คู่มือครูฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 4

Page 1

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คูมือครูฝก 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 4 09210204 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 4 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน ฉบับนี้ เปน สวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อ ใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โดยได ดําเนิน การภายใตโครงการพัฒ นาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดว ยระบบการ ฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเ พื่อ ให ครูฝก ไดใ ชเ ปน เครื่อ งมือ ในการบริห ารจัด การการฝก อบรมใหเ ปน ไปตามหลัก สูต ร กลา วคือ สามารถใชแ ละอธิบ าย สมบัติข องวัส ดุกัน รั่ว ซึม และสารยึดแนน ได ตลอดจนติด ตามความกาวหนา ของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถ หรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing แล ะเน น ผ ล ลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ ทํา ให ผู รั บ การฝ ก อบรมมี ค ว ามส ามารถ ในการปฏิ บั ติ ง านตามที่ต ลาดแรงงานตอ งการ โดยยึด ความสามารถของผูรับ การฝก เปน หลัก การฝก อบรมในระบบ ดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตร การฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูก กํา หนดเปน รายการความสามารถหรือ สมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับ การฝก อบรม จําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝก จะต อ งเรี ย นรู แ ละฝ ก ฝนจนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดํา เนิ น การได ทั้ ง รู ป แบบการเรี ย นรู ผ า นสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ (Paper Based) และ ผานสื่อคอมพิว เตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรี ยนรู ได ดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือ ที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกั บหนว ยฝ ก โดยมีครูฝกหรือผูส อนคอยใหคําปรึ กษา แนะนําและ จัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนิน การทดสอบ ประเมิน ผลในลักษณะตาง ๆ อัน จะทําใหส ามารถ เพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ช ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ย ในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มีความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําให ประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง ไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 1 09210204 วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน หัวขอวิชาที่ 1 0921020401 สมบัติและการใชวัสดุกันรั่วซึม

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921020402 สมบัติและการใชสารยึดแนน

36

คณะผูจัดทําโครงการ

61

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100502

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝ กใน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรชางยนต 1.3 มีความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรประยุกต 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุ และสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหและแกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตน 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการทํารายงานสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก วัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน รหัสโมดูลการฝก 09210204 3. ระยะเวลาการฝก รวม 7 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 5 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน วย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายสมบัติวัสดุกันรั่วซึมได 2. ใชวัสดุกันรั่วซึมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายสมบัติสารยึดแนนได 4. ใชสารยึดแนนไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูเรื่องสมบัติของวัสดุในงานชาง ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 3 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายสมบัติวัสดุกันรั่วซึมได หัวขอที่ 1 : สมบัติและการใชวัสดุกันรั่วซึม 1:15 2:30 3:45 2. ใชวัสดุกันรั่วซึมไดอยางถูกตอง 3. อธิบายสมบัติสารยึดแนนได หัวขอที่ 2 : สมบัติและการใชสารยึดแนน 0:45 2:30 3:15 4. ใชสารยึดแนนไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น 2:00 5:00 7:00 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921020401 สมบัติและการใชวัสดุกันรั่วซึม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายสมบัติวัสดุกันรั่วซึมได 2. ใชวสั ดุกันรั่วซึมไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. สมบัติของวัสดุกันรั่วซึม 2. การใชวัสดุกันรั่วซึม

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) กาวทาปะเก็น 2) ปะเก็นกระดาษ ขนาด 30 x 30 เซนติเมตร 3) ผาเช็ดทําความสะอาด 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กรรไกร 2) เกรียง 3) คอนเหล็ก 4) เครื่องยนตตั้งแทนสําหรับฝก (ถอดสายพานออก) 5) โตะปฏิบัติการ 6) ประแจวัดแรงบิด 7) แผนไมรองตอกปะเก็น 8) เหล็กตอกปะเก็น

จํานวน 1 หลอด จํานวน 1 แผน จํานวน 1ผืน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อัน จํานวน 1 แผน จํานวน 1 อัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม นายประสาน รัตนสาลี เทคโนโลยีปะเก็น (Gasket) [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.psmc2006.com/ article-Gasket-Packing.pdf PAKO engineering ปะเก็น (Gasket) คืออะไร? [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pakoengineering.com/ blog/2016/ปะเก็น/

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 สมบัติและการใชวัสดุกันรั่วซึม วัสดุกันรั่วซึม หมายถึง วัสดุหรืออุปกรณที่ใชอุดเพื่อปองกันไมใหของเหลว หรือแกสไหลรั่วซึมผานมาบริเวณที่อุดและ ชวยใหบริเวณที่อุดมีความแข็งแรงและปองกันการรั่วซึมได 1. สมบัติของวัสดุกันรั่วซึม ปะเก็น (Gasket) คือ อุปกรณและวัสดุที่ใชอุดของเหลวหรือแกส เนื่องจากการนําอุปกรณหรือชิ้นสวน 2 ชิ้นมาประกบ กันอาจมีชองวางหรือรูโหว จึงตองใชปะเก็นมาใชเปนตัวชวยอุดชองวางหรือรูเหลานั้น เพื่อปองกันการรั่วไหลของแกสและ ของเหลว เพราะปะเก็นสามารถยุบตัวตามแรงบีบอัด และพองตัวหรือขยายตัวได โดยปะเก็นมีอยูหลายชนิดและมีสมบัติ แตกตางกัน ดังนี้

ภาพที่ 1.1 ปะเก็น 1) มีคุณสมบัติในการทนตอการกัดกรอน (Chemical Resistance) ของสารเคมีตาง ๆ เชน กรด ดาง สารทําละลาย น้ํามัน เปนตน 2) มีคุณสมบัติที่สามารถทนตอการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ (Temperature) 3) มีคุณสมบัติที่สามารถทนตอการเปลี่ยนแปลงของความดัน (Pressure) ได 4) มีคุณสมบัติในการปองกันการซึมผาน (Impermeability) ได เชน ปะเก็นยางที่เสริมเสนใยไนลอน ผา หรือ เหล็ก เปนตน 5) มีความเหนียวของวัสดุ (Thickness) ซึ่งปะเก็นควรมีความหนาที่เหมาะสมตอการใชงาน ไมบางหรือหนา จนเกินไป

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.1 วัสดุ (Material) ที่นํามาใชผลิตปะเก็น การเลือกวัสดุที่นํามาใชผลิตปะเก็น ตองพิจารณาจากสมบัติของวัสดุ เพื่อใหเขากับสมบัติของตัวกลางที่ถูกลําเลียง ผานปะเก็น ซึ่งวัสดุที่นิยมนํามาใชผลิตปะเก็นในปจจุบัน มีดังนี้ 1) ฉนวนใยแกว (Fiberglass) คือ เสนใยแกวเปนวัสดุเสริมแรงที่มีสมบัติในการขยายตัว และทนตออุณหภูมิ ที่สูงหรือต่ําได 2) ยาง (Rubber) หรือ ยางธรรมชาติเปนพอลิเมอรชนิดหนึ่งที่สามารถทนตออุณหภูมิต่ํา และความดันไมสูง มากได 3) ยางเทีย ม (Neoprene) หรือ ยางสัง เคราะห มีส มบัติใ นการรองรั บ ความดัน ภายในไดด ี และมี ความยืดหยุนสูง แตจะเกิดการแข็งตัวเมื่อใชไปนาน ๆ 4) ทองแดง (Copper) คือ วัสดุมีสมบัติในการตานทานการกัดกรอน และสามารถทนตออุณหภูมิสูงได 5) อะลูมิเนียม (Aluminum) คือ โลหะที่มีความมันวาว สามารถทนตออุณหภูมิสูงได 6) เทฟลอน (Teflon) คือ พอลิเมอรที่มีสมบัติสูง โดยสามารถรองรับความดันภายในไดดี มีความยืดหยุนสูง และทนตอการกัดกรอน 1.2 ชนิดของตัวกลางที่ลําเลียงผานปะเก็น การเลือกใชปะเก็นใหเหมาะสมกับการใชงาน ตองพิจารณาคุณสมบัติตัวกลางที่ถูกลําเลียงผานปะเก็น ดังนี้ 1) ตัวกลางที่มีอุณหภูมิต่ํากวา -10 องศาเซลเซียส 2) ตัวกลางที่มีอุณหภูมิสูงกวา 1,000 องศาเซลเซียส 3) ตัวกลางเปนน้ํา มีสมบัติไมติดไฟ 4) ตัวกลางเปนน้ํามัน มีสมบัติติดไฟ 5) ตัวกลางเปนสารเคมี มีสมบัติติดไฟ และกัดกรอน 6) ตัวกลางเปนแกสมีพลังงานสะสม มีความดัน และบางชนิดไวไฟ 2. การเลือกใชวัสดุกันรั่วซึม การเลือกใชวัสดุกันรั่วซึมหรือปะเก็น (Gasket) ควรพิจารณาสมบัติในดานตาง ๆ ของปะเก็นอยางรอบคอบ เพื่อให เหมาะสมกับสมบัติของตัวกลางที่จะถูกลําเลียงผาน เหมาะสมตอการใชงาน และยืดอายุการใชงานปะเก็น ซึ่งปะเก็นมีอยู ดวยกันหลายรูปแบบ มีลักษณะการใชงานแตกตางกัน โดยทั่วไปสามารถแบงได ดังนี้

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1) ปะเก็นโอริง (O-Ring) มีลักษณะเปนวงแหวนกลม เรียบ และไมมีจุดเชื่อมตอ นิยมใชสําหรับประกบเขา กับรองที่เซาะไว เพื่อครอบอัดโอริง (O-Ring) โดยโอริง (O-Ring) เปนยางที่มีลักษณะวงกลม สําหรับอุดลง ในชองวางเพื่อปองกันการรั่วซึมในเครื่องยนต

ภาพที่ 1.2 ปะเก็นโอริง (O-Ring) 2) ปะเก็นวงแหวนแบน (Flat) มีลักษณะเปนวงแหวนเรียบ แตมีความหนาหลายขนาด นิยมใชกับหนาจานทอ ปม หรือวาลว

ภาพที่ 1.3 ปะเก็นวงแหวนแบน (Flat Gasket) 3) ปะเก็นแผน (Plate) ปะเก็นที่ตองตัดตามรูปแบบของชิ้นสวนที่ประกบกัน อาจทําจากกระดาษสําหรับตั ด ปะเก็น ซึ่งมีความหนาตามลักษณะของงานที่ใช เชน ปะเก็นปมน้ํา ปะเก็นฝาครอบวาลว หรือ ปะเก็นฝาสูบ ซึ่งจะตองมีโลหะประกอบเปนบางสวน เปนตน

ภาพที่ 1.4 ปะเก็นแผน (Plate Gasket)

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

4) ปะเก็นวงแหวน (Spiral Wound) มีลักษณะเปนแผนกลมซอนวงดานในเปนชั้น ๆ ซึ่งเปนการเสริมขดโลหะ เพิ่มความแข็ง โดยมีวัสดุอุดชองวางแทรกอยูระหวางกลางของแตละชั้น นิยมใชกับหนาประกับของระบบ แกส น้ํามัน สารเคมี หรือไอน้ํา

ภาพที่ 1.5 ปะเก็นแหวน (Spiral Wound Gasket) 5) ปะเก็ น เชื อก (Packing) มี ทั้งลั กษณะที่เปน แท งและเสน นิย มใชกับ เครื่องสูบ ตาง ๆ ซึ่งสามารถทนต อ อุณหภูมิสูงและต่ําได

ภาพที่ 1.6 ปะเก็นเชือก (Packing Gasket) 6) ปะเก็นไมกอก (Cork Gasket) คือ ปะเก็นที่ใชสําหรับงานปองกันการรั่วซึมของน้ํามัน ซึ่งตองใชความหนา ของปะเก็นมาก

ภาพที่ 1.7 ปะเก็นไมกอก (Cork Gasket)

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

7) ปะเก็นเหลว (Gasket Replacer) หรือ กาวปะเก็น มีลักษณะคลายกาว คือ เปนของเหลว มีสีพื้นฐานคือ สีเทา สีดํา สีแดง และสีขาว มีคุณสมบัติแตกตางกันออกไปในแตละสี ปะเก็นเหลวมีคุณสมบัติทนความรอนสูง และความดันไดดี เมื่อแหงจะมีลักษณะคลายยาง มีความยืดหยุนสูง ชวยปองกันการรั่วซึมของน้ํามัน สารเคมี หรือแกส สามารถใชอุดรอยตอ รอยรั่ว รวมถึงมีคุณสมบัติที่สามารถทนอุณหภูมิที่ประมาณ -60 องศา ถึง 250 องศา นิยมใชกับอางน้ํามันเครื่อง เสื้อเกียร ปลั๊กถายน้ําหมอน้ํา สกรู

ภาพที่ 1.8 ปะเก็นเหลว (Gasket Replacer)

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด ไมใช คุณสมบัติของปะเก็น ก. ทนตอการกัดกรอนของสารเคมี ข. ทนตอการเปลี่ยนแปลงความดัน ค. ทนตอการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ง. ทนตอการเปลี่ยนแปลงของพลังงาน 2. วัสดุที่นิยมนํามาใชผลิตปะเก็นชนิดใด เปนวัสดุเสริมแรงที่มีสมบัติในการขยายตัว ก. อะลูมิเนียม ข. เทฟลอน ค. ฉนวนใยแกว ง. ยางเทียม 3. ปะเก็นชนิดใด มีลักษณะเปนวงแหวนกลม เรียบ ไมมีจุดเชื่อมตอ ก. ปะเก็นแผน ข. ปะเก็นโอริง ค. ปะเก็นวงแหวน ง. ปะเก็นเชือก 4. ปะเก็นฝาสูบ ถือเปนปะเก็นชนิดใด ก. ปะเก็นแผน ข. ปะเก็นโอริง ค. ปะเก็นวงแหวน ง. ปะเก็นเชือก

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

5. ปะเก็นวงแหวนแบน นิยมใชกับอุปกรณใด ก. หนาประกับของระบบแกส ข. อางน้ํามันเครื่อง ค. เสื้อเกียร ง. หนาจานทอ 6. ขอใด คือ สีพื้นฐานของปะเก็นเหลว ก. เทา ดํา เขียว น้ําตาล ข. ขาว ดํา เทา แดง ค. ขาว ดํา แดง น้ําตาล ง. เทา ดํา แดง น้ําตาล 7. ปะเก็นชนิดใด นิยมใชกับเครื่องสูบ ก. ปะเก็นโอริง ข. ปะเก็นวงแหวน ค. ปะเก็นเชือก ง. ปะเก็นเหลว 8. ขอใด คือลักษณะของปะเก็นวงแหวน ก. แผนวงกลมซอนดานในเปนชั้น เสริมขดโลหะเพื่อเพิ่มความแข็ง ข. แผนกวาง และมีตัวล็อกปะเก็นไมใหอุปกรณหลุดออก ค. แผนวงกลมเรียบ ใชสําหรับประกบเขากับรองที่เซาะไว ง. แทงหรือเสน เสริมวัสดุปองกันการรั่วซึม

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

9. ปะเก็นเหลว สามารถทนตออุณหภูมิไดประมาณเทาใด ก. - 80 – 100 องศาเซลเซียส ข. - 70 – 120 องศาเซลเซียส ค. - 60 – 250 องศาเซลเซียส ง. - 50 – 160 องศาเซลเซียส 10. ปะเก็นเหลว นิยมใชกับอุปกรณใด ก. ปลั๊กถายน้ําของหมอน้ํา ข. ปมน้ํา ค. เสื้อสูบ ง. ทอน้ําและวาลวน้ํา

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชวัสดุกันรั่วซึมไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนตใหถูกตองตามขั้นตอนที่กําหนด

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตัดปะเก็นปมน้าํ เครื่องยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิ บัติงาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องยนตตั้งแทนสําหรับฝก (ถอดสายพานออก)

จํานวน 1 ชุด

2. เหล็กตอกปะเก็น

จํานวน 1 อัน

3. คอนเหล็ก

จํานวน 1 อัน

4. แผนไมรองตอกปะเก็น

จํานวน 1 แผน

5. เกรียง

จํานวน 1 อัน

6. กรรไกร

จํานวน 1 อัน

7. ประแจวัดแรงบิด

จํานวน 1 อัน

8. โตะปฏิบัติการ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ปะเก็นกระดาษ ขนาด 30 x 30 เซนติเมตร

จํานวน 1 แผน

3. กาวทาปะเก็น

จํานวน 1 หลอด

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ถอดปมน้ํา

คําอธิบาย โดยคลายนอตที่เสื้อสูบดานหนา และนํา ปมน้ําออก

2. ทําความสะอาดปมน้ํา

โดยการใชเกรียงขูดปะเก็นที่มีอยูเดิมออก ใหหมด แลวใชผาชุบน้ําเช็ดใหสะอาด

3. วางปะเก็นกระดาษ

วางแผ น ไม ร องตั ด ปะเก็ น ลงบนโต ะ ปฏิบัติงาน และวางปะเก็นกระดาษลงบน แผนไม

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ทํารอยปะเก็นบนปะเก็นกระดาษ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตรวจดู ว า ร อ งรอยของปะเก็ น เดิ ม อยู ที่ ค ว ร ท า จ า ร ะ บี ใ น บริ เ วณใด และใช จ าระบี ท าบาง ๆ ตาม ปริ ม าณที่ พ อเหมาะ รอยปะเก็นเดิม

เพราะหากทาจาระบี

วางปมน้ําบริเวณที่ทาจาระบีลงบนปะเก็น มากเกิ น ไป จะทํ า ให กระดาษ เพื่อทํารอยกอนตัดปะเก็น และ ปะเก็นกระดาษติด กั บ ยกปมน้ําออก

ปมน้ําจนแกะออกจาก กั น ยาก และหากทา นอยเกินไป จะเห็นรอย ปะเก็นเดิมไดไมชัดเจน

5. ตอกปะเก็น

ใช เ หล็ ก ตอกที่ รู ป ะเก็ น สํ า หรั บ ใส น อต ขนาดตาง ๆ ตามขนาดของนอตที่ปรากฏ บนกระดาษ

6. ตัดปะเก็น

ใช ก รรไกรตั ด ปะเก็ น กระดาษ ตามรอย จาระบี

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. ทดลองวางปะเก็น

คําอธิบาย ทดลองประกบประเก็นที่ตัดไดกับปมน้ําวา พอดีหรือไม

8. ติดปะเก็นใหม

หากปะเก็ น ประกบกั บ ป ม น้ํ า ได พ อดี ใช กาวทาปะเก็นทาที่ปะเก็นทั้ง 2 ดาน แลว นําไปประกบกับปมน้ํา

9. ขันนอต

ขันนอตใหแนนตามคาแรงบิดที่กําหนดใน คูมือซอมประจํารถยนต โดยใชประแจวัด แรงบิด

10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การตัดปะเก็นปมน้ําเครื่องยนต

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การขันนอตปะเก็น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตารางวัดคาแรงบิด

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกต อง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

3

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน กอนเริ่มปฏิบัติงาน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบี

ทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบีไดถกู ตองตามขั้นตอน และเห็นรอยของปะเก็นเดิมชัดเจน ใหคะแนน 5 คะแนน ทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบีไมถกู ตองตามขั้นตอน หรือ เห็นรอยของปะเก็นเดิมไดไมชัดเจน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ทํารอยตัดปะเก็นดวยการทาจาระบีไมถกู ตองตามขั้นตอน และเห็นรอยของปะเก็นเดิมไดไมชัดเจน ใหคะแนน 0 คะแนน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การตัดปะเก็น

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ตัดปะเก็นไดขนาดพอดีกับปะเก็นเดิม ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม

5

ตัดปะเก็นไดขนาดคลาดเคลื่อนจากกับปะเก็นเดิม 1-3 เซนติเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน ตัดปะเก็นไดขนาดคลาดเคลื่อนจากกับปะเก็นเดิมมากกวา 3 เซนติเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน ตัดปะเก็นไดขนาดคลานเคลื่อน และไมเปนรูปทรงเดิม ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การขันนอตปะเก็น

ขั นนอตปะเก็นโดยใชป ระแจวัดแรงบิดตามคา ที่กาํ หนด

3

ไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ขันนอตปะเก็นโดยใชประแจวัดแรงบิดตามคาที่กําหนด คลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

31

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 22 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921020402 สมบัติและการใชสารยึดแนน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายสมบัติสารยึดแนนได 2. ใชสารยึดแนนไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. สมบัติของสารยึดแนน 2. การใชสารยึดแนน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) กระจกหนารถยนต 2) กาวอีพอกซี 3) ซิลิโคนยึดกระจก 4) เทปกาว 5) น้ํายาไพรเมอร 6) น้ํายาแอคติเวเตอร 7) ยางขอบกระจก 8) ลวดสลิง ยาว 60 เซนติเมตร 9) ผาเช็ดทําความสะอาด 10) เศษผา 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) เกรียง 2) เครื่องมือจับกระจก 3) เครื่องมือชางพื้นฐาน 4) เครื่องยิงซิลิโคน 5) ผาคลุมรถสําหรับซอม 6) รถยนตนั่งสวนบุคคล

จํานวน 1 แผน จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 หลอด จํานวน 1 มวน จํานวน 1 ขวด จํานวน 1 ขวด จํานวน 1 เสน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 ผืน จํานวน 2 ชิ้น จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 คัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กาวธรรมชาติ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/ snet7/skku01_1.htm วัสดุประสาน [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://building.cmtc.ac.th/main/images/stories/ Taweesak/unit_1.11.pdf วัสดุประสานและกาว [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.vcharkarn.com/blog/116163/94677

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 สมบัติและการใชสารยึดแนน 1. สมบัติและการใชสารยึดแนน วัสดุประสาน หรือ สารยึดแนนคือ วัสดุที่ใชติดวัตถุตาง ๆ ใหแนนสนิทเขาดวยกัน โดยมีทั้งแบบผลิตจากวัสดุธรรมชาติ และวัสดุสังเคราะหทางวิทยาศาสตร ซึ่งวัสดุประสานนิยมใชกันอยางมากในอุตสาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมเครื่องบิน อุตสาหกรรมเครื่องอุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิกส เปนตน วัสดุประสานสามารถแบงออกได 2 ประเภท คือ วัสดุประสานธรรมชาติ และวัสดุประสานสังเคราะห 1.1 วัสดุประสานธรรมชาติ สามารถแบงไดดังนี้ 1) กาวไขสัตว คือ กาวที่ทํามาจากหนัง และกระดูกของสัตว มีลักษณะเปนวุน วิธีใชใหนําเม็ด หรือเกล็ดกาว มาผสมกับน้ํา แลวนําไปเคี่ยวไฟจนเหนียว กาวจะติดแนนและแข็งตัวเมื่อน้ําระเหยออกไป

ภาพที่ 2.1 กาวไขสัตว 2) กาวเคซีน คือ กาวที่ทํามาจากนม มีลักษณะเปนผง กาวชนิดนี้มีคุณสมบัติดีกวากาวไขสัตว เนื่องจาก สามารถยึดเกาะกับวัสดุที่มีผิวพรุนไดดี และทนความชื้นสูง

ภาพที่ 2.2 กาวเคซีน

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3) กาวพืช คือ กาวที่ทํามาจากยางตนไม และแปง มีลักษณะเปนยางเหนียว ซึ่งกาวที่ทํามาจากยางไมจะ นิยมใชกันมากกวากาวที่ทํามาจากแปง เนื่องจากยางไมจะไมยึดแนนไมหดตัว แตกาวแปงจะสามารถ หลุดลอกไดหากมีการขัดถู 4) โซเดี ย มซิ ลิ เ กต คื อ วั ส ดุ ป ระสานที่ใชงานทั่ว ไป สามารถทนความร อนได สู ง ถึ ง 260 องศาเซลเซียส

ภาพที่ 2.3 โซเดียมซิลิเกต 1.2 วัสดุประสานสังเคราะห คือ กาวที่ผลิตจากสารเคมี เพื่อใหไดกาวที่มีคุณสมบัติตามที่ตองการ ใชสะดวก แข็งแรง ทนความชื้น และทนอุณหภูมิสูงได กาวประเภทนี้จึงเปน ที่นิย มใชกัน อยางแพรห ลายในปจ จุบัน ซึ่งสามารถ แบงออกได 2 ชนิด คือ เทอรโมเซตติ้ง และเทอรโมพลาสติก 1) เทอรโมเซตติ้ง - กาวอีพอกซี มีสมบัติยึดเกาะไดกับวัสดุที่มีผิวเรียบ รูพรุน และโลหะ กาวชนิดนี้จะระเหยและแหงเร็ว มีขอดีคือมีแรงยึดติดสูง เหมาะสําหรับ ปะ อุด เชื่อมวัสดุ เชน การซอมแซมตัวถังรถยนต ทอเหล็ก ทองแดง ชิ้นสวนอะไหล เปนตน

ภาพที่ 2.4 กาวอีพอกซี 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- กาวฟโนลิก มีสมบัติในการยึดเกาะสูง ทนทานตอการผุกรอน เปนฉนวนไฟฟา ไมดูดความชื้น และ ทนความรอนไดสูงถึ ง 260 องศาเซลเซียส นิยมใชเปนเปลือกห อหุมคอยลรถยนต แกนคอยลใน เครื่องรับวิทยุ โทรทัศน เปนตน

ภาพที่ 2.5 กาวฟโนลิก - กาวซิ ลิ โ คนหรื อเรีย กวา ซิ ลิโคน ยาแนว มีส มบัติทนความรอนไดสูงถึง 260 องศาเซลเซีย ส ทน ความชื้นไดดี และมีความยืด หยุ น นิยมใชกับ งานติด กระจกรถยนต หองเย็น เครื่องทําความเย็น และอุตสาหกรรมไฟฟา เปนตน

ภาพที่ 2.6 กาวซิลิโคน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- กาวยูเรีย มีสมบัติในการยึดเกาะสูง คลายกับกาวฟโนลิก สามารถยึดเกาะไดกับวัสดุที่มีผิวพรุน และ นิยมใชอุตสาหกรรมติดไม

ภาพที่ 2.7 กาวยูเรีย - กาวโพลีเอสเตอรเรซิน มีสมบัติทนตออุณหภูมิที่สูง งายตอการหลอ ทนกรด ทนดาง ใส และแข็ง เปนพิเศษ นิยมใชติดลังใสของ เรือ ตัวถังรถยนต ฉนวนไฟฟา เปนตน

ภาพที่ 2.8 กาวโพลีเอสเตอรเรซิน - อัลกาไลดเรซิน มีสารละลายเพื่อใหเกิดความมัน นิยมใชในการประกอบชิ้นสวนไฟฟาอิเล็กทรอนิกส

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2) เทอรโมพลาสติก - ไวนีลเรซิน คือ วัสดุประสานที่นิยมใชในอุตสาหกรรมกระจกนิรภัยรถยนต เหมาะสําหรับติดโลหะกับ กระจก

ภาพที่ 2.9 ไวนีลเรซิน - เซลลูโลสดีริเวทีฟ มีสมบัติทนความชื้น เหมาะสําหรับใชกับงานทั่วไป ยกเวนใชติดโลหะและกระจก - อะครีลิก มีสมบัติแข็งตัวเร็วดวยปฏิกิริยาทางเคมี ภายใน 2-3 วินาที นิยมใชสําหรับติดโลหะกับ กระจก โดยการอัดเปนฟลมบาง ๆ ระหวางวัสดุที่ตองการจะติดกัน

ภาพที่ 2.10 อะครีลิก

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- น้ํายาไพรเมอร มีสมบัติในการยึดติด ไมเปนอันตรายตอสีรถยนต เหมาะสําหรับการใชทารองพื้น ผิวชิ้นงาน เพื่อความแนนหนาในการยึดติด

ภาพที่ 2.11 น้ํายาไพรเมอร - น้ํายาแอคติเวเตอร มีสมบัติในการยึดติด และใชสําหรับทําความสะอาดพิ้นผิวของกระจก เหมาะสําหรับ ในงานติดกระจกรถยนต

ภาพที่ 2.12 น้ํายาแอคติเวเตอร

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. วัส ดุป ระสาน นิย มใชกัน มากในงานอุต สาหกรรม เชน อุต สาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรมกระดาษ และอุตสาหกรรมเครื่องบิน 2. กาวเคซีน คือ กาวที่ทํามาจากหนังและกระดูกของสัตว มีลักษณะเปนวุน 3. โซเดียมซิลิเกต สามารถทนความรอนไดสูงถึง 260 องศาเซลเซียส 4. กาวชนิดหนึ่งที่นิยมใชติดลังใสของ ตัวถังรถยนต หรือฉนวนไฟฟา คือ กาวซิลิโคน 5. ขอดีของกาวอีพอกซี คือ มีแรงยึดติดสูง ระเหยและแหงเร็ว 6. กาวที่นิยมใชเปนเปลือกหอหุมคอยลรถยนต แกนคอยลในวิทยุ หรือแกนคอยล ในโทรทัศน คือ กาวฟโนลิก 7.เซลลูโลสดีริเวทีฟ คือ วัสดุประสานที่นิยมใชในงานติดกระจกรถยนต 8. สาเหตุ ที่กาวที่ทําจากยางไม ไดรับ ความนิย มมากกวา กาวที่ ทําจากแปง คือ คุณสมบัติที่ไมยึดแนนและไมหดตัว 9. กาวที่มีคุณสมบัติในการยึดเกาะสูงคลายกับกาวฟโนลิก คือ กาวโพลีเอสเตอรเรซิน 10. กาวยาแนวอะคริลิก คือกาวที่สามารถแข็งตัวไดเร็วดวยปฏิกิริยาเคมี นิยมใชกับ งานติดโลหะและติดกระจก

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การเปลี่ยนกระจกหนารถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชสารยึดแนนไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบัติงานเรื่องสมบัติและการใชสารยึดแนนได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานเปลี่ยนกระจกหนารถยนต

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การเปลี่ยนกระจกหนารถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิ บัติงาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตนั่งสวนบุคคล

จํานวน 1 คัน

2. ผาคลุมรถสําหรับซอม

จํานวน 1 ชุด

3. เครื่องมือชางพื้นฐาน

จํานวน 1 ชุด

4. เครื่องยิงซิลิโคน

จํานวน 1 เครื่อง

5. เครื่องมือจับกระจก

จํานวน 1 อัน

6. เกรียง

จํานวน 1 อัน.

7. เครื่องมือตัดกาวกระจกรถ

จํานวน 1 อัน

8. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

9. เครื่องมือพิเศษสําหรับงานเปลี่ยนกระจก

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. กระจกหนารถยนต

จํานวน 1 แผน

3. ซิลิโคนยึดกระจก

จํานวน 1 หลอด

4. น้ํายาประสาน

จํานวน 1 ขวด

5. น้ํายากันสนิม

จํานวน 1 ขวด

6. ยางขอบกระจก

จํานวน 1 เสน

7. เทปกาว

จํานวน 1 มวน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน สมบัติและการใชสารยึดแนน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จอดรถ

โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง

2. ดับเครื่องยนต

ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตํ าแหน ง P ถาเปน เกีย รธ รรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

3. คลุมผาสําหรับซอม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช ผ า คลุ ม สํ า หรั บ ซ อ มคลุ ม ที่ ก ระโปรง หน า รถ บั ง โคลนซ า ย-ขวา พวงมาลั ย และเบาะนั่ง

4. นําคิ้วขอบกระจก 2 ขางออก

ใชเครื่องมือพิเศษสําหรับเปลี่ยนกระจก งัดคิ้วขอบกระจกออกทั้ง 2 ขาง โดยเริ่ม งัดจากดานลางขึ้นไปดานบน

5. นําที่ปดน้ําฝนออก

ใชมือดึงจุกยางครอบนอตออก จากนั้น ใชประแจคลายนอตออก และยกกานที่ ปดน้ําฝนออก

6. เปดฝากระโปรงหนารถ

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็ อ ก ไ ม ค้ํ า ยั น ฝ า กระโปรงหน า รถทุ ก

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝ า ก ร ะ โ ป ร ง ป ด ระหวางปฏิบัติงาน

7. นําแผงกั้นดานหลังหองเครื่องออก

ใช เ ครื่ อ งมื อ พิ เ ศษสํ า หรั บ งานเปลี่ ย น กระจกงัดพุกล็อกออก จากนั้นยกแผงกั้น ดานหลังหองเครื่องออก

8. ปดฝากระโปรงหนารถ

เก็บไมล็อกค้ํายันและปดฝากระโปรงรถ

9. นําแผนประกบเสา A ทั้ง 2 ขางออก

ปลดตั ว ล็ อ กและนํ า แผ น ประกบเสา A ออก

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. กรีดยางขอบกระจก

คําอธิบาย ใชคัตเตอรกรีดยางขอบกระจก

ขอควรระวัง ระวังคัตเตอรบาดมือ และระวั ง คั ต เตอร โดนสีรถเปนรอย

11. กรีดกาวขอบกระจก

การกรี ด กาวขอบกระจกด า นซ า ยและ ระวั ง กระจกบาดมื อ ดานขวา ใหเสียบเครื่องมือตัดกาวเขาไป และระวั ง เครื่ อ งมื อ ตรงมุมลางของกระจกและเริ่มกรีดจาก ตกใส ตั ว ถั ง รถและ ล า งขึ้ น บน ในกรณี ที่ จ ะกรี ด กาวขอบ รางกาย กระจกดานลาง ใหเสียบเครื่องมือตัดกาว เข า ไปตรงมุ ม กระจกและเครื่ อ งมื อ ไป ตามขอบกระจก โดยเริ่ ม จากซ า ยหรื อ ขวาก็ได

12. กรีดกาวขอบกระจกอีกครั้ง

ใชคัตเตอรกรีดกาวขอบกระจกที่ยังขาด ออกไมหมดซ้ํ าอีกครั้ง โดยขั้นตอนนี้ ให ทําจากภายในตัวรถ

13. นํากระจกออก

ใช มื อ จั บ กระจกและยกออก โดยขั้ น ร ะ วั ง ก ร ะ จ ก แ ต ก ตอนนี้ตองใชผูรับการฝก 2 คน

และระวังกระจกบาด รางกาย

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 14. ทําความสะอาดบริเวณที่ติดตั้งกระจก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

กรีดเศษยางออกใหเรียบ โดยยังคงเหลือ หากกรีดยางลึกลงไป ยางเสนเกาไวบาง เพื่อปองกันไมใหตัวถัง ถึ ง ตั ว ถั ง ร ถ ใ ห ใ ช รถเกิดสนิม และใชสําหรับยืดติดกับยาง น้ํายากันสนิมทา เพื่อ เสนใหม จากนั้นดูดฝุนตามขอบกระจก ปองกันการเกิดสนิม ออกใหหมด

15. ติดตั้งชุดยางกระจก

ติ ด ชุ ด ยางกระจกบริ เ วณขอบกระจก บานใหม และติดยางปองกันเสียงลมที่ ตัวถังรถ

16. ทาน้ํายากันสนิมและน้ํายาประสาน

ทาน้ํ า ยากั น สนิ ม ที่ บ ริ เ วณขอบที่ ติ ด ตั้ ง กระจกหนารถยนต

ทาน้ํายาประสานบริเวณรอบขอบกระจก บานใหม

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 17. ลงซิลิโคน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใชที่ยิงซิลิโคน ยิงซิลิโคนลงบริเวณรอบ การยิงซิลิโคนตองทํา ขอบกระจกบานใหม และบริเวณขอบที่ อย า งต อ เนื่ อ งห า ม ติดตั้งกระจกหนารถยนต

ขาดตอน เพื่อปองกัน ไมใหเกิดฟองอากาศ ซึ่ ง อาจเป น สาเหตุ ที่ ทําใหน้ําเขาได

18. ติดตั้งกระจกใหม

ใชที่จับกระจกจับกระจกบานใหม และ ร ะ วั ง ก ร ะ จ ก แ ต ก ยกไปวางลงในตํ า แหน ง เดิ ม โดยขั้ น และระวังกระจกบาด ตอนนี้ตองใชผูรับการฝก 2 คน

รางกาย

จากนั้นกดกระจกใหแนนติดกับตัวถังรถ ห ลั ง ก า ร เ ป ลี่ ย น และนํ า เทปกาวมาติ ด ยึ ด บริ เ วณขอบ กระจกหามเคลื่อนรถ กระจก เพื่อปองกันการลื่นไหล

หรือลางรถภายใน 4-6 ชั่วโมง เนื่องจากกาว ยังไมแหง อาจสงผล ใหกระจกเลื่อนได

19 เปดฝากระโปรงหนารถ

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็ อ ก ไ ม ค้ํ า ยั น ฝ า กระโปรงหน า รถทุ ก ครั้ง เพื่อปองกันไมให

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง ฝ า ก ร ะ โ ป ร ง ป ด ระหวางปฏิบัติงาน

20. ติดตั้งแผงกั้นดานหลังหองเครื่อง

นําแผงกั้นดานหลังหองเครื่อง และพุกล็อก ประกอบกลับเขาไปในตําแหนงเดิม

21. ปดฝากระโปรงหนารถ

เก็บไมล็อกค้ํายันและปดฝากระโปรงรถ

22. ประกอบแผนประกบเสา A ทั้ง 2 ขาง

ประกอบแผ น ประกบเสา A ที่ตําแหนง เดิมทั้ง 2 ขางและกดล็อกใหเรียบรอย

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

22 ติดตั้งที่ปดน้ําฝน

นํากานปดน้ําฝนไปวางลงในตําแหนงเดิม จากนั้นใชประแจขันนอตใหแนน และปด จุกยางครอบนอต

23. ติดตั้งคิ้วขอบกระจก 2 ขาง

นําคิ้ว ขอบกระจกไปวางลงในตํา แหน ง

24. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เดิม และใชมือกดใหแนนสนิท ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การนํากระจกเกาออก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การทาน้ํายาปองกันสนิม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การเตรียมกระจกใหมและวางกระจกแผนใหม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

8

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

3

รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน กอนเริ่มปฏิบัติงาน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การนํากระจกเกาออก

นํากระจกเกาออกไดอยางเรียบรอย และถูกตองตามขั้นตอน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน นํากระจกเกาออกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน นํากระจกเกาออกไมเรียบรอย และไมถกู ตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การทาน้ํายาปองกันสนิม

ทาน้าํ ยาปองกันสนิมไดอยางเรียบรอย และถูกตองตามตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

ทาน้ํายาปองกันสนิมไมเรียบรอย หรือไมถูกตองตามตําแหนง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ทาน้ํายาปองกันสนิมไมเรียบรอย และไมถูกตองตามตําแหนง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การเตรียมกระจกใหมและวางกระจกแผนใหม

เตรียมกระจกใหมถกู ตองตามขั้นตอน และวางกระจกแผน ใหมไดเรียบรอยตรงตามตําแหนง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตวาง กระจกแผนใหมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 4 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน แตวาง กระจกแผนใหมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 3 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน และวาง กระจกแผนใหมไมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมกระจกใหมไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน และวางกระจกแผนใหมไมเรียบรอยตรงตามตําแหนง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

9

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.