หน้าปก
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
คู่มือครูฝึก 0920163100502 สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 1 09210104 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
คานา คู่มือครูฝึก สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 1 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสาร ประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝึกอบรมให้เป็นไป ตามหลักสู ตร กล่าวคือ อบรมผู้รั บการฝึ กให้ สามารถตระหนักถึงความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานและปฏิบัติงานได้ อย่ าง ปลอดภัย และติดตามความก้าวหน้าของผู้รับการฝึกอบรม ในด้านความสามารถหรือสมรรถนะให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้องการ โดยยึดความสามารถของผู้รับการฝึกเป็นหลัก การฝึกอบรมในระบบดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการ ฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึ กภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
1
โมดูลการฝึกที่ 1 09210104 ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน หัวข้อวิชาที่ 1 0921010401 วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย
15
หัวข้อวิชาที่ 2 0921010402 หลักการป้องกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงาน
24
หัวข้อวิชาที่ 3 0921010403 การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม
31
หัวข้อวิชาที่ 4 0921010404 การแต่งกายและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน
48
หัวข้อวิชาที่ 5 0921010405 วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย
75
หัวข้อวิชาที่ 6 0921010406 ข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ
94
หัวข้อวิชาที่ 7 0921010407 กฎหมายแรงงาน
102
คณะผู้จัดทาโครงการ
112
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้ น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่ง ส่ว นการใช้งานตามความรับผิดชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสียดังภาพในหน้าที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ - ผู้ดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผู้พัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝึก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. ผังการฝึกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ครูฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถส่งมอบการฝึกอบรมให้แก่ผู้รับการฝึกได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้ า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึก ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึ กในโมดูล ที่ครูฝึ กกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ครูฝึกใช้คู่มือครูฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) เป็นสื่อช่วยในการฝึก ภาคทฤษฎี โดยส่งมอบคู่มือผู้รับการฝึกแก่ผู้รับการฝึกที่ศูนย์ฝึก อบรม และฝึกภาคปฏิบัติ ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้ รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝึกอธิบายวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ให้แก่ผู้รับการฝึก ซึ่งวิธีการ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิ บัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว้ 3) ผู้รับ การฝึก ที่ใ ช้ค อมพิว เตอร์ ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน์โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเข้าเว็บไซต์ mlearning.dsd.go.th แล้วเข้าใช้งาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ ให้กดปุ่ม Download DSD m-learning เพื่อดาวน์โหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร์ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึกในระบบ 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเ ล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก 4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ครูฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม
5. การวัดและประเมินผล ครูฝึกมีหน้าที่มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) และภาคปฏิบัติ (ด้ านทักษะ) โดยใช้ คู่มือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผู้รับการฝึก โดยแบ่งการประเมินผลได้ดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึ ก โดยกาหนดเกณฑ์การให้ คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทาได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว 9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฎี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920163100502
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึ กใน สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ช่างยนต์ 1.3 มีความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 1.4 มีความรู้เกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใช้ในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้อง ความเสียหายเบื้องต้น 1.7 มีความรู้เกีย่ วกับการหล่อลื่นและการเลือกใช้สารหล่อลื่น 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการทารายงานสถิติ รวมถึงการทาระบบติดตามลูกค้าเบื้องต้น 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิ บัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือ สานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถ และความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกิ นระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 8 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 8 โมดูล
11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร
สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2
รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝึก ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน รหัสโมดูลการฝึก 09210104 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 12 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 5 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 7 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหน่วย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับ การฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผู้ปฏิบัติงาน อุปกรณ์ ชิ้นงาน และเครื่องมือ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 2. อธิบายหลักการป้องกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงานได้ 3. บอกวิธีการจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได้ 4. จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได้ 5. อธิบายการแต่งกาย และการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได้ 6. แต่งกายและใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง 7. อธิบายวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได้ 8. ปฏิบัติตนตามวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได้ 9. บอกข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพได้ 10. อธิบายกฎหมายแรงงานได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานความปลอดภัยในสถานที่ทางาน ผู้รับการฝึก 2. มีความรู้เรื่องกฎหมายในชีวิตประจาวัน 3. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและ ใช้ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย หัวข้อที่ 1 : วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย 0:30 0:30 ทั้งผู้ปฏิบัติงาน อุปกรณ์ ชิ้นงาน 13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
และเครื่องมือที่ใช้ในการ ปฏิบัติงานได้ 2. อธิบายหลักการป้องกัน อุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะ การปฏิบัติงาน 3. บอกวิธีการจัดพื้นที่ในการ ปฏิบัติงานที่เหมาะสมได้ 4. จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่ เหมาะสมได้ 5. อธิบายการแต่งกาย และการ ใช้อปุ กรณ์ป้องกันอันตราย ขณะปฏิบัติงานได้ 6. แต่งกายและใช้อุปกรณ์ป้องกัน อันตรายขณะปฏิบัติงานได้ อย่างถูกต้อง 7. อธิ บ ายวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ เ มื่ อ เกิ ด อัคคีภัยได้ 8. ปฏิ บั ติ ต นตามวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ เมื่อเกิดอัคคีภัยได้ 9. บอกข้อกาหนดเกี่ ยวกับความ ปลอดภัยและสุขภาพได้ 10. อธิบายกฎหมายแรงงานได้
หัวข้อที่ 2 : หลักการป้องกันอุบัติเหตุที่เหมาะสม กับสภาวะการปฏิบัติงาน
0:30
-
0:30
หัวข้อที่ 3 : การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงาน ที่เหมาะสม
0:45
2:30
3:15
หัวข้อที่ 4 : การแต่งกาย และการใช้อุปกรณ์ ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน
0:45
2:30
3:15
หัวข้อที่ 5 : วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย
01:30
2:30
4:00
หัวข้อที่ 6 : ข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัย และสุขภาพ หัวข้อที่ 7 : กฎหมายแรงงาน รวมทั้งสิ้น
0:15
-
0:15
1:00 5:15
7:30
1:00 12:45
14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921010401 วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบายวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผู้ปฏิบัติงาน อุปกรณ์ ชิ้นงาน และเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานได้
2. หัวข้อสาคัญ 1. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือ 2. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักรกล 3. ข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัย
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online)เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม ทวี มณีสาย. 2558. งานเครื่องมือกลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือ 1. การใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย การใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงาน ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อร่างกาย โดยมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ 1) ก่อนนาค้อนไปใช้ทุกครั้ง ควรตรวจสอบด้ามค้อนก่อนว่าอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ 2) เลือกใช้ค้อนที่มีขนาดเหมาะสมกับงาน 3) ห้ามนาเครื่องมือที่มีคมใส่กระเป๋าเสื้อหรือกระเป๋ากางเกง 4) เวลาถือเครื่องมือที่มีคม ควรเอาด้านคมหรือปลายแหลมลงด้านล่างเสมอ 5) ในขณะใช้เครื่องมือทีม่ ีคม ไม่ควรหันด้านทีม่ ีคมเข้าหาผู้ปฏิบัติงาน 6) เลือกใช้ประแจขันหัวนอต (Nut) ที่มีขนาดพอดี ไม่หลวมจนเกินไป เพราะอาจทาให้เกิดการลื่นไถล และทาให้ หัวนอตชารุดเสียหาย 7) ห้ามจับค้อนในขณะที่มือเปื้อนน้ามันหรือจาระบี 8) ห้ามใช้ตะไบที่มดี ้ามหลวมหรือไม่มีด้าม เพราะกั่นตะไบอาจทิ่มมือได้ 9) ห้ามใช้ตะไบแทนค้อน ลิ่ม หรือชะแลงงัดชิ้นงาน เพราะตะไบจะบิ่นและแตกหักได้ 10) ก่อนนาหัวแร้งบัดกรีไปใช้ทุกครั้ง ต้องตรวจสอบปลั๊กสายไฟและตัวหัวแร้ง รวมถึงด้ามจับและเครื่องมือต่าง ๆ แน่นดีแล้วหรือไม่
ภาพที่ 1.1 ตรวจสอบสภาพหัวแร้งบัดกรี 11) ระวังอย่าให้นิ้วมือถูกหัวแร้งบัดกรีในขณะใช้งาน 12) ระวังอย่าให้ตะกั่วบัดกรีเหลวแตะโดนผิวงานที่เปียกชื้น และระวังไอพิษของสารตะกั่ว 13) ห้ามใช้ไขควงแทนสกัด 14) ต้องใช้ปากกาจับชิ้นงานหรือคีมล็อกจับชิ้นงานไว้ เพราะอาจแตกหักในขณะใช้งาน และกระเด็นไปถูกผู้อื่นได้ 15) ห้ามใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ชารุด เพราะอาจแตกหักและกระเด็นไปถูกผู้อื่นได้ในขณะใช้งาน 17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 1.2 ประแจชารุด
ภาพที่ 1.3 ไขควงชารุด
ภาพที่ 1.4 ประแจแหวนชารุด
16) ในขณะสกัดชิ้นงานต้องระวังไม่ให้ เศษโลหะกระเด็นไปถูกผู้อื่นหรือบริเวณรอบข้าง และต้องสวมใส่อุปกรณ์ ป้องกันส่วนบุคคล 17) อย่าใช้เครื่องมือทีม่ ีกั่นโดยไม่มีด้ามเด็ดขาด เพราะจะทาให้เครื่องมือเสียหายและผู้ใช้งานอาจได้รับอันตราย
ภาพที่ 1.5 เครื่องมือที่มีกั่น 2. ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักรกล การใช้เครื่องจักรกลในการปฏิบัติงาน สามารถช่วยผ่อนแรงของผู้ปฏิบัติงานได้ แต่ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง และใช้ อย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งสิ่งที่ต้องระมัดระวังในขณะใช้งาน มีดังนี้ 1) การใช้เครื่องเจียระไนลับมีดทุกครั้ง ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันและแท่นพักชิ้นงาน โดยอยู่ห่างจากหิ นเจียระไน ไม่เกิน 3 มิลลิเมตร เพื่อป้องกันนิ้วมือเข้าไปในร่อง
ภาพที่ 1.6 เครื่องเจียระไนลับมีด
18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2) ผู้ปฏิบัติงานต้องสวมแว่นตานิรภัย ก่อนทาการกลึง เจาะ หรือลับของมีคมต่าง ๆ 3) ห้ามใช้คีมจับชิ้นงานที่มีลักษณะกลมไปเจียระไน เพราะอาจลื่นไถลหรือเกิดการงัดกับหินเจียระไนทาให้ หินเจียระไนแตกกระเด็นไปถูกผู้อื่น 4) ตรวจสอบผิวหน้าของหินเจียระไนให้เรียบอยู่เสมอก่อนนาไปใช้งาน 5) ห้ามใช้งานเกินกาลังของเครื่องจักรกลจะทาให้เครื่องจักรได้รับความเสียหายได้ง่าย และเกิดอันตรายกับ ผู้ปฏิบัติงาน 6) ตรวจสอบความเร็วรอบของเครื่องจักรกลทุกครั้งก่อนใช้งาน ห้ามใช้ความเร็วเกินกว่าที่มาตรฐานกาหนด 7) ถ้าเครื่องจักรกลเกิดการสั่นสะเทือนในขณะใช้งาน ให้ปิดเครื่องจักรกลและตรวจสอบ ซ่อมแซมให้อยู่ใน สภาพปกติก่อนใช้งานต่อไป 8) หากมีการเปลี่ยนชิ้นส่วนในเครื่องจักรกล หลังทาการเปลี่ยนแล้วให้ทดลองเดินเครื่อง 3-5 นาที ก่อนใช้ ปฏิบัติงานจริง 9) ในขณะที่เครื่องจักรกลกาลังจะเริ่มทางาน ห้ามป้อนงานเข้าไปในส่วนตัดเฉือนเด็ดขาด ควรรอให้ความเร็ว คงที่ก่อน จึงทาการป้อนงานเข้าไป 10) ห้ามใช้เครื่องจักรกลที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย 11) ในขณะที่เครื่องจักรกลกาลังทางาน ห้ามเอื้อมมือข้ามเครื่องจักร หรือกระทาการอันใดต่อเครื่องจักรกล เป็นอันขาด เพราะอาจทาให้เกิดอันตรายได้ 12) ห้ามวางเครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยต่าง ๆ บนเครื่องจักรกลเด็ดขาด 13) ห้ามนาประแจขันคาไว้บนอุปกรณ์จับชิ้นงาน เพราะจะทาให้เกิดอันตรายได้ 14) ในการปฏิบัติงานทุกครั้งต้องจับยึดอุปกรณ์ช่วยตัดเฉือนต่าง ๆ ให้แน่นและแข็งแรง 15) ระวังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ก่อนเปิดใช้งานเครื่องจักรกลทุก ๆ ครั้ง
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. ข้อบังคับเกี่ยวกับความปลอดภัย มีดังนี้ 1) เจ้าของสถานประกอบการต้องทาป้ายข้อบัง คับในสถานที่ปฏิบัติงาน เพื่อแจ้งพนักงานให้ปฏิบัติตามอย่าง เคร่งครัด
ภาพที่ 1.7 ป้ายข้อบังคับในสถานที่ปฏิบัติงาน 2) เจ้าของสถานประกอบการ จะต้องจัดทารั้ว ฝาปิดต่าง ๆ ไว้ตามสถานที่หรือจุดที่มีอันตราย เช่น บริเวณที่ เก็บเชื้อเพลิง สารเคมี เป็นต้น รวมถึงห้ามไม่ให้ผู้ที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้าไปในบริเวณดังกล่าวโดยเด็ดขาด
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ถ้าใช้ประแจที่มีขนาดไม่พอดีกับหัวนอต จะเกิดส่งผลอย่างไร ก. หัวนอตเสียหายจากการลื่นไถล ข. นอตหักคารูของชิ้นงาน ค. หัวประแจชารุดเสียหาย ง. นอตหลวมไม่สามารถถอดได้ 2. บุคคลใด บกพร่องในเรื่องความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ก. นิพนธ์ใช้ปากกาจับชิ้นงานขณะทาเกลียวนอก ข. สุชาติเช็ดมือและด้ามค้อนก่อนใช้งาน ค. อภิสิทธิ์ถือเครื่องมือที่มีคมโดยเอาด้านคมลงด้านล่าง ง. มานพจับกั่นของตะไบขณะตะไบผิวชิ้นงาน 3. บุคคลใด ใช้เครื่องมืออย่างปลอดภัย ก. ดนุพรใช้ไขควงแทนสกัดเพราะเป็นชิ้นงานขนาดเล็ก ข. ปกรณ์ใช้ใบหินเจียระไนขัดผิวชิ้นงานแทนตะไบ ค. ธีรเดชถือเครื่องมือที่มีคมโดยเอาด้านคมลงด้านล่าง ง. ศักดิ์ดาจับค้อนในขณะที่มือเปื้อนน้ามันหรือจาระบี 4. ข้อใด คือ การปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย ก. จับยึดอุปกรณ์ช่วยตัดเฉือนต่าง ๆ ให้แน่นและแข็งแรง ข. ใช้คีมจับชิ้นงานที่มีลักษณะกลมไปเจียระไน ค. สวมแว่นตานิรภัย ก่อนทาการกลึง เจาะ หรือลับของมีคมต่าง ๆ ง. ไม่แตะตะกั่วบัดกรีเหลวลงบนชิ้นงานที่เปียกชิ้น
21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. การใช้เครื่องเจียระไนลับมีด ต้องกาหนดให้อุปกรณ์ป้องกันและแท่นพักชิ้นงานมีระยะห่างจากหินเจียระไนเท่าใด ก. ไม่เกิน 3 มิลลิเมตร ข. ไม่เกิน 2 มิลลิเมตร ค. 4 มิลลิเมตร ง. 5 มิลลิเมตร
22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921010402 หลักการป้องกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบายหลักการป้องกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงานได้
2. หัวข้อสาคัญ 1. การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากตัวบุคคล 2. การป้องกันอุบัติเหตุจากเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ 3. การป้องกันอุบัติเหตุจากการจัดระบบทางานและสถานที่ปฏิบัติงาน
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม ทวี มณีสาย. 2558. งานเครื่องมือกลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 หลักการป้องกันอุบัติเหตุที่เหมาะสมกับสภาวะการปฏิบัติงาน 1. การป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดจากตัวบุคคล การป้องกันอุบัติเหตุจากตัวบุคคล สามารถทาได้โดยการเสริม สร้างลักษณะนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน และส่งเสริมให้ ตระหนักถึงความสาคัญของความปลอดภัย ดังนี้ 1) ถอดเสื้อกันหนาวออกก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง ในกรณีที่ใช้เสื้อทับกันหลายตัว 2) กรณีที่มผี ้ากันเปื้อนหรือชุดสวมทับ ควรสวมใส่ก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง 3) ถอดเน็คไทออกก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง 4) ถ้าใส่เสื้อแขนยาว หรือบริเวณแขนเสื้อหลวม ควรพับขึ้นมาให้ถึงข้อศอก
ภาพที่ 2.1 พับแขนเสื้อขึ้นให้ถึงข้อศอก 5) ถอดเครื่องประดับออกก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง 6) รวบผมให้เรียบร้อยก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง 7) ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนปฏิบัติงาน กรณีเปื้อนน้ามันหรือจาระบี 8) ไม่นาวัสดุต่าง ๆ เข้าปาก 9) ไม่หยอกล้อกันขณะปฏิบัติงาน 10) ขยัน อดทน และมีความรับผิดชอบต่องาน 11) เตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน 12) สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 13) ปฏิบัติงานตามคู่มือปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด 14) ปฏิบัติงานตามป้ายครื่องหมายต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด 15) ตรวจสอบ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ก่อน – หลัง การใช้งาน 2. การป้องกันอุบัติเหตุจากเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ การป้องกันอันตรายจากเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ ที่ผู้ปฏิบัติงานควรรู้ มีดังนี้ 1) ไม่ควรนาเครื่องมือมีคมที่ชารุดมาใช้งาน 2) ไม่ควรนาเครื่องมือที่ด้ามหลวม ด้ามแตกชารุดมาใช้งาน 3) การเคลื่อนย้ายเครื่องมือมีคม ควรใส่กล่องหรือวางบนถาดวางเครื่องมือ 4) ไม่พกเครื่องมือมีคมไว้ในกระเป๋าเสื้อหรือกระเป๋ากางเกง 5) เมื่อจะต่อ ไฟฟ้ าหรื อต่ อ อุป กรณ์ ไ ฟฟ้ าต้ อ งแน่ ใจว่ า มื อ ทั้งสองไม่เ ปีย กน้า สวิต ช์ อยู่ในตาแหน่ งปิ ด และ สายไฟฟ้าอยู่ในสภาพดี 6) หากใช้เครื่องมือกล ผู้ปฏิบัติงานควรเป็นผู้ควบคุมเปิด - ปิด ด้วยตนเอง 7) ห้ามทาความสะอาด ปรับแต่ง หรือหยอดน้ามันเครื่องมือกลในขณะใช้งาน 8) ผ้าหรือวัสดุที่ใช้ทาความสะอาดควรอยู่ห่างจากส่วนหมุนหรือส่วนเคลื่อนที่ของเครื่องมือกล 9) เก็บเครื่องมือและอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อยทุกครั้งหลังใช้งาน 10) หากเกิดความผิดปกติต้องหยุดใช้งานและปิดเครื่องจักรกลทันที 11) เมื่อเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ เกิดความเสียหายขณะปฏิบัติงานให้รีบแจ้งหัวหน้างานทันที 12) ต้องจัดตาราง การซ่อมบารุง เครื่องมือ เครื่องจักรและปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ 27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. การป้องกันอุบัติเหตุจากการจัดระบบทางานและสถานที่ปฏิบัติงาน การป้องกันอุบัติเหตุจากการจัดระบบทางานและสถานที่ปฏิบัติงาน มีวิธีการปฏิบัติ ดังนี้ 1) จัดทาแผนการปฏิบัติงาน 2) จัดห้องปฏิบัติงานให้สะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย 3) จัดเก็บวัสดุเหลือใช้หรือเศษวัสดุต่าง ๆ ให้เป็นที่ เพื่อความปลอดภัยและง่ายต่อการจัดการ 4) จัดระบบแสงสว่างและระบายอากาศในสถานที่ปฏิบัติงานให้เหมาะสม 5) การเดินระบบไฟฟ้า ต้องมิดชิด ปลอดภัย และง่ายต่อการตรวจสอบ หรือซ่อมบารุง 6) มีระบบตรวจสอบครุภัณฑ์และอาคารตลอดจนอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ทั้งก่อนทางาน ระหว่างทางาน และ หลังเสร็จสิ้นการทางาน 7) มีการรายงานอุบัติเหตุของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อบันทึกและหาแนวทางแก้ไขป้องกัน
28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูก หรือ ผิด และทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ถูก
ผิด
ข้อความ 1. ผู้ปฏิบัติงานต้องถอดเน็คไทออกก่อนใช้เครื่องมือกล 2. หากเครื่องจักรกลเกิดความผิดปกติต้องหยุดใช้งาน ให้ปิดเครื่องจักรกลทันที 3. หากเครื่องมือเกิดความเสียหายระหว่างปฏิบัติงาน ควรซ่อมแซมทันที 4. ตรวจสอบเครื่องมือและอุปกรณ์หลังการใช้งานทุกครั้ง 5. อานาจสวมสร้อยข้อมือขณะปฏิบัติงานเปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่อง 6. ปิดสวิตช์เครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าก่อนต่อสายไฟทุกครั้ง 7. พงษ์ศักดิ์หยอดน้ามันหล่อลื่นเครื่องมือกลในขณะกาลังเดินเครื่อง 8. สมหมายพับแขนเสื้อทีห่ ลวมให้สูงขึ้นมาถึงข้อศอกขณะปฏิบัติงาน 9. อนุวัฒน์พกไขควงวัดไฟฟ้าไว้ในกระเป๋ากางเกง 10. นพดลสวมแว่นตานิรภัยก่อนปฏิบัติงานล้างทาความสะอาดหัวเทียน
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 3 0921010404 การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. บอกวิธีการจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได้ 2. จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได้
2. หัวข้อสาคัญ 1. หลักการ 5 ส 2. ขั้นตอนในการดาเนินงานหลักการ 5 ส 3. ประโยชน์จากการทากิจกรรม 5 ส
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศนู ย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online)เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) กระดาษ A4 (สีขาว) จานวน 4 แผ่น 2) ดินสอ จานวน 1 แท่ง 3) น้ายาเช็ดทาความสะอาด จานวน 1 ขวด 4) ปากกา จานวน 1 ด้าม 5) ผงซักฟอก จานวน 1 ถุง 6) ผ้าเช็ดทาความสะอาด จานวน 3 ผืน 7) ยางลบ จานวน 1 ก้อน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) กระป๋องพลาสติกสาหรับใส่น้า จานวน 1 กระป๋อง 2) ไม้กวาด จานวน 1 ด้าม 3) ที่ตักขยะ จานวน 1 อัน 4) ไม้ถูพื้น จานวน 1 ด้าม 5) ไม้ปัดฝุ่น จานวน 1 ด้าม
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก
32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้
7. บรรณานุกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. กิจกรรม 5 ส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://web.sut.ac.th/ccs/ 5s/meaning.html องค์การคลังสินค้า กระทรวงพาณิชย์. คู่มือ 5 ส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.pwo.co.th/ewt_dl_ link.php?nid=2858
33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 3 การจัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม กิจกรรม 5 ส คือ แนวทางในการจัดระเบียบความเรียบร้อย ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานในการบริหารคุณภาพที่ช่วยสร้า ง สภาพแวดล้อมสถานที่ทางานให้สะอาด เรียบร้อย และถูกสุขอนามัย 1. หลักการ 5 ส แนวคิด 5 ส แรกเริ่มนั้นเกิดจากความต้องการในการพัฒนากระบวนการผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมให้มีคุณภาพ (Quality Control : QC) ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐอเมริกาในการอบรมให้ความรู้และวางแนวทางปฏิบัติ จน ได้รับ ความนิ ย มแพร่ ห ลายมากขึ้น เนื่ องจากมีข้อดีคือ ผู้ ปฏิบัติงานและสภาพแวดล้ อมในการทางานเอื้อประโยชน์ ต่ อ กระบวนการผลิตมากที่สุด กิจกรรม 5 ส นั้นประกอบด้วยหลักการพื้นฐาน 5 ประการ คือ 1) สะสาง (SERI) คือ การแยกของที่ไม่ต้องการออก และนาไปขจัดให้เรียบร้อย 2) สะดวก (SEITON) คือ การจัดวางสิ่งของต่าง ๆ ในที่ทางาน เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะดวก และ ปลอดภัย 3) สะอาด (SEISO) คือ การทาความสะอาด เครื่องมือ อุปกรณ์ และสถานที่ทางาน 4) สุขลักษณะ (SEIKTSU) คือ การรักษาความสะอาดให้อยู่ในสภาพหมดจด ถูกสุขลักษณะ โดยปฏิบัติตาม 3 ส ได้แก่ สะสาง สะดวก และสะอาด 5) สร้างนิสัย (SHITSUKE) คือ การปฏิบัติงานตามระเบียบ วินัย ข้อบังคับอย่างเคร่งครัด เพื่อสร้างให้เป็นนิสัย
ภาพที่ 3.1 หลักการ 5 ส
34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. ขั้นตอนในการดาเนินงาน 5 ส 2.1 ขั้นตอนการเตรียมการ (Preparation) เริ่ มจากทาความเข้ า ใจกับ ผู้ บ ริ ห ารระดับสู ง ขององค์ กร และจัดทาแผนดาเนิ น กิจ กรรม โดยทาตามขั้ น ตอน ดังต่อไปนี้ 1) ทาความเข้าใจกับผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานเกี่ยวกับกิจกรรม 5 ส และเชิญผู้เชี่ยวชาญเรื่องกิจกรรม 5 ส มาเป็นที่ปรึกษาในการดาเนินกิจกรรม 2) ผู้บริหารกาหนดนโยบาย 5 ส และแต่งตัง้ คณะผู้ดาเนินกิจกรรม 5 ส 3) ก าหนดแผนด าเนิ น กิ จ กรรม 5 ส ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย กรอบแนวทางในการปฏิ บั ติ ง านแบบองค์ ร วม รายละเอียดปลีกย่อยในแต่ละหน้าที่ รายชื่อผู้ปฏิบัติหน้าที่ ทั้งด้านอานวยการ ผู้ปฏิบัติงาน และผู้สรุป ภาพรวมของการปฏิบัติงาน 4) ประกาศนโยบาย 5 ส ให้บุคลากรทุกคนในหน่วยงานรับทราบอย่างทั่วถึง และเป็นทางการ 5) จัดการอบรมให้ความรู้ให้แก่บุคลากรทุกคนในหน่วยงาน 6) อบรมคณะผู้ดาเนินกิจกรรม 5 ส ที่ได้รับแต่งตั้ง เพื่อให้สามารถส่งเสริม สนับสนุน และผลักดันกิจกรรม ให้ดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่องและประสบความสาเร็จ 7) ผู้บริหารเยี่ยมชมหน่วยงานที่ดาเนินกิจกรรม 5 ส อย่างต่อเนื่อง 2.2 ขั้นตอนเริ่มดาเนินการ (Kick off Project) กาหนดวันทาความสะอาดครั้งใหญ่ (Big Cleaning Day) และลงมือปฏิบัติ เพื่อเป็นการเริ่มต้น ดาเนิน การตาม กิจ กรรม 5 ส โดยผู้บ ริห ารระดับ สูง ควรให้ค วามร่ว มมือ ในการทาความสะอาดครั้ง ใหญ่นี้ เพื่อแสดงออกถึงความ มุ่งมั่นที่มีต่อกิจกรรม 2.3 ขั้นตอนดาเนินการ (Implementation) คณะผู้ดาเนินกิจกรรม 5 ส จะแบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบและมอบหมายงาน ซึ่งทุกพื้นที่จะต้องกาหนดแผนปฏิบัติการ ดังนี้ รายละเอียดกิจกรรม คือ การกาหนดกิจกรรมในพื้นที่รับผิดชอบ ว่ามีอะไรบ้างตามขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 5 ส โดยเริ่มต้นที่ 1) กาหนดระยะเวลาการดาเนินกิจกรรมให้ชัดเจน 2) กาหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละหัวข้อตามแผนงาน 3) กาหนดงบประมาณในแต่ละขั้นตอนลงในแผนงาน 35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
4) มีการประชุมสมาชิกในพื้นที่ทรี่ ับผิดชอบอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้แผนปฏิบัติการมีผลในทางปฏิบัติ 5) บุคลากรทุกคนที่อยู่ในพื้นที่จะต้องปฏิบัติตาม 5 ส 6) มีก ารประเมิน ความคืบ หน้า ของการดาเนิน กิจ กรรม 5 ส โดยคณะผู้ดาเนิน กิจ กรรมและที่ปรึกษา เพื่อปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่อง และให้คาแนะนา เพื่อให้กิจกรรมดาเนิน ไปอย่างราบรื่นและประสบ ความสาเร็จโดยมีตัวอย่างดังนี้ 2.3.1 ตัวอย่างขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม 5 ส ในการจัดเก็บอุปกรณ์ แผนกช่างซ่อมบารุงรักษารถยนต์ 1) หัวหน้าแผนกมีหน้าที่อานวยการในการจัดกิจกรรม 5 ส และการจัดซื้อ วัสดุ เช่น น้ามันเครื่อง หล่อลื่นเครื่องยนต์ น้าหล่อเย็น เป็นต้น รวมถึงจัดซ่อมและจัดซื้ออุปกรณ์ เครื่องมือที่ชารุด เสียหาย 2) หัวหน้าแผนกจัดการประชุมย่อยทุกสัปดาห์และประชุมใหญ่ทุกเดือน เพื่อตรวจสอบ ขับเคลื่อน กิจกรรม 5 ส ให้เป็นไปตามแนวทางที่กาหนด 3) ช่างในแผนกช่างซ่อมบารุง รักษาเครื่องยนต์ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5 ส โดยมีหน้าที่เป็น ผู้ปฏิบัติงานภาคสนาม - ช่างสารวจวัสดุ เครื่องมือ และอุปกรณ์หลังเลิกงาน - ช่างตรวจสอบพร้อมทั้งบารุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้เสมอ - ช่างบันทึกแบบฟอร์ม เพื่อส่งซ่อมเครื่องมือที่ชารุดเสียหาย รวมถึงสั่งซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อทดแทนของที่หมดหรือไม่สามารถซ่อมแซมได้ - ช่างประเมินราคาซ่อมและราคาสินค้าที่ต้องจัดซื้อทดแทนให้ฝ่ายจัดซื้อก่อนในเบื้องต้น - ช่างจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือ ใส่กล่องเครื่องมือหรือจัดเข้าตู้เก็บเครื่องมือ ให้ถูกต้อง เหมาะสม - ช่างนากล่องเครื่องมือส่งคืนแผนกหลังตรวจสอบอุปกรณ์ เรียบร้อยแล้ว เพื่อให้พร้อม เบิกใช้งานในวันรุ่งขึ้น 4) ฝ่ายจัดซื้อสรุปรายการจัดซื้อจัดซ่อม วัสดุ อุปกรณ์ ในที่ประชุม 5) ทุกคนในแผนกซ่อมบารุงรักษารถยนต์ มีหน้าที่ช่วยให้แผนกดาเนินกิจกรรม 5 ส ให้บรรลุผลสาเร็จ
36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. ประโยชน์จากการทากิจกรรม 5 ส 1) ช่วยให้บุคลากรทางานได้รวดเร็วขึ้น มีความถูกต้องในการทางานมากขึ้น บรรยากาศและสภาพแวดล้อ ม น่าอยู่มากขึ้น 2) ช่วยให้บุคลากรจะรักหน่วยงานมากขึ้น 3) เกิดความร่วมมือ ร่วมใจกันระหว่างบุคลากรในหน่วยงาน 4) บุคลากรในหน่วยงานตระหนักถึงความสาคัญ และปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด 5) บุคคลากรจะตระหนักถึงความสาคัญในเรื่องการปรับปรุง ซึ่งจะก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลใน การทางาน 6) ช่วยบารุงรักษาและยืดอายุการใช้งานของวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือต่าง ๆ 7) ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ของหน่วยงาน 8) สถานที่ทางานสะอาด ปลอดภัย มีระเบียบ 9) ลดอุบัติเหตุในการทางาน 10) ช่วยลดงบประมาณในการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกินความจาเป็น
37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูก หรือ ผิด และทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ถูก
ผิด
ข้อความ 1. การจัดระเบียบสถานที่ปฏิบัติงาน ควรเริ่มจากการแยกสิ่งของที่จาเป็น และ ไม่จาเป็นก่อน 2. อนุ ชิ ต สั่ ง ซื้ อ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ข องศู น ย์ ฝึ ก อบรมใหม่ ทั้ ง หมด เพื่ อ ให้ สอดคล้องกับขั้นตอนความสะอาดของหลักการ 5 ส 3. การจัดสถานที่ปฏิบัติงานให้เหมาะสม ถือเป็นพื้นฐานสาคัญของความปลอดภัย ในการทางาน 4. การจัดพื้นที่ปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส จะสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับ การบริหารจัดการของผู้บริหาร 5. การมีสุขลักษณะที่ดีจะต้องเริ่มจากสะสาง สะดวก และสะอาด 6. ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านควรรัก ษาความสะอาดของสถานที่ ป ฏิบัติ ง าน เพื่ อ เสริ ม สร้าง สุขลักษณะที่ดี
38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6
39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การจัดพื้นที่โรงฝึกแผนกวิชาช่างยนต์ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมได้ 2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที 3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกออกแบบการจัดระเบียบพื้นที่โรงฝึกแผนกวิชาช่างยนต์ ให้เหมาะสมและสอดคล้องตามหลัก 5 ส. โดยต้องมีส่วนประกอบ ดังนี้ - พื้นที่ตั้งลิฟต์ยกรถ - พื้นที่สาหรับรถจอดซ่อม - พื้นที่เก็บอะไหล่ - พื้นที่รับรถ - พื้นที่เก็บอุปกรณ์เก่า - ห้องเก็บเครื่องมือ
40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การจัดพื้นที่โรงฝึกแผนกวิชาช่างยนต์ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - รองเท้านิรภัย - หน้ากากกรองอนุภาค - ถุงมือผ้า - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้ มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 กลุม่ 1. กระป๋องพลาสติกสาหรับใส่น้า
จานวน 1 กระป๋อง
2. ไม้กวาด
จานวน 1 ด้าม
3. ที่ตักขยะ
จานวน 1 อัน
4. ไม้ถูพื้น
จานวน 1 ด้าม
5. ไม้ปัดฝุ่น
จานวน 1 ด้าม
1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 กลุ่ม 1. กระดาษ A4 (สีขาว)
จานวน 4 แผ่น
2. ดินสอ
จานวน 1 แท่ง
3. ปากกา
จานวน 1 ด้าม 41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
4. ยางลบ
จานวน 1 ก้อน
5. ผ้าเช็ดทาความสะอาด
จานวน 3 ผืน
6. น้ายาเช็ดทาความสะอาด
จานวน 1 ขวด
7. ผงซักฟอก
จานวน 1 ถุง
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การจัดพื้นที่โรงฝึกแผนกวิชาช่างยนต์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
1. เตรียมการ
ครูฝึ กแบ่งกลุ่ มผู้รับการฝึ ก กลุ่ มละ 3 คน
2. มอบหมายงาน
จานวน 3 กลุ่ม
3. ประชุมกลุ่ม
ครูฝึกมอบหมายพื้นที่รับผิดชอบให้ผู้รับการฝึก แต่ละกลุ่ม ผู้รับการฝึกแต่ละกลุ่มจัดการประชุม เพื่อ วางแผนการปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส
4. ดาเนินงานขั้นตอนสะสาง
สะสาง โดยคัดแยกสิ่งของต่างให้เป็น สัดส่วน เช่น สิ่งของพร้อมใช้งาน สิ่งของ ชารุด เป็นต้น
5. ดาเนินงานขั้นตอนสะดวก
จัดสิ่งของต่าง ๆ ให้เป็นระบบ ระเบียบ และ หมวดหมู่ให้ง่ายต่อการหยิบใช้
42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ดาเนินงานขั้นตอนสะอาด
คาอธิบาย ทาความสะอาดเครื่อ งมือ อุป กรณ์ วัส ดุ ต่าง ๆ และพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย
7. ดาเนินงานขั้นตอนสุขลักษณะ
กาหนดแผนดาเนินการ 3 ส.แรก เพื่อรักษา มาตรฐานและความเป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อสร้างสุขลักษณะที่ดี
8. ดาเนินงานขั้นตอนสร้างนิสัย
ท าป้ า ยเตื อ น ป้ า ยแนะน า เพื่ อ ให้ ทุ ก คน ปฏิบัติตามจนเป็นนิสัย
9. สรุปผลการปฏิบัติงาน
ผู้รับการฝึกแต่ละกลุ่ม สรุปผลการปฏิบัติงาน
43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. เก็บวัสดุ และทาความสะอาด
คาอธิบาย
ข้อควรระวัง
เช็ดทาความสะอาดวัสดุ และเก็บเข้าที่ให้ เรียบร้อย
3. ตรวจสอบการทางาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑ์การพิจารณา
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ และ วั ด สุ อ ย่ า ง ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน ถูกต้องและครบถ้วน
2
สวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
3
วางแผนการปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส
ความถูกต้องตามหลักการ
4
ดาเนินงานขั้นตอนสะสาง
ความถูกต้องตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน
5
ดาเนินงานขั้นตอนสะดวก
ความถูกต้องตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน
6
ดาเนินงานขั้นตอนสะอาด
ความถูกต้องตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน
7
ดาเนินงานขั้นตอนสุขลักษณะ
ความถูกต้องตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน
8
ดาเนินงานขั้นตอนสร้างนิสัย
ความถูกต้องตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน
9
สรุปผลการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามหลักการและวิธีการปฏิบัติงาน
10
การจัดเก็บเครื่ องมือ อุปกรณ์ และ วัดสุหลัง ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน
11
เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กาหนด
44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วน หรือ ไม่ถูกต้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วนและไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ ถุงมือผ้า สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง
3
รองเท้านิรภัย หน้ากากกรองอนุภาค และชุดปฏิบัติการช่าง ครบทั้ง 4 ชนิด อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ให้คะแนน 3 คะแนน สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้อง 3 ชนิด ให้คะแนน 2 คะแนน สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้องน้อยกว่า 3 ชนิด หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ให้คะแนน 0 คะแนน 3
วางแผนการปฏิบัติงานตามหลัก 5 ส
วางแผนการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และครอบคลุมหลักการ 5 ส
5
ครบทั้ง 5 ข้อ ให้คะแนน 5 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได้ 4 ข้อ ให้ข้อละคะแนน 4 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได้ 3 ข้อ ให้ข้อละคะแนน 3 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได้ 2 ข้อ ให้ข้อละคะแนน 2 คะแนน วางแผนการปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และครอบคลุมหลักการ 5 ส ได้ 1 ข้อ ให้ข้อละคะแนน 1 คะแนน 4
ดาเนินงานขั้นตอนสะสาง
ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะสางได้ถูกต้อง ครบถ้วน ให้คะแนน 5 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะสางได้ถูกต้อง แต่ไม่ ครบถ้วน ให้คะแนน 3 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะสางไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ดาเนินงานขั้นตอนสะดวก
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะดวกได้ถูกต้อง ครบถ้วน ให้คะแนน 5 คะแนน
คะแนน เต็ม 5
ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะดวกได้ถูกต้อง แต่ไม่ ครบถ้วน ให้คะแนน 3 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะดวกไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 6
ดาเนินงานขั้นตอนสะอาด
ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะอาดได้ถูกต้อง
5
ครบถ้วน ให้คะแนน 5 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะอาดได้ถูกต้อง แต่ไม่ ครบถ้วน ให้คะแนน 3 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสะอาดไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 7
ดาเนินงานขั้นตอนสุขลักษณะ
ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสุขลักษณะได้ถูกต้อง
5
ครบถ้วน ให้คะแนน 5 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสุขลักษณะได้ถูกต้อง แต่ไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 3 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสุขลักษณะไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 8
ดาเนินงานขั้นตอนสร้างนิสัย
ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสร้างนิสัยได้ถูกต้อง
5
ครบถ้วน ให้คะแนน 5 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสร้างนิสัยได้ถูกต้อง แต่ ไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 3 คะแนน ดาเนินงานตามหลักการของขั้นตอนสร้างนิสัยไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 9
สรุปผลการปฏิบัติงาน
จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมตามหลักการ 5 ส ครบทั้ง 5 ข้อ ให้คะแนน 5 คะแนน จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมตามหลักการ 5 ส 4 ข้อ ให้คะแนน 4 คะแนน จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมตามหลักการ 5 ส 3 ข้อ ให้คะแนน 3 คะแนน จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมตามหลักการ 5 ส 2 ข้อ ให้คะแนน 2 คะแนน
46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับที่
รายการตรวจสอบ
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได้
จัดพื้นที่ในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมตามหลักการ 5 ส 1 ข้อ ให้คะแนน 1 คะแนน 10
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน
3
ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วน หรือ ไม่ถูกต้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ และวั ส ดุ ไ ม่ ค รบถ้ ว นและ ไม่ถูกต้อง หรือไม่จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน 11
เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลาทีก่ าหนด
3
ให้คะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดไม่เกิน 5 นาที ให้คะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดมากกว่า 5 นาที ให้คะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
47
หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 33 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้
47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 4 092101404 การแต่งกายและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายการแต่งกายและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได้ 2. แต่งกายและใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
2. หัวข้อสาคัญ 1. ความหมายของอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล 2. หลักเกณฑ์ในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล 3. ประเภทของอุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายส่วนบุคคล
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1. วัสดุ - น้ากลั่นแบตเตอรี่ จานวน 1 ขวด 2.2. เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) หน้ากากเชื่อม จานวน 1 อัน 2) รองเท้านิรภัยชนิดหัวโลหะ จานวน 1 คู่ 3) ที่ครอบหูลดเสียง จานวน 1 อัน 4) ถุงมือผ้า จานวน 1 คู่ 5) แว่นตานิรภัย จานวน 1 อัน 6) หน้ากากกรองอนุภาค จานวน 1 อัน 7) โต๊ะสาหรับวางอุปกรณ์ จานวน 1 ตัว 8) แบตเตอรี่ จานวน 1 ลูก
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก
49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้
7. บรรณานุกรม ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.coe.or.th/coe-2/Download/Articles/ ME/CH1.pdf หมวกแข็งป้องกันศีรษะ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.safetylifethailand.com/download/ NEWS%203%20-หมวกแข็งนิรภัย.pdf
50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 4 การแต่งกายและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน การแต่งกายและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ถือเป็นเรื่องที่ผู้ปฏิบั ติงานทุกคนควรตระหนักถึงความสาคัญ และนามา ปรับใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สิน 1. ความหมายของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล หมายถึง อุปกรณ์หรือสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ใช้สวมใส่ป้องกันอวัยวะและส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อป้องกันไม่ไห้ได้รับอันตรายจากการปฏิบัติงานหรือลดความรุนแรงของการเกิดอันตราย 2. หลักเกณฑ์ในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล หลักเกณฑ์ในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลถือเป็นเรื่องสาคัญ ที่ผู้ปฏิบัติงานทุกคนควรทราบและ ปฏิบัติตาม เพือ่ นาไปสู่การปฏิบัติที่ปลอดภัย ซึ่งหลักเกณฑ์ในการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายมี 7 ข้อ ดังนี้ 1) เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน อุปกรณ์ป้องกันอันตรายแต่ละประเภท ได้รับการออกแบบมาเพื่อใช้ ในการป้องกันอันตรายที่แตกต่างกัน ออกไป เพราะฉะนั้นผู้ปฏิบัติงานควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน 2) จัดอบรมวิธีการใช้งานอุปกรณ์ป้องกันอันตราย หน่ว ยงานควรมีการจัดอบรมเกี่ย วกับวิธีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อป้องกัน อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้อุปกรณ์ไม่ถูกวิธี 3) สร้างความเคยชินในการใช้อุปกรณ์ มีว างแผนและฝึก ให้ผู ้ป ฏิบ ัติง านเคยชิน กับ การใช้อุป กรณ์ป้อ งกัน อัน ตราย โดยเริ่ม จากให้ส วมใส่ใ น ระยะเวลาสั้น ๆ ในขณะปฏิบัติงาน เพื่อสร้างความเคยชิน จากนั้นให้เพิ่มเวลาขึ้นเรื่อย ๆ จนตลอดระยะเวลาทางาน 4) กาหนดกฎระเบียบข้อบังคับ สถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรม ต้ องมีการกาหนดกฎระเบียบข้อบังคับ ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคน สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายก่อนเข้าปฏิบัติงานทุกครั้ง 5) เตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายให้เพียงพอ สถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรม ควรจัดเตรียมอุปกรณ์ป้ องกันอันตรายให้เพียงพอต่อจานวน พนักงาน
51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
6) ทาความสะอาดและบารุงรักษาอย่างสม่าเสมอ ทาความสะอาดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายอย่างสม่าเสมอ ทั้งก่อนใช้งานและหลังใช้งาน โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่ ต้องใช้ร่วมกัน 7) ตรวจสอบและเก็บรักษาอย่างถูกวิธี มีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายสม่าเสมอ เมื่อพบว่าอุปกรณ์ชารุดหรือเสื่อมสภาพ ให้ ดาเนินการซ่อมบารุงเพื่อให้อุปกรณ์อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และนาไปเก็บรักษาอย่างถูกวิธี 3. ประเภทของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล คือ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ใช้สวมใส่ปกปิดอวัยวะบนร่า งกาย เพื่อป้องกันอันตรายต่ออวัยวะ ส่วนต่าง ๆ โดยสามารถประเภทตามลักษณะการใช้งานได้ ดังนี้ 3.1 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา 1) อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า (Face Protection) ใช้ป้องกันอันตรายจากเศษวัสดุและสารเคมีที่จะเกิด กับ ใบหน้า เช่น กระบังป้องกันใบหน้า หน้ากากเชื่อม ครอบป้องกันใบหน้า เป็นต้น
ภาพที่ 4.1 กระบังป้องกันใบหน้า
ภาพที่ 4.2 หน้ากากเชื่อม
ภาพที่ 4.3 ครอบป้องกันใบหน้า 2) อุปกรณ์ป้องกันดวงตา (Eye Protection) ใช้ป้องกันอันตรายจากเศษโลหะหรือวัสดุต่าง ๆ รังสีอันตราย แสงสว่างที่จ้าเกินไป โดยแว่นตาที่ใช้เป็นเครื่ องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบ ตามมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน (ANSI) ดังนี้
52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- ชนิด A ใช้ป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้นทางด้านหน้า
ภาพที่ 4.4 แว่นตาป้องกันอันตรายชนิด A - ชนิด B ใช้ป้องกันอันตรายที่จะเกิดจากทุก ๆ ด้านของดวงตา
ภาพที่ 4.5 แว่นตาป้องกันอันตรายชนิด B - ชนิด C ใช้ป้องกันอันตรายที่จะเกิดจากทางด้านข้าง
ภาพที่ 4.6 แว่นตาป้องกันอันตรายชนิด C 3.2 อุปกรณ์ป้องกันหู เป็น อุป กรณ์ลดความดังของเสียงที่จ ะมารบกวนต่อแก้วหู และกระดูกหู เพื่อช่ว ยป้องกันอันตรายที่มีต่อระบบ การได้ยินและช่วยป้องกันอัน ตรายจากเศษวัสดุปลิวเข้าหูด้วย เช่น ที่อุดหู (Ear Plug) สามารถลดความดังของเสียงได้ 25-30 เดซิเบล และที่ครอบหู (Ear Muffs) สามารถลดระดับความดังของเสียงได้ 35-40 เดซิเบล เป็นต้น
ภาพที่ 4.7 ที่อุดหู (Ear Plug)
ภาพที่ 4.8 ที่ครอบหู (Ear Muffs)
53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3.3 อุปกรณ์ป้องกันกันศีรษะ หมวกนิร ภัย (Helmet) ใช้ป้อ งกัน อัน ตรายที่เ กิด จากแรงกระแทกหรือ การเจาะทะลุข องวัต ถุที่ตกใส่ศีรษะ โดยหมวกนิรภัยสามารถแบ่งตามลักษณะการใช้งานได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภท Class G (General) มีคุณสมบัติเทียบเท่าหมวกประเภท Class A ตามมาตรฐานเดิม คือ หมวกนิรภัย ที่ป้องกันแรงดันไฟฟ้า เหมาะกับการใช้งานทั่วไป เช่น งานก่อสร้าง งานโยธา งานเครื่องกล งานที่ไม่เสี่ยง ต่อไฟฟ้าแรงสูง
ภาพที่ 4.9 หมวกนิรภัยประเภท Class G (General) 2) ประเภท Class E (Electrical) มี คุณสมบัติเทียบเท่าหมวกประเภท Class B ตามมาตรฐานเดิม คื อ หมวกนิรภัยป้องกันแรงดันไฟฟ้าได้สูงกว่าแบบ A เหมาะกับการใช้งานทั่วไป
ภาพที่ 4.10 หมวกนิรภัยประเภท Class E (Electrical) 3) ประเภท C (Conductive) มีคุณสมบัติเทียบเท่าหมวกประเภท Class C ตามมาตรฐานเดิม คือ หมวกนิรภัยที่ ไม่ส ามารถป้อ งกัน แรงดัน ไฟฟ้ า ได้ เพราะทาจากวัส ดุที่ เป็น โลหะแต่ส ามารถทนแรงกระแทกหรื อ แรงเจาะได้ดี เหมาะกับงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า
ภาพที่ 4.11 หมวกนิรภัยประเภท C (Conductive) 54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
4) ประเภท D ใช้ในการป้องกันไฟและแรงดันไฟฟ้า ทนความร้อนสูงเพราะทาจากวัสดุที่ไม่ไหม้ไฟ และ ไม่เป็นตัวนาไฟฟ้า เหมาะสาหรับงานประเภทดับเพลิง
ภาพที่ 4.12 หมวกนิรภัยประเภท D 3.4 อุปกรณ์ป้องกันเท้า รองเท้านิร ภัย (Safety Shoes) ใช้ป้อ งกัน อัน ตรายจากเศษวัส ดุแ ละเชื้อโรค โดยรองเท้านิรภัยมีอ ยู่ด้ว ยกัน หลายประเภท เช่น - รองเท้าชนิดหัวโลหะ ใช้ป้องกันอันตรายจากของแหลมคม ทนทานต่อแรงกระแทกและความร้อน
ภาพที่ 4.13 รองเท้าชนิดหัวโลหะ - รองเท้าตัวนาไฟฟ้า เหมาะกับงานที่เกี่ยวข้องกับกระแสไฟฟ้า เพราะมีตัวนาไฟฟ้าสาหรับให้ประจุไฟฟ้า ไหลผ่านไป
ภาพที่ 4.14 รองเท้าตัวนาไฟฟ้า
55 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3.5 อุปกรณ์ป้องกันมือ ใช้ป้องกันอันตรายจากการถูกวัตถุมีคมบาด ตัด ขูดขีด ทาให้ผิวหนังถลอก การจับของร้อนหรือการใช้มือสัมผัส วัสดุอุปกรณ์ที่อาจก่อให้เกิดอันตรายอื่น ๆ โดยเลือกใช้ถุงมือหรือเครื่องสวมเฉพาะนิ้วชนิดต่าง ๆ ตามความเหมาะสมกับ ลักษณะของงาน ดังนี้ - ถุงมือใยหิน ใช้สาหรับงานที่ต้องสัมผัสความร้อนเพื่อป้องกันมือไม่ให้ได้รับอันตรายจากความร้อ นหรือ การเผาไหม้
ภาพที่ 4.15 ถุงมือใยหิน - ถุงมือใยโลหะ ใช้สาหรับงานที่เกี่ยวกับการใช้ของมีคม ในการหั่น ตัด หรือสัมผัสวัสดุอุปกรณ์ที่แหลมคม หรือหยาบมาก
ภาพที่ 4.16 ถุงมือใยโลหะ - ถุงมือยาง ใช้สาหรับงานไฟฟ้า และถุงมือยางที่สวมทับด้วยถุงมือหนังชนิดยาว เพื่อป้ องกันการถูกของ มีคมบาดหรือทิ่มแทงทะลุ สาหรับใช้ในงานไฟฟ้าแรงสูง
ภาพที่ 4.17 ถุงมือยางกันไฟฟ้าแรงสูง 56 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- ถุงมือยางชนิดไวนีลหรือนีโอพรีน ใช้สาหรับงานที่ต้องสัมผัสสารเคมีชนิดที่มีฤทธิ์กัดกร่อนหรือซึมผ่าน ผิวหนังได้
ภาพที่ 4.18 ถุงมือยางชนิดไวนีล - ถุงมือหนังใช้สาหรับงานที่ต้องสัมผัสวัสดุที่หยาบ งานที่มีการขัดผิว การแกะสลัก หรืองานเชื่อม
ภาพที่ 4.19 ถุงมือหนังสัตว์ - ถุงมือหนังเสริมใยเหล็ก ใช้สาหรับงานหลอมโลหะหรือถลุงโลหะ - ถุงมือผ้าหรือเส้นใยทอ ใช้สาหรับงานที่ต้องหยิบจับวัสดุอุปกรณ์เบา ๆ เพื่อป้องกันมือจากสิ่งสกปรกต่าง ๆ - ถุงมือผ้ าหรื อใยทอเคลือบน้ายา ใช้สาหรับงานที่ ต้องสั มผัส สารเคมีโ ดยทั่ว ไป เช่น งานบรรจุหี บห่ อ งานบรรจุกระป๋ อง หรืออุตสาหกรรมอาหาร ฯลฯ
ภาพที่ 4.20 ถุงมือผ้าทอเคลือบน้ายา
57 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3.6 อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ อุป กรณ์ป้อ งกัน ระบบทางเดิน หายใจ (Respiratory Protection Devices) ใช้สาหรับป้อ งกันอันตรายที่จะ เกิดขึ้นกับระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่ปฏิบัติงานที่มีมลพิษ ผู้ปฏิบัติงานต้องใช้อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจเพื่อ ป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับระบบทางเดินหายใจ โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภทที่ทาให้อากาศบริสุทธิ์ก่อนเข้าสู่ทางเดินหายใจ (Air Purifying Devices) เป็นหน้ากากแบบ ครึ่งหน้า หรือเต็มหน้า ทาหน้าที่กรองอนุภาคที่แขวนลอยในอากาศ เช่น ฝุ่น ฟูม ควัน แก๊สพิษ ไอระเหย โดยส่วนกรองอากาศจะแตกต่างไปตามการใช้งาน ได้แก่ - ชนิดแผ่นกรองอากาศ ทามาจากใยอัด ใช้สาหรับกรองอากาศให้บริสุทธิ์
ภาพที่ 4.21 หน้ากากชนิดแผ่นกรอง - ชนิดตลับกรองอากาศ ภายในเป็นตัวจับมลพิษโดยการดูดซับ หรือทาปฏิกิริยากับมลพิษทาให้ อากาศที่ ผ่ า นตลั บ กรองสะอาด ปราศจากมลพิ ษ ซึ่ ง American National Standard ได้ กาหนดมาตรฐาน ANSI K 13.1-1973 ให้รหัสสีของตลับกรองสาหรับกรองแก๊ส และไอระเหย ชนิดต่าง ๆ มีดังนี้ ตารางที่ 1.1 รหัสสีของตลับกรองสาหรับกรองแก๊ส และไอระเหย ชนิดมลพิษ
สีที่กาหนด
แก๊สที่เป็นกรด
ขาว
ไอระเหยอินทรีย์
ดา
แก๊สแอมโมเนีย
เขียว
แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์
น้าเงิน
แก๊สที่เป็นกรดและไอระเหยอินทรีย์
เหลือง
แก๊สที่เป็นกรด แอมโมเนีย และไอระเหยอินทรีย์
น้าตาล
แก๊สที่เป็นกรด แอมโมเนีย คาร์บอนมอนอกไซด์ และไอระเหยอินทรีย์ 58 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
แดง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ชนิดมลพิษ
สีที่กาหนด
ไอระเหยอื่น ๆ และแก๊สที่ไม่กล่าวไว้ข้างต้น
เขียวมะกอก
สารกัมมันตรังสี (ยกเว้น ไทรเทียม และโนเบลแก๊ส)
ม่วง
ฝุ่น ฟูม มิสท์
ส้ม
ภาพที่ 4.22 หน้ากากชนิดตลับกรอง 2) ประเภทที่ส่งอากาศจากภายนอกเข้าไปในหน้ากาก (Atmosphere - supplying respirator) มีลักษณะ เป็นหน้ากากครอบมิดชนิดเต็มหน้า มีช่องกระจกใสผนึกแน่นตรงบริเวณตา แนบกระชับกับใบหน้ามิให้ อากาศจากภายนอกรั่วซึมเข้าได้ มีท่อต่อส่งจ่ายอากาศเชื่อมติดกับถังจ่ายอากาศ - ชนิดที่แหล่งส่งอากาศติดที่ตัวผู้สวม (Self contained breathing apparatus) หรือที่เรียกว่า SCBA ผู้ส วมจะพกเอาแหล่งส่งอากาศหรือถังออกซิเจนไปกับตัว โดยสามารถใช้ได้นานถึง 4 ชั่วโมง 3.6.1 หลักการทางานของอุปกรณ์นี้ มี 2 แบบ ดังนี้ 1) แบบวงจรปิ ด หลั ก การคื อ ลมหายใจออกจะผ่ า นเข้ า ไปในสารดู ด ซั บ เพื่ อ ก าจั ด แก๊ ส คาร์บอนไดออกไซด์ แล้วกลับเข้าไปในภาชนะบรรจุออกซิเจนเหลว หรือออกซิเจนแข็ง หรือสาร สร้างออกซิเจน แล้วนากลับเข้าสู่หน้ากากอีกครั้ง 2) แบบวงจรเปิ ด หลั กการคือ ลมหายใจออกจะถูกปล่ อยออกไปไม่ นากลั บมาใช้อีก อากาศที่ หายใจเข้าแต่ละครั้ งจะมาจากถังบรรจุออกซิเจนชนิดที่ส่งอากาศไปตามท่อ (Supplied air respirator) แหล่งหรือถังเก็บอากาศจะอยู่ห่างออกไปจากตัวผู้สวม อากาศจะถูกส่งมาตามท่อ เข้าสู่หน้ากาก
59 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 4.23 หน้ากากประเภทเครื่องช่วยหายใจ
60 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกจับคู่โจทย์และคาตอบให้ถูกต้อง โดยทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ข้อ
โจทย์
1
กรณีที่ผู้รับการฝึกต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์มีคม ควรเลือกใช้ถุงมือประเภทใด
2
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่ทนทานต่อแรงกระแทกและความร้อน
3
สมชายต้องปฏิบัติงานเชื่อมโลหะ ควรเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลประเภทใด
4
หน้ากากกรองอากาศที่ใช้สาหรับกรองอากาศให้บริสุทธิ์ก่อนเข้าสู่ทางเดินหายใจ
5
กรณีปฏิบัติในที่ที่มีไอระเหยอินทรีย์ ควรเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลประเภทใด
6
ถุงมือที่สาหรับขัดผิวชิ้นงาน
7
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากเศษโลหะที่เกิดขึ้นทางด้านหน้า
8
กรณีปฏิบัติงานในสถานที่ที่มีแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ ควรเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ประเภทใด
9
การปฏิบัติงานที่ต้องสัมผัสสารเคมีชนิดที่มีฤทธิ์กัดกร่อน ควรเลือกใช้ถุงมือประเภทใด
10
หากต้องการป้องกันอันตรายรอบดวงตา ควรเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลประเภทใด
61 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ข้อ
คาตอบ
ก
ถุงมือหนัง
ข
หน้ากากกรองอากาศชนิดแผ่นกรองอากาศ
ค
ถุงมือใยโลหะ
ง
แว่นตานิรภัยประเภท A
จ
รองเท้าชนิดหัวโลหะ
ฉ
ถุงมือยางชนิดไวนีล
ช
หน้ากากเชื่อม
ซ
แว่นตานิรภัยประเภท B
ฌ
หน้ากากกรองอากาศชนิดตลับกรองอากาศสีน้าเงิน
ญ
หน้ากากกรองอากาศชนิดตลับกรองอากาศสีเขียว
62 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
63 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ช
ซ
ฌ
ญ
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การแต่งกาย และการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการแต่งกายและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได้ 2. แต่งกายและใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง
2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที
3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกเลือกอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ให้ถูกต้องตามสถานการณ์ที่กาหนด เพื่อนามา ตรวจสอบสภาพและบันทึกผลลงในตาราง พร้อมทั้งสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เพื่อฝึกปฏิบัติงาน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ สถานการณ์ที่กาหนด
อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ที่เลือกใช้
สภาพของอุปกรณ์ พร้อมใช้งาน
ทาความสะอาดหัวเทียน
เปลี่ยนและปรับตั้ง สายพานอัลเตอเนเตอร์
ตรวจสอบหม้อน้า
บารุงรักษาปั๊มลม
64 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ชารุด
ความเสียหาย
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
สถานการณ์ที่กาหนด
อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ที่เลือกใช้
สภาพของอุปกรณ์ พร้อมใช้งาน
เชื่อมชิ้นงานโลหะ
เปลี่ยนกระจกหน้า รถยนต์
65 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ชารุด
ความเสียหาย
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การแต่งกาย และการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. หน้ากากเชื่อม
จานวน 1 อัน
2. รองเท้านิรภัยชนิดหัวโลหะ
จานวน 1 คู่
3. ที่ครอบหูลดเสียง
จานวน 1 อัน
4. ถุงมือผ้า
จานวน 1 คู่
5. แว่นตานิรภัย
จานวน 1 อัน
6. หน้ากากกรองอนุภาค
จานวน 1 อัน
7. โต๊ะสาหรับวางอุปกรณ์
จานวน 1 ตัว
8. แบตเตอรี่
จานวน 1 ลูก
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน - น้ากลั่นแบตเตอรี่
จานวน 1 ขวด
- ผ้าเช็ดทาความสะอาด
จานวน 1 ผืน 66 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การแต่งกาย และการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
1. จัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ครูฝึกจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
2. เลือกหยิบอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ส่วนบุคคลชนิดต่าง ๆ ไว้บนโต๊ะ ผู้ รั บ การฝึ ก เลื อ กหยิ บ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คลให้ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์ที่ใบงานกาหนด
3. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
ตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น
ส่วนบุคคล
อั น ตรายส่ ว นบุ ค คลทั้ ง ภายนอก และ ภายในว่ า อยู่ ใ นสภาพพร้ อ มใช้ ง าน หรื อ ชารุด
4. บันทึกผลลงในตาราง
บันทึกสภาพของอุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่วนบุคคลลงในตารางบันทึกผล
67 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
5. ทาตามขั้นตอนที่ 2-4 จนครบทุกสถานการณ์ที่ หลัง จากบัน ทึก ผลแล้ว ให้ผู ้รับ การฝึ ก ใบงานกาหนด
ปฏิบ ัต ิต ามขั ้น ตอนที ่ 2-4 จนกระทั ่ง ตรวจสอบสภาพของอุป กรณ์ป ้อ งกั น อัน ตรายส่ว นบุค คลครบทุก สถานการณ์ ที่ใบงานกาหนด
68 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
คาอธิบาย ผู้รับการฝึกสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่ ว นบุ ค คล ส าหรั บ ปฏิ บั ติ ง านท าความ สะอาดกรองอากาศ
7. ปฏิบัติงานเติมน้ากลั่นแบตเตอรี่
โดยตรวจสอบระดั บ น้ ากลั่ น แบตเตอรี่ จากนั้ น เติ ม น้ ากลั่ น ให้ อ ยู่ ใ นระหว่ า งขี ด UPPER LEVEL กับ LOWER LEVEL
8. ทาความสะอาดอุปกรณ์และสถานที่ปฏิบัติงาน ใช้ผ้ าเช็ดทาความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย
69 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. ตรวจสอบการทางาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑ์การพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน และครบถ้วน
2
สวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน สาหรับทาความสะอาดหัวเทียน
4
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน สาหรับเปลี่ยนและปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร์
5
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน สาหรับตรวจสอบหม้อน้า
6
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน สาหรับตรวจสอบปั๊มลม
7
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน สาหรับเชื่อมชิ้นงานโลหะ
8
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน สาหรับเปลี่ยนกระจกหน้ารถยนต์
9
การตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ป้องกัน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
อันตรายส่วนบุคคล 10
การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
11
การปฏิบัติงานเติมน้ากลั่นแบตเตอรี่
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
12
ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
13
การจั ดเก็บ เครื่ อ งมื อ อุป กรณ์ และวัส ดุห ลั ง ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน
14
เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กาหนด 70 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้องและ ครบถ้วน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทุกชิ้น
คะแนน เต็ม 3
ให้คะแนน 3 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วน หรือไม่ถูกต้องอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วนและ ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2
สวมใส่ชุดปฏิบัติงานช่างได้อย่างถูกต้องก่อนเริ่ม ปฏิบัติงาน
สวมใส่ชุดปฏิบัติงานช่างได้อย่างถูกต้องก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ให้คะแนน 3 คะแนน
3
ไม่สวมใส่ชุดปฏิบัติงานช่างก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ให้คะแนน 0 คะแนน 3
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล สาหรับ เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้ถูกต้อง ครบทุกชิ้น ทาความสะอาดหัวเทียน ให้คะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง และไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 0 คะแนน 4
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย สาหรับเปลี่ยนและ
เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้ถูกต้อง ครบทุกชิ้น
ปรับตั้งสายพานอัลเตอเนเตอร์
ให้คะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง และไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 0 คะแนน 5
การเลื อกใช้ อุ ปกรณ์ ป้ องกั นอั นตรายส่ วนบุ คคล ส าหรั บ เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้ถูกต้อง ครบทุกชิ้น ตรวจสอบหม้อน้า
ให้คะแนน 5 คะแนน
71 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับที่
รายการตรวจสอบ
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
คะแนน เต็ม
เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง และไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 0 คะแนน 6
การเลื อกใช้ อุ ปกรณ์ ป้ องกั นอั นตรายส่ วนบุ คคล ส าหรั บ เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้ถูกต้อง ครบทุกชิ้น บารุงรักษาปั๊มลม
5
ให้คะแนน 5 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง และไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 0 คะแนน
7
การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล สาหรับเชื่อม เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้ถูกต้อง ครบทุกชิ้น ชิ้นงานโลหะ
5
ให้คะแนน 5 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง และไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 0 คะแนน
8
การเลื อกใช้ อุ ปกรณ์ ป้ องกั นอั นตรายส่ วนบุ คคล ส าหรั บ เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้ถูกต้อง ครบทุกชิ้น เปลี่ยนกระจกหน้ารถ ให้คะแนน 5 คะแนน
5
เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอั นตรายไม่ถูกต้อง และไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 0 คะแนน 9
การตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้ถูกต้อง ครบถ้วนทุกชิ้น ให้คะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
72 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับที่
10
รายการตรวจสอบ
การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วนทุกชิ้น ให้คะแนน 5 คะแนน
คะแนน เต็ม 5
สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง หรือ ไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายไม่ถูกต้อง และไม่ครบถ้วน ให้คะแนน 0 คะแนน 11
การปฏิบัติงานเติมน้ากลั่นแบตเตอรี่
ตรวจสอบระดับน้ากรดแบตเตอรี่ และเติมน้ากลั่นแบตเตอรี่ ได้ถูกต้อง ให้คะแนน 3 คะแนน
3
ตรวจสอบระดับน้ากรดแบตเตอรี่ และเติมน้ากลั่นแบตเตอรี่ ไม่ถูกต้อง 1 ขั้นตอน ให้คะแนน 2 คะแนน ตรวจสอบระดับน้ากรดแบตเตอรี่ และเติมน้ากลั่นแบตเตอรี่ ไม่ถูกต้องมากกว่า 2 คะแนน ให้คะแนน 0 คะแนน 12
ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน
ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ได้สะอาดเรียบร้อย
3
และครบทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย หรือไม่ครบทุกชิ้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย และไม่ครบทุกชิ้น ให้คะแนน 1 คะแนน ไม่ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน 13
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วน หรือ ไม่ถูกต้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ และวั ส ดุ ไ ม่ ค รบถ้ ว นและ ไม่ถูกต้อง หรือไม่จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน
73 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ลาดับที่
14
รายการตรวจสอบ
เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
ปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลาทีก่ าหนด ให้คะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได้
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดไม่เกิน 5 นาที ให้คะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดมากกว่า 5 นาที ให้คะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
58
หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 41 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้
74 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 5 092101405 วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได้ 2. ปฏิบัติตนตามวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได้
2. หัวข้อสาคัญ - การป้องกันและควบคุมอัคคีภัยในสถานประกอบการ
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 75 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2.1 วัสดุ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ -
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รั บการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้
76 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
7. บรรณานุกรม วิชาป้องกันและระงับอัคคีภัย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.kamphaengsaen.go.th/work_infomation/ 2557/fire_protect.pdf
77 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 5 วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัย หลักการระงับอัคคีภัย ต้องพิจารณาและแยกองค์ประกอบของการเกิดไฟว่าเกิดจากองค์ประกอบใด ซึ่งสามารถเกิดได้ จาก 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ความร้อน (Heat) เชื้อเพลิง (Fuel) และออกซิเจน (Oxygen) จากนั้นให้ลดความร้อนของไฟ ขจัดเชื้อเพลิง กั้นออกซิเจน และตัดปฏิกิริยาลูกโซ่ เนื่องจาการลุกไหม้ของไฟเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ หากปล่อยให้ ไฟลุกลามจะ ก่อให้เกิดเพลิงไหม้ขนาดใหญ่ วิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยแบ่งออกได้เป็น 5 ส่วน ดังต่อไปนี้ 1. การป้องกันและควบคุมอัคคีภัยในสถานที่ประกอบการ หลักการในการป้องกันและควบคุมอัคคีภัย มีดังนี้ - ควบคุมและป้องกันผู้ปฏิบัติงาน โดยมีการกาหนดกฎระเบียบในการทางาน - บารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน - มีการตรวจสอบระบบดับเพลิงอย่างสม่าเสมอ - จัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ สารเคมี ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยเก็บแยกประเภทให้ถูกต้อง - มีป้ายเตือน ป้ายห้าม ป้ายแนะนาอย่างชัดเจน
ภาพที่ 5.1 ป้ายห้าม
78 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 5.2 ป้ายแนะนา
ภาพที่ 5.3 ป้ายเตือน
79 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. การสารวจและตรวจสอบเพื่อป้องกันอัคคีภัย - สารวจและตรวจสอบสถานที่ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย กาจัดเศษวัสดุที่ติดไฟได้ออก เพื่อป้องกัน การลุกลามของไฟ - สารวจและตรวจสอบของเหลวที่ติดไฟได้ ทั้งเรื่องการขนย้าย การใช้งาน และปริมาณ - สารวจและตรวจสอบเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
ภาพที่ 5.4 การตรวจสอบเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน - สารวจและตรวจสอบระบบทาความร้อนและแสงสว่าง แยกสิ่งติดไฟได้จากแหล่งความร้อน และตรวจสภาพ อุปกรณ์ 3. การสารวจและตรวจสอบสถานที่เพื่อป้องกันอัคคีภัย - สารวจและตรวจสอบบันไดหนีไฟ เพื่อให้พร้อมรับมือสถานการณ์ฉุกเฉิน - สารวจและตรวจสอบที่เก็บของหรือคลังสินค้า - จัดสถานที่สูบบุหรี่ให้เป็นสัดส่วน
. ภาพที่ 5.5 จัดสถานที่สูบบุหรี่ 80 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- ตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ - บารุงรักษาอาคารและสถานที่ 4. ระบบป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบการ ระบบป้องกันอัคคีภัยในสถานประกอบการที่ดีควรเป็น 2 แบบ ดังนี้ 4.1 การป้องกันแบบต้านรับการเกิดอัคคีภัย Passive Defense คือ - ได้รับการออกแบบมาเพื่อความปลอดภัยของอาคาร เส้นทางหนีไฟ และทางออกฉุกเฉินที่สามารถย้ายคน ออกได้ภายใน 5 นาที - ป้องกันฟ้าผ่าสถานที่ประกอบการ
ภาพที่ 5.6 ติดตั้งสายล่อฟ้าป้องกันฟ้าผ่า - การจัดเก็บวัตถุระเบิด วัสดุไวไฟ และเก็บแยกสารเคมีที่ทาปฏิกิริยาต่อกัน มีประตู-ผนังทนไฟ ภาชนะแข็งแรง - การบรรจุและขนย้าย ควรใช้เครื่องมือและวิธี การที่ปลอดภัย มีการควบคุมการระบายอากาศ มีป้ายห้าม หรือป้ายเตือน วัสดุไวไฟ-วัตถุระเบิด - ของเหลวที่เก็บภายในอาคาร ต้องมีปริมาณ ความทนไฟ ระบบป้องกันไฟ ตามข้อกาหนดที่อนุญาต 4.2 แบบระงับยับยั้งอัคคีภัย Active Defence คือ - มีการติดตั้งระบบตรวจจับอัคคีภัยและสัญญาณแจ้งเหตุไฟไหม้
81 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ภาพที่ 5.7 ติดตั้งระบบตรวจจับอัคคีภัยและสัญญาณแจ้งเหตุไฟไหม้ - มีการติดตั้งระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ซึ่งในอาคาร 2 ชั้นขึ้นไปเสียงสัญญาณต้องดัง ไม่น้อยกว่า 100 เดซิเบล - หากระบบแจ้งเตือนไฟไหม้เป็นประเภททุบกระจก ต้องติดทุกชั้น สูงจากพื้น 1.20 เมตร แต่ไม่เกิน 1.50
5. เทคนิคการหนีไฟ เมื่อเกิดอัคคีภัยสิ่งสาคัญ คือ ความปลอดภัยของผู้อยู่ในเหตุการณ์ ถ้าผู้อยู่ในเหตุการณ์ทุกคนมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการหนีไฟ สัญญาณเตือนภัย ทางออกประตูหนีไฟ และบันไดหนีไฟ จะช่วยให้ การหนีไฟเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และปลอดภัย ดังนั้นหน่วยงาน องค์กร หรือสถานที่ปฏิบัติงาน ควรตะหนักถึงความสาคัญของสิ่งเหล่านี้ และจัดให้มีการฝึกอบรมหนีไฟ เมื่อเกิดอัคคภัย เพื่อช่วยให้บุคลากรได้เรียนรู้ เกิดความเคยชิน และสามารถปฏิบัติตนเอาตัวรอดได้ เมื่อมีเหตุการณ์ไม่คาดฝัน เกิดขึ้น โดยวิธีการหนีไฟมีเทคนิคในการหนีไฟ ดังนี้ 1) เมื่อเกิดอัคคีภัยควรพยายามควมคุมสติ อย่าตื่นตกใจ และใช้สติในการแก้ไขปัญหา 2) กดสัญญาณแจ้งเตือนภัย เพื่อแจ้งให้บุคคลอื่นทราบ และช่วยแก้ไข 3) สารวจประตูทางเข้า – ออกฉุกเฉินของสถานที่เสมอ เพราะหากเกิดฉุกเฉินจะได้เอาตัวรอดได้ทันที 4) ห้ามใช้ลิฟต์ในขณะเกิดอัคคีภัยโดยเด็ดขาด เพราะระบบอาจขัดข้อง และทาให้ติดอยู่ในลิฟท์ 5) อย่ารีบแย่งหรือแข่งกันออก เพราะอาจทาให้หกล้มและเหยียบกันได้รับบาดเจ็บ 6) ใช้ปัญญาในการเอาตัวรอด หากอยู่ในสถานที่ที่มีควันไฟปริมาณ จนรู้สึกหายใจไม่สะดวกหรือไม่มีอากาศหายใจ ให้ หมอบราบลงกับพื้นในระดับไม่เกิน 1 ฟุต เพราะด้านล่ างจะมีอากาศให้ หายใจมากกว่า เนื่องจากแก๊ ส คาร์บอนไดออกไซด์จะลอยตัวอยู่สูง 7) ถ้าจาเป็นต้องวิ่งฝ่ากองเพลิง เพื่อหนีเอาตัวรอด ควรใช้ผ้าชุบน้าคลุมตัวก่อน
82 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
8) ไม่ควรหนีไปอยู่ในบริเวณที่เป็นจุดอับของอาคารหรือสถานที่ เช่น ห้องน้า ห้องใต้ดิน เป็นต้น ในขณะเดียวกัน ก็ไม่ควรหนีขึ้น ไปบริเวณดาดฟ้า เนื่องจากไฟจะลุก ลากจากด้านล่า งขึ้นสู่ด้า นบน และยากต่อ การให้ ความช่วยเหลือของเจ้าหน้าที่
83 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สิ่งแรกที่ต้องทาเมื่อเกิดอัคคีภัย ก. ตั้งสติและบอกกล่าวบุคคลรอบข้าง ข. หนีลงลิฟต์เพื่อไปยังชั้นล่างสุดของอาคาร ค. รีบหาน้ามาดับเพลิงด้วยตนเอง ง. วิ่งหนีออกจากพื้นที่ให้เร็วที่สุด 2. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบหลักของการเกิดไฟ ก. เชื้อเพลิง ข. ออกซิเจน ค. บุคลากรในองค์กร ง. ความร้อน 3. ข้อใด คือ หลักการป้องกันการเกิดอัคคีภัยในสถานที่ประกอบการ ก. ห้ามนาวัตถุไวไฟเข้ามาภายในพื้นที่ของสถานประกอบการ ข. ติดป้ายเตือน ป้ายห้าม ตามจุดสาคัญ ๆ ของสถานที่ ค. ห้ามผู้ปฏิบัติงานทางานล่วงเวลาเพียงลาพังหลังเลิกงาน ง. เลิกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีอายุการใช้งานเกิน 5 ปี 4. เพราะเหตุใด เวลาเกิดอัคคีภัยควรมอบราบลงกับพื้น หรือย่อตัวลงต่าให้ใกล้พื้นมากที่สุด ก. สะดวกต่อการดูแลความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ ข. ป้องกันตัวเองจากสะเก็ดไฟที่มาจากกองเพลิง ค. หลบหลีกสิ่งกีดขวางที่มองไม่เห็น ง. บริเวณพื้นด้านล่างมีอากาศให้หายใจมากกว่า
84 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. บุคคลใด ปฏิบัติตนได้ถูกต้องเมื่อเกิดอัคคีภัย ก. อรมเทพ พาเพื่อนหนีไปทางบันไดหนีไฟ ข. สุรเดช รีบวิ่งหนีขึ้นไปบนดาดฟ้าของอาคาร ค. ดนุพร ชวนเพื่อนไปหลบอยู่ในห้องน้า ง. พชร ตัดสินใจวิ่งฝ่ากองเพลิงออกไป
85 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
86 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การฝึกปฏิบตั ิตนเมื่อเกิดอัคคีภัย 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติตนตามวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดอัคคีภัยได้
2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที
3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทดสอบปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย โดยใช้ถังดับเพลิงที่เตรียมไว้ให้ถูกต้อง
87 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.1 การฝึกปฏิบัติตนเมื่อเกิดอัคคีภัย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุ -
88 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การฝึกปฏิบัตติ นเมื่อเกิดอัคคีภัย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ส่งสัญญาณ
คาอธิบาย
ข้อควรระวัง
ครูฝึกส่งสัญญาณให้ผู้รับการฝึกเริ่ม ปฏิบัติการหนีไฟ
2. ประชาสัมพันธ์
ผู้ รับการฝึ กรีบไปกดสั ญญาณแจ้งเตือ น เหตุเพลิงไหม้
3. มองหาทางออกฉุกเฉิน
มองหาทางออกหรือประตูฉุกเฉิน
ห้ ามใช้ลิ ฟต์ขณะเกิดเหตุ เพลิงไหม้
4. หลีกเลี่ยงกลุ่มควัน
ให้ผู้รับการฝึกหมอบลงกับพื้น และ เคลื่อนที่ไปหาทางออก
89 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. หนีลงบันไดหนีไฟ
คาอธิบาย
ข้อควรระวัง
เมื่อ ถึง ทางออกฉุก เฉิน ให้ผู้รับ การฝึก มี ส ติ แ ละไม่ ค วรแย่ ง หรือ ออกจากสถานที่ โดยใช้บันไดหนีไฟ
เบียดกันออก เพราะอาจ ทาให้สะดุดหกล้ม
6. ไปยังจุดรวมพล
หลั ง ออกมาจากสถานที่ ให้ รี บ ไปยั ง
7. ตรวจสอบจานวน
จุดรวมพล ตรวจสอบจานวนผู้ร่วมปฏิบัติการ และ แจ้งยอดแก้ครูฝึก
8. ทาความสะอาดสถานที่ปฏิบัติการ
ท าความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ก ารให้ เรียบร้อย
90 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3. ตรวจสอบการทางาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่
รายการตรวจสอบ
1
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
4
สวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธ์และการหาทางออกเป็นไป ตามลาดับขั้นตอน การหลบหนี อ อกจาก ที่ เ กิ ด เ หตุ เ ป็ น ไ ป ตามลาดับขั้นตอน การรวมพลเป็นไปตามลาดับขั้นตอน
5
เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กาหนด
2 3
เกณฑ์การพิจารณา
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
91 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่
1
รายการตรวจสอบ
สวมใส่ชุดปฏิบัติงานช่างได้อย่างถูกต้องก่อนเริ่ม ปฏิบัติงาน
ข้อกาหนดในการให้คะแนน
สวมใส่ชุดปฏิบัติงานช่างได้อย่างถูกต้องก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ให้คะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได้
3
ไม่สวมใส่ชุดปฏิบัติงานช่างก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ให้คะแนน 0 คะแนน 2
การประชาสัมพันธ์และหาทางออก
ถูกต้องและเป็นไปตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 5 คะแนน
5
ถูกต้อง แต่ไม่เป็นไปตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 3 คะแนน ไม่ถูกต้อง แต่เป็นไปตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน 3
การหลบหนีออกจากที่เกิดเหตุ
ถูกต้องและเป็นไปตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 5 คะแนน
5
ถูกต้อง แต่ไม่เป็นไปตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 3 คะแนน ไม่ถูกต้อง แต่เป็นไปตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน 4
การรวมพล
ถูกต้องและเป็นไปตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 5 คะแนน
5
ไม่ถูกต้องตามลาดับขั้นตอน ให้คะแนน 0 คะแนน 5
เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลาทีก่ าหนด
3
ให้คะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดไม่เกิน 5 นาที ให้คะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดมากกว่า 5 นาที ให้คะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
21
หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 15 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้ 92 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 6 092101406 ข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - บอกข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพได้
2. หัวข้อสาคัญ - กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัย
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม
93 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7. บรรณานุกรม ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://it.dru.ac.th/e-profiles/uploads/ learns/learn409.pdf ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.coe.or.th/coe-2/Download/Articles/ ME/CH1.pdf
94 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 6 ข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ ข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ ถือเป็นเรื่องสาคัญที่ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมถึงหน่วยงาน ควร ตะหนักถึงความสาคัญและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพราะการมีสุขภาพที่ส่งผลดีต่อทั้งตัวบุคคล และเป็นประโยนช์ต่อ หน่วยงานด้วย เช่น บุคลากรมีสุขภาพอนามัยดี ทาให้มีสติสัมปชัญญะ ทางานด้วยความรอบคอบ และมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ เกิดความปลอดภัยระหว่างกาปฏิบัติงาน ลดปัญหาด้านความเสี่ย ง รวมถึงช่วยลดอัตราการหยุดงาน เป็นต้น โดยข้อกาหนด เกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัย กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติหน้าที่ ประกอบด้วยรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) ผู้ปฏิบัติงานต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อบังคับ คาแนะนาต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด หากสงสัย หรือ ไม่เข้าใจ ในส่วนใดให้สอบถามเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยหรือหัวหน้างาน 2) หากพบว่าสถานที่ทางานไม่ปลอดภัย หรือ พบว่าเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานชารุด เสียหาย ให้แจ้งหัวหน้างานทราบโดยทันที 3) ปฏิบัติตามป้ายห้าม ป้ายเตือนอย่างเคร่งครัด 4) ห้ามผู้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาในสถานที่ปฏิบัติงาน 5) ห้ามทางานในที่ลับตาคน หรือไม่มีใครทราบ 6) แต่งกายเรียบร้อยและรัดกุม 7) สวมหมวกนิรภัยในขณะที่ปฏิบัติงาน 8) ห้ามใส่รองเท้าแตะ 9) ห้ามหยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน 10) ห้ามเสพของมึนเมา และห้ามนาของมึนเมาเข้ามาในสถานที่ปฏิบัติงานโดยเด็ดขาด 11) ห้ามปรับแต่งหรือซ่อมแซมเครื่องจักรกลเอง โดยไม่ได้รับอนุญาต 12) ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่าง ๆ ตามที่กาหนด และดูแลรักษาอย่างดี 13) ในการซ่อมแซมไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ต้องให้ช่างไฟฟ้าหรือผู้เชี่ยวชาญเท่านั้นเป็นผู้ดาเนินการ 14) เมื่อได้รับบาดเจ็บไม่ว่าเล็กน้อยหรือมาก ต้องแจ้งให้หัวหน้างานและเจ้าหน้าความปลอดภัยทราบถึงสาเหตุ เพื่อหาวิธีและแนวทางแก้ไขป้องกัน 15) หากผู้ปฏิบัติงานไม่อยู่ในสภาพพร้อมปฏิบัติงาน หัวหน้างานต้องสั่งให้หยุดพักงานทันที 95 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
2. ข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยเมื่อต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า มีข้อปฏิบัติที่ควรทราบดังนี้ 1) อย่าซ่อมแซมแก้ไขความชารุดหรือขัดข้องของไฟฟ้าด้วยตนเองหากไม่มีความรู้ 2) ยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกก่อนปฏิบัติงานเสมอ 3) ก่อ นปฏิบัติง านควรตรวจสอบเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ต่ า ง ๆ ที่ใ ช้ใ นงานไฟฟ้า ไม่ค วรใช้อุป กรณ์ ห รื อ เครื่ องมือที่ชารุ ด 4) มีสมาธิ และไม่ประมาทในขณะปฏิบัติงาน 5) อย่าใช้เครื่องมือที่ไม่มีฉนวนหุ้มตรงที่จับ เช่น ไขควง และเครื่องวัดไฟฟ้า เป็นต้น 6) อย่ า ยื น บนพื้ น คอนกรี ต ด้ ว ยเท้ า เปล่ า ขณะปฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วกั บ ไฟฟ้ า ควรใช้ ผ้ า ยางรองพื้ น หรื อ สวมใส่ รองเท้า 7) อย่าใช้ข้อต่อแยกหรือเสียบปลั๊กหลายทาง เนื่องจากเป็นการใช้กระแสไฟเกินกาลัง อาจทาให้สายร้อน และ เกิ ด ไฟไหม้ 8) อย่าใช้วัสดุอื่นแทนฟิวส์ หรือใช้ฟิวส์เกินขนาด 9) อย่านาอุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้ากระแสตรงไปใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ 10) เดินสายไฟชั่วคราวอย่างระมัดระวัง เพื่อป้องกันการเกิดอันตราย 11) หากเดินสายไฟติดรั้วสังกะสีหรือเหล็ก ต้องใช้วิธีร้อยสายไฟในท่อเพื่อป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่ว 12) อย่าปล่อยให้สายเครื่องใช้ไฟฟ้าลอดใต้เสื่อหรือพรม เพราะเปลือกหุ้มหรือฉนวนของสายไฟอาจแตก และเกิด ไฟช็อตได้ง่าย 13) อย่าให้เครื่องใช้ไฟฟ้าเปียก เพราะน้าจะเป็นสะพานให้ไฟฟ้ารั่วไหลออกมาได้ 14) สวิตช์และสะพานไฟ (Cut Out) ทุกแห่งต้องสามารถปิด-เปิดได้สะดวก 3. ข้อกาหนดด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยของหน่วยงาน 1) จัดให้มีบริการด้านสวัสดิการ เช่น ห้องน้า ห้องพักผ่อน ห้องพยาบาล สถานที่รับประทานอาหาร เป็นต้น 2) จัดให้มีบริการด้านสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย - จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพ อนามัย และความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน - จัดให้มีการตรวจสุขภาพประจาปี - จัดกิจกรรมนันทนาการตามความเหมาะสม - จัดหาบุคลากรทางการแพทย์และพยาบาล คอยดูแลและให้บริการด้านสุขภาพ 96 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
3) สังเกตและดูแลพฤติกรรมของบุคลากร - จัดให้มีการตรวจสอบสารเสพติดในร่างกายของบุคลากร - จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง สารเสพติดและโทษของสารเสพติด - หากตรวจสอบพบสารเสพติดในหน่วยงาน ให้แจ้งข้อมูลแก่หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงทันที เช่น สถานีตารวจในเขตพื้นที่ หรือสานักงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด เป็นต้น
97 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใด คือ ข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้า ก. ซ่อมแซมอุปกรณ์ไฟฟ้าด้วยตนเอง ข. เมื่อต้องเปลี่ยนฟิวส์ควรเลือกใช้ฟิวส์ที่มีขนาดเท่าเดิม ค. เดินสายไฟฟ้าสอดไว้ใต้พรมเพื่อป้องกันการสะดุด ง. ใช้ข้อต่อแยกเมื่อต้องการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าพร้อมกันหลายเครื่อง 2. หน่วยงานใด ปฏิบัติตามข้อกาหนดด้านสุขอนามัย ก. โรงงานผลิตรถยนต์จัดห้องสาหรับพักผ่อนให้แก่พนักงาน ข. โรงงานผลิตรถยนต์แจกอาหารกลางวันให้แก่พนักงาน ค. โรงงานผลิตรถยนต์แจกชุดปฏิบัติงานใหม่ให้พนักงาน ง. โรงงานผลิตรถยนต์ติดป้ายห้ามผู้ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาในพื้นที่ 3. บุคคลใด ไม่ปฏิบัติ ตามกฎความปลอดภัย ก. ปองยศของลางานครึ่งวันเนื่องจากรู้สึกไม่สบาย ข. ดนุพลคัดแยกเครื่องมืออุปกรณ์ที่ชารุดเสียหายออก ค. ชุมพลห้ามไม่ให้สุรเดชพาญาติเข้ามาโรงงาน ง. สมปองสวมรองเท้าแตะเข้ามาในพื้นที่ปฏิบัติงาน 4. ข้อกาหนดด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยที่หน่วยงานพึงปฏิบัติ ยกเว้น ข้อใด ก. จัดกิจกรรมนันทนาการให้พนักงาน ข. มีสวัสดิการตรวจสุขภาพประจาปี ค. เพิ่มค่าแรงการทางานล่วงเวลาในวันหยุด ง. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของสารเสพติด
98 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับความปลอดภัยและสุขภาพจะมีประสิทธิภาพได้อย่างไร ก. ได้รับความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ข. มีผู้นาที่มีความสามารถด้านการบริหารจัดการ ค. มีกฎระเบียบที่ชัดเจนและเด็ดขาด ง. มีการกาหนดบทลงโทษที่รุนแรง
99 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
100 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 7 092101407 กฎหมายแรงงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ - อธิบายสิทธิตามกฎหมายแรงงานได้
2. หัวข้อสาคัญ 1. เวลาทางาน 2. เวลาพัก 3. วันหยุดสัปดาห์ 4. วันหยุดประเพณี 5. วันหยุดพักผ่อนประจาปี 6. การลา เช่น ลาคลอด ลากิจ ลาเพื่อรับราชการทหาร เป็นต้น 7. ค่าจ้าง 8. การทางานล่วงเวลาและการทางานในวันหยุด 9. ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด 10. ค่าชดเชย 11. การใช้แรงงานหญิง 12. การใช้แรงงานเด็ก 13. การร้องทุกข์ของลูกจ้าง
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
101 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online)เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึ กมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
102 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
7. บรรณานุกรม กระทรวงแรงงาน. สิทธินายจ้าง ลูกจ้าง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.mol.go.th/employer/duty กระทรวงแรงงาน. การคุ้มครองแรงงาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://lb.mol.go.th/ewt_news.php?nid=224 กระทรวงแรงงาน. สิทธิตามกฎหมายแรงงาน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.mol.go.th/employee/ rihgt_labor%20low
103 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 7 กฎหมายแรงงาน จากพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้มีการกาหนดสิทธิตามกฎหมายแรงงาน เพื่อคุ้มครองผู้ปฏิบัติงานทุกคนไว้ ดังนี้ 1. เวลาทางาน - ไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ - งานที่เป็นอันตรายตามที่กฎกระทรวงกาหนดไม่เกิน 7 ชั่วโมงต่อวัน และไม่เกิน 42 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2. เวลาพัก - ในวันที่มีการทางานตามปกติ นายจ้างจะต้องจัดให้มีเวลาพักติดต่อกันไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง ภายใน 5 ชั่วโมงแรก ของการทางาน - กรณีเป็นงานที่ต้องทาอย่างต่อเนื่อง หรือเป็นงานฉุกเฉิน ไม่สามารถหยุดพักได้ นายจ้างจะไม่จัดเวลาพักให้ ลูกจ้างก็ได้ แต่ต้องได้รับความยินยอมจากลูกจ้าง 3. วันหยุดสัปดาห์ - ไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 1 วัน โดยมีระยะห่างกันไม่เกิน 6 วัน - ลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจาสัปดาห์ - ยกเว้นลูกจ้างรายวัน รายชั่วโมงหรือตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย - นายจ้างและลูกจ้างทาการตกลงกันล่วงหน้า เพื่อกาหนดให้มีวันหยุดประจาสัปดาห์วันใดก็ได้ - กรณีวันหยุดประจาสัปดาห์ ไม่แน่นอน ให้นายจ้างประกาศวันหยุดให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วัน และแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงานตรวจแรงงานทราบภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ประกาศกาหนด 4. วันหยุดประเพณี - ไม่น้อยกว่า 13 วัน โดยนับรวมวันแรงงานแห่งชาติด้วย หากวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจา สัปดาห์ ต้องหยุดชดเชยในวันทางานถัดไป - ลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุดตามประเพณี
104 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
5. วันหยุดพักผ่อนประจาปี - ลูกจ้างที่ทางานมาครบ 1 ปี มีสิทธิ์หยุดพักผ่อนประจาปีไม่น้อยกว่า 6 วันทางานต่อปี - ลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจาปี - ลูกจ้างที่ยังทางานไม่ครบ 1 ปี สามารถให้หยุดตามส่วนได้ - นายจ้างเป็นผู้กาหนดวันหยุดพักผ่อนประจาปีให้ลูกจ้าง และแจ้งให้ทราบล่วงหน้า หรือกาหนดตามที่ตกลง ร่วมกัน - นายจ้างและลูกจ้างตกลงกันล่วงหน้าเรื่องสะสมและเลื่อนวันหยุดพักผ่อนประจาปีไป เพื่อรวมหยุดในปีอื่นได้ 6. การลา เช่น ลาคลอด ลากิจ ลาเพื่อรับราชการทหาร เป็นต้น - การลาคลอด ลูกจ้างมีสิทธิลาคลอดก่อนและหลังคลอดครรภ์หนึ่งไม่เกิน 90 วัน โดยให้นับรวมวันหยุดที่มี ระหว่ า งวั น ลาด้ ว ย และให้ น ายจ้ า งจ่ า ยค่ า จ้ า งแก่ ลู ก จ้ า งซึ่ ง ลาคลอดเท่ า กั บ ค่ า จ้ า งในวั น ท างานตลอด ระยะเวลาที่ลา แต่ไม่เกิน 45 วัน - การลากิจ ลูกจ้างมีสิทธิ์ลาเพื่อกิจธุระอันจาเป็นได้ตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทางาน - ลูกจ้าง มีสิทธิ์ลาเพื่อรับราชการทหารในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึก วิชาทหาร หรือเพื่อทดสอบ ความพรั่งพร้อม โดยลาได้เท่ากับจานวนวันที่ทางการทหารเรียก และได้รับค่าจ้างตลอดเวลาที่ลาแต่ไม่เกิน 60 วันต่อปี 7. ค่าจ้าง - คือเงินค่าตอบแทนที่ตกลงกันระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตามสัญญาจ้าง สาหรับระยะเวลาการทางานปกติ เป็นรายชั่วโมง รายวัน รายสัปดาห์ หรือระยะเวลาอื่น หรือจ่ายให้โดยคานวณตามผลงานที่ลูกจ้างทาได้ใน เวลาทางานปกติของวันทางาน รวมถึงเงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างในวันหยุด และวันลาที่ ลูกจ้างมิได้ ทางานแต่มีสิทธิ์ได้รับตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน - ลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่า 8. การทางานล่วงเวลาและการทางานในวันหยุด - กรณีงานมีลักษณะต้องทาติดต่อกันต่อเนื่อง ถ้าหยุดจะก่อให้เกิดความเสียหาย นายจ้างสามารถให้ลูกจ้าง ทางานล่วงเวลา หรือทางานในวันหยุดได้เท่าที่จาเป็น
105 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- กรณีที่มีการทางานล่วงเวลาต่อจากเวลาทางานปกติไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง นายจ้างต้องมีเวลาให้ลูกจ้างพัก ไม่น้อยกว่า 20 นาที ก่อนเริ่มทางานล่วงเวลา ยกเว้นเป็นงานที่ต้องทาติดต่อกันต่อเนื่อง 9. ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด - ถ้าทางานเกินเวลาทางานปกติของวันทางาน นายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งเท่าครึ่งของอัตรา ค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางานตามจานวนชั่วโมงที่ทา หรือไม่น้อยกว่าหนึ่งเท่าครึ่งของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยใน วันทางานตามจานวนผลงานที่ทาได้สาหรับลูกจ้างที่ได้รับค่าจ้างตามผลงาน - ถ้าทางานในวันหยุดเกินเวลาทางานปกติของวันทางานนายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้าง ในอัตรา 3 เท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางาน ตามจานวนชั่วโมงที่ทาหรือตามจานวนผลงานที่ทาได้ สาหรับลูกจ้างที่ได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเป็นหน่วย - ถ้าทางานในวันหยุดในเวลาทางานปกติ นายจ้างต้องจ่ายค่าทางานในวันหยุด ให้แก่ลูกจ้างที่มีสิทธิได้รับ ค่าจ้างในวันหยุดเพิ่มขึ้นอีก 1 เท่า ของค่าจ้างในวันทางานตามชั่วโมงที่ทางานในวันหยุด หรือตามจานวน ผลงานที่ทาได้ สาหรับลูกจ้างที่ได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเป็นหน่วย - สาหรับลูกจ้างที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดต้องจ่ายไม่น้อยกว่า 2 เท่า ของค่าจ้างในวันทางานตามชั่วโมง ที่ทางานในวันหยุด หรือตามจานวนผลงานที่ทาได้สาหรับลูกจ้างที่ได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเป็นหน่วย 10. ค่าชดเชย ลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชย หากถูกเลิกจ้างโดยไม่มีความผิด ดังนี้ - ลูกจ้างที่ทางานครบ 120 วัน แต่ไม่ครบ 1 ปี มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน - ลูกจ้างที่ทางานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 90 วัน - ลูกจ้างที่ทางานครบ 3 ปี แต่ไม่ครบ 6 ปี มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 180 วัน - ลูกจ้างที่ทางานครบ 6 ปี แต่มีครบ 10 ปี มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 240 วัน - ลูกจ้างที่ทางานตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป สิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 300 วัน
106 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ในกรณีที่นายจ้างเลิกจ้าง เพราะมีการปรับปรุงหน่วยงาน กระบวนการผลิต การจาหน่าย หรือบริการ เนื่องจากมีการนา เครื่องจักรหรือเทคโนโลยีมาใช้ จึงจาเป็นต้องลดจานวนพนักงาน จะต้องปฏิบัติดังนี้ - แจ้งวันที่จะเลิกจ้าง บอกเหตุผลการเลิกจ้าง และรายชื่อลูกจ้ างที่จะถูกเลิกจ้างให้ทราบล่วงหน้า โดยไม่น้อยกว่า 60 วัน ก่อนที่จะเลิกจ้าง - หากไม่แจ้งล่วงหน้า หรือแจ้งล่วงหน้าน้อยกว่า 60 วัน ต้องจ้างค่าชดเชยพิเศษเท่ากับค้าอัตราจ้างสุดท้าย 60 วัน 11. การใช้แรงงานหญิง ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างหญิงทางานต่อไปนี้ - งานเหมืองแร่ หรืองานก่อสร้างที่ต้องทางานใต้ดิน ใต้น้า ในถ้า ในอุโมงค์ หรือปล่องในภูเขา ยกเว้นว่างาน ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย และสุขภาพ - งานที่ต้องทาบนนั่งร้านที่สูงกว่าพื้นดินตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป - งานผลิต หรือขนส่งวัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟ - งานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ห้ามให้ลูกจ้างหญิงที่มีครรภ์ทางานในช่วงเวลา 22.00น.- 06.00น. ทางานล่วงเวลา ทางานในวันหยุด หรือทางานอย่าง หนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ - งานเหมืองแร่ หรืองานก่อสร้างที่ต้องทางานใต้ดิน ใต้น้า ในถ้า ในอุโมงค์ หรือปล่องในภูเขา ยกเว้นว่างาน ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายและสุขภาพ - งานเกี่ยวกับเครื่องจักรหรือเครื่องยนต์ที่มีความสั่นสะเทือน - งานขับเคลื่อน หรือติดไปกับยานพาหนะ - งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน 15 กิโลกรัม - งานอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง 12. การใช้แรงงานเด็ก - ห้ามนายจ้างจ้างเด็กอายุต่ากว่า 15 ปี เป็นลูกจ้าง - หากรับเด็กที่มีอายุต่ากว่า 18 ปี เป็นลูกจ้าง ต้องแจ้งต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ เด็กเข้าทางาน และแจ้งสิ้นสุดการจ้างภายใน 7 วันหลังจากเลิกจ้าง และนายจ้างต้องมีชั่วโมงพักให้ 1 ชั่วโมง ต่อวัน ภายใน 4 ชั่วโมงแรกของการทางาน และเวลาพักย่อยอื่น ๆ ตามที่นายจ้างกาหนด 107 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
- ห้ามให้เด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานในช่วงเวลา 22.00น. - 06.00น. - ห้ามให้เด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานต่อไปนี้ - งานหลอม เป่า หล่อ หรือรีดโลหะ - ทางานในสถานที่เล่นการพนัน - สถานที่เต้นรา ราวง หรือ รองเง็ง - ทางานในสถานที่ที่มีสุรา น้าชา หรือเครื่องดื่มอย่างอื่นจาหน่าย และบริการ โดยมีผู้บาเรอ สาหรับปรนนิบัติลูกจ้าง หรือโดยมีที่สาหรับพักผ่อนหลับนอน หรือมีบริการนวดให้แก่ลูกค้า สถานที่อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง - ห้ามนายจ้างจ่ายของจ้างของเด็กให้แก่บุคคลอื่น 13. การร้องทุกข์ของลูกจ้าง ลูกจ้างสามารถเรียกร้องสิทธิของตนเอง อันเนื่องมาจากการฝ่าฝืนกฎหมายแรงงานของนายจ้างได้ โดย - นาคดีไปฟ้องศาลแรงงาน - ยื่นคาร้องทุกข์ต่อพนักงานตรวจแรงงาน 14. การพิจารณาคาร้องทุกข์ของพนักงานตรวจแรงงาน - เร่งสอบสวนข้อเท็จจริงจากนายจ้าง ลูกจ้าง และพยานโดยเร็ว รวมทั้งการรวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวข้องด้วย หลังจากตรวจสอบข้อเท็จจริงแล้วต้องมีคาสั่งให้นายจ้างจ่ายเงินหรือยกคาร้องทุกข์ของลูกจ้าง - การรวบรวมข้อเท็จจริง และการมีคาสั่งต้องกระทาให้แล้วเสร็จ ภายใน 60 วัน นับแต่วันรับคาร้องทุกข์ - ถ้าไม่ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน ให้ขอขยายเวลาต่ออธิบดีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด โดยขอขยาย ระยะเวลาได้ไม่เกิน 30 วัน 15. บทกาหนดโทษการฝ่าฝืนกฎหมาย - อธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานมีอานาจเปรียบเทียบปรับ หากความผิดเกิดขึ้นในกรุงเทพฯ - ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอานาจเปรียบเทียบปรับ หากความผิดเกิดขึ้นในจังหวัด และต้องชาระค่าปรับภายใน 30 วัน นับจากวันที่ได้รับแจ้ง - ถ้าไม่ยอมเปรียบเทียบปรับหรือไม่ชาระค่าปรับภายในกาหนด พนักงานสอบสวนจะดาเนินการตามขั้นตอน ของกฎหมายต่อไป 108 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูก หรือ ผิด และทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ถูก
ผิด
ข้อความ 1. ตามกฎหมายแรงงานกาหนดเวลาทางานไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2. ลูกจ้างไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุดตามประเพณี 3. นายจ้างสามารถให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลา หรือทางานในวันหยุดได้เท่าที่จาเป็น กรณีงานมีลักษณะต้องทาติดต่อกันต่อเนื่อง ถ้าหยุดจะก่อให้เกิดความเสียหาย 4. นายจ้างห้ามให้ลูกจ้างหญิงทางานบนนั่งร้านที่สูงกว่าพื้นดินตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป 5. ลูกจ้างที่ทางานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี มีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยเท่ากับค่าจ้าง อัตราสุดท้าย 180 วัน 6. ลูกจ้างมีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจาสัปดาห์ 7. ลูกจ้างไม่มีสิทธิ์ได้รับค่าจ้างในวันหยุดพักผ่อนประจาปี 8. ห้ามใช้แรงงานหญิง งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกิน 20 กิโลกรัม 9. ลูกจ้างที่ทางานมาครบ 1 ปี มีสิทธิ์หยุดพักผ่อนประจาปีไม่น้อยกว่า 6 วันทางานต่อ ปี 10. กรณีทางานล่วงเวลาต่อจากเวลาทางานปกติไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมง นายจ้างต้อง มีเวลาพักให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่า 20 นาที ยกเว้นเป็นงานต่อเนื่อง
109 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
110 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 111 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 1
112 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน