พื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม (Basic Architectural Drawing)

Page 1

ARCHITECTURAL

DRAWING

AR17

BASIC

เอกสารประกอบการสอน สถ.171

© Rene Burri/Magnum Photos

วิชาพื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม อาจารย์ ดิศสกุล อึ้งตระกูล คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้


คำนำ เอกสารประกอบการสอนวิชาพื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม (Basic Architectural Drawing) รหัส วิชา สถ 171 (AR 171) เล่มนี้จัดขึ้นตามหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสถาปัตยกรรม (หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2562) โดยปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน และมาตรฐานทาง วิช าการของสภาสถาปนิ ก รวมถึงความต้องการของผู้ ประกอบการต่า ง ๆ ที่ประกอบธุรกิจเกี่ยวข้องกั บ การ ออกแบบทางสถาปัตยกรรม หรือสาขาทางการออกแบบที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นักศึกษาสามารถตอบสนองความ ต้องการของตลาดแรงงานในวิชาชีพสถาปัตยกรรมทั้งในระดับชาติและนานาชาติ จุดประสงค์เนื้อหาในเอกสารประกอบการสอนวิชาพื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม ผู้สอนได้แบ่ง ออกเป็น 5 หน่วยการเรียนรู้ รวมทั้งหมด 16 สัปดาห์ ซึ่งในแต่ละหน่วยจะประกอบด้วยเนื้อหา ความรู้เบื้องต้นใน การเขียนแบบสถาปัตยกรรม / เครื่องมืออุปกรณ์หลักที่ใช้ในการเขียนแบบ / การเขียนรูปทรงสองมิติและรูปทรง สามมิติ / มาตรฐานการเขียนแบบ และการเขียนแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ นอกจากนี้ยังมี แบบฝึ ก หั ด ท้ า ยหน่ ว ยการเรี ย นรู้ เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ล งมื อ ปฏิ บั ติ ก ารและมี ค วามเข้ า ใจในการเขี ย นแบบ สถาปัตยกรรมมากยิ่งขึ้น สามารถนาองค์ความรู้พื้นฐานทางการเขียนแบบไปประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาต่าง ๆ ของ สาขาสถาปัตยกรรมได้ทุกแขนง ซึ่งเนื้อหาทั้งหมดครอบคลุมและสอดคล้องกับคาอธิบายรายวิชาอย่างสมบูรณ์ ขอบคุณผู้เขียนหนังสือและตาราต่าง ๆ ที่ข้าพเจ้าได้ใช้ศึกษาค้นคว้าทุกเล่ม และขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุก ท่านที่ให้ความกรุณาแนะนาแนวทางในการจัดทาเอกสารประกอบการสอน หวังว่าเอกสารประกอบการสอนวิชา พื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม (Basic Architectural Drawing) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน สาหรับอาจารย์ นักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรม และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ทางด้านพื้นฐานการเขียนแบบสถาปั ตยกรรมให้ ดีขึ้นต่อไป หากผู้ใช้เอกสารประกอบการสอนนี้ข้อเสนอแนะ ประการใด ข้าพเจ้ายินดีน้อมรับความขอบคุณยิ่ง ดิศสกุล อึ้งตระกูล อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้


สารบัญ หน้า คานา …..…………………………………………………………………...…………………………………………………………………. สารบัญ …………………………………………………………………………………………………………………………….……….... สารบัญภาพ ………………………………………………………..................................................................……………… สารบัญตาราง ……………………………………………………………………………………………………………………………… แผนการสอนประจาวิชา ………………………….................................................................................…………… บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในการเขียนแบบสถาปัตยกรรม .………………………………………………................…… 1.1 ความสาคัญของการเขียนแบบสถาปัตยกรรมกับสถาปนิก ………………………………………… 1.2 ประเภทของการเขียนแบบ …………………………………………………………………………………… 1.2.1 แบบสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) ………………………………………… 1.2.2 แบบวิศวกรรม (Engineering Drawing) …………………………………………………. 1.2.3 แบบผลิตภัณฑ์ (Product Drawing) …………………........................……………… บทที่ 2 เครื่องมืออุปกรณ์หลักที่ใช้ในการเขียนแบบ .…………..…………………....................……………………… 2.1 โต๊ะเขียนแบบ หรือ กระดานเขียนแบบ ………………………………………………………………….. 2.2 ไม้ที หรือ ทีสไลด์ ………………………………………………………………………………………………… 2.3 ฉากสามเหลี่ยม …………………………………………………………………………………………………… 2.3.1 ฉากสามเหลี่ยมแบบตายตัว …………………………………………………………………… 2.3.2 ฉากปรับมุม ……………………………............................................................……… 2.4 วงเวียน ………………………………………………………………………………………………………………. 1.2.3 วงเวียน (Compass Drafting) ………………………….......................…………..…… 1.2.3 วงเวียนถ่ายขนาด (Dividers Compass) ……………………………..................…... 1.2.3 วงเวียนคาน (Beam Compass) ……………………………………..........……………… 2.5 แผ่นกันลบ …………………................……………………...................................................……… 2.6 ดินสอ ………………………………………………………………………………………………………………… 2.6.1 แบบเปลือกไม้ (Wooden Pencil) …………………………………………………………. 2.6.2 แบบเปลี่ยนไส้ได้ชนิดต้องเหลา (Clutch Pencil) …………………………………….. 2.6.3 แบบเปลี่ยนไส้ชนิดไม่ต้องเหลา หรือ ดินสอกด (Automatic Pencil) ………... 2.7 ปากกาเขียนแบบ ……………………………………………………………………………………….…..…….

ก ข ช ฏ ฐ 1 2 2 2 5 8 10 10 11 11 11 12 13 13 13 13 14 14 14 14 14 16


สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 3 การเขียนรูปทรงสองมิติและรูปทรงสามมิติ ................................................................................... 3.1 การแบ่งเส้นตรง …………………………..................................…….…………………………………… 3.2 การแบ่งครึ่งมุม …………………………………………………………………………………………………… 3.3 การแบ่งเส้นตรงเท่า ๆ กัน …………………….........................................….……………………… 3.4 การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า …………………………………………………………………………….. 3.5 การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า ………………………………………………………………………………… 3.6 การสร้างรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า ………………………………………………………………………………. 3.7 การสร้างรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า ……………………………………………………………………………… 3.8 การสร้างรูปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่า …………………………………………………………………………….. 3.9 การสร้างรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า ……………………………………………………………………………. 3.10 การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรงที่ตั้งฉาก ………………………………………………………………. 3.11 การเขียนส่วนโค้งสัมผัสมุมแหลมและมุมป้าน ……………………………………………………….. 3.12 การเขียนวงรีด้วยวงเวียน ……………………………………………………………………………………. 3.13 การสร้างวงรีด้วยวงกลมสองวง …………………………………………………………………………… 3.14 ความหมายของการเขียนรูปทรงสามมิติ ………………………………………………………………. 3.15 ประเภทของรูปทรงสามมิติ …………………………………………………………………………………. 3.15.1 ภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric Projections) ………………………………. 3.15.2 ภาพออบลิค (Oblique) ……………………………………………………………………… 3.15.3 ภาพทัศนียภาพ (Perspective) …………………………………………………………… บทที่ 4 มาตรฐานการเขียนแบบ ……………………………………………………………………………………………………. 4.1 ขนาดกระดาษ (Sheet Size) ……………………………………………………….………………………. 4.2 การจัดพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของแผ่นงาน (Sheet Layout) ……………………………………………. 4.2.1 ขอบกระดาษ (Frame) …………………………………………………………………………. 4.2.2 พื้นที่แสดงข้อมูลแบบ (Title Block) ………………………………………………………. 4.2.3 พื้นที่แสดงแบบ (Drawing Area) …………………………………………………………… 4.3 รายละเอียดของแบบในพื้นที่แสดงแบบ …………………………………………………………………. 4.3.1 สัญลักษณ์แสดงทิศเหนือ ……………………………………………………………………….

18 18 18 19 19 20 20 21 21 22 22 23 23 24 25 25 25 26 28 33 33 35 36 36 40 41 41


สารบัญ (ต่อ) หน้า 4.3.2 การกาหนดทิศทางการจัดวางแบบ ……………………………………….………………… 4.3.3 ระบบกริด (Grid System) ……………………………………………………………………. 4.3.4 ระบบพิกัด (Coordinate System) ……………………………………………………….. 4.3.5 เส้นในงานเขียนแบบ (Common Line) …………………………………………………. 4.3.6 มาตราส่วน (Scale) ……………………………………………………………………………… 4.3.7 มิติ (Dimensions) ……………………………………………………………………………….. 4.3.8 อักษรประกอบแบบ (Text) …………………………………………………………………… 4.3.9 สัญลักษณ์ประกอบแบบ (Symbol) ……………………………………………………….. บทที่ 5 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ ....................................……………………………………. 5.1 ข้อมูลทั่วไป (General Information) ……………………………………………………………………. 5.1.1 รายการทั่วไป ………………………………………………………………………………………. 5.1.2 รายการเฉพาะสาหรับอาคารแต่ละหลัง …………………………………………………… 5.2 ผังบริเวณ (Layout) …………………………………………………………………………………………….. 5.2.1 ความหมายของผังบริเวณ ……………………………………………………………………… 5.2.2 องค์ประกอบของผังบริเวณ …………………………………………………………………… 5.3 ผังพื้น (Floor Plan) ……………………………………………………………………………………………. 5.3.1 ความหมายของผังพื้น …………………………………………………………………………… 5.3.2 มาตรฐานและข้อกาหนดในการเขียนผังพื้น …………………………………………….. 5.4 รูปด้าน (Elevation) ……………………………………………………………………………………………. 5.4.1 ความหมายของรูปด้าน …………………………………………………………………………. 5.4.2 การแสดงรูปด้านอาคาร ………………………………………………………………………… 5.5 รูปตัด (Section) …………………………………………………………………………………………………. 5.5.1 ความหมายของรูปตัด …………………………………………………………………………… 5.5.2 การแสดงรูปตัดอาคารและรูปตัดผนัง ……………………………………………………… 5.6 แบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Detail) ………………………………………………….. 5.6.1 ความหมายขอบแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ………………………… 5.6.2 หลักการเบื้องต้นในการแสดงแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ……….

41 42 42 44 49 51 55 55 59 59 59 62 62 61 61 64 64 64 67 67 69 71 71 71 77 77 77


สารบัญ (ต่อ) หน้า 5.6.3 รูปแบบและการแสดงแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ………………. 5.6.4 แบบขยายประตู ............................................................................................ 5.6.5 แบบขยายหน้าต่าง ........................................................................................ 5.6.6 แบบขยายบันได ............................................................................................ 5.6.7 แบบขยายห้องน้า .......................................................................................... 5.6.8 แบบขยายแสดงการต่อเนื่องของโครงสร้างอาคารทั่ว ๆ ไป ……………………… 5.6.9 แบบขยายแสดงจุดที่ต้องการขยายเป็นพิเศษ ................................................ เอกสารอ้างอิง ............................................................................................................................................ ภาคผนวก ............................................................................................................................. ..................... แบบฝึกหัดเสริมทักษะการเขียนและความรู้พื้นฐานในการเขียนแบบ ........................................... สัปดาห์ที่ 1 การเขียนรูปทรงเรขาคณิต (Regular Polygons) .............................. สัปดาห์ที่ 2 การเขียนรูปทรงหลายเหลี่ยม (Regular Polygons) การแปลงมาตราส่วน (Scale) / มิติ (Dimension) .......................... สัปดาห์ที่ 3 การเขียนภาพฉาย Orthographic Projections และการรูปทรง Isometric ผ่านการเขียนวิธีการเข้าไม้แบบต่าง ๆ ……………………….. สัปดาห์ที่ 4 รายการประกอบแบบ (Specifications) / สารบัญแบบ (Table of Contents) / สัญลักษณ์การเขียนแบบ (Symbols) ……………………. สัปดาห์ที่ 5 การเขียนแผนผังบริเวณ (Layout) แผนที่โครงการ (Map) ................ สัปดาห์ที่ 6 การเขียนผังพื้นชั้นที่ 1 (Floor Plan) ................................................ สัปดาห์ที่ 7 การเขียนผังพื้นชั้นที่ 2 (Floor Plan) ................................................ สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค ................................................................................... สัปดาห์ที่ 9 การเขียนรูปด้าน 1-4 (Elevation) .................................................... สัปดาห์ที่ 10 การเขียนรูปตัด A (Section) .......................................................... สัปดาห์ที่ 11 การเขียนรูปตัด B (Section) ........................................................... สัปดาห์ที่ 12 การเขียนแบบผังหลังคา (Roof) ...................................................... สัปดาห์ที่ 13 การเขียนแบบขยายประตู / แบบขยายหน้าต่าง ..............................

79 79 87 96 104 109 110 113 114 114 114 115 117 119 121 122 123 124 125 126 127 128 129


สารบัญ (ต่อ) หน้า สัปดาห์ที่ 14 การเขียนแบบขยายบันได / แบบขยายศาลา …………………………..... สัปดาห์ที่ 15 แบบขยายห้องน้า / รายการประกอบแบบสุขภัณฑ์ ........................ สัปดาห์ที่ 16 แบบขยายเฉลียง / แบบขยายระเบียงไม้ / แบบขยายสระน้า / แบบขยายระแนงไม้ และรวมเล่มแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม .. แบบทดสอบก่อนเรียนผ่าน Application Kahoot! ...................................................................... การวัดผลการเรียนและประเมินผลผ่าน Google Sheet .............................................................. เอกสารประกอบการสอน Online ……………………………..............................................................

130 131 133 135 137 138


สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3 ภาพที่ 4 ภาพที่ 5 ภาพที่ 6 ภาพที่ 7 ภาพที่ 8 ภาพที่ 9 ภาพที่ 10 ภาพที่ 11 ภาพที่ 12 ภาพที่ 13 ภาพที่ 14 ภาพที่ 15 ภาพที่ 16 ภาพที่ 17 ภาพที่ 18 ภาพที่ 19 ภาพที่ 20 ภาพที่ 21 ภาพที่ 22 ภาพที่ 23 ภาพที่ 24 ภาพที่ 25 ภาพที่ 26 ภาพที่ 27

ตัวอย่างการเขียนแบบสถาปัตยกรรม …………………………………………………………………………. ตัวอย่างการเขียนแบบตกแต่งภายใน …………………………………………………………………………. การเขียนแบบภูมิสถาปัตยกรรม ………………………………………………………………………………… การเขียนแบบแผนที่ ………………………………………………………………………………………………… ตัวอย่างแบบวิศวกรรมโครงสร้าง ………………………………………………………………………………. ตัวอย่างกาเขียนแบบวิศวกรรมไฟฟ้า …………………………………………………………………………. การเขียนแบบแบบสุขาภิบาล ……………………………………………………………………………………. การเขียนแบบเครื่องกล ……………………………………………………………………………………………. ตัวอย่างการเขียนแบบทางครุภัณฑ์ ……………………………………………………………………………. ตัวอย่างการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม …………………………………………………………….. โต๊ะเขียนแบบ …………………………………………………………………………………………………………. ไม้ทีและไม้ทีสไลด์ …………………………………………………………………………………………………… การเขียนมุมเอียงจากฉากสามเหลี่ยมแบบตายตัว ……………………………………………………….. ฉากปรับมุม …………………………………………………………………………………………………………….. ประเภทของวงเวียน ………………………………………………………………………………………………… แผ่นกันลบ ……………………………………………………………………………………………………………… ดินสอแต่ละประเภท ………………………………………………………………………………………………… ระดับความเข้มของสีไส้ดินสอ …………………………………………………………………………………… ความแข็ง-อ่อนของไส้ดินสอ ……………………………………………………………………………………… ความหนาของปากกาเขียนแบบ ………………………………………………………………………………… การถ่ายแบบพิมพ์เขียวจากกระดาษไข ………………………………………………………………………. ตัวอย่างแบบพิมพ์เขียว …………………………………………………………………………………………….. การเขียนแบ่งเส้นตรง ………………………………………………………………………………………………. การเขียนแบ่งมุม ……………………………………………………………………………………………………… การเขียนแบ่งเส้นตรงเท่า ๆ กัน ………………………………………………………………………………… การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ………………………………………………………………………………… การเขียนรูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า …………………………………………………………………………………….

3 4 4 5 6 7 7 8 9 9 10 11 12 12 13 14 15 15 16 16 17 17 18 18 19 19 20


สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 28 ภาพที่ 29 ภาพที่ 30 ภาพที่ 31 ภาพที่ 32 ภาพที่ 33 ภาพที่ 34 ภาพที่ 35 ภาพที่ 36 ภาพที่ 37 ภาพที่ 38 ภาพที่ 39 ภาพที่ 40 ภาพที่ 41 ภาพที่ 42 ภาพที่ 43 ภาพที่ 44 ภาพที่ 45 ภาพที่ 46 ภาพที่ 47 ภาพที่ 48 ภาพที่ 49 ภาพที่ 50 ภาพที่ 51 ภาพที่ 52 ภาพที่ 53 ภาพที่ 54

การเขียนรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า ………………………………………………………………………………….. การเขียนรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า ………………………………………………………………………………….. การเขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่า …………………………………………………………………………………. การเขียนรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า ……………………………………………………………………………….. การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรงที่ตั้งฉาก …………………………………………………………………….. การเขียนส่วนโค้งสัมผัสมุมแหลมและมุมป้าน ……………………………………………………………… การเขียนวงรีด้วยวงเวียน …………………………………………………………………………………………. การเขียนวงรีด้วยวงกลมสองวง …………………………………………………………………………………. ภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric Projections) ……………………………………………………. ภาพออบลิค (Oblique) …………………………………………………………………………………………… ตัวอย่างการนาเสนอในรูปแบบภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric Projections) ……….. ตัวอย่างการนาเสนอในรูปแบบภาพออบลิค (Oblique) ……………………………………………….. การจัดมุมมองภาพทัศนียภาพ …………………………………………………………………………………… องค์ประกอบของภาพ Perspective …………………………………………………………………………. รูปแบบทัศนียภาพแบบรวมสายตา 1 จุด …………………………………………………………………… ตัวอย่างทัศนียภาพแบบรวมสายตา 1จุด ……………………………………………………………………. รูปแบบทัศนียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด …………………………………………………………………… ตัวอย่างทัศนียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด …………………………………………………………………… รูปแบบทัศนียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด …………………………………………………………………… ตัวอย่างทัศนียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด …………………………………………………………………… รูปแบบภาพทัศนียภาพทั้ง 3 แบบ …………………………………………………………………………….. ขนาดกระดาษมาตรฐาน …………………………………………………………………………………………… รูปแบบการพับกระดาษของแผ่นงาน …………………………………………………………………………. การจัดพื้นที่ของแผ่นงาน ………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างกรอบชื่อแบบแนวตั้ง ……………………………………………………………………………………. ตัวอย่างกรอบชื่อแบบแนวนอน …………………………………………………………………………………. ตัวอย่างข้อมูลของผู้ออกแบบ …………………………………………………………………………………….

20 21 21 22 22 23 24 24 26 26 27 27 28 29 29 30 30 31 31 32 32 34 35 36 37 38 38


สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 55 ภาพที่ 56 ภาพที่ 57 ภาพที่ 58 ภาพที่ 59 ภาพที่ 60 ภาพที่ 61 ภาพที่ 62 ภาพที่ 63 ภาพที่ 64 ภาพที่ 65 ภาพที่ 66 ภาพที่ 67 ภาพที่ 68 ภาพที่ 69 ภาพที่ 70 ภาพที่ 71 ภาพที่ 72 ภาพที่ 73 ภาพที่ 74 ภาพที่ 75 ภาพที่ 76 ภาพที่ 77 ภาพที่ 78 ภาพที่ 79 ภาพที่ 80 ภาพที่ 81

ตัวอย่างข้อมูลโครงการ …………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างข้อมูลการปรับปรุงแก้ไขแบบ ………………………………………………………………………… ตัวอย่างข้อมูลการจัดการเกี่ยวกับแบบ ………………………………………………………………………. ตัวอย่างชื่อของแผ่นงาน …………………………………………………………………………………………… ตัวอย่างหมายเลขของแผ่นงาน ………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างพื้นที่แสดงแบบ ……………………………………………………………………………………………. สัญลักษณ์แสดงทิศเหนือและการจัดทิศทางของแผ่นงาน ……………………………………………… เส้น Grid แนวตั้งและแนวนอน …………………………………………………………………………………. ตาแหน่งพิกัดของอาคารโดยการให้ระยะแนวตั้งและแนวนอน ………………………………………. การให้ระยะส่วนโค้งของอาคาร …………………………………………………………………………………. การใช้เส้นแบบต่าง ๆ ในงานเขียนแบบ ……………………………………………………………………… เส้นชี้ในงานเขียนแบบ ……………………………………………………………………………………………… เส้นตัดตอนในงานเขียนแบบ …………………………………………………………………………………….. เส้นศูนย์กลางในงานเขียนแบบ …………………………………………………………………………………. เส้นมิติในงานเขียนแบบ …………………………………………………………………………………………… เส้นทาบต่อในงานเขียนแบบ …………………………………………………………………………………….. ส่วนที่ถูกบังในงานเขียนแบบ …………………………………………………………………………………….. แนวเขตที่ดินในงานเขียนแบบ …………………………………………………………………………………… มาตราส่วน ……………………………………………………………………………………………………………… การให้มิติของผังพื้น …….…………………………………………………………………………………………… องค์ประกอบของเส้นมิติ …………………………………………………………………………………………… สัญลักษณ์เครื่องหมายของเส้นมิติ ……………………………………………………………………………… รูปแบบการใช้สัญลักษณ์ของเส้นมิติ …………………………………………………………………………… มิติของผังและมิติในแนวดิ่ง ………………………………………………………………………………………. ตัวอย่างรายการประกอบแบบก่อสร้าง (รายการทั่วไป) ………………………………………………… ตัวอย่างรายการประกอบแบบก่อสร้าง (รายการเฉพาะ) ………………………………………………. ตัวอย่างผังบริเวณ …………………………………………………………………………………………………….

38 39 39 40 40 40 41 41 43 43 45 46 46 47 47 48 48 48 49 51 51 52 53 54 60 61 63


สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 82 ภาพที่ 83 ภาพที่ 84 ภาพที่ 85 ภาพที่ 86 ภาพที่ 87 ภาพที่ 88 ภาพที่ 89 ภาพที่ 90 ภาพที่ 91 ภาพที่ 92 ภาพที่ 93 ภาพที่ 94 ภาพที่ 95 ภาพที่ 96 ภาพที่ 97 ภาพที่ 98 ภาพที่ 99 ภาพที่ 100 ภาพที่ 101 ภาพที่ 102 ภาพที่ 103 ภาพที่ 104 ภาพที่ 105 ภาพที่ 106 ภาพที่ 107 ภาพที่ 108

ตัวอย่างมาตรฐานและข้อกาหนดในการเขียนผังพื้น …………………………………………………….. ตัวอย่างการเขียนผังพื้น ……………………………………………………………………………………………. ตัวอย่างสัญลักษณ์รูปด้านภายนอกและสัญลักษณ์รูปด้านภายใน ………………………………….. ตาแหน่งการวางสัญลักษณ์รูปด้านภายนอกในผังพื้น ……………………………………………………. ลักษณะการมองภาพฉายของรูปด้านภายนอกอาคาร ………………………………………………….. การเขียนแบบรูปด้านรวมภายนอก (ตัวอย่างที่ 1) ……………………………………………………….. การเขียนแบบรูปด้านรวมภายนอก (ตัวอย่างที่ 2) ……………………………………………………….. ตัวอย่างแนวตัดและรูปตัดตามขวาง (Transverse Section) ………………………………………… ตัวอย่างแนวตัดและรูปตัดตามยาว (Longitudinal Section) ………………………………………. การเขียนรูปตัดตามขวางอาคารตัวอย่าง 1 …………………………………………………………………. การเขียนรูปตัดตามยาวอาคารตัวอย่าง 2 …………………………………………………………………… ตัวอย่างรูปตัดผนัง (ตัวอย่างที่ 1) ………………………………………………………………………………. ตัวอย่างรูปตัดผนัง (ตัวอย่างที่ 2) ………………………………………………………………………………. สัญลักษณ์ในการระบุแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม …………………………………….. ตัวอย่างแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ……………………………………………………….. ส่วนประกอบสาคัญของประตู …………………………………………………………………………………… บานพับแบบต่าง ๆ ………………………………………………………………………………………………….. กุญแจประตูแบบต่าง ๆ ……………………………………………………………………………………………. อุปกรณ์ประกอบประตู …………………………………………………………………………………………….. ประตูบานเปิดและประตูบานเลื่อน ……………………………………………………………………………. ประตูบานเฟี้ยมและประตูเปิดสองทาง ………………………………………………………………………. ตัวอย่างการเขียนแบบขยายประตู …………………………………………………………………………….. ตัวอย่างการจัดเรียงหน้ากระดาษของแบบขยายประตู …………………………………………………. ส่วนประกอบของหน้าต่าง ………………………………………………………………………………………… ประเภทของหน้าต่าง ……………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างการเขียนแบบขยายหน้าต่าง …………………………………………………………………………. ตัวอย่างการจัดเรียงหน้ากระดาษของแบบขยายหน้าต่าง ………………………………………………

65 66 67 67 68 69 70 72 72 73 74 75 76 77 78 79 81 81 82 83 84 85 86 87 89 90 91


สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 109 ภาพที่ 110 ภาพที่ 111 ภาพที่ 112 ภาพที่ 113 ภาพที่ 114 ภาพที่ 115 ภาพที่ 116 ภาพที่ 117 ภาพที่ 118 ภาพที่ 119 ภาพที่ 120 ภาพที่ 121 ภาพที่ 122 ภาพที่ 123 ภาพที่ 124 ภาพที่ 125 ภาพที่ 126 ภาพที่ 127 ภาพที่ 128 ภาพที่ 129 ภาพที่ 130

ส่วนประกอบของบันได ……………………………………………………………………………………………. รูปแบบบันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) ……………………………………………………. รูปแบบบันไดโครงสร้างไม้และบันไดโครงสร้างเหล็ก ……………………………………………………. รูปแบบบันได ………………………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างผังของแบบขยายรายละเอียดบันได ………..……………………………………………………… ตัวอย่างรูปตัด A ของแบบขยายรายละเอียดบันได ………………………………………………………. ตัวอย่างรูปตัด B ของแบบขยายรายละเอียดบันได ………………………………………………………. ตัวอย่างจุดขยายของแบบขยายรายละเอียดบันได ……………………………………………………….. ตัวอย่างการจัดวางหน้ากระดาษของแบบขยายรายละเอียดบันได …………………………………. ตัวอย่างแบบบันไดที่ผ่านการคานวณขั้นบันได …………………………………………………………….. ระยะต่าง ๆ ที่เป็นตัวกาหนดคุณลักษณะบันไดที่ถูกต้องตามกฎหมายควบคุมอาคาร ………. ส่วนประกอบของสุขภัณฑ์ห้องน้า ……………………………………………………………………………… ตัวอย่างแบบผังขยายห้องน้า …………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างแบบรูปตัดขยายห้องน้า ………………………………………………………………………………… รายการประกอบแบบสุขภัณฑ์และความสูงในการติดตั้งสุขภัณฑ์ ………………………………….. ตัวอย่างแบบขยายเคาน์เตอร์อ่างล้างหน้า …………………………………………………………………… ตัวอย่างแบบขยายแผงกั้นห้องน้า ………………………………………………………………………………. ตัวอย่างแบบขยายการต่อเนื่องของโครงสร้างอาคาร ……………………………………………………. ตัวอย่างแบบขยายรายละเอียดการมุงหลังคา ……………………………………………………………… ตัวอย่างแบบขยายราวกันตก …………………………………………………………………………………….. ตัวอย่างแบบขยายหลังคา 1 ……………………………………………………………………………………… ตัวอย่างแบบขยายหลังคา 2 ………………………………………………………………………………………

93 94 95 96 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 108 109 110 110 111 112


สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-1 ตารางที่ 4-2 ตารางที่ 4-3 ตารางที่ 4-4 ตารางที่ 4-5 ตารางที่ 4-6 ตารางที่ 4-7 ตารางที่ 5-1

ขนาดกระดาษที่ใช้ในงานเขียนแบบ ………………………………………………………….………………. 33 ลักษณะของเส้น ………………………………………………………………………………………..……………. 44 ชนิดของความหนาของเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ ………………………………………………………… 45 มาตราส่วนที่ใช้ในแบบงานประเภทต่าง ๆ ……………………………………………………..…………… 50 สัญลักษณ์ประกอบแบบและคาย่อทั่วไป ………………………………………………………….………… 55 สัญลักษณ์ประกอบแบบและคาย่อทั่วไป (ต่อ) ……………………………………………………..……… 56 สัญลักษณ์ประกอบแบบวัสดุก่อสร้าง ………………………………………………………………….…….. 57 สัญลักษณ์ประกอบแบบประตู-หน้าต่างในผังพื้น ………………………………………………….…….. 58 ระยะขององค์ประกอบบันไดตามกฎหมายควบคุมอาคาร ………………………………………..…… 103


แผนการสอนประจาวิชา ชื่อวิชา พื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม (Basic Architectural Drawing) รหัสวิชา สถ 171 (AR 171) อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ดิศสกุล อึ้งตระกูล (Ditsakul Uengtrakool) สาขาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ Bachelor of Architecture Program in Architecture Faculty of Architecture and Environmental Design, Maejo University ข้อมูลทั่วไป กลุ่มวิชา พื้นฐานอาชีพ รหัสวิชา สถ 171 พื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม (AR 171 Basic Architectural Drawing) จานวนหน่วยกิต 3 (2-3-5) บรรยาย 2 ชั่วโมง - ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง - ศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมง / สัปดาห์ หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หลักสูตรสถาปัตยกรรม - วิชาแกน ชั้นปีที่เรียน นักศึกษาชั้นปีที่ 1 รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน -ไม่ม-ี คาอธิบายรายวิชา เรี ย นรู้ พื้น ฐานหลั กการและวิธีการเขียนแบบด้ว ยมือเบื้องต้น โดยมุ่งเน้น การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรม การเขียนแบบผังต่าง ๆ รูปด้าน รูปตัด และการเขียนแบบขยายอื่น ๆ ตามมาตรฐานการเขียนแบบ ที่ใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปัตยกรรม จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1) สามารถปฏิบัติงานการเขียนแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมตามลาดับขั้นตอนได้ 2) สามารถเขียนแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมและสามารถให้ผู้อ่านเข้าใจแบบที่เขียนอย่างถูกต้อง 3) สามารถเข้าใจลักษณะโครงสร้างอาคารและวัสดุก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมอันเกี่ยวเนื่องกับการเขียน แบบได้เป็นอย่างดี ตลอดจนการใช้สัญลักษณ์ประกอบแบบได้อย่างถูกต้อง


ฑ หัวข้อเนื้อหาและเวลา หน่วยที่ 1 2 3 4 5

หัวข้อ / เนื้อหา ความรู้เบื้องต้นในการเขียนแบบสถาปัตยกรรม เครื่องมืออุปกรณ์หลักที่ใช้ในการเขียนแบบ การเขียนรูปทรงสองมิติและรูปทรงสามมิติ มาตรฐานการเขียนแบบ การเขียนแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ

สัปดาห์ที่สอน 1 1 1-3 4-16 4-16

เวลาที่ใช้สอน (ชั่วโมง) 1 1 7 65 65

เนื้อหาการสอนรายสัปดาห์และการประเมินผล สัปดาห์

1

หัวข้อ / รายละเอียด จานวน หน่วยที่ 1 : ความรู้เบื้องต้นในการเขียน แบบสถาปัตยกรรม หน่วยที่ 2 : เครื่องมืออุปกรณ์หลักที่ใช้ 5 ชั่วโมง ในการเขียนแบบ หน่วยที่ 3 : การเขียนรูปทรงสองมิติ

กิจกรรมการเรียนการสอน แนะนารายวิชา ทดสอบความรู้เบื้องต้น ผ่าน Application การใช้อุปกรณ์ในการ เขียนแบบ A-01 : การเขียนรูปทรงเรขาคณิต (Regular Polygons) A-02 : การเขียนรูปทรงหลายเหลี่ยม (Regular Polygons) 5 ชั่วโมง A-03 : การเขียนทรงรูปหลายเหลี่ยม แบบ Isometric (Regular Polygons) A-04 : การเขียนภาพฉาย Orthographic Projections 5 ชั่วโมง A-05 : การเขียนรูปทรง Isometric ผ่านวิธีการเขียนโครงสร้างการเข้าไม้ A-06 : รายการประกอบแบบ (Specifications) 5 ชั่วโมง A-07 : สารบัญแบบ (Table of Contents) สัญลักษณ์แบบ (Symbols)

ผู้สอน

อ.ดิศสกุล

2

หน่วยที่ 3 : การเขียนรูปทรงสามมิติ

อ.ดิศสกุล

3

หน่วยที่ 3 : การเขียนรูปทรงสามมิติ

4

หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ

อ.ดิศสกุล

อ.ดิศสกุล


ฒ สัปดาห์ 5

6

7 8 9

10

11

12

13

14

หัวข้อ / รายละเอียด หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ สอบกลางภาค (Mid – term) หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ

จานวน

กิจกรรมการเรียนการสอน

ผู้สอน

A-08 : การเขียนแผนผังบริเวณ (Layout) / แผนที่โครงการ (Map)

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง A-09 : ผังพื้น (Floor Plan) ชั้นที่ 1

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง A-09 : ผังพื้น (Floor Plan) ชั้นที่ 2

อ.ดิศสกุล

การเขียนแบบผังพื้น (Floor Plan) ผ่านการแปลงมาตราส่วน

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง

5 ชั่วโมง

5 ชั่วโมง A-10 : รูปด้าน (Elevation) 1 – 4

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง A-11 : รูปตัด (Section) A

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง A-12 : รูปตัด (Section) B

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง A-12 : แบบหลังคา (Roof Plan)

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง

A-13 : แบบขยาย (Details) แบบขยายประตู / แบบขยายหน้าต่าง

อ.ดิศสกุล

5 ชั่วโมง

A-14 : แบบขยาย (Details) บันได / ศาลา

อ.ดิศสกุล


ณ สัปดาห์ 15

16

หัวข้อ / รายละเอียด หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ หน่วยที่ 4 : มาตรฐานการเขียนแบบ หน่วยที่ 5 : การเขียนแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ

17

สอบปลายภาค (Final)

จานวน

กิจกรรมการเรียนการสอน

ผู้สอน

5 ชั่วโมง

A-15 : แบบขยาย (Details) ห้องน้า A-16 : รายการประกอบแบบสุขภัณฑ์

อ.ดิศสกุล

A-17 : แบบขยาย (Details) เฉลียง / ระเบียงไม้ / สระน้า / ระแนงไม้ 5 ชั่วโมง และรวบรวมเล่มแบบก่อสร้างทาง สถาปัตยกรรม -

อ.ดิศสกุล -

* หมายเหตุ กิจกรรมการเรียนการสอนรวมถึงแบบฝึกหัดในการเขียนแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมอาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

สื่อการเรียนการสอน 1) 2) 3) 4) 5)

ทดสอบทักษะการเขียนและความรู้พื้นฐานในการเขียนแบบผ่านแบบฝึกหัด (ภาคผนวก 1) แบบทดสอบก่ อ นเรี ย นผ่ า น Application Kahoot! ซึ่ ง เป็ น โปรแกรมถามตอบ Online เพื่ อ ทดสอบทักษะและการมีส่วนร่วมของนักศึกษาเพื่อมุ่งสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ภาคผนวก 2) เอกสารประกอบการสอนรายวิชา สถ 171 พื้นฐานการเขียนแบบสถาปัตยกรรม ตัวอย่างแบบสถาปัตยกรรมที่ใช้ขออนุญาตก่อสร้าง หรือแบบที่ใช้ในการทางานจริง บรรยายเนื้อหาร่วมกับการวิพากษ์ตัวอย่างแบบฝึกหัดของนั กศึกษาทุกสัปดาห์ เพื่อให้ นักศึกษา เกิดการพัฒนาการเขียนแบบร่วมกัน

การวัดผลประเมินผล 1) 2) 3) 4)

วิธีการประเมิน การเข้าเรียน ความเอาใจใส่ในการเรียน ทักษะการเขียนแบบพื้นฐาน สอบกลางภาค (สอบปฏิบัติเขียนแบบ) สอบปลายภาค (รวมเล่มการเขียนแบบ)

สัปดาห์ที่ประเมิน ตลอดภาคการศึกษา 1–4 8 5-16

สัดส่วนของการประเมิน 100% 10% 20% 30% 40%


ด วิธีการประเมินผล การวัดผลและประเมินผลผ่าน Google Sheet (ภาคผนวก 3) ซึ่งนักศึกษาจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด และการเข้าชั้นเรียนช้าเกิน 30 นาที ถือว่ามาสาย การมาสาย 3 ครั้ง นับเป็นขาด 1 ครั้ ง หากขาดเกิน 3 ครั้ ง หมดสิ ทธิ์ส อบ การส่ งงานให้ ส่ งงานตามเวลาที่กาหนด หากส่ งล่ าช้าผู้ สอนมีสิทธิไม่ ประเมินผลงาน การให้คะแนนเขียนแบบแต่ละชั้นงานใช้เกณฑ์ดังนี้ A+ = 10 B+ = 7 C+ = 4 D+ = 1 F=0 A =9 B =6 C =3 D =0 A- = 8 B- = 5 C- = 2 D- = 0 จากคะแนนแบบฝึ กหั ดการเขียนแบบรายสัปดาห์ เมื่อนาคะแนนมารวมโดยแบ่งตามสั ดส่วนของการ ประเมินค่าระดับคะแนนตามเกณฑ์ ดังนี้ A = 80 ขึ้นไป C+ = 65 – 69 D = 50 – 54 B+ = 75 – 79 C = 60 – 64 F = ต่ากว่า 50 B = 70 – 74 D+ = 55 – 59


1

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในการเขียนแบบสถาปัตยกรรม แบบก่อสร้ าง (Construction Drawing) เป็นแบบที่เขียนขึ้นโดยผู้ออกแบบ ซึ่ งมีจุดประสงค์เพื่อที่จะ ถ่ายทอดให้ผู้อ่านแบบนาไปใช้เป็นแนวทางในการก่อสร้างหรือลักษณะทางสถาปัตยกรรมได้ตรงตามรูปแบบที่ได้ ออกแบบไว้ ทั้งรูปร่าง ลักษณะการใช้วัสดุ รวมไปถึงวิธีการก่อสร้างตามหลักการวิชาการก่อสร้างที่ดี นอกเหนือจาก แบบก่อสร้างหรือลักษณะทางสถาปัตยกรรมแล้ว ยังมีแบบที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบมากมาย เช่น งานเขียนแบบ ตกแต่งภายใน งานเขียนแบบการจัดสวนหรือภูมิสถาปัตยกรรม งานเขียนแบบแผนที่และสารวจ รวมไปถึงงาน เขียนแบบสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับกับงานสถาปัตยกรรม เช่น แบบระบบไฟฟ้า แบบระบบ ประปา แบบระบบสุขาภิบาล เป็นต้น 1.1 ความสาคัญของการเขียนแบบสถาปัตยกรรมกับสถาปนิก สถาปนิ ก คื อ บุ ค คลผู้ เ กี่ ย วข้ อ งในการออกแบบ และวางแผนในการก่ อ สร้ า ง หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า งาน สถาปัตยกรรม โดยสถาปนิกจะเป็นผู้ที่เข้าใจในมาตรฐานการก่อสร้างของอาคาร เข้าใจถึงหน้าที่ใช้สอยของอาคาร นั้ น รวมถึ ง วั ส ดุ ที่ จ ะน ามาเป็ น ส่ ว นประกอบของสิ่ ง ก่ อ สร้ า งนั้ น โดยสถาปนิ ก จะท าการบริ ก ารวิ ช าชี พ ตาม กระบวนการและขั้นตอนการออกแบบ (The Architectural Design Process) ดังต่อไปนี้ 1) 2) 3) 4) 5) 6)

บันทึกรายละเอียด ความต้องการของลูกค้า เพื่อออกแบบให้ตรงตามความต้องการ ออกแบบเบื้องต้น Schematic Design (SD) คานวณแบบและเลือกวัสดุที่มีคุณภาพให้เหมาะสม ออกแบบรายละเอียด Design Development (DD) ทาแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม Construction Document (CD) ร่วมกับวิศวกร คานวณรายการใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเนื้องาน Bidding and Contract Negotiation (BID) เมื่อดาเนินการเขียนแบบก่อสร้างสมบูรณ์แล้ว จึงส่งแบบให้กับวิศวกรทาการก่อสร้าง (Construction Administration (CA) 7) ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างทาการก่อสร้าง เพื่อให้การออกแบบและวัสดุตรงตามแบบที่ได้ ออกแบบไว้ตามเงื่อนไข และให้คาปรึกษาต่อวิศวกรในการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้าง โดยผู้รับผิดชอบงานเขียนแบบ แบ่งได้เป็น 3 ฝ่าย ดังนี้ 1) สถาปนิก (Architect) หมายถึง “นายช่างผู้ออกแบบและควบคุมการก่อสร้าง” มีหน้าที่เป็นผู้ออกแบบ เขี ย นแบบ ก าหนดพื้ น ที่ ใ ช้ ส อยของอาคารต่ า ง ๆ จั ด การจราจรภายในอาคารก าหนดความสวยงามด้ า น


2 สถาปัตยกรรม ประมาณการการก่อสร้าง ประสานงานกับวิศวกรและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ที่จะทาให้งานออกแบบ เขียนแบบสาเร็จลงได้ด้วยดี 2) วิ ศ วกร (Engineer) หมายถึ ง “นายช่ า งที่ มี ค วามรู้ สู ง ในทางช่ า งต่ า ง ๆ เช่ น ช่ า งกล ช่ า งไฟฟ้ า ” นอกจากนั้นยังมีวิศวกรด้านอื่น ๆ เช่น ด้านโครงสร้าง ด้านโยธา ซึ่งมีหน้าที่ในการออกแบบคานวณ ความมั่นคง แข็งแรงของอาคาร กาหนดขนาดของโครงสร้างและการเสริมเหล็ก รวมไปถึง งานไฟฟ้า งานสุขาภิบาล 3) ช่างเขียนแบบ (Draftsman) หมายถึง ช่างที่เป็นผู้ช่วยสถาปนิกหรือวิศวกรในการเขียนแบบก่อสร้าง โดยปกติสถาปนิกมีหน้าที่ในการออกแบบอาคารบ้านเรือนและสิ่งก่อสร้าง ต่าง ๆ วิศวกรจะมีงานเกี่ยวกับการ คานวณโครงสร้าง ความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร นอกจากนั้นสถาปนิกและวิศวกรยังต้องบริหารงานโครงการ ก่อสร้างอาคาร จึงไม่ค่อยมีเวลาในการเขียนแบบด้วยตนเอง จึงต้องอาศัยช่างเขียนแบบเป็นผู้เขียนแบบก่อสร้าง แทน ดังนั้นช่างเขียนแบบจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งในงานก่อสร้างอาคาร เห็นได้ว่าในการเขียนแบบก่อสร้างจึงมีความสาคัญต่อสาขาวิชาชีพสถาปัตยกรรม ในการถ่ายทอดรูปแบบ ของผลงาน ให้ผู้อ่านแบบนาไปใช้ได้ถูกต้องตามจุดประสงค์ ผู้ที่เขียนแบบจึงจาเป็นต้องมีความรู้และเข้าใจใน พื้นฐานแต่ละเรื่องพอที่จะสามารถเขียนแบบก่อสร้าง เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นอ่านแบบและเข้าใจอย่างถูกต้องชัดเจน 1.2 ประเภทของการเขียนแบบ การเขียนแบบก่อสร้าง (Construction Drawing) เป็นแบบที่เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้ ผู้ออกแบบ ถ่ายทอดให้แก่ผู้นาแบบไปสามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการก่อสร้างอาคารได้ตรงตามรูปแบบ รูปทรง รูปร่าง ขนาด ลักษณะของวัสดุ รวมไปถึงวิธีการก่อสร้างให้ ตรงตามที่แสดงไว้ในแบบทุกประการ โดยงานเขียนแบบ สามารถแบงออกได้ 3 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ 1. แบบสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) 2. แบบวิศวกรรม (Engineering Drawing) และ 3. แบบผลิตภัณฑ์ (Product Drawing) 1.3.1 แบบสถาปัตยกรรม (Architectural Drawing) 1) งานเขียนแบบอาคาร (Architecture) แบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมเป็นแบบที่สถาปนิกหรือผู้ออกแบบเป็นผู้กาหนดรูปร่าง ลักษณะ และ โครงสร้างทั่วไปของอาคาร โดยแสดงแบบด้วยรูปฉาย (Orthographic Projection) เขียนด้วยมาตราส่วนย่อ ให้ ผู้อ่านแบบสามารถวัดขนาดอาคารได้ทุกส่วน เพื่อนาไปใช้เป็นแนวทางในการก่อสร้างเป็นตัวอาคารได้จริง มีรูปร่าง ลักษณะ ขนาด ตรงตามที่เขียนไว้ในแบบทุกประการ แบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมนี้ แสดงด้วยรูปแบบของอาคารทางแนวราบที่บอกขนาดความกว้าง ความ ยาวของตัว อาคารด้ว ยรู ป ผั งต่าง ๆ และรู ปแบบที่บอกความสู งของอาคารทางแนวดิ่งด้ว ยรูปด้านและรู ป ตั ด


3 บางส่วนของอาคารที่แสดงได้ไม่ละเอียดชัดเจนพอในผัง รูปด้าน หรือ รูปตัด อาจแสดงด้วยรูปแบบขยายเฉพาะจุด ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเรียกว่า แบบขยายรายะเอียดทางสถาปัตยกรรม นอกจากนั้น ยังมีตารางรายละเอียดที่เขียนอธิบายส่วนของอาคารที่ไม่สามารถเขียนแสดงได้ด้วยรูปใน แบบข้างต้น และมีรายการประกอบแบบก่อสร้าง ซึ่งระบุถึงชื่อการค้า คุณภาพของวัสดุก่อสร้างในกาก่อสร้างส่วน ต่าง ๆ ของอาคาร และวิธีการก่อสร้างที่กาหนดให้ผู้ทาการก่อสร้างปฏิบั ติให้ถูกต้องตามหลักการก่อสร้าง และ ความประสงค์ของผู้ออกแบบอีกด้วย (สุขสม เสนานาญ, 2547,น. 2) ทั้งนี้กาหนดตัวอักษรย่อ “A” ไว้ในช่อง หมายเลขแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมทั้งหมด โดยแบบงานเขียนแบบอาคาร (Architecture) สามารถจาแนก ออกได้ดังนี้ 1.1 ผังบริเวณ (Lay out) และ ผังที่ตั้ง (Site Plan) 1.2 ผังพื้นทุกชั้น (Floor Plan) 1.3 รูปด้าน (Elevation) 1.4 รูปตัด (Section) 1.5 รูปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Detail) 1.6 ตารางรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Schedules)

ภาพที่ 1 ตัวอย่างการเขียนแบบสถาปัตยกรรม


4 2) งานเขียนแบบตกแต่งภายใน หรือ สถาปัตยกรรมภายใน (Interior) ลักษณะงานจะแสดงสัญลักษณ์แบบตกแต่ง พื้น ผนัง ฝ้าเพดาน รวมถึงการ Built-in Furniture การเขียน แบบจะเขียนเป็นห้อง ๆ ประกอบด้วย รูปผัง รูปด้าน รูปตัด แบบขยายเฉพาะจุด (Detail) ตารางรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรม และผู้เขียนแบบสามารถนารูปทัศนียภาพมาร่วมในแบบได้ เพื่อให้ผู้อ่านแบบเข้าใจแบบมากขึ้น โดย กาหนดตัวอักษรย่อ “ID” ในช่องหมายเลขแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมภายใน หรือแบบตกแต่งภายในทั้งหมด

ภาพที่ 2 ตัวอย่างการเขียนแบบตกแต่งภายใน 3) งานเขียนแบบการจัดสวนหรือภูมสิ ถาปัตยกรรม (Landscape) ลักษณะงานจะแสดงแบบ การจัดพื้นที่วางตาแหนง ต้นไม้ ดอกไม้ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ตกแต่ง สวน เช่น พื้นทางเดิน น้าตก บ่อน้า สระน้า ผนังก้อนหิน ทราย กรวด ม้านั่ง รวมถึงแบบขยายในส่วนต่าง ๆ เป็นต้น โดยแบบ ภูมิสถาปัตยกรรมใช้อักษรย่อนาหน้าหมายเลขแบบ “L”

ภาพที่ 3 ตัวอย่างการเขียนแบบภูมิสถาปัตยกรรม


5 4) งานเขียนแบบแผนที่และสารวจ )Map and Survey Drawing( ลักษณะงานจะแสดงสัญลักษณ์ ผังที่ตั้งในภาพกว้าง ๆ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ ที่ตั้ง ของที่อยู่อาศัย สถานที่ราชการ วัด ถนน สาธารณะประโยชนต่าง ๆ โดยสามารถรวมถึงเขียนแบบในเชิงวิศวกรรมในงานแผนที่ และช่างสารวจได้ด้วย

ภาพที่ 4 ตัวอย่างการเขียนแบบแผนที่และสารวจ ที่มา: http://www.michigansurveying.com/samples/F(0)-medium.jpg, 2561 1.2.2 แบบวิศวกรรม (Engineering Drawing) แบบวิศวกรรมเป็น แบบที่เขียนขึ้นประกอบกับแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม โดยแสดงถึงลั กษณะ โครงสร้างต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ด้านความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างอาคาร และสิ่งจาเป็น อื่น ๆ ในอาคาร เช่น ไฟฟ้า ประปา สุขาภิบาล เป็นต้น โดยสามารถแยกตามสาขาของงานวิศวกรรมหลัก ๆ 4 ประเภท ได้แก่ 1) แบบวิศวกรรมโครงสร้าง (Structural Drawing) เป็นแบบที่วิศวกรโยธาเป็นผู้คานวณขนาดและรายละเอียดของโครงสร้างอาคาร เช่น ตาแหน่งของเสา ตอม่อและฐานรากของอาคาร ซึ่งจะต้องตรงกับตาแหน่งเสาที่เป็นโครงสร้างในแบบก่อสร้างในแบบสถาปัตยกรรม และตาแหน่งเสา คาน พื้ น ของอาคารแต่ละชั้น นอกจากนั้น ยังมีแบบขยายแสดงรายละเอียดของโครงสร้างว่ามี หน้าตัดเท่าใด ตาแหน่งหรือจานวนเหล็กเสริมที่ใช้ในโครงสร้างแต่ละส่วน และมีตารางรายละเอียดทางวิศวกรรม โดยแบบทางวิศวกรรมโครงสร้าง ใช้อักษรย่อนาหน้าหมายเลขแบบ “S” มีแบบที่ต้องแสดง ดังนี้ (สุขสม เสนานาญ , 2547, น. 2) 1.1 ผังฐานราก (Foundation Plan) 1.2 ผังโครงสร้างแต่ละชั้น (Framing Plan) 1.3 แบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม (Details) 1.4 ตารางรายละเอียดทางวิศวกรรม (Schedules)


6

ภาพที่ 5 ตัวอย่างแบบวิศวกรรมโครงสร้าง 2) แบบวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Drawing) เป็นแบบที่วิศวกรไฟฟ้าเป็นผู้คานวณขนาดของอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ ตามแบบที่สถาปนิกได้กาหนดตาแหน่ง ดวงโคมและอุปกรณ์อื่น ๆ ไว้แล้ว โดยคานึงถึงความสะดวกในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ และความปลอดภัยของ ผู้ใช้อาคารอย่างถูกต้องตามข้อกาหนดมาตรฐานการติดตั้งของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ใน แบบไฟฟ้าจะกาหนดขนาด ชนิดของสายไฟ ระบบการเดินสายไฟ เป็นต้น ไว้ในตารางรายะเอียดทางไฟฟ้า แสดง แผนผังการติดตั้งวงจรไฟฟ้า และรูปขยายรายละเอียดในจุดที่ต้องการแสดงการต่อสายโดยเฉพาะ เช่น รูปขยาย การติดตั้งแผงสวิตช์ เป็นต้น (สุขสม เสนานาญ, 2547, น.2) โดยแบบไฟฟ้าใช้อักษรย่อนาหน้าหมายเลขแบบ “E” โดยแบบที่แสดง ได้แก่ 2.1 ผังไฟฟ้า (Electrical Floor Plan) - ผังไฟฟ้าแสดงตาแหน่งดวงโคมและสวิตช์ (Lighting Floor - Plan) - ผังไฟฟ้าแสดงตาแหน่งเต้ารับ อุปกรณ์ไฟฟ้า ฯลฯ (Lighting Floor - Power) 2.2 แผนผังแสดงการติดตั้งวงจรไฟฟ้า (Single - Line Diagram) 2.3 ตารางรายละเอียดทางวิศวกรรม (Schedules)


7

ภาพที่ 6 ตัวอย่างการเขียนแบบวิศวกรรมไฟฟ้า 3) งานเขียนแบบวิศวกรรมสุขาภิบาล (Plumbing Drawing or Sanitary Drawing) ในงานก่อสร้างอาคารโครงการขนาดใหญ่ ๆ วิศวกรสุขาภิบาลจะเป็นผู้กาหนดระบบท่อ ขนาดเส้นท่อ และ อุปกรณ์ โดยสถาปนิกเป็นผู้กาหนดตาแหน่งของเครื่องใช้ให้สะดวกในการใช้งาน เช่น เครื่องสุขภัณฑ์ เครื่องใช้ใน ครัว ฯลฯ แต่สาหรับบ้านพักอาศัยขนาดเล็กหรือขนาดกลาง ส่วนมากสถาปนิก จะเป็นผู้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับ ขนาดท่อ แนวการเดินท่อประปา ท่อน้าทิ้ง ท่อระบายอากาศ บ่อเกราะ บ่อซึม เป็นต้น (สุขสม เสนานาญ, 2547, น.3) โดยแบบวิศวกรรมสุขาภิบาลใช้ตัวอักษรย่อนาหน้าหมายเลขแบบ “P” หรือ “SN” แบบที่แสดง ได้แก่ 1.1 ผังการเดินท่อ (Floor Plan) 1.2 แบบแสดงการเดินท่อในแนวดิ่ง (Riser Diagram) 1.3 แบบขยายรายละเอียดระบบท่อ (Details) 1.4 ตารางรายละเอียดทางวิศวกรรม (Schedules)

ภาพที่ 7 การเขียนแบบแบบสุขาภิบาล


8 4) งานเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Drawing) การเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกลเป็นการเขียนแบบเกี่ยวกับการประดิษฐ์ การผลิต และการดูแลรักษา ระบบเชิงกล โดย ถ่ายทอดแบบจากหลักการพื้นฐานของกลศาสตร์ พลศาสตร์ ฯลฯ ยกตัวอย่างเช่น การออกแบบ วิเคราะห์ยานยนต์ อากาศยาน เรือ ระบบการผลิตเครื่องจักรกล อุปกรณ์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์และอุป กรณ์ ทางการแพทย์ เป็นต้น แบบวิศวกรรมเครื่องกลใช้ตัวอักษรย่อนาหน้าหมายเลขแบบ “ME”

ภาพที่ 8 การเขียนแบบเครื่องกล ที่มา: http://www.uazland.cz/images/3153/tech3153.gif, 2561 1.2.3 แบบผลิตภัณฑ์ (Product Drawing) การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หมายถึง การวิเคราะห์ การสร้างสรรค์ การปรับปรุง การออกแบบ สิ่งของที่เกิดขึ้นจากแรงและสมองของมนุษย์ เพื่อตอบสนองความจาเป็น ความต้องการ ความสะดวกสบายต่อการ ดารงชีวิต หรือเพื่อการผลิตในปริมาณมาก ๆ โดยให้มีรูปแบบที่ถูกต้องแน่นอนก่อนที่จะมีการลงทุนเป็นจานวนมาก เพื่อจัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรในการผลิต โดยลักษณะแบบจะแสดงสัญลักษณ์แบบ ขนาดความกว้าง ความยาว ความสูง รวมถึงวัสดุที่ใช้ เทคนิคการประกอบชิ้นส่วนของครุภัณฑ์นั้น ๆ สวนรูปแบบในการนาเสนอจะ เป็นแบบ 2 มิติ 3 มิติ หรือทั้งสองรูปแบบก็ได้


9

ภาพที่ 9 ตัวอย่างการเขียนแบบทางครุภัณฑ์ ที่มา: https://www.pinterest.com/pin/424464333612255359, 2561

ภาพที่ 10 ตัวอย่างการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ที่มา: http://artd3302-puritud.blogspot.com/2013_09_01_archive.html, 2561


10

บทที่ 2 เครื่องมืออุปกรณ์หลักที่ใช้ในการเขียนแบบ ปัจจุบันการเขียนแบบนั้นได้มีเทคโนโลยีคอมพิ วเตอร์เป็นอุปกรณ์ในการเขียนแบบ ทาให้ทางผู้เขียนแบบ สามารถเขียนได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น แต่ถึงอย่างไรการเขียนแบบด้วยมือ ถือเป็นทักษะ ความรู้ และเป็นการ ถ่ายทอดแบบขั้นพื้นฐานที่นักออกแบบควรมี โดยทางผู้เขียนแบบควรจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ในการเขียนแบบไว้ให้ พร้อม และรักษาเครื่องมือไว้อย่างดี ซึ่งได้แบ่งเครื่องมือที่จาเป็นในการเขียนแบบดังนี้ 2.1 โต๊ะเขียนแบบ หรือ กระดานเขียนแบบ สาหรับงานเขียนแบบแล้ว โต๊ะเขียนแบบถือเป็นอุปกรณ์หลัก ในการเขียนแบบ ปัจจุบันโต๊ะเขียนแบบมี รูปร่างและขนาดที่หลากหลาย มีทั้งขนาดพกพาในรูปแบบกระดานเขียนแบบ (Compact Drawing Table) หรือ สามารถเปิดไฟได้ (Light Drafting Table) โดยลักษณะของโต๊ะเขียนแบบจะต้องมีลักษณะที่พร้อมใช้งาน เช่น ผิว โต๊ะจะต้องเรียบตลอดทั้งผืน หรือการทาผิวโต๊ะให้เรียบด้วยเทคนิคต่าง ๆ เช่น กรุผิวโต๊ะด้วยฟอร์ไมกา (Formica) โดยไม่มีรอยบนผิวโต๊ะซึ่งอาจส่งผลทาให้สะดุดเมื่อลากเส้น ปัจจุบันโต๊ะเขียนแบบมีหลากหลายขนาด ส่วนมากมีขนาดประมาณ 0.60x0.90, 0.6x1.00, 0.80x1.20 เมตร ตามขนาดกระดาษที่ต้องการใช้ในการเขียนแบบ แผ่นกระดานโต๊ะเขียนแบบควรที่จะสามารถเอียงแผ่น กระดานได้ตามองศาของงานและความถนัดของผู้เขียนแบบได้ด้วย

ภาพที่ 11 โต๊ะเขียนแบบ ที่มา: https://renoaddict.com/2015/11/30/the-top-6-reasons-to-not-use-an-architect, 2561 (ซ้าย) http://content.haycdn.com/mgen/master:ALV012.jpg, 2561 (ขวา)


11 2.2 ไม้ที และ ทีสไลด์

ภาพที่ 12 ไม้ทีและไม้ทีสไลด์ ที่มา: https://images-na.ssl-images-amazon.com/images/I/2%41BxJ9ZFJZL.jpg, 2561 (ซ้าย) http://cdn.dick-blick.com/items/557/17/55717-1024-3ww-l.jpg, 2561 (ขวา) ไม้ที (T-Square) มีลักษณะคล้ายอักษรตัวที (T) ในภาษาอังกฤษ ทางด้านหัวเป็นไม้หรือพลาสติกหนา ส่ ว นด้านข้างทาหน้ า ที่เป็ น ไม้ บ รรทั ดใช้ ส าหรั บเขียนเส้ น แนวนอน หรือทาหน้าที่เป็น ไม้ค้ าฉากปรั บมุ ม (Set Square) ในการเขียนเส้นเอียงตามองศาต่าง ๆ ต้องขนานกับโต๊ะเขียนแบบและมีความเรียบเพื่อทาให้เส้นที่เขียน เรียบตลอดเมื่อขีดเส้ น ทีสไลด์ (T-Slide) เป็นเครื่องมือที่ใช้ทางานในลั กษณะเช่นเดียวกับไม้ทีสามารถน ามา ประกอบกับโต๊ะเขียนแบบ หรือกระดานเขียนแบบไดโดยใช้หลักการทางานของเชือกและรอก มีความสะดวก รวดเร็วในการใช้งาน และมีความขนานเที่ยงตรงกว่าไม้ที 2.3 ฉากสามเหลี่ยม ฉากปรับมุม (Set Square) ทาหน้าทีข่ ีดเขียนเส้นแนวดิ่ง และเส้นแนวเอียง เพื่อทาหน้าที่เป็นไม้บรรทัดใน การเขียนมุมเอียงตามองศาที่ต้องการเขียน การใช้งานจะใช้ร่วมกับไม้ทีหรือไม้ทีสไลด์ มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ ได้แก่ 2.3.1 ฉากสามเหลี่ยมแบบตายตัว เป็นอุปกรณ์เขียนแบบรูปร่างสามเหลี่ยมมุมฉากมี 3 ด้าน 3 มุม โดยจะมีมุมฉากอยู่ 1 มุม ฉากสามเหลี่ยม แบบตายตัว มีอยู่ ด้ว ยกัน 2 แบบ คือแบบมุมภายใน 45°, 45° และ 90° และมุมภายใน 30°, 60° และ 90° ซึ่ง สามารถใช้ฉากสามเหลี่ยมแบบตายตัวในการเขียนมุมเอียงต่าง ๆ ได้ (ภาพที่ 13)


12

ภาพที่ 13 การเขียนมุมเอียงจากฉากสามเหลี่ยมแบบตายตัว 2.3.2 ฉากปรับมุม (Set Square หรือ Adjustable Triangle) ลักษณะคล้ายกับฉากสามเหลี่ยมแบบตายตัว แต่สามารถปรับมุมเอียงต่าง ๆ ได้ตามต้องการ

ภาพที่ 14 ฉากปรับมุม ที่มา: http://www.draftex.com.au/image-optimise.ashx?imageId=743&imageSize=4, 2561


13 2.4 วงเวียน วงเวียน (Compass) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเขียนส่วนโค้งวงกลม วงเวียนมักจะถูกใช้เขียนวงกลมที่มี ขนาดค่อนข้างโต เนื่องจากจะใช้งานได้ง่าย วงเวียนมีหลายแบบ ใช้กับดินสอธรรมดาหรือไส้ดินสอสาเร็จรูปหรือใช้ กับปากกาเขียนแบบ มีตัวปรับรัศมีหรือไม่มี ตัวปรับรัศมีสามารถเลือกซื้อได้ตามความเหมาะสม แบ่งตามลักษณะ การใช้ง่ายได้ 3 ประเภท ดังนี้ 2.4.1 วงเวียน (Compass Drafting) เป็นวงเวียนที่ใช้เขียนส่วนโค้งหรือวงกลมที่มีขนาดเล็ก ลักษณะ รูปร่างมีขาสองขา โดยขาข้างหนึ่งจะยึดติดเหล็กปลายแหลม ส่วนขาอีกข้างหนึ่งจะมีชุดจับยึดดินสอ หรือไส้ดินสอ ขึ้นอยู่กับลักษณะของวงเวียนนั้น ๆ 2.4.2 วงเวียนถ่ายขนาด (Dividers Compass) เป็นวงเวียนที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายกับวงเวียนที่ใช้ ในงานเขียนแบบทั่วไป แต่ปลายขาวงเวียนจะเป็นปลายแหลมทั้งสองข้าง ใช้สาหรับวัดระยะขนาดจากบรรทัดแล้ว ไปถ่ายขนาดลงบนแบบงาน หรือใช้แบ่งเส้นตรงออกเป็นส่วน ๆ เท่า ๆ กัน 2.4.3 วงเวียนคาน (Beam Compass) เป็นวงเวียนที่ใช้สาหรับเขียนส่วนโค้ง หรือวงกลมขนาดใหญ่ มีส่วนประกอบหลักอยู่ 3 ส่วน คือ ส่วนที่หนึ่งเป็นแกนหลักมีลักษณะรูปร่างเป็นคานตรงยาว ส่วนที่สองเป็นชุด เหล็กปลายแหลม และส่วนที่สามเป็นชุดดินสอ ซึ่งส่วนที่สองและสามสามารถเลื่อนไปมาบนคานแกนหลัก และมี สกรูที่สามารถล็อกตาแหน่งได้

ภาพที่ 15 ประเภทของวงเวียน ที่มา: https://davidneat.files.wordpress.com/2014/01/dsc07049_ch_sm.jpg, 2561


14 2.5 แผ่นกันลบ แผ่นกันลบ หรือ แผ่นชีลด์ (Erasing Shield) เป็นแผ่นพลาสติกใส หรือ สแตนเลสบาง มีขนาดประมาณ 7.5x10 เซนติเมตร แผ่นกับลบนี้ถูกเจาะให้มีรูปร่างต่าง ๆ เช่น ตรง โค้ง โค้งเล็กน้อย มุมฉาก ฯลฯ ทั้งนี้ ก็เพื่อ ประโยชน์ในการทีย่ างลบที่มีขนาดใหญ่ลบไปในส่วนที่ไม่ต้องการในช่องดังกล่าวได้สะดวก เนื่องจากเวลาเขียนแบบ จะมีเส้นตัดกันอยู่เป็นจานวนมาก ถ้าไม่ใช้เครื่องมือดังกล่าว ยางลบต้องแหลมจึงจะไม่เลยไปลบส่วนที่ต้องการใช้ (พิภพ สุนทรสมัย, 2545, น.9)

ภาพที่ 16 แผ่นกันลบ ที่มา: https://c10645061.ssl.cf2.rackcdn.com/product/icongo/icg_72698erasershield.jpg, 2561 (ซ้าย) https://www.qy1.de/img/shinwa-radierschablone-311211b.jpg, 2561 (ขวา) 2.6 ดินสอ ดินสอ (Pencil) ที่ในปัจจุบันมีการผลิตและพัฒนาขึ้นมากมาย ซึ่งสามารถจาแนกประเภทหลัก ๆ ด้วยกัน 3 ประเภท ได้แก่ 2.6.1 แบบเปลือกไม้ (Wooden Pencil) เป็นดินสอที่ทาด้วยด้ามไม้ มีไส้ดินสออยู่แกนกลาง จะต้อง เหลาให้ไส้มีความยาวประมาณ 10 มม. ซึ่งจะเหลาได้ 2 แบบ คือ 1) แบบกรวย ใช้สาหรับขีดเส้นเต็มบาง เช่น เส้น ร่าง เส้นกาหนดขนาด และ 2) แบบลิ่ม ใช้สาหรับขีดเส้นเต็มหนา เช่น เส้นกรอบรูป เส้นประ เป็นต้น 2.6.2 แบบเปลี่ยนไส้ได้ชนิดต้องเหลา (Clutch Pencil) มีไส้ดินสอขนาดประมาณ 2 มม. ต้องเหลา ปลายไส้ดินสอให้แหลมเหมือนดอนสอแบบเปลือกไม้แต่ใช้สะดวกกว่า 2.6.3 แบบเปลี่ยนไส้ชนิดไม่ต้องเหลา หรือ ดินสอกด (Automatic Pencil) ขีดเส้นได้ความหนาของ เส้นตามมาตรฐานได้โดยไม่ต้องเหลาเพราะไส้ดินสอมีขนาดความโตเพื่อใช้กับไส้ขนาดต่างๆ เช่น 0.5 มม. ดินสอเขียนแบบ เป็นอุปกรณ์สาคัญที่ใช้ในการเขียนแบบด้วยมือเปล่า ไส้ของดินสอจะทามาจากกราไฟต์ (Graphite) ซึ่งจะมีความแข็งหรืออ่อนแตกต่างกันไปตามลักษณะการใช้งานของดินสอ ดินสอเขียนแบบจะมีรหัสที่ เป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลขพิมพ์ไว้ เช่น H, 2H, 3H, HB, 2B, 6B, F เป็นต้น


15

ภาพที่ 17 ดินสอแต่ละประเภท ที่มา: https://i.stack.imgur.com/zHqgp.gif, 2561 รหัสของดินสอ มีความหมายดังนี้ อักษร H มาจากคาว่า “Hard” ที่แปลว่า “แข็ง” ดินสอที่มีรหัส H หมายถึง ดินสอที่มีไส้แข็ง ส่วนตัวเลข หน้าตัวอักษรจะบอกระดับของความแข็ง ตัวเลขมากก็จะมีความแข็งมากขึ้น ดินสอรหัสอักษร H จะเหมาะสาหรับ การเขียนเส้นที่บาง ๆ เช่น เส้นร่าง อักษร B มาจากคาว่า “Blackness” ที่แปลว่า “ความดา” ดินสอที่มีรหัสอักษร B จะหมายถึงดินสอที่ใช้ สาหรับเขียนเส้นที่ต้องการความดาของเส้น ตัวเลขหน้าตัวอักษรจะบอกระดับความเข้มของสี ตัวเลขมากจะมีความ เข้มของสีมาก ดินสอที่มีรหัส B จะเป็นดินสอที่มีไส้อ่อน หักได้ง่ายถ้าใช้น้าหนักในการเขียนมาก ดินสอรหัส B มัก นิยมใช้ในการแรเงาภาพ อักษร F มาจากคาว่า “Fine” ที่แปลว่า “ละเอียด” ดินสอที่มีรหัส F จะหมายถึง ดินสอที่ใช้สาหรับเขียน เส้นที่มีความคมและละเอียด ดินสอที่มอี ักษรรหัส 2 ตัว เขียนติดกัน เช่น HB HH EE มีความหมาย ดังนี้ HB (Hard and Black) หมายถึง ดินสอไส้แข็งและมีความดาของเส้น HH (Very Hard) หมายถึง ดินสอไส้แข็งมาก EE (Extra-Extra Black) หมายถึง ดินสอไส้อ่อน มีความเข้มเทียบเท่า 8B โดยรหัสของดินสอที่บ่งบอกถึง ความเข้มของสีไส้ดินสอแล้วยังสามารถแบ่งระดับความแข็ง-อ่อน ของไส้ ดินสอ ได้เป็น 3 ระดับ คือ ระดับ 1 คือ ดินสอที่มีไส้แข็งที่สุด มีตั้งแต่ 9H ถึง 4H ระดับที่ 2 ดินสอที่มีไส้ดินสอแข็ง ปลานกลาง มีตั้งแต่ 3H ถึง B และระดับที่ 3 ดินสอที่มีไส้อ่อนตั้งแต่ 2B ถึง 9B (ภาพที่ 18 และ ภาพที่ 19)

ภาพที่ 18 ระดับความเข้มของสีไส้ดินสอ ที่มา : http://smbhax.com/stuff/_pencil_grades.png, 2561


16

ภาพที่ 19 ความแข็ง-อ่อนของไส้ดินสอ 2.7 ปากกาเขียนแบบ ปากกาเขียนแบบ (Drawing Pen) เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับการขีดเขียนเส้นลงในกระดาษไข ลักษณะ คล้ายปากกาหมึกซึม เส้นที่เขียนจะได้ความหนาของเส้นตามมาตรฐาน มีหลายขนาดตั้งแต่ 0.10, 0.13, 0.18, 0.20, 0.25, 0.30, 0.35, 0.40, 0.5, 0.6, 0.7, 0.8, 1.0, 1.4 และ 2.0 มิ ล ลิ เ มตร ส าหรั บ งานเขี ย นแบบทั่ ว ไป ส่วนมากจะใช้ปากกาเขียนแบบจานวน 3 ด้าม คือ ปากกาเขียนแบบขนาด 0.5, 0.35 และ 0.25 มิลลิเมตร

ภาพที่ 20 ความหนาของปากกาเขียนแบบ ที่มา : http://smbhax.com/stuff/_pencil_grades.png, 2559 ปากกาเขียนแบบ ใช้สาหรับเขียนแบบลงหมึกลงบนกระดาษไข (ภาพที่ 20) เพื่อนาไปใช้เป็นต้นฉบับใน การถ่ายพิมพ์เขียว (Blueprint) ซึง่ เทคนิค Blueprint ในสมัยก่อน คือ การใช้เทคนิคการพิมพ์ต้นฉบับจากกระดาษ ไข ลงบนกระดาษเคลือบสารเคมี (แอมโมเนีย) ด้วยวิธีการฉายแสงผ่านต้นฉบับที่เป็นกระดาษไข มีความไวต่อแสง ทาให้ภาพที่ได้มีทั้งลวดลายสีขาวบนพื้นสีน้าเงิน และลวดลายสีน้าเงินบนพื้นสีขาว ในปัจจุบัน มีเครื่องพิมพ์ที่มี เทคโนโลยีที่ให้สีขาวดาออกมาใช้งานแล้ว แต่ในวงการคนเขียนแบบก่อสร้างยังมีคนเลือกใช้เทคนิคทาสาเนาแบบ “พิมพ์เขียว หรือ Blueprint” กันอยู่บ้าง ทาให้คนส่วนใหญ่ก็ยังเรียกชื่อติดปากกันอยู่ว่า “พิมพ์เขียว”


17

ภาพที่ 21 การถ่ายแบบพิมพ์เขียวจากกระดาษไข ที่มา : http://www.postshopprinting.com/a0-a4-cad-printing-scan, 2561

ภาพที่ 22 ตัวอย่างแบบพิมพ์เขียว ที่มา : https://aos.iacpublishinglabs.com/question/aq/700px-394px/blueprints-existingbuilding_fb1ee56347e448fc.jpg?domain=cx.aos.ask.com, 2561


18

บทที่ 3 การเขียนรูปทรงสองมิติ และ รูปทรงสามมิติ รูปทรงเรขาคณิตถือ เป็นรูปทรงที่มีสัดส่วนแตกต่างกันออกไปตามความต้องการของการใช้งาน ผู้เขียน แบบจาเป็นต้องศึกษาพื้นฐานการเขียนรูปทรงเรขาคณิต ฝึกการใช้เครื่องมือต่าง ๆ ให้ชานาญ เพื่อที่จะสามารถ ดัดแปลงไปเขียนรูปทรงต่าง ๆ ในงานเขียนแบบ การสร้างรูป ทรงเรขาคณิตโดยใช้เครื่องมือในการเขียนแบบมี หลักการเขียนดังนี้ 3.1 การแบ่งเส้นตรง วิธีการเขียน 1) สร้างเส้นตรง AB ใช้จุด A และ B เป็นศูนย์กลางวงกลม กางวงเวียนให้เกินกว่ารัศมีของเส้นตรง AB 2) ลากส่วนโค้งโดยใช้ A และ B เป็นศูนย์กลางของวงกลม ตัดผ่านที่จุด C และ D 3) ลากเส้นตรง CD ตัดผ่าน จุด O และเส้นตรง AO จะเท่ากับ OB

ภาพที่ 23 การเขียนแบ่งเส้นตรง 3.2 การแบ่งครึ่งมุม วิธีการเขียน 1) กาหนดมุม BAC โดยใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนให้รัศมีพอสมควรและเขียนส่วนโค้ง 2) ใช้จุด E และ F เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนเส้นโค้งตัดกันที่จุด D 3) ลากเส้นตรง AD จะแบ่งครึ่งมุม BAC ออกเป็น 2 มุม เท่า ๆ กัน

ภาพที่ 24 การเขียนแบ่งมุม


19 3.3 การแบ่งเส้นตรงเท่า ๆ กัน วิธีการเขียน 1) กาหนดเส้นตรง AB (สมมุตกิ รณีต้องการแบ่งเส้น AB เป็น 5 ส่วนเท่า ๆ กัน) 2) สร้างเส้น AC โดยเริ่มลากเส้นโค้งจากจุด A เป็นจุดแรก 3) กางวงเวียนให้มีรัศมีตามระยะที่ต้องการแบ่ง เส้นตัด AC เป็น 5 ส่วนเท่า ๆ กัน 4) ลากเส้นตรงผ่านจุดตัดให้ขนานกันทุกเส้น จะได้สวนแบ่งบนเส้นตรง AB เท่า ๆ กัน

ภาพที่ 25 การเขียนแบ่งเส้นตรงเท่า ๆ กัน 3.4 การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า วิธีการเขียน 1) สร้างรูปวงกลมโดยมี O เป็นศูนย์กลาง และลากเส้นตัดวงกลม 2) ใช้ A เป็นศูนย์กลางวงกลม เขียนเส้นโค้งตัดเส้นรอบวงที่จุด X, O, และ Y 3) ลากเส้นตรง XY, YZ และ ZX จะได้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า XYZ

ภาพที่ 26 การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า


20 3.5 การสร้างรูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า วิธีการเขียน 1) เขียนเส้นแนวนอน AB และ เส้นแนวตั้ง CD โดยมี O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม 2) ใช้ A, B, C และ D เป็นจุดศูนย์กลางของรัศมี เขียนส่วนโค้งให้ตัดกันที่จุด E, F, G และ H 3) ลากเส้นตรงของจุดตัด EH และ GF ตัดผ่านจุดศูนย์กลาง O 4) ลากเส้นผ่านจุดตัด EFGH จะได้รูปทรงสี่เหลี่ยมด้านเท่า

ภาพที่ 27 การเขียนรูปสี่เหลี่ยมด้านเท่า 3.6 การสร้างรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า วิธีการเขียน 1) วาดรูปวงกลมโดยมี O เป็นจุดศูนย์กลาง ลากเส้น AB ตัดจุดศูนย์กลางของวงกลม และลากเส้น CO ตัง้ ฉากจุดศูนย์กลางวงกลม 2) เขียนส่วนโค้งโดยมี O และ B เป็นจุดศูนย์กลางวงกลม ขีดเส้นแนวตั้งจากจุดตัดส่วนโค้งที่จุด D 3) ใช้ D เป็นศูนย์กลางรัศมี เขียนส่วนโค้ง ตัดที่จุด C เขียนส่วนโค้ง CE, EF, CH และ HG ตัดเส้นรอบ วงกลมโดยรอบ 4) ลากเส้นตามจุดตัดส่วนโค้ง CEFGH จะได้รูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า

ภาพที่ 28 การเขียนรูปห้าเหลี่ยมด้านเท่า


21 3.7 การสร้างรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า วิธีการเขียน 1) วาดรูปวงกลมโดยมี O เป็นจุดศูนย์กลางของวงกลม ขีดเส้น AB และ CD ตัดผ่านจุดศูนย์กลาง O พร้ อ มลากเส้ น ส่ ว นโค้ ง โดยใช้ C และ D หรื อ A และ B เป็ น จุ ด จุ ด ศู น ย์ ก ลางรั ศ มี ตั ด ผ่ า นจุ ด ศูนย์กลาง O 2) ลากเส้นเชื่อมจุดตัดทั้งหมด จะได้รูปทรงหกเหลี่ยมด้านเท่า

ภาพที่ 29 การเขียนรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า 3.8 การสร้างรูปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่า วิธีการเขียน 1) กาหนดเส้นความยาวด้าน AB ใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมี AB เขียนส่วนโค้งครึ่งวงกลมตัดที่จุด C 2) แบ่งวงกลมออกเป็น 7 ส่วน เท่าๆ กัน โดยใช้ไม้โปรแทคเตอร์ (Protractor Ruler) ในการแบ่งมุม และลากเส้น A1, A2, A3, A4, A5 และ A6 ให้ออกไปนอกครึ่งวงกลม 3) ใช้จุด B เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งรัศมี AB ตัดผ่านเส้น A1 ที่จุด D และใช้จุด D เป็นจุดหมุน เขียนส่วนโค้งตัดผ่านเส้น A2 ที่จุด E, ใช้จุด E เป็นจุดหมุนเขียนส่วนโค้งตัดผ่านเส้น A3 ที่จุด F, ใช้จุด F เป็นจุดหมุนเขียนส่วนโค้งตัดผ่านเส้น A4 ที่จุด G 4) ลากเส้นเชื่อมจุดตัดจากจุด AB, BD, DE, EF, FG และ G5 จะได้รูปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่า

ภาพที่ 30 การเขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่า


22 3.9 การสร้างรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า วิธีการเขียน 1) กาหนดวงกลมที่ต้องการ โดยให้ O เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนเส้นสัมผัสวงกลมในแนวราบและแนวดิ่ง โดยใช้ฉาก 45 องศา (ซึ่งสามารถเขียนรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่าได้ทั้ง 2 แบบ) 2) ลากเส้นสัมผัสโค้งของวงกลมทั้งหมดจะได้รูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า

ภาพที่ 31 การเขียนรูปแปดเหลี่ยมด้านเท่า 3.10 การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรงที่ตั้งฉาก วิธีการเขียน 1) กาหนดเส้นตรง 2 เส้น AB และ AC ตั้งฉากกันที่จุด A 2) ใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี เขียนส่วนโค้งตัดเส้นตรงที่จุด E และ D 3) ใช้จุด E และ D เป็นจุดศูนย์กลางของรัศมี เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด F 4) ใช้จุด F จะเป็นจุดศูนย์กลางเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรง

ภาพที่ 32 การเขียนส่วนโค้งสัมผัสเส้นตรงที่ตั้งฉาก


23 3.11 การเขียนส่วนโค้งสัมผัสมุมแหลมและมุมป้าน วิธีการเขียน 1) กาหนดมุมแหลม หรือ มุมป้าน A 2) ลากเส้นขนานกับมุมแหลม หรือ มุมป้าน ตามขนาดเท่ากับ r จนเส้นตัดกันที่จุด O 3) ลากเส้นตั้งฉากจากจุด O ไปสัมผัสเส้นของมุมแหลม หรือ มุมป้าน A 4) ใช้จุด O เป็นจุดศูนย์กลาง เขียนส่วนโค้งให้สัมผัสจุดตั้งฉากของมุมแหลม หรือ มุมป้าน

ภาพที่ 33 การเขียนส่วนโค้งสัมผัสมุมแหลมและมุมป้าน 3.12 การเขียนวงรีด้วยวงเวียน วิธีการเขียน 1) สร้างเส้นตรง AB, CD ตัดกันที่จุดศูนย์กลาง O และเขียนส่วนโค้งโดยมีจุด O เป็นจุดศูนย์กลาง ตัด ผ่านเส้นตรง AB, CD ที่จุด A, C พร้อมทั้งลากเส้นตรง AE ตัดผ่าน เส้นตรง CD 2) เขียนส่วนโค้งจากจุดศูน ย์ กลาง E ตัดผ่านเส้นตรง AE และ CD ที่จุด F / ใช้จุด A และ F เป็นจุด ศูนย์กลาง พร้อมเขียนส่วนโค้งให้รัศมีตัดกันที่จุด G และ H 3) เขียนเส้นตรง BE / ใช้จุดศูนย์กลาง E จากการเขียนส่วนโค้ง ตัดผ่านเส้นตรง BE ที่จุด J / ใช้จุด J และ B เป็นจุดศูนย์กลางเขียนส่วนโค้งให้รัศมีตัดที่จุด K และ L


24

ภาพที่ 34 การเขียนวงรีด้วยวงเวียน 3.13 การสร้างวงรีด้วยวงกลมสองวง วิธีการเขียน 1) กาหนดวงกลมสองวง ตัดผ่านเส้นผ่าศูนย์กลาง ABCD พร้อมทั้งแบ่งวงกลมออกเป็น 12 ส่วน โดยใช้ บรรทัดสามเหลี่ยม หรือ ฉากปรับมุม ทามุม 30 และ 60 องศา ลากผ่านจุดศูนย์กลาง O 2) เขียนรูปสามเหลี่ยมมุมฉากตามจุดตัดที่เส้นรอบวงใหญ่ โดยลากเส้นตั้งฉากและจุดตัดที่เส้นรอบวงเล็ก ลากเส้นขนานไปตัดกัน 3) เขียนรูปวงรี ตามจุดตัดและจุดสัมผัสโดยใช้ไม้บรรทัดโค้ง (French curve ruler)

ภาพที่ 35 การเขียนวงรีด้วยวงกลมสองวง


25 3.14 ความหมายของการเขียนรูปทรงสามมิติ หมายถึงการเขียนรูปทรงโดยการนาพื้นผิวแต่ละด้านของชิ้นงานมาเขียนประกอบกันเป็นรูปเดียว ทาให้ สามารถมองเห็นลักษณะรูปร่าง พื้นผิว ได้ทั้งความกว้าง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน ทาให้ภาพสามมิติมี ลักษณะคล้ายกับการมองชิ้นงานจริง ภาพสามมิติที่เ ขียนในงานเขียนแบบมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีความ แตกต่างกันในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง กับขนาดชิ้นงานในการเขียนแบบซึ่งผู้เขียนแบบต้อง ศึกษาลักษณะของภาพสามมิติแต่ละประเภทต่าง ๆ ให้เข้าใจ เพื่อสามารถปฏิบัติการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง 3.15 ประเภทของรูปทรงสามมิติ รูปทรงสามมิติ สามารถเขียนได้หลายแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะงานและความเหมาะสมแต่ละแบบ ซึ่งรูปทรง สามมิติ สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ดังนี้ 3.15.1 ภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric Projections) แอกโซโนเมตริก (Axonometric) คาว่า แอกซอน (Axon) มาจากคาว่า Axis แปลว่า แกน ฉะนั้นภาพแอก โซโนเมตริกจึงเป็นภาพสามมิติที่วัดจากแกนสามแกน มีมุมรวมกัน 360 องศา โดยมีแกนหลักทามุมตั้ งฉากกับ แนวนอน ส่วนอีกสองแกนจะทามุมเอียงตามลักษณะของแต่ละรูปทรง โดยภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric) มีอยู่ 3 แบบ ดังนี้ 1) ไตรเมตริก (Trimetric) ภาพสามมิติแบบ Trimetric เป็นภาพสามมิติที่มีความสวยงาม และลักษณะคล้ายของจริงมากที่สุดและ เป็นภาพที่ง่ายต่อการอ่านแบบเพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่องจากมุมที่ใช้เขียนเอียง 15 องศา และ 45 องศา และอัตราความยาวของแต่ละด้านไม่เท่ากัน 2) ไดเมตริก (Dimetric) เป็นรูปทรง 3 มิติ ที่มีลักษณะคล้ายกับภาพถ่ายและง่ายต่อการอ่านแบบ แต่ไม่ค่อยนิยมในการเขียนแบบ เพราะเป็นภาพที่เขียนได้ยาก เนื่องจากมุมที่ใช้เขียน เอียง 15 องศา และ 15 องศา และขนาดความหนาของภาพที่ เขียนจะลดขนาดลงครึ่งหนึ่งของความหนาจริง 3) ไอโซเมตริก (Isometric) ภาพสามมิติแบบ Isometric เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมากที่สุด เพราะภาพที่เขียนง่าย เนื่องจากภาพมี มุมเอียง 30 องศา ทั้งสองข้างเท่ากัน และขนาดความยาวของภาพทุกด้านจะมีขนาดเท่าขนาดงานจริง ภาพที่เขียน จะมีขนาดใหญ่มากทาให้เปลืองเนื้อที่กระดาษ


26

ภาพที่ 36 ภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric Projections) 3.15.2 ภาพออบลิค (Oblique) เป็นภาพที่มุมเอียงด้านเดียว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือเป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมาก สาหรับงานที่มี รูปร่างเป็นส่วนโค้ง หรือรูกลมเพราะสามารถเขียนได้ง่ายและรวดเร็วเนื่องจากภาพ Oblique จะวางภาพด้านหนึ่ง อยู่ในแนวระดับ เอียงทามุมเพียงด้านเดียว โดยเขียนเป็นมุม 45 องศา ซึ่งบางครั้งสามารถเขียนเป็นมุม 30 องศา หรือ 60 องศา โดยเขียนเอียงได้ทั้งด้านซ้ายและขวาความหนาของงาน ภาพ Oblique มี 2 แบบ คือ 1) แบบคาวาเลียร์ (Cavalier) แบบเต็มส่วน 2) แบบคาบิเนต (Cabinet) แบบครึ่งส่วน

ภาพที่ 37 ภาพออบลิค (Oblique)


27

ภาพที่ 38 ตัวอย่างการนาเสนอในรูปแบบภาพแอกโซโนเมตริก (Axonometric Projections) ที่มา: http://chrofi.com/images/content/projects-image/79889.jpg, 2561

ภาพที่ 39 ตัวอย่างการนาเสนอในรูปแบบภาพออบลิค (Oblique) ที่มา: http://www.homedoo.com/wp-content/uploads/2016/04/Frontal_Axon.jpg, 2561


28 5.15.3 ภาพทัศนียภาพ (Perspective) ทัศนียภาพ Perspective หรือ ทัศนียภาพ เป็นภาพแบบเหมือนจริง แสดงระยะใกล้ไกล ให้ความรู้สึกเป็น 3 มิติ ที่มีมุมในลักษณะการมองไกล โดยจะเขียนภาพเข้าสู่จุดรวมของสายตา เมื่อภาพอยู่ในระยะสายตาที่ใกล้ก็จะ มีขนาดใหญ่ และเมื่อไกลออกไปจะมองเห็นเล็กลงไปตามลาดับ การนามาใช้งานมีทั้งวาดเส้น และ ทัศนียภาพ งานออกแบบเพื่อการเสนอผลงานทางสถาปัตยกรรม งาน ออกแบบตกแต่งภายใน การจัดองค์ประกอบของภาพ จะนารูปแบบของ Foreground, Middle ground และ Background มาใช้ร่วม เพื่อให้ผลงานเป็นที่น่าสนใจ ดึงดูดความสนใจและภาพวาดเส้นที่สวยงามสมบูรณ์ โดยการ จัดมุมมองภาพทัศนียภาพแบ่งเป็น 3 รูปแบบ คือ 1) มุมมองจากระดับสูงลงมาต่า (Bird Eyes View) 2) มุมมองปกติของคนที่ยืนมองทั่วไป (Normal Eyes View) 3) มุมมองจากที่ต่าขึ้นไปสูง เป็นการแหงนหน้ามองขึ้น (Worm Eyes View)

ภาพที่ 40 การจัดมุมมองภาพทัศนียภาพ ที่มา : http://perierga.gr/wp-content/uploads/2014/12/iconic1.jpg, 2561 (ซ้าย) http://www.desktopimages.org/pictures/2014/0107/1/orig_445067.jpg, 2561 (กลาง) https://wallpapers.wallhaven.cc/wallpapers/full/wallhaven-6690.jpg, 2561 (ขวา) 5.15.3.1 หลักการเขียนภาพทัศนียภาพ หลักการของการวาดทัศนียภาพ Perspective ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 2 ส่วนที่สาคัญ ที่กาหนด ในการลากเส้น คือ 1) เส้นระดับสายตา (Horizon Line) ใช้ตัวย่อ “HL” เป็นเส้นระดับสายตา ซึ่งจะเป็น เส้นที่สาคัญในการกาหนดของการมองวัตถุ หรือ สิ่งก่อสร้างทั้งหมด 2) จุ ด รวมสายตา (Vanishing Point) ใช้ ตั ว ย่ อ “VP” เป็ น จุ ด รวมสายตาที่ อ ยู่ ใ น เส้นระดับสายตา ซึ่งเป็นตาแหน่งที่ลากเส้นสิ่งของต่าง ๆ ไปรวมกัน มีตั้งแต่ 1 จุดขึ้นไป ขึ้นอยู่กับแต่ตาแหน่งของ วัตถุที่จัดวาง หรือ ต้องการวาดให้มีความหลากหลายซับซ้อน


29

ภาพที่ 41 องค์ประกอบของภาพ Perspective ที่มา : https://cdn.contrastly.com/wp-content/uploads/vanishing-point.jpg, 2561 (ซ้าย) https://www.ephotozine.com/images/bbcode/18097/-mg-3023-4-5hdri-tonemapped.jpg, 2561 (ขวา) 5.15.3.2 รูปแบบภาพทัศนียภาพ ภาพ 3 มิติในรูปแบบการเขียนทัศนียภาพ (Perspective) ชนิดนี้นิยมใช้เขียนในงานสถาปัตยกรรมและภูมิ สถาปัตยกรรม โดยมีเขียนหลัก ๆ อยู่ 3 แบบ ดังนี้ 1) ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 1 จุด (Perspective-One-Point) เป็นภาพที่มองเห็นด้านหน้าลักษณะตรงตั้งฉากและจะเห็นด้านอื่นเอียงลึกลงไปรวมจุดเพียง 1 จุด

ภาพที่ 42 รูปแบบทัศนียภาพแบบรวมสายตา 1 จุด


30

ภาพที่ 43 ตัวอย่างทัศนียภาพแบบรวมสายตา 1จุด ที่มา : http://www.pencilartbysteve.com/Taj_Mahal_pencil_drawing.jpg, 2561 2) ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด (Perspective-Two-Point) เป็นภาพที่มีเส้นแนวระดับทั้งด้านหน้าและด้านข้างไปรวมตรงจุดรวมสายตาซึ่งอยู่ด้านซ้ายและขวา

ภาพที่ 44 รูปแบบทัศนียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด


31

ภาพที่ 45 ตัวอย่างทัศนียภาพแบบรวมสายตา 2 จุด ที่มา : http://drawingschool.net/wp-content/uploads/2016/11/two-point-perspective-city-drawing1000-images-about-city-draw-on-pinterest-city-drawing.jpg, 2561 3) ภาพทัศนียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด (Perspective-Three-Point) เป็นภาพทัศนียภาพที่มีจุดรวมสายตาอยู่ 3 จุด คือจุดรวมสายตาทางด้านซ้ายมือ จุดรวมสายตาทางด้าน ขวามือ และจุดรวมสายตาทางด้านล่าง หรือด้านบน ภาพ Perspective ที่มีจุดรวมสายตา 3 จุด จะให้ความรู้สึก ของสิ่งก่อสร้างสูงชะรูด หรือต่าลึกลงไป ใช้กับงานเขียนภาพในงานออกแบบทางสถาปัตยกรรมเป็นส่วนใหญ่ จุด รวมสายตาที่ 3 ตาแหน่งจะอยู่ในแกนของแนวดิ่ง จะต่ากว่าหรือสูงกว่าเส้นระดับสายตาก็ได้

ภาพที่ 46 รูปแบบทัศนียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด


32

ภาพที่ 47 ตัวอย่างทัศนียภาพแบบรวมสายตา 3 จุด ที่มา : http://drawingschool.net/wp-content/uploads/2016/11/two-point-perspective-city-drawing, 2561

ภาพที่ 48 รูปแบบภาพทัศนียภาพทั้ง 3 แบบ ที่มา : ดัดแปลงจาก https://static.pexels.com/photos/29732/pexels-photo-29732.jpg (ซ้าย) http://www.rownyc.com/wp-content/uploads/2014/02/Broadway_Show_Tickets.jpg (ขวา) https://s-media-cache-ak0.pinimg.com/originals/7f/15/cc/7f15cc5daadc587de5fa47c619a138c4.jpg (ล่าง)


33

บทที่ 4 มาตรฐานการเขียนแบบ การจัดองค์ประกอบในแผ่นงาน (Sheet Organization) ตามมาตรฐานการเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม ของการปฏิบัติการวิชาชีพ ประกอบไปด้วย ขนาดของแผ่นงาน (Sheet Size) และการจัดวางพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ใน แผ่ น งาน (Sheet Layout) โดยมีองค์ป ระกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องของแผ่ นงานที่ ต้ อ งแสดงอี ก มากมาย ได้ แ ก่ ขอบกระดาษ (Frame) พื้นที่แสดงข้อมูลแบบ (Title Block) และพื้นที่แสดงแบบ (Drawing Area) เป็นต้น เพื่อให้ เป็นไปตามมาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง 4.1 ขนาดของแผ่นงาน (Sheet Size) ขนาดของแผ่นงาน (Sheet Size) ควรมีขนาดใหญ่พอที่จะสามารถแสดงแบบทั้งหมดในแผ่นงานเดียวกัน โดยไม่ต้องแบ่งผังพื้นออกเป็นหลายส่วน สาหรับโครงการขนาดใหญ่ที่ไม่สามารถแสดงแบบผังพื้นทั้งหมดในแผ่น งานเดียว จาเป็นต้องมี Key Plan แสดงไว้ในแผ่นงานแต่ล ะแผ่นเพื่อบอกแนวตัดแบ่งที่แสดงด้ว ยเส้นทาบต่ อ (Match Line) ขนาดกระดาษมาตรฐานถูกกาหนดโดยมาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับที่ 2-2553 หรือแผ่น งานที่มีขนาดใหญ่ควรสามารถพับแผ่นงานสาหรับเก็บหรือส่งได้ทั้งหมดในแผ่นเดียว การพับแบบมีวัตถุประสงค์ เพื่อยื่นขออนุ ญาตในการก่อสร้ างในกรณีที่แผ่นงานมีขนาดใหญ่ โดยจะต้องเป็นไปตามรูปแบบที่ทางราชการ กาหนดหรือใช้ปฏิบัติ และพับแบบเพื่อสามารถเก็บรักษาได้สะดวก (ภาพที่ 24) ตารางที่ 4-1 ขนาดกระดาษที่ใช้ในงานเขียนแบบ ANSI ชื่อขนาด A B C D E -

ISO ขนาด (มม.) 216 x 279 279 x 432 432 x 559 559 x 864 864 x 1118 -

ชื่อขนาด A4 A3 A2 A1 A0 -

ขนาด (มม.) 210 x 297 297 x 420 420 x 594 494 x 841 841 x 1189 -

Architecture ชื่อขนาด ขนาด (มม.) A 229 x 305 B 305 x 457 C 457 x 610 D 610 x 914 E 914 x 1219 F 762 x 1067

ANSI) = American National Standard Institute / (ISO ) =International Standard Organization( ที่มา :National Cad Standard )NCS(, Version 4.0, Sheet Organization, p.237


34

ภาพที่ 49 ขนาดกระดาษมาตรฐาน


35

ภาพที่ 50 รูปแบบการพับกระดาษของแผ่นงาน ที่มา : https://steemit.com/engineering/@engineercampus/8-steps-to-your-engineering-drawings, 2561 4.2 การจัดพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของแผ่นงาน (Sheet Layout) แผ่นงานจะประกอบไปด้วยพื้นที่ 3 ส่วน หลัก ๆ ได้แก่ 1) ขอบกระดาษ (Frame) 2) พื้นที่แสดงข้อมูลแบบ (Title Block) 3) พื้นที่แสดงแบบ (Drawing Area)


36

ภาพที่ 51 การจัดพื้นที่ของแผ่นงาน 4.2.1 ขอบกระดาษ (Frame) ระยะห่างของเส้นกรอบกระดาษของแผ่นงานขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น ขนาดของแผ่นงาน เครื่องพิมพ์ที่ ใช้ หรือแม้แต่การเข้าเล่มของแผ่นงาน โดยทั่วไปแล้วเส้นกรอบของงานควรมีระยะห่างจากขอบของแผ่นงานทาง ด้านซ้ายไม่ต่ากว่า 1.5 เซนติเมตร เพื่อตาแหน่งเจาะหรือเย็บเล่มของแผ่นงาน 4.2.2 พื้นที่แสดงข้อมูลแบบ (Title Block) โดยพื้นที่แสดงข้อมูลแบบ (Title Block) นั้นควรอยู่ที่มุมขอบล่างเสมอ เพื่อความสะดวกในการเปิดแบบ เมื่อได้เข้าเล่มหรือพับแผ่นงานแล้ว ส่วนที่พับจะอยู่ที่ด้านหน้า พื้นที่แสดงข้อมูลแบบ (Title Block) จะต้องแสดง ข้อมูลย่อย 6 ส่วนหลัก ๆ ดังนี้ 1) 2) 3) 4) 5) 6)

ข้อมูลของผู้ออกแบบ (Designer Identification Block) ข้อมูลของโครงการ (Project Identification Block) ข้อมูลการปรับปรุงแก้ไขแบบ (Issue Block) ข้อมูลการจัดการเกี่ยวกับแบบ (Management Block) ชื่อของแผ่นงาน (Sheet Title Block) หมายเลขของแผ่นงาน (Sheet Identification Block)

การจัดวางกรอบชื่อแบบ (Title Block) มี 2 รูปแบบ คือ กรอบตามแนวตั้ง และกรอบตามแนวนอน โดย จะต้องให้พื้นที่แสดงข้อมูลแบบอยู่ทางด้านขวาของแผ่นงานเสมอ เพื่อที่จะสามารถเปิดอ่านแบบได้โดยง่าย และ ขึ้นกับมาตรฐานของหน่วยงาน องค์กรที่เป็นเจ้าของงาน หรือผู้ออกแบบทีก่ าหนดรูปแบบขึ้นมา (ภาพที่ 26, 27)


37

ภาพที่ 52 ตัวอย่างกรอบชื่อแบบแนวตั้ง


38

ภาพที่ 53 ตัวอย่างกรอบชื่อแบบแนวนอน 1) ข้อมูลของผู้ออกแบบ (Designer Identification Block) ส่ ว นที่แสดงรายะเอีย ดเกี่ย วกั บ ผู้ อ อกแบบ ได้แก่ ชื่อ, ที่อยู่ , หมายเลขโทรศัพท์ และโทรสาร, ที่อยู่ ไปรษณีย์ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Email address), ตราองค์กร หรือ สัญลักษณ์หน่วยงาน (Logo)

ภาพที่ 54 ตัวอย่างข้อมูลของผู้ออกแบบ 2) ข้อมูลของโครงการ (Project Identification Block) ส่วนที่แสดงรายะเอียดเกี่ยวกับชื่อของโครงการและที่อยู่ ชื่อเจ้าของโครงการ ช่วงการก่อสร้าง ในส่วนนี้ อาจจะแสดงข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ เกี่ยวกับเจ้าของโครงการ เช่น ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และตราของ องค์กร

ภาพที่ 55 ตัวอย่างข้อมูลโครงการ


39 3) ข้อมูลการปรับปรุงแก้ไขแบบ (Issue Block) ส่วนที่แสดงรายละเอียดการปรับปรุงแก้ไขแบบเรียงลาดับเหตุการณ์ตามเวลา ประกอบด้วย 3 คอลัมน์ ได้แก่ เครื่องหมาย วันที่ และรายละเอียด รายการที่เกิดขึ้นก่อนควรเขียนไว้ทางด้านล่าง ส่วนรายการอื่น ๆ ที่ เกิดขึ้นในลาดับถัดมาให้เขียนไว้เหนือรายการก่อนหน้านี้ การจัดลาดับลักษณะนี้ทาให้สามารถขยายพื้นที่ส่วนนี้เลย ขึ้นไปยังส่วนแสดงข้อมูลของโครงการได้ในกรณีที่จาเป็น

ภาพที่ 56 ตัวอย่างข้อมูลการปรับปรุงแก้ไขแบบ 4) ข้อมูลการจัดการเกี่ยวกับแบบ (Management Block) ส่วนที่แสดงด้วยข้อมูลเพื่อใช้ในการจัดเก็บเอกสารของโครงการ หรือใช้เป็นข้อมูลในการจัดการโครงการ ในด้านอื่น ๆ ประกอบด้วย หมายเลขของโครงการ หมายเลขสัญญา หมายเลขของเจ้าของโครงการ หมายเลขไฟล์ หมายเลขแสดงช่วงระยะเวลาการออกแบบหรือก่อสร้าง หมายเลขแสดงไฟล์ที่เขียนด้วยโปรแกรมเขียนแบบ ชื่อ ผู้เขียน ชื่อผู้ตรวจแบบ ลิขสิทธิ์

ภาพที่ 57 ตัวอย่างข้อมูลการจัดการเกี่ยวกับแบบ


40 5) ชื่อของแผ่นงาน (Sheet Title Block) ส่วนที่แสดงประเภทของข้อมูลที่แสดงในแผ่นงาน โดยส่วนนี้อาจจะระบุเฉพาะประเภทของข้อมูลหลักที่ แสดงในแผ่นงาน หรือระบุประเภทของข้อมูลต่าง ๆ ทั้งหมดที่อยู่ในแผ่นนั้น

ภาพที่ 58 ตัวอย่างชื่อของแผ่นงาน 6) หมายเลขของแผ่นงาน (Sheet Identification Block) ส่วนที่แสดงหมายเลขของแบบ โดยอักษรตัวแรกระบุประเภทสาขา เช่น A คือ แบบสถาปัตยกรรม, S คือ แบบวิศวกรรมโครงสร้าง, EE คือ แบบระบบไฟฟ้า, SN คือ แบบประปาหรือสุขาภิบาล เป็นต้น หมายเลขถัดไป แสดงลาดับที่ของแผ่นงาน ในส่วนนี้อาจแสดงแผ่นที่และจานวนแผ่นงานรวมทั้งหมดในชุดนั้น ๆ

ภาพที่ 59 ตัวอย่างหมายเลขของแผ่นงาน 4.2.3 พื้นที่แสดงแบบ (Drawing Area) ส่วนที่แสดงของแผ่นงานซึ่งประกอบด้วยแบบที่เขียน Key Note, Key Plan, Schedule, Graphic ต่าง ๆ และข้อความที่จาเป็นต่อการแสดงงาน พื้นที่แสดงแบบจะแบ่งย่อยออกเป็นหน่วยพิกัด (Module) เพื่อแสดงแบบ ได้อย่างเรียบร้อย

ภาพที่ 60 ตัวอย่างพื้นที่แสดงแบบ


41 4.3 รายละเอียดของแบบในพื้นที่แสดงแบบ พื้นทีแ่ สดงแบบ (Drawing Area) ประกอบไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ ของแบบ ซึ่งต้องเขียนตามมาตรฐาน การเขียนแบบ เพื่อความสะดวกในการแสดงแบบการอ้างอิง การสืบค้น และการสื่อสารที่ชัดเจนสาหรับผู้ทาแบบ และผู้ใช้แบบ เช่น สัญลักษณ์แสดงทิศเหนือ การกาหนดทิศทางการจัดวางแบบ ระบบกริด (Grid System) ระบบ พิกัด เส้นในงานเขียนแบบ น้าหนักหรือความหนาเส้น มาตราส่วน มิติ อักษรประกอบแบบ ตลอดจนการแบ่ง ประเภทของรายละเอียดของแผ่นงาน เพื่อที่จะสามารถแสดงรูปแบบการถ่ายทอดงานออกแบบสู่การก่อสร้างได้ ด้วยแบบทางสถาปัตยกรรมตามมาตรฐานการเขียนแบบ ประกอบไปด้วยรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี้ 4.3.1 สัญลักษณ์แสดงทิศเหนือ สัญลักษณ์แสดงทิศเหนือในแผ่นงานมีอยู่ 2 ประเภท คือ ทิศเหนือจริง (True North) คือทิศที่ชี้ไปยังขั้ว โลกเหนือ และทิศเหนือผัง (Plan North) คือทิศที่ขนานกับเส้นกริด (Grid) ของผังในแนวดิ่ง ในแผ่นงานที่แสดงผัง ทุกแผ่นควรแสดงสัญลักษณ์ทิศเหนือกากับไว้ โดยวางไว้ที่ตาแหน่งมุมล่างขวาของแบบ (Drawing Block) การตั้ง ชื่อรูปด้านอาคารจะอ้างอิงจากทิศเหนือผังที่แสดงในแผ่นงาน 4.3.2 การกาหนดทิศทางการจัดวางแบบ แบบทางสถาปัตยกรรมที่แสดงควรวางทิศทางของแบบให้มีลักษณะเดียวกันกับการวางอาคารในแผ่นงาน ที่แสดงผังอาคาร ผังบริเวณ หรือแบบขยายรายละเอียดของรูปตัดควรวางทิศทางเดียวกันกับรูปตัดของอาคาร เป็น ต้น แบบแสดงผังพื้นควรแสดงรายละเอียดได้ครบทั้งหมดในแผ่นงานหนึ่งแผ่น ในกรณีที่ต้องแสดงในแผ่นงาน มากกว่าหนึ่งแผ่น เนื่องจากพื้นที่กระดาษไม่พอ ควรแบ่งผังพื้นออกเป็นส่วน ๆ โดยมีเส้นทาบต่อ (Match Line) เพื่อใช้ในการอ้างอิง (มาตรฐานการเขียนแบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554) และสามารถดูหรืออ่านแบบได้ง่าย

ภาพที่ 61 สัญลักษณ์แสดงทิศเหนือและการจัดทิศทางของแผ่นงาน


42 4.3.3 ระบบกริด (Grid System) ระบบ Grid ใช้ ส าหรั บ การอ้ า งอิ ง ต าแหน่ ง ของโครงสร้ า ง เช่ น เสา ผนั ง รั บ น้ าหนั ก ระบบ Grid ประกอบด้วยเส้น Grid ในแนวดิ่งและแนวระดับ เส้น Grid ในแนวตั้งควรตั้งชื่อเป็นหมายเลข เรียงตามลาดับ หมายเลขจากทางด้านซ้ายไปขวา เส้น Grid แนวนอนควรตั้งเป็นตัวอักษร โดยเขียนไว้ที่ปลายด้านขวามือของเส้น Grid เรียงตามลาดับตัวอักษรจากทางด้านล่างขึ้นไปด้านบน ในกรณีที่มีการเพิ่มแนว Grid ระหว่างกลางให้ใช้ชื่อ เป็นทศนิยม เช่น เส้น Grid ที่อยู่ระหว่างกลางเส้น Grid ที่ 2 และ 3 ให้ชื่อเป็น 2.5 หรือ เส้น Grid ที่อยู่ระหว่าง กลางเส้น Grid B และ C ให้ตั้งชื่อ B.5 เป็นต้น (มาตรฐานการเขียนแบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554)

ภาพที่ 62 เส้น Grid แนวตั้งและแนวนอน 4.3.4 ระบบพิกัด (Coordinate System) ระบบพิกัดใช้ในการระบุตาแหน่งของส่วนต่าง ๆ ของอาคารทั้งในแนวตั้งและแนวนอน การระบุ ตาแหน่ง ของตัวอาคารในแนวราบ ทาได้โดยการระบุระยะจากมุมอาคารไปยังแนวเขตที่ดิน (ภาพที่ 63) ในส่วนของผนัง อาคารที่เป็นลักษณะโค้ง สามารถบอกตาแหน่งโดยการระบุตาแหน่งจุดศูนย์กลางของส่วนโค้ง ระยะและมุมที่วัด จากจุดศูนย์กลางของส่วนโค้ง (ภาพที่ 64)


43

ภาพที่ 63 ตาแหน่งพิกัดของอาคารโดยการให้ระยะแนวตั้งและแนวนอน

ภาพที่ 64 การให้ระยะส่วนโค้งของอาคาร


44 4.3.5 เส้นในงานเขียนแบบ (Common Line Types) สิ่งที่ต้องเข้าใจถึงการใช้เส้นในการเขียนแบบ เนื่องจากเส้นที่ปรากฏในแบบมีหลายชนิดและหลายขนาด จึงต้องทาความเข้าใจในความหมายของความแตกต่างกัน เช่น เส้นขนาดเล็กใช้สาหรับแสดงส่วนภายในแบบ หรือ ส่วนประกอบธรรมดาทั่วไป เส้นขนาดใหญ่หรือเส้นหนักใช้สาหรับแสดงขอบเขตหรือเน้นน้าหนักความส าคัญ เส้นประใช้สาหรับแสดงส่วนที่ซ่อนอยู่ภายใน ซึ่งมองตามจริงอาจไม่เห็นก็ได้ ฉะนั้นผู้เขียนแบบสามารถที่จะแสดง ความหมายของเส้นออกมาได้ชัดเจนย่อมเกิดผลดีในการเข้าใจในแบบมากยิ่งขึ้น การใช้เส้นในการสื่อความหมายในการเขียนแบบ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ลักษณะของเส้น (Line Type) น้าหนักหรือความหนาของเส้น (Line Weight) และชนิดของเส้น (Common Line Types) 4.3.5.1 ลักษณะของเส้น (Line Type) ลักษณะของเส้นที่ต่างกันจะสื่อ ความหมายที่ต่างกัน จึงควรที่จะใช้ให้มีมาตรฐานเดียวกัน ตามที่นิยมใช้ ปฏิบัติกันทั่ว ๆ ไปเพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ซึ่งเส้นในงานเขียนแบบบางเส้นสามารถใช้ร่วมกันได้ ขึ้นอยู่กับการ เลือกให้เส้นให้ตรงตามจุดประสงค์ที่ต้องการถ่ายทอดการเขียนแบบให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ตารางที่ 4-1 ลักษณะของเส้น ชื่อของเส้น เส้นแสดงแบบ (Visible Line) เส้นแสดงส่วนที่มองไม่เห็น (Invisible Line) เส้นประ (Dash Line) เส้นแนวกึ่งกลาง หรือ แกนกลาง (Center Line) เส้นแสดงแนวอ้างอิง หรือ ยืนยัน (Witness Line) เส้นแสดงระยะ (Dimension Line) เส้นแสดงแนวตัด (Cutting Plane Line) เส้นแสดงแนวตัดตอน (Break Line)

ลักษณะของเส้น


45 4.3.5.2 น้าหนักหรือความหนาของเส้น (Line Weight) มาตรฐานเส้ น ส าหรั บ งานเขี ย นแบบชนิ ด น้ าหนั ก หรือ ความหนาของเส้ น ที่ ใ ช้ใ นการเขี ย นแบบ ตาม มาตรฐาน ดังแสดงในตารางที่ 4-2 ตารางที่ 4-2 ชนิดของความหนาของเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ ชนิดของเส้น เส้นเต็มหนา เส้นเต็มบาง เส้นเต็มบางมาก เส้นประ เส้นศูนย์กลางหนา เส้นศูนย์กลางบาง เส้นตัดตอน

น้าหนักเส้น

ปากกา ดินสอ 0.50 B 0.25 HB 0.18 2H 0.35 H 0.50 B 0.25 HB 0.25 HB

ลักษณะการใช้งาน เส้นขอบรูปที่มองเห็นชัดเจน เส้นร่างแบบ เส้นบอกขนาด แสดงรอยตัด แสดงวัสดุ พื้นผิว เส้นแรงเงา ลวดลาย เส้นขอบงานที่ถูกบังไว้ เส้นแสดงแนวตัด เส้นผ่าศูนย์กลางของแบบ เส้นแสดงรอยตัดตอน ย่อส่วน

การเลือกใช้เส้น จะต้ องใช้ให้ ถูกกับชนิดของเส้ น ให้คานึงถึงขนาดและความหนาของเส้ นที่กาหนดไว้ โดยทั่วไปจะใช้ในลักษณะของค่าประมาณ ลักษณะของเส้น ไม่ว่าจะเขียนด้วยดินสอหรือใช้ปากกาเขียน ขนาดของ เส้นจะต้องคงที่สม่าเสมอ และเลือกใช้ให้ถูกกับลักษณะของเส้นนั้น ๆ ขนาดของเส้นที่ใช้ปากกาจะทาให้ได้เส้นคงที่ สม่าเสมอกัน ส่วนขนาดของเส้นที่ใช้ดินสอจะขึ้นอยู่กับขนาดของไส้ดินสอและการเอียงดินสอ

ภาพที่ 65 การใช้เส้นแบบต่าง ๆ ในงานเขียนแบบ


46 4.3.5.3 ชนิดของเส้น (Common Line Types) และนอกจากลักษณะของเส้น และน้าหนักหรือความหนาของแล้ว เส้นในงานเขียนแบบยังประกอบไปด้วย ชนิดของเส้นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) เส้นชี้ (Leader) เป็นเส้นที่เชื่อมระหว่างข้อความ ระยะ สัญลักษณ์ไปยังจุด หรือองค์ประกอบในแบบ เส้นชี้อาจใช้เส้นเฉียง เส้นตั้งฉาก หรือเส้นโค้งก็ได้ แต่ควรเลือกใช้ให้เหมือนกันทุก ๆ แผ่นงาน เส้นชี้ควรเริ่มจากมุมขวาบนขวา หรือมุม บนซ้ายของข้อความ โดยให้หัวลูกศรที่ปลายเส้นชี้ควรอยู่ใกล้องค์ประกอบที่กาลังชี้อธิบาย เส้นชี้ควรมีมุมเอียงที่ไม่ ก่อให้เกิดความสับสนกับเส้นที่ใช้ในแบบ และไม่ตัดกับเส้นมิติ หรือตัดกับเส้นชี้ด้วยกันเอง

ภาพที่ 66 เส้นชี้ในงานเขียนแบบ 2) เส้นตัดตอน (Break Line) ใช้แสดงแนวตัดระหว่างสองส่วน เช่น ส่วนผนังที่ถูกตัดย่อให้สั้นลงเพื่อให้พอดีกับขนาดแผ่นงาน และไม่ ควรตัดส่วนของแบบที่จาเป็นที่จะต้องแสดงให้เห็นรายละเอียด

ภาพที่ 67 เส้นตัดตอนในงานเขียนแบบ


47 3) เส้นศูนย์กลาง (Center Lines) ใช้แสดงศูนย์กลางของเสา คาน ผนัง หรือช่องเปิด เส้นศูนย์กลาง แสดงด้วยเส้นบางที่มีจุดคั้นเป็นช่วง ๆ

ภาพที่ 68 เส้นศูนย์กลางในงานเขียนแบบ 4) เส้นมิติ (Dimension Lines) แสดงด้วยเส้นบางเชื่อมระหว่างเส้นฉาย (Extension Line) ที่ใช้แสดงตาแหน่งเริ่มต้นและปลายของวัตถุที่ ต้องการแสดงมิติ ซึ่งมีเครื่องหมายกากับปลายเส้นมิติ (Terminator Mark) โดยแสดงจุดตัดระหว่างเส้นฉายและ เส้นมิติ เครื่องหมายกากับปลายเส้นมิติควรใช้เส้นเฉียงในทิศทางเดียวกัน

ภาพที่ 69 เส้นมิติในงานเขียนแบบ 5) เส้นทาบต่อ (Match Lines) แสดงแนวตัดแบ่งส่วนที่ต่อเนื่องกับของแบบที่แสดงแยกกันคนละแผ่น เพราะขนาดของแผ่นงานที่ใช้ไม่ สามารถแสดงข้อมูลได้ครบทั้งหมดในแผ่นเดียว ไม่ควรเขียนเส้นทาบต่อบริเวณเดียวกันกับเส้นแสดงแนวเสา เส้น Grid หรือบริเวณรอยต่อเพื่อการขยายตัว (Expansion Joint) ควรเขียนเส้นทาบต่อที่เส้นแนวกึ่งกลางของผนัง หรือทางเดิน เส้นทาบต่อควรเขียนให้ยื่นเลยออกไปจากบริเวณที่ต้องการให้นาแบบมาต่อกัน ควรแสดงส่วนของ แบบที่คาบเกี่ยวกัน ที่อยู่ ถัดไปจากเส้น ทาบต่อ แบบส่วนที่คาบเกี่ยวกันนี้ควรแรเงาด้ว ยสี อ่อนให้ เห็นถึง ความ แตกต่าง เส้นทาบต่อทั้งหมดควรแสดงไว้ใน Key Plan ดังตัวอย่างภาพที่ 70


48

ภาพที่ 70 เส้นทาบต่อในงานเขียนแบบ 6) เส้นแสดงส่วนที่ถูกบัง (Hidden Lines) แสดงส่วนที่ถูกบังจากการมองโดยส่วนอื่น ตัวอย่างเช่น ฝ้าเพดานที่อยู่เหนือ ผนังหรือใต้ผังพื้น ใช้เส้นประ บางแสดงในส่วนที่ถูกบังในแบบ

ภาพที่ 71 เส้นแสดงส่วนที่ถูกบัง 7) เส้นแสดงแนวเขตที่ดิน (Property Lines) แสดงขอบเขตของแนวที่ดิน ใช้เส้นที่คั้นด้วยจุดสองจุดเป็นระยะ ๆ เพื่อแสดงแนวเนตที่ดิน

ภาพที่ 72 แนวเขตที่ดินในงานเขียนแบบ


49 4.3.6 มาตรส่วน (Scale) มาตราส่วนของการวาดรูป คือ สัดส่วนของขนาดวัตถุที่วาดลงบนกระดาษ กับขนาดของวัตถุจริง โดยการ เขียนข้อความเพื่อแสดงมาตราส่วนของแบบนั้น ๆ จะเริ่มจากการเขียนข้อความ “มาตราส่วน” หรือ “SCALE” จากนั้น ตามด้วยตัวเลขเพื่อแสดงขนาดของวัตถุที่วาดบนกระดาษต่อด้วยเครื่องหมาย : แล้วตามด้วยตัวเลข เพื่ อ แสดงขนาดของวัตถุจริง โดยต้องแสดงเป็นตัวอักษรกากับ หรือ แสดงเป็น Graphic Scale ดังแสดงในภาพที่ 73

ภาพที่ 73 มาตราส่วน มาตราส่วนเป็นสัดส่วนของแบบงาน กับงานจริง เป็นการเขียนแบบที่ต้องใช้มาตราส่วนหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งต้องคานึงถึงขนาด สัดส่วนของงานที่เขียนลงในแบบว่ามีความเหมาะสมของหน้ากระดาษเขียนแบบที่ใช้ ให้มี ความสวยงามของแบบที่ออกมาเพียงไร ชิ้นส่วนของงานที่จะเขียนต้องมีความสมบูรณ์ และอ่านได้ชัดเจน การใช้ มาตราส่วนต่าง ๆ ในงานเขียนแบบมี อยู่ 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) มาตราส่วนปกติ (Full Scale) ใช้ในกรณีที่ วัสดุหรือสิ่งที่ต้องการเขียนลงในแบบมีขนาดพอ ๆ กับกระดาษจะเขียน เพื่อต้องการจะให้เห็นขนาดเท่าของจริ ง เช่น 1:1 อ่านว่า มาตราส่วน 1 ต่อ 1 หมายความ ว่า ความยาวในรูป 1 หน่วย แทนความยาวจริง 1 หน่วย 2) มาตราส่วนขยาย (Extended Scale) ใช้ในกรณีสิ่งที่ต้องการเขียนแบบนั้นมีขนาดเล็ก มาก และไม่สามารถเขียนแบบแสดงรายละเอียดของชิ้นงานนั้นได้อย่างชัดเจนตามขนาดจริง ไม่สามารถกาหนด ขนาดรายละเอียดได้หมด เช่น แบบเฟืองนาฬิกาข้อมือ ขนาด 10:1 อ่านว่า มาตราส่วน 10 ต่อ 1 หมายความว่า ขนาดของจริง 1 ส่วนถูกขยายเป็น 10 ส่วนในกระดาษเขียนแบบ 3) มาตราส่วนย่ อ (Brief Scale) ใช้ในกรณีสิ่ งที่ต้อ งการเขี ยนแบบมีข นาดใหญ่โ ตเกิ น กว่ า กระดาษเขียนแบบ ผู้เขียนแบบต้องย่อส่วนให้มีขนาดเหมาะสมกับกระดาษเขียนแบบ โดยมีหลักที่ว่า ขนาดของสิ่ง นั้นจะเป็นเท่าใดก็ตามจะกาหนดลงในกระดาษเขียนแบบเป็น 1 เสมอ มาตราส่วนย่อนี้ได้แก่ แผนที่ แบบบ้าน ฯลฯ เช่น 1:10 อ่านว่า มาตราส่วน 1 ต่อ 10 หมายความว่า ความยาวในรูป 1 หน่วย แทนความยาวจริง 10 หน่วย หรือมีความยาวจริงเป็น 10 เท่า ของความยาวในรูป โดยความหมายของคาว่า มาตราส่วน 1:10, 10:1 หรือ 1:1 มี ดังนี้ คือ ตัวเลขหน้า หมายถึง ขนาดที่ต้องเขียนลงในกระดาษแบบ ตัวเลขหลัง หมายถึง ขนาดสัดส่วนจริงของ ชิ้นงาน


50 มาตราส่วนที่ใช้เป็นไปตามความเหมาะสมของแบบและรายละเอียดที่จะแสดง เพื่อให้สามารถแสดง รูปภาพ ลายเส้น ระยะ และข้อความในแบบได้ชัดเจน มาตราส่วนของแบบบางชนิดอาจ กาหนดโดยกฎหมายที่ เกี่ยวข้อง แบบทุกแบบที่แสดงในแผ่นงานจะต้องระบุมาตราส่วนที่ใช้โดยอาจแสดงเป็นตัวเลข หรือรูป Scale ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2528) ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ระบุให้ใช้ มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1:100 ในผังพื้น รูปด้าน รูปตัดอาคาร ผังคาน และผังฐานราก ยกเว้นอาคารที่มีความกว้าง ความยาวและความสูงมากกว่า 90 เมตร จะมีมาตราส่วนที่เล็กกว่า 1:100 ก็ได้ แต่ต้องไม่เล็กกว่า 1:250 ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่ องควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 กาหนดไว้ว่าแผนผัง (Layout Plan, Site Plan) ให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1:500 ส่วนแบบก่อสร้างให้ใช้มาตราส่วนไม่น้อยกว่า 1:100 (ผังฐาน รากอาคาร, ผังคาน, ผังพื้น, รูปด้าน, รูปตัด) แต่แบบก่อสร้างรูปด้าน และผังพื้นชั้นต่าง ๆ ของอาคารโรงงาน อุตสาหกรรม จะใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1:200 ก็ได้ โดยมาตราส่วนต้องในแบบภาพด้วย ตารางที่ 4-3 มาตราส่วนที่ใช้ในแบบงานประเภทต่าง ๆ ลักษณะการใช้งาน แบบแสดงผังที่ตั้ง (Location Map) ผังบริเวณ (Layout Plan, Site Plan) ผังพื้น (Plan) รูปด้านอาคาร (Elevation) รูปตัดอาคาร (Section) แบบขยาย (Detail) ส่วนประกอบอาคารเพิ่มเติม เช่น บันได ห้องน้า ระเบียง รูปตัดผนัง แบบขยายประตูหน้าต่าง ฯลฯ แบบขยายผังพื้น รูปตัดผนัง ฐานราก (Footing) จุดตัด ของผนังและหลังคา และแบบขยายอื่น ๆ แบบขยายเป็นรายละเอียดส่วนที่เพิ่มเติม เช่น แบบรายละเอียดโครงสร้าง คาน พื้น ฐานราก เสา แบบขยายลูกตั้งลูกนอน ฯลฯ ที่มา: UCS, Drafting Conventions, p. UDS-04. 12

มาตราส่วน 1:5000, 1:2500, 1:2000, 1:1250, 1:1000 1:500 หรือตามความเหมาะสม 1:200 1:100 1:50 1:20 1:10 1:5 1:2 1:1


51 4.3.7 มิติ (Dimension) มิติที่ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างพื้นผิวหรือจุดสองจุด การกาหนดมิติของผนังแต่ละด้านจะต้องอ้างอิงกับ ตาแหน่งที่คงที่ เช่น กึ่งกลางเสาหรือผนังรับน้าหนัก สาหรับรูปตัดของผนังและแบบขยายของผนัง การกาหนด ระยะความสูงจะอ้างอิงจากระดับพื้นห้อง การกาหนดมิติควรแสดงเพียงครั้งเดียวในบริเวณที่เหมาะสม หลีกเลี่ ยง การกาหนดมิติที่เกินความจาเป็น

ภาพที่ 74 การให้มิติของผังพื้น 4.3.7.1 องค์ประกอบของเส้นมิติ องค์ประกอบของเส้นมิติมี 3 ส่วน คือ 1. ตัวอักษรกากับมิติ (Dimension Lettering) 2. เส้นมิติ (Dimension Line) และ 3. เส้นฉาย (Extension Line)

ภาพที่ 75 องค์ประกอบของเส้นมิติ


52 1) ตัวอักษรกากับมิติ (Dimension Lettering) - วางตาแหน่งกึ่งกลางของเส้นมิติ โดยวางขนานในทิศทางเดียวกันกับเส้นมิติ - ขนาดแบบอักษร ควรใช้แบบมาตรฐานเดียวกัน และใช้หน่วยวัด (Unit) เดียวกัน - ไม่ควรตัดเลขศูนย์ทศนิยมออก เช่นระยะมิติ 4 เมตร ควรแสดงด้วยเลข 4.00 ไม่ใช่ แสดงตัวอักษรกากับมิติ 4 เฉย ๆ หรือขึ้นอยู่กับการใช้หน่วยอื่น ๆ เช่น มิลลิเมตร 2) เส้นมิติ (Dimension Line) - แสดงด้วยเส้นบาง ให้มีความแตกต่างจากเส้นแสดงวัตถุ - ควรวางไว้ในตาแหน่งที่ไม่ชิด หรือห่างจากเส้นแสดงวัตถุมากเกินไป - จัดให้เป็นระเบียบ เป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน ไม่สร้างความสับสนให้กับแบบ 3) เส้นฉาย (Extension Line) - ในการเขียน Dimension ต้องมีเส้นฉายด้วยเสมอ - แสดงด้วยเส้นบาง ให้มีความแตกต่างจากเส้นแสดงวัตถุ - ควรลากให้เข้าใกล้รูป หรือส่วนที่แสดงระยะเพื่อให้รู้ตาแหน่งในการวัดที่แน่นอน - เส้นฉายต้องไม่ลากตัดเส้นมิติโดยเด็ดขาด เพราะจะทาให้การอ่านแบบผิดพลาดได้ 4.3.7.2 สัญลักษณ์และการจัดวางของเส้นมิติ สัญลักษณ์เครื่องหมายปลายเส้ น ของมิติมีอยู่ด้วยกัน 4 รูปแบบ โดยแต่และสัญลักษณะรูปแบบจะให้ ความหมายของระยะมิติที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1) ระยะศูนย์กลางถึงศูนย์กลาง 2) ระยะศูนย์กลางถึงริม 3) ระยะริมถึงริม 4) ระยะขอบถึงขอบ

ภาพที่ 76 สัญลักษณ์เครื่องหมายของเส้นมิติ


53

ภาพที่ 77 รูปแบบการใช้สัญลักษณ์ของเส้นมิติ


54 4.3.7.3 มิติของผัง และ มิติในแนวดิ่ง อาคารโครงสร้างเหล็กและคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงโดยทั่วไป จะกาหนดระยะระหว่างเส้นศูนย์กลางเสา ถึงเส้นศูนย์กลางเสา และระยะจากกึ่งกลางเสาริมสุดไปยังขอบนอกของอาคาร สาหรับอาคารหลายชั้นซึ่งทาด้วย โครงสร้างคอนกรีต ส่วนของเสาที่อยู่ภายนอกอาจกาหนดระยะโดยอ้างอิงจากขอบของเสาด้ านนอกแทนที่จะเป็น แนวกึ่งกลางเสา การให้มิติในแนวดิ่งของรูปตัดผนังและแบบขยายรูปตัด เส้นมิติจะวางไว้ด้านนอกผนัง สาหรั บรูปตัดผนัง จะประกอบด้วยเส้นมิติ 2 เส้นหลัก เส้นแรกจะวางไว้ใกล้กับตัวอาคารเพื่อบอกขนาดช่องเปิดและส่วนบนสุดของ พื้น ส่วนเส้นที่สองแสดงความสูงจากพื้นถึงพื้น ไม่ควรให้ระยะความสูงรวมของอาคารที่ได้แสดงไว้แล้วในรูปตัด อาคาร หรือที่ได้ระบุไว้ในแบบอื่น ๆ ที่กล่าวมาก่อนหน้านี้ และควรจะมีการวางทิศทางเช่นเดียวกับรูปตัดผนัง

ภาพที่ 78 มิติของผังและมิติในแนวดิ่ง


55 4.3.8 อักษรประกอบแบบ (Text) การเขียนแบบใด ๆ ก็ตาม ถึงแม้ว่าจะเขียนแบบได้อย่างถูกต้องชัดเจนและสมบูรณ์แล้ว ก็ยังจะต้องมีส่วน ที่อธิบายบอกให้ชัดเจนยิ่งขึ้น อย่างน้อยควรบอกให้ทราบว่าเป็นแบบอะไร ใครเป็นผู้เขียน ผู้คานวณ ผู้รับผิดชอบ มาตราส่วนเท่าใด ขนาดย่อส่วนมาเท่าใด บอกถึงการใช้งาน วัสดุ วัตถุประสงค์ของแบบ ความกว้าง ความยาว ความสูง เมื่อสร้างจริงแล้วจะเป็นเท่าใด ขนาดตั ว หนั ง สื อ ที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ส าหรั บ การเขี ย นด้ ว ยมื อ คื อ 3.2 ม.ม. ส าหรั บ การเขี ย นด้ ว ยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กที่สุดคือ 2.4 ม.ม. ขนาดตัวหนังสือที่เล็กกว่านี้จะอ่านได้ยากถ้ามีการย่อขนาดลงครึ่งหนึ่ง ใน ส่วนของข้อความ (Note) ไม่ควรใช้เส้นหนา ตัวเอียง หรือขีดเส้นใต้อักษร 4.3.9 สัญลักษณ์ประกอบแบบ (Symbol) สัญลักษณ์ประกอบแบบที่ใช้ในผังพื้นตามมาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554 โดยสถาบันสถาปนิกสยาม และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้าง เมื่อแสดงผ่านเครื่องหมายประกอบแบบ นั้น ๆ แล้วสามารถเข้าใจในแบบก่อสร้างของทางผู้ออกแบบหรือเขียนแบบแสดงได้ สัญลักษณ์ประกอบแบบที่ใช้ บ่อยในแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม ได้แก่ 1) ลักษณะทั่วไป (General Symbols) ตารางที่ 4-4 สัญลักษณ์ประกอบแบบและคาย่อทั่วไป สัญลักษณ์ (Symbol)

ความหมาย (Description) ระยะจากศูนย์กลางถึงศูนย์กลาง (Center to Creter) เส้นแบ่งครึ่ง หรือ เส้นศูนย์กลาง (Center line) ทิศทางที่มอง (Direction of View) ทางเข้า (Internal, Entrance) ทางออก (External, Exit) ทิศเหนือ (North Point) บันได ขึ้น – ลง (Stair) ทางลาด ขึ้น – ลง (Ramp) หมุนหลักฐาน (Bench Mark)


56 ตารางที่ 4-5 สัญลักษณ์ประกอบแบบและคาย่อทั่วไป (ต่อ) สัญลักษณ์ (Symbol)

ความหมาย (Description) หมุนหลักฐานชั่วคราว (Temporary Bench Mark) เส้นผ่านศูนย์กลาง (Diameter) เมตร (Meter) ตารางเมตร (Square Meters) ลูกบาศก์เมตร (Cubic Meters) ฟุต (Feet) นิ้ว (Inch) มิลลิเมตร (Millimeter) เซนติเมตร (Centimeter) หลา (Yard) ระดับเดิมในผัง (Existing Level on Plan) ระดับเดิมในรูปตัด (Existing Level on Section) ระดับที่ต้องการในผัง (Required Level on Plan) ระดับที่ต้องการในรูปตัด (Required Level on Section) ระดับวัสดุพื้น (Finish Surface) ระดับดิน (Finish Grading) ระดับบนขอบ (Top of Curb) ระดับหลังกาแพง (Top of Wall) บริเวณปลูกต้นไม้ (Planting Area) ผนัง (Wall) หมายเลข 1 พื้น (Floor) หมายเลข 1 ฝ้า (Ceiling) หมายเลข 1 หน้าต่าง (Window) หมายเลข 1 ประตู (Door) หมายเลข 1 ระยะห่างแต่ละช่อง เครื่องหมายบอกพื้นที่ (ห้อง), บอกชนิดของพื้นหมายเลข 1, บอกระดับพื้นในผัง, บอกชนิดของฝ้าเพดาน, บอกระดับของฝ้าเพดาน


57 2) สัญลักษณ์วัสดุก่อสร้าง (Material Indications Symbols) ตารางที่ 4-6 สัญลักษณ์ประกอบแบบวัสดุก่อสร้าง สัญลักษณ์ (Symbol)

ความหมาย (Description) คอนกรีต คอนกรีตบล็อก กระจก ผนังก่ออิฐมอญครึ่งแผ่น ผนังก่ออิฐมอญครึ่งแผ่นฉาบปูน ผนังก่ออิฐมอญเต็มแผ่นฉาบปูน ผนังก่ออิฐมอญครึ่งแผ่น (มีรายละเอียดเพิ่มเติมชี้บอกด้วยเลขสัญลักษณ์) ผนังทาด้วยวัสดุเบาชั้นเดียว ไม้ ทราย ดิน ฉนวนกันความร้อน


58 3) สัญลักษณ์ของประตู-หน้าต่างในผัง (Doors-Windows Symbols) ตารางที่ 4-7 สัญลักษณ์ประกอบแบบประตู-หน้าต่างในผังพื้น สัญลักษณ์ (Symbol)

ความหมาย (Description) ประตูบานเปิดเดี่ยว ประตูบานเปิดคู่ ประตูบานเปิดไปมาได้ทั้ง 2 ทาง ประตูบานเลื่อนเดี่ยว ประตูบานเลื่อนทั้ง 2 บาน ประตูบานหมุน ประตูบานเฟี้ยม หน้าต่างบานเปิดเดี่ยว หน้าต่างบานเปิดคู่ หน้าต่างบานเกล็ดชนิดปรับมุม หน้าต่างบานกระทุ้ง หน้าต่างกระจกติดตาย


59

บทที่ 5 การเขียนแบบสถาปัตยกรรมตามหลักวิชาชีพ เนื่องจากการทาแบบก่อสร้างในการยื่นขออนุญาตเพื่อก่อสร้างประกอบด้วยแบบจานวนหลายแผ่น ซึง่ การ จัดเรียงแบบการก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมตามประเภทของแผ่นงาน (Sheet Types) ตามคู่มือปฏิบัติวิชาชีพ มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554 ได้กาหนดประเภทของแผ่นงานไว้ 6 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 – ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 – ผังบริเวณ ผังที่ตั้ง ส่วนที่ 3 – ผังพื้น ส่วนที่ 4 – รูปด้าน ส่วนที่ 5 – รูปตัด ส่วนที่ 6 – แบบขยายรายละเอียด 5.1 ข้อมูลทั่วไป )General Information( เป็นรายการที่สถาปนิกผู้ออกแบบกาหนดขึ้นมา เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดบางส่วนที่ไม่ สามารถแสดงในแบบก่อสร้าง ได้แก่ การกาหนดคุณภาพของวัสดุ วิธีการดาเนินการก่อสร้างที่ ต้องการเพื่อให้ ผู้รับเหมาปฏิบัติตามมาตรฐานที่ระบุไว้ (สุขสม เสนานาญ, 2547: 8-9) เนื้อหาในรายการประกอบแบบก่อสร้างจะ แบ่งเป็นสองส่วนใหญ่ ๆ คือ 5.1.1 รายการทั่วไป รายการประกอบแบบก่อสร้าง (Construction Specification) โดยทั่วไปประกอบไปด้วย 1) ข้อกาหนดและขอบเขตทั่วไป ระบุข้อความการสรุปงานในสัญญาก่อสร้างอย่างย่อ 2) งานสถานที่ก่อสร้าง ระบุสถานที่ก่อสร้าง การเตรียมสถานที่ มาตรฐานงานดิน 3) งานฐานราก ระบุขนาดความลึกของฐานราก ระบบกาจัดปลวก งานระบบคานทั้งโครงการ 4) งานระดับ ระบุระดับมาตรฐานที่ใช้ในการก่อสร้าง 5) งานพื้น ระบุพื้นโดยทั่วไป และพื้นชนิดต่าง ๆ ของโครงการ วิธีการปูกระเบื้อง ฯลฯ 6) งานคอนกรีต กาหนดมาตรฐานของวัสดุสาหรับผสมคอนกรีต ส่วนผสม การเทคอนกรีต การผูก เหล็ก การบ่มคอนกรีต ฯลฯ 7) งานผนัง ระบุการก่อประเภทต่าง ๆ การก่ออิฐฉาบปูน กาหนดวัสดุส่วนผสม และวิธีดาเนินงาน 8) งานเพดาน ระบุงานเทคนิคของฝ้าเพดาน ฝ้าชายคา การติดตั้งตาข่ายกกันแมลง เป็นต้น 9) งานไม้ งานโลหะ งานเหล็ก (ถ้ามี) กาหนดวัสดุ ขนาด วิธีเข้า และฝีมือการทางาน


60

ภาพที่ 79 ตัวอย่างรายการประกอบแบบก่อสร้าง (รายการทั่วไป)


61

ภาพที่ 80 ตัวอย่างรายการประกอบแบบก่อสร้าง (รายการเฉพาะ)


62 5.1.2 รายการเฉพาะสาหรับอาคารแต่ละหลัง รายการประกอบแบบเฉพาะประกอบด้วยการกาหนดชนิดและคุณภาพของวัสดุและวิธีการติดตั้ง ส่วนต่าง ๆ ของอาคาร (ภาพที่ 80) โดยแยกงานแต่ละส่วนของอาคารเพิ่มเติมจากรายการในข้อ 5.1.1 ได้แก่ 1) งานหลังคา ระบุชนิดของกระเบื้องมุงหลังคาพร้อมอุปกรณ์ที่ใช้ และวิธีการติดตั้ง 2) งานประตู – หน้าต่าง ระบุวัสดุที่ใช้พร้อมอุปกรณ์ ถ้าในตารางรายละเอียดเขียนไว้ครบแล้วก็ถือ ว่าตารางรายละเอียดเป็นส่วนหนึ่งของรายการประกอบแบบด้วย 3) งานตกแต่งผิวด้วยวัสดุชนิดต่าง ๆ วิธีการติดตั้งที่พื้นและผนัง 4) งานติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์ ระบุชนิด และวิธีการติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์ในห้องห้อง 5) งานประปาและสุขาภิบาล 6) งานสี 7) งานไฟฟ้า 5.2 ผังบริเวณ (Layout) แบบผังบริเวณเป็นแบบแผ่นแรกในชุดของแบบก่อสร้างสาหรับอาคารขนาดเล็ก เช่น บ้านพักอาศัย ถือ เป็นแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม แต่ในโครงการใหญ่ ๆ จะต้องมีการพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ ของผัง บริเวณ ได้แก่ ระบบสาธารณูปโภค คือ ระบบท่อและระบบไฟฟ้าภายนอกอาคารประกอบด้วย จึงเป็นแบบที่ ต้อง พิจารณาเพื่อใช้ประกอบกับผังที่ตั้ง (สุขสม เสนานาญ, 2547: 335) 5.2.1 ความหมายของแบบผังบริเวณ แบบผังบริเวณ เป็นแบบที่แสดงรายละเอียดตาแหน่งที่ตั้งตัวอาคารในบริเวณที่ดินที่จะทาการปลูกสร้าง แสดงขอบเขต ตาแหน่งและทิศทางของที่ดิน รวมทั้งขนาดของตัวอาคาร โดยแสดงความสัมพันธ์ของตาแหน่งตัว อาคารกับจุดกาหนดทางเข้าออกหรือถนนภายในที่จะนามาสู่ตัวอาคารให้เหมาะสมและปลอดภัย แบบผังบริเวณยัง แสดงความสัมพันธ์ของบริเวณโดยรอบภายในเขตที่ดินกับตัวอาคาร 5.2.2 องค์ประกอบของผังบริเวณ ในองค์ประกอบแบบผังบริเวณ ต้องมีสิ่งที่ต้องแสดงดังนี้ 1) ตาแหน่งที่ตั้งและขนาดของที่ดินที่จะทาการปลูกสร้างอาคาร โดยแสดงขอบเขตที่ดิน ด้ว ยการเขียนต าแหน่ งของหมุดหลั ก เขตตามโฉนดที่ ดิน แนวถนนสาธารณะ โดยรอบที่ ดิ น และก าหนดระยะห่ า งจากจุด ที่ ห มายที่ส ามารถตรวจสอบจากแผ่ น ที่ ไ ด้โ ดยง่ าย เช่ น ชื่ อ ถนน สาธารณะที่อยู่ ใกล้เคียงหรื อผ่ านหน้าที่ดิน หรือที่ดินอยู่ใกล้ เคียงกับสถานที่ส าคัญใด ๆ เช่น สถานที่ราชการ ธนาคาร ฯลฯ โดยระบุชื่อและระยะทางไว้ให้ชัดเจน พร้อมทั้งแสดงเครื่องหมายทิศเหนือไว้ทางด้านมุมขวาของ กระดาษ


63 2) แสดงตาแหน่งที่ตั้งของตัวอาคาร โดยเขียนขอบเขตของอาคารที่เป็นผนังโดยรอบ ขนาดของตัวอาคาร และเขียนบอกระยะห่างของอาคาร จากเขตที่ดินหรือแนวรั้วทั้ง 4 ด้าน พร้อมทั้งเขียนเส้นประแสดงแนวหลังคาไม่ให้ยื่นล้าไปในเขตที่ดินอื่น 3) แสดงเส้นทางสัญจรภายใน ได้แก่ตาแหน่ งประตูทางเข้าออกที่ติดกับถนนสาธารณะเข้า สู่ถนนภายในสาหรับรถยนต์ ลาดจอดรถ ภายในเขตที่ดินที่จะปลูกสร้าง 4) ระดับดินเดิมของบริเวณที่ดิน ระดับที่ผู้ออกแบบกาหนดว่าจะปรับให้สูงหรือต่ากว่าระดับดินเดิม รวมทั้งแสดงตาแหน่งต้นไม้เดิม หรือ สิ่งก่อสร้างเดิมที่ต้องการจะคงไว้ ส่วนที่ต้องการจะรื้อถอนออก (ถ้ามี) และแสดงตาแหน่งต้นไม้ที่ต้องการจะปลูก เพิ่มเติม บริเวณเปิดโล่งที่ต้องการจะปลูกเป็นสนาม หรือขุดสระน้า ฯลฯ

ภาพที่ 81 ตัวอย่างผังบริเวณ


64 5.3 ผังพื้น (Floor Plan) มิติในแบบก่อสร้างสามารถแยกแสดงได้ใน 2 ระนาบ ได้แก่ แบบที่แสดงให้เห็นมิติทางแนวราบ (แบบผัง) และแบบที่แสดงให้เห็นมิติทางแนวดิ่ง (แบบรูปด้านและรูปตัด) แบบผังต่าง ๆ เรียกอีกชื่อตามความหมายที่แสดง ในผังนั้น ๆ เช่น ผังพื้น ผังโครงสร้าง ผังไฟฟ้า ผังท่อ เป็นต้น 5.3.1 ความหมายของผังพื้น ผังพื้นเป็นแบบที่แสดงขนาด รูปร่าง และการจัดการส่วนพื้นที่ภายในตัวอาคารในแนวราบ อาคารแต่ละ หลังประกอบด้วยแบบผังพื้นแต่ละชั้น มาตราส่วนที่ใช้แสดงผังพื้นนิยมใช้ 2 ขนาดคือ 1:50 ใช้เขียนเมื่อเป็นอาคาร ขนาดไม่ใหญ่ เช่น บ้านพักอาศัย แบบผังพื้นที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1:50 จะแสดงรายละเอียดของโครงสร้าง เช่น วงกบ ประตู-หน้าต่าง ได้ละเอียดชัดเจน และแบบผังพื้นที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1:100 ซึ่ง เหมาะสาหรับเขียนเมื่อ เป็ น อาคารขนาดใหญ่ นอกจากจ าคานึ งถึ ง ขนาดของอาคารแล้ ว ยังต้องคานึ ง ถึ งขนาดของอาคารกับ ขนาด หน้ากระดาษที่ใช้เขียนอีกด้วย (สุขสม เสนานาญ, 2547: 33) ผังพื้นของแต่ละสาขาประกอบด้วย ผังงานโยธา ผังงานภูมิทัศน์ ผังงานโครงสร้าง ผังงานสถาปัตยกร รม ผั ง งานตกแต่ ง ภายใน และผั ง การเดิ น ท่ อ ระบบ เป็ น ต้ น องค์ ป ระกอบทั่ ว ไปของผั งนอกเหนื อ จากการแสดง รายละเอียดที่เกี่ยวข้องของผังแต่ละประเภทแล้ว ควรมีรายละเอียดอื่น ๆ เช่น มาตราส่วน เส้นกริดเสา เส้นมิติ ทิศ Key Plan (ถ้ามีการใช้) การอ้างอิงไปยังแบบส่วนอื่น ๆ เช่นการอ้างอิงไปยังรูปตัด รูปด้าน และแบบขยาย (คู่มือ ปฏิบัติวิชาชีพ มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง, 2554: 8-19) 5.3.2 มาตรฐานและข้อกาหนดในการเขียนผังพื้น การเขียนผังพื้นตามมาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554 ของสมาคมสถาปนิกสยามในพระ บรมราชูปถัมภ์ สรุปได้ดังนี้ 5.3.2.1 มาตราส่วน นิยมใช้มาตราส่วน 1:50 และ 1:100 สาหรับการเขียนผังพื้นอาคารพักอาศัย ทั้งนี้ต้องดูความเหมาะสมกับ หน้ากระดาษของแบบสถาปัตยกรรมนั้นด้วย โดยทั่วไปถ้าอาคารมีขนาดเล็กสามารถใช้มาตราส่วน 1:50 และ 1:100 สาหรับในกรณีอาคารขนาดใหญ่มาก เช่น ผังพื้นของโรงงานขนาดใหญ่ ใช้มาตราส่วน 1:200 ได้ (ซึ่งสามารถ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจาก ตารางที่ 4-3 (หน้า 50) เรื่องมาตราส่วนที่ใช้ในแบบงานประเภทต่าง ๆ ได้เพิ่มเติม) 5.3.2.2 เส้น เนื่องจากการเขียนแบบทางสถาปัตยกรรมต้องการสื่อสารแบบผ่านเส้นในการเขียนแบบ ผู้ออกแบบหรือ ผู้เขียนควรให้คาสัญความความสม่าเสมอของเส้น น้าหนักของเส้น หรือความหนาของเส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ เพื่ อ ที่ ส ามารถถ่ า ยทอดและสื่ อ สารให้ ผู้ อ่ า นแบบหรื อ ผู้ น าไปก่ อ สร้ า งเข้ า ใจง่ า ย โดยเส้ น ในงานผั ง พื้ น ทาง สถาปัตยกรรมทีต่ ้องคานึงถึง มีดังนี้


65 1) ความหนาของเส้ น เส้ น ที่ ใ ช้ ใ นการเขี ย นแบบมี ค วามหนาที่ แ ตกต่ า งกั น ตาม ความหมาย ซึ่งสามารถศึกษามาตรฐานเส้นสาหรับงานเขียนแบบ ชนิดน้าหนักหรือความหนาของเส้นที่ใช้ในการ เขียนแบบเพิ่มเติมใน ตารางที่ 4-2 (หน้าที่ 45) 2) มิติ ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในแบบก่อสร้าง โดยกาหนดให้ใช้มิติเป็น เซนติเมตร มิลลิเมตร หรือ เมตร ตามรูปแบบของแบบ เช่น ตามตัวอย่าง (ภาพที่ 82) มิติระยะของช่วงเสาที่ E ถึง F ต้องการบอกมิตริ ะยะห่างของช่วงเสากว้าง 3.50 เมตร และมิติของช่วงเสาที่ 3 ถึง 4 กว้าง 4.00 เมตร เป็นต้น 3) ระดับ ในแบบก่อสร้างจะกาหนดระดับจากผู้ออกแบบ เพื่อช่วยให้การบอกระดับต่าง ๆ สะดวกขึ้น โดยยึดถือเอาระดับหลังถนนหน้าเขตที่ดินที่จะก่อสร้างเป็นระดับ +- 0.00 จากภาพที่ 83 เฉลียง มี ระดับ +0.50 แสดงว่ามีระดับสูงจากพื้นดินเดิม 0.50 เมตร หรือ 50 เซนติเมตร หรือ 5,000 มิลลิเมตร เป็นต้น 4) สั ญ ลั ก ษณ์ สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ ใ ช้ ใ นการเขี ย นผั ง พื้ น หรื อ ในแบบสถาปั ต ยกรรม ตาม มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554 โดยสถาบันสถาปนิกสยาม และมาตรฐานสากลที่เกี่ยวข้องกับ งานก่อสร้าง เมื่อแสดงผ่านเครื่องหมายประกอบแบบนั้น ๆ แล้วสามารถเข้าใจในแบบก่อสร้างของทางผู้ออกแบบ หรือผู้เขียนแบบได้ (ซึ่งสามารถดูได้จาก หัวข้อที่ 4.3.9 สัญลักษณ์ประกอบแบบ (Symbol) หน้าที่ 55)

ภาพที่ 82 ตัวอย่างมาตรฐานและข้อกาหนดในการเขียนผังพื้น


66

ภาพที่ 83 ตัวอย่างการเขียนผังพื้น


67 5.4 รูปด้าน (Elevation) รู ป ด้านเป็ น แบบที่แสดงแนวดิ่ง มีความสั มพั นธ์กับผั งพื้นและรูปตัด ซึ่งการเขียนแบบรูปด้านในงาน สถาปัตยกรรมสามารถเขียนได้ทั้ง 2 แบบ ได้แก่ รูปด้านภายใน และ รูปด้านภายนอก โดยเนื้อหานี้จะครอบคลุม เฉพาะรูปด้านภายนอกอาคาร ทั้ง 4 ด้าน ของอาคารหรือสถาปัตยกรรม 5.4.1 ความหมายของรูปด้าน รูปด้านเป็นภาพฉายที่แสดงลักษณะภายนอกของอาคารในแนวดิ่ง โดยการมองรูปด้านทั้ง 4 ด้านเรียงกัน ตามลาดับ ในแนวของทิศที่แสดงในผังพื้น ได้แก่ รูปด้านทิศใต้ รูปด้านทิศตะวันตก รูปด้านทิศเหนือ และรูปด้าน ทิศตะวันออก เป็นต้น ซึ่งอาศัยการตั้งชื่อรูปด้านผ่านสัญลักษณ์ สัญลักษณ์รูปด้านถ้าแสดงหัวลูกศรหันเข้าหากันจะแสดงรูปด้านรวมภายนอกอาคาร ถ้าหัวลูกศรหันออก ทุกทิศทางจะแสดงรูปด้านรวมภายในของห้อง (ภาพที่ 84) และตัวเลขในวงกลมแถวบน หมายถึง ตาแหน่งด้านแต่ ละด้านในผังพื้น ตัวเลขแถวล่าง หมายถึง เลขหน้าที่แสดงรูปด้านนั้น ๆ

ภาพที่ 84 ตัวอย่างสัญลักษณ์รูปด้านภายนอกและสัญลักษณ์รูปด้านภายใน

ภาพที่ 85 ตาแหน่งการวางสัญลักษณ์รูปด้านภายนอกในผังพื้น


68

ภาพที่ 86 ลักษณะการมองภาพฉายของรูปด้านภายนอกอาคาร จากภาพที่ 86 แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ของผังพื้นและรูปด้านทั้ง 4 ด้าน กล่าวคือ ความกว้างของรูปด้าน แต่ละด้าน จะวัดได้ตรงกับความกว้างของผนังแต่ละด้านที่อยู่ในทิศทางเดียวกันในผังพื้น โดยรูปด้านแต่ละรูปจะ


69 แสดงรายะเอียดของลักษณะภายนอกของอาคารหรือสถาปัตยกรรมนั้น ๆ ได้แก่ ผนัง ประตู หน้าต่าง หรือ วัสดุ ประกอบอาคาร ฯลฯ เป็นต้น 5.4.2 การแสดงรูปด้านอาคาร รูปด้านจึงเป็นรูปที่เขียนขึ้นเพื่ออธิบายรายละเอียดที่ไม่สามารถแสดงได้อย่างครบถ้วนในผังพื้น (Floor Plan) หรือรูปตัด (Section) เพียงรูปใดรูปหนึ่ง ผู้เขียนแบบต้องนารายละเอียดต่าง ๆ มาผนวกกับความสูงและ ระดั บ ที่ แ สดงในรู ป ตั ด เพื่ อ เขี ย นเป็ น รู ป ด้ า นภายนอกของอาคารแต่ ล ะด้ า น ซึ่ ง แสดงรู ป รู ป ร่ า งต าแหน่ งของ รายละเอียด เช่น วัสดุผนัง ชนิดประตู หน้าต่าง ด้วยสัญลักษณ์ต่าง ๆ เพื่อใช้ดูประกอบกับรายการประกอบแบบ เมื่อต้องการทราบละเอียดมากขึ้น รูปด้านที่เขียนในแบบก่อสร้างไม่ต้องแสดงเงาเพื่อเน้นระนาบที่ต่างกัน จะแสดง ระยะใกล้ – ไกล ด้ว ยน้าหนักของเส้นในการเขียนแบบเท่านั้น ไม่นิยมเขียนระยะบอกความยาวของตัวอาคาร เนื่องจากสามารถดูได้จากผังพื้นและรูปตัด แต่จะบอกระดับความสูงที่สาคัญโดยการแสดงเส้นประบอกระดับ

ภาพที่ 87 การเขียนแบบรูปด้านรวมภายนอก (ตัวอย่างที่ 1)


70

ภาพที่ 88 การเขียนแบบรูปด้านรวมภายนอก (ตัวอย่างที่ 2)


71 5.5 รูปตัด (Section) การเขียนแบบรูปตัดผู้เขียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจในด้านโครงสร้างของอาคารที่จะเขียนตั้งแต่ฐานราก จนถึงโครงหลังคา ต้องศึกษาขนาดและชนิดของวัสดุก่อสร้างที่ใช้ประกอบกันขึ้นมาเป็นพื้น ผนัง หลังคา ประตู หน้าต่าง และส่วนประกอบอื่น ๆ ของอาคาร จากผังพื้นและผังโครงสร้าง สาหรับนักศึกษาควรศึกษาโครงสร้างของ อาคารหลังที่จะเขียนแบบรูปตัด ซึ่งจะต้องสามารถมองเห็นโครงสร้างรวมของอาคารทั้งหลัง รวมทั้งส่วนที่ซับซ้อน เช่น ช่องบันได ฝ้าเพดาน ระดับพื้นห้องน้า เป็นต้น 5.5.1 ความหมายของรูปตัด แบบรูปตัดเป็นแบบที่แสดงให้เห็นโครงสร้างและรายละเอียดต่าง ๆ ภายในอาคารในแนวดิ่ง โดยมีแนวคิด ว่าถ้าเลื่อยตัดอาคารในแนวดิ่งให้ตั้งฉากกับพื้นตามแนวเส้นตัดที่แสดงในผังพื้น แล้วเคลื่อนอาคารส่วนที่อยู่หน้า แนวเส้นตัดออกไป จะเห็นภาพฉายแสดงโครงสร้างภายในของอาคาร ได้แก่ ระดับของฐานราก พื้นชั้นแต่ละชั้น ฝ้า เพดาน และหลังคา ว่ามีระดับต่าหรือสูงจากระดับกาหนด +0.00 เท่าใด พร้อมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ ว่าทาทาจาก วัสดุชนิดใด ขนาดเท่าใด และลั กษณะการติดตั้งเป็นแบบใด ด้วยการใช้เส้น สัญลักษณ์ เพื่อสื่อความหมาย โดยรูป ตัดอาคารทั่วไปจะเขียนโดยใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1:50 5.5.2 การแสดงรูปตัดอาคารและรูปตัดผนัง แบบรูปตัดเป็นแบบที่แสดงให้เห็นโครงสร้างและรายละเอียดต่าง ๆ ภายในอาคารในแนวดิ่ง โดยมีแนวคิด ว่าถ้าเลื่อยตัดอาคารในแนวดิ่งให้ตั้งฉากกับพื้นตามแนวเส้นตัดที่แสดงในผังพื้น แล้วเคลื่อนอาคารส่วนที่อยู่หน้า แนวเส้นตัดออกไป จะเห็นภาพฉายแสดงโครงสร้างภายในของอาคาร ได้แก่ ระดับของฐานราก พื้นชั้นแต่ละชั้น ฝ้า เพดาน และหลังคา พร้อมทั้งรายะเอียดว่าทาทาจากวัสดุชนิดใด ขนาดเท่าไหร่ และลักษณะการติดตั้งเป็นแบบใด ด้วยอาศัยการใช้เส้นในการเขียนแบบ การใช้สัญลักษณ์ โดยรูปตัดอาคารทั่วไปจะแสดงอย่างน้อย 2 รูปในแนวตัด ที่ตั้งฉากกัน ได้แก่ 1) รูปตัดตามขวาง (Transverse Section) เป็นการเขียนแบบที่แสดงรูปตัดตามแนวเส้นตัดที่ตัดผ่าน “ด้านแคบ” ของอาคารทางสถาปัตยกรรมหรือ งานเขียนแบบนั้น ๆ (ภาพที่ 89) 2) รูปตัดตามยาว (Longitudinal Section) เป็นการเขียนแบบที่แสดงรูปตัดตามแนวเส้นตัดที่ตัดผ่าน “ด้านยาว” ของอาคารทางสถาปัตยกรรมหรือ งานเขียนแบบนั้น ๆ (ภาพที่ 90)


72

Key Plan

ภาพที่ 89 ตัวอย่างแนวตัดและรูปตัดตามขวาง (Transverse Section)

Key Plan

ภาพที่ 90 ตัวอย่างแนวตัดและรูปตัดตามยาว (Longitudinal Section)


73

ภาพที่ 91 การเขียนรูปตัดตามขวางอาคาร (ตัวอย่างที่ 1)


74

ภาพที่ 92 การเขียนรูปตัดตามยาวอาคาร (ตัวอย่างที่ 2)


75

ภาพที่ 93 ตัวอย่างรูปตัดผนัง (ตัวอย่างที่ 1)


76

ภาพที่ 94 ตัวอย่างรูปตัดผนัง (ตัวอย่างที่ 2)


77 5.6 แบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (Detail) 5.6.1 ความหมายของแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม แบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมเป็นแบบที่ขยายบางส่วนของแบบทั้งในผังพื้น รูปด้าน รูปตัด หรือรายละเอียดต่าง ๆ โดยอาศัยขนาดของมาตราส่วนที่ใหญ่ขึ้น เพื่อแสดงรายละเอียดที่ไม่สามารถแสดงได้ใน แบบมาตราส่วนเล็กกว่าให้ละเอียดชัดเจนยิ่งขึ้น 5.6.2 หลักการเบื้องต้นในการแสดงแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม การแสดงรูปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมมีไว้เพื่อขยายและแสดงรายละเอียดบางส่วนของอาคาร ที่เล็กเกินกว่าจะอธิบายได้ในผังพื้นหรือรูปตัด เช่น ห้องน้า บันได หน้าต่าง เป็นต้น บริเวณเหล่านี้อาจจะเขียนบอก ในผังพื้น รูปด้านหรือรูปตัด ด้วยสัญลักษณ์ ตัวอย่างเช่น ภาพที่ 95 จากแบบสัญลักษณ์ อ่านว่า ดูแบบขยาย 6 เพื่อ ผู้อ่านแบบพลิกไปดูรูปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม หมายเลข 6 ในแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมแผ่นที่ 32 เป็นต้น

ภาพที่ 95 สัญลักษณ์ในการระบุแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม รูปขยายนี้อาจเขียนรวมกันในแบบที่แสดงรูปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม เรียงลาดับหมายเลขรูป ขยายไว้ทั้งหมด หรือถ้าเป็นอาคารขนาดเล็ก เช่น อาคารบ้านพักอาศัย อาจเขียนอยู่ในแผ่นเดียวกับส่วนที่ต้องการ ขยายนั้น เช่น รูปขยายการติดตั้งจันทัน และตะเฆ่สัน อาจแสดงไว้แผ่นเดียวกับผังโครงหลังคาได้เช่นกัน ซึ่งรูปแบบ ขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมของอาคารบ้านพักอาศัยโดยทั่วไปจะแสดงรายละเอียดของแบบนั้น ๆ โดยมี รายละเอียดทีป่ ระกอบไปด้วย แบบขยายประตู แบบขยายหน้าต่าง แบบขยายบันได แบบขยายห้องน้า แบบขยาย แสดงการต่อเนื่องของโครงสร้างอาคารทั่ว ๆ ไป และแบบขยายจุดที่ต้องการขยายเป็นพิเศษ เป็นต้น


78

ภาพที่ 96 ตัวอย่างแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม


79 5.6.3 รูปแบบและการแสดงแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม รูปแบบการเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับรายละเอียดของแบบที่ ได้รับการออกแบบนั้น ๆ ที่จะสามารถสื่อสารกับผู้อ่านแบบหรือผู้ใช้แบบก่อสร้าง มีความเข้าใจในแบบและนาไปใช้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีรูปแบบและการแสดงรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมที่ต้องแสดง คือ 1) แบบขยาย ประตู 2) แบบขยายหน้าต่าง 3) แบบขยายห้องน้า 4) แบบขยายแสดงการต่อเนื่องของโครงสร้างอาคารทั่ว ๆ ไป และ 5) แบบขยายแสดงจุดที่ต้องการขยายเป็นพิเศษ 5.6.4 แบบขยายประตู 5.6.4.1 ส่วนประกอบสาคัญของประตู

ภาพที่ 97 ส่วนประกอบสาคัญของประตู 1) วงกบ ทาหน้าที่เป็นกรอบยึดบานประตู จึงต้องแข็งแรง ถ้าเป็นไม้ส่วนมากจะใช้ไม้ เนื้อแข็ง มีขนาดไม่เล็กกว่า 2”x4” นิ้ว ถ้ายึดประตูกระจกกรอบบานอลูมิเนียม วัสดุก็จะใช้อลูมิเนียมเป็นต้น 2) บานประตู ทาหน้าที่เป็นบานเปิด ซึ่งทาจากวัสดุต่าง ๆ ตามการออกแบบ ได้แก่ บานประตูไม้อัดสาเร็จรูป ประตูบานเกล็ดไม้ ประตูลูกฟักกระจก หรือประตูสาเร็จรูปที่ทาจาก P.V.C. เป็นต้น 3) อุปกรณ์ประกอบประตู อุปกรณ์ประกอบนี้โดยมากจะแสดงไว้ในตารางรายละเอียด ซึ่งจะบอกขนาด, ชนิด, พร้อมระบุเครื่องหมายการค้าและจานวนที่ใช้ประกอบประตูแต่ละบานไว้ด้วย นอกจาก ต้องการกาหนดตาแหน่งเป็นพิเศษจะแสดงในรูปขยายด้วยซึ่งประกอบไปด้วย


80 3.1 บานพับ (Hinge) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับยึดบานประตู หน้าต่าง ให้ติด กับวงกบ มีหลายชนิดขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งานและการออกแบบนั้น ๆ ได้แก่ - บานพับชนิดธรรมดา (Hinge) ใช้กับประตู หน้าต่าง ทั่วไป สามารถเปิดได้กว้างถึง 180 องศา บานพับ ชนิดนี้ต้องฝังเข้าไปในตัววงกบและด้านข้างของกรอบบานเพื่อให้ปิดบานได้สนิท และขนาดเนื้อที่ของบาน เช่น 5”x5”, 5”x4”, 5”x3”, 4”x4”, 4”x3” เป็นต้น - บานพับหูช้าง (Parliament hinges) ใช้กับบานที่ต้องเปิดทับฝาผนังที่มีปัญหาเกี่ยวกับบัวเชิงผนัง หรือ ส่วนตกแต่ง หรือลูกบิด จึงต้องใช้บานพับที่เมื่อติดยึดกับบานแล้วส่วนยืนออกมาจากวงกบและผนัง เพื่อเว้นระยะ บานกับผนังให้มากพอ - บานพับสปริง (Spring hinges) ใช้กับบานประตูที่เมื่อเปิดออกแล้วดีดตัวกลับได้เอง เพราะใช้สปริงเป็น ตัวบังคับการเปิดปิด ประตูที่ใช้ควรมีขนาดเบา บานพับมีขนาด 4”- 6” - บานพับแบบปรับมุม (Awning hinge arm) ใช้กับบานประตู หน้าต่าง ชนิดที่ต้องการเปิดค้างไว้ และ ปรับมุมได้ตามต้องการโดยไม่ต้องใช้ขอรับ-ขอสับ ตาแหน่งที่ติดบานพับแบบนี้ใช้ติดมุมล่างและบนของตัวบานและ วงกบ ขนาดของบานพับยาว 8”- 16” แล้วแต่ขนาดและน้าหนักของบานตามคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต - เครื่องปิดประตูอัตโนมัติ (Door closer) บางครั้งเรียก โช๊คอัพประตู ใช้ติดด้านบนตรงมุมประตูด้านที่ ติดบานพับ ระยะและตาแหน่งของการติดตั้งจะระบุมาพร้อมกับอุปกรณ์นี้ และบางรุ่นใช้ฝังในพื้น เครื่องเปิดปิด ประตูอัตโนมัตินี้ใช้สาหรับห้องที่ต้องการปิดประตูตลอดเวลา และลักษณะการใช้ง านเปิด-ปิด ประตูบ่อย เช่น ห้อง ปรับอากาศ ประตูทางเข้า ต่าง ๆ เป็นต้น 3.2 กุญแจประตู (Door lockset) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับจับเพื่อเปิ ด -ปิด ประตู พร้อมทั้งใช้สาหรับล็อคประตู ซึ่งมีรูปแบบหลากหลายชนิดขึ้นอยู่กับการออกแบบนั้น ๆ ยกตัวอย่างเช่น - กุญแจลูกบิดธรรมดา (Knob) นิยมใช้ทั่วไปเนื่องจากใช้ได้สะดวกและออกแบบสวยงาม มีลักษณะเป็น ปุ่มยื่นสาหรับเป็นมือจับ และเปิด-ปิดประตูด้วยการหมุนลูกบิด มีปุ่มสาหรับกดล็อคภายในห้อง ส่วนด้านนอกห้อง มีรูกุญแจสาหรับไขเปิดได้ - กุญแจลูกบิดแบบเขาควาย (Key in lever) เรียกชื่อตามลักษณะของมือจับ มีรูกุญแจด้านนอก และปุ่ม ล็อคด้านในแยกจากมือจับ - กุญแจชนิดฝังในบานเลื่อน (Handle for sliding door) เป็นกุญแจชนิดฝังกับกรอบบานของประตูและ หน้าต่างบานเลื่อน หรือฝังในบานเปิดไปมาได้ทั้ง 2 ทาง หรือบานสวิง - กุญแจฝังในบาน (Mortise lock) เป็นกุญแจที่ฝังอยู่ในตัวบาน บางชนิดใช้กุญแจไขเปิดออกกุญแจชนิดนี้ ส่วนมากใช้กับบานประตูซึ่งไม่สามารถจะใช้กับลูกบิดชนิดธรรมดาได้ - กุญแจลูกบิดแบบมือจับ (Handle grip set door) ด้านนอกมีรูกุญแจและมือจับในลักษณะการใช้นิ้วกด เพื่อเปิดประตู ด้านในมีปุ่มล็อคและลูกบิด


81

ภาพที่ 98 บานพับแบบต่าง ๆ

ภาพที่ 99 กุญแจประตูแบบต่าง ๆ


82 3.3 กลอน (Latch) เป็นอุปกรณ์ ที่ช่ว ยให้เกิดความปลอดภัยมากขึ้นเมื่ อใช้ ควบคุมคู่กับกุญแจ มีหลากขนาด และหลากหลายรูปแบบ เช่น กลอนแบบโซ่ เป็นต้น 3.4 มือจับ (Handle) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับดึงประตู หน้าต่าง เวลาเปิด-ปิด มีลักษณะแตกต่างกันหลายชนิด วัสดุที่ใช้มีทั้งเหล็ก อลูมิเนียม ทองเหลือง พลาสติก หรือเป็นวัสดุชุบโครเมียม เป็น ต้น การเลือกใช้ควรเลือกชนิดที่สามารถจับได้โดยสะดวกและมีรูปแบบที่สอดคล้องกับการออกแบบนั้น ๆ 3.5 ขอรับ-ขอสับ (Door hook) เป็นอุปกรณ์สาหรับยึดบานประตูหน้าต่างให้ คงที่เวลาที่ต้องเปิดค้างไว้ ขอรับ-ขอสับ ที่ใช้โดยทั่วไปมี 2 ชนิด คือแบบขอสับโลหะ และแบบก้ามปูหรือแบบขาสูง 3.6 ปุ่มกันกระทบ (Door stopper) มีลักษณะเป็นปุ่มยาง หรือแม่เหล็ก ติด กับผนังและบานประตูเพื่อป้องกันการกระทบกันระหว่างตัวบานประตูและผนัง

ภาพที่ 100 อุปกรณ์ประกอบประตู


83 5.6.4.2 ประเภทของประตู ประตูมีลักษณะการใช้งานหรือรูปแบบตามผู้ออกแบบนั้น ๆ ซึ่งเมื่อจาแนกประเภทตามลักษณะการเปิด ปิดของประตูได้หลัก ๆ ดังนี้ 1) ประตูบานเปิด (Single Door) มีทั้งประตูบานเปิดเดี่ยว และบานเปิดคู่ สามารถเปิด ออกได้ทั้ง 90 องศา และ 180 องศา ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบจะกาหนด 2) ประตูบานเลื่อน (Sliding Door) มักใช้เมื่อมีพื้นที่ไม่พอสาหรับบานเปิด หรือต้องการ เปิดให้ช่องกว้างกว่าปกติ ซึ่งอาจเป็น บานเลื่อนเดี่ยวหรือคู่ นิยมใช้บานเลื่อนกระจกซึ่งมีกรอบบานและวงกบเป็น อลูมิเนียมหรือไม้ ทั้งนี้บริษัทผู้ผลิตแต่ละบริษัทจะมีชิ้นส่วนอุปกรณ์ประกอบบานเลื่อนเป็นชุด ได้แก่ รางเลื่อน ล้อเลื่อน หูหิ้วราง เดือย รางล่าง ฯลฯ ตามลักษณะและน้าหนักของบานประตูเลื่อน 3) ประตูบานเฟี้ยม (Fold Door) เป็นประตูช่วงเปิดกว้าง เนื่องจากประตูขานไม่กว้าง นักและพับไปมา ทาให้เมื่อเปิดแล้วกินเนื้อที่น้อย อาจเป็นบานทึบ กระจก หรือบานเกล็ดก็ได้ 4) ประตูเปิดสองทาง (Double Acting Door) หรือเรียกว่า ประตูสวิง (Swing Door) ผู้ใช้สามารถเปิดประตูชนิดนี้ได้ด้วยการดันหรือดึงก็ได้ เมื่อเปิดแล้วบานประตูจะดีดตัวกลับโดยอัตโนมัติ ประตูชนิด นี้นิยมใช้ชนิดกรอบบานและวงกบเป็นอลูมิเนียม ลูกฟักกระจก โดยบานพับเป็นเดือยจะฝังอยู่ด้านบนของประตู และผังพื้น

ภาพที่ 101 ประตูบานเปิดและประตูบานเลื่อน


84

ภาพที่ 102 ประตูบานเฟี้ยมและประตูเปิดสองทาง 5.6.4.3 การเขียนแบบขยายรายละเอียดประตู แบบขยายประตูประกอบไปด้วย ผัง รูปด้าน รูปตัด การจัดวางแบบขยายให้ผังของประตูอยู่ตรงกับรูปด้าน และรูปด้านอยู่ระดับเดียวกับรูปตัด โดยมีตารางเพื่อบอกรายละเอียดต่าง ๆ ของประตู ซึ่งมีลาดับการเขียน ดังนี้ 1) เขียนผัง แสดงขนาดความกว้างของบานประตูผ่านเส้นมิติ ขนาดวงกบ รอยบากของ วงกบ และเขียนทิศทางการเปิดของประตู ซึ่งใช้สัญลักษณ์ในการระบุว่าประตูเป็นบานเปิด 90 องศา 180 องศา หรือเป็นประตูบานเลื่อนที่มีการเลื่อนมีระบุทิศทางเลื่อนของประตูนั้น ๆ 2) เขียนรูปด้าน แสดงรายละเอียดเพิ่มเติมของประตู ได้แก่ ขนาดความสูง รูปร่าง และ ลักษณะของบานประตู โดยแสดงให้เห็นถึงลักษณะของกรอบบาน ลูกฟัก วงกบ เป็นต้น 3) เขียนรูปตัด แสดงโครงสร้างของวงกบ กรอบบาน ลูกฟัก วัสดุที่ใช้ ความสัมพันธ์ของ ประตูกับผนัง รวมทั้งการติดตั้ง ทั้งนี้ถ้าผู้ออกแบบต้องการแสดงรายละเอียดการติดตั้งเพิ่ม เติม ควรมีรูปขยาย เฉพาะจุดซึ่งใช้มาตราส่วน 1:10 หรือ 1:5 เพื่อให้เห็นรายละเอียดชัดเจนมากขึ้น และสาหรับประตูสาเร็จรูป เช่น ประตูไม้อัดสาเร็จรูป หรือ บานไม้สาเร็จรูป เมื่อเขียนรูปตัดก็ไม่จาเป็นต้องแสดงรูปตัดของบาน นอกจากจะมี รายละเอียดเฉพาะจุดที่ต้องการขยาย 4) เขียนรายละเอียดวัสดุ แสดงรายละเอียดของประตูผ่านตารางของแบบขยายประตู โดยแสดงสัญลักษณ์หมายเลขประตู, ลักษณะบาน, ขนาดบาน, วงกบ, กรอบบาน, ลูกฟัก, อุปกรณ์บานพับ, ลูกบิด, กุญแจ, กลอน, มือจับ เป็นต้น


85

ภาพที่ 103 ตัวอย่างการเขียนแบบขยายประตู


86

ภาพที่ 104 ตัวอย่างการจัดเรียงหน้ากระดาษของแบบขยายประตู


87 5.6.5 แบบขยายหน้าต่าง หน้าต่างสาหรับอาคารทางสถาปัตยกรรมโดยทั่วไป ผู้ออกแบบมักจะกาหนดให้อยู่ในตาแหน่งที่ลมพัดผ่าน ประจา และเจาะช่องหน้าต่างให้ทิศทางลมพัดและสามารถถ่ายเทอากาศได้อย่างสะดวก 5.6.5.1 ส่วนประกอบของหน้าต่าง 1) วงกบ หมายถึง โครงสร้างของประตู-หน้าต่างที่ยึดติดถาวรอยู่กับผนัง มีลักษณะเป็น กรอบขนาดเท่ากับขนาดของบาน วงกบที่ดีต้องมีความแข็งแรงมากเนื่องจากต้องเป็นตัวรับน้าหนักของประตูหรือ หน้าต่างทั้งบาน และต้องรับแรงกระแทกจากการเปิด -ปิดเป็นประจา อีกทั้งต้องไม่บิดโก่ง ไม่หดหรือขยายตัว เพื่อให้เปิดใช้งานได้สะดวกและตัวบานสามารถปิดได้แนบสนิทกับวงกบ วัสดุที่ใช้ทาวงกบ ได้แก่ ไม้เนื้อแข็ง (ทั่วไป นิยมไม้มะค่า ไม้แดง ขนาดไม่เล็กกว่า 2”x4”) เหล็ก อะลูมิเนียม PVC การเลือกใช้งานขึ้นอยู่กับประเภทวัสดุของ บานประตูหรือหน้าต่าง รูปร่างหน้าตาของอาคารตามที่ต้องการ รวมถึงความต้องการพิเศษอื่น ๆ เช่น กันไฟ กันน้า กันเสียง เป็นต้น 2) กรอบบาน หมายถึง ชิ้นส่วนของประตู-หน้าต่างที่สามารถเปิดปิดได้ โดยใช้บานพับ เป็นตัวยึดระหว่างตัวบานให้เข้ากับวงกบ มีหน้าที่เป็นโครงสร้างรับแรงกระแทกจากการเปิดปิดของบาน ใช้ในการ ติดตั้งลูกฟัก รวมถึงใช้ติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ของประตู เช่น ลูกบิด กลอน สายยู มือจับ มีให้เลือกใช้งานหลายวัสดุ ขึ้นอยู่กับรูปแบบของประตู-หน้าต่าง ที่ต้องการ เช่น ไม้ (ทั่วไปนิยมไม้เนื้อแข็ง ขนาด 1 ¼” x 4”) ไม้สังเคราะห์ เหล็ก พลาสติก อะลูมิเนียม 3) ลูกฟัก หมายถึง ชิ้นส่วนของประตู-หน้าต่าง ที่ใส่อยู่ในบานกรอบ เป็นส่วนที่มีพื้นที่ มากที่สุดจึงเป็นส่วนสาคัญที่จะมีผลต่อรูป ร่างหน้าตาและความทึบโปร่งของบาน มีให้เลือกใช้หลายวัสดุขึ้นอยู่กับ รูปแบบของประตู-หน้าต่างที่ต้องการ เช่น ไม้ ไม้สังเคราะห์ เหล็ก พีวีซี พลาสติก อะลูมิเนียม

ภาพที่ 105 ส่วนประกอบของหน้าต่าง


88 5.6.5.2 ประเภทของหน้าต่าง ประเภทหน้ าต่างมีลั กษณะการใช้งานหรือรูปแบบตามผู้ อ อกแบบนั้น ๆ ซึ่งเมื่อจาแนกประเภทตาม ลักษณะการเปิด - ปิดของหน้าต่างได้ ดังนี้ 1) หน้าต่างบานเปิด (Casement window - Side hung) โดยการใช้งานหน้าต่าง บานเปิดจะเป็นการผลักออกไปด้านข้าง ซึ่งจะแบ่งเป็นบานเปิดเดี่ยว (Casement window) และบานเปิดคู่ (Two panel casement window) โดยหน้าต่างบานเปิดสามารถแบ่งตามอุปกรณ์ประกอบบานได้อีกคือ 1.1 บานเปิดที่ใช้บานพับธรรมดา ติดยึดวงกบกับด้านใดด้านหนึ่งของตัวบาน ซึ่งสามารถเปิดได้กว้างถึง 180 องศา และต้องใช้ขอรับ -ขอสับ ช่วยยึดเมื่อเปิดทิ้งไว้ เพื่อกันลมพัดกระแทกใส่ หน้าต่าง 1.2 บานเปิดที่ใช้บานพับแบบปรับมุม ใช้ติดยึดวงกบบนและวงกบล่างกับกรอบ บานข้างบนและล่างด้านใดด้านหนึ่งของตัวบาน สามารถเปิดกว้างประมาณ 90 องศา โดยไม่ต้องใช้ขอรับ -ขอสับ หน้าต่างที่ใช้บานพับชนิดนี้ได้รับความนิยมเนื่องจากเปิด - ปิดง่ายและสะดวก 2) หน้าต่างบานกระทุ้ง (Casement window - Top hung) เป็นหน้าต่างชนิดที่มี บานพับชนิดปรับมุมติด 2 ด้าน ของตัวบานยึดติดกับด้านบนของวงกบข้าง การเปิดใช้หน้าต่างโดนการผลักหรือดัน ด้านล่างของบานออกไป เมื่อเปิดแล้วตัวบานจะทาหน้าที่เป็นกันสาดได้ด้วยขนาดของบานพับต้องใช้ขนาดใหญ่กว่า บานเปิดด้านข้าง เนื่องจากต้องรับน้าหนักของตัวบาน โดยบริษัทผู้ผลิตจะกาหนดขนาดความสูงของบานกับขนาด ของบานพับปรับมุม 3) หน้ า ต่ า งบานพลิ ก (Pivoted window) เป็ น หน้ า ต่ า งที่ มี เ ดื อ ยเป็ น จุ ด หมุ น อยู่ ระหว่างกลางของวงกบ ซึ่งอาจเป็นด้านข้างหรือด้านบนกับล่างตามลักษณะของบานพลิกแนวตั้งหรือแนวนอน เมื่อ เปิดหน้าต่างบานพลิกแล้ว ตัวบานจะอยู่ภาพนอกอาคารครึ่งหนึ่ง และภายในอาคารครึ่งหนึ่ง ดังนั้นถ้าใช้ในบริเวณ ไม่สูงนัก ตัวบานจะกีดขวางเนื้อที่ใช้สอยในอาคาร จึงไม่นิยมใช้กับอาคารบ้านพักอาศัย วัสดุที่ใช้กับบานชนิดนี้ก็ เช่นเดียวกับบานเปิดและบานกระทุ้ง 4) หน้าต่างบานเกล็ด (Louvre window) หน้าต่างบานเกล็ดกระจกชนิดปรับมุมได้ นิยมใช้กับบ้านพักอาศัยในบริเวณที่ต้องใช้สัญจรไปมา เนื่องจากไม่เปลืองเนื้อที่เมื่อเปิดและเมื่อปรับมุมให้ล าด พอสมควรก็สามารถกันฝนได้ สามารถปรับมุมให้รับลมได้มากน้อยตามต้องการด้วยการหมุนมือจับหรือใช้มือโยก วัสดุยึดเกล็ดกระจกมีทั้งเหล็กและอลูมิเนียม 5) หน้าต่างบานเลื่อน (Sliding window) ปัจจุบันบ้านพักอาศัยที่ใช้ระบบปรับอากาศ นิยมใช้หน้าต่างบานเลื่อนกระจก และเนื่องจากไม่เปลืองเนื้อที่เมื่อเลื่อนประตู 6) หน้าต่างบานเฟี้ยม (Fold window) เป็นหน้าต่างซึ่งใช้วิธีเปิด - ปิด ด้วยการพับไป มา บานพับจะอยู่ด้านข้างของบานหน้าต่างเล็ก ๆ แต่ละบาน เช่นเดียวกับประตูบานเฟี้ยม เมื่อเปิดพับแล้วจะกิน


89 เนื้อที่เท่ากับหน้าต่างบานเล็กเพียง 1 บาน ซึ่งทาให้ช่องเปิดของหน้าต่างกว้างมาก เนื่องจากไม่มีวงกบช่วงกลาง แต่ การเปิด -ปิดทาได้ยากกว่าหน้าต่างบานเปิดธรรมดา นอกจากหน้าต่างประเภทต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วนั้น ยังมีช่องแสงซึ่งอยู่ช่องประตูหน้าต่าง เพื่อให้แสงสว่าง ส่องเข้าในอาคารได้ โดยติดกระจกใสหรือหรือกระจกฝ้าติดตาย แต่ถ้าต้องการให้ช่องแสงนั้นระบายอากาศได้ด้วย ก็ติดกระจกสองแผ่นวางให้เหลื่อมกันเพื่อกันฝน โดยให้กระจกแผ่นบนอยู่ด้านนอกอาคาร และระยะห่างกันมากพอ หรือติดเป็นบานเกล็ดกระจกติดตาย

ภาพที่ 106 ประเภทของหน้าต่าง


90 5.6.5.3 การเขียนรูปขยายรายละเอียดหน้าต่าง แบบแสดงรูปขยายรายละเอียดหน้าต่าง ประกอบด้วยผัง รูปด้าน และรูปตัด และรายละเอียดของหน้าต่าง ดังตัวอย่าง (ภาพที่ 107) โดยมีลาดับขั้นตอนการเขียน ดังนี้ 1) เขียนผังแสดงตาแหน่ง ขนาดความกว้างของกรอบบานหน้าต่าง ขนาดวงกบ และ รอยบากของวงกบ เขียนทิศทางการเปิดของบานหน้าต่างตามลักษณะของบานพับ เขียนมิติบอกขนาดของบาน และระยะรวมซึ่งรวมขนาดของวงกบด้วย 2) รูปด้านให้ตรงกับผัง และแสดงความสูงของวบกบว่าสูงจากระดับพื้นเท่าใด ในแบบ รูปด้านจะแสดงขนาดความกว้างและความสูงของหน้าต่าง รวมทั้งระดับความสูงจากพื้น ถ้ามีช่องแสงหรือช่องลม เหนือหน้าต่างก็ต้องแสดงระยะให้ชัดเจนและแสดงสัญลักษณ์ของวัสดุที่ใช้ 3) รูปตัดให้ระดับตรงกับรูปด้าน ทาให้เห็นชัดเจนขึ้นว่าหน้าต่างอยู่สูงจากระดับพื้น เท่าใด แสดงหน้าตัดของวงกบนอน เป็นต้น 4) จุดที่ต้องการขยายเพิ่มเติม เช่น ขยายลูกกรงหน้าต่าง ขยายการติดตั้งกระจกของ กรอบบานให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น เป็นต้น

ภาพที่ 107 ตัวอย่างการเขียนแบบขยายหน้าต่าง


91

ภาพที่ 108 ตัวอย่างการจัดเรียงหน้ากระดาษของแบบขยายหน้าต่าง


92 5.6.6 แบบขยายบันได บันไดเป็นหนึ่งในองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่สาคัญ เพราะนอกจากบันไดจะใช้เป็นทางสัญจรแนวดิ่ง ที่เชื่อมต่อระหว่างชั้นต่าง ๆ เข้าด้วยกันแล้ว บันไดยังสามารถแสดงออกด้านความงาม และความประทับใจให้แก่ ผู้ใช้งาน (ชวนนท์ โฆษกิจจาเลิศ, 2558) ลักษณะโครงสร้างของบันไดเป็นสิ่งแรกที่ผู้ออกแบบควรคานึงถึง จากนั้น จึงค่อยเลือกรูปทรงของบันไดให้เข้ากับพื้นที่ที่มีอยู่ เช่น บันไดทางตรง บันไดหักฉาก บันไดหักกลับ หรือบันไดเวียน เป็นต้น และเลือกวัสดุปิดผิวต่าง ๆ ให้บันไดมีความสวยงาม นอกจากนั้ น สั ดส่ ว นและความลาดชันของบัน ไดต้ องเหมาะสมที่จ ะก้าวขึ้น -ลงได้ อย่า งสะดวก โดยมี กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เป็นตัวกาหนด มาตรฐานในการออกแบบ 5.6.6.1 ส่วนประกอบของบันได 1) ลูกนอน (Tread) คือ ขั้นบันไดที่เราใช้เหยียบขึ้น -ลง วัสดุที่ใช้ควรรับน้าหนักได้ดี กฎหมายเรื่องบันไดสาหรับบ้านพักอาศัย มีกาหนดไว้ในกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ข้อ 23 และ 24 ซึ่ง กาหนดลูกนอนบันไดของอาคารอยู่อาศัยเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกัน (จมูกบันได) ออกแล้วเหลือความกว้างไม่ น้อยกว่า 22 เซนติเมตร และบันไดของอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคนจานวนมาก เมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกัน ออกแล้วเหลือความกว้างไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร 2) ลูกตั้ ง (Riser) คือ ส่ ว นที่เป็นความสูงของบันไดแต่ล ะขั้ น จานวนลูกตั้งทั้งหมด รวมกันเป็นความสูงของบันได โดยกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) เรื่องบันไดสาหรับบ้านพักอาศัยกาหนดลูก ตั้งสูงไม่เกิน 20 เซนติเมตร และสาหรับอาคารที่ใช้เป็นที่ชุมนุมของคนจานวนมากลูกตั้งสูงไม่เกิน 18 เซนติเมตร 3) แม่บันได (Stringer) คือ ส่วนที่เป็นคานรับน้าหนักบันไดวางในแนวเอียง มุมของแม่ บันไดขึ้นอยู่กับการกาหนดลูกตั้ง และลูกนอนว่าใช้มากน้อยเพียงไร ถ้าเราใช้ลูกตั้งสูงมากขึ้นเท่าไรก็จะได้บันไดชัน มากขึ้นตามส่วน ทั้งจะสัมพันธ์กับลูกนอนซึ่งจะลดจานวนลงไปด้วย การวางแม่บันไดจึงจะกาหนดลูกตั้ง และลูก นอนเสียก่อน แม่บันไดนั้นตามปกติใช้ 2 ตัว แต่อาจออกแบบให้มีตัวเดียวตรงกลาง หรือไม่มีปรากฏให้เห็นเลยก็ได้ 4) พุกบันได (Cleat) คือ ส่วนของบันไดที่ทาหน้าที่เหมือนตงรับถ่ายน้าหนัก จากลูก นอนแต่ละขั้นลงสู่แม่บันได พุกบันไดมีด้วยกันหลายแบบ ซึ่งบางแบบอาจไปใช้พุกโดยฝังปลายลูกนอนไว้กับแม่ บันไดเลยก็ได้ 5) เสาบันได (Post) ทาหน้าที่รับน้าหนักของชานบันได ซึ่งแม่บันไดไปพาดอยู่ หรือ หมายถึงเสาค้ายันตรงปลายล่าง และบนของบันได ซึ่งรับราวบันไดก็ได้ เสาบันไดนี้บางแบบก็ไม่จาเป็นต้องใช้ 6) ราวบั น ได (Handrail) คื อ ส่ ว นที่ ใ บใช้ ส าหรั บ เกาะพยุ ง ตั ว ในการขึ้ น บั น ได จาเป็นต้องมีในช่วงบันไดสูง ๆ อย่างน้อย 1 ข้างใช้เสารับเป็นระยะ หรือจะตรึงติดผนังก็ได้แล้วแต่แบบความสูงของ ราวบันไดวัดตั้งแต่พื้นไม่เกิน 80 เซนติเมตร


93 7) ลูกกรงบันได (Baluster) คือ ส่วนของบันไดที่ทาหน้าที่กันตก ใช้ยึดกับราวบันได ตลอดแนว ลูกกรงบันไดมีรูปแบบและขนาดมากมายแล้วแต่วัสดุที่ได้ออกแบบ 8) ชานพักบันได (Landing) หมายถึง ส่วนที่เชื่อมบันไดหลายช่วง โดยแต่ละช่วงพัก บันได (ชานพัก) ต้องมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบันไดนั้น ๆ 9) จมูกบันได (Nosing) อยู่บริเวณปลายลูกนอน หรือเข้ามุมตามแนวทางกว้างของ ปลายขั้นบันได โดยทั่วไปจมูกบันไดมักจะยื่นออกมาจากแนวลูกตั้งประมาณ 1 นิ้ว โดยมี 2 ลักษณะ คือ ยื่นด้วย วัสดุปิดผิวลูกนอน และทาลูกตั้งให้เอียง ประโยชน์ของการมีจมูกบันไดนอกจากจะให้ความเรี ยบร้อยสวยงามแล้ว ยังช่วยทาให้การเดินขึ้นลงบันไดสะดวกขึ้น ช่วยป้องกันวัสดุปิดผิวลูกนอนไม่ให้บิ่นหรือแตกหักจากการกระแทกใน ยามใช้งาน จมูกบันไดทาได้จากหลายวัสดุตามแต่วัสดุพื้นบันได เช่น กระเบื้อง, ไม้, อลูมิเนียม, UPVC, PVC เป็น ต้น มักจะมีการเซาะร่องตลอดแนว หรือเป็นวัสดุที่มีผิวสัมผัสหยาบเพื่อช่วยในการกันลื่นระหว่างการใช้งานได้

ภาพที่ 109 ส่วนประกอบของบันได 5.6.6.2 โครงสร้างของบันได โดยทั่วไปนั้นแบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ๆ คือ บันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) บันได โครงสร้างไม้ และบันไดโครงสร้างเหล็ก โดยที่บันไดโครงสร้างไม้และบันไดโครงสร้างเหล็กจะมีลักษณะการก่อสร้าง ที่ใกล้เคียงกันจึงขออธิบายรวมอยู่ในหัวข้อเดียวกัน 1) บันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) มักเป็นบันไดทึบ ไม่สามารถมองลอด ลูกตั้งไปได้ การก่อสร้างจะต้องมีการทาไม้แบบและผูกเหล็กเสริม ก่อนที่จะเทคอนกรีต การก่อสร้างจึงใช้เวลามาก บันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) แบ่งเป็น 4 รูปแบบหลัก ๆ คือ - บันไดท้องเรียบ เป็นบันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีท้องบันไดเรียบ เป็นบันไดแบบพื้นฐานที่สร้างง่ายที่สุด ช่างทั่วไปมีความชานาญในการสร้าง


94 - บันไดพับผ้า เป็นบันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีท้องบันไดเป็นหยัก ไปตามขั้นบันได เป็นบันไดที่มีความสวยงามมากกว่าบันไดท้องเรียบ แต่ต้อ งแลกมาด้วยการก่อสร้างที่ยากขึ้น เนื่องจากจะช่างจะต้องตีไม้แบบเป็นหยักที่ท้องบันได - บันไดพับผ้าแบบมีแม่บันได ลักษณะเหมือนบันไดพับผ้า แต่จะมีแม่บันไดทา หน้าที่เป็นคานช่วยรับน้าหนัก ซึ่งอาจจะอยู่กลาง หรือริมบันไดก็ ได้ บันไดพับผ้าแบบมีแม่บันไดสามารถลดความ หนาของลูกตั้งและลูกนอนบันไดให้บางมากขึ้นได้ เนื่องจากมีแม่บันไดรับน้าหนักแล้ว - บันไดลอย เป็นบันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่ยื่นเฉพาะลูกนอนบันได ออกมาจากผนัง โดยมีแม่บันไดคอนกรีตเสริมเหล็กซ่อนอยู่ในผนัง หรือบางทีก็ใช้โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

ภาพที่ 110 รูปแบบบันไดโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) ที่มา: http://www.scgbuildingmaterials.com, 2560


95 2) บันไดโครงสร้างไม้และบันไดโครงสร้างเหล็ก เป็นโครงสร้างบันไดที่ทาจากไม้หรือ เหล็ก สามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบหลัก ๆ ตามลักษณะแม่บันได ดังนี้ - แม่บันไดขนาบข้างขั้นบันได เป็นบันไดที่มีแม่บันไดอยู่ขนาบข้างขั้นบันไดทั้ง สองฝั่ง โดยที่ลูกนอนบันไดยึดติดโดยตรงกับแม่บันได หากเป็นบันไดไม้จะใช้สลักหรือตะปูยึด ส่วนบันไดเหล็กจะใช้ การเชื่อมหรือยึดด้วยสกรู - แม่บันไดอยู่ใต้ขั้นบันได เป็นบันไดที่มีแม่บันไดอยู่ใต้ขั้นบันได โดยที่บันไดจะ มีพุกบันไดทาหน้าที่ยึดลูกนอนที่วางขนานกับพื้น ให้เข้ากับแม่บันไดที่วางเอียง

ภาพที่ 111 รูปแบบบันไดโครงสร้างไม้และบันไดโครงสร้างเหล็ก ที่มา: http://www.scgbuildingmaterials.com, 2560


96 5.6.6.3 รูปแบบของบันได รูปแบบของบันไดแต่ละประเภทควรออกแบบให้สอดคล้องกับพื้นที่นั้น ๆ โดยตามกฎกระทรวง บันไดที่สูง เกิน 3 เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง 3 เมตร เพื่อไม่ให้ความสูงของแต่ละชั้นมากเกินไปในความสะดวกขึ้น -ลง ของผู้ใช้งาน และเพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้งาน โดยมีรูปแบบของบันไดที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ดังนี้ 1) บันไดทางตรง (Staight) 2) บันไดหักฉาก รูปตัว L (L-Shaped stair) 3) บันไดหักกลับ รูปตัว U (U-Shaped stair / Half landing) 4) บันไดสองช่วงแบบไม่มีชานพัก (Winder stair) 5) บันไดเวียน (Spiral staircase) 6) บันไดลิง (Fixed ladder)

ภาพที่ 112 รูปแบบบันได


97 5.6.6.5 การเขียนแบบขยายรายละเอียดบันได แบบขยายรายละเอียดบันไดประกอบด้วยผังและรูปตัด โดยมีรายละเอียดสาคัญของโครงสร้างของบันได ได้อย่างชัดเจน ซึง่ รูปขยายบันไดมีลาดับขั้นตอนการเขียน ดังนี้ 1) รูปขยายบันได ประกอบไปด้วย ผังบันได และรูปตัดตามขวาง โดยเขียนด้วยมาตรา ส่วน 1:20, 1:25, 1:50 หรือ ขึ้นอยู่กับขนาดของบันไดนั้น ๆ และอาจมีจุดขยายที่ต้องการแสดงให้ชัดเจนมากขึ้น เช่น จุดที่แม่บันไดยึดกับพื้น ยึดกับชานพัก ราวกันตก จมูกบันได เป็นต้น ด้วยการใช้มาตราส่วนที่ใหญ่ขึ้น เช่น 1:10 ตามตัวอย่าง (ภาพที่ 113)

ภาพที่ 113 ตัวอย่างผังของแบบขยายรายละเอียดบันได


98

ภาพที่ 114 ตัวอย่างรูปตัด A ของแบบขยายรายละเอียดบันได จากภาพที่ 114 แสดงรูปตัด A มีตัวเลขตามขั้นบันไดให้เห็นว่าเป็นรูปแบบบันไดหักฉาก (รูปตัว L) จากขั้น 1-4 เป็นช่วงแรก และขั้นที่ 5 เป็นชานพักบันได หักกลับไปอีกด้านหนึ่งขั้น 6-16 ซึ่งขั้น 17 เป็นพื้นชั้นบน มีขนาด ลูกนอนบันไดกว้าง 1.20 เมตร ช่องบันไดเป็นผนังทึบทั้ง 2 ข้าง ก่ออิฐมอญครึ่งแผ่นฉาบเรียบ


99

ภาพที่ 115 ตัวอย่างรูปตัด B ของแบบขยายรายละเอียดบันได


100 ในส่วนของแบบขยายบันได ควรมีการขยายรายละเอียดในส่วนอื่น ๆ ของบันได เช่นราวกันตก จมูกบันได ฯลฯ ตามลักษณะของการออกแบบบันไดในแบบนั้น ๆ ระบุขนาดของวัสดุ ระยะในการติดตั้ง

ภาพที่ 116 ตัวอย่างจุดขยายของแบบขยายรายละเอียดบันได 2) การจัดหน้ากระดาษ ในการเขียนแบบขยายบันไดพยายามจัด วางให้ผั งบัน ไดอยู่ ด้านล่างของหน้ากระดาษ และรูปตัดบันไดอยู่ด้านบนให้แนวตรงกับผังบันได เพื่อให้ดูเข้าใจง่ายและสะดวกในการ เขียนแบบ ดังภาพที่ 117


101

ภาพที่ 117 ตัวอย่างการจัดวางหน้ากระดาษของแบบขยายรายละเอียดบันได


102 3) การหาจานวนขั้นของบันได ซึ่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ระบุให้ลูกตั้ง บันไดของอาคารอยู่อาศัย (ไม่รวมถึงอาคารอยู่อาศัยรวม) ไม่เกิน 20 เซนติเมตร (200 มิลลิเมตร) และลูกนอน ไม่ น้ อยกว่า 22 เซนติเมตร ส่ ว นอาคารอื่น ที่ไม่ใช่อาคารอยู่อาศัย ตั้งสู งไม่เกิน 18 เซนติเมตร (180 มิล ลิ เมตร) ลูกนนอนไม่น้อยกว่า 25 เซนติเมตร และต้องมีพื้นหน้าบันไดมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได โดยมีรูปแบบวิธีคิดดังนี้ โดยสมมติให้ ผู้ ออกแบบอาคารพาณิช ย์ซึ่งเป็นสาธารณะ มีลู กตั้งสู งไม่เกิน 18 เซนติเมตร หรือ 180 มิลลิเมตร มีความสูงของชั้นอาคารที่ 3 เมตร หรือ 3,000 มิลลิเมตร และต้องการรูปแบบของบันไดเป็น บันไดหัก ฉาก (รูปตัว L) โดยเป็นบันไดชนิดมีชานพัก 1 ช่วง จานวนขั้นบันได = ความสูงระหว่างชั้น ความสูงของลูกตั้งที่กาหนด = 3,000 มิลลิเมตร 180 มิลลิเมตร = 16.66 ขั้น (ประมาณ 17 ขั้น รวมชานพัก)

ภาพที่ 118 ตัวอย่างแบบบันไดที่ผ่านการคานวณขั้นบันได


103 ตารางที่ 5-1 ระยะขององค์ประกอบบันไดตามกฎหมายควบคุมอาคาร คุณลักษณะขององค์ประกอบ ตามกฎกระทรวงกาหนด ความสูงช่วงบันได (A) ความสูงลูกตั้ง (B) ความกว้างลูกนอน โดยหักส่วนที่ เหลื่อม (C)

อาคารอยู่อาศัย (ไม่รวมถึงอาคารอยู่อาศัยรวม) <= 3.00 เมตร หากเกินต้องมีชานพัก ยกเว้นบันไดโค้ง <= 20 เซนติเมตร >= 22 เซนติเมตร เฉลี่ย >= 22 เซนติเมตร สาหรับบันไดโค้ง เกิน 90 องศา

ความกว้างและความยาวพื้นหน้า บันไดและชานพักบันได (D)

>= ความกว้างบันได

ระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรือชานพัก ถึงส่วนที่ต่าสุดเหนือขึ้นไป (E)

>= 1.90 เมตร

ราวกันตก

ไม่มีข้อกาหนด

จมูกบันได

ไม่มีข้อกาหนด

อาคารอื่น ที่ไม่ใช่อาคารอยู่อาศัย <= 4.00 เมตร หากเกินต้องมีชานพัก ยกเว้นบันไดโค้ง <= 18 เซนติเมตร >= 25 เซนติเมตร เฉลี่ย >= 25 เซนติเมตร สาหรับบันไดโค้ง เกิน 90 องศา >= ความกว้างบันได หากบันไดมีความกว้างสุทธิ > 2 เมตร พื้นหน้าบันไดและชานพักบันไดจะ กว้างเพียง 2 เมตรก็ได้ >= 2.10 เมตร ต้องมีอย่างน้อย 1 ข้าง หากบันไดมี ความกว้างสุทธิเกิน 6 เมตร และมีช่วง บันไดสูงเกิน 1 เมตร ต้องมี 2 ข้าง จมูกบันไดต้องมีวัสดุกันลื่น

ที่มา: คู่มือการใช้กฎหมายอาคารเพื่อการออกแบบ คู่มือกฎหมายใช้บ่อย

ภาพที่ 119 ระยะต่าง ๆ ที่เป็นตัวกาหนดคุณลักษณะบันไดที่ถูกต้องตามกฎหมายควบคุมอาคาร


104 5.6.7 แบบขยายห้องน้า แบบขยายห้องน้า หมายถึง การเขียนแบบขยายห้องน้าให้มีขนาดใหญ่ขึ้นมากกว่าที่แสดงไว้ในแบบผัง แบบที่เขียนจะแสดง ลักษณะของห้องน้า ตาแหน่งระยะการวางสุขภัณฑ์ อุปกรณ์ภายในห้องน้า รูปตัดของห้องน้า เพื่อให้เห็นรายละเอียดที่ชัดเจนมากขึ้น เป็นต้น กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ใน หมวดที่ 4 ข้อ 18 ระบุว่าในการยื่นคาขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ผู้ยื่นคาขอจะต้องแสดงแบบและจานวนห้องน้า นั้นแสดงว่าการเขียนแบบทางสถาปัตยกรรมที่มีห้องน้าเป็นพื้นที่ใช้สอย ต้องเขียนแบบขยายห้องน้า 5.6.7.1 ส่วนประกอบของสุขภัณฑ์ภายในห้องน้า กฎกระทรวง ฉบั บ ที่ 63 พ.ศ. 2551 ได้ ร ะบุ จ านวนห้ อ งน้ าและห้ อ งส้ ว มของอาคาร รวมถึ ง จ านวน ส่วนประกอบต่าง ๆ ของสุขภัณฑ์ในห้องน้า โดยขึ้นอยู่กับ ประเภท ลักษณะการใช้งาน และการออกแบบของ ห้องน้านั้น ๆ โดยเกณฑ์การกาหนดของกฎกระทรวง ต้องมีส่วนประกอบของสุขภัณฑ์พื้นฐานคือ 1) โถส้วม ซึง่ มีทงั้ แบบชนิดนั่งราบ และ ชนิดนั่งยอง โดยมีรูปแบบและอุปกรณ์เพื่อให้ น้าทาความสะอาด 3 รูปแบบ ได้แก่ 1. แบบตักราดแบบ 2. แบบถังพักน้าที่อยู่เหนือโถส้วม และ 3. แบบใช้แรงดัน น้าของท่อ (ฟลัชวาล์ว) 2) อ่างล้างหน้า-มือ ซึง่ มีหลัก ๆ 3 ชนิด ได้แก่ 1. ชนิดแขวนติดผนัง 2. ชนิดมีฐานรับ และ 3. ชนิดผังบนเคาน์เตอร์ โดยห้องน้าและห้องส้วมส่วนมากจะมีส่วนประกอบของสุขภัณฑ์ (ภาพที่ 120)

ภาพที่ 120 ส่วนประกอบของสุขภัณฑ์ห้องน้า


105 5.6.7.2 การเขียนแบบขยายรายละเอียดห้องน้า แบบขยายรายละเอียดห้องน้าประกอบไปด้วย ผังและรูปตัด ใช้มาตราส่วน 1:25 โดยเขียนตามลาดับ ขั้นตอนดังนี้ 1) แผนผั งแสดงขนาดห้ องน้า แสดงขนาด ความหนาของผนัง ตาแหน่งของประตู หน้าต่าง ตัวเลขแสดงแสดงตาแหน่งและรุ่นของสุขภัณฑ์ แสดงตาแหน่งช่องระบายน้าทิ้งที่พื้นของห้องน้า พร้อมทั้ง เขียนทิศทางความลาดเอียงของพื้นไปสู่ช่องระบายน้าทิ้ง (ภาพที่ 121) 2) รูปตัด แสดงโครงสร้างของห้องน้า ตาแหน่งคาน พื้น ระดับความสูงจากพื้นถึงฝ้า ระยะของสุขภัณฑ์ และแสดงระยะความสูงของการติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์ต่าง ๆ ในห้องน้า (ภาพที่ 122) 3) แบบขยายและรายการประกอบแบบสุขภัณฑ์ แสดงแบบขยายส่วนต่าง ๆ ของการ ติดตั้งสุขภัณฑ์ในห้องน้า และตัวเลขแสดงสัญลักษณ์เพื่อระบุชนิด ยี่ห้อ ของสุขภัณฑ์นั้น ๆ รวมไปถึงแบบแสดง ระยะความสูงในการติดตั้งของสุขภัณฑ์ (ภาพที่ 123, 124 และ 125)

ภาพที่ 121 ตัวอย่างแบบผังขยายห้องน้า


106

ภาพที่ 122 ตัวอย่างแบบรูปตัดขยายห้องน้า


107

ภาพที่ 123 รายการประกอบแบบสุขภัณฑ์และความสูงในการติดตั้งสุขภัณฑ์


108

ภาพที่ 124 ตัวอย่างแบบขยายเคาน์เตอร์อ่างล้างหน้า

ภาพที่ 125 ตัวอย่างแบบขยายแผงกั้นห้องน้า


109 5.6.8 แบบขยายแสดงการต่อเนื่องของโครงสร้างอาคารทั่ว ๆ ไป การขยายแสดงการต่อเนื่ องของโครงสร้างอาคาร ตั้งแต่หลังคา ช่องแสง หน้าต่าง ผนัง พื้น ตง คาน หน้าต่าง พื้นชั้นล่าง จนถึงฐานราก หรือเรียกว่า รูปตัดขยายทั่ว ๆ ไป (Typical Section) ดังตัวอย่าง (ภาพที่ 126)

ภาพที่ 126 ตัวอย่างแบบขยายการต่อเนื่องของโครงสร้างอาคาร


110 5.6.9 แบบขยายแสดงจุดที่ต้องการขยายเป็นพิเศษ การขยายแสดงจุดที่ต้องการขยายเป็นพิเศษในแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม เพื่อขยายในส่วนที่ต้องการ ออกแบบให้เกิดความเข้าใจในการก่อสร้างหรือการติดตั้ง ซึ่งแบบสถาปัตยกรรมสามารถเขียนขยายได้หลายจุด หลายตาแหน่งขึ้นอยู่กับรายละเอียดของแบบนั้น ๆ เช่น รายละเอียดการมุงกระเบื้องหลังคา แบบขยายระแนง แบบขยายบัวระเบียง หรือแบบขยายส่วนต่าง ๆ ในหลังคา เป็นต้น

ภาพที่ 127 ตัวอย่างแบบขยายรายละเอียดการมุงหลังคา

ภาพที่ 128 ตัวอย่างแบบขยายราวกันตก


111

ภาพที่ 129 ตัวอย่างแบบขยายหลังคา 1


112

ภาพที่ 130 ตัวอย่างแบบขยายหลังคา 2


113

เอกสารอ้างอิง กฎกระทรวง. กาหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานเกี่ยวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549. เข้าถึงได้จาก http://www.labour.go.th/th/doc/law/safty_hot_2549.pdf [6 กันยายน 2560] ชวนนท์ โฆษกิจจาเลิศ. 2558. ทาความรู้จักกับโครงสร้างบันไดบ้านแบบต่างๆ. เข้าถึงได้จาก http://www.scgbuildingmaterials.com/th/LivingIdea/NewBuild/ [27 ตุลาคม 2560] ฐิติพัฒน์ ประทานทรัพย์. 2554. คู่มือปฏิบัติวิชาชีพ มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง ฉบับปี พ.ศ. 2554. สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์. สถาบันสถาปนิกสยาม. พลัสเพรส: กรุงเทพฯ. พิภพ สุนทรสมัย. 2545. ปฏิบัติการเขียนแบบก่อสร้าง. สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น): กรุงเทพฯ. สมาคมสถาปนิกสยาม. คู่มือการใช้กฎหมายอาคารเพื่อการออกแบบ : คู่มือกฎหมายใช้บ่อย. พลัสเพรส: กรุงเทพฯ. 2556 สุขสม เสนานาญ. 2547. เขียนแบบก่อสร้าง. สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น): กรุงเทพฯ. อินทิรา ศตสุข. 2543. เขียนแบบช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม. สานักพิมพ์สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น): กรุงเทพฯ. National Cad Standard (NCS) Version 4.0. 2007. Sheet Organization. Avaiable from: http://cdvsystems.com/DIA/01%20From%20Client/20100118/DIA%20Standards/USNCS_ Version4.pdf [1 February 2017] UCS, Drafting Conventions, p. UDS-04. 12


114

ภาคผนวก 1. แบบฝึกหัดเสริมทักษะการเขียนและความรู้พื้นฐานในกรเขียนแบบ สัปดาห์ที่ 1 การเขียนรูปทรงเรขาคณิต (Regular Polygons) : (ทักษะการเขียนแบบพื้นฐาน 30%) จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อทักษะความรู้เบื้องต้นในการเขียนแบบ การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ ในการเขียน แบบ การจัดหน้ากระดาษ การเขียนเส้นในงานเขียนแบบ และการเขียนรูปทรงเรขาคณิต คาชี้แจง ให้นักศึกษาใช้อุปกรณ์ในการเขียนแบบ เขียนเส้นแบบต่าง ๆ และรูปทรงเรขาคณิตตามใบงานที่ แจกให้ ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยศึกษา วิธีการเขียนรูปทรงเรขาคณิต ในเอกสารประกอบการสอน (บทที่ 4) และแบ่งช่องของขนาดรูปทรงตามความ เหมาะสม แผ่น A-01


115 สัปดาห์ที่ 2 การเขียนรูปทรงหลายเหลี่ยม (Regular Polygons) / การแปลงมาตราส่วน (Scale) / มิติ (Dimension) : (ทักษะการเขียนแบบพื้นฐาน 30%) จุดประสงค์การเรียนรู้ เสริมทักษะการวัดมาตราส่วน การแสดงขนาดมิติ และการเขียนรูปทรงเรขาคณิต คาชี้แจง ให้นักศึกษาใช้เขียนแบบเขียนทรงรูปหลายเหลี่ยม (Regular Polygons) แบบ Oblique และ Isometric โดยการแปลงมาตราส่วน (Scale) ตามที่กาหนดให้ พร้อมทั้งเขียนมิติ (Dimension) ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 2 แผ่น ดังนี้ - แผ่ น A-02 ให้ เ ขี ย นทรงรู ป หลายเหลี่ ย ม (Regular Polygons) จากภาพแอกโซโนเมตริ ก (Axonometric Projections) แบบ Isometric และ Oblique ตามใบงาน โดยให้ นักศึก ษาก าหนดขนาดของ รูปทรงหลายเหลี่ยมเองตามความเหมาะสมของกระดาษ ใช้น้าหนักเส้นในการแสดงแบบให้ถูกต้อง แผ่น A-02


116 - แผ่น A-03 ให้เขียนทรงรูปหลายเหลี่ยม (Regular Polygons) แบบ Isometric ผ่านการแปลง มาตราส่วน (Scale) ตามที่กาหนด โดยใช้น้าหนักเส้นในการแสดงแบบและขนาดของมิติให้ถูกต้อง แผ่น A-03


117 สัปดาห์ที่ 3 การเขียนภาพฉาย Orthographic Projections และการเขียนรูปทรง Isometric ผ่านการ เขียนวิธีการเข้าไม้แบบต่าง ๆ : (ทักษะการเขียนแบบพื้นฐาน 30%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนรูปทรงสามมิติ และการเขียนทัศนียภาพ คาชี้แจง ให้นักศึกษาใช้อุปกรณ์ในการเขียนแบบ โดยแผ่นที่ 1 เขียนรูปทรงหลายเหลี่ยมผ่านฉายภาพ Orthographic Projections และแผ่นที่ 2 เขียนรูปทรง Isometric ผ่านการเขียนวิธีเข้าไม้แบบต่าง ๆ ตามใบงาน ที่แจกให้ ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 2 แผ่น ดังนี้ - แผ่ น A-04 ให้ เขีย นรู ป ทรงหลายเหลี่ยม (Regular Polygons) จากการศึกษาผ่ านภาพฉาย Orthographic Projections พร้อมทั้งแปลงมาตราส่วนตามที่กาหนด (1:75 และ 1:100) โดยใช้น้าหนักเส้นในการ แสดงแบบ และแสดงขนาดของมิติให้ถูกต้องให้ถูกต้อง แผ่น A-04


118 - แผ่น A-05 ให้ศึกษาและเขียนรูปทรง Isometric ผ่านรูปแบบการเขียนโครงสร้างวิธีเข้าไม้ใน งานก่อสร้างแบบต่าง ๆ ตามที่กาหนดให้ และเขียนแบบโดยนักศึกษาใช้มาตราส่วน (Scale) ตามความเหมาะสม และน้าหนักเส้นในการแสดงแบบและแสดงขนาดของมิติให้ถูกต้อง แผ่น A-05


119 สัปดาห์ที่ 4 รายการประกอบแบบ (Specifications) / สารบัญแบบ (Table of Contents) / สัญลักษณ์การ เขียนแบบ (Symbols) : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ มาตรฐานการเขียนแบบ และตัวอักษรประกอบแบบการเขียนแบบ คาชี้แจง ให้นักศึกษาศึกษาและเขียนรายการประกอบแบบ (Specifications), สารบัญแบบ (Table of Contents) และ สัญลักษณ์การเขียนแบบ (Symbols) ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือ กระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 2 แผ่น ดังนี้ - แผ่น A-06 ให้นักศึกษาเขียนตัวอย่างรายการประกอบแบบ (Specifications) ของอาคารพัก อาศัย 2 ชั้น โดยให้ศึกษาถึงรูปแบบการเขียนและวิธีการเขียนตามมาตรฐานให้ถูกต้อง แผ่น A-06


120 - แผ่น A-07 ให้นักศึกษาเขียนสารบัญแบบ (Table of Contents) ตารางวัสดุของแบบก่อสร้าง อาคารพักอาศัย 2 ชั้น และสัญลักษณ์การเขียนแบบ (Symbols) โดยให้ศึกษาถึงรูปแบบการเขียนและวิธีการเขียน ตามมาตรฐานให้ถูกต้อง แผ่น A-07


121 สัปดาห์ที่ 5 การเขียนแผนผังบริเวณ / แผนที่โครงการ : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาเขียนแผนผังบริเวณ (Layout) ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น โดยใช้มาตราส่วน 1:125 ลง ในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยให้ศึกษาถึงรูปแบบ การเขียนและวิธีการเขียนตามมาตรฐานให้ถูกต้อง แผ่น A-08


122 สัปดาห์ที่ 6 การเขียนผังพื้นชั้นที่ 1 (Floor Plan) : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาเขียนแบบผังพื้นชั้น 1 ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น โดยใช้มาตราส่วน 1:75 ลงในฝั่ง ด้านซ้ายของกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยให้ศึกษาถึง รูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานให้ถูกต้อง แผ่น A-09

(Key Page)


123 สัปดาห์ที่ 7 การเขียนผังพื้นชั้นที่ 2 (Floor Plan) : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาเขียนแบบผังพื้นชั้น 2 ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น โดยใช้มาตราส่วน 1:75 ลงในฝั่ง ด้านขวาของกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยให้ศึกษาถึง รูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานให้ถูกต้อง แผ่น A-09

(Key Page)


124 สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค การเขียนแบบผังพื้น (Floor Plan) โดยเขียนผ่านการแปลงมาตราส่วน (Scale) : (สอบ ปฏิบัติเขียนแบบ 20%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรมและการแปลงมาตราส่วน คาชี้แจง ให้นักศึกษาการเขียนแบบผังพื้นบ้านพักอาศัย 1 ชั้น (Floor Plan) จากตัวอย่างที่แจกให้ โดย เขียนแบบผ่านการแปลงมาตราส่วน (Scale) จากแบบตัวอย่าง มาตราส่วน 1:100 (A4) เป็น มาตราส่วน 1:75 ลง ในกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A3 แนวนอน หรือ มาตราส่วน 1:50 ลงในกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น (โดยต้องแสดงถึงรูปแบบการเขียนของผัง น้าหนักของเส้น มิติ วิธีการแสดงแบบตาม มาตรฐานของการเขียนแบบให้ถูกต้อง และส่งตรงตามเวลาที่กาหนด แผ่น A-XX สอบกลางภาค (Mid – term)

*** ตัวอย่างของแบบทดสอบกลางภาค มีการเปลี่ยนแปลงแบบตามความเหมาะสมทุกภาคการศึกษา


125 สัปดาห์ที่ 9 การเขียนรูปด้าน 1 - 4 (Elevation) : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาและเขียนรูปด้าน 1 - 4 ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น จากใบงานที่แจกให้ โดยใช้มาตรา ส่วน 1:50 ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยแสดงถึง รูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานการเขียนแบบให้ถูกต้อง แผ่น A-10


126 สัปดาห์ที่ 10 การเขียนรูปตัด A (Section) : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาและเขียนรูปตัด A ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น จากใบงานที่แจกให้ โดยใช้มาตราส่วน 1:50 ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยแสดงถึง รูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานการเขียนแบบให้ถูกต้อง แผ่น A-11


127 สัปดาห์ที่ 11 การเขียนรูปตัด B (Section) : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาและเขียนรูปตัด B ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น จากใบงานที่แจกให้ โดยใช้มาตราส่วน 1:50 ลงในฝั่งด้านซ้ายของกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยแสดงถึงรูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานการเขียนแบบให้ถูกต้อง แผ่น A-12

(Key Page)


128 สัปดาห์ที่ 12 การเขียนแบบผังหลังคา (Roof) : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาและเขียนแบบผังหลังคา ของบ้านพักอาศัย 2 ชั้น จากใบงานที่แจกให้ โดยใช้มาตรา ส่วน 1:75 ลงในฝั่งด้านขวาของกระดาษ 100 ปอนด์ (แผ่นเดียวกับรูปตัด B) หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยแสดงถึงรูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานการเขียน แบบให้ถูกต้อง แผ่น A-12

(Key Page)


129 สัปดาห์ที่ 13 การเขียนแบบขยายประตู / แบบขยายหน้าต่าง : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบขยายส่วนประกอบอาคาร คาชี้แจง ให้นักศึกษาและเขียนแบบขยายส่วนประกอบอาคาร แบบขยายประตู และ แบบขยายหน้าต่าง จากตัวอย่างใบงานที่แจกให้ ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่น โดยแสดงถึงรูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานการเขียนแบบให้ถูกต้อง แผ่น A-13


130 สัปดาห์ที่ 14 การเขียนแบบขยายบันได / แบบขยายศาลา : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบขยายทางสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาและเขียนแบบขยายส่วนประกอบอาคาร ได้แก่ แบบขยายบันได, แบบขยายศาล, แบบขยายม้านั่งศาลา จากตัวอย่างใบงานที่แจกให้ ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 1 แผ่นโดยแสดงถึงรูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานการ เขียนแบบให้ถูกต้อง แผ่น A-14


131 สัปดาห์ที่ 15 แบบขยาย (Details) แบบขยายห้องน้า / รายการประกอบแบบสุขภัณฑ์ : (ทักษะการเขียนแบบ สถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบขยายทางสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาและเขียนแบบขยายส่วนประกอบอาคาร ได้แก่ แบบขยายห้องน้า และรายการ ประกอบแบบสุขภัณฑ์ จากตัวอย่างใบงานที่แจกให้ ลงในกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 2 แผ่น โดยแสดงถึงรูปแบบการเขียน น้าหนักของเส้น และวิธีการเขียนตามมาตรฐานการ เขียนแบบให้ถูกต้อง แผ่น A-15


132 แผ่น A-16


133 สัปดาห์ที่ 16 แบบขยายเฉลียง / แบบขยายระเบียงไม้ / แบบขยายสระน้า / แบบขยายระแนงไม้ และ รวมเล่มแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม : (ทักษะการเขียนแบบสถาปัตยกรรม 40%) จุดประสงค์การเรียนรู้ การเขียนแบบขยายทางสถาปัตยกรรม คาชี้แจง ให้นักศึกษาเขียนปกด้วยกระดาษ 100 ปอนด์ หรือกระดาษขาวแบบเรียบ ขนาด A2 แนวนอน จานวน 2 แผ่น ให้นักศึกษาและเขียนแบบขยายส่วนประกอบอาคาร ได้แก่ แบบขยายเฉลียง / แบบขยายระเบียง ไม้ / แบบขยายสระน้า / แบบขยายระแนงไม้ พร้อมทั้งเย็บรวมแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมของบ้านพักอาศัย ค.ส.ล. 2 ชั้น ที่นักศึกษาเขียน A-01 ถึง A-17 ให้เรียบร้อย เพื่อรวบรวมผลการประเมิน พื้นฐานการเขียนแบบ สถาปัตยกรรม (AR 171 Basic Architectural Drawing) (สัดส่วนการประเมิน 40%) แผ่น A-17


134 ปกและรวมแบบก่อสร้าง แผ่น A-01 ถึง A-17


135 2. แบบทดสอบก่อนเรียนผ่าน Application Kahoot! Application Kahoot! ซึ่งเป็นโปรแกรมถามตอบ Online ผ่านโทรศัพท์ Smart Phone ของนักศึกษา เพื่อทดสอบทักษะก่อนเรี ยนของนักศึกษา และการมีส่วนร่วมในห้องเรียนของนักศึกษาเพื่อมุ่งสู่การเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 โดยสามารถเข้าไปทดสอบทักษะได้ที่ https://play.kahoot.it/#/?quizId=48a99874-7ee14389-b3e4-b69572978c72


136 ภาพบรรยากาศการทาแบบทดสอบก่อนเรียนผ่าน Application ของนักศึกษา


137 3. การวัดผลการเรียนและประเมินผลผ่าน Google Sheet การวัดผลการเรียนและประเมินผลผ่าน Google Sheet ในรูปแบบ Online เพื่อสามารถตรวจสอบและ ติดตามผลการประเมินและผลการเรียนของนักศึกษาได้ทุกสัปดาห์ พร้อมทั้งให้สามารถจัดกลุ่มทักษะของนักศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


138 4. เอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ มีการเผยแพร่ในรูปแบบ Hard copy และรูปแบบ Online ผ่าน Website https://issuu.com/ เพื่ อ เผยแพร่ เ นื้ อ หาการเรี ย นการสอนของรายวิ ช า สถ.171 พื้ น ฐานการเขี ย นแบบ สถาปัตยกรรม (Basic Architectural Drawing) พร้อมทั้งให้นักศึกษาได้ศึกษาหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่องและมี ประสิทธิภาพ ทาง https://issuu.com/ditsakul/docs/ar171


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.