36 minute read

Pre-Thesis - Mangrove Forest Conservation Center / Nawin Somkanae@Arsom Silp Institute Of The Art

Advertisement

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center นวิน สมคะเน เตรียมวิทยานิพนธ์ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

สารบัญ

๑. ความเป็นมาของโครงการ

๒. เกณฑ์ในการออกแบบโครงการฯ

๓. วิเคราะห์ที ่ตั้งโครงการ

๔. รายละเอียดโครงการ

๕. กรณีศึกษา

๑.๑ เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ ๓๑.๒ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๓๑.๓ ขอบเขตของการศึกษาโครงการ ๓๑.๔ ประโยชน์ที ่คาดว่าจะได้รับ ๓

๒.๑ ทฤษฎี แนวความคิด และบริบทของโครงการฯ ๔๒.๒ กฎหมายและเทศบัญญัติที ่เกี ่ยวข้อง ๘

๓.๑ การวิเคราะห์ท�ำเลที ่ตั้งของโครงการ ๑๐๓.๒ การวิเคราะห์สถานที ่ตั้งของโครงการ ๑๓

๔.๑ รายละเอียดโครงการด้านการบริหาร ๑๘๔.๒ รายละเอียดโครงการด้านโครงสร้างหน้าที ่ใช้สอย ๑๙๔.๓ รายละเอียดโครงการด้านโครงสร้างองค์กร ๒๐

๕.๑ กรณีศึกษาในประเทศ๕.๑ กรณีศึกษาในประเทศ ๒๒๕.๑ กรณีศึกษาในประเทศ

๒๖

๕.๑ อาคารกรณีศึกษาต่างประเทศ ๕.๑ กรณีศึกษาในประเทศ

Program Area Requirement

๓๒๓๖๓๗

บทน�ำ

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๑.๑ ความเป็นมาของโครงการ

ป่าเป็นพื ้นที ่ส�ำคัญของโลก สามารถจ�ำแนกได้มากมายหลายชนิด และหนึ ่งในป่าที ่เป็นพื ้นที ่ส�ำคัญของโลกคือพื ้นที ่ป่าพรุป่าชายเลน พื ้นที ่ชุ่ม น� ้ำเหล่านี ้เป็นต้นก�ำเนิดของชีวิตหลากหลายชนิด และยังอุดมไปด้วยแร่ ธาตุอาหารที ่จ�ำเป็นต่อการด�ำรงค์ชีวิตทั้ง ต้นไม้ และสัตว์ป่า เป็นระบบ นิเวศที ่มีความส�ำคัญเกี ่ยวข้องกับมนุษยชาติอย่างมาก เช่น ภายใต้ผืนดิน ของพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำเป็นแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์(CO2)มากถึง 10% ของจ�ำนวนทั้งหมดบนโลก, ป่าชายเลนเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น� ้ำที ส�ำคัญ, เป็นป่าที ่ช่วยต้านแรงลมพายุที ่จะพัดเข้าสู ่พื ้นที ่ชายฝั่งได้, ป่าพรุ แหล่งทรัพยากรทางน� ้ำจืดที ่สามารถบริโภคได้ และเป็นพื ้นที ่ซับน� ้ำเพื ่อ ป้องกันน� ้ำท่วม เป็นต้น

เกาะสมุยมีขนาดพื ้นที ่ประมาณ 252 ตารางกิโลเมตร อุดมไปด้วย ทรัพยากรธรรมชาติที ่สมบูรณ์ และเสน่ห์ที ่ส�ำคัญของเกาะสมุยคือ ภูเขาและ ทะเลที ่สวยงามซึ ่งเป็นหัวใจหลักที ่ดึงดูดนักท่องเที ่ยวให้เข้ามา ปัจจุบันการ ท่องเที ่ยวคือธุระกิจหลักของเกาะสมุยและแม้ว่าสภาพเศรษฐกิจทางการ ท่องเที ่ยวบนเกาะสมุยจะมีมูลค่าเพิ่มขึ ้นทุกๆปี แต่ในขณะเดียวกับ ทรัพยากรทางธรรมชาติก็ค่อยๆลดลงเรื ่อยๆ จากการบุกรุกพื ้นที ่ทาง ธรรมชาติเพื ่อสร้างที ่พักอาศัย โรงแรม และพื ้นที ่ทางการเกษตร ทางให้ สภาพป่าไม้บนเกาะสมุยโดยเฉพาะป่าต้นน� ้ำบนภูเขาก็เริ่มถูกรุกล� ้ำและ ท�ำลายทั้งจากทางตรงคือการถางดินตัดไม้เพื ่อก่อสร้างท�ำสวน และทาง อ้อมคือการใช้สารเคมีทางการเกษตร ล้วนส่งผลต่อระบบนิเวศของทั้งสิ ้น รวมไปถึงพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำที ่ถูกลดบทบาทความส�ำคัญลงจากในอดีต จากที ่เคย เป็นแหล่งกักเก็บน� ้ำ เป็นป่าที ่สามารถใช้สอยประโยชน์ได้ทั้งแหล่งอาหาร จากสัตว์ป่าขนาดเล็ก และต้นไม้ที ่ใช้ในการก่อสร้าง หรือท�ำฟืน ในปัจจุบัน ป่าเริ่มมีความส�ำคัญต่อวิถีชีวิตของคนน้อยลง ผู้คนไม่สามารถเชื ่อมโยงวิถี ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมได้ ซึ ่งท�ำให้เกิดผลลัพธ์เชิงลบขึ ้นมากมาย เช่น การ บุกรุกพื ้นที ่ป่าพรุเพื ่อก่อสร้างที ่พักอาศัย ท�ำให้แหล่งพื ้นที ่ซับน� ้ำลดน้อยลง เมื ่อเกิดฝนตกหนักจึงเกิดเป็นพื ้นที ่น� ้ำท่วมขังมากมายจากสิ่งปลูกสร้างที ขวางทางน� ้ำ หรือการท�ำเกษตรเคมีบนเขาท�ำให้สภาพดินเสียหายอย่าง มาก ผืนดินไม่สามารถกักเก็บน� ้ำได้ดีเท่าที ่ควร จึงท�ำให้เกิดความแห้งแล้ง และป่าต้นน� ้ำเริ่มเสียสมดุลท�ำให้ที ่ราบลุ่มด้านล่างเกิดความเสียหายตามไป ด้วย เป็นต้น นอกจากนี ้ยังส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ สัตว์ และต้นไม้อีก มากมาย หากระบบนิเวศเกิดการเสียสมดุล เช่น หากศูนย์เสียพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำ

ซึ ่งเป็นแหล่งอาศัยและแหล่งอาหารทางธรรมชาติหลักของนก ทั้งนกที ่ อพยบ และนกในท้องถิ่น ก็จะท�ำให้นกย้ายไปหาแหล่งอาหารใหม่ เกิด ปรากฎการณ์ประชากรของสัตว์และแมลงที ่เป็นแหล่งอาหารของนก มี จ�ำนวนมากเกินควร ซึ ่งแมลงหรือสัตว์บางส่วนเหล่านี เป็นศัตรูทาง ธรรมชาติของพืชและต้นไม้ ก็จะท�ำให้ต้นไม้ลดลงไปเรื ่อยๆจนหมดและ หากไม่มีการจัดการ แมลงก็จะขยายพันธ์ ุเพิ่มขึ ้นเรื ่อยๆ ท�ำให้ระบบนิเวศ ถูกท�ำลายไปในที ่สุด ดังค�ำกล่าวที ่ว่า “ไม่มีสัตว์ก็ไม่มีป่า ไม่มีป่าก็ไม่มีน� ้ำ ธรรมชาติสูญสิ ้น ชีวิตก็ดับสูญ” สิ่งเหล่านี ้ล้วนมีคามเชื ่อมโยงกันทั้งสิ ้น

“พรุป่าโหลง”เป็นแหล่งพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำป่าชายเลยแหล่งสุดท้าย ที สมบูรณ์ของเกาะสมุย ซึ ่งเคยมีโครงการอนุรักษ์และฟื ้นฟูพื ้นที ่นี ้อยู ่ในอดีต แสดงให้เห็นว่าครั้งหนึ ่งผู้คนเคยมองว่าพื ้นที ่นี ้มีความส�ำคัญ แต่ท้ายที ่สุดก็ ถูกทิ ้งร้าง ปัจจุบันค่านิยมในสังคมเริ่มให้ส�ำคัญกับความยั่งยืนทางธรรมชาติ และพื ้นที ่สีเขียวมากขึ ้น นี ้จึงเป็นโอกาสที ่จะพลิกฟื ้นพื ้นที ่ทรงคุณค่าที ่ควร แก่การอนุรักษ์แห่งนี ้ขึ ้นมาอีกครั้งดังนั้นการออกแบบศูนย์ศึกษาและ อนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง จึงเป็นโครงการที ่จะช่วยส่งเสริมในการสร้าง จิตส�ำนึกรักษ์ผืนแผ่นดิน ห่วงแหนในทรัพยากรทางธรรมชาติ และจะช่วย ส่งเสริมการการอนุรักษ์และเพิ่มพื ้นที ่ทางธรรมชาติ ไม่เพียงแค่บริเวณพรุ ป่าโหลงแต่จะเป็นตัวจุดประกายสะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญของ ป่าต้นน� ้ำ ชายหาด ทะเล และพื ้นที ่ทางธรรมชาติอื ่นๆบนเกาะสมุย เพื ่อพัฒนาสู ่การ เป็นเมืองท่องเที ่ยวอย่างยั่งยืน

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

ภูเขาป่าต้นน� ้ำ

พรุบางรักษ์ ป่าพรุขนาดใหญ่ที ่ถูกบุกรุกจากการขยายตัวของ เมือง

พรุกระจูด เป็นพื ้นที ่เก็บน� ้ำบริโภค

ป่าพรุข้างท่าเรือราชา

พรุเฉวง พื ้นที ่เก็บน� ้ำขนาดใหญ่และส�ำคัญของเกาะสมุย

พรุป่าโหลง พื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำที ่สมบูรณ์ผืนสุดท้ายของเกาะ

พรุหน้าเมือง พื ้นที ่ราบตรงกลางกลายเป็นสนามกีฬาประจ�ำอ�ำเภอแต่ะยัง เหลือผืนป่าล้อมรอบ

* พรุ หมายถึง พื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำ พื ้นที ่ที ่มีน� ้ำขัง

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๑.๑ เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ ๑.๑.๑ สร้างจิตส�ำนึกรักและหวงแหนธรรมชาติ เพื ่ออนุรักษ์ไว้ซึ ่งทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่าบนเกาะสมุย ๑.๑.๒ ชี ้ให้เห็นความส�ำคัญของสิ่งแวดล้อมเพื ่อพัฒนาการท่องเที ่ยวเชิงเวศ และน�ำไปสู ่เมืองแห่งการท่องเที ่ยวอย่างยั่งยืน

๑.๒ วัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.๒.๑ เป็นพื ้นที ่สร้างประสบการณ์และการเรียนรู้อย่างใกล้ชิดธรรมชาติ ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า ๑.๒.๒ อนุรักษณ์และฟื ้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในพื ้นที ่พรุป่าโหลง ๑.๒.๓ เป็นโครงการที ่ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติย่างคุ้มค่า และท�ำลายสิ่งแวดล้อมให้น้อยที ่สุด ๑.๒.๔ เพื ่อเป็นพื ้นที ่พักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ ให้กับนักท่องเที ่ยวและคนในชุมชน ๑.๒.๔ เชื ่อมโยงวิถีชีวิตของคนเข้ากับสิ่งแวดล้อม

๑.๓ ขอบเขตของการศึกษาโครงการ

๑.๓.๑ ศึกษาและรวบรวมข้อมูล - ศึกษากระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา - ศึกษาเรื ่องระบบนิเวศพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำ - ศึกษาเรื ่องสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติบนเกาะสมุย - ศึกษากฏหมายและข้อบัญญัติที ่เกี ่ยวข้องกับการออกแบบ - ศึกความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อมกับวีถีชีวิตของมนุษย์ - ศึกษาระบบการจัดการโครงการเพื ่อเป็นโครงการยั่งยืน(Self-management) - ศึกษาแนวทางของสถาปัตยกรรมยั่งยืน เพื ่อน�ำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ

๑.๓.๒ วิเคราะห์ข้อมูลเพื ่อการออกแบบ - วิเคราะห์ศักยภาพ ความเหมาะสมของที ่ตั้งอาคาร จุดเด่นและจุดด้อย การเข้าถึง และลักษณะทางกายภาพโดยรอบ เป็นต้น - วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของพื ้นที ่ใช้สอยกับกลุ่มผู้ใช้งาน - วิเคราะห์ผลกระทบของโครงการต่อ เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม - วิเคราะห์แนวคิดในการจัดการพื ้นที ่ใช้สอย และการจัดการระบบบริหารอาคาร เพื ่อน�ำไปใช้ในการออกแบบ

๑.๔ ประโยชน์ที ่คาดว่าจะได้รับ

๑.๔.๑ ประโยชน์ของการท�ำโครงการ - สร้างจิตส�ำนึกรักสิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชน ผู้คนในท้องถิ่น และนักท่องเที ่ยว เพื ่อต่อยอดไปสู ่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน - กระจายรายได้เข้าสู ่ท้องถิ่น และส่งเสริมการท่องเที ่ยวเชิงอนุรักษ์

๑.๔.๒ ประโยชน์ของการท�ำวิทยานิพพนธ์ - ได้ศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรม ที ่อยู ่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน - ได้เรียนรู้และท�ำความเข้าใจถึงความส�ำคัญของระบบนิเวศทางธรรมชาติบนเกาะสมุย - ศึกษาระบบการจัดการเพื ่อการสร้างความยั่งยืนของโครงการ(Self-management) - ฝึกฝนการวิเคราะห์ และค้นคว้าข้อมูล เพื ่อน�ำใช้ในการออกแบบให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด - เชื ่อมโยงวิถีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ท�ำให้เห็นความส�ำคัญและคุณค่าของสิ่งแวดล้อมมากขึ ้น

๒.๑ ทฤษฎี แนวความคิด และบริบทของโครงการฯ

๒.๑.๑ ระบบนิเวศพื ้นที ่ชุมน� ้ำบนเกาะสมุย

พื ้นที ่ชุ่มน� ้ำคืออะไร ค�ำจ�ำกัดความตามอนุสัญญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) หรืออนุสัญญาว่าด้วยพื ้นที ่ชุ่มน� ้ำ กล่าวว่า “พื ้นที ่ชุ่มน� ้ำ” (Wetlands) หมายถึง ที ่ลุ่ม ที ่ราบลุ่ม ที ่ชื ้นแฉะ พรุ แหล่งน� ้ำ ทั้งที ่เกิดขึ ้นเองตามธรรมชาติและที ่มนุษย์สร้าง ขึ ้น ทั้งที ่มีน� ้ำขัง หรือ น� ้ำท่วมอยู ่ถาวรและชั่วครั้งชั่วคราวทั้งที ่เป็นแหล่งน� ้ำนิ่งและน� ้ำ ไหล ทั้งที ่เป็นน� ้ำจืด น� ้ำกร่อย และน� ้ำเค็ม รวมไปถึงชายฝั่งทะเลและที ่ในทะเลในบริเวณ ซึ ่งเมื ่อน� ้ำลดลงต� ่ำสุด มีความลึกของระดับน� ้ำไม่เกิน 6 เมตร” ซึ ่งในประเทศไทยนั้นจะ สามารถพบพื ้นที ่ลักาณะนี ้ได้มากทางภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ของประเทศ หรือ แม้แต่บนเกาะสมุยด้วยเช่นกัน

เกาะสมุยเป็นเกาะที ่มีลักษณ์เหมือนจานคว้า มีภูเขาขนาดใหญ่ตรงกลางซึ ่ง เป็นพื ้นที ่ป่าต้นน� ้ำ และจะล�ำธารไหลบ่ากระจายออกไปทุกทิศรอบเกาะ ดังนั้นเราจะ สามารถพบเห็นทั้งน� ้ำตก และล�ำธารได้รอบเกาะ หลังจากนั้นมวลน� ้ำเหล่านี ้จะไหลไป รวมกับ ณ ที ่ราบลุ่มด้านล่าง กระทั้งนานวันเข้าเมื ่อน� ้ำไหลบ่ามายังพื ้นที ่บริเวณที ่ราบ ลุ่มเหล่านี ้มากๆ จึงเกิดเป็นแอ่งน� ้ำขึ ้นมา และกลายเป็นพื ้นที ่เก็บน� ้ำขนาดใหญ่ขึ ้น ซึ ่ง เรียกว่าพรุ ซึ ่งสามารถพบพื ้นที ่ลักษณะเช่นนี ้ได้รอบเกาะ เหตุที ่น� ้ำถูกขังไว้ไม่ได้ไหล ลงสู ่ทะเลโดยตรง นั้นก็เพราะสภาพภูมิศาสตร์และภูมิประเทศของเกาะสมุยนั้นถูกราย ล้อมไปด้วยทะเล สามารถเกิดลมพัดเข้ามาได้จากรอบทิศทาง ท�ำให้เกิดเป็นสันทรายที ทับถมกันจนนานวันเกิดจึงเกิดเป็นผืนดินดอนใกล้แนวชายหาด นั้นจึงท�ำให้พื ้นที ่ตรง กลางนั้นเกิดเป็นแอ่งกักเก็บน� ้ำขึ ้นมา ก่อนที ่น� ้ำจะไหลลงสู ่ทะเลและระเหยกลายเป็นฝน ตกลงมาเป็นวัฏจักร ซึ ่งเกาะสมุยนั้นมีโอกาสพิเศษที ่สามารถมีฝนตกลงมาได้ตลอดทั้ง ปีซึ ่งเกิดจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ที ่ท�ำให้เกิด ความอุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศอย่างมาก

พรุกระจูด

พรุข้างท่าเรือราชา

พรุป่าโหลง

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๒. เกณฑ์ในการออกแบบโครงการฯ

พรุบางรักษ์

พรุเฉวง

สภาพภูมิศาสตร์

พรุหน้าเมือง

สูง - ต�่ำ ลุ่มน� ้ำ - ล�ำธาร(เส้นทางน� ้ำ)

ภูเขาที �ราบลุ ่ม ดินดอน ชายหาด ทะเล

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

พรุป่าโหลง

ที

่ตั้ง

: ชุมชนท้องตโนด บ้านพังกา ต.ตลิ่งงาม อ.เกาะสมุย

ขนาดพื

้นที

: 62 - 2 - 34 (100,136 ตารางเมตร)

พื ้นที ่พรุป่าโหลงเป็นพื ้นที ่ป่าชายเลน เป็นพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำที ่อุดมสมบูรณ์ผืน สุดท้ายของเกาะสมุย มีลักษณะตั้งอยู ่ในพื ้นที ่อ่าวพังกา มีล�ำคองเชื ่อมต่อพื ้นที ่ภายใน พรุกับทะเล ท�ำให้น� ้ำทะเลสามารถเข้าถึงพื ้นที ่ได้ เกิดเป็นพื ้นที ่ที ่มีความหลากหลาย ทางนิเวศวิทยา เป็นพื ้นที ่อนุบาลสัตว์น� ้ำ อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อผู้คนในชุม สามารถ ที ่จะมาหาอาหารในพื ้นที ่ได้ด้วยเช่นกันเนื ่องจากเป็นพื ้นที ่สาธารณะประโยชน์ จึงเห็นว่าพื ้นที ่ มีความส�ำคัญทั้ง ทางด้านสิ่งแวดล้อมและทางวัฒนธรรม

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๒.๑.๒ สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื ่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

สิ่งแวดล้อมศึกษา คือ “กระบวนการที ่มุ่งสร้างให้ประชากรโลกมีความส�ำนึก และห่วงใยปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งปัญหาที ่เกี ่ยวข้องอื ่นๆ และมีความรู้ ทัศนคติ ความตั้งใจจริง และความมุ่งมั่นที ่จะหาทางแก้ปัญหาที ่เผชิญอยู ่ และป้องกันปัญหาใหม่ ทั้งด้วยตนเองและด้วยความร่วมมือกับผู้อื ่น” หรือกล่าวได้อีกอย่างคือ เป็นกระบวนการ ส�ำคัญที ่ท�ำให้ผู้คนได้ตระหนักถึงคุณค่าและรักษาความหลากหลายทางชีวะภาพอย่าง เป็นรูปธรรม

การพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ การพัฒนาโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี ประสิทธิภาพและชาญฉลาดไม่ท�ำลายฐานการผลิต ท�ำให้ทรัพนากรธรรมชาติสามารถ สร้างตัวเองขึ ้นมาได้ใหม่ ซึ ่งสามารถกล่าวได้ว่าการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาที ควบคู ่ไปกับการอนุรักษ์

“สิ่งแวดล้อมศึกษาจึงเป็นหนึ่งในกุญแจซึ่งน�ำไปสู ่การพัฒนาอย่างยั ่งยืน”

กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา คือการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอนของสิ่ง แวดล้อมศึกษา โดยรูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรมสามารถจ�ำแนกได้ 3 รูปแบบ คือ

“กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา” มีองค์ประกอบส�ำคัญอยู ่ 5 ประการ ได้แก่

1) การรับรู้ปัญหา(Awaraness) กระบวนการช่วยให้รับรู้ปัญหาและพิจารณา วิเคราะห์อย่างรอบด้านในการ เกิดปัญหาและผลกระทบแนวกว้างและแนวดิ่ง

2) ความรู้(Knowladge) การบวนการช่วยให้ได้เรียนรู้และเข้าใจพื ้นฐารของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม การเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและ แนวทางแก้ไข

3) ทัศนคติ(Attitude) การบวนการช่วยให้มีค่านิยม ห่วงใย ตั้งใจจริง และมุ่งมั่น ที ่จะมีส่วนร่วมใน การรักษาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

4) ทักษะ(Skill) กระบวนการช่วยให้เกิดทักษะที ่จ�ำเป็นในการชี ้ปัญหา และด�ำเนินการตรวจ สอบรวมทั้งร่วมกันหาหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้น

5) การมีส่วนร่วม(Participation) กระบวนการช่วยให้มีประสบการณ์ในการน�ำความรู้และทักษะที ่ได้ มาใช้ใน การด�ำเนินการหาทางแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ

ทัศนคติ (Attitude)

การรับรู้ปัญหา (Awaraness)

กระบวนการ สิ่งแวดล้อมศึกษา “Environmental Education Proocess

การมีส่วนร่วม (Participation)

ความรู้ (Knowledge)

ทักษะ (Skill)

การเรียนรู ้ในสิ่งแวดล้อม (to learn in Environment)

คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในสิ่งแวดล้อม

การเรียนรู ้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม (to learn about Environment)

คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เนื ้อหาสิ่งแวดล้อมผ่านกิจกรรมที หลากหลาย

การเรียนรู ้เพื่อสิ่งแวดล้อม (to learn for Environment)

คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที ่มุ่งเน้นการลงมือปฏิบัติและการมี ส่วนร่วมในการปกป้องและพัฒนาสิ่งแวดล้อม

อ้างอิงจาก : FEED(Founation for Environmental Education for Sustainable Development (Thailand))

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

โดยในแต่ละช่วงวัยจะมีทักษะในการเรียนรู้ที ่แตกต่าง ดังนั้นในการออกแบบพื ้นที ศึกษาเรียนรู้ของโครงการ จะต้องมีความเหมาะสมต่อ ผู้เข้ามาเรียนรู้ทุกช่วงวัย โดย กลุ่มเป้าหมายหลักของโครงการคือเยาวชน เพื ่อที ่จะปลูกฝังและสามารถที ่นะความรู้ พร้อมด้วยจิตส�ำนึกรักสิ่งแวดล้อม ไปต่อยอดเพื ่อพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน

สามารถน�ำชุดความรู้ดังกล่าวไปใช้ประกอบการเป็นเงื ่อนไขของการท�ำโปรแกรมได้ ดังนี

1. พื ้นที ่เรียนรู้ที ่ใกล้ชิดสิ่งแวดล้อม ทั้งต้นไม้ และสัตว์ป่า 2. พื ้นที ่ที ่เกิดมุมมองในการสังเกตสิ่งแวดล้อม 3. พื ้นที ่ท�ำกิจกรรมแบบกลุ่มเพื ่อการเรียนรู้ร่วมกัน 4. พื ้นที ่จัดแสดงข้อมูลและน�ำเสนอความรู้เกี ่ยวกับสิ่งแวดล้อมในพื ้นที

ประเภท

นักเรียน (เด็ก-เยาวชน)

ช่วงวัย จุดประสงค์าการเรียนรู้ แนวทางการเรียนรู้

3 - 6 สร้างประสบการณ์และภาพจ�ำ ศึกษาธรรมชาติในแง่มุมศิลปะ , สังเกตชีวิตของสัตว์6 - 99 - 12

12 - 18

เรียนรู้พื ้นฐานของระบบนิเวศ

เรียนรู้พื ้นฐานของระบบนิเวศ และความ สัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

เรียนรู้องค์ประกอบทางนิเวศวิทยาของพื ้นที และความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การฝึกจ�ำแนกสิ่งมีชีวิต กลุ่มพันธ์ ุไม้ นก สัตว์หน้าดินฯ

จ�ำแนกโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต และเรียนรู้การปรับ ตัวของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

วิเคราะห์ความหลากหลายทางชีวิภาพในพื ้นที เน้นการเรียนรู้แบบองค์รวมเกี ่ยวกับความสัมพันธ์ ของสิ่งต่างๆในระบบนิเวศ

นักท่องเที ่ยว/ บุคคลทั่วไป

~

เรียนรู้สิ่งแวดล้อมระดับพื ้นฐาน และเชื ่อม โยงวีถีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

เน้นเรียนรู้ในภาพรวมของระบบนิเวศ ผ่าน กิจกรรมการเดินศึกษาธรรมชาติ และกิจกรรม บ�ำเพ็ญประโยชน์

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๒.๒ กฎหมายและเทศบัญญัติที ่เกี ่ยวข้อง

กฏกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะสมุย จังหวัดสุราษฏ์ธานี พ.ศ.๒๕๔๙

“ ข้อ ๑๕ ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่ าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที ่ดินเพื ่อการสงวนและ คุ้มครองดูแลรักษา หรือบํารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน� ้ำลําธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื ่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรี และกฎหมายที ่เกี ่ยวกับป่าไม้ การสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า และการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ที ่ดินประเภทนี ้ซึ ่งเอกชนเป็น เจ้าของหรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ ที ่ดินเพื ่อเกษตรกรรม หรือเกี ่ยวข้องกับเกษตรกรรม การท่องเที ่ยว สาธารณประโยชน์ หรือการอยู ่อาศัย เท่านั้น ” โดยสรุปมีข้อก�ำหนดที ่เกี ่ยวข้องกับโครงการดังนี 1. ที ่ดินเพื ่อกิจการใด ๆ ให้ดําเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที ่มี

พื ้นที ่ทั้งหมด รวมกันไม่เกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงไม้เกิน ๑๒ เมตร 2. เว้นที ่ว่างตามแนวริมฝั่งแหล่งน� ้ำสาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร เว้นแต่

เพื ่อการคมนาคมหรือสาธารณูปโภค

“ ข้อ ๑๓ ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที ่ดินเพื ่อ เกษตรกรรมหรือเกี ่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู ่อาศัย การท่องเที ่ยว สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ สําหรับการใช้ประโยชน์ที ่ดินเพื ่อ กิจการอื ่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี ่สิบของที ่ดินประเภทนี ้ในแต่ละบริเวณ ” โดยสรุปมีข้อก�ำหนดที ่เกี ่ยวข้องกับโครงการดังนี 1. ที ่ดินเพื ่อกิจการใด ๆ ให้ดําเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที ่มี

พื ้นที ่ทั้งหมด

รวมกันไม่เกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงไม่ เกิน ๑๒ เมตร 2. ที ่ดินเพื ่อการอยู ่อาศัย ให้มีที ่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละสี ่สิบของแปลงที ่ดิน 3. ให้มีที ่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของแปลงที ่ดิน 4. เว้นที ่ว่างตามแนวริมฝั่งแหล่งน� ้ำสาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร เว้นแต่

เพื ่อการคมนาคมหรือสาธารณูปโภค

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๗

(ก�ำหนดเขตพื ้นที่และมาตรการควบคุมสิ่งแวดล้อม ในบริเวณ อ�ำเภอ เกาะสมุย และอ�ำเภอเกาะพงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี )

กําหนดให้มีการฟื ้นฟูและบํารุงรักษาพื ้นที ่ป่าพรุและป่าชายเลน ให้ฟื ้นคืนสู ่ธรรมชาติ โดยเร็ว เพื ่อเป็นที ่อยู ่อาศัยของสัตว์น้ ํา เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ธรรมชาติ ทั้งนี ้ให้ สอดคล้องกับแผนการจัดการป่าชายเลนและพื ้นที ่ชุ่มน้ ําของประเทศตามมติของคณะ รัฐมนตร โดยสรุปมีข้อก�ำหนดที ่เกี ่ยวข้องกับโครงการดังนี 1. ที ่มีความลาดชันเกินกว่า ร้อยละ ๕๐ ขึ ้นไปห้ามก่อสร้างดัดแปลงอาคารใด ๆ

กฏกระทรวง ฉบับ 55

อาคารศูนย์ศึกษาธรรมชาติถูกจัดให้อยู ่ในหมวดหมู ่อาคารประเภท “อาคารสาธารณะ” เนื ่องจากเป็นอาคารที ่ใช้เพื ่อกิจการทางสังคม ที ่อยู ่ในความดูแลของหน่วย เทศบาล นครเกาะสมุย ซึ ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐ

โดยสรุปมีข้อก�ำหนดที ่เกี ่ยวข้องกับโครงการดังนี 1. ช่องทางเดินภายในอาคารต้องกว้างไม่น้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร 2. ข้อก�ำหนดเรื ่องบันได 3. ข้อก�ำหนดเรื ่องทางเดินเชื ่อมระหว่างอาคาร 4. ที ่ว่างภายนอกอาคารในพื ้นที ่โครงการจะต้องมีที ่ว่างไม่น้อยกว่า ๑๐ ใน

๑๐๐ ส่วน ของพื ้นที ่ชั้นใดชั้นหนึ ่งที ่มากที ่สุดของอาคาร 5. ข้อก�ำหนดระยะห่างระหว่างอาคาร

กฏกระทรวง ฉบับ 7

กฏกระทรวงฉบับนี ้ว่าด้วยเรื ่องการจัดการที ่จอดรถ ซึ ่งโครงการมีส่วนพื ้นที ่ของ ส�ำนักงานจึงเข้าข่ายพื ้นที ่ที ่จะต้องมีพื ้นที ่จอดรถของโครงการ

โดยสรุปมีข้อก�ำหนดที ่เกี ่ยวข้องกับโครงการดังนี 1. สํานักงานให้มีที ่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คันต่อพื ้นที ่ 120 ตารางเมตรเศษของ

120 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 120 ตารางเมตร 2. ที ่จอดรถยนต์ต้องจัดให้อยู ่ภายในบริเวณของอาคารนั้น ถ้าอยู ่ภายนอกอาคารต้องมี

ทางไปสู ่อาคารนั้นไม่เกิน 200 เมตร 3. ทางเข้าออกของรถยนต์ต้องกว้างไม่น้อยกว่า 6 เมตร ในกรณีที ่จัดให้รถยนต์วิ่งได้

ทางเดียว ทางเข้าและทางออกต้องกว่างไม่น้อยกว่า 3.50 เมตร

กฏกระทรวง ฉบับ 39

กฏกระทรวงฉบับนี ้ว่าด้วยเรื ่อง ระบบป้องกันอัคคีภัย, ข้อก�ำหนดเกี ่ยวกับห้องน� ้ำ, ระบบการจัดการแสงสว่างและระบบระบายอากาศ และระบบพลังงานไฟฟ้าส�ำรอง ฉุกเฉิน

โดยสรุปมีข้อก�ำหนดที ่เกี ่ยวข้องกับโครงการดังนี 1. ต้องติดตั้งเครื ่องดับเพลิงแบบมือถืออย่างใดอย่างหนึ ่ง ต่อพื ้นที ่อาคารไม่เกิน1,000

ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน 45 เมตร แต่ไม่น้อยกว่าชั้นละ 1 เครื ่อง 2. อาคารที ่มีพื ้นที ่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตาราง เมตรต้องมีระบบ

สัญญาณเตือนเพลิงไหม้ทุกชั้นด้วย 3. อาคารที ่บุคคลอาจเข้าอยู ่หรือเข้าใช้สอยได้ ต้องมีห้องน้ ําและห้องส้วมไม่น้อยกว่า

จํานวนที ่กําหนดไว้ในตารางที ่ 2 ท้ายกฎกระทรวง 4. ระบบการระบายอากาศในอาคารจะจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติหรือ

โดยวิธีกลก็ได้

๓.๑ การวิเคราะห์ท�ำเลที ่ตั้งของโครงการ

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๓. การวิเคราะห์ที ่ตั้งโครงการ

พื ้นที ่โครงการตั้งอยู ่บนเกาะสมุย ซึ ่งอยู ่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ในเชิงเศรษฐกิจ แล้วเกาะสมุยเป็นเมืองท่องเที ่ยวที ่ส�ำคัญ โดยมีทรัพยากรธรรมชาติเป็นต้นทุน นอกจากนั้น ด้วยท�ำเลและลักษณะกายภาพของเกาะ ท�ำให้พื ้นที ่นี ้มีความส�ำคัญต่อ ระบบนิเวศในระดับโลกอีก นั้นคือการตั้งอยู ่ในพื ้นที ่เส้น ทางอพยบของนก

้้

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

ความส�ำคัญเชิงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโครงการ

ที ่ตั้งของประเทศไทยเป็นเส้นทางผ่านของนกที ่อพยบมาจากทางตอนเหนือ โลกในฤดูหนาวของเพื ่อลงมาหาอาหารทางตอนใต้ ซึ ่งประเทศไทยเป็นหนึ ่งในพื ้นที พักอาศัยของนกอพยบที ่ส�ำคัญของพื ้นที ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะพื ้นที ่ใน โซนภาคกลางตอนใต้และตอนใต้ของประเทศไทย มีสภาพแวดล้อมที ่เหมาะสมอยู ่มาก เนื ่องด้วยสภาวะภูมิประเทศที ่เป็นเขตร้อนชื ่นและมีฝนตก ที ่ให้เกิดพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำซึ ่งเป็น แหล่งอาหารส�ำคัญของนกเหล่านี

ในอดีตเกาะสมุยเป็นอีกหนึ ่งแหล่งอาหารที ่ส�ำคัญของนกที ่อพยบเหล่านี เนื ่องจากมีสภาพแวดล้อมที ่สมบูรณ์ มีพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำกระจายอยู ่รอบเกาะ แต่ด้วยการ เติบโตของเมืองในปัจจุบันที ่ให้พื ้นที ่เหล่านี ้ศูนย์หายไปมาท�ำให้แหล่งอาหารของนก ลดน้อยลง นกอพยบก็เริ่มไปหาแหล่งอาหารที ่ใหม่ เช่น เกาะแตน ที ่ยังอุดมไปด้วยป่า ไม้ ป่าชายเลนที ่สมบูรณ์ หรือพื ้นที ่ฝั่งแผนดินใหญ่ก็ตาม ท�ำให้คนรุ่นหลังไม่ได้เห็น หรือสัมผัสกับธรรมชาติเช่นนี ้อีก สิ่งเหล่านี ้เป็นตัวสะท้อนให้เห็นถึงความเสื ่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติบนเกาะสมุยได้อย่างชัดเจน

โครงการนี ้เป็นโครงการที ่จะช่วยพลิกฟื ้นที ่พื ้นที ่ทางธรรมชาติให้กลับมามี คุณค่าอีกครั้งหนึ ่ง เพื ่อให้เกาะสมุยมีทรัพยากรทางธรรมชาติที ่เป็นแหล่งอาหารของ สัตว์ป่า ต้นทุนทางการท่องเที ่ยวเพื ่อพัฒนาไปสู ่การท่องเที ่ยวอย่างยั่งยืน

แผนที่แสดงเส้นทางการอพยบของนกน� ้ำในเอเชนตะวันออกเฉียงใต้

แผนที่แสดงเส้นทางการอพยบของนกน� ้ำในเอเชนตะวันออกเฉียงใต้

แหล่งที่ส�ำรวจพบ นกอพยบกลุ่มนกน� ้ำ

แหล่งที่ส�ำรวจพบ นกอพยบกลุ่มนกชายเลน

๑๑

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

ที ่ตั้งของพื ้นที ่พรุป่าโหลง ตั้งอยู ่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะสมุย ซึ ่งในโซน พื ้นที ่น่ามีพื ้นที ่ธรรมชาติอยู ่มาก และยังไม่มีการขยายตัวเป็นแหล่งท่องเที ่ยวขนาด ใหญ่เหมือนทางฝั่งตะวันออก เหตุที ่การท่องเที ่ยวส่วนมากและเมืองไปขยายตัวอยู ่ที ฝั่งตะวันออกเป็นเพราะสภาพภูมิประเทศของเกาะและสภาพอากาศ นอกจากจะมี ที ่ราบเป็นบริเวณกว้างแล้ว ฝั่งทิศตะวันออกนั้นจะมีกระแสมแรงจากทะเลอ่าวไทย และมีวิวทิวทัศมองออกไปนอกทะเลไม่มีสิ ้นสุด ต่างกับฝั่งตะวันตก ที ่ลมจะไม่แรงเท่า และสามารถมองเห็นแผ่นดินใหญ่ได้ ในอดีตคนส่วนมากจึงตั้งรกรากทางฝั่งตะวันตก

ดังนั้นในอนาคตหากเกิดการขยายตัวของเมือง โครงการศูนย์ศึกษา ธรรมชาติอาจจะเป็นแรงผลักดันให้ผู้คนสามารถอนุรักษ์ความสมบูรณ์ของพื ้นที ่สีเขียว เหล่านี ้ไว้ได้ และด้วยท�ำเลที ่ตั้งของโครงการ ยังเห็นโอกาสในอนาคตที ่จะสามารถ เชื ่อมต่อพื ้นที ่เรียนรู้กับศูนย์ศึกษาธรรมชาติบนเกาะแตนได้อีกด้วย

ปริมาณความหนาแน่นมาก - น้อย

แผนผังแสดงความหนาแน่นของเมือง

สามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ บนเกาะแตนได้

กราฟแสดงสถิติจ�ำนวนครัวเรือนต่อปี

เกาะแตนนอกจากจะมีธรรมชาติที ่สมบูรณ์แล้ว ยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ถึง 4 เส้นทาง สามารถเห็นความแตกต่างของสภาพภูมิประเทศ และความเป็นอยู ่ชาว เกาะแตน รวมถึงระบบนิเวศที ่หลากหลายทั้ง ภูเขา ป่า ชายหาด และป่าชายเลน เป็น สถานที ่ท่องเที ่ยวเชิงนิเวศที ่น่าสนใจ

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๓.๒ การวิเคราะห์สถานที ่ตั้งของโครงการ

พื ้นที ่พรุ่ป่าโหลงตั้งอยู ่ในเขตชุมชน ย่านบริเวณแหลมหินคมหรือที ่ชาวบ้าน เรียกกันว่าชุมชนท้องตะโนด ซึ ่งการเข้ามาโครงการจะต้องเป็นการจงใจเดินทางมา เนื ่องจากต�ำแหน่งที ่ตั้ง ไม่ได้อยู ่ในย่านสัญจรหลัก แต่ตั้งอยู ่ในถนนรองเมืองทางใต้ หรือที ่ชาวบ้านเรียกว่าถนนเส้นตลิ่งงาม และยังต้องเดินทางเข้าซอยมาอีกประมาณ 1 กิโลเมตร ระหว่างเส้นทางจะพบกับป่าขนาบ 2 ข้างทางและเงียบสงบ มีบ้านและชุมชน ขนาดเล็กตั้งอยู ่ใกล้พื ้นที ่ป่าพรุ และในบริเวณใกล้ชายฝั่งจะพบกับที ่พักรีสอร์ทตั้งอยู

เมื ่อพินิจพิเคราะห์จากสภาพเดิมของพื ้นที ่ป่าพรุแล้ว เห็นว่าการตั้งโครงการ หรือการก่อสร้างในพื ้นที ่นั้น เป็นไปได้ยากมากที ่จะก่อสร้างโทยไม่ตัดต้นไม้ ซึ ่งการ ก่อสร้างโดยคงสภาพแวดล้อมเดิมไว้ เป็นหนึ ่งในวัตถุประสงค์ของโครงการเพื ่อที ่จะ เป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและท�ำลายธรรมชาติให้น้อยที ่สุด ดังนั้นจึงต้องท�ำการ ส�ำรวจและวิเคราะห์พื ้นที ่ว่างโดยรอบที ่มีศักยภาพในการเป็นสถานที ่ตั้งของโครงการ โดยมีเงื ่อนไขในการเลือกดังนี 1. ขนาดพื ้นที ่ไม่ต� ่ำกว่า 5,000 ตารางเมตร 2. ระยะทางจากพื ้นที ่พรุป่าโหลงจะต้องไม่เกิน 1,000 เมตร 3. ยานพาหนะสามารถเข้าถึงได้ 4. สามารถมองเห็นพรุป่าโหลงได้

ซอยวัดคีรีมาส

ถนน ตลิ่งงาม

ถนน ตลิ่งงาม

จากการส�ำรวจพบว่ามีพื ้นที ่ที ่เข้าข่ายมีศักยภาพที ่จะเป็นที ่ตั้งของโครงการ อยู ่ 3 พื ้นที ่ ซึ ่งแต่ละพื ้นที ่มีจุดเด่น-จุดด้อยที ่แตกต่างกัน

ต�ำแหน่งที ่ว่าง

ท่าเรือเก่า

๑๓

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

พื ้นที ่บนยอดเขา

พื ้นที ่บนยอดเขามีทัศนะวิสัยที ่ดีมาก สามารถมองเห็นพื ้นที ่พรุป่าโหลงและ สภาพแวดล้อมในมุมสูงได้เกือบทั้งหมด แต่ต้องแลกมาด้วยระยะทางในการเข้าถึง พื ้นที ่ป่าที ่ไกลถึง 700 เมตร

ขนาด

: ~ 13,000 ตารางเมตร

ระยะห่างจากพรุป่าโหลง

: ~ 920 เมตร(ตามเส้นทางถนน)

กรรมสิทธิ์

: ที

่ดินเอกชน

การเข้าถึง : เป็นต�ำแหน่งที ่ตั้งอยู ่ไกลที ่สุดจากทั้ง 3 ต�ำแหน่ง โดยจะต้องผ่านเส้นทาง คดเคียวขึ ้นภูเขาขึ ้นมา และผ่านโรงแรมบางส่วน แต่เส้นทางก็ไม่ใช้เส้นทางสัญจรหลัก ของชุมชน ท�ำให้ไม่มีความวุ่นวายจากการสัญจรมากนัก

บริบทข้างเคียง : สามารถมองเห็นวิวได้รอบทิศทาง ท�ำให้สามารถมองเห็นการเชื ่อม โยงของพื ้นที ่ต่างๆได้จากมุมสูงแต่ต�ำแหน่งที ่ตั้งนั้นอยู ่ไกลจากพื ้นที ่ป่า พื ้นที ่นี ้ตั้งอยู ใกล้กับจุด drop off ของโรงแรมใหญ่ทางทิศตะวันออก แม้จะเข้าถึงได้ยาก แต่ก็เป็น พื ้นที ่ที ่มีทัศนียภาพที ่สวยงามมากแห่งหนึ ่งบนเกาะสมุย

ความเป็นไปได้ในอนาคต :

1.สามารถน�ำเสนอโครงการและร่วมมือกับฝ่ายเอกชนซึ ่งมีทุนทรัพย์ สามารถสร้างทางเลือกที ่ได้ประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่าย ทั้งส่งเสริมการท่องเที ่ยว และการ อนุรักษ์ควบคู ่กันไป

2. มีศักยภาพที ่จะเป็น Landmark แห่งใหม่ของเกาะสมุย ด้วยท�ำเลที ่ตั้ง และ ทัศนียภาพสามารถดึงดูดนักท่องเที ่ยว พร้อมสอดแทรกการเรียนรู้ควบคู ่ไปกับการ ท่องเที ่ยว เพื ่อน�ำไปสู ่ทางพัฒนาการท่องเที ่ยวเชิงนิเวศบนเกาะสมุย นอกจากนี ้เมื ่อ สามารถสร้างให้พื ้นที ่เป็นแหล่งท่องเที ่ยวแล้ว ยังช่วยให้ชาวบ้านได้ประโยชน์จากการ เข้ามาของนักท่องเที ่ยวได้อีกด้วย

ที่ตั้งโครงการ โรงแรม / ที่พักเช่าอาศัย พรุป่าโหลง ป่าข้างเคียง

สามารถมองเห็นได้รอบทิศทาง

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

พื ้นราบทางใต้

พื ้นที ่โล่งมีต้นไม้น้อยทางใต้ และยังมีพื ้นที ่ตดิกับทะเลฝั่งตรงข้ามกับพรุ ซึ ่ง สามารถที ่จะเชื ่อมต่อพื ้นที ่ไปยังเกาะแตนจากจุดนี ้ได้อย่างดี แต่ข้อเสียคือพื ้นที ่นี ้มี ระนาบด้านที ่ติดกับป่าน้อย

ขนาด

: ~ 30,000 ตารางเมตร

กรรมสิทธิ์

: ที

่ดินของเอกชน

การเข้าถึง : มีเส้นทางการเข้าถึงคล้ายกับเส้นทางการเข้าถึงโครงการแบบดั้งเดิม ระหว่างทางจะผ่าน โรงแรม รีสอร์ท ท่าเรือ และะร้านอาหาร ซึ ่งตั้งอยู ่ช่วงตอนต้นและ ตอนกลางของซอย ที ่ตั้งของโครงการจะอยู ่สุดเส้นทาง ท�ำให้ไม่มีการรบกวนจากการ สัญจรภายนอก

บริบทข้างเคียง : โครงการตั้งอยู ่บริเวณเชิงเขา ซึ ่งเขาลูกนี ้มีลักษณะเป็นเขาหินปูน และยังมีพื ้นที ่ร่องรอยของการระเบิดเขาหินปูนเพื ่อน�ำหินและดินไปใช้ประโยชน์อยู ่ใน บริเวณใกล้เคียง พื ้นที ่โครงการตั้งอยู ่ติดแนวชายฝั่งทางตอนใต้ สามารถมองเห็นเกาะ แตนแบะสามารถนั่งเรือข้ามไปได้

ความเป็นไปได้ในอนาคต :

1.เนื ่องจากพื ้นที ่โล่งขนาดใหญ่จึงสามารถที ่จะวางผังเพื ่อการปรับเปลี ่ยน พื ้นที ่ ขยายพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำเพิ่มขึ ้นได้ และข้อดีของพื ้นที ่โล่งก็คือ สามารถเปลี ่ยนเป็นพื ้นที ช่ ุมน� ้ำเพื ่อเป็นแหล่งอาหารของนกได้

2.สามารถขยายหรือเชื ่อมโยงเส้นทางการเรียนรู้ จากพื ้นที ่โครงการขยายไป สู ่เกาะแตนได้ เพราะเกาะแตนนั้น ก็มีสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที ่อุดมสมบูรณ์เช่นกัน ทั่งป่า ภูเขา ป่าชายเลย แนวปะการัง

3.ขยายขอบเขตการเรียนรู้นอกเหนือจากพรุป่าโหลง เช่น สามารถเรียนรู้ เรื ่องธรณีวิทยาได้จากทั้งป่าชายเลน พื ้นดินหาดทราย เขาหินปูน วึ ่งในบริเวณนี ้จะพบ ความหลากหลายได้มาก รวมไปถึงการเรียนรู้ระบบนิเวศทางชายฝั่งและทะเลด้วยเช่น กัน

แนวชายหาด

ร่องรอยการขุดเจาะเขาหินปูนโรงแรม

ท่าเรือ

ที่ตั้งโครงการ โรงแรม / ที่พักเช่าอาศัย พรุป่าโหลง ป่าข้างเคียง ชายหาด/เขาหินปูน

เชื ่อมโยงพื ้นที ่ศึกษาธรรมชาติอื ่นๆ

๑๕

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

พื ้นราบทางเหนือ

เป็นพื ้นที ่ที ่อยู ่ในโอบล้อมของพรุ มีด้านติดกับพรุป่าโหลงถึงสองด้าน ท�ำให้มี ความใกล้ชิดกับพื ้นที ่ป่าอย่างมาก แต่พื ้นนี ้อาจจะไม่สามารถเห็นสภาพแวดล้อมของ พื ้นที ่โดยรอบ เพราะเป็นพื ้นทีที ่อยู ่ตรงกลางซึ ่งถูกขนาบ 2 ข้างด้วยที ่พักอาศัยและ รีสอร์ทที ่พักอาศัย

ขนาด

: ~ 14,600 ตารางเมตร กรรมสิทธิ์ : ที ่ดินเอกชน

การเข้าถึง : อยู ่บริเวณทางด้านหน้าของพรุป่าโหลง จะพบกับพื ้นที ่โครงการก่อนที ่จะ เข้าไปในพื ้นที ่ป่า ตั้งอยู ่ติดกับเส้นทางสัญจรใกล้ชุมชน ท�ำให้อาจจะมีเสียงรบกวนบ้าง บางเวลา

บริบทข้างเคียง : โดยรอบโครงการมีทั้ง โรงแรม และที ่พักอาศัยของชาวบ้าน โดยรูป ทรงของพื ้นที ่จะเป็นแนวยาวลึกและถูกห้อมล้อมด้วยป่า ท�ำให้โครงการเป็นหนึ ่งเดียว กับผืนป่า และยังเป็นต�ำแหน่งที ่อยู ่ใกล้กับชุมชน และเข้าถึงได้ง่าย

โรงแรม

ความเป็นไปได้ในอนาคต : 1.พื ้นที ่โครงการจะเป็นส่วนต้อนรับของโครงการ เป็นจุดเชื ่อมต่อระหว่าง

พื ้นที ่ภายนอกและภายในป่า ด้วยเหตุผลจากต�ำแหน่งของที ่ตั้งโครงการ

2.สามารถเชื ่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนในชุมชนได้ เนื ่องจากต�ำแหน่งของ โครงการตั้งอยู ่ใหล้ชุมชนและเส้นทางสัญจรหลักภายในชุมชน สามารถเข้าถึงและมอง เห็นโครงการได้ง่าย

3.สามารถขยายพื ้นที ่ป่าเพื ่อให้ใกล้ชิดกับชุมชนได้มากขึ ้น เนื ่องจากปัจจุบัน ชุมชนและป่าถูกแบ่งพื ้นที ่จากการท�ำเส้นถนน และการสร้างที ่โรงแรม ท�ำให้โดยปกติ ชาวบ้านจะไม่ได้มีความสัมพันธ์กับพื ้นที ่ป่ามากเท่าไหร่นัก

ร่องรอยการขุดเจาะเขาหินปูน

ที่ตั้งโครงการ โรงแรม / ที่พักเช่าอาศัย พรุป่าโหลง ป่าข้างเคียง ชายหาด/เขาหินปูน

พื ้นที ่ถูดโอบล้อมด้วยป่า

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

พื ้นที ่โครงการ : 133,000 พื ้นที ่พรุป่าโหลง : 103,000 ตารางเมตร 77% พื ้นที ่ก่อสร้างอาคาร : 30,000 ตารางเมตร 23%

บทสรุปในการเลือกพื ้นที ่โครงการ มาจากการวิเคราะห์ความเหมาะสมและ โอกาสในการพัฒนาพื ้นที ผลลัพธ์จึงเป็นพื ้นที B ซึ ่งพื ้นที ่ที ่สามารถเชื ่อมโยงสิ่ง แวดล้อมเพื ่อให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ได้ดี พื ้นที ่ไม่ถูกปิดล้อมจนเกิดไป และระยะ ทางไม่ไกลเกินไป สามารถปรับปรุงและพัฒนาพื ้นที ่ให้เหมาะสม ต่อจุดมุ่งหมายของ โครงการได้ และด้วยสภาพพื ้นที ่ติดทะเลยังสามารถ ต่อยอดการเรียนรู้ระบบนิเวศ อื ่นๆทางทะเลได้ สามารถต่อยอดแผนพัฒนาพื ้นที ่เรียนรู้ร่วมกับเกาะแตนได้ อีกทั้งยัง อยู ่ติดกับพื ้นที ่ภูเข้าหินปูนซึ ่งเคยมีการขุดเจาะแล้วในอดีตท�ำให้สามารถเรียนรู้เรื ่อง ธรณีวิทยาได้อีกเช่นกัน ทั้งนี ้โครงการยังคงตั้งอยู ่บนพื ้นฐานของการอนุรักษ์พื ้นที ่พรุ ป่าโหลงเป็นหลัก

๑๗

๔.๑ รายละเอียดโครงการด้านการบริหาร

โครงการนี ้จะเป็นส่วนหนึ ่งของแผนพัฒนาการท่องเที ่ยวอย่างยั่งยืน แผน พัฒนาจังหวัด สุราษฏร์ธานี ระยะ 20 ปี( พ.ศ. 2560 - 2579)

ซึ ่งเป็นข้อก�ำหนดและแนวทาง ในการพัฒนาการท่องเที ่ยวเพื ่อ เพิ่มมูลค่าทางเสรษฐกิจ รวมถึงยังเป็นยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมและจัดการ ทรัพยากรทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ ่งมีความสอดคล้องกับ “ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2557 เรื่อง เรื่อง กําหนดเขตพื ้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณท้องที่ ตําบลตลิ่งงาม ตําบลบ่อผุด ตําบลมะเร็ต ตําบลแม่น้ํา ตําบลหน้าเมือง ตําบล อ่างทอง ตําบลลิปะน้อย อําเภอเกาะสมุย และตําบลเกาะพะงัน ตําบลบ้านใต้ ตําบลเกาะเต่า อําเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี”

โดยโครงสร้างขององค์กรในด้ารการบริหารงานมีรายละเอียดดังนี ้

เจ้าของโครงการเจ้าภาพโครงการ

หน่วยงานที ่เกี ่ยวข้อง

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๔. รายละเอียดโครงการ

องค์การบริหารส่วนจังหวัดเทศบาลนครเกาสมุย

บทบาทหน้าที ่

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

เทศบาลนครเกาสมุย

องค์การบริหารส่วนต�ำบล

ชุมชนท้องตะโนด

องค์กรเอกชน

ผู้จัดการเรื ่องงบประมาน และดูแลภาพรวมของโครงการ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาของจังหวัด

ผู้จัดการด�ำเนินการโครงการ ให้เกิดความเรียบร้อยและเป็นระเบียบ รวมถึงการวางแผน ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพื ้นที ่โครงการและพื ้นที ่โดยรอบ

ผู้ดูแลรับผิดชอบในเขตพื ้นที ่โครงการระดับต�ำบล สามารถเข้าถึงได้อย่างใกล้ชิดชุมชนเพิ่มหา ข้อมูลที ่เป็นประโยชน์ต่อโครงการได้

การดูแลจัดการกันในระดับหมู ่บ้านและชุมชนเป็นส่วนส�ำคัญที ่สุดของโครงการ เพราะเป็นผู้ได้ รับผลกระทบโดยตรง หากชุมชนเข็มแข็งก็จะสามารถสร้างผลลัพธ์ที ่ดีต่อส่วนรวมได้

ผู้สนับสนุนโครงการ

*เดิมทีเคยมีโครงการในการฟื ้นฟูและอนุรักษ์พื ้นที ่พรุมาโหลงมาแล้วในอดีต แต่โครงการไม่ได้ถูกจัดการอย่างต่อเนื ่องและยั่งยืน ท�ำให้เกิดความ เสื ่อมโทรม และถูกทิ ้งร้างไม่ได้รับการดูแลเท่าที ่ควร

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๔.๒ รายละเอียดโครงการด้านโครงสร้างหน้าที ่ใช้สอย

โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ ม่ ุงเน้นเรื ่องการเรียนรู้เป็นโดยอาศัย ธรรมชาติเป็นสื ่อกลางเพื ่อสร้างประสบการณ์ อย่างไรก็ตามโครงการไม่เป็น เพียงพื ้นที ่เรียนรู้อย่างเดียว แต่ยังเป็นพื ้นที ่พักผ่อนและท่องเที ่ยวของผู้คน ได้อีกด้วย โดยพื ้นที ่ของโครงการ สามารถแบ่งเป็นพื ้นที ่ได้ 3 ประเภทหลักๆ ตามแผนผังต่อไปนี

Knowledge

(การเรียนรู้ผ่านการอ่าน ฟัง ดู)General

Unique

ความรู้พื ้นฐานทั่วไปเกี ่ยวกับสิ่งแวดล้อม

ความรู้เฉพาะถิ่น สิ่งแวดล้อมบนเกาะสมุย

สร้างพื ้นที ่การเรียนรู้ ที ่มีความเฉพาะถิ่นสอดแทรกแนวคิด พื ้นฐานทางวัฒนธรรมของคนกับสิ่งแวดล้อมพื ้นที ่ เพื ่อเชื ่อมโยงกับวิถีชีวิต และเป็นการสร้างคุณค่าให้กับสิ่งแวดล้อมภายในโครงการ เพื ่อการอนุรักษ์ และการใช้ทรัพยากรในพื ้นที ่อย่างค้ ุมค่า

PROGRAM

Activity

(การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ)General

Unique

กิจกรรมการเรียนรู้พื ้นฐาน

กิจกรรมการเรียนรู้ที ่สะท้อนวัฒนธรรมเกาะสมุย

พื ้นที ่พักผ่อน

Facility

พื ้นที ่ชมวิว

ส่วนบริหารจัดการโครงการพื ้นที ่ใช้สอยอื ่นๆพื ้นที ่ใช้สอยของโครงการจะต้องมีความสอดคล้อง และส่งเริมการ เรียนรู้แบบองค์รวม โดยมีฐานทักษะก็คือ ทักษะความคิด ทักษะการลงมือ ปฏิบัติ และจิตใจ ซึ ่งเป็นทักษะที ่น�ำไปสู ่เป้าหมายของโครงการ คือการสร้าง จิตส�ำนึกที ่ดีต่อสิ่งแวดล้อมให้กับทุกๆคน

HEAD HEART HAND

๑๙

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๔.๒ รายละเอียดโครงการด้านโครงสร้างองค์กร

โครงสร้างขององค์กรเป็นสิ่งส�ำคัญในการออกแบบโครงการ เพื ่อ เชื ่อมโยงพื ้นที ่การใช้งานกับผู้ใช้งาน

จากตารางจะเห็นได้ว่า กลุ่มผู้ใช้งานแต่ละประเภทจะใช้งานใน พื ้นที ่ที ่เกี ่ยวข้องกับตัวเอง และพื ้นที ่ที ่ได้รับความนิยมส�ำหรับโครงการนี ้มา ที ่สุดก็คือพื ้นที ่ ท�ำกิจกรรม ซึ ่งเป็นพื ้นที ่ที ่ได้ลงมือปฏิบัติและเรียนรู้ไป พร้อมๆกับ เป็หนึ ่งในจุดมุ่งหมายของการมาโครงศูนย์ศึกษาธรรมชาติ และ เป้าหมายของกลุ่มนักท่องเที ่ยวเชิงนิเวศ การที ่ได้ลงมือกระท�ำบางอย่างบน พื ้นที ่จะสร้างประสบการณ์และภาพจ�ำ ซึ ่งเป็นแนวทางการสร้างจตส�ำนึกได้ ดีที ่สุด เพื ่อที ่จะเชื ่อมโยงมนุษย์เข้ากับธรรมชาตินั้นเอง ส่วนพื ้นที ่ที ่ได้รับ ควมนิยมรองลงมาคือ พื ้นที ่พักผ่อน และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก

ปฏิเสธไม่ได้ว่าการใช้งานนั้นไม่จ�ำเป็นจะต้องเป็นการเรียนรู้เสมอ ไปอาจเป็นเพียงการสร้างประสบการและภาพจ�ำผ่านการใช้งานที ่สาธารณะ ประโยชน์ เช่นการพักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ การรับประทานอาหาร ล้วน เป็นการปลูกฝังคุณค่าของพื ้นที ่ลงในความทรงจ�ำของผู้มาใช้งานทั้งสิ ้น

ส่วนพื ้นที ่ส�ำคัญอันดับที ่สามคือพื ้นที ่เรียน ซึ ่งหมายถึงพื ้นที ่ส�ำหรับ การเรียนรู้ผ้านการ ฟัง อ่าน ดู เช่นพื ้นที ่การจัดนิทรรศการ หรือห้องอบรม โดยมีสองเงื ่อนไขหลักๆในการใช้พื ้นที ่นี ้คือ 1)การมาเรียนรู้ผ่านการจัดกระบวนการ 2)การมาเรียนรู้โดยอาสามาด้วยตนเอง ซึ ่งเป็นพื ้นที ่ที ่เฉพาะเจาะจง แต่ยังคงเป็นพื ้นที ่สาธารณะส่งเสริมให้

คนได้เรียนรู้มากที ่สุด

ผู้ใช้งาน

ผู้เชี ่ยวชาญทาง สิ่งแวดล้อม

เจ้าหน้าที ่ภาครัฐ

พนักงาน

ชาวบ้านในชุมชน

นักเรียน

พื ้นที ่เรียน

พื ้นที ่ท�ำกิจกรรมPROGRAM

สิ่งอ�ำนวยความสะดวก และพื ้นที ่พักผ่อน

ส�ำนักงาน

นักท่องเที ่ยว

ใช้งานมาก - ใช้งานน้อย

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๕. กรณีศึกษา

เกณฑ์ในการคัดเลือกกรณีศึกษา

KEYWORD

COMPLETION

Nature / Environmental Leaning Center ศูนย์ศึกษา / การเรียนรู้ ทางธรรมชาติ / พื ้นที ่ชุมน� ้ำ

สร้างมาแล้วไม่เกินระยะเวลา 20 ปี

BUILDING SIZE

(ไม่ก�ำหนด)

BUILDING TYPE

ACTIVITIES

REPUTATION

ศูนย์การเรียนรู้ศึกษาธรรมชาติ หรือ ใกล้เคียง

ให้ข้อมูลทางเกี ่ยวกับระบบนิเวศธรรมชาติ;มีพื ้นที ่แลกเปลี ่ยน ความรู้, โครงการตั้งอยู ่ใกล้กับพื ้นที ่ทางธรรมชาติของจริง

มีชื ่อเสียง และเป็นที ่ยอมรับทางสังคม มีการหมุนเวียนมาใช้งาน อย่างต่อเนื ่อง และมีรางวัลการันตี

แหล่งการเรียนรู้ศึกษาระบบนิเวศทางธรรมชาติ มีชื ่อเรียกแตกต่างกันไป แต่มีจุดมุ่งหมาย และกิจกรรมหลักๆภายในอาคารที ่เป็นไปในทางเดียวกัน อันมีความหมายแฝงคือการปลูก ฝังสร้างจิตส�ำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับผู้คน

๒๑

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

๔.๑ กรณีศึกษาภายในประเทศ

ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินี , สมุทรปราการ

ข้อมูลโครงการ ที ่ตั้ง

: ต.บางปูใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ ขนาดพื ้นที ่โครงการ : 338 ไร่ ( 540,800 sqm.) ขนาดพื ้นที ่ก่อสร้างทั้งหมด : ประมาณ 2,810 sqm. ลักษณะโครงการ : ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ พื ้นที ่ชุมน� ้ำป่าชายเลน

รายละเอียดโครงการ

ตั้งอยู ่ภายในบริเวณกองอ�ำนวยการสถานพักผ่อน (สถานตากอากาศบางปู) กรม พลาธิการทหารบก ด้วยความร่วมมือระหว่างกองทัพบก และ WWF ประเทศไทย สนับสนุนโดย บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ำกัด โดยศูนย์ศึกษาธรรมชาติ กองทัพบก(บางปู)ฯ เป็นศูนย์ศึกษาฯ แรกที ่เริ่มเปิดให้บริการด้านการศึกษาธรรมชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ในปัจจุบันบริหารจัดการโดยมูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษา เพื ่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน(ประเทศไทย) – FEED Thailand

วัตถุประสงค์โครงการ

- โครงการเพื ่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ครบรอบ 72 พรรษา แห่งองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์พระบรมราชินีนาถ - การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลน โดยมีเป้าหมายคือการอนุรักษ์ป่าดั้งเดิม

และเพิ่มพื ้นที ่ป่า (ชายเลน) ใหม่ในพื ้นที ่อ่าวไทยตอนใน

- การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการ ศึกษา ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้แก่นักเรียน และผู้ที ่สนใจทั่วไป โดยเฉพาะ นักเรียนที ่อาศัยอยู ่ ในเขตจังหวัดสมุทรปราการและพื ้นที ่อื ่น ๆ ใกล้เคียง

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

แนวความคิดโครงการ

แนวความคิดในการวางผังของโครงการ

เรียนรู้จากธรรมชาติอย่างใกล้ชิดการเรียนรู้อย่างยั่งยืน

เชื ่อมโยงวิถีชีวิต

ความส�ำเร็จของโครงการ

หลักฐานข้อมูลสนับสนุน

ปัจจัยสู ่ความส�ำเร็จ

เป็นสถานที ่พักผ่อนของคนเมืองและพื ้นที ่ข้างเคียง เนื ่องจากอยู ่ใกล้กรุงเทพ และสามารถเดินทางได้สะดวก

เป็นศูนย์การเรียนรู้ศึกษาป่าชายเลนที ่ส�ำคัญของภาคกลาง และทุกคน สามารถเข้าถึงได้ง่าย

มีหลักสูตรการศึกษาเฉพาะตัว เพื ่อสนับสนุนการเรียนรู้ทางธรรมชาติ

ได้รับการเสนอชื ่อเพื ่อขึ ้นทะเบียนเป็นพื ้นที ่ที ่มีความเหมาะสมในการเข้าร่วม ภาคีความร่วมมือเพื ่อการอนุรักษ์นกน� ้ำอพยพและการใช้ประโยชน์ถิ่นที ่อยู อาศัยอย่างยั่งยืนในเส้นทางอพยพเอเชียตะวันออก –ออสเตรเลีย

มีการเข้ามาศึกษาเรียนรู้ จากทั้งสถาบันการศึกษา และบริษัทเอกชน รวม ถึงราชการ อย่างต่อเนื ่อง

บริหารจัดการโดยมูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื ่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (ประเทศไทย) – FEED Thailand

Program รณรงค์สร้างจิตส�ำนึกให้กับเยาวชนและชุมชน จัดสรรค์พื เน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ใกล้ชิดธรรมชาติ

้นที ่เรียนรู้โดยอิงสภาพแวดล้อมของเดิมเป็นหลัก

Site Planning มีการแบ่งสัดส่วนพื ้นที ่หลายประเภทและชัดเจน

พื ้นที ่โครงการนั้น เดิมทีเป็นพื ้นที ่ป่าชายเลน และมีการท�ำเกษตร ก่อจะถูกเวนคืนที ่ดินให้กับราชการซึ ่งอยู ่ใน ความดูแลของกรมพลาธิการทหารบก โดยโครงการได้เริ่มจัดตั้งขึ ้น เมื ่อปี พ.ศ.2547 โดยความร่วมมือกันของ WWF กับ กรมพลาธิการทหารบก โดยการสนับสนุนจากบริษัทเอกชนหลากหลายหน่วยงาน เพื ่อการฟื ้นฟูและอนุรักษ์ไว้ เพื ่อการเรียนรู้และปลูกสร้างจิตส�ำนึกรักษ์ในสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มจากการส�ำรวจพื ้นที ่ และแบ่งพื ้นที ่ออกเป็น 2 ส่วน คือ

1. พื ้นที ่ป่าเพื ่อการอนุรักษ์ โดยจะสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงพื ้นที ่ เพื ่อไม่ให้เกิดการบุกรุกหรือรบกวนภายใน พื ้นที ่โดยไม่จ�ำเป็น

2. พื ้นที ่ป่าสาธารณะเพื ่อการเรียนรู้ เป็นพื ้นที ่ที ่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าถึงได้โดยสาธารณะ สามารถ มาพักผ่อนหย่อนใจ ซึ ่งสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติทั้งสองพื ้นที ่นั้นก็มีลักษณะคล้ายคลึงกัน

พื ้นที ่ป่าสาธารณะ

ถนนหลัก(ถนน สุขุมวิท)

พื ้นที ่ป่าอนุรักษ์ (พื ้นที ่หลักของโครงการ)

และการเข้าถึงโครงการ สามารถเข้าถึงได้โดยรถ ประจ�ำทางและรถโดยสาร ส่วนตัว

๒๓

อาคารต้อนรับและจัดอบรม ก่อนเข้าโครงการบึงน� ้ำกร่อย

อาคารนิทรรศการ

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

บ่อน� ้ำตื ้น

หอชมนก

เส้นทางเดินชมโครงการหลัก

บ่อน� ้ำระดับกลางบ่อน� ้ำลึก

พื ้นที ่ปลูกขยายพันธ์ไม้กล้าป่าชายเลน

เหตุที ่วางพื ้นที ่นี ้ให้เป็นพื ้นที ่อนุรักษ์ เพราะว่าในพื ้นที ่นั้นประกอบไปด้วย พื ้นที ่ป่า และบึงน� ้ำกร่อย ซึ ่งเป็นพื ้นที ่ส�ำคัญที ่จะท�ำให้เกิดความหลากหลายของระบบ นิเวศ โดยเฉพาะสัตว์หน้าดิน(ปู หอย หนอนฯ) ซึ ่งแต่ละชนิดจะอาศัยอยู ่ในพื ้นที ่ที ่แตก ต่างกัน บึงน� ้ำกร่อยจึงเป็นจุดเชื ่อมต่อที ่ส�ำคัญทางระบบนิเวศ และบึงน� ้ำกร่อยนี ้ยังเป็น แหล่งอาหารและจุดพักที ่ส�ำคัญของนกหลากหลายสายพันธุ์ที ่อพยบจากซีกโลกเหนือ เพื ่อมาหาอาหารยังซีกโลกใต้ จะเห็นได้ว่าพื ้นที ่ของประเทศไทยเป็นจุดกึ ่งกลางพอดี ดังนั้นพื ้นที ่ชุ่มน� ้ำในประเทศไทยจึงเป็นจุกยุทธศาสตร์ที ่ส�ำคัญต่อสิ่งแวดล้อมมาก

จะเห็นว่า การวางผังของโครงการนั้น จะมีการแบ่งแยกพื ้นที ่ของอาคารกับ พื ้นที ่ธรรมชาติออกจกากันอย่างชัดเจน เพื ่อเป็นการไม่ไปรบกวนธรรมชาติจนมาก เกินไป เป็นโครงการที ่สร้างขึ ้นเพื ่ออยู ่ร่วมกับธรรมชาติอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน

พื ้นที ่ใช้สอยของมนุษย์

เส้นทางศึกษาธรรมชาติอาคารส�ำนักงานและการอบรม

สะพานแขวน ศึกษาธรรมชาติ

การสร้างพื ้นที ่ใช้สอยประเภทอาคาร โดยส่วนมากจะอยู ่ภายนอกพื ้นที โครงการที ่เป็นป่า เพื ่อไม่ให้เป็นการรบกวนธรรมชาติ แต่ก็ยังมีการก่อสร้างอาคาร บางส่วนอยู ่ภายใน เช่น หอชมนก หอคอยสะพานแขวน และจุดพักเพื ่อเรียนรู้ส�ำหรับ เส้นทางชมธรรมชาติภายในป่า แต่ก็ยังคงให้สร้างภายใต้ขอบเขตที ่จะไม่รบกวน ธรรมชาติมากจนเกินไป เช่น การยกอาคารสูงเพื ่อให้มีฟุตปริ ้นน้อยที ่สุด โดยเฉลี ่ย แล้วสิ่งปลูกสร้างนี ้ มีไม่ถึง 1 % ของพื ้นที ่โครงการทั้งหมด

ส�ำหรับกิจกรรมก็มีทั้งการ ชมนก การปลูกป่า และเส้นทางธรรมชาติ ซึ ่ง ระหว่างที ่เดินเส้นทางธณรมชาตินี ้ ก็จะได้เรียนรู้ธรรมชาติและสิ่งแวดต่างๆที ่ผู้ บรรยายได้บรรยายไประหว่างเดิน มีทั้งเดินในระดับปกติ เดินบนสะพานแขวนซึ ่งจะ ได้เรียนรู้และสัมผัสกับธรรมชาติในระดับเรือนชั้นยอด หรือในบางโอกาสก็สามารถที จะเดินลงไปลุยโคลน เพื ่อส�ำรวจเรื ่องสัตว์หน้าดินและสิ่งแวดล้อมอื ่นๆได้ จุดสังเกตที น่าสนใจคือ โครงการนี ้จะไม่มีการติดป้ายบอกข้อมูลให้กับผู้ที ่มาศึกษา เพราะต้องการ ที ่จะให้ผู้เรียนรู้ ได้สัมผัสกับธรรมชาติและเรียนรู้ จดจ�ำผ่านประสบการณ์อันใกล้ชิดกับ ธรรมชาติด้วยตนเองให้มากที ่สุด

พื ้นที ่ใช้สอยของสัตว์ป่าและต้นไม้

พื ้นที ่ป่าปลูก

พื ้นที ่ป่าสงวน

ในโครงการนี ้ก็มีพื ้นที ่ซึ ่งถูกจ�ำแนกไว้หลายประเภทเช่นกัน ซึ ่งโซนของป่าแต่ละ ประเภทเกิดจากการวิเคราะห์พื ้นที ่และดุงเอาศักยภาพเดิมของพื ้นที ่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น บริเวณบึงน� ้ำกร่อยใกล้หอชมนก จะเป็นจุดพักและแหล่งอาหารของนกทะเล และนก อพยบ ซึ ่งจะแตกต่างจากพื ้นที ่อื ่นคือ จะไม่มีต้นไม่สูงและเป็นที ่ราบลุ่มมีไม้พ่ ุมต� ่ำ เพื ่อให้ เอื ้อต่อวิถีชีวิตของนก ซึ ่งทางโครงการก็มีการปรับแต่งพื ้นที ่ให้บ่อหรือบึงมีระดับน� ้ำที ่ต่าง กันเพราะนกแต่ละชนิด จะหากินในสภาพแวดล้อมที ่ต่างกัน เช่นนกตัวเล็กไม่สามารถอยู ่ที บริเวณน� ้ำลึกได้เพราะขาสั้น เป็นต้น

นอกจากนี ้ยังมีการแบ่งพื ้นที ่ป่าที ่แตกต่างจากพื ้นที ่ทั่วไปคือ จะมีพื ้นที ่ป่าสงวนซึ ่ง ไม่อนุญาตให้ใครเข้าไป แม้กระทั่งเจ้าหน้าที ่เอง เป็นพื ้นที ่ที ่ปล่อยให้ธรรมชาติจัดการตัว เอง มีเพียงการขุดลอกคลองไว้รอบพื ้นที ่เท่านั้น เพื ่อให้น� ้ำสามารถเข้าถึงได้ และอีกพื ้นที คือป่าปลูกที ่อยู ่ติดกับทะเล ซึ ่งจะเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น� ้ำและเป็นการขยายดินออกไป เพื ่อดูแลและป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งอีกด้วย

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

แนวความคิดในการออกแบบรูปทรง และที่ว่าง สถาปัตยกรรม

บทวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสียโครงการศูนย์ศึกษา ธรรมชาติ มุ่งเน้นที ่รูปแบบของ การเรียนรู้ที ่ใกล้ชิดกับ ธรรมชาติ ดังนั้นจึงให้ความ ส�ำคัญกับพื ้นที ่เรียนรู้ภายนอก อาคารมากกว่าภายใน ท�ำให้ เห็นว่าหน้าตาหรือรูปแบบของ อาคาร หรือสิ่งปลูกสร้างนั้นจึง ไม่มีความโดดเด่นเป็นพิเศษ เป็นการสร้างเพื ่อตอบรับการ ใช้งาน

ในส่วนของเส้น ทางการเรียนรู้ มีการจัดเส้น ทางที ่น่าสนใจและเป็นไปตาม หลักสูตรการเรียนรู้ ซึ ่งท�ำให้มี พื ้นที เส้นทางที ่มีความหลาก หลายและไม่จ�ำเจ พยายามมุ่ง เน้นเอาธรรมชาติเป็นหัวใจ ส�ำคัญหลักของโครงการ และ ลดบทบาทของสิ่งปลูกสร้างให้ น่อยลง

แนวคิดการวางผัง

แนวคิดเรื ่องพื ้นที ่ใช้สอย

แนวคิดเรื ่องรูปทรง ที ่ว่าง และสถาปัตยกรรม

ข้อดี

ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมเดิมไม่เป็นการ รบกวนธรรมชาติ

มีการจัดแบ่งพื ้นที ่ใช้สอยได้เป็นระบบ และเส้น ทางเรียนรู้มีความต่อเนื ่อง ท�ำให้ง่ายต่อการจัด กระบวนการเรียนรู้

จัดการง่าย ราคาถูก เน้นตอบโจทย์การใช้งาน มากกว่าความงาม เพราะเน้นพื ้นที ่ธรรมชาติเป็น หลัก

ข้อเสีย

เกิดข้อจ�ำกัดในการจัดสรรค์พื ้นที ่อย่างอิสระมีการจัดแบ่งพื ้นที ่ใช้สอยได้เป็นระบบ และเส้น ทางเรียนรู้มีความต่อเนื ่อง ท�ำให้ง่ายต่อการจัด กระบวนการเรียนรู้

สถาปัตยกรรมไม่มีบทบาทมากนัก เสียโอกาสใน การท�ำหน้าที ่สร้างความหน้าสนใจให้กับโครงการ

๒๕

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

โครงการป่ าในกรุง , กรุงเทพมหานครฯ

ข้อมูลโครงการ

ที

่ตั้ง

: ถนน สุขาภิบาล 2, แขวง ดอกไม้, เขต

ประเวศ, กรุงเทพมหานคร

ขนาดพื

้นที

่โครงการ

: 12-1-2 ไร่ ( 19,500 sqm.)

ขนาดพื

้นที

่อาคาร

: ประมาณ 1,500 sqm

ลักษณะโครงการ

: ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้เรื

่องการปลูก

ป่าและสถานที

่พักผ่อนของคนเมือง

สร้างเสร็จ

: พ.ศ. 2557

รายละเอียดโครงการ

เป็นการพัฒนาพื ้นที ่สีเขียวในที ่ดินของ ปตท. จ�ำนวน 12 ไร่ 1 งาน 2 ตาราง วา ภายใต้แนวทางการส่งเสริมพื ้นที ่สีเขียวในเขตเมืองของ กลุ่ม ปตท. หรือ “PTT Green in the City” ได้ออกแบบสัดส่วนเป็นพื ้นที ่ป่า 75% พื ้นที ่น� ้ำ 10% พื ้นที ่ใช้งาน 15% ป่าเป็นหลัก มีการออกแบบอาคารที ่กลมกลืนกับสิ่ง แวดล้อมเป็นต้นแบบนวัตกรรมอาคารเขียว เพื ่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้การปลูก ป่าของ ปตท. และการปลูกป่าเชิงนิเวศแบบยั่งยืน ซึ ่งในอนาคตป่านี ้จะเติบโต และสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับพื ้นที เป็นรูปแบบการศึกษาและเรียนรู้ป่า ในเมือง เชื ่อมโยงและสร้างความใกล้ชิดระหว่างคนกับป่า

วัตถุประสงค์โครงการ

- ปลูกป่าเพื ่อเพิ่มพื ้นที ่สีเขียวให้กับคนเมือง - ปลูกป่าเชิงนิเวศแบบยั่งยืนเพื ่อให้เกิดป่าทีใกล้เคียงธรรมชาติดั้งเดิมใน

พื ้นที ่กรุงเทพมหานคร

- เป็นแหล่งเรียนรู้เรื ่องการปลูกป่าตามวิถี ปตท. ซึ ่งเป็นองค์ความรู้ที ่เกิด จากการปลูกป่า 1 ล้านไร่ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 ให้แก่ประชาชน นิสิต นักศึกษา และนักเรียน ที ่สนใจ

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

แนวความคิดโครงการ

แนวความคิดในการวางผังของโครงการ

ป่ากลางเมืองเรียนรู้ท่ามกลางธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ความส�ำเร็จของโครงการ

หลักฐานข้อมูลสนับสนุน

ได้รับความนิยม เป็นสถานที ่พักผ่อนและสัมผัสกับบรรยากาศธรรมชาติของ คนเมือง

เกิดเป็นพื ้นที ่ป่าแห่งใหม่ของเมือง ที ่เกิดขึ ้นจากวิธีการปลูกทั้งสิ ้นอาคารที ่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

รางวัล “Best Public Facility” (PropertyGuru Thailand Property Awards 2018)

ปัจจัยสู ่ความส�ำเร็จ

2016 ASLA PROFESSIONAL AWARDSLEED Platinum Certified

Programเป็นโครงการที ่สะท้อนสภาพมรดกทางสิ่งแวดล้อมของพื ้นที ่เนื ้อหาโครงการน่าสนใจ สามารถเข้าถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ได้

Site Planning วางผังได้น่าสนใจ มีรูปแบบที ่แปลกใหม่ การวางตัวของอาคารมี ความสอดคล้องกับสภาพบริบทที ่จัดวางขึ ้น

Architect ตัวสถาปัตยกรรมมีความน่าสนใจ สามารถดึงดูดให้คนเข้ามาได้สถาปัตยกรรมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที ่สร้างขึ ้นอย่างลงตัว

Save Energy Building เป็นอาคารที ่เลือกใช้แนวคิดของความยั่งยืนมาใช้ในการออกแบบ เป็นหลัก

วัสดุที ่ปล่อยมลพิษน้อย

จากพื ้นที ่รกร้างกว่า 12 ไร่ บนถนนสุขาภิบาล 2 เขตประเวศ ถูกพลิกฟื ้นขึ ้นโดยจัดสรรสัดส่วนที ่ดิน 75% เป็นพื ้นที ปลูกป่านิเวศที ่สมบูรณ์ พื ้นที ่แหล่งน� ้ำ 10% และพื ้นที ่อาคารเพื ่อการเรียนรู้ 15% ซึ ่งจะเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื ่อให้ชาวกรุงได้ ตระหนักและร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืนตลอดไป พื ้นที ่กว่า 9 ไร่ ปลูกป่าในลักษณะ “ป่านิเวศ” หมาายถึง ป่าที ่มนุษย์สร้างขึ ้นเพื ่อให้มีสภาพใกล้เคียงสภาพป่าธรรมชาติ

ถนน สุขภิบาล 2

สร้างแนวป่า เพื ่อซ่อนอาคารอาคารจัดแสดงหลัก

Sky Walkหอชมป่า

การจัดวางอาคารให้ถูกห้อมล้อมด้วยป่า เป็นการวางผังเพื ่อซ่อนอาคารไว้ ให้ไม่ สามารถเห็นได้จากด้านนอก ลักษณะอาคารถู กัดวาง ล้อไปกับ Landscape ท�ำให้มีทิศทางที กลมกลืนไปกับธรรมชาติ แต่กลับสร้างความ โดดเด่นด้วยหอชมวิวที ่ตั้งอยู ่ท่ามกลางป่าเป็น ตระหง่าน ท�ำหน้าที ่เป็นจุดโฟกัสของโครงการ

โครงการตั้งอยู ่บนถนน สุขาภิบาล 2 สามารถเดินทางมาได้โดย รถไฟฟ้าแล้วต่อ ด้วยรถโดยสารประจ�ำทางหรือจักรยานยนตร์ รับจ้าง หรือสามารถเดินทางได้โดนรถโดยสาร ส่วนตัว เช่นกัน สามารถเดินทางมาง่าย ใกล้ เมืองใหญ่ท�ำให้ได้รับความนิยมส�ำหรับการพัก ผ่อนในวันหยุดอย่างมาก

๒๗

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

แนวความคิดเรื่องพื้นที่ใช้สอยของโครงการ

ภายในโครงการมีการแบ่งสัดส่วน ไว้อย่างชัดเจนเพื ่อให้เหมาะสม ส�ำหรับ การเรียนรู้ โดยนอกจากจะให้ความส�ำคัญกับพื ้นี ่ป่าแล้ว ยังให้ความส�ำคัญกับเรื ่องของ สถาปัตยกรรมอย่างมาก เพราะเราไม่สามารถแยกสิ่งก่อสร้างออกจากสภาพแวดล้อม ได้ ข้อได้เปรียบของโครงการคือการสร้างป่าปลูก ท�ำให้สามารถที ่จะจัดสรรค์พื ้นที ใช้สอยได้อย่างอิสระ และเป็นไปตามความเหมาะสมของสภาพพื ้นที ่ แต่ยังคงแนวคิด เรื ่องการเรียนรู้เป็นหลักเช่นเดียวกับศูนย์การเรียนรู้ทางธรรมชาติในหลายๆแห่ง คือ

1) เข้ามาพบกับพื ้นที ่จัดแสดงนิทรรศการที ่ให้ความรู้ เพื ่อให้ผู้ชม ได้ใช้เวลาท�ำความเข้าใจบริบทของโครงการ

2) เริ่มเดินชมตามเส้นทางเข้าสู ่พื ้นที ่ธรรมชาติ เพื ่อความใกล้ชิด และสร้างความเข้าใจมากยิ่งขึ ้น

3) จุดหมายปลายทาง ณ ที ่นี ้คือพื ้นที ่ชมป่าซึ ่งเป็นFocus point ที สวยงามของโครงการนั้นเอง

ใช้พื ้นที ่อย่างคุ้มค่า นอกจากจะจัดวางผังได้ดีแล้ว ยังสร้างพื ้นที ่ใช้สอยได้ อย่างเต็มที ่เช่น การสร้าง Graden Roof ซึ ่งจะท�ำให้ผู้เรียนรู้หรือผู้เข้าชม ได้มุมมองใน อีกระดับหนึ ่งที ่สูงขึ ้นมาจากระดับพื ้นที ่ และยังท�ำให้อาคารให้นี ้กลมกลืนไปกับป่ามาก ยิ่งขึ ้นด้วย

แนวความคิดในการออกแบบรูปทรง และที่ว่าง สถาปัตยกรรม

อาคารมีแนวคิดการออกแบบให้ดูกลมกลืนและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

การออกแบบเพื ่อให้กลมกลืนกับธรรมชาติ มีการออกแบบมั้งตั้งแต่การวาง ผังของอาคาร ร่วมกับ Landscape มีการสร้างv Verticle Relationship ของพื ้นที ่สวน ด้านล่าง เชื ่อมต่อขึ ้นไปบนหลังคาที ่เป็น Green Roof การเลือกใช้วัสดุหลักในการ ก่อสร้างมีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยเลือกใช้ดินเป็นวัตถุดิบหลักในการสร้าง โดยใช้วิธีการอัดบดจนเกิดความหนาแน่นที ่มีความแข็งแรงมากพอ ส่งผลให้สีและ สัมผัสที ่ออกมานั้น ยิ่งท�ำให้อาคารมีความเป็นหนึ ่งเดียวกับธรรมชาติมายิ่งขึ ้น

การออกแบบเพื ่อเน้นความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยสร้างช่อเปิดและ ช่องลมภายในอาคารเพื ่อให้อากาศและลมสามารถไหลเวียนได้อย่างทั่วถึง เป็นอาคาร ที ่สามรถใช้งานได้โดยไม่ต้องแอร์ ด้วยความเย็นจากหลังคา และผนังที ่มีความหนา อีก ทั้งลมและอากาศที ่ถ่ายเทสะดวก ท�ำให้อาคารหลังนี ้เป็นอาคารที ่เป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อมอย่างแท้จริง

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

สถาปัตยกรมที ่ตั้งอยู ่ในป่า

แนวคิดในการออกแบบโดยการคาดการ สถานการณ์ล่วงหน้า ซึ ่งเกิดจากการศึกษาธรรมชาติของ ต้นไม้ และวิเคราะห์สภาพพื ้นที ่ เพื ่อสร้างสถาปัตยกรรม ที ่มีความสอดคล้องกับธรรมชาติอย่างแท้จริง ส�ำหรับ โครงการนี ้ซึ ่งเป็นโครงการปลูกป่า ได้มีการวางผังของ Landscape ควบคู ่ไปกับการออกแบบ Architect เพื ่อให้ เกิดความลงตัว ของอนาคต นั้นหมายถึง เป็นการ ออกแบบสถาปัตยกรรมที ่จะอยู ่ร่วมกับธรรมชาติ ได้อย่าง เป็นมิตร ทั้งภาพลักษณ์ วัสดุ และการใช้งาน

แนวคิดการวางผัง

บทวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย

ข้อดี

สร้างพื ้นที ่ที ่โอมล้อม ท�ำให้หลุดออกพื ้นที ่ของ เมือง

มีล�ำดับการเข้าถึงที ่ชัดเจน

ข้อเสีย

พื ้นที ่ศึกษาธรรมชาติมีน้อยแนวคิดเรื ่องพื ้นที ่ใช้สอย

สร้างพื ้นที ่ใช้สอยได้อย่างคุ้มค่า และมีสัดส่วนของ พื ้นที ่ในแต่ละประเภท ที ่เหมาะสม

-

แนวคิดเรื ่องรูปทรง ที ่ว่าง และสถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมยั่งยืน

รูปทรงของ Achitect มีความน่าสนใจ สามารถ ดึงดูดคนได้

-

Architect และ Landscape สามารถอยู ่ร่วมกันได้ อย่างลงตัว

๒๙

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

Sungai Buloh , Singapore

ข้อมูลโครงการที ่ตั้ง

ขนาดพื ้นที ่โครงการ ขนาดพื ้นที ่อาคาร ลักษณะโครงการ

: 301 Neo Tiew Crescent, Singapore 718925 : 812 ไร่ (1,299,200 sqm.) : 13,350 sqm : ศูนย์ศึกษาและวิจัย ระบบนิเวศทางธรรมชาติ พื ้นที ่ชุ่มน� ้ำ

รายละเอียดโครงการ

เขตอนุรักษ์ธรรมชาติพื ้นที ่ชุ่มน� ้ำซันไก บูลอร์เป็นแหล่งท่องเที ่ยวเชิงอนุรักษ์ ระดับโลกที ่มีการค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1986 โดยกลุ่มนักดูนกจากสมาคม Malayan Nature Society สามปีต่อมาหรือในปี ค.ศ. 1989 รัฐบาลได้ประกาศ ให้สถานที ่แห่งนี ้เป็นเขตอนุรักษ์ธรรมชาติ และเปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ในปี ค.ศ. 1993 ในการสัมผัสประสบการณ์พื ้นที ่ชุ่มน� ้ำอย่างถูกต้อง

วัตถุประสงค์โครงการ

- อนุรักษ์พื ้นที ่ชุ่มน� ้ำ - สร้างพื ้นที ่ศึกษาธรรมชาติ อันอุดมไปด้วยสภาพแวดล้อมที ่ สมบูรณ์ และ ทรงคุณค่า - ปลูกสร้างจิตส�ำนึกรักษ์ ในธรรมชาติ และเรียนรู้วิธีการอนุรักษ์ที ่ถูกต้อง เพื ่อ ประยุกต์ใช้กับวิถีชีวิต ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ได้อย่างเหมาะสมและ คุ้มค่า

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

แนวความคิดโครงการ

แนวความคิดในการวางผังของโครงการ

ป่ากลางเมืองเรียนรู้ท่ามกลางธรรมชาติ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ความส�ำเร็จของโครงการ

เป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติของหลากหลายสถานบันในพื ้นที ่ใกล้เคียงเป็นสถานพักผ่อนของผู้คนอนุรักษ์และเป็นต้นแบบศูนย์ศึกษาธรรมชาติพื ้นที ่ชุ่มน� ้ำ

หลักฐานข้อมูลสนับสนุน

Singapore Landscape Architecture Awards 2015: Gold Award Parks and Public Spaces

2010 ASLA PROFESSIONAL AWARDS - HONOR AWARD The Sungei Buloh Wetland Reserve Master Plan

เขตอนุรักษ์ธรรมชาติพื ้นที ่ชุ่มน� ้ำซันไก บูลอร์ได้รับการประกาศเป็นอุทยาน มรดกอาเซียนแห่งแรกของสิงคโปร์ในปี ค.ศ. 2003

พื ้นที ่โครงการมีขนาดที ่กว้างใหญ่มาก ท�ำให้เกิดการกระจายตัวของอาคารไปในวงกว้าง เพื ่อให้การศึกษาเรียยนรู้ สามารถท�ำได้ครอบคลุมทั้งพื ้นที ่ โดยหลักในการจัดวางอาคารนั้น โดยมากจะจัดขึ ้นในพื ้นที ่ที ่เป็นแนวคันดิน หรือดินดอน เพื ่อที ่จะมไ่ให้ไปกระทบกับพื ้นที ่ที ่เป็นพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำมากนัก อีกทั้งตัวอาคาร และเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ รวมถึงหอชมนก ยังยกระดับสูงขึ ้น เพื ่อลดฟุตปรื ้นของอาคาร อย่างไรก็ตาม พื ้นที ่ทั้งหมดของโครงการก็ยังมีการจ�ำแนกประเภทพื ้นที ่ป่า เพื ่อ การจัดการดูแลได้อย่างมีระบบ โดยค�ำนึงถึงบริบทของสภพาแวดล้อมทางธรรมชาติ และพื ้นที ่การใช้งานของสัตว์ป่าเป็นหลัก

ปัจจัยสู ่ความส�ำเร็จ

Program เน้นการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมเดิม เพื ่อสัตว์ป่า และวัฒนธรรมเดิน ของคนในพื ้นที

มีโปรแกรมหลักสูตรการศึกษาร่วมกับสถานบันหลายแห่ง Site Planning

วางผังโดยค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมเดิมเป็นเกณฑ์หลัก

Architect สถาปัตยกรรมมีทั้งรูปแบบที ่กลมกลืนไปกับธรรมชาติและขัดแย้ง

๓๑

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

แนวความคิดเรื่องพื้นที่ใช้สอยของโครงการ

ในการก�ำหนดพื ้นที ่ใช้สอย จะเริ่มมาจากการวางผังใหญ่ ก�ำหนด Zonning ของแต่ละพื ้นที ่ ซึ ่งเกิดจากการวิเคราะห์ สภาพของแต่ละพื ้นที ่ในโครงการ ซึ ่งจะมีลักษณะที ่แตกต่างกันไป เช่นการก�ำหนดว่าพื ้นที ่ สันทนาการ จะต้องไม่เป็นพื ้นที ่ที มีสัตว์ป่าเข้ามาหากิน เพื ่อที ่จะไม่เป็นการรบกวนสัตว์ป่า หรือการเลือกพื ้นที ่เพื ่อการอนุรักษ์ จะต้องส�ำรวจระบบนิเวศและ สังเกตุพฤติกรรมสัตว์ถึง การใช้งานภายในพื ้นที ่อย่างรอบคอบ เพื ่อสร้างความสมดุลระหว่างพื ้นที ่เรียนรู้กับพื ้นที ่อนุรักษ์ ธรรมชาติได้อย่างเหมาะสม

แผนแนวความคิดหรือนโยบายของโครงการ มีอยู ่ด้วยกัน 3 ข้อหลัก และสถาปัตยกรรมต้องตอบรับกับลักษณะพื ้นที ่ใช้สอยดังที

กล่าวไว้ข้างต้นได้อย่างถี ่ถ้วน พื ้นที ่ใช้สอยของโครงการ จะอยู ่บนพื ้นฐานของ 1) การอนุรักษ์พื ้นคงความหลากหลายทางชีวภาพของพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำ 2) สร้างพื ้นที ่เรียนรู้ที ่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ 3) สร้างแรงบัลดาลใจและจิตส�ำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยกิจกรรมภายในโครงการ ก็จะมีพื ้นที ่อาคารส่วนกลางหลัก และจะกระจายพื ้นที ่เรียนรู้ไว้ตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ที ่ยาวไปทั่วทั้ง โครงการ สามารถพบเห็นความหลากหลายของระบบนิเวศ และยังมีพื ้นที ่โซนสันทนาการเพื ่อการศึกษา โดยจะอยู ่มราชายของโครงการ และติดกับทะเล ท�ำให้สามารถซึมซับบรรยากาศ ของธรรมชาติได้หลากหลายรูปแบบอย่างเต็มที

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

แนวความคิดในการออกแบบรูปทรง และที่ว่าง สถาปัตยกรรม

บทวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสียกลุ่มอาคารหลักของโครงการ มีรูปทรงของอาคารมีความเรียบง่าย เหมาะสม กับสภาพภูมิอากาศ และถูกควบคุมให้มีความกลมกลืนกับธรรมชาติ ด้วยสีและวัสดุที น�ำมาใช้งาน ถูกสร้างขึ ้นเพื ่อตอบสนองการใช้งานมากกว่าการสร้างรูปทรงที ่สวยงาม ภาพลักษ์มีความเป็นพื ้นถิ่นให้บรรยากาศสบายๆ

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ที ่เลือกใช้วัสดุและการก่อสร้างที ่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม โดนเส้นทางลักษณะนี ้จะสามารถเข้าถึงได้ทั่วทุกพื ้นที ่ในโครงการ โดยที ่ไม่รบกวน หรือท�ำลายระบบนิเวศพื ้นที ่ช่ ุมน� ้ำ

แนวคิดการวางผัง

ข้อดี

พื ้นที ่กว้างใหญ่ สามารถวางผังเพื ่อศึกษา ธรรมชาติได้หลากหลายรูปแบบ

ข้อเสีย

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ มีความยาวมากเกินไป

กระจายพื ้นที ่เรียนรู้กว้างมากอาจดูแลไม่ทั่วถึงนอกจากจะมีการออกแบบเพื ่อความกลมกลืนแล้ว โครงการนี ้ยังมีรูปทรงของ สถาปัตยกรรมที ่แปลกตาด้วยเช่นกัน นั้นคือจุดพัก เพื ่อชมสัตว์ธรรมชาติ ทีตั้งอยู ่ใน เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ รูปทรงของอาคารที ่ดูล้อเลียนมาจากรูปทรงของรังนก โดยคนสามารถเข้าไปอยู ่ด้านในและมองออกมาภายนอกผ่านช่องว่างเล็กๆ อาจเพื ่อ เป็นการไม่ให้สัตว์ป่ารู้สึกตื ่นตกใจเมื ่อเห็นมนุษย์

แนวคิดเรื ่องพื ้นที ่ใช้สอย

ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมเดิมไม่เป็นการ รบกวนธรรมชาติ

พื ้นที ่ รวมตัวอาจจะมีน้อยเกินไป

หอชมนกที ่ตั้งตระหง่านอยู ่ใกล้กับพื ้นที ่ราบลุ่ม ซึ ่งเป็นแหล่งอาหารและพัก อาศัยของนกน� ้ำ และนกที ่อพยบลงมาจากซกโลกเหนือ ท�ำให้สามารถศึกษาเรียนรู้ทั้ง สัตว์ป่าและพันธุ์ไม้ในระดับเรือนยอด

เน้นพื ้นที ่ใช้งานภายนอก ท�ำให้สัมผัสกับ ธรรมชาติได้อย่างเต็มที

แนวคิดเรื ่องรูปทรง ที ่ว่าง และสถาปัตยกรรม

มีทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรม ที ่กลืมกลืน และขัด แย้งกับธรรมชาติ สร้างความน่าสนใจสดุดตาให้ กับโครงการได้

-

๓๓

ล�ำดับแนวคิด รูปแบบของการเรียนรู ้

สรุปแนวความคิดโครงการ

เพื ่อน�ำมาใช้ในการออกแบบวางผังการจัดการโครงการ การเข้าถึง และพื ้นที ่กิจกรรม

Knowladge

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

ศูนย์ศึกษาธรรมชาติบางปู

ป่ าในกรุง

Sungai boluh

พื้นที่จัดนิ ทรรศการ 33.5%85%

15%

ทางเข้าโครงการ

Visitor Center

อาคารส�ำนักงาน19%

27.5%

พื้นที่จัดนิ ทรรศการ

เพื ่อเตรียมตัวและท�ำความเข้าใจ โครงการ ก่อนการเข้าไปศึกษา

Activities เส้นทางเดินป่ า

40%

13%56%

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

สัมผัสกับธรรมชาติ ผ่านการเดิน มอง ได้ยิน ได้กลิ่น รวมถึงรสชาติ

พื้นที่ท�ำกิจกรรม หอชมนก

5%

2.5%1.5%

กิจกรรมเรียนรู ้ใกล้ชิด ธรรมชาติ

ชมนก

ปลูกป่าสร้างประสบการณ์ร่วมของคนกับป่า เพื ่อ สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อม

อื่นๆ

ลงพื ้นที ่(พื ้นดิน) เพื ่อศึกษา

หอชมวิว

2%กิจกรรมสะท้อนวัฒนธรรม

พักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ

เป็นบริบทที ่ส�ำคัญ ที ่จะซึมซับบรรยากาศ ของธรรมชาติ และสร้างภาพจ�ำที ่ดี เพื ่อ ให้เห็นถึงคุณค่าของพื ้นที

* ค�ำนวนเปอร์เซนต์เฉพาะพื ้นที ่ใช้สอยเท่านั้น

จะเห็นได้ว่า รูปแบบการเรียนรู้จะมีล�ำดับ เพื่อที่จะสร้างความเข้าใจในโครงการ และ เห็นถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อม

สัดส่วนพื ้นที ่ที ่มีมากที ่สุดคือ พื ้นที ่การใช้งานประเภท

1) พื ้นที ่จัดนิทรรศการ ซึ ่งเป็นหัวใจหลักในการมอบความรู้ และเป็นหน้าตาของ โครงการที ่ส�ำคัญ ควรสร้าง First Impreession ที ่สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้เข้ามาศึกษา เพื ่อสร้างความต่อเนื ่อง ในการเรียนรู้

2) เส้นทางเดินป่า เน้นการเรียนรู้ท่ามกลางธรรมชาติ โดยรบกวนธรรมชาติให้น้อย ที ่สุด และสร้างประสบการณ์เพื ่อให้เกิดความทรงจ�ำที ่ดี สร้างคุณค่าของพื ้นที ่ขึ ้นในจิตใจคน

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

สรุปการศึกษากายภาพโครงการ

ที่ตั้งโครงการการออกแบบกายภาพโครงการ

ที่ตั้งโครงการLocation

ชานเมือง บางปู ป่ าในกรุง Sungai bulohการวางผัง พื้นที่ใช้สอย Architect Sustainble

การออกแบบกายภาพโครงการ

Surrounding

ใกล้พื ้นที ่ชุมชน

สถานที ่ราชการสถาบันศึกษาพื ้นที ่สีเขียวพื ้นที ่ประวัติศาสตร์และ วัฒนธรรม

การวางผัง

วางโดยใช้สภาพแวดล้อมพื ้นที ่เดิมเป็นเกณในการออกแบบ

อาคารกับสิ่งแวดล้อมเชื ่อมโยงกันที ่พัก/โรงแรม

พื้นที่ใช้สอย

มีการแบ่งสัดส่วนพื ้นที ่แต่ละประเภทของการใช้งานได้อย่างมีระบบ

พื ้นที ่การใช้งานมีความต่อเนื ่องกันSurrounding

ยานพาหนะส่วนตัว

ให้ความส�ำคัญกับสัตว์ป่าและต้นไม้มากพอๆกับการใช้านของมนุษย์

รถโดยสารประจ�ำทางการออกแบบรูปทรง และที่ว่าง สถาปัตยกรรม

รูปแบบของอาคารที ่กลมกลืนไปกับสภาพแวล้อม สร้างความเป็น หนึ ่งเดียวกัน

รูปแบบของอาคารที ่ขัดแย้งกับสภาพแวดล้อม เพื ่อสร้างความน่า สนใจ สะดุดตา

จักรยานเดิน

สถาปัตยกรรมยั ่งยืน

วัสดุเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอาคารประหยัดพลังงานใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมเดิมให้มากที ่สุด

ลักษณะของโครงการมักจะตั้งอยู ่ในพื ้นที ่ชานเมือง ซึ ่งมีพื ้นที ่สีเขียวเป็นหลัก มีความใกล้เคียงกับชุมชน เนื ่องจากดั้งเดิมมักจะเป็นสภาพแวดล้อมที ่ถูกใช้ประโยชน์โดยชาวบ้านในบริเวณใกล้เคียง จึงมีประวัติศาสตร์เล็ก น้อยที ่เกิดขึ ้นบนพื ้นที ่ และการตั้งอยู ่ใกล้สถานศึกษาก็เป็นข้อได้เปรียบของโครงการที ่จะสามารถสร้างศักยภาพทาง ด้านการเรียนรู้ของโครงการได้ดียิ่งขึ ้น

๓๕

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

PROGRAM

หมวดหมู ่โปรแกรม

กิจกรรมPROGRAM

คุณค่าของพื ้นที ่ส่วนประกอบในโครงการ

Knowledge

เรียนรู้เกี ่ยวกับสิ่งแวดล้อม

เรียนรู้ในสิ่งแวดล้อม

เรียนรู้เพื ่อสิ่งแวดล้อม

ทั่วไป

เฉพาะถิ่น

ทั่วไป

เฉพาะถิ่น

อบรมความรู้พื ้นฐาน

นิทรรศการแสดงความรู้เรื ่องระบบนิเวศนิทรรศการผลงานนักเรียน/นักศึกษา/ศิลปินพื ้นบ้าน ฯ

เรียนรู้ในพื ้นที ่ธรรมชาติ

เรื ่องเล่าจากปราชญ์ชาวบ้าน

วิถีคนพื ้นบ้านกับสิ่งแวดล้อม

ปลูกป่า

ดูนก

สังเกตสัตว์หน้าดินสังเกตต้นไม้สังเกตสภาพแวดล้อมการท�ำประมง การหาอาหารป่า

การใช้สอยต้นไม้ในพรุห้องอบรม

พื ้นที ่จัดนิทรรศการถาวรพื ้นที ่จัดนิทรรศการชั่วคราวหอดูนกเส้นทางศึกษาธรรมชาติท่าเรือ

พื ้นที ่สาธิต*พื ้นที ่ปลูกป่า / เพาะช�ำต้นกล้า

เป็นพื ้นที ่ให้ความรู้ ข้อมูลพื ้นฐานผ่านการ อ่าน ฟัง ดู เพื ่อให้เข้าใจถึงเนื ้อหาบริบทของพื ้นที โครงการ สิ่งแวดล้อมโดยรอบ รวมไปถึงข้อมูลในเชิง วัฒนธรรมของพื ้นที ่ และยังเป็นพื ้นที ่จัดแสดงผลงาน ของที ่เกี ่ยวของกับสิ่งแวดล้อม เป็นพื ้นที ่สร้างความ ทรงจ�ำ ที ่ส�ำคัญ

รูปแบบการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ผ่าน ประสาทสัมผัสทั้ง 5 จะช่วยให้ผู้เรียนรู้สามารถสร้าง ความเข้าใจในธรรมชาติผ่านกิจกรรมต่างๆ พื ้นที เชื ่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ และเป็นการปลูกฝังจิตส�ำนึกรักสิ่งแวดล้อม

Facility

ชมวิว

ทานอาหารพักผ่อนจุดชมวิว

ร้านค้าพื ้นที ่พักผ่อนพื ้นที ่เพื ่อซึมซับบรรยากาศธรรมชาติ สร้างความ ทรงจ�ำและความผูกพันธ์ ของคนต่อพื ้นที โดย เฉพาะชาวบ้านในละแวกใกล้เคียง เพื ่อสร้างความ รักและห่วงแหนธรรมชาติ

Office

เก็บข้อมูลและเอกสารส�ำคัญ

ส�ำนักงานนั่งท�ำงาน

ห้องน� ้ำอื ่นๆ

ที ่จอดรถ

ห้องเก็บของศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง l Mangrove Forest Conservation Center

นวิน สมคะเน หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์

Area Requirement

หมวดหมู ่โปรแกรม จ�ำนวนผู้ใช้(คน) ขนาดพื ้นที ่(ตร.ม.)Knowledge

พื ้นที ่สุทธิ

พื ้นที ่สัญจรห้องอบรม 40 60 30% 18 78พื ้นที ่จัดนิทรรศการถาวร 120 180 30% 54 234พื ้นที ่จัดนิทรรศการชั่วคราว 50 75 30% 22.5 94.5หอดูนก 20 30 30% 9 39

รวม

หมายเหตุ

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ - 1.5 - 500 750 คิดสัดส่วนเป็นระยะทางจากความกว้าง 1.5 เมตรท่าเรือ 20 40 30% 12 52

เส้นทางยาว 500 เมตรโป๊ ะเรือมีระยะยื ่นออกชายฝั่ง 60 เมตร กว้าง 3 เมตร

พื ้นที ่สาธิต* - - - - -พื ้นที ่ปลูกป่า / เพาะช�ำต้นกล้า - - - - -

ปรับตามสภาพพื ้นที ่ของป่าปรับตามสภาพพื ้นที ่ของป่า

Knowledge

จุดชมวิว

20

40

30%

12

52

ร้านค้า

2

9

-

-

9

Kiosk มีจ�ำนวน 3 ร้าน

พื ้นที ่พักผ่อน

120240

30%72

312Office

ส�ำนักงานฝ่ายบริหาร

16

--

9ฝ่ายเจ้าหน้าที ่ / ผู้เชี ่ยวชาญ

510

30%3

13ฝ่ายประชาสัมพันธ์

14

--

4รวม

1646.5๓๗

This article is from: