DECazine 01

Page 1

DECAZINE ISSUE 01 / APRIL

INTERIOR DESIGN Interview / Design Update / Design Master piece / Showcase Student / Showcase Lecturer / Alumni / Design Vocab / Dec Market / Design Vocab / Dec News / Calendec


MON

TUE

WED

01

02

03

08

09

10 11-17 เมษ "เข้าทรง"นิทรรศการแสดงผล งานวิทยานิพนธ์ นักศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ แสดงที่ สยามเซ็นเตอร์

15

16

17

22

23

24

29

30


THU

FRI

SAT

SUN

“ SHOP DESIGN “ นิทรรศการ แสดงงานโมเดล เรียนของนักศึกษาปี 2 ภาคออกแบบตกแต่งภายใน แสดงที่ หอศิลป์และการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์ วันที่ 1-5 เมษายน 2556

04

05

06

07

11

12

13

14

18

19

20

21

25

26

27

28


MON

TUE

WED 1พค – 30 กค นิทรรศการกลางแจ้ง ศิลปกรรมภาพถ่ายอัดบนไวนิลและกระดาษ โดย ราล์ฟ โทเทน แสดงที่ เถ้าฮงไถ่ หอศิลป์ดีคุ้นสท์ จ. ราชบุรี

01 7-31 พค นิทรรศการภาพถ่าย โดย แกร์ริท เองเงิล (Gerrit Engel) สถาปนิกและนักถ่าย ภาพชาวเบอร์ลิน ภาพที่นำ�มาแสดงจะเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรมเก่าแก่จนถึงสมัยใหม่อันเป็นอัต ลักษณ์แห่งกรุงเบอร์ลิน แสดงที่ อาสาเซ็นเตอร์ สยามดิสคัฟเวอรี่ชั้น 5

06

07

ง P แ แ

08 1-15 พค นิทรรศการแสดงผลงานนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ แสดงที่ หอศิลป์และการออกแบบ คณะมัณฑนศิลป์

13

14

15

20

21

22

2

งา โด ภา งา สา แส

27

28

29

3


THU

02

FRI

03

SAT

04

SUN

05 งานมีจนถึงวันที่ 12 พค นิทรรศการ “การ เดินทาง” นำ�เสนอผลงานภาพถ่ายภายใต้แนวคิด เกี่ยวกับความทรงจำ�และภาพประทับใจ ของ อนัฆ นวราช แสดงที่ DOB Hualamphong Gallery

งานมีจนถึงวันที่ 9 พค นิทรรศการภาพเขียน Parallel โดย ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา และ อลิซาเบ็ธ รอมฮิลด์ แสดงที่ ละลานตา ไฟน์อาร์ต

09

10

11

12

16

17

18

19

23

านมีจนถึงวันที่ 2 มิ ย นิทรรศการ Infidel ดย ทิม เฮทเธอริงตัน ผลงานการแสดง าพถ่ายจากอัฟกานิสถาน หนังสือ Infidel ผล านวีดีโอจัดวาง ภาพยนตร์สั้น และภาพยนตร์ ารคดี สดงที่ WTF Café and Gallery

30

งานมีจนถึงวันที่ 26 พค นิทรรศการ "งานรถไฟสายความสุข...เศรษฐกิจใหม่จากราง สู่เมือง "แสดงที่ TCDC

24 งานมีจนถึงวันที่ 31 พค นิทรรศการ "โครงการ ศิลปะสร้างสุข " นำ�เสนอแนวคิดและวิถีทาง ของการใช้ศิลปะในแขนงต่างๆ กับเด็กที่มีความ ต้องการพิเศษ แสดงที่ พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ (รัชโยธิน)

31

25

26


DECAZINE INTERVIEW Deca Atelier คุณ สมชาย จงแสง มัณฑนศิลป์ รุ่น 24 ภาควิชาออกแบบ ตกแต่งภายใน ผู้ก่อตั้ง กรรมการผู้จัดการ บริษัทออกแบบ Deca Atelier


ประเดิม interview ของ DECAZINE เล่มแรก ด้วย Designer of the Year 2005 และ ศิลปิน ศิลปาธร สาขาออกแบบเชิงสร้างสรรค์ประเภท สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ ที่เป็นศิษย์เก่า มัณฑนศิลป์ ที่เป็น ไอดอล และแรงบรรดาลใจให้นัก ออกแบบรุ่นน้องหลายต่อหลายคน นั่นคือ คุณ สมชาย จงแสง ผู้ก่อตั้ง บริษัทออกแบบ DECA ATEIER เขาโดดเด่นด้วยงานออกแบบที่มีอัตลักษณ์ เฉพาะตัว จนถูกจับตามอง วันนี้ เขาจะมาเผยมุมมองการ ออกแบบชีวิตของเขา

+ พูดถึงงานที่ท�ำตอนนี้ ตั้งแต่จบมหาวิทยาลัยมาจนถึงวันนี้ ผมก็ยังท�ำงานเกี่ยวกับการออกแบบ ตกแต่งภายในอยู่ แต่ช่วงหลังๆ ได้มี โอกาสในงานสถาปัตยกรรมมากขึ้น เดี๋ยวนี้จะใช้ค�ำว่า สถาปัตยกรรม ภายใน ซึ่งผมได้มีโอกาสท�ำทั้งสอง ส่วนในบริษัท Deca Atelier เดกา อาทิเรีย ซึ่งเอาค�ำว่า DEC มาจากค�ำ ว่า decorative art มาบวกกับA อักษรตัวแรกของ Architecture ใน ความหมายก็คือ เราไม่ได้ท�ำเป็นงาน decorate แต่ เราท�ำเป็นงาน สถาปัตยกรรมในมุมมองของความเป็น สมัยใหม่


OSOTSPA CANTEEN

+ ท�ำไมถึงเลือกสอบเข้าคณะมัณฑนศิลป์ ผมจ�ำได้ว่าก่อนเลือกสอบเอนทรานซ์ ผมพยายามค้นหาตัว เอง เพราะสมัยนั้น การเอนทรานซ์ถือเป็นเรื่องใหญ่ เป็น ก้าวส�ำคัญของชีวิต และมีการแข่งขันสูงมาก มันจ�ำเป็นต้อง ค้นหาตัวเองว่า เราชอบอะไร และถนัดเรื่องอะไร เมื่อค้นหา ตัวเองได้แล้ว ก็มาดูว่า ความชอบกับความถนัด มันไปลงตัว ที่ตรงไหนในตอนนั้น ไม่ค่อยมีการแนะแนวการศึกษาต่อสัก เท่าไหร่ เราต้องดิ้นรนค้นเข้าหาเอง จนสุดท้ายมาพบว่า คณะมัณฑนศิลป์ คือค�ำตอบส�ำหรับผม เพราะผมชอบทั้ง งานศิลปะ และงานสถาปัตยกรรม อาจเป็นเพราะความเป็น

เด็ก ซึ่งรู้น้อย ประกอบกับงานทางสถาปัตยกรรมจะ เน้นไปที่คณิตศาสตร์ เลยรู้สึกว่า คณะมัณฑนศิลป์ คือ ค�ำตอบที่ค้นหาอยู่ เพราะไม่ได้มีความเป็ วิทยาศาสตร์ มากไป และก็ไม่ได้อาร์ตมากจนเกินไป ผมเรียนมา ทางสายวิทย์-ฟิสิกส์ ซึ่งจริงๆ แล้วน่าจะเข้าเรียน สถาปัตยกรรม เพราะมีคณิตศาสตร์กับฟิสิกส์ แต่ อย่างที่บอก เรารู้สึกว่า มัณฑนศิลป์มันมีความเป็น อาร์ตมากกว่าสถาปัตยกรรม ซึ่งตอนนั้นอาจจะดูเป็น เรื่องของเหตุผลที่มากเกินไป ผมเลยมองว่า มัณฑนศิลป์ คือ ค�ำตอบของตัวเอง


+ ครอบครัวสนับสนุนให้เรียนมัณฑนศิลป์ ต้องยอมรับว่าในอดีต คณะนี้เป็นที่รู้จักกันน้อย ตอนนั้น คน ทั่วไปอาจจะงงๆ ด้วยซ�้ำว่า เรียนมัณฑนศิลป์ คือเรียนช่าง ศิลป์หรือกรมศิลป์หรือเปล่า ซึ่งตอนนั้นก็อธิบายยากเหมือน กัน เพราะตัวเราเองก็ยังรู้น้อยเกี่ยวกับรายละเอียดของคณะ นี้ อีกทั้ง มัณฑนศิลป์ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักเท่าไหร่ในสังคมยุค นั้น หลายคนอาจจะรู้จักแต่คณะสถาปัตยกรรมเป็นส่วนใหญ่

OSOTSPA ADMINISTRATION

+ เหตุผลที่ครอบครัวไม่คัดค้าน อาจเป็นเพราะว่าทางครอบครัวไม่ได้สนใจเรามาก คือเรียน อะไรก็ได้ ขอแค่สอบเข้ามหาวิทยาลัยได้ ซึ่งตอนนั้น ก็มีอยู่ สองแห่งที่มีคณะมัณฑนศิลป์คือ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ เทคโนพระจอมเกล้า ซึ่งเพิ่งเปิดใหม่ แต่เรารู้สึกว่า ที่ ศิลปากรมันมีความเป็นอาร์ตมากๆ และเชื่อว่า เด็กๆ หลาย คน ถ้าชอบศิลปะ ก็อยากที่จะเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัย ศิลปากร

“คณะมัณฑนศิลป์ คือค�ำตอบที่ ค้นหาอยู่ เพราะไม่ได้มีความเป็น วิทยาศาสตร์มากไป และก็ไม่ได้ อาร์ตมากจนเกินไป”

+ ช่วงที่เรียนเป็นอย่างไร ส�ำหรับผม มันมีช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อเหมือนกัน มันอาจจะเป็น ช่วงส�ำคัญในชีวิตของผมเลยทีเดียว ซึ่งตอนนั้น ผมจะต้อง ตัดสินใจเลือกว่า จะท�ำงานเพื่อตอบความคิดตัวเอง หรือ ท�ำงานเพื่อตอบความคิดของอาจารย์ ซึ่งไม่ทราบด้วยเหตุผล อะไร แต่มันมีที่มาพอสมควร ในการที่เราเลือกที่จะท�ำงาน เพื่อตอบความคิดของตัวเอง โดยที่ยอมรับว่า จะต้องได้ คะแนนน้อย แต่ผมยังมีความขยันและมีความรับผิดชอบ ทั้ง ในเรื่องของการส่งงานและการเข้าเรียน อีกทั้งก็ไม่มีปัญหาใน เรื่องการปฏิบัติตัวกับอาจารย์ มีเพียงวิธีคิดของเราเท่านั้นที่ อาจจะต่างไปจากคนอื่น ซึ่งส�ำคัญมากับการสร้างอัตลักษณ์ ให้กับตัวเราเอง 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24


+ ความสนใจในตอนเรียน ด้วยความที่ชอบสถาปัตยกรรมมันฝังอยู่ข้างใน ซึ่งติดตัวมา ตั้งแต่ก่อนที่จะเข้ามหาวิทยาลัยแล้ว พอยิ่งท�ำ มันก็ยิ่งออก มา เรื่อยๆ เพราะฉะนั้นงานของเราอาจจะแตกต่างจากทั่วๆ ไป ซึ่งจะมีความโล่ง และความเรียบ ออกไปทางงาน สถาปัตยกรรมมากส�ำหรับยุคนั้น ซึ่งตอนนั้น อิทธิพลของ สังคมภายนอกมีค่อนข้างมาก ถ้าให้มัณฑนศิลป์ออกแบบ จะต้องเป็นงานที่มีรายละเอียด มีลวดลาย ซึ่งเป็นงานสไตล์ ในขณะที่งานตกแต่งภายในแบบโมเดิร์น เรียบๆนั้นยังมี น้อยมาก แต่ถึงแม้จะเริ่มมีกระแสของความโล่ง เรียบ เข้า มาแล้ว แต่โดยรวมแล้ว งานทางด้านอินทีเรียก็ยังเป็นเรื่อง ของงานตกแต่งที่มีรายละเอียด งานสไตล์อยู่ ช่วงที่ผมเรียน มีรุ่นพี่ที่มีชื่อและเป็นที่ยอมรับ อย่าง คุณ ต้อย ชัยรัตน์ ณ บางช้าง เรียกว่าเป็นตัวแทนของ มัณฑนศิลป์ และเป็นเทรนด์เซ็ตเตอร์ในยุคนั้นได้เลย ต่อ จากนั้นก็มีอีกคนที่เข้ามาท�ำทางด้านอินทีเรียเหมือนกันคือ คุณ สมพงษ์ พานิช ซึ่งงานของเขาจะเริ่มโมเดิร์น โล่งกว่า

OKANURAK HOUSE

และเรียบกว่า นอกจากนี้ ยังมีรุ่นพี่ที่จบไปแล้ว ท�ำงานบริษัท อย่างคุณ จรูญ อังศวานนท์

+ คณะมัณฑนศิลป์ มีความ เปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง จากยุคสมัยของคุณ จากปรัชญาของคณะที่ให้เราเรียนหลายๆ วิชา รวมกัน ผมว่ามันคือค�ำตอบ ณ วันนี้ ซึ่งในยุคนั้น อาจจะยังเห็นภาพไม่ชัดเจนมากเท่าไหร่ แต่วันนี้ สังคมที่เกิดขึ้นและวงการที่เกิดขึ้น คณะ มัณฑนศิลป์เป็นค�ำตอบส�ำหรับผม เพราะคณะนี้ เรียนหลายๆ อย่าง ไม่ว่าจะเป็นอินทีเรีย กราฟิก แฟชั่น ฟิล์ม ฯลฯ ซึ่งงานดีไซน์ในยุคนี้จะ ประกอบด้วยองค์ความรู้หลายๆ องค์ความรู้มา รวมกันเพื่อให้ได้งานที่สมบรูณ์ในหลายมิติ


+ ฝากแนะน�ำเด็กที่ค้นหาตัวเองและ ก�ำลังตัดสินใจเข้ามาเรียนมัณฑนศิลป์ ส�ำหรับคนรุ่นใหม่ที่เข้ามาเรียน มัณฑนศิลป์ หรือที่จบไป แล้วก็ตาม ผมว่ายุคนี้ เป็นยุคของปัจเจกโดยแท้ ซึ่งมี ความเป็นตัวตนสูง อีกทั้งยังมีช่องทางในการแสดงความ เป็นตัวเองหลายช่องทางมาก ต่างจากในอดีต แต่สิ่งที่จะ ต้องควบคู่กันไป โลกมันไปเร็วมาก ถ้าคุณช้า หรือลังเล ไม่ให้เวลากับมันอย่างเต็มที่ เวลาก็จะผ่านไปเร็ว จนคุณ ตามไม่ทัน ตอนนี้โลกมันเปิด สิ่งที่คุณโยนไปในสังคม มันจะพิสูจน์ เองว่า งานของคุณโอเคหรือไม่ เราจ�ำเป็นต้องขวนขวาย ดิ้นรนอย่างหนัก ไม่ใช่แค่ในสถาบันเดียวกันเอง หรือ ประเทศเดียวกันเท่านั้น แต่มันหมายถึงทั่วโลก ซึ่งสิ่งที่ท�ำ หรือสิ่งที่คิด มันเป็นโอกาส คุณจะต้องพัฒนาฝีมือ และ ความรู้ ไปให้ทันความคิดของตัวเอง

SO BANGKOK WAITING AREA

+ ความประทับใจในรั้วมหาวิทยาลัย สิ่งหนึ่งที่เป็นความประทับใจ เรียกว่าเป็นจุดเด่นของ มัณฑนศิลป์ ก็คือความเป็นศิลปากร จนวันนี้ ผมเรียนรู้ หลายอย่างจากการเข้ามาเรียนมัณฑนศิลป์ และอยู่ในรั้ว ของศิลปากร ซึ่งเล็กมากๆ มีแค่ 4 คณะ คือ มัณฑนศิลป์ สถาปัตยกรรม จิตรกรรม และโบราณคดี ซึ่งในปัจจุบันนี้ เขาจะใช้ค�ำว่า บูรณาการ แต่ในอดีต เราเกิดเรื่องนี้มา นานแล้ว เพราะทั้ง 4 คณะ มันเอื้อต่อกันและกัน อย่าง เช่น เรามีเพื่อนอยู่จิตรกรรม สถาปัตยกรรม หรือ โบราณคดี เราก็ได้ซึมซับเอาความมีศิลปะจากจิตรกรรม ความมีเหตุผลจากสถาปัตยฯ หรือประวัติศาสตร์จาก โบราณคดี ซึ่ง ความรู้มันไหลเข้ามาเองโดยที่เราไม่ตั้งใจ นี่ คือความประทับใจอย่างแรก

“คณะมัณฑนศิลป์ คือค�ำตอบที่ ค้นหาอยู่ เพราะไม่ได้มีความเป็น วิทยาศาสตร์มากไป และก็ไม่ได้ อาร์ตมากจนเกินไป”

ส่วนอย่างที่สอง ตอนที่เรียนอยู่ในคณะมัณฑศิลป์ เราไม่รู้ หรอกว่าสิ่งนี้ มันเป็นสิ่งที่ดีมาก เพิ่งจะมารู้ทีหลังตอนที่

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25


เห็นเด็กที่เรียน นั่นคือการได้สัมผัสกับรุ่นพี่ -รุ่นน้อง ซึ่ง สมัยก่อน นักศึกษายังมีไม่มาก การที่เราได้พักอยู่คณะ ซึ่งนอกจากความรู้ที่เรียนจากอาจารย์แล้ว หรือหาเพิ่ม เติมจากห้องสมุดแล้ว การเรียนรู้จากรุ่นพี่เป็นสิ่งส�ำคัญ เช่นกัน สมัยก่อนมีรุ่นพี่ออกไปท�ำงาน แล้วกลับมา เอางานมาให้รุ่นน้องช่วย หรือมาท�ำงานที่คณะ เมื่อเรา เห็นรุ่นพี่ก�ำลังท�ำวิทยานิพนธ์ หรือก�ำลังท�ำโปรเจ็ค ต่างๆ นั่นคือการเรียนรู้ด้วยตัวเอง เราได้ซึมซับเอาองค์ ความรู้ต่างๆ เข้ามาโดยที่ไม่ต้องมานั่งบอกกล่าว เรา สามารถเรียนรู้ได้จากการอยู่คณะ ซึ่งตรงนี้ ผมเห็นชัดๆ เลยว่า มีความต่าง ผมว่าสิ่งเหล่านี้มันมีส่วนส�ำคัญมาก

ส�ำหรับอัตลักษณ์ของานผม ซึ่งต่างจากความโล่ง และ ความเรียบทั่วไป คือ ผมมีเรื่องของ mood & tone เข้า มาเกี่ยวข้องในงาน ผมสนใจความงามของสเปซ ไม่ใช่แค่ สเปซที่เป็นรูปแบบ แต่ผมจะศึกษาและน�ำเสนอในเรื่อง ของประสบการณ์กับสเปซของมนุษย์ ซึ่งในแต่ละงานที่ท�ำ ลงไป และสร้างออกมา คนที่เคยสัมผัสจะรู้สึกว่า มันมี เรื่องของอารมณ์และความรู้สึกอยู่ในสเปซ ซึ่งผมเชื่อว่า ประสบการณ์จากสเปซสามารถท�ำได้ โดยเราสามารถให้ ประสบการณ์จากการใช้งาน สัมผัสสเปซที่เราสร้าง

+ อัตลักษณ์ หรือปัจเจก ในงาน ความมีอัตลักษณ์หรือความเป็นปัจเจก จริงๆ แล้วค�ำนี้ เหมือนเป็นค�ำต้องห้ามในอดีต ในยุคที่สังคมเปิดใหม่ๆ ซึ่งเขาจะพยายามที่จะไม่ให้พูดถึงการมีอัตลักษณ์ แต่ จะเน้นไปที่การอยู่ร่วมกันของสังคมและการแชร์สังคม แต่เมื่อสังคมเปิดหมด การมีอัตลักษณ์กลายเป็นสิ่งที่ ต้องแสวงหา เพื่อสร้างความต่าง ในการเป็นปัจเจก ถ้า คุณไม่มีความเป็นตัวเอง คุณก็เหมือนเป็นคนดาษดื่นใน สังคม ถ้าถามผมถึง อัตลักษณ์ของตัวเอง ก็คือการที่ผม สนใจงานสถาปัตยกรรม และน�ำงานสถาปัตยกรรมมา ใช้ในงานออกแบบตกแต่งภายใน มันท�ำให้งานดูแตก ต่างจากภาพรวมโดยทั่วไปของงานตกแต่งในยุคนั้น ซึ่ง ถือว่า ความเรียบ กลายเป็นข้อต้องห้าม ถ้าจะท�ำ มัณฑนศิลป์ จะต้องมากด้วยรายละเอียด แต่เดี๋ยวนี้มุม มองเหล่านั้นก็ค่อยๆจางหายไปกับการเปลี่ยนของ สังคม

OSOTSPA ADMINISTRATION


0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

“คณะมัณฑนศิลป์ คือค�ำตอบที่ ค้นหาอยู่ เพราะไม่ได้มีความเป็น วิทยาศาสตร์มากไป และก็ไม่ได้ อาร์ตมากจนเกินไป”

24

25



Egg Chair เก้าอี้ที่โด่งดังตั้งแต่ปลายยุค 1950 เป็นเก้าอี้ที่ มากด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆที่ถึงแม้จะมีขนาดใหญ่แต่กลับมีน�้ำ หนักเบา เหมือนกับโครงสร้างเปลือกไข่ ที่บางแต่แข็งแรง รองรับของเหลวภายในอย่างอ่อนโยน ส่วนขาก็ออกแบบให้ดู บางเบา และหมุนได้รอบตัวจนดูเหมือนกับผู้นั่งเปลือกไข่นี้จะ อยู่ในสภาพไร้น�้ำหนัก เหมือนตัวอ่อนที่อยู่ภายในไข่ มันจึงเป็น หนึ่งในตัวแทนเก้าอี้ยุคอวกาศ ที่หนังหลายเรื่องน�ำมาเข้าฉาก อย่าง Men in Black และฉากใน Back to the Future II ดีไซเนอร์เจ้าของไอเดียเก้าอี้ทรงไข่ ชิ้นนี้ คือ Arne Jacobsen เขาเกิดที่เมือง Copenhagen โดยเริ่มต้นเป็นช่าง ก่อสร้าง และได้เข้าเรียนสถาปัตยกรรมต่อตามฝันที่ Royal Academy of Arts, Copenhagen ต่อมาท�ำงานในบริษัท สถาปนิกของ Paul Holsoe และในปี 1930 เขาได้ตั้งบริษัท ดีไซน์ของตัวเอง และสร้างผลงานมากมายในช่วงตลอดชีวิต ทั้งงานสถาปัตยกรรม งานตกแต่งภายใน ลายผ้า เซรามิก และเฟอร์นิเจอร์ อย่างผลงานสถาปัตยกรรมที่รู้จักกันมาก ก็ คือ St. Catherine’s College ใน Oxford และที่ SAS Hotel ใน Copenhagen ซึ่งเป็นสถานที่แรกที่ใช้egg chair มาตกแต่งจนแจ้งเกิดในวงการออกแบบ

รายละเอียด ชื่อ

: Egg Chair

ขนาด : กว้าง

84 ซม. ยาว 77 ซม. ความสูงที่นั่ง 36 ซม. สูง 105 ซม. วัสดุ : โครงสร้างภายในเป็นไฟเบอร์กลาส หุ้มนวมและผ้า ส่วนฐานเป็นขาสเตนเลส มีแกนหมุนได้รอบตัว *รุ่นที่ผลิตแรกๆจะเป็นสีแดงภายหลังจึงท�ำสีและ วัสดุหุ้มอื่นๆตามมา ผู้ออกแบบ : Jacobsen, Arne ชาวเดนมาร์ก (1902-1971) ออกแบบปี 1958


SUPER SHOWCASE INTERIOR 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23


INTERIOR

อาจารย์กศิตินทร ชุมวรานนท์ อาจารย์ประจ�ำภาควิชา ออกแบบตกแต่งภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ชื่อผลงาน : โครงการออกแบบตกแต่งภายในศูนย์ 3 วัยสานสายใยรักแห่ง ครอบครัว ในพระอุปถัมถ์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ ณ ต�ำบลทุ่งสมอ อ�ำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี แนวความคิด : ได้แรงบันดาลใจมาจาก การท�ำนาเป็นอาชีพหลักที่ภาคภูมิใจของ ชาวทุ่งสมอ ที่สามัคคีกลมเกลียว พึ่งพา สร้างสานสายใยผูกพันคนท้องถิ่น ชาว บ้านทุ่งสมอปลูกข้าวได้เป็นจ�ำนวนมาก เป็นข้าวหอมมะลิ ปลอดสารพิษ ที่ มี กลิ่นหอม และมีสีแดงเหมือนดอกมะขาม เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว


SUPER SHOWCASE VISCOM 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23


VISCOM

เจ้าของผลงาน อาจารย์ อนุชา โสภาคย์วิจิตร์ อาจารย์ ประจ�ำภาควิชา ออกแบบนิเทศ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ชื่อผลงาน : ผลงานตกแต่งภาพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อ น�ำไปใช้เป็นปกนิตยสารแพรว และภาพในคอลัมน์ เทคนิค : สีชอล์ค ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ : กว้าง 0.5 ซม. ยาว 21 ซม. แนวความคิด : สร้างสรรจากจากพระบรมฉายาลักษณ์ซึ่งฉายไว้ด้วยฟิล์มขาวด�ำ โดยน�ำมาตกแต่งเพิ่มเติมสีสันภายใต้ความรู้สึกด้วยโทนสี pastel เพื่อให้แลดูเป็น ภาพถ่ายเชิงภาพเขียนด้วยสีชอล์คซึ่งดูเป็นงานศิลปะ โดยไม่ใช้สีสดเหมือนภาพ แต่งสีในยุคเก่า


SUPER SHOWCASE APPLY ART 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23


APPLY ART

เจ้าของผลงาน อาจารย์ อนุชา โสภาคย์วิจิตร์ อาจารย์ ประจ�ำภาควิชา ออกแบบนิเทศ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ชื่อผลงาน : ผลงานตกแต่งภาพพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ เพื่อน�ำไปใช้เป็นปกนิตยสารแพรว และภาพในคอลัมน์ เทคนิค : สีชอล์ค ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ : กว้าง 0.5 ซม. ยาว 21 ซม. แนวความคิด : สร้างสรรจากจากพระบรมฉายาลักษณ์ซึ่งฉายไว้ด้วยฟิล์มขาวด�ำ โดยน�ำมาตกแต่งเพิ่มเติมสีสันภายใต้ความรู้สึกด้วยโทนสี pastel เพื่อให้แลดู เป็นภาพถ่ายเชิงภาพเขียนด้วยสีชอล์คซึ่งดูเป็นงานศิลปะ โดยไม่ใช้สีสดเหมือน ภาพแต่งสีในยุคเก่า


SUPER SHOWCASE PRODUCT 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23


PRODUCT

เจ้าของผลงาน อาจารย์อินทรธนู ฟ้าร่มขาว อาจารย์ ประจ�ำภาควิชา ออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ชื่อผลงาน : สตูลไทย Thai Stool เทคนิค : งานไม้กลึงไม้ งานหวาย เชือก และ หวายเทียม ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ : สตูลเตี้ย กว้างxยาว 32 ซม. สูง 45 ซม. สตูลสูง กว้างxยาว 34 ซม. สูง 60 ซม. สตูลยาว กว้าง 35 ยาว 120 ซม. สูง 40 ซม. แนวความคิด : การตีความผลิตภัณฑ์เก่าสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่สะท้อนวิถีตะวันออก


SUPER SHOWCASE CERAMIC 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23


CERAMIC

เจ้าของผลงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภกา ปาลเปรม อาจารย์ ประจ�ำภาควิชา เครื่องเคลือบดินเผา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ชื่อผลงาน : สีสันแห่งตะวันออก Color of Asian ขนาด : ขนาด ø 21 ซม. สูง 20 ซม. และ ขนาด ø 21.5 ซม. สูง 28 ซม. เทคนิค : เซรามิค เนื้อดินสโตนแวร์ (Stoneware Body) เคลือบ Oil Spot ตกแต่งด้วยการเขียนสีทอง แนวความคิด : ความมั่งคั่งทางศิลปะและวัฒนธรรมแสดงออกได้ถึงความเป็น ดินแดนแห่ง ตะวันออก เช่น เดียวกับงานเคลือบ Oil Spot ที่เป็นเคลือบยุค โบราณ มีแหล่งก�ำเนิดอยู่ในแถบเอเชีย ได้รับความนิยมมาตลอดกระทั่งปัจจุบัน บอกความอุดมสมบูรณ์และความมั่งคั่งทางวัฒนธรรมที่แสดงออกได้ในรูปเคารพ วัด และโบราณสถาน ต่างๆ


SUPER SHOWCASE JEWERY 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23


JEWERY

เจ้าของผลงาน อาจารย์ศิดาลัย ฆโนทัย อาจารย์ ประจ�ำภาควิชา ออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ชื่อผลงาน : ประณีตศิลป์เพชรบุรี Thai Art Jewelry depicting the Phetchaburi technique เทคนิค : น�ำเส้นลวดขนาดเล็กม้วนบนแกนเหล็ก ตัดเป็นห่วงกลมแล้วเป่าแล่น เพื่อเชื่อมห่วงให้เป็นห่วงแต่ละห่วง และถักตามแบบของลวดลาย เป็น สร้อยสี่ เสา และแปดเสา ขนาดของผลงานสร้างสรรค์ : กว้าง 0.5 ซม. ยาว 21 ซม. แนวความคิด : สืบสานภูมิปัญญาบรรพชน ด้านงานประณีตศิลป์ ด้วย กระบวนการของการสร้างสรรค์ผลงาน ศึกษารูปแบบ ลวดลาย และวิธีการท�ำ ลวดลายสร้อยหกเสาของช่างทองโบราณเมืองเพชรบุรี


SUPER SHOWCASE FASHION 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23


FASHION

เจ้าของผลงาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.น�้ำฝน ไล่สัตรูไกล อาจารย์ ประจ�ำภาควิชา ออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ชื่อผลงาน : More than words เทคนิค : Mix-Media สกรีน และปักบนผ้า แนวความคิด : การพูดเป็นพฤติกรรมการสื่อที่ผู้พูดสามารถใช้ภาษาทั้งด้าน อ วัจนะภาษา และวจนภาษาในการส่งสารติดต่อไปยังผู้ฟังได้ชัดเจน และรวดเร็ว การพูดของมนุษย์เป็นการสื่อความหมายโดยการใช้เสียงและกริยาท่าทางรวมทั้ง ยังเป็นเครื่องถ่ายทอด ความรู้ ความคิด ความรู้สึก ในปัจจุบันนี้การพูดก็ยิ่งทวี ความส�ำคัญมากขึ้น เพราะโลกมีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์อย่างไรก็ตาม ความส�ำคัญของการพูดนั้นอยู่ที่ผู้พูดและผู้น�ำ สามารถเข้าใจวัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมาย ร่วมกันได้อย่างถูกต้อง


SHOWCASE STUDENT INTERIOR 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23



SHOWCASE STUDENT VISCOM 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23



SHOWCASE STUDENT APPLY ART 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23



SHOWCASE STUDENT PRODUCT 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23



SHOWCASE STUDENT CERAMIC 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23



SHOWCASE STUDENT JEWERY 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23



SHOWCASE STUDENT FASHION 0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23




DOWNLOAD “คุณวิศุทธิ์ พรนิมิตร” หรือเรียกอีกชื่อ ว่า “ตั้ม” คนวาดการ์ตูนที่ไปโด่งดังที่ ญี่ปุ่นคะ งานเขียนของเค้าเริ่มต้นจาก เป็นคนชอบวาดรูป และก็ชอบวาดรูปผู้ หญิง หลายคนอาจจะมองว่าท�ำไม การ์ตูนของเค้าถึงได้ดูเลอะเทอะ ไม่ สวยงาม มีรอยขีดฆ่า ถามว่าท�ำไม ค�ำ ตอบที่ได้คือ “จริงๆตอนแรกเขียนไว้อ่าน เองจึงไม่ได้วาดสวยมาก อีกอย่างถ้ามัว แต่วาดสวยๆ ก็วาดไม่เสร็จซะที

DECAZINE


0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

DeC MARKET

{

SKog

(สะ-ก๊อก) แบรนด์ ไทยชื่อเก๋นี้ แปลมาจากค�ำว่าว่า “ป่า” ในภาษา สวีเดน ตอนตั้งชื่อแบรนด์ อยากได้ความหมายที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติ ออกเสียงได้ไม่ยาก ก็เลยมาลงตัวที่ Skog,Character Furniture ต้องการสื่อว่า “มันไม่ใช่แค่เฟอร์นิเจอร์แต่แสดงออกถึงตัวตนของคุณ”

Contact : SKog studio & cafe 111/256 หมู่บ้านโมทาวน์ ซ.แจ้งวัฒนะ-ปากเกร็ด19 (ตรงข้ามเซ็นทรัลแจ้งวัฒนะ) Mobile : 08-6561-9000 , 0-8583-6281 Facebook.com/skog.cafe เปิดทุกวัน 9.00 – 19.00 หยุดทุกวันพฤหัส

19

{

20

21


1

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

PRODUCT RECOMENT SHO SHO & the gang! เฟอร์นิเจอร์ที่เป็นชุดแรกของเรา ชื่อมาจากค�ำว่า SHOW ออกแบบมาจากทรงของ RETRO TV รูปทรงที่โค้งมนและ การเปลี่ยนภาพเมื่อเปลี่ยนช่องทีวี พนักพิงและเบาะที่นั่งทุกชิ้นในชุดนี้จะสามารถ ถอดออกได้ สามารถปรับเปลี่ยนได้ง่าย อาจจะเป็นภาพถ่าย ภาพวาด งานปัก ลายผ้า ที่ชอบ มันสามารถแสดงตัวตน บุคลิกของเจ้าของ ผ่านเก้าอี้ตัวนั้นๆในชุดออกแบบ มาทั้งหมด 8 ชิ้นแต่ละตัวมีฟังก์ชั่นที่แตกต่างกันไป แล้วแต่ความต้องการใช้งานแต่มี ดีไซน์ร่วมกัน เหมือนกลุ่มคนที่เป็นเพื่อนกัน แต่ละคนแตกต่าง แต่มีบางอย่างที่เป็นจุด ร่วมเลยเป็นชื่อ SHO SHO & the gang!

คุณ หลี- กาญจนาภรณ์ ชัยวิริยานนท์ ศิษย์เก่า คณะมัณฑนศิลป์ รุ่น 45 ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ม.ศิลปากร คุณ ตั๊ก-อุดม เรืองไพสิฐพร จิตรกรรมรุ่น 51 ม.ศิลปากร

41

42


THAI DEC VOCAB


กรวด :

ทรงสูงชัน มักใช้เรียกทรง หลังคา

กาแล :

ไม้ปลายปั้นลมของเรือนล้านนา ยื่นสูงเหนือสันหลังคาเป็น 2 แฉก มีทั้งแบบสลักลวดลาย และแบบ เกลี้ยง ความนิยมเช่นนี้มีในหลาย ชนเผ่า เช่น ชาวนาคาในนาคา แลนด์ ชาวเรียว ชาวบูกิสใน อินโดนีเซีย และชายไทด�ำใน เวียดนาม

จตุรมุข : ไขรา :

ชายคาส่วนที่ยื่นพ้นตัวอาคาร ในสถาปัตยกรรมไทย เช่น ไขรา หน้าจั่ว คือชายคาส่วนที่ยื่นออก จากหน้าจั่ว ไขราปีกนก คือ ชายคาใต้หลังคาที่ยื่นออกจาก ผนังด้านสะกัด

จบ :

เก๋ง :

เรือนเล็กแบบจีน ใช้เรียกรถ ขนาดเล็กที่มีหลังคา เรียกเรือเล็ก ที่มีหลังคา หรือเรียกเฉพาะส่วนที่ ท�ำห้องมีหลังคาในเรือ

หลังคาจั่วที่ท�ำแยกจาก ศูนย์กลางออกไป 4 ทิศ เป็น ลักษณะสถาปัตยกรรมชั้นสูง ของไทย โดยเฉพาะหลังคา ยกยอดปราสาทจะต้องท�ำเช่นนี้

จงกล :

ชื่อเรียกบัวหัวเสา หรือส่วน ประกอบเครื่องใช้ที่ท�ำรูปกลีบบัว ลีบยาวอย่างกลีบดอกบัวสาย เช่น หัวเสาแบบบัวจงกล ดาว เพดานแบบบัวจงกล จงกลเชิง เทียน จงกลต้มทวน เป็นต้น

ต่อกัน ชนกัน เช่น เชิงชายจบกันที่ มุมหลังคา ราวบันไดจบกับราว พนักระเบียง หรือการท�ำจนส�ำเร็จ กล่าวกันว่า “จบงาน”


จันทัน :

ตัวไม้โครงสร้างที่ยึดระหว่างหัว เสาริมกับหัวเสาดั้งหรือใบดั้ง ส�ำหรับรองรับแป

เฉลียง :

จาก :

วัสดุมุงหลังคาท�ำด้วยใบจากพับ ทบหุ้มแท่งไม้ไผ่หรือไม้หมาก เย็บ ด้วยตอกไม้ไผ่หรือหวาย นิยมใช้ ในภาคใต้และบริเวณใกล้ฝั่งทะเล ส�ำหรับมุงหลังคาและกรุฝา

จั่ว :

ช่อฟ้า :

หลังคาทรงอย่างแท่งสามเหลี่ยม (gable roof) กรุปิดช่องหลังคา จั่ว เรียก หน้าจั่ว (gable end)

จ�ำปา :

ช่องแมวลอด :

ช่องว่างระหว่างพื้นเรือนและพื้น ระเบียงของเรือนไทยเดิม

ส่วนภายนอกของอาคารระดับ ชั้นพื้นหรือชั้นแรก แต่ท�ำต�่ำกว่า พื้นอาคารเล็กน้อยกันน�้ำฝนไหล เข้าภายในอาคาร เป็นที่เปิดโล่ง ส�ำหรับนั่งเล่น ชมสวน ชมวิว เป็นต้น

สลักยึดธรณีบนของประตู สถาปัตยกรรมไทยโบราณ ที่เห็น เป็นรูปดอกไม้ทรงกลมหรือดอกสี่ กลีบ 2 อันที่กรอบเช็ดหน้าชิ้น บนเหนือช่องประตู

สิ่งตกแต่งยอดจั่วหรือปลายสัน หลังคา มักมีลักษณะชูสูงขึ้น ใน สถาปัตยกรรมไทยมักออกแบบ โดยได้เค้ามาจากสัตว์ปีกตาม ความเชื่อ เช่น ครุฑ หงส์

ชาลา :

พื​ื้นราบนอกตัวอาคารลักษณะ เป็นลาน


ซุ้ม : ประตูรั้วหรือก�ำแพงที่มีหลังคา หรือที่ท�ำส่วนประกอบเชื่อมต่อ ระหว่างเสาหรือผนังทั้งสองด้าน ส่วนตกแต่งรอบกรอบประตู หน้าต่าง เวิ้ง (nitch) ในผนังที่ ประดิษฐานรูปปฎิมา ช่อง ระหว่างเสาซึ่งมีการตกแต่งแก้ ความกระด้างด้วยลายฉลุหรือ อื่นๆ คล้ายกัน ซึ่งเรียก ซุ้มคูหา

ตอม่อ :

ดาล : กลอนประตูแบบโบราณท�ำด้วย ไม้อย่างกลอนประตู-หน้าต่าง สถาปัตยกรรมไทยประเพณีที่เปิด บานเข้าภายในอาคารและมีธรณี ท�ำด้วยไม้ท่อนหนาๆ เจาะเป็น ช่องตรงกลางตรงต�ำแหน่งใต้แนว ประกบของบาน ส�ำหรับสอดไม้ สลักกันบานประตู - หน้าต่างเปิด สลักไม้นี้เรียกว่า ดาล

เต้า :

โครงสร้างตัวนอนของ สถาปัตยกรรมไทยเดิม ซึ่งเสียบ ที่ปลายเสา ยื่นออกไปรับเชิง กลอน

ตง :

โครงสร้างซึ่งวางบนคานหรือ รอด ส�ำหรับรับพื้นโรงเรือน

เสาเตี้ยที่ฝังลงดิน หรือวางบน ดินรับเสาโรงเรือนที่เป็นไม้หรือ เหล็ก หรือเสารับชาน

ดาด :

เอาแผ่นวัสดุกรุปิดโครงสร้าง เครื่องบน (โครงหลังคา) เรียก ดาดเพดาน หลังคาหล่อปูนเรียบ เรียก ดาดฟ้า (slab) เอาวัสดุ ชนิดเป็นผืนเป็นแผ่นปู หรือขึง ปิดส่วนบนสุดเป็นหลังคาราบ เรียกว่า ดาดหลังคา

โดม : หลังคาโค้งกลม (dome) มี หลายลักษณะ เช่น โค้งเตี้ยแบบ โดมของตุรกี โค้งสูงยอดเป็นติ่ง แหลมแบบโดมของอัฟริกาเหนือ โดมทรงหัวหอม โดมแบบกลีบ ผลมะยมยอดเป็นติ่ง แหลม แบบรัสเซีย เป็นต้น

แตะ :

1) ฝาขัดด้วยตอกไม้่ไผ่เป็นลาย หนึ่ง เรียก ฝาขัดแตะ 2) แต้มสีแบบไม่ลากยาว ใช้มือ หรือเครื่องมือน�ำวัสดุเหลวหรือ หมาด ปะเบาๆ บนพื้นผิววัตถุ


DECAZINE



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.