go.th, info.go.th) ๒. ผานอุปกรณสื่อสารเคลื่อนที่ เชน สมารทโฟน แท็บเล็ต มีระบบสำคัญ อาทิเชน G-News, ภาษีไปไหน ๓. ขยายการติดตั้งตูใหบริการอเนกประสงคภาครัฐ (Smart Government Kiosk)ครอบคลุมพื้นที่ทุกจังหวัดและมี e-Service ระบบแสดงสิทธิและรับรองสิทธิ การรักษาระบบ ตรวจสอบการนัดหมายระบบแสดงขอมูลผูใชไฟฟา


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.