คู่มือครูฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 5

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

คู่มือครูฝึก 0920163100502 สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 5 09210205 เครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

คานา คู่มือครูฝึก สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 5 เครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ฉบับนี้ เป็นส่วนหนึ่งของ หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสาร ประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้วยระบบการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ. ศ. 2560 โ ดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ค รู ฝึ ก ได้ ใ ช้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ในการบริ ห ารจั ด การ การฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ สามารถบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานด้านช่างยนต์ได้ รวมทั้งสามารถใช้และ บ ารุ ง รั ก ษา เครื่ อ งชั่ ง และเครื่ อ งมื อ วั ด ทางช่ า งยนต์ ไ ด้ ตลอดจนติ ด ตามความก้ า วหน้ า ของผู้ รั บ การฝึ ก อบรม ในด้ า น ความสามารถหรือสมรรถนะให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึ กฝนเรียนรู้ ได้ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลาย ไปให้แก่ผู้รับการฝึกอบรม และต้องการให้ผู้รับการฝึกอบรมเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การฝึกปฏิบัติจะดาเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน้ น ผลลั พ ธ์ ก า รฝึ ก อบรมในการที่ ทาให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมมี ค ว ามสามารถ ในการปฏิบัติง านตามที่ต ลาดแรงงานต้อ งการ โดยยึดความสามารถของผู้รับ การฝึก เป็นหลัก การฝึก อบรมในระบบ ดังกล่าว จึงเป็นรูปแบบการฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตร การฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ล ะสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็น รายการความสามารถหรือ สมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับ การฝึก อบรม จาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึก จะต้ อ งเรี ย นรู้ แ ละฝึ ก ฝนจนกว่ า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได้ ตามมาตรฐานที่ กาหนดในแต่ ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส่ ง มอบการฝึ ก สามารถดาเนิ น การได้ ทั้ ง รู ป แบบ การเรี ย นรู้ ผ่ า นสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ (Paper Based) และ ผ่านสื่อคอมพิว เตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือ ทีท่ างาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ ความสามารถกับหน่ว ยฝึ ก โดยมีครูฝึกหรือผู้ส อนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและ จัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึง จัดเตรีย มและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้ส ามารถ เพิ่ ม จานวนผู้ รั บ การฝึ ก ได้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ช่ ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค่ า ใช้ จ่ า ย ในการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่กาลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึกที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง ได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับครูฝกึ

1

โมดูลการฝึกที่ 5 09210205 เครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ หัวข้อวิชาที่ 1 0921020501 การบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์

14

หัวข้อวิชาที่ 2 0921020502 วิธีการใช้ และบารุงรักษาเครื่องชั่ง และเครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์

40

คณะผู้จัดทาโครงการ

92

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1. โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2. ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3. ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4. ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5. ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่ง ส่ว นการใช้งานตามความรับผิดชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสียดังภาพในห น้าที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ - ผู้ดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผู้พัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝึก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ครูฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถส่งมอบการฝึกอบรมให้แก่ผู้รับการฝึกได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึ กในโมดูล ที่ครูฝึ กกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้ค ะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ครูฝึกใช้คู่มือครูฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) เป็นสื่อช่วยในการฝึก ภาคทฤษฎี โดยส่งมอบคู่มือผู้รับการฝึกแก่ผู้รับการฝึกที่ศูนย์ฝึก อบรม และฝึกภาคปฏิบัติ ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝึกอธิบายวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ให้แก่ผู้รับการฝึก ซึ่งวิธีการ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว้ 3) ผู้รับ การฝึ ก ที่ใ ช้ค อมพิว เตอร์ ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน์โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเข้าเว็บไซต์ mlearning.dsd.go.th แล้วเข้าใช้งาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ ให้กดปุ่ม Download DSD m-learning เพื่อดาวน์โหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร์ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึกในระบบ 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ครูฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิ มพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

- สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝึกมีหน้าที่มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี (ด้า นความรู้) และภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) โดยใช้ คู่มือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผู้รับการฝึก โดยแบ่งการประเมินผลได้ดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึ ก โดยกาหนดเกณฑ์การให้ คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทาได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว 9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฏี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100502

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึ กใน สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ช่างยนต์ 1.3 มีความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 1.4 มีความรู้เกี่ยวกับวัสดุ และสมบัติของวัสดุที่ใช้ในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ 1.6 มีความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้อง ความเสียหายเบื้องต้น 1.7 มีความรู้เกีย่ วกับการหล่อลื่นและการเลือกใช้สารหล่อลื่น 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการทารายงานสถิติ รวมถึงการทาระบบติดตามลูกค้าเบื้องต้น 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือ สานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 8 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 8 โมดูล

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างบารุงรักษารถยนต์ ระดับ 2

รหัสหลักสูตร 0920163100502 2. ชื่อโมดูลการฝึก เครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ รหัสโมดูลการฝึก 09210205 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 7 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 5 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่วย หน่วยการฝึกนี้ พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ได้ 2. บารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ได้ 3. อธิบายวิธีการใช้ วิธีบารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ 4. ใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้เรื่องอุปกรณ์ในงานช่างยนต์ ผู้รับการฝึก 2. มีความรู้เรื่องการใช้งานเครื่องมือ และอุปกรณ์ทางด้านช่างยนต์ 3. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 4. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 4 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการบารุงรักษาเครื่องมือ หัวข้อที่ 1 : การบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐาน 1:00 2:30 3:30 พื้นฐานทางด้านช่างยนต์ได้ ทางด้านช่างยนต์ 2. บารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐาน ทางด้านช่างยนต์ได้ 3. อธิบายวิธีการใช้ วิธีบารุงรักษา หัวข้อที่ 2 : วิธีการใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง และ 1:30 2:30 4:00 เครื่องชัง่ เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ 4. ใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ได้

รวมทั้งสิ้น

2:30 13

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

5:00

7:30


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921020501 การบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ได้ 2. บารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ได้

2. หัวข้อสาคัญ - ปฏิบัติการบารุงรักษาปั๊มลม ปืมลม ประแจลม สว่าน หินเจียระไน เครื่องมือยกรถ แท่นอัดไฮดรอลิก

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ามันอเนกประสงค์ จานวน 1 กระป๋อง 2) น้ามันไฮดรอลิก จานวน 1 กระป๋อง 3) ผ้าเช็ดทาความสะอาด จานวน 1 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) เครื่องแท่นอัดไฮดรอลิก จานวน 1 ตัว 2) เครื่องมือช่างพื้นฐาน จานวน 1 ชุด 3) ถาดรอง จานวน 1 ใบ 4) ประแจลม จานวน 1 ตัว 5) แปรงขนอ่อน จานวน 1 อัน 6) สว่านไฟฟ้า จานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก

6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝกึ ประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม การศึกษาและปฏิบัติงานเจาะ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/hnwythi07/ 7-4-kt-khwam-plxdphay-laea-kar-barung-raksa-kheruxng-ceaa วิธีการบารุงรักษาระบบไฮดรอลิก [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.similantechnology.com/ news&article/heal-hydraulic.html สาธิตการใช้และบารุงรักษาเครื่องมือลม [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/ watch?v=MGPcIWtFIZk

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ เครื่องมือช่างถือเป็นอุปกรณ์สาคัญในการปฏิบัติงาน ที่สามารถช่วยให้การปฏิบัติงานประสบความสาเร็จได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย ดังนั้น การบารุงรักษาเครื่องมือช่างจึงถือเป็นเรื่องสาคัญเช่นกัน เพราะจะทาให้เครื่องมืออยู่ในสภาพ พร้อมใช้งานเสมอ และยังช่วยยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือได้อีกด้วย 1. การบารุงรักษาปั๊มลม ปั๊มลม มีหน้าที่ในการกาเนิดลมเพื่อใช้งานในส่วนต่าง ๆ เช่น การใช้งานปืนลม ประแจลม หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องการ ใช้ลมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการงาน ปั๊มลมนั้นมีส่วนประกอบหลัก ๆ 3 ส่วนด้วยกัน คือ หัวปั๊มลม มอเตอร์ไฟฟ้า และถังเก็บลม หัวปั๊มลมจะอัดลมเก็บไว้ภายในถังเก็บลมโดยมีมอเตอร์เป็นตัวต้นกาลัง ซึ่งขนาดของส่วนประกอบต่าง ๆ จะต้องเหมาะสมกัน เพื่อการทางานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดของระบบ

ภาพที่ 1.1 ส่วนประกอบของปั๊มลม การบารุงรักษาปั๊มลม ทาได้โดยการตรวจสอบการทางานของชิ้นส่วนต่าง ๆ ในปั๊มลม ซึ่งในเบื้องต้น จะตรวจสอบตาม ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

1) การระบายลมและน้าออกจากถังเก็บลม ควรระบายน้าอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อยืดอายุการใช้งาน ของถังลม โดยก่อนระบายน้าต้องระบายลมออกจากถังเก็บลมก่อน

ภาพที่ 1.2 การระบายน้าออกจากถังเก็บลม 2) การเป่าทาความสะอาดกรองอากาศปั๊มลม มีหลักการเหมือนการทาความสะอาดกรองอากาศแบบแห้ง คือ ด้านนอกของกรองอากาศจะเป็นด้านที่สัมผัสกับฝุ่น จึงควรเป่าทาความสะอาดจากด้านในออกสู่ด้านนอก ป้องกันกรองอากาศอุดตัน 3) การเปลี่ ย นถ่ า ยน้ ามั น หล่ อ ลื่ น ปั๊ ม ลม สามารถตรวจดู ร ะดั บ น้ ามั น หล่ อ ลื่ น ปั๊ ม ลมได้ จ ากช่ อ งดู ร ะดั บ น้ามันหล่อลื่น ซึ่งระดับน้ามันควรอยู่ในระดับ ½ ของช่องดูระดับน้ามัน ทั้งนี้ ควรเปลี่ยนถ่ายน้ามันหล่อลื่น ปั๊มลมทุก ๆ 500 ชั่วโมง หรือ เมื่อน้ามันเริ่มมีสีคล้า

ภาพที่ 1.3 ช่องดูระดับน้ามันหล่อลื่น 4) การตรวจสอบสภาพของสายพาน (ปั๊มลมชนิดที่มีสายพาน) โดยสายพานควรมีความหย่อน 1-1.5 เซนติเมตร การตรวจสอบการทางานของปั๊มลมตามวิธีการข้างต้น แบ่งตามความถี่ในการตรวจสอบได้ดังนี้ 1) การตรวจสอบประจาวัน - ตรวจสอบระดับน้ามันหล่อลื่น - ตรวจสอบความดันน้ามันหล่อลื่น - ตรวจสอบการควบคุมระบบการทางาน

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

- ตรวจสอบการทางานของเครื่องดักไอกลั่นตัวแบบอัตโนมัติ (Automatic Condensate Trap) ของอินเตอร์คูลเลอร์ (Intercooler) และอาฟเตอร์คูลเลอร์ (Aftercooler) - ตรวจสอบความดันภายในอินเตอร์คูลเลอร์ (Intercooler) 2) การตรวจสอบทุก 1 เดือน หรือ 360 ชั่วโมง - ตรวจสอบการรั่วที่แพคกิ้ง (Packing) ของก้านสูบ - ตรวจสอบการรั่วของน้ามันหล่อลื่นของแหวนกวาดน้ามัน (Oil Scraper Ring) - ตรวจสอบกรองอากาศทางด้านขาเข้า - ระบายสิ่งสกปรกที่กรองน้ามันหล่อลื่น - ตรวจสอบการหล่อลื่นของวาล์วที่ไม่มีภาระ - ตรวจสอบระบบความปลอดภัย 3) การตรวจสอบทุก 6 เดือน หรือ 3000 ชั่วโมง - การตรวจสอบสภาพวาล์ว - ตรวจสอบปลอก (Liner) ของลูกสูบ - เปลี่ยนน้ามันหล่อลื่นของห้องข้อเหวี่ยง - ตรวจสอบสภาพห้องข้อเหวี่ยง หลังจากถ่ายน้ามันหล่อลื่นออก - เปลี่ยนกรองน้ามันหล่อลื่น - เปลี่ยนกรองอากาศสาหรับระบบควบคุมและที่กรองของระบบควบคุม 4) การตรวจสอบทุก 1 ปี หรือ 6,000 ชั่วโมง - ตรวจสอบแหวนลูกสูบ - เปลี่ยนที่กรองน้ามันของห้องข้อเหวี่ยง - ขันโบลท์ยึดฐานให้แน่น - ตรวจสอบนัทยึดก้านสูบ - ตรวจสอบระบบน้าหล่อเย็น อย่างไรก็ตาม การบารุงรักษาปั๊มลมมีข้อแนะนาดังต่อไปนี้ - ควรเปลี่ยนถ่ายน้ามันเครื่องปั๊มลมทุก ๆ 500 ชั่วโมง หรือเมื่อน้ามันเครื่องเริ่มมีสีคล้า - ไม่ควรใช้แรงกาลังเกินกาหนดของเครื่องมือและอุปกรณ์ - ควรติดตั้งปั๊มลมในบริเวณที่สามารถถ่ายเทความร้อนได้ดี เพื่อป้องกันอุณหภูมิรอบปั๊มลมสูงเกินไป 19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

- ไม่ควรติดตั้งปั๊มลมบริเวณพื้นที่ล าดชั นเนื่องจากน้ามันหล่ อลื่นจะหล่ อลื่นไม่สมบูรณ์ภ ายใน กระบอกสูบ - ควรถ่ายน้าใต้ถังลม โดยการเปิดวาล์ วถ่ายน้าที่อยู่บริเวณใต้ถังลมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เพื่อยืดอายุการใช้งานของถังลม - ควรเลือกใช้น้ามันเครื่องสาหรับปั๊มลมโดยเฉพาะ เนื่องจากน้าหล่อลื่นชนิดอื่น อาจส่งผลเสีย ต่อชิ้นส่วนต่าง ๆ ภายในปั๊มลมได้ - ควรเปิดใช้งานเครื่องปั๊มลมทุกวันและตรวจสอบ ทาความสะอาด เครื่องปั๊มลมอย่างสม่าเสมอ 2. การบารุงรักษาปืนเป่าลม ปืนเป่าลม เป็นอุปกรณ์สาคัญที่ใช้คู่กับปั๊มลม ทาหน้าที่ช่วยเป่าลมเพื่อทาความสะอาดชิ้นส่วนต่าง ๆ การบารุงรักษา ปืนเป่าลม ทาได้โดยการเช็ดทาความสะอาดบริเวณหัวปืนเป่าลมด้วยน้ามันอเนกประสงค์ และทาความสะอาดภายในของปืนเป่า ลมโดยใช้ลมเป่า เมื่อใช้งานเสร็จ ควรเก็บรักษาในที่แห้ง หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับน้าและความชื้น

ภาพที่ 1.4 ส่วนประกอบของปืนเป่าลม อย่างไรก็ตาม การบารุงรักษาปืนเป่าลมมีข้อแนะนาดังต่อไปนี้ - ขณะใช้งานควรแรงดันลมให้อยู่ที่ 6 - 8 Bar - ก่อนใช้งานปืมลมทุกครั้ง หยอดน้ามันปืนเป่าลม 2 - 3 หยดเข้าที่ทางลมเข้า เพื่อยืดอายุการใช้งานของปืนเป่าลม 3. การบารุงรักษาประแจลม ประแจลม คือ ประแจสาหรับขันนอตให้แน่น โดยอาศัยพลังงานจากปั๊มลม สามารถใช้กับอุปกรณ์ในห้องเครื่องยนต์ และ ในงานอุตสาหกรรมทั่วไปได้ มี 3 รูปทรง ได้แก่ ทรงปืน ซึ่งเหมาะกับการใช้งานทั่วไป ทรงกระบอก เหมาะกับงานในไลน์ ประกอบ และทรง 90 องศาเหมาะสาหรับการขันนอตตามซอกมุ มต่าง ๆ การบารุงรักษาประแจลม ทาได้โ ดยการเช็ด ทาความสะอาดคราบสกปรกภายนอก และหล่อลื่นภายในตัวเครื่องด้วยน้ายาอเนกประสงค์ 20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.5 ประแจลม อย่างไรก็ตาม การบารุงรักษาประแจลมมีข้อแนะนาดังต่อไปนี้ - ไม่ควรใช้น้ามันหล่อลื่นฉีดเข้าไปภายในตัวเครื่อง เพราะน้ามันหล่อลื่นมีความหนืดสูง อาจส่งผลให้เครื่องหนืด และประแจลมมีแรงกาลังลดลง - ไม่ควรใช้แรงดันลมเกินกาหนดของประแจลม - เลือกใช้ประแจลมที่มีขนาดเหมาะสมกับงาน ป้องกันตัวเครื่องเกิดความเสียหาย 4. การบารุงรักษาสว่านไฟฟ้า สว่า นไฟฟ้า คือ เครื่อ งมือ ในการใช้เ จาะ โดยทั่ว ไปจะใช้ง านคู่กับ ดอกสว่า น ซึ่ง มีส ามารถเลือ กใช้ไ ด้ห ลายแบบ ตามลักษณะงาน ส่วนประกอบของสว่านจะประกอบด้วย หัวจับดอกสว่าน จาปา และตัวสว่าน โดยลักษณะการเจาะด้วย สว่านเป็นการใช้ดอกสว่านหมุนพร้อมกับการออกแรง เพื่อเจาะลงบนวัสดุต่าง ๆ โดยทั่วไปสว่านสามารถแบ่งประเภทได้ ดังนี้ 1) สว่านมือ เป็นสว่านที่ใช้แรงมือ เหมาะกับงานที่ไม่ใหญ่มาก ซึ่งมีอยู่ด้วยกันหลายรูปแบบ เช่น สว่านคันธนู สว่านแบบกด สว่านข้อเสือ สว่านมือ สว่านมือแบบแนบอก เป็นต้น

ภาพที่ 1.6 สว่านแบบกด 2) สว่านไฟฟ้า เป็นสว่านที่ใช้พลังงานจากไฟฟ้าในการหมุน เช่น สว่านแบบมือถือ สว่านกระแทก สว่านโรตารี่ สว่านไร้สาย สว่านแท่น เป็นต้น โดยสว่านแต่ละประเภทจะมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.7 สว่านไฟฟ้า การบารุงรักษาสว่านไฟฟ้า ทาได้โดยการตรวจสอบสภาพของมอเตอร์และสายไฟ ถอดดอกสว่านออกทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ ใช้แปรงขนอ่อนปัดทาความสะอาดฝุ่นที่ช่องระบายความร้อนของมอเตอร์ และหยอดน้ามันหล่อลื่นทุกครั้งหลังใช้งาน 5. การบารุงรักษาหินเจียระไน หินเจียระไน คือ เครื่องมือกลพื้นฐานชนิดหนึ่งที่สามารถทางานได้ห ลายหน้าที่ เช่น ใช้สาหรับ ลับ คมตัดต่าง ๆ ของ เครื่องมือตัด ซึ่งได้แก่ มีดกลึง มีดไส ดอกสว่าน และยังสามารถเจียระไนตกแต่งชิ้นงานต่าง ๆ ได้โดยคานึงถึงเรื่องความปลอดภัย หินเจียระไนโดยทั่วไปมี 2 ชนิด ดังนี้ 1) เครื่องเจียระไนแบบตั้งโต๊ะ (Bench Grinding) เครื่องเจียระไนชนิดนี้จะยึดติดอยู่กับโต๊ะ เพื่อเพิ่มความสูง และความสะดวกในการใช้งาน

ภาพที่ 1.8 หินเจียระไนแบบตั้งโต๊ะ 2) เครื่องเจียระไนแบบตั้งพื้น (Floor Grinding) เป็นเครื่องเจียระไนลับคมตัดที่มีขนาดใหญ่กว่าแบบตั้งโต๊ะ มีส่วนที่เป็นฐานเครื่องเพื่อใช้ยึดติดกับพื้นทาให้เครื่องเจียระไนมีความมั่นคงแข็งแรงกว่าเครื่องเจียระไนแบบตั้งโต๊ะ การบารุง รัก ษาหิน เจีย ระไน ทาได้โ ดยการตรวจสอบการทางานของชิ้น ส่ว นต่า ง ๆ ซึ่ง ในเบื้อ งต้น จะตรวจสอบ ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1) ตรวจสอบระบบไฟฟ้าเปิดปิดเครื่อง และการหมุนของแกนหินเจียระไน 2) ตรวจสอบล้อของหินเจียระไน ไม่ให้มีรอยร้าว หรือรอยบิ่น 22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3) ตรวจสอบระยะห่างของแท่นรองรับ ซึ่งจะต้องมีระยะห่ างไม่เกิน 3 มิลลิเมตร เพื่อป้องกันชิ้นงาน หรือ เครื่องมือตัดหลุดเข้าไปในช่องระหว่างล้อหิน อย่างไรก็ตาม การบารุงรักษาหินเจียระไนมีข้อแนะนาดังต่อไปนี้ - ในกรณีที่หินเจียระไนใช้ไฟฟ้า 380 โวลต์ ถ้าแรงเคลื่อนไฟฟ้าไม่ครบเฟส หรือแรงเคลื่อนไฟฟ้าเท่ากับ 220 โวลต์ ห้ามใช้หินเจียระไน เพราะอาจทาให้มอเตอร์ไหม้ - ไม่ควรกดผิวหน้าของหินเจียระไนลงไปบนชิ้นงานมากเกินไป เพราะอาจทาให้หินแตกได้ - หากพบการชารุดเสียหายของหินเจียระไน ควรซ่อมแซมให้กลับมาอยู่ในสภาพพร้อมใช้ทันที 6. การบารุงรักษาเครื่องมือยกรถ (แม่แรง) แม่แรง คือ เครื่องมือ ที่ทาหน้ าที่ เ พิ่มเเรงในการยกรถยนต์ เพื่อ ซ่อ มแซมบารุงส่ว นต่าง ๆ ของรถยนต์ไ ม่ว่าจะเป็ น ล้อรถยนต์ ช่วงล่างของรถยนต์ หรือใช้ในการตรวจตัวถังของรถยนต์ แม่แรงแบ่งออกเป็น 2 ชนิดหลัก ๆ ได้แก่ 1) แม่แรงชนิด ไฮดรอลิก มีข้อดี คือ ช่ว ยให้เบาแรง และสามารถยกน้าหนัก ได้ ม ากแม้จ ะมีขนาดไม่ใ หญ่ แต่ม ีข้ อ บกพร่ อ ง คื อ บริ เ วณโอริ ง ของระบบไฮดรอลิ ก อาจจะรั่ ว ได้ หากใช้ ย กน้ าหนั ก ที่ ม ากเกิ น กว่ า ความสามารถของแม่แรง หรือเมื่อถูกนาไปเก็บไว้ในลักษณะที่น้ามันไฮดรอลิกไหลรั่วออกมาได้ง่าย และ มีข้อจากัด คือ หากอยากยกระดับให้สูงมากขึ้น จะต้องใช้แม่แรงไฮดรอลิกที่มีขนาดใหญ่กว่าแม่แรงชนิดอื่น

ภาพที่ 1.9 แม่แรงชนิดไฮดรอลิก 2) แม่แรงกลไก มีข้อดี คือสามารถพกพาและดูแลรักษาได้ง่าย เพียงหล่อลื่นกลไกเท่านั้น และสามารถยกตัวรถ ได้สูงตามที่ความยาวของแกนถูกสร้างเอาไว้ แต่มีข้อบกพร่อง คือ เมื่อใช้งานต้องออกแรงมากสาหรับการยก น้าหนัก และส่วนมากแม่แรงแบบกลไกจะมีขาเดียว ทาให้ไม่ค่อยแข็งแรง และเกิดอันตรายได้ง่ายเมื่อใช้งาน ยกน้าหนัก

23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 1.10 แม่แรงกลไก การบารุงรักษาแม่แรง ทาได้โดยการตรวจสอบการทางานของชิ้นส่วนต่าง ๆ ซึ่งในเบื้องต้น จะตรวจสอบตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของชิ้นส่วน เช่น แขนโยกไฮดรอลิก และล้อเลื่อนของแม่แรง 2) ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ามันไฮดรอลิก สาหรับแม่แรงตะเฆ่ และตรวจสอบความสมบูรณ์ของเกลียว สาหรับ แม่แรงกลไก สาหรับการเก็บรักษา ควรเก็บในที่แห้ง เพราะอาจทาให้เครื่องมือซึ่งทาจากโลหะเป็นสนิมได้ และทาน้ามันหล่อลื่นหรือ จาระบีในชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ 7. การบารุงรักษาแท่นอัดไฮดรอลิก แท่นอัดไฮดรอลิก เป็นเครื่องมืออัดไฮดรอลิกชนิดหนึ่ง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เครื่องจักรกลไฮดรอลิก เป็นเครื่องทุ่นแรงที่ใช้แรงกด แรงอัด เพื่ออัดเข้าหรือดันออกชิ้นส่วนต่าง ๆ เช่น ลูกปืน บุ๊ช สลัก ปลอก หรือจะใช้บีบให้แบน ดันให้โค้ง ขึ้นอยู่กับการนาไป ประยุกต์ใช้งาน ทางานโดยใช้แรงดันน้ามันดันกระบอกไฮดรอลิ ก แต่สาหรับแท่นอัดไฮดรอลิ กขนาดกาลังอัดสูง อาจจะมี ระบบไฟฟ้าเข้ามาเกี่ยวข้อง

ภาพที่ 1.11 แท่นอัดไฮดรอลิก 24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

การบารุงรักษาแท่นอัดไฮดรอลิก มีดังต่อไปนี้ 1) การหล่อลื่นแท่นอัดไฮดรอลิก โดยใช้น้ามันที่มีความหนืดที่เหมาะสมกับชนิดของแท่นอัด เพื่อป้องกันไม่ให้ ความหนืดของน้ามันเปลี่ยนแปลงมาก เมื่อมีอุณหภูมิเปลี่ยน 2) ตรวจสอบระดับน้ามัน ของแท่นอัดไฮดรอสิกไม่ให้ต่ากว่าที่กาหนด เพราะน้ามันที่ไหลกลับลงอ่างจะไหลไป กระทบกับ ผิว ของระดับ น้ามัน ทาให้เ กิด เป็น ฟองอากาศและมีโ พรงอากาศในน้ามัน ซึ่ง จะส่ง ผลให้ แท่น อัดไฮดรอลิ ก สึกหรอเร็ว ทั้งนี้ แท่นอัดไฮดรอลิกบางรุ่นจะมีช่องดูระดับน้ามัน ในขณะที่บางรุ่น กาหนด ระดับน้ามันที่เหมาะสมไว้ในคู่มือซ่อมประจาแท่นอัดไฮดรอลิก 3) หากน้ามันไฮดรอลิกเสื่อมสภาพ เช่น มีสีคล้าผิดปกติ หรือมีสภาพต่างไปจากเดิม ควรเปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิก โดยก่อนเปลี่ยนถ่าย ควรคลายสกรูช่องเติมน้ามันไฮดรอลิกที่อยู่ด้านบน ก่อนคลายสกรูรูถ่ายน้ามันไฮดรอลิก ที่อยู่ด้านล่าง เพื่อสร้างแรงดันให้น้ามันไฮดรอลิกเก่าไหลออกมาได้ง่ายขึ้น 4) ตรวจสอบสลิงปรับระดับ ซึ่งจะต้องไม่หย่อนเกินไปและไม่มีรอยขาด

ภาพที่ 1.12 การตรวจสอบระดับน้ามันของแท่นอัดไฮดรอลิก อย่างไรก็ตาม การบารุงรักษาแท่นอัดไฮดรอลิกมีข้อแนะนาดังต่อไปนี้ - ไม่ควรปล่อยให้มีการปะปนของน้า ฝุ่นผง และเศษของแข็งในน้ามันไฮดรอลิก เพราะจะทาให้แท่นอัดไฮดรอลิก สึกหรอเร็วขึ้น - ไม่ควรใช้แท่นอัดไฮดรอลิกรองรับน้าหนักเกินความสามารถที่กาหนดไว้ เพราะจะทาให้เกิดความเสียหาย - หากพบการชารุดเสียหายของหินเจียระไน ควรซ่อมแซมให้กลับมาอยู่ในสภาพพร้อมใช้ทันที - เลือกใช้น้ามันไฮดรอลิกตามความเหมาะสม โดยคานึงถึงชนิดและการออกแบบ เช่น น้ามันไฮดรอลิกที่ ผสมสัง กะสีเ พื่อ ป้อ งกัน การสึก หรอ จะไม่เ หมาะกับ แท่น อัด ไฮดรอลิก ที่มีชิ้น ส่ว นที่ทาจากโลหะเงิ น เพราะจะเกิดการกัดกร่อน เป็นต้น

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการระบายน้าและลมออกจากถังเก็บลมของปั๊มน้า ก. ก่อนการระบายน้า ต้องระบายลมออกจากถังเก็บลมก่อน ข. ไม่ควรระบายน้าออกจากถังเก็บลมเกินสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ค. ใช้ปืนเป่าลมเป่าทาความสะอาดช่องระบายน้าทุกครั้งหลังระบายน้า ง. สาหรับปั๊มลมชนิดพูลเลย์ ไม่จาเป็นต้องระบายลม 2. ข้อใด คือระดับน้ามันหล่อลื่นที่เหมาะสมของปั๊มลม ก.

¾ ของช่องดูระดับน้ามันหล่อลื่น

ข.

½ ของช่องดูระดับน้ามันหล่อลื่น

ค. เต็มช่องดูระดับน้ามันหล่อลื่น ง. น้อยกว่า ½ ของช่องดูระดับน้ามันหล่อลื่น 3. ข้อใด ไม่ใช่ การตรวจสอบปั๊มลมทุก 1 เดือน หรือ 360 ชั่วโมง ก. การรั่วที่แพ็คกิ้งของก้านสูบ ข. การรั่วของน้ามันหล่อลื่นของแหวนกวาดน้ามัน ค. สิ่งสกปรกที่กรองน้ามันหล่อลื่น ง. ความดันภายในอินเตอร์คูลเลอร์ 4. ข้อใด คือวิธีการบารุงรักษาประแจลม ก. ฉีดน้ามันหล่อลื่นในตัวประแจลม เพื่อป้องกันการสึกหรอ ข. ใช้แปรงโลหะปัดทาความสะอาดที่ทางลมเข้า ค. เช็ดทาความสะอาดภายนอก และฉีดน้ายาอเนกประสงค์ ง. ใช้ปืนเป่าลมเป่าทาความสะอาดบริเวณที่ทางลมออก 26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

5. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการบารุงรักษาหินเจียระไน ก. ระยะห่างของแท่นรองรับต้องไม่เกิน 5 มิลลิเมตร ข. ไม่ควรกดผิวหน้าของหินเจียระไนลงบนชิ้นงานมากเกินไป ค. ควรหล่อลื่นผิวหน้าของหินเจียระไนด้วยน้ามันเครื่อง ง. ใช้หินเจียระไนที่มีกระแสไฟฟ้าต่ากว่า 220 โวลต์ ตอนที่ 2 คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูก หรือ ผิด และทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ถูก

ผิด

ข้อความ 6. การตรวจสอบแม่แรงกลไก นอกจากจะตรวจสอบเกลียวแล้ว ยังต้องตรวจสอบ การรั่วซึมของน้ามันไฮดรอลิกด้วย 7. การบารุงรักษาสว่านไฟฟ้า ทาได้โดยใช้แปรงโลหะปัดทาความสะอาดฝุ่นที่ช่อง ระบายความร้อนของมอเตอร์ 8. การหล่อลื่นแท่นอัดไฮดรอลิก โดยใช้น้ามันที่มีความหนืดที่เหมาะสมกับชนิด ของแท่นอัด เพื่อป้องกันไม่ให้ความหนืดของน้ามันเปลี่ยนแปลงมาก 9. น้ ามัน ไฮดรอลิ กที่ผ สมสั งกะสี เหมาะส าหรับ ใช้งานกั บ แท่นอัดไฮดรอลิ กที่มี ชิ้นส่วนที่ทาจากโลหะเงิน 10. ไม่ควรปล่อยให้มีการปะปนของน้า ฝุ่นผง และเศษของแข็งในน้ามันไฮดรอลิ ก เพราะจะทาให้แท่นอัดไฮดรอลิกสึกหรอเร็วขึ้น

27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ข้อ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ข้อ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การบารุงรักษาประแจลม สว่านไฟฟ้า และแท่นอัดไฮดรอลิก 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ได้ 2. ปฏิบัติงานบารุงรักษาเครื่องมือพื้นฐานทางด้านช่างยนต์ 3. ปฏิบัติงานโดยคานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานบารุงรักษาประแจลม สว่านไฟฟ้า และแท่นอัดไฮดรอลิก

29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การบารุงรักษาประแจลม สว่านไฟฟ้า และแท่นอัดไฮดรอลิก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เครื่องมือช่างพื้นฐาน

จานวน 1 ชุด

2. ถาดรอง

จานวน 1 ใบ

3. แท่นอัดไฮดรอลิก

จานวน 1 ตัว

4. ประแจลม

จานวน 1 ตัว

5. แปรงขนอ่อน

จานวน 1 อัน

6. สว่านไฟฟ้า

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ผ้าเช็ดทาความสะอาด

จานวน 1 ผืน

2. น้ามันอเนกประสงค์

จานวน 1 กระป๋อง

3. น้ามันไฮดรอลิก

จานวน 1 แกลลอน

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การบารุงรักษาประแจลม สว่านไฟฟ้า และแท่นอัดไฮดรอลิก 2.1 การบารุงรักษาประแจลม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

ครูฝึกจัดเตรียมประแจลม รวมทั้ง

พึงระวังเรื่องระบบ

2. ตรวจสอบสภาพภายนอก

เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ในงานบารุงรักษา

ไฟฟ้าก่อนเริ่ม

ประแจลม

ปฏิบัติงาน

ตรวจสอบชิ้ น ส่ ว นของประแจลมว่ า มีส่วนใดหัก หรือแตกร้าวหรือไม่

3. ทาความสะอาดประแจลม

ใช้ผ้าเช็ดทาความสะอาดคราบจาระบี ฝุ่น และสิ่งสกปรกต่าง ๆ

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. หล่อลื่นภายในตัวเครื่อง

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

ฉีดน้ายาอเนกประสงค์เข้าไปในทางลมเข้า และใช้ผ้าเช็ดให้สะอาด

5. ตรวจสอบการทางาน

ทดลองต่อสายลม เปิดใช้งาน และฟังเสียง เครื่องว่าหมุนเป็นปกติหรือไม่

6. ท าความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช้ผ้ าเช็ดทาความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ์

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย

2.2 การบารุงรักษาสว่านไฟฟ้า ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

ครูฝึกจัดเตรียมสว่านไฟฟ้า รวมทั้ง

พึงระวังเรื่องระบบ

2. ตรวจสอบสภาพภายนอก

เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ในงานบารุงรักษา

ไฟฟ้าก่อนเริ่ม

สว่านไฟฟ้า

ปฏิบัติงาน

ตรวจสอบสายไฟ ว่ามีรอยฉีกขาดหรือไม่ และตรวจสอบมอเตอร์ ว่ามีเศษผงติดอยู่ ด้านในหรือไม่ 32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ทาความสะอาดสว่าน

คาอธิบาย ใช้แปรงขนอ่อน ปัดฝุ่นบริเวณช่องระบาย ความร้อนที่มอเตอร์ ฉี ด น้ ายาอเนกประสงค์ ล งบนส่ ว นที่ เ ป็ น โลหะ และใช้ผ้าเช็ดให้สะอาด

4. ตรวจสอบการทางาน

ทดลองเปิดใช้งาน และฟังเสียงเครื่ อ งว่า หมุนเป็นปกติหรือไม่

5. ท าความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช้ผ้ าเช็ดทาความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ์

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2.3 การบารุงรักษาแท่นอัดไฮดรอลิก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

ครูฝึกจัดเตรียมแท่นอัดไฮดรอลิก รวมทั้ง

2. ตรวจสอบคันโยก

เครื่องมือและวัสดุที่ใช้ในงานบารุงรั ก ษา แท่นอัดไฮดรอลิก ตรวจสอบคันโยกของแท่นอัดไฮดรอลิก ว่า มีแรงกดหรือไม่

3. ตรวจสอบรอยรั่วของน้ามันไฮดรอลิก

ตรวจสอบที่ปั๊มน้ามันไฮดรอลิก และท่ออัด น้ามันไฮดรอลิกว่ามีน้ามันไฮดรอลิกรั่วซึม หรือไม่

4. เปลี่ยนท่ออัดน้ามันไฮดรอลิก

หากพบว่ าท่ ออั ดน้ ามั นไฮดร อลิ กมี รอยฉีกขาด ให้เปลี่ยนท่ออัดน้ามันไฮดรอลิก ใหม่

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

5. ตรวจสอบระดับน้ามัน

ตรว จสอบระดั บ น้ ามั น ของแ ท่ น อั ด

6. ตรวจสอบสภาพของน้ามันไฮดรอลิก

ไฮดรอลิกว่าอยู่ในระดับที่เหมาะสมหรือไม่ โดยดูจากขีดบอกระดั บน้ ามัน หรือ คู่ มื อ ซ่อมประจาแท่นอัดไฮดรอลิก หากพบว่า น้ ามัน ไฮดรอลิก มีส ีค ล้ าลง หรือ มีส ภาพเปลี ่ย นไปจากเดิม ต้อ ง เปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิก

7. เปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิก

เปลี่ยนน้ามันไฮดรอลิกให้ได้ระดับ โดยวาง ถาดรองใต้ รู ถ่ า ยน้ ามั น แล้ ว ใช้ ป ระแจ คลายสกรู เ พื่ อ ถ่ า ยน้ ามั น เมื่ อ น้ ามั น เก่ า ไหลออกหมด เติมน้ามันใหม่ลงในช่องเติม น้ามัน

8. ตรวจสอบสลิงปรับแท่นรองรับ

ตรวจสอบว่าสลิงหย่อนเกินไป หรือมีรอย ฉีกขาดหรือไม่

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

9. ท าความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช้ผ้ าเช็ดทาความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ์

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย

3. ตรวจสอบการทางาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

ที่ 1

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ วั ส ดุ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน และครบถ้วน

2

สวมใส่ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น อั น ตรายส่ ว นบุ ค คล ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได้ ถู ก ต้ อ ง เป็ น ไปตามล าดั บ ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การบารุงรักษาประแจลม

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การบารุงรักษาสว่านไฟฟ้า

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การเปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิก

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การตรวจสอบสภาพภายนอกของแท่ น อั ด ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน ไฮดรอลิก

8

ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ วัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กาหนด

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้องและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

ครบถ้วน

ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วน หรือ ไม่ถูกต้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วนและไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ ถุงมือผ้า

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง

รองเท้านิรภัย และชุดปฏิบัติการช่างอย่างถูกต้อง

ครบทั้ง 3 ชนิด ให้คะแนน 3 คะแนน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้อง 2 ชนิด ให้คะแนน 2 คะแนน

3

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้องน้อยกว่า 2 ชนิด หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ให้คะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานได้ถูกต้อง เป็นไปตามลาดับขั้นตอน

ถูกต้องและเป็นไปตามลาดับขั้นตอน

3

ให้คะแนน 3 คะแนน ถูกต้อง แต่สลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ให้คะแนน 2 คะแนน ถูกต้อง แต่ปฏิบัติงานไม่ครบทุกขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน ไม่ถูกต้อง และปฏิบัติงานไม่ครบทุกขั้นตอน ให้คะแนน 0 คะแนน 4

การบารุงรักษาประแจลม

บารุงรักษาประแจลมได้ถูกต้องตามขั้นตอน ให้คะแนน 5 คะแนน บารุงรักษาประแจลมไม่ถูกต้องตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ให้คะแนน 3 คะแนน บารุงรักษาประแจลมไม่ถูกต้องตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน บารุงรักษาประแจลมไม่ถูกต้องตามขั้นตอนมากกว่า 1 ขั้นตอน ให้คะแนน 0 คะแนน

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ลาดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การบารุงรักษาสว่านไฟฟ้า

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

บารุงรักษาสว่านไฟฟ้าได้ถูกต้องตามขั้นตอน

คะแนน เต็ม 5

ให้คะแนน 5 คะแนน บารุงรักษาสว่านไฟฟ้าไม่ถูกต้องตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ให้คะแนน 3 คะแนน บารุงรักษาสว่านไฟฟ้าไม่ถูกต้องตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน บารุงรักษาสว่านไฟฟ้าไม่ถูกต้องตามขั้นตอนมากกว่า 1 ขั้นตอน ให้คะแนน 0 คะแนน 6

การเปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิก

เปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิกได้ถูกต้องตามขั้นตอน ให้คะแนน 5 คะแนน

5

เปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิกบกพร่อง 1 ขั้นตอน ให้คะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนถ่ายน้ามันไฮดรอลิกบกพร่องมากกว่า 1 ขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน 7

การตรวจสอบระดั บ น้ ามั น และสภาพน้ ามั น ของ ตรวจสอบระดับน้ามัน สภาพน้ามัน และเติมน้าใหม่ใน แท่นอัดไฮดรอลิก

5

ระดับที่เหมาะสมได้ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบระดับน้ามัน สภาพน้ามันไม่ถู กต้อง 1 ขั้ นตอน แต่เติมน้าใหม่ในระดับที่เหมาะสมได้ถูกต้อง ให้คะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบระดับน้ามัน สภาพน้ามันไม่ถู กต้อง 2 ขั้ นตอน แต่เติมน้าใหม่ในระดับที่เหมาะสมได้ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบระดั บ น้ ามั น สภาพน้ ามั น ไม่ ถู ก ต้ อ งมากกว่ า 2 ขั้นตอน และเติมน้าใหม่ในระดับที่เหมาะสมไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

8

การตรวจสอบสภาพภายนอกของแท่นอัดไฮดรอลิก

ตรวจสอบสภาพภายนอกของแท่นอัดไฮดรอลิก ได้แก่ คันโยก รอยรั่วที่ปั๊มน้ามันและท่ออัด และสลิง ครบถ้วน ให้คะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสภาพภายนอกของแท่นอัดไฮดรอลิก ได้แก่ คันโยก รอยรั่วที่ปั๊มน้ามันและท่ออัด และสลิง ไม่ครบถ้วน 1 ตาแหน่ง ให้คะแนน 3 คะแนน

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ลาดับที่

รายการตรวจสอบ

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได้

ตรวจสอบสภาพภายนอกของแท่นอัดไฮดรอลิก ได้แก่ คันโยก รอยรั่วที่ปั๊มน้ามันและท่ออัด และสลิง ไม่ครบถ้วน 2 ตาแหน่ง ให้คะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบสภาพภายนอกของแท่นอัดไฮดรอลิก ได้แก่ คันโยก รอยรั่วที่ปั๊ มน้ามันและท่ออัด และสลิง ไม่ครบถ้ วนมากกว่า 2 ตาแหน่ง ให้คะแนน 0 คะแนน 9

ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน

ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ได้สะอาดเรียบร้อย

3

และครบทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย หรือไม่ครบทุกชิ้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย และไม่ครบทุกชิ้น ให้คะแนน 1 คะแนน ไม่ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน 10

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

3

ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน หรือไม่จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน 11

เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลาทีก่ าหนด

3

ให้คะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดไม่เกิน 5 นาที ให้คะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดมากกว่า 5 นาที ให้คะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

43

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 30 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้ 39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921020502 วิธีการใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง และเครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการใช้ วิธีบารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ได้ 2. ใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ได้

2. หัวข้อสาคัญ - ปฏิบัติการใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่งแบบสปริง เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ไมโครมิเตอร์ ไดอัลเกจ เกจวัดกระบอกสูบ (Bore Gauge)

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ชิ้นงานทดลองสาหรับวัดด้วยไมโครมิเตอร์วัดนอก 2) ชิ้นงานทดลองสาหรับวัดด้วยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 3) ถุงชิ้นงานสาหรับทดลองชั่งด้วยเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 4) น้ามันกันสนิม 5) ผ้าเช็ดทาความสะอาด 2.3 เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) ขาตั้ง 2) เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน (5 กิโลกรัม) 3) ไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบสเกล ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร 4) เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ความละเอียด 1 ต่อ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร

จานวน 1 ชิ้น จานวน 1 ชิ้น จานวน 5 ชุด จานวน 1 ขวด จานวน 2 ผืน จานวน 1 ตัว จานวน 1 ตัว จานวน 1 อัน จานวน 1 อัน

5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก ประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก

6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้

41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม เกรียงไทยวัฒนากรุ๊ป งานวัดละเอียดช่างยนต์ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://cloud.se-ed.com/ Storage/Pdf/978616/080/9786160808410PDF.pdf ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ งานวัดละเอียดช่างยนต์ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://cloud.se-ed.com/ Storage/Pdf/978616/080/9786160808410PDF.pdf วิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซิเมนต์ไทยอนุสรณ์ การวัดด้วยนาฬิกาวัด [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.tl.ac.th/document/narong/unit6.pdf

42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 วิธีการใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง และเครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ เครื่องชั่งและเครื่องมือวัดที่ใช้งานในด้านช่างยนต์ส่วนใหญ่จะมีราคาค่อนข้างสูง ถ้าชารุดเสียหาย ย่อมทาให้จะเปลือง ทรัพยากร จึงควรเรียนรู้วิธีการบารุงรักษาเครื่องชั่งและเครื่องมือวัดที่ถูกต้อง เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องมือชารุด สามารถใช้งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน เครื่องชั่งที่ใช้จะมีอายุการใช้งานยาวนาน และอ่านค่าได้ถูกต้อง ผู้ใช้งานจาเป็นต้องทราบวิธีการใช้งาน และวิธีการบารุงรักษา ที่เหมาะสม เนื่องจากบางชิ้นส่วนของเครื่องชั่งมีความเปราะบางหากใช้งานผิดวิธีอาจทาให้เครื่องเกิดความเสียหายได้

ภาพที่ 2.1 เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1.1 ส่วนประกอบของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1) สปริง เป็นขดลวดที่ยืดและหดตัวได้ 2) ตะขอเกี่ยว ใช้แขวนวัตถุที่ต้องการชั่ง 3) ห่วงจับ ใช้แขวนกับตัวยึดหรือคานก่อนชั่งน้าหนัก 4) เกลียวปรับศูนย์ ใช้ปรับค่าสเกลก่อนชั่ง ให้เป็น 0 5) สเกล ใช้บอกน้าหนักของวัตถุ มีหน่วยเป็นกรัม (g) หรือ กิโลกรัม (kg) 6) เข็มชี้น้าหนัก เป็นขีดที่ระบุน้าหนักของวัตถุที่ชั่ง

43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.2 ส่วนประกอบของเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1.2 วิธีใช้งานเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1) แขวนเครื่องชั่งกับคาน โดยนาห่วงด้านบนของเครื่องชั่งแขวนติดกับคาน 2) ปรับเข็มชี้น้าหนักให้ตรงกับสเกลที่ขีด 0

ภาพที่ 2.3 ปรับเข็มชี้น้าหนักให้ตรงกับ 0 3) นาวัตถุหรือภาชนะสาหรับการวางวัตถุที่ต้องการทราบน้าหนักแขวนกับตะขอเกี่ยว 4) อ่านค่าที่ได้จากสเกล (เวลาอ่านค่าสเกล เข็มขี้น้าหนักต้องตรงกับระดับสายตา) 1.3 วิธีอ่านค่าเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1) สังเกตเข็มชี้น้าหนักว่าตรงกับสเกลที่จุดใด 2) อ่านค่าน้าหนักที่ชั่งได้ โดยเข็มชี้น้าหนักและสเกลต้องตรงกันในระดับสายตา ยกตัวอย่าง 44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

จากภาพ จะเห็นว่า เข็มชี้น้าหนักชี้อยู่ที่อยู่สเกล 100 (ในระดับสายตา) ดังนั้น น้าหนักของวัตถุ คือ 100 กรัม (g) 3) ตรวจสอบหน่วยการวัด และบันทึกน้าหนัก 1.4 ข้อควรระวังในการใช้งาน และการบารุงรักษา 1) อย่าชั่งน้าหนักเกินพิกัดกาลังของเครื่องชั่ง 2) ไม่ควรทาเครื่องชั่งตกกระแทก 3) ใช้ผ้าแห้งเช็ดทาความสะอาดทุกครั้งหลังจากใช้งาน 4) ระวังอย่าให้น้าเข้าไปในเครื่องชั่ง 5) ควรเก็บเครื่องชั่งไว้ในที่ไม่มีฝุ่นผงและความชื้น 2. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ มีหน้าที่เป็นเครื่องมือวัดความยาว ความกว้าง และความลึกของวัตถุ รวมถึงใช้วัดเส้นผ่านศูนย์กลาง ทั้งภายในและภายนอกที่ไม่ต้องการความละเอียดมาก เช่น ความสูงของสปริงลิ้น วัดขนาดของก้านลิ้นไอดี เป็นต้น

45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.4 เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 2.1 ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 1) ปากวัดนอก ใช้วัดภายนอกชิ้นส่วนของชิ้นงาน 2) ปากวัดใน ใช้วัดภายในของชิ้นงาน 3) สกรูล็อก ใช้สาหรับล็อกตาแหน่งของปากวัดให้คงที่ 4) สเกลเลื่อน มีลักษณะเป็นร่องสวมทับอยู่บนสเกลหลัก สามารถเลื่อนได้ และที่ขอบด้านล่างของสเกลเลื่อน จะมีสเกลขยายค่าความละเอียดอยู่ 5) สเกลหลัก มีลักษณะคล้ายบรรทัดเหล็ก และมีขีดสเกลมาตรฐานอยู่บนตัว 6) แกนวัดความลึก ใช้สาหรับวัดขนาดความลึกของชิ้นงาน

ภาพที่ 2.5 ส่วนประกอบของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2.2 วิธีใช้งานเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 1) ทาความสะอาดชิ้นงาน และเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ก่อนทาการวัด 2) ตรวจสอบสเกลและขีด “0” ของทั้งสองสเกลว่าตรงตามตาแหน่งหรือไม่ 3) จับชิ้นงานที่จะใช้วัดให้ชิดด้านในของสเกลหลักมากที่สุด 4) ทาการวัดโดยจับปลายปากวัดให้ตั้งฉากกับผิวชิ้นงานให้มากที่สุด 5) อ่านค่าจากการวัดในแนวตรง ณ จุดทีข่ ีดสเกลทั้งสองตรงกันมากที่สุด 6) ทาความสะอาดและชโลมน้ามันหล่อลื่นบาง ๆ ที่เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์หลังทาการวัดแล้ว 2.3 การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 1) เลื่อนปากของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์จนชิดกันเพื่อทาการตรวจสอบสเกลของเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ตรงกับ สเกลหลักหรือไม่ ถ้าไม่ตรงให้พิจารณาความคลาดเคลื่อนศูนย์ที่ขีด “0” 2) เลื่อนปากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ให้ชิดกับชิ้นงานที่ทาการวัด 3) ล็อกสลักเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ให้อยู่กับที่ 4) จากนั้นจึงอ่านค่าบนสเกลโดยอ่านค่าดังนี้ การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ค่าความละเอียด 1/10 มิลลิเมตร (0.1 มิลลิเมตร) - อ่านค่าวัดที่สเกลหลักเป็นมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเป็นระยะทางเท่าใด

ภาพที่ 2.6 ค่าที่สเกลหลักอ่านได้ 20.0 มิลลิเมตร - อ่านค่าวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีดใดของสเกลเลื่อน ตรงกับขีดสเกลหลัก นั่ น คื อ ระยะที่ ส เกลเลื่ อ นเยื้ อ งกั บ ขี ด สเกลหลั ก

47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.7 ค่าที่สเกลเลื่อนอ่านได้ 0.50 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.8 ผลรวมค่าที่อ่านได้ รวมค่าที่อ่านได้ (1)+(2) = 20.0 + 0.50 มิลลิเมตร = 20.50

มิลลิเมตร

การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ค่าความละเอียด 1/20 มิลลิเมตร (0.05 มิลลิเมตร) - อ่านค่าวัดที่สเกลหลักเป็นมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเป็นระยะทางเท่าใด

ภาพที่ 2.9 ค่าวัดที่สเกลหลักอ่านได้ 12.0 มิลลิเมตร - อ่านค่าวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกลเลื่อน ตรงหรือใกล้เคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด

48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.10 ค่าวัดที่สเกลเลื่อนอ่านได้ 0.60 มิลลิเมตร - อ่านค่าวัดละเอียด 0.05 มิลลิเมตร ที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด ใดของสเกลเลื่อน (0.05 ) ตรงกับ สเกลหลัก

ภาพที่ 2.11 อ่านค่าวัดละเอียด 0.05 มิลลิเมตร รวมค่าที่อ่านได้ (1)+(2)+(3) = 12.0 + 0.60 + 0.05 มิลลิเมตร = 12.65

มิลลิเมตร

การอ่านค่าเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ค่าความละเอียด 1/50 มิลลิเมตร (0.02 มิลลิเมตร) - อ่านค่าวัดที่สเกลหลักเป็นมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเป็นระยะทางเท่าใด

ภาพที่ 2.12 ค่าวัดที่สเกลหลักอ่านได้ 9.0 มิลลิเมตร - อ่านค่าวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกลเลื่อน ตรงหรือใกล้เคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด 49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.13 ค่าวัดที่สเกลเลื่อนอ่านได้ 0.6 มิลลิเมตร - อ่านค่าวัดละเอียด 0.02 มิลลิเมตรที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีดใดของสเกลเลื่อน (0.02 , 0.04 , 0.06 , 0.08 ) ตรงกับสเกลหลัก

ภาพที่ 2.14 ค่าที่อ่านได้ 0.08 มิลลิเมตร รวมค่าที่อ่านได้ (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0.60 + 0.08

มิลลิเมตร

= 9.68

มิลลิเมตร

2.4 ข้อควรระวังในการใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 1) ต้องทาความสะอาด และลบคมชิ้นงานก่อนใช้เครื่องมือวัดทุกครั้ง 2) ตรวจสอบความสมบูรณ์ของปากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ก่อนวัด 3) อย่าวัดชิ้นงานขณะที่ชิ้นงานกาลังหมุนอยู่ 4) อย่าวัดชิ้นงานขณะที่ชิ้นงานยังร้อนอยู่ 5) อย่าเลื่อนปากวัดไป - มา บนชิ้นงาน จะทาให้ปากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์สึกได้ 6) อย่าใช้ปากวัดนอก หรือปากวัดในขีดขนาดงาน เวลาร่างแบบ หรือขณะวัดงาน 2.5 การเก็บและบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 1) วางเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ไว้บนผ้า หรือแผ่นไม้ 2) อย่าเก็บเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ในที่ร้อนจัด หรือเย็นจัดเกินไป 3) ถ้าปากวัดนอก หรือปากวัดในเกิดรอยบิ่น ให้ขัดด้วยหินน้ามันละเอียด 50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

4) ทาความสะอาด และทาน้ามันกันสนิมทุกครั้ง ภายหลังการใช้งาน 5) แยกเก็บเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ไว้ต่างหาก ห้ามวางรวมกับเครื่องมือมีคม 6) ไม่ควรนาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ใส่กระเป๋าหลังของกางเกง อาจทาให้คดงอได้ 3. ไมโครมิเตอร์ ไมโครมิเตอร์ เป็นเครื่องมือวัดละเอียดที่ตรวจวัดนอกได้เที่ยงตรงและมีความละเอียดมาก ซึ่งไมโครมิเตอร์จะมีอยู่หลายขนาด และหลายชนิด ทั้งไมโครมิเตอร์วัดนอก ไมโครมิเตอร์วัดใน ไมโครมิเตอร์วัดลึก โดยมี 2 แบบ คือ แบบสเกล และแบบดิจิตอล 3.1 ไมโครมิเตอร์วัดนอก

ภาพที่ 2.15 ไมโครมิเตอร์วัดนอก 3.1.1 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดนอก 1) แกนรับ 2) แกนวัด 3) ปลอกหมุนวัด 4) เกลียว 5) ปลอกหมุนกระทบเลื่อน 6) กลไกล็อกแกนวัด 7) ก้านสเกล 8) ขีดสเกล 0.01 มม. 9) โครงของไมโครมิเตอร์ 10) ขนาดที่วัด 11) แหวนเกลียว 51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

12) ขีดสเกล 1 มม. 13) ขัดสเกล 0.5 มม.

ภาพที่ 2.16 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดนอก 3.1.2 วิธีการใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอก 1) การใช้งานไมโครมิเตอร์นั้น ต้องทาการตรวจสอบขีด “0” ถ้าไม่ตรงต้องทาการปรับตั้งให้ตรง 2) ทาความสะอาดผิวของแกนรับและแกนวัด 3) ทาการหมุนปลอกเลื่อนจนผิวสัมผัสของแกนวัดสัมผัสกับ ชิ้นงานที่วัดโดยต้องจับที่ Ratchet Stop ในการหมุนวัดงาน 4) ทาการล็อกปุ่มให้อยู่กับที่เพื่อทาการอ่านค่าที่วัดได้ 3.1.3 วิธีการอ่านค่าไมโครมิเตอร์วัดนอก 1) อ่านค่าสเกลหลักแถวล่าง โดยแต่ละขีดจะมีคา่ เท่ากับ 1 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.17 ค่าวัดที่สเกลหลักแถวล่างอ่านได้ 9.0 มิลลิเมตร (1)

52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2) อ่า นค่า ที่ส เกลแถวบนที่ป ลอกวัด หากไม่ ถึง ขีด จะไม่ นามาคิด ค่า กับ สเกลหลัก แถวล่ า ง ถ้า ขอบปลอกหมุนเลยขีดไปบวกด้วย 0.5 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.18 ค่าวัดที่สเกลหลักแถวบนอ่านได้ 0 มิลลิเมตร (2) 3) อ่ า นค่ า ที่ ป ลอกหมุ น โดยดู ว่ า ขี ด ใดของไมโครมิ เ ตอร์ ส เกลตรงกั บ เส้ น ระดั บ คู ณ ด้ ว ย 0.01 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.19 ค่าวัดที่ไมโครมิเตอร์สเกลอ่านได้ 0.06 มิลลิเมตร (3) 4) นาค่า ที่อ่า นได้จ ากสเกลหลัก แถวบน สเกลหลัก แถวล่า งและไมโครมิเ ตอร์ ส เกลรวมกั น จะเป็ น ค่าที่วัดได้ รวมค่าที่อ่านได้ (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0 + 0.06

มิลลิเมตร

= 9.06

มิลลิเมตร

หมายเหตุ ค่าที่ปลอกหมุนขีดย่อยแต่ละขีดมีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร 3.1.4 การบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วัดนอก 1) ไม่ควรใช้ไมโครมิเตอร์วัดชิ้นงานผิวดิบหรือหยาบเกินไป 2) หากต้องการให้แกนวัดเลื่อนเข้าออกอย่างรวดเร็วให้เลื่อนกับฝ่ามือ ป้องกันความเสียหายที่จะ เกิดขึ้นกับไมโครมิเตอร์ 3) ไม่ควรปล่อยให้ไมโครมิเตอร์สกปรกขาดการหล่อลื่น ขาดการปรับแต่งอาจทาให้หมุนวัดฝืดหรือ หลวมเกินไป 4) ควรตรวจสอบผิวสัมผัสของแกนรับและแกนวัดอยู่เสมอ 5) ทาความสะอาดผิวแกนรับและแกนวัดทุกครั้ง ก่อนและหลังการวัด 53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3.2 ไมโครมิเตอร์วัดใน

ภาพที่ 2.20 ไมโครมิเตอร์วัดใน 3.2.1 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดใน 1) ปากวัด 2) ขีดมาตรา 3) ปลอกหมุนวัด 4) หัวหมุนกระทบเลื่อน 5) ด้ามจับ

ภาพที่ 2.21 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดใน 3.2.2 วิธีการใช้ไมโครมิเตอร์วัดใน 1) ควรการวัดขนาดความโตโดยประมาณของชิ้นงานคร่าว ๆ ก่อนจากการใช้อุปกรณ์วัดอื่น ๆ เช่น การใช้บรรทัดเหล็ก หรือเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เป็นต้น 2) ในการวัดด้วยไมโครมิเตอร์ต้องวัดด้วยขนาดที่ใกล้เคียงกับขนาดที่ต้องการวัด โดยการหมุน ขนาดของปากวัดให้มีขนาดเล็กกว่าความโตของชิ้นงานเล็กน้อย แล้วจึงนาปากวัดไมโครมิเตอร์ใส่ลงไป 3) ค่อย ๆ หมุนปลอกวัดให้ปากวัดขยายเลื่อนออกไปสัมผัสผิวชิ้นงานพอดี 54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

4) อ่านค่าวัดได้ 5) ในการอ่านที่ปรับวัดได้จากไมโครมิเตอร์ ถ้าสามารถอ่านได้ทันทีในขณะนั้น ควรทาการอ่านทันที หรือถ้าไม่สามารถอ่านค่าที่วัดได้ในขณะนั้น ควรใช่ปุ่มล็อ กไมโครมิเตอร์ช่วยล็อ ก ก่อนถอด ออกมาอ่านค่าตามหลักการอ่านไมโครมิเตอร์ ดังที่จะกล่าวต่อไป 3.2.3 วิธีการอ่านค่าไมโครมิเตอร์วัดใน 1) อ่านค่าสเกลหลักแถวบน โดยแต่ละขีดจะมีคา่ เท่ากับ 1 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.22 ค่าวัดที่สเกลหลักแถวล่างอ่านได้ 13.0 มิลลิเมตร (1) 2) อ่านค่าที่ส เกลหลักแถวล่างที่ปลอกวัด หากไม่ถึง ขีด จะไม่นามาคิดค่าที่ส เกลหลักแถวล่าง ถ้าขอบปลอกหมุนเลยขีดไปบวกด้วย 0.5 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.23 ค่าวัดที่สเกลหลักแถวบนอ่านได้ 0.5 มิลลิเมตร (2) 3) อ่ า นค่ า ที่ ป ลอกหมุ น โดยดู ว่ า ขี ด ใดของไมโครมิ เ ตอร์ ส เกลตรงกั บ เส้ น ระดั บ คู ณ ด้ ว ย 0.01 มิลลิเมตร

55 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.24 ค่าวัดที่ไมโครมิเตอร์สเกลอ่านได้ 0.10 มิลลิเมตร (3) 4) นาค่าที่อ่านได้จากสเกลหลักแถวบน สเกลหลักแถวล่างและไมโครสเกลรวมกันจะเป็นค่าที่วัดได้ รวมค่าที่อ่านได้ (1)+(2)+(3) = 13.0 + 0.5 + 0.10

มิลลิเมตร

= 13.60

มิลลิเมตร

หมายเหตุ ค่าที่ปลอกหมุนขีดย่อยแต่ละขีดมีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร 3.2.4 ข้อควรระวังในการใช้งานและการบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วัดใน หลักการปฏิบัติสาหรับการใช้งานไมโครมิเตอร์วัดใน มีหลักการคล้ายการปฏิบัติกับไมโครมิเตอร์วัดนอก ดังนี้ 1) ควรนาไมโครมิเตอร์วัดในวัดงานที่มีผิวเรียบ 2) ควรอ่านค่าที่วัดได้ในขณะที่ปากวัดสัมผัสชิ้นงาน 3) ระมัดระวังการสัมผัสของปากวัดกับชิ้นงานไม่ให้สัมผัสกันรุนแรง หรือแน่นเกินไปซึ่งจะทาให้ ปากวัดเสียหายได้ 4) ควรใช้ไมโครมิเตอร์วัดชิ้นงานที่มีขนาด และความละเอียดเหมาะสม 5) ในขณะวัดที่ต้องระมัดระวังเรื่องของการใช้แรงกดและการเลื่อนแกนสกรูบ่อยครั้งเพราะจะ ทาให้ไมโครมิเตอร์เสียหายได้ 6) ควรอ่านค่าที่วัดได้บนไมโครมิเตอร์วัดขณะที่มีชิ้นงานอยู่ 7) ห้ามนาไมโครมิเตอร์ไปวัดชิ้นงานในขณะที่มีการเคลื่อนที่ หรือกาลังหมุน 8) ไมโครมิเตอร์ควรมีการตรวจสอบความเที่ยงตรงก่อนการนาไปใช้งาน และมีการส่งสอบเทียบ เมือ่ ครบตามกาหนดเวลา 9) การเก็บ รัก ษาไมโครมิเ ตอร์ควรแยกไว้ต่า งห่า ง มีกล่องบรรจุว่างบนพื้นผิว ที่อ่อนนุ่ม เช่น ผ้าสักหลาด ผ้านุ่ม หรือฟองน้า 56 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

10) ก่อนเก็บไมโครมิเตอร์ควรชโลมสารกันสนิมและสารหล่อลื่นก่อนเสมอ 3.3 ไมโครมิเตอร์วัดลึก

ภาพที่ 2.25 ไมโครมิเตอร์วัดลึก 3.3.1 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดลึก 1) หัวหมุนกระทบเลื่อน 2) หมวกเกลียว 3) ปลอกหมุนวัด 4) ขีดมาตรา 5) แผ่นประกบงาน 6) แกนวัดลึก

ภาพที่ 2.26 ส่วนประกอบของไมโครมิเตอร์วัดลึก 3.3.2 วิธีการใช้ไมโครมิเตอร์วัดลึก 1) ควรวัดขนาดความลึกโดยประมาณของชิ้นงานคร่าว ๆ ก่อนจากการใช้อุปกรณ์วัดอื่น ๆ เช่น การใช้บรรทัดเหล็ก หรือเวอร์เนียร์คาลิเปอร์ เป็นต้น 2) ในการวัดเลื อกก้านวัดที่มีความยาวใกล้ เคียงกับขนาดที่ต้องการวัดก่อน แล้ ว จึงนาปากวัด ไมโครมิเตอร์วัดลึกลงไปในร่องที่ต้องการวัด 57 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3) วางไมโครมิเตอร์ให้สะพานยันส่วนของผิวสัมผัสงานสัมผัสพอดีกับบ่างาน 4) ค่อย ๆ หมุนปลอกวัดให้สะพานยันส่วนของผิวสัมผัสผิวชิ้นงานพอดี 5) อ่านค่าที่วัดได้โดยบวกรวมกับค่าความยาวของก้านวัดลึกที่เลือกใช้ 6) ในการอ่านค่าที่ปรับวัดได้จากไมโครมิเตอร์ ถ้าสามารถอ่านได้ทันที ในขณะนั้นควรอ่านทันที หรือ ถ้า ไม่ส ามารถอ่า นค่า ได้ที่วัด ได้ใ นขณะนั้น ควรใช้ปุ่ม ล็อ กไมโครมิเ ตอร์ช่ว ยล็อ กก่อ น ถอดออกมาอ่านค่าตามหลักการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ ดังที่จะกล่าวต่อไป 3.3.3 วิธีการอ่านค่าไมโครมิเตอร์วัดลึก 1) อ่านค่าสเกลหลักแถวบน โดยแต่ละขีดจะมีคา่ เท่ากับ 1 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.27 ค่าวัดที่สเกลหลักแถวล่างอ่านได้ 11.0 มิลลิเมตร (1) 2) อ่านค่าที่ส เกลหลักแถวล่างที่ปลอกวัด หากไม่ถึง ขีด จะไม่นามาคิดค่าที่ส เกลหลักแถวล่าง ถ้าขอบปลอกหมุนเลยขีดไปบวกด้วย 0.5 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.28 ค่าวัดที่สเกลหลักแถวบนอ่านได้ 0.5 มิลลิเมตร (2) 3) อ่ านค่าที่ป ลอกหมุ น โดยดู ว่า ขีด ใดของไมโครมิ เตอร์ ส เกลตรงกั บเส้ นระดับ คูณด้ว ย 0.01 มิลลิเมตร

58 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.29 ค่าวัดที่ไมโครมิเตอร์สเกลอ่านได้ 0.10 มิลลิเมตร (3) 4) นาค่าที่อ่านได้จากสเกลหลักแถวบน สเกลหลักแถวล่างและไมโครมิเตอร์สเกลรวมกันจะเป็น ค่าที่วัดได้ รวมค่าที่อ่านได้ (1)+(2)+(3) = 11.0 + 0.5 + 0.10

มิลลิเมตร

= 11.60

มิลลิเมตร

หมายเหตุ ค่าที่ปลอกหมุนขีดย่อยแต่ละขีดมีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร 3.3.4 ข้อควรระวังในการใช้งานและการบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วัดลึก หลักการปฏิบัติสาหรับการใช้ไมโครมิเตอร์วัดลึก มีหลักการคล้ายการปฏิบัติกับไมโครมิเตอร์วัดใน การใช้งาน ไมโครมิเตอร์วัดลึกที่ถูกต้อง มีดังต่อไปนี้ 1) ควรนาไมโครมิเตอร์วัดลึกวัดงานที่มีผิวเรียบ 2) ควรทาการอ่านค่า ที่วัดได้ขณะที่ปากวัดสัมผัสชิ้นงาน 3) ระมัดระวังการสัมผัสของสะพานยันกับชิ้นงานไม่ให้สัมผัสกันรุนแรง หรือแน่นเกินไป ซึ่งจะทาให้ ผิวสัมผัสงานเสียหายได้ 4) ควรใช้ไมโครมิเตอร์วัดชิ้นงานที่มีขนาด และความละเอียดเหมาะสม 5) ในขณะวัดต้องระมัดระวังเรื่องของการใช้แรงกด และการเลื่อนแกนสกรูบ่อยครั้งเพราะจะทาให้ ไมโครมิเตอร์เสียหายได้ 6) ควรอ่านค่าที่วัดได้บนไมโครมิเตอร์วัดขณะที่มีชิ้นงานอยู่ 7) ควรตรวจสอบการยึดสกรูของก้านวัดลึกว่าแน่นอนพอดีหรือไม่ 8) ไมโครมิเ ตอร์ค วรมีก ารตรวจสอบความเที่ย งตรงก่อ นการนาไปใช้ง าน และมีก ารขนส่ง สอบเที่ยงเมื่อครบตามกาหนดเวลา 59 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

9) ในการวัดด้วยไมโครมิเตอร์ วัดลึกที่มีการเปลี่ยนก้านให้ยาวมากกว่า 25 มิ ล ลิ เ มตร ควรหา เกจแท่งรองรับการสัมผัสของผิวสัมผัสและสะพานยัน 10) การเก็บ รัก ษาไมโครมิเ ตอร์ค วรแยกไว้ต่า งหาก มีก ล่อ งบรรจุแ ละวางบนพื้น ผิว ที่อ่อ นนุ่ม เช่น ผ้าสักหลาด ผ้านุ่ม หรือฟองน้า เป็นต้น 11) ก่อนเก็บไมโครมิเตอร์ควรมีการชโลมสารกันสนิม และสารหล่อลื่นก่อนเสมอ 4. ไดอัลเกจ (Dial Gauge) ไดอัลเกจ (Dial Gauge) ใช้วัดระยะห่างการเคลื่อนที่ โดยยึดฐานของเกจ ไว้กับแท่นที่มั่นคง ปลายไดอัลเกจจะวัดระยะ หลวมคลอนต่าง ๆ ของชิ้นส่วนเครื่องยนต์ ดังนี้

ภาพที่ 2.30 ไดอัลเกจ

ภาพที่ 2.31 รูปแบบแท่นไดอัลเกจ - รูปแบบ A : ใช้สาหรับการวัดชิ้นงานในส่วนพื้นที่ที่จากัด - รูปแบบ B : ใช้สาหรับการวัดผิวโค้ง / เว้าของหน้ายาง - รูปแบบ C : ใช้วัดชิ้นส่วนที่แกว่งไปมาไม่สามารถสัมผัสได้โดยตรง - รูปแบบ D : ใช้วัดนูนของลูกสูบ 60 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

4.1 ส่วนประกอบของไดอัลเกจ 1) หัววัด เป็นส่วนปลายมนของนาฬิกาวัดเป็นจุดสัมผัสงานเพื่อวัดตรวจสอบ 2) แกนเลื่อน จะเลื่อนขึ้นลงขณะวัดชิ้นงาน 3) ก้านยึด เป็นบริเวณที่ใส่อุปกรณ์จับยึดนาฬิกาวัด 4) ขอบนาฬิกา เป็นบริเวณที่จับเพื่อหมุนหน้าปัดเพื่อให้สเกลบนหน้าปัดตรงกับเข็มยาวของนาฬิกา 5) ระยะตั้งพิกัดความเผื่อ ในนาฬิกาวัดจะมีหมายเลข 5 อยู่ 2 อัน จะใช้เพื่อตั้งพิกัดความ คลาดเคลื่อนจาก ค่าที่กาหนด 6) เข็มยางของนาฬิกาวัด แสดงค่าการเคลื่อนที่ของแกนเลื่อนเพื่อบอกขนาดที่สัมผัสงาน 7) เข็มสั้น แสดงว่าจานวนการหมุนของเข็มยาวว่า หมุนกี่รอบเป็นระยะทางเท่าไหร่มีทิศทางการหมุนตรงข้ามกับ เข็มยาว 8) ขีดสเกลบนหน้าปัด จะบอกความละเอียดของการแบ่งสเกลโดยรอบ เช่น จากรูปช่อง 1 จะมีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร 9) ตัวล็อก จะเป็นตัวล็อกขอบของนาฬิกาเวลาตั้งระเข็มยาวให้ตรงกับหมายเลข 0 ของหน้าปัด 10) กรอบกระจก เพื่อป้องกันฝุ่นและสามารถทาให้เห็นสเกลได้ชัดเจน 11) เฟืองสะพาน ขับกับเฟื่องตรง 12) สปริงดึง เพื่อดึงแกนเลื่อน 13) สปริงกด แกนเลื่อนให้กดงาน ต้านแรงดึงของสปริงดึง

ภาพที่ 2.32 ส่วนประกอบของไดอัลเกจ

61 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

4.2 วิธีการใช้ไดอัลเกจ 1) วางเพลาที่จะวัดลงบนวีบล็อก ที่วางอยู่บนแท่นระดับ 2) ตั้งไดอัลเกจกับแท่นระดับ วางปลายแกนวัดของไดอัลเกจลงบนผิวของเพลา จากนั้นปรับระยะการวัด โดยให้แกนวัดกดลงบนเพลา 3) หมุนเพลาอย่างช้า ๆ เพื่อหาจุดบนผิวงานที่เข็มแสดงค่าน้อยที่สุด จากนั้นให้หมุนกรอบหน้าปัดของไดอัล เกจให้เลข 0 ตรงกับเข็มวัด 4) หมุนเพลาไปมาอย่างช้า ๆ และอ่านค่าในช่องที่เข็มวัดเคลื่อนตัวไป 4.3 วิธีการอ่านค่าจากไดอัลเกจ

ภาพที่ 2.33 ตาแหน่งการอ่านค่าหน้าปัดไดอัลเกจ นาฬิกาวัดจะมีค่าแสดงความละเอี ยดของสเกลวัดที่แนวเส้นรอบวง ค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร หมายความ ว่า 1 ช่องของสเกลวัด มีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร ถ้าหมุนเข็มนาฬิกาวัดตามเข็มนาฬิกาของรอบวงใหญ่ ครบ 1 รอบ แกนวัดจะถูกกดตัวขึ้นมีค่าเท่ากับ 1 มิลลิเมตร เมื่อเข็มนาฬิกาวัดหมุนรอบใหญ่ 1 รอบ นาฬิกาวงรอบเล็กจะเคลื่อนหมุน ทวนเข็มนาฬิกาวัดหมุนรอบใหญ่ 1 รอบ นาฬิกาวงรอบเล็กจะเคลื่อนหมุนทวนเข็มนาฬิกา 1 ช่อง มีค่าเท่ากับ 1 มิลลิเมตร นาฬิกาวัดสามารถเคลื่อนลงได้ระยะทางเท่ากับ 10 4.4 การบารุงรักษาไดอัลเกจ (นาฬิกาวัด) 1) วางหรือเก็บนาฬิกาวัดแยกออกจากเครื่องมือชนิดอื่น และวางบนวัสดุอ่อนนุม 2) จับยึดนาฬิกาวัดใหมั่นคงเพื่อปองกันการหล่นกระแทก 3) นาฬิกาวัด ที่ ไ ม่ ใชงานแลวจะตองรีบเก็บ เขาสู่ ส ภาพเดิม ทันที เพราะถาไม่ เก็บ เขาที่แลวหากหล่ น หรือมีของแข็งมากระทบเข้าจะทาใหเกิดการชารุดหรือเสียหายได้

62 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

5. บอร์เกจ (Bore Gauge) บอร์เกจ หรือ เกจวัดกระบอกสูบคือ เครื่องมือที่ใช้วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของกระบอกสูบ เพื่อหาค่าความเบี้ยว หรือ ใช้สาหรับตรวจวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนอื่น ๆ เช่น รูของแบริ่งเพลาข้อเหวี่ยง หรือรูของแบริ่งก้านสูบ เป็นต้น

ภาพที่ 2.34 บอร์เกจ 5.1 ส่วนประกอบของบอร์เกจ บอร์เกจมีส่วนประกอบที่สาคัญ 5 ส่วน ดังนี้ 1) นาฬิกาวัด ใช้สาหรับอ่านค่าสเกลที่ได้จากการวัดขนาด 2) ด้ามเกจ ใช้สาหรับจับและยึดต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ ในการวัดขนาดของเครื่องมือหรืออุปกรณ์ 3) แกนวัด ใช้สาหรับสอดบอร์เกจลงในรูของกระบอกสูบหรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่ต้องการจะวัด 4) ขาสัมผัส คือพื้นผิวบริเวณที่บอร์เกจจะสัมผัสกับอุปกรณ์ 5) ก้านเสริมและแหวนเสริม คือชิ้นส่วนเสริมสาหรับใช้ในการวัด

63 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ภาพที่ 2.35 ส่วนประกอบของบอร์เกจ 5.2 วิธีใช้บอร์เกจ ยกตัวอย่าง การใช้เกจวัดกระบอกสูบ 5.2.1 ชุดเกจวัดกระบอกสูบ

ภาพที่ 2.36 ชุดเกจวัดกระบอกสูบ 64 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

1) ใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์วัดความกว้างของกระบอกสูบ เพื่อหาค่าขนาดมาตรฐาน 2) เลือกก้านเสริมและใช้แหวนรอง ให้มี ความยาวมากกว่ากระบอกสูบ 0.5-1.00 มิลลิเมตร (ก้านเสริมจะมีขนาดการวัดตายตัว และจะเพิ่มขึ้นทีละ 5 มิลลิเมตร) เลือกความยาวของก้าน เสริมให้เหมาะสมและใช้แหวนรองเพื่อปรับตั้งอีกที 3) ปรับแกนวัดไปประมาณ 1 มิลลิเมตร เมื่อไดอัลเกจสัมผัสกับตัวเกจวัดกระบอกสูบ

65 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

5.2.2 การสอบเทียบศูนย์ของเกจวัดกระบอกสูบ

1) ปรับตั้งไมโครมิเตอร์ให้อยู่ในค่ามาตรฐานที่จะนาไปใช้ประกอบกับเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ยึดแกนวัด กับไมโครมิเตอร์ด้วยแคลมป์ 2) เลื่อนเกจวัดโดยใช้ก้านเสริมที่จุดรับน้าหนัก 3) ปรับค่าของเกจวัดกระบอกสูบให้เป็น “0” ตาแหน่งที่เข็มไดอัลเกจหมุนกลับไปยังด้านที่สัมผัสขั้ว

66 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

5.2.3 การวัดความโตกระบอกสูบ

1) กดเบา ๆ ที่แผ่นรองจุดวัดและค่อย ๆ สอดเกจเข้าไปในกระบอกสูบ 2) ขยับเกจเพื่อหาตาแหน่งที่แคบที่สุด 3) อ่านค่าบนหน้าปัดตรงตาแหน่งที่สั้นที่สุด 5.3 วิธีการอ่านค่าบอร์เกจ การอ่านค่า บอร์ เ กจจะคล้ายกั บ การอ่า นค่า ไดอัล เกจ โดยบนนาฬิก าวัด จะแสดงความละเอีย ดของสเกลวั ด ที่แนวเส้นรอบวง ค่าความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร ดังนั้น 1 ช่องของสเกลวัด จึงมีค่าเท่ากับ 0.01 มิลลิเมตร ทั้งนี้ การอ่านค่า บนนาฬิกาวัด จะต้องอ่านในจุดที่บอร์เกจอ่านค่าได้แคบหรือสั้นที่สุด และบอร์เกจจะต้องอยู่ในแนวตั้งฉากเสมอ 5.4 การดูแลรักษาบอร์เกจ 1) ใช้ผ้าสะอาดเช็ดชิ้นส่วนของบอร์เกจให้สะอาดทุกครั้งหลังใช้งานเสร็จ 2) ระวังอย่าให้บอร์เกจตกกระแทกพื้น 3) หากใช้นิ้วกดแล้วค่อย ๆ ปล่อย เข็มของนาฬิกาวัดจะต้องกลับมาชี้ที่เลข 0 ทุกครั้ง 4) การเก็บบอร์เกจควรใช้เคลือบน้ามัน และเก็บในกล่อง เพื่อป้องกันฝุ่นละอองหรือสิ่งสกปรกต่าง ๆ 5) ไม่ควรให้บอร์เกจถูกแสงแดดหรือน้าเนื่องจากจะทาให้เสื่อมสภาพ และเสียหายได้

67 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วัดนอก ก. เก็บไว้ในที่ที่มีความชื้นสูง ข. ไม่ควรใช้ไมโครมิเตอร์วัดชิ้นงานที่ผิวหยาบเกินไป ค. ตรวจสอบผิวสัมผัสของแกนรับและแกนวัดอยู่เสมอ ง. ควรชโลมน้ามันกันสนิมทุกครั้งหลังใช้งาน 2. จากภาพ สามารถอ่านค่าจากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร ได้เท่าใด

ก. 5.10 มิลลิเมตร ข. 7.10 มิลลิเมตร ค. 5.12 มิลลิเมตร ง. 7.12 มิลลิเมตร

68 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3. จากภาพ สามารถอ่านค่าจากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร ได้เท่าใด

ก. 29.9 มิลลิเมตร ข. 27.8 มิลลิเมตร ค. 28.9 มิลลิเมตร ง. 30.8 มิลลิเมตร 4. จากภาพ สามารถอ่านค่าจากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ความละเอียด 0.02 มิลลิเมตร ได้เท่าใด

ก. 33.60 มิลลิเมตร ข. 34.60 มิลลิเมตร ค. 34.46 มิลลิเมตร ง. 36.46 มิลลิเมตร

69 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

5. ข้อใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบของบอร์เกจ ก. นาฬิกาวัด ข. ด้ามเกจ ค. ปากเลื่อน ง. ขาสัมผัส 6. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ไมโครมิเตอร์วัดใน ก. อ่านค่าที่วัดได้ในขณะที่ปากวัดสัมผัสชิ้นงาน ข. หมุนขนาดของปากวัดให้เท่ากับความโตของชิ้นงาน ค. วัดชิ้นงานในขณะที่ชิ้นงานกาลังหมุน ง. วัดงานที่มีผิวขรุขระ 7. การใช้เครื่องชั่งสปริงแบบแขวนข้อใด ไม่ถูกต้อง ก. อ่านค่าทีเ่ ข็มชี้น้าหนักตรงกับระดับสายตา ข. เก็บเครื่องชั่งไว้ในที่ไม่มีฝุ่นผงและความชื้น ค. ปรับเข็มชี้น้าหนักให้ตรงกับสเกลที่ขีด 0 ก่อนการชั่ง ง. เมื่อใช้งานเสร็จแล้ว ให้นาเครื่องชั่งสปริงไปล้างน้าให้สะอาด 8. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับการใช้ไดอัลเกจ ก. วัดโดยหมุนเพลาอย่างช้า ๆ เพื่อหาจุดบนผิวงานที่เข็มแสดงค่ามากที่สุด ข. วางเพลาที่จะวัดบนวีบล็อกที่วางอยู่บนแท่นระดับ ค. 1 ช่องของสเกลวัด มีค่าเท่ากับ 0.1 มิลลิเมตร ง. ไดอัลเกจ ใช้วัดขนาดของรู ซึ่งโดยทั่วไปคือขนาดของรูใน

70 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

9. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการดูแลรักษาบอร์เกจ ก. ระวังอย่าให้บอร์เกจตกกระแทกพื้น ข. เก็บบอร์เกจใส่กล่องหลังใช้งาน เพื่อป้องกันฝุ่นละออง ค. หากใช้นิ้วกดค้างไว้ เข็มของนาฬิกาวัดจะชี้ที่เลข 0 ทุกครั้ง ง. เคลือบน้ามันก่อนเก็บใส่กล่องทุกครั้ง 10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับวิธีใช้บอร์เกจ ก. ก่อนเลือกก้านเสริม ต้องวัดความกว้างของกระบอกสูบโดยใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ข. เลือกก้านเสริมให้มีความยาวเท่ากับกระบอกสูบ ค. หลังเลือกก้านเสริม ให้ปรับแกนวัดเพิ่มอีกประมาณ 5 มิลลิเมตร ง. ขณะวัดความกว้างของกระบอกสูบ บอร์เกจต้องทามุม 45 องศากับกระบอกสูบ

71 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

เฉลยใบทดสอบ ข้อ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

72 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การใช้และการบารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ได้ 2. ปฏิบัติงานวัดชิ้นงานและการบารุงรักษาโดยใช้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์และไมโครมิเตอร์ได้ 3. ปฏิบัติงานโดยคานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝึกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกชั่งชิ้นงานโดยใช้เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน พร้อมทั้งปฏิบัติตามขั้นตอนการบารุงรักษาที่ถูกต้อง ตารางบันทึกผล ชิ้นงาน

ชิ้นงานที่ 1

ชิ้นงานที่ 2

ชิ้นงานที่ 3

น้าหนักที่ชั่งได้ (กรัม)

73 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ชิ้นงานที่ 4

ชิ้นงานที่ 5


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การใช้และการบารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน (5 กิโลกรัม)

จานวน 1 ตัว

2. ขาตั้ง

จานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ผ้าเช็ดทาความสะอาด

จานวน 1 ผืน

2. ถุงชิ้นงานสาหรับทดลองชั่งด้วยเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

จานวน 5 ชุด

74 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1. ตรวจสอบและทาความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเครื่องมือและ ระวังไม่ให้เครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใช้ผ้าเช็ดทาความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทาให้บิ่นหรือ เสียหายได้

2. ปรับตั้งเข็มชี้น้าหนัก

ปรั บ ตั้ ง เข็ ม ชี้ น้ าหนั ก ให้ อ ยู่ ต รงกั บ ขี ด 0 โดยใช้เกลียวปรับศูนย์

3. ชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 1

นาชิ้นงานใส่ในถุงพลาสติกสีทึบ แล้วแขวน ที่ขอเกี่ยวของเครื่องชั่ง

75 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. อ่านค่าและบันทึกผล

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

อ่านค่าในหน่วยกรัม โดยเข็มชี้น้าหนักต้อง ขณะปฏิบัติงาน ระวัง อยู่ ใ นระดั บ สายตา และบั น ทึ ก ผลลงใน การทาเครื่องมือตกพื้น ตาราง

หรือกระแทก เพราะ อาจทาให้การบอก ค่าน้าหนักคลาดเคลื่อน

5. ชั่งน้าหนักชิ้นงานอื่น ๆ

ชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 2-5 ตามขั้นตอนที่ 4 และ 5

6. ท าความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช้ผ้ าเช็ดทาความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ์

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณ์ให้ เรียบร้อย โดยคานึงถึงวิธี การ บารุงรักษาที่เหมาะสมสาหรับเครื่องมื อชิ้น นั้น ๆ

76 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทางาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน 2

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน และครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานได้ถูกต้อง เป็นไปตามลาดับขั้นตอน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 1

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 2

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 3

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 4

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 5

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การบารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

11

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

12

เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กาหนด

77 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้องและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

ครบถ้วน

ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วน หรือ ไม่ถูกต้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วนและไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ ถุงมือผ้า

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง

รองเท้านิรภัย และชุดปฏิบัติการช่างอย่างถูกต้อง

ครบทั้ง 3 ชนิด ให้คะแนน 3 คะแนน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้อง 2 ชนิด ให้คะแนน 2 คะแนน

3

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้องน้อยกว่า 2 ชนิด หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ให้คะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานได้ถูกต้อง เป็นไปตามลาดับขั้นตอน

ถูกต้องและเป็นไปตามลาดับขั้นตอน

3

ให้คะแนน 3 คะแนน ถูกต้อง แต่สลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ให้คะแนน 2 คะแนน ถูกต้อง แต่ปฏิบัติงานไม่ครบทุกขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน ไม่ถูกต้อง และปฏิบัติงานไม่ครบทุกขั้นตอน ให้คะแนน 0 คะแนน 4

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 1

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าที่ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 100 กรัม ให้คะแนน 3 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 150 กรัม ให้คะแนน 1 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนมากกว่า 150 กรัม ให้คะแนน 0 คะแนน

78 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ลาดับที่

5

รายการตรวจสอบ

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 2

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าที่ถูกต้อง

คะแนน เต็ม 5

ให้คะแนน 5 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 100 กรัม ให้คะแนน 3 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนมากกว่า 100 กรัม ให้คะแนน 1 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนมากกว่า 150 กรัม ให้คะแนน 0 คะแนน 6

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 3

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าที่ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 100 กรัม ให้คะแนน 3 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 150 กรัม ให้คะแนน 1 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนมากกว่า 150 กรัม ให้คะแนน 0 คะแนน 7

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 4

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าที่ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 100 กรัม ให้คะแนน 3 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 150 กรัม ให้คะแนน 1 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนมากกว่า 150 กรัม ให้คะแนน 0 คะแนน 8

การชั่งน้าหนักชิ้นงานที่ 5

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าที่ถูกต้อง ให้คะแนน 5 คะแนน

5

ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 100 กรัม ให้คะแนน 3 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนไม่เกิน 150 กรัม ให้คะแนน 1 คะแนน ชั่งน้าหนักชิ้นงานได้ค่าคลาดเคลื่อนมากกว่า 150 กรัม ให้คะแนน 0 คะแนน 9

การบารุงรักษาเครื่องชั่งสปริงแบบแขวน

ไม่ท าเครื ่อ งชั ่ง ตกกระแทก และใช้ผ ้า แห้ง เช็ด หลัง ปฏิบัติงานเสร็จ ให้คะแนน 5 คะแนน

79 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ลาดับที่

รายการตรวจสอบ

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได้

ท าเครื ่อ งชั ่ง ตกกระแทก หรือ ไม่ใ ช้ผ ้า แห้ง เช็ด หลัง ปฏิบัติงานเสร็จ อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน ท าเครื ่อ งชั ่ง ตกกระแทก และไม่ใ ช้ผ ้า แห้ง เช็ด หลัง ปฏิบัติงานเสร็จ ให้คะแนน 0 คะแนน 10

ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน

ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ได้สะอาดเรียบร้อย และครบทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน

3

ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย หรือไม่ครบทุกชิ้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย และไม่ครบทุกชิ้น ให้คะแนน 1 คะแนน ไม่ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน 11

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

3

ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน หรือไม่จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน 12

เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลาทีก่ าหนด

3

ให้คะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดไม่เกิน 5 นาที ให้คะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดมากกว่า 5 นาที ให้คะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

48

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 34 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

80 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การใช้และการบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์และไมโครมิเตอร์วัดนอก 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. ใช้และบารุงรักษาเครื่องชั่ง เครื่องมือวัดทางด้านช่างยนต์ได้ 2. ปฏิบัติงานการใช้และการบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์และไมโครมิเตอร์ได้ 3. ปฏิบัติงานโดยคานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝึกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกวัดขนาดชิ้นงานและบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์และไมโครมิเตอร์วัดนอก 1. วัดขนาดชิ้นงานต่อไปนี้ด้วยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ โดยใช้ปากวัดใน

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงาน ตาแหน่ง

A

B

C

D

E

มิลลิเมตร

81 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

F

G

H

I

J


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2. วัดขนาดชิ้นงานต่อไปนี้โดยใช้ไมโครมิเตอร์วัดนอก

ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงาน ตาแหน่ง

A

B

C

D

E

มิลลิเมตร

82 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

F

G

H

I

J


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การใช้และการบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์และไมโครมิเตอร์วัดนอก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ป ฏิบั ติงาน ไม่ให้ มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัส ดุอันตรายเช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ความละเอียด 1 ต่อ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร จานวน 1 อัน 2. ไมโครมิเตอร์วัดนอกแบบสเกล ความละเอียด 0.01 มิลลิเมตร

จานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ผ้าเช็ดทาความสะอาด

จานวน 1 ผืน

2. น้ามันกันสนิม

จานวน 1 ขวด

3. ชิ้นงานทดลองสาหรับวัดด้วยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

จานวน 1 ชิ้น

4. ชิ้นงานทดลองสาหรับวัดด้วยไมโครมิเตอร์วัดนอก

จานวน 1 ชิ้น

83 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2. ลาดับการปฏิบัติงาน การใช้และการบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์และไมโครมิเตอร์วัดนอก 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานด้วยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1. ตรวจสอบและทาความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเครื่องมือและ ระวังไม่ให้เครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใช้ผ้าเช็ดทาความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทาให้บิ่นหรือ เสียหายได้

2. วัดความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางที่จุด A ของ

ใช้ ป ากวั ด ในของเวอร์ เ นี ย ร์ ค าลิ ป เปอร์ ก่อนการวัดงานควรลบ

ชิ้นงาน

หนีบชิ้นงานบริเวณที่จะวัด

คมของชิ้นงานให้ เรียบร้อย เพื่อป้องกัน ชิ้นงานบาดขณะ ปฏิบัติงาน

หมุนสเกลเลื่อนให้ชิดชิ้นงานมากที่สุด แล้ว จึงหมุนสกรูล็อก

84 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. อ่านค่าและบันทึกผล

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

อ่านค่าบนสเกลวัดในหน่วยมิลลิเมตร และ บันทึกผลลงในตาราง

4. วัดค่าที่จุดอื่น ๆ บนชิ้นงาน

วัดความยาวของจุด อื่ น ๆ บนชิ้นงานให้ ครบ ตามขั้นตอนที่ 2-3

5. ท าความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช้ผ้ าเช็ดทาความสะอาดบริเวณสถานที่ ขณะวั ด ชิ้ น งานหรื อ อุปกรณ์

ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ท าความสะอาด อย่ า อุปกรณ์ให้เรียบร้อย

ให้เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ตกหล่น หรือกระแทก ทับชิ้นงาน และอย่านา สิ่งของไปวางทับ เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

85 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

2.2 การวัดขนาดชิ้นงานด้วยไมโครมิเตอร์วัดนอก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

1. ตรวจสอบและทาความสะอาดเครื่องมือและ

ตรวจสอบความสมบูรณ์ของเครื่องมือและ ระวังไม่ให้เครื่องมือวัด

ชิ้นงาน

ชิ้นงาน และใช้ผ้าเช็ดทาความสะอาด

และชิ้นงานตก เพราะ อาจทาให้บิ่นหรือ เสียหายได้

2. วัดความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางที่จุด A ของ

จับชิ้นงานให้สัมผัสกับแกนรับ แล้วหมุน ก่อนการวัดงานควร

ชิ้นงาน

แกนวัดให้เข้ามาสัมผัสกับชิ้นงาน

ลบคมของชิ้นงานให้ เรียบร้อย เพื่อป้องกัน ชิ้นงานบาดขณะ ปฏิบัติงาน

หมุนแกนวัดให้ชิดชิ้นงานมากที่สุด แล้วจึง หมุนที่ตัวหยุดแรตเช็ต (Ratchet Stop)

86 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. อ่านค่าและบันทึกผล

คาอธิบาย

ข้อควรระวัง

อ่านค่าที่สเกลหลักและปลอกวัดในหน่วย มิลลิเมตร และบันทึกผลลงในตาราง

4. วัดค่าที่จุดอื่น ๆ บนชิ้นงาน

วัดความยาวของจุดอื่น ๆ บนชิ้นงานให้ครบ ตามขั้นตอนที่ 2-3

5. ทาความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ ใช้ผ้ าเช็ดทาความสะอาดบริเวณสถานที่ ขณะวัดชิ้นงานหรือทา ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ความสะอาด อย่าให้ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย โดยคานึงถึงวิธีการ ไมโครมิ เ ตอร์ ต กหล่ น บารุงรักษาที่เหมาะสมส าหรับเครื่องมื อ ห รื อ ก ร ะ แ ท ก ทั บ ชิ้นนั้น ๆ

ชิ้ น งาน และอย่ า น า สิ่งของไปวางทับ ไมโครมิเตอร์

87 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

3. ตรวจสอบการทางาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน 2

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน และครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิบัติงานได้ถูกต้อง เป็นไปตามลาดับขั้นตอน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

4

การวัดขนาดชิ้นงานด้วยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การวัดขนาดชิ้นงานด้วยไมโครมิเตอร์วัดนอก

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วัดนอก

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

10

เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กาหนด

88 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่

1

รายการตรวจสอบ

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้องและ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

ครบถ้วน

ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วน หรือ ไม่ถูกต้อง อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ครบถ้วนและไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ ถุงมือผ้า

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง

รองเท้านิรภัย และชุดปฏิบัติการช่างอย่างถูกต้อง

ครบทั้ง 3 ชนิด ให้คะแนน 3 คะแนน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้อง 2 ชนิด ให้คะแนน 2 คะแนน

3

สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้องน้อยกว่า 2 ชนิด หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ให้คะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานได้ถูกต้อง เป็นไปตามลาดับขั้นตอน

ถูกต้องและเป็นไปตามลาดับขั้นตอน

3

ให้คะแนน 3 คะแนน ถูกต้อง แต่สลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ให้คะแนน 2 คะแนน ถูกต้อง แต่ปฏิบัติงานไม่ครบทุกขั้นตอน ให้คะแนน 1 คะแนน ไม่ถูกต้อง และปฏิบัติงานไม่ครบทุกขั้นตอน ให้คะแนน 0 คะแนน 4

การวัดขนาดชิ้นงานด้วยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

วัดขนาดชิ้นงานได้ค่าที่ถูกต้องทุกตาแหน่ง

5

ให้คะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานได้ค่าที่คลาดเคลื่อนน้อยกว่า ± 0.1 มิลลิเมตร ให้คะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานได้ค่าที่คลาดเคลื่อนมากกว่า ± 0.1 มิลลิเมตร ให้คะแนน 0 คะแนน 5

การวัดขนาดชิ้นงานด้วยไมโครมิเตอร์วัดนอก

วัดขนาดชิ้นงานได้ค่าที่ถูกต้องทุกตาแหน่ง ให้คะแนน 5 คะแนน

89 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ลาดับที่

รายการตรวจสอบ

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

คะแนน เต็ม

วัดขนาดชิ้นงานได้ค่าที่คลาดเคลื่อนน้อยกว่า ± 0.1 มิลลิเมตร ให้คะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานได้ค่าที่คลาดเคลื่อนมากกว่า ± 0.1 มิลลิเมตร ให้คะแนน 0 คะแนน 6

การบารุงรักษาเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

ชโลมน้ามันกันสนิมหลังใช้งาน และเก็บเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

5

ใส่กล่องเรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน ไม่ชโลมน้ามันกันสนิมหลังใช้งาน หรือไม่เก็บเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ใส่กล่องให้เรียบร้อย อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน ไม่ชโลมน้ามันกันสนิมหลังใช้งาน และไม่เก็บเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ใส่กล่องให้เรียบร้อย ให้คะแนน 0 คะแนน 7

การบารุงรักษาไมโครมิเตอร์วัดนอก

ชโลมน้ามันกันสนิมหลังใช้งาน และเก็บไมโครมิเตอร์ใส่กล่อง

5

เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน ไม่ชโลมน้ามันกันสนิมหลังใช้งาน หรือไม่เก็บไมโครมิเตอร์ ใส่กล่องให้เรียบร้อย อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 3 คะแนน ไม่ชโลมน้ามันกันสนิมหลังใช้งาน และไม่เก็บไมโครมิเตอร์ ใส่กล่องให้เรียบร้อย ให้คะแนน 0 คะแนน 8

ความสะอาดเรียบร้อยในการปฏิบัติงาน

ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ได้สะอาดเรียบร้อย และครบทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย หรือไม่ครบทุกชิ้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ไม่สะอาดเรียบร้อย และไม่ครบทุกชิ้น ให้คะแนน 1 คะแนน ไม่ทาความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน

90 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

ลาดับที่

9

รายการตรวจสอบ

ข้อกาหนดในการให้คะแนน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได้

3

ทุกชิ้น ให้คะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน อย่างใดอย่างหนึ่ง ให้คะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ และวัสดุไม่ถูกต้องและไม่ครบถ้วน หรือไม่จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ์ ให้คะแนน 0 คะแนน 10

เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานได้อย่างสมบูรณ์ภายในเวลาทีก่ าหนด

3

ให้คะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดไม่เกิน 5 นาที ให้คะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ าหนดมากกว่า 5 นาที ให้คะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

38

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 27 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

91 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 92 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งบารุ ง รั ก ษารถยนต์ ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 5

93 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.