_
หนาปก
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
คูมือครูฝก 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 7 09210206 การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
คํานํา
คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 7 การหลอลื่นและการใชสารหลอลื่นฉบับนี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลั กสู ต รฝ กอบรมฝ มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการ การฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถเลือกใชสารหลอลื่นใหเหมาะสมกับรถยนตได และวิเคราะหความ เสียหายของรถยนต กรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐานที่กําหนดได ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ใน ดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing แล ะเน น ผ ล ลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ ทํา ให ผู รั บ การฝ ก อบรมมี ค ว ามส ามารถ ในการปฏิ บั ติ ง านตามที่ต ลาดแรงงานตอ งการ โดยยึด ความสามารถของผูรับ การฝก เปน หลัก การฝก อบรมในระบบ ดังกลาว จึงเปนรูปแบบการฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตร การฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูก กํา หนดเปน รายการความสามารถหรือ สมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับ การฝก อบรม จําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝก จะต อ งเรี ย นรู แ ละฝ ก ฝนจนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดํา เนิ น การได ทั้ ง รู ป แบบการเรี ย นรู ผ า นสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ (Paper Based) และ ผานสื่อคอมพิว เตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรี ยนรู ได ดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือ ที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกั บหนว ยฝ ก โดยมีครูฝกหรือผูส อนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและ จัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนิน การทดสอบ ประเมิน ผลในลักษณะตาง ๆ อัน จะทําใหส ามารถ เพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ช ว ยประหยั ด เวลาในการเดิ น ทาง และประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ย ในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มีความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําให ประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง ไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
เรื่อง
สารบั ญ
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 7 09210206 การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น หัวขอวิชาที่ 1 0921020601 การเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนต 15 หัวขอวิชาที่ 2 0921020602 การใชและวิเคราะหขอขัดของความเสียของสวนตาง ๆ ของรถยนต คณะผูจัดทําโครงการ
52 72
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขา ใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
2. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ครูฝกใหใบงานแกผูรับการฝก อธิบายขั้นตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920163100502
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝ กใน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรชางยนต 1.3 มีความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรประยุกต 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุ และสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหและแกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตน 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการทํารายงานสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 7 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920163100502 2. ชื่อโมดูลการฝก การหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น รหัสโมดูลการฝก 09210206 3. ระยะเวลาการฝก รวม 9 ชั่วโมง ทฤษฎี 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 6 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน วย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกวิธีการเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 3. อธิบายและวิเคราะหขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ รถยนตกรณีใช สารหลอลื่นผิดมาตรฐานกําหนดได 4. แกไขขอของความเสียหายสวนตาง ๆ ของรถยนตกรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐาน กําหนดได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูเรื่องวิทยาศาสตรพื้นฐาน ผูรับการฝก 2. มีความรูเรื่องวิทยาศาสตรประยุกต 3. มีความรูเรื่องการทํางานของอุปกรณตาง ๆ ภายในรถยนต 4. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 5. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 6 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกวิธีการเลือกใชและวิเคราะห หัวขอที่ 1 : การเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่นที่ 2:30 3:00 5:30 สารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับ จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนต สวนตาง ๆ ของรถยนตได สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
2. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสม กับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 3. อธิบายและวิเคราะหขอขัดของ หัวขอที่ 2 : การใชและวิเคราะหขอขัดของความ ความเสียหายของสวนตาง ๆ เสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนต ของรถยนตกรณีใชสารหล อลื่ น ผิดมาตรฐานกําหนดได 4. แก ไ ขข อ ขั ด ข อ งความเสี ย หาย สวนตาง ๆ ของรถยนตกรณี ใช สารหลอลื่นผิดมาตรฐานกําหนด ได รวมทั้งสิ้น
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
0:30
3:00
3:30
2:00
5:00
7:00
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921020601 การเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่น ที่จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได
2. หัวขอสําคัญ 1. ความหมายของวัสดุหลอลื่น 2. สมบัติของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 0W-40 /API SN/CF 2) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-30 / API CI-4/SL 3) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-50 /API CF-4/SL 4) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CH-4/SJ 5) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CI-4/ SL 6) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CJ-4 7) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 20W-50 /API SJ 8) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD 9) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API CC/ SD 10) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SD/CC 11) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SL/CF 12) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CI-4 13) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CJ-4/SM 14) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API SN/CF 15) น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-40 /API SN/CF 16) ผาเช็ดทําความสะอาด 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ - โตะปฏิบัติการ
จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 ผืน จํานวน 1 ตัว
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝก แนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดใน เอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ความรูพื้นฐานของน้ํามันหลอลื่นที่คนมีรถตองรู. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thailandautocars.com / น้ํามันหลอลื่นในรถยนต/ คุณสมบัติของน้ํามันหลอลื่น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.auto2drive.com/หนาที่น้ํามันหลอลื่น/ น้ํามันเครื่องมีกี่ประเภท. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.veloil.com/ TestimonialsContent.php?tmid=Nw== วัสดุหลอลื่นในงานอุตสาหกรรม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/ wasduhlxlunninganxutsahkrrm/khwam-hmay-khxng-wasdu-hlx-lun เชลลประเทศไทย. ทําไมการเลือกน้ํามันเครื่องที่เหมาะสมกับเครื่องยนตจึงมีความสําคัญ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.shell.co.th/th_th/motorists/oils-lubricants/right-oil.html
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การเลือกใชและวิเคราะหสารหลอลื่นที่จะนํามาใชกับสวนตาง ๆ ของรถยนต 1. ความหมายของสารหลอลื่น สารหลอลื่น หมายถึง วัสดุชวยลดความฝดและการสึกหรอของเครื่องมือ เครื่องจักรกล เพื่อชวยใหเครื่องมือเหลานี้ สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ วัสดุหลอลื่นยังชวยระบายความรอน และขจัดสิ่งสกปรกออกจากบริเวณ ผิวสัมผัสของวัสดุที่ตองการการหลอลื่น ตัวอยางของเครื่องมือที่ตองใชวัสดุหลอลื่น เชน แบริ่ง (Bearing) เฟอง (Gears) เปนตน สารหลอลื่นสามารถแบงประเภทไดดังนี้ 1) สารหลอลื่นที่มีลักษณะเปนของเหลว หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา น้ํามันหลอลื่น (Lubrication Oils or Lube Oils) เชน น้ํามันเครื่อง น้ํามันเกียร และน้ํามันเฟองทาย เปนตน 2) สารหลอลื่นที่มีลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว หรือจาระบี (Grease) เปนสารหลอลื่นที่ใชสําหรับหลอลื่นในบริเวณ ที่ไมสามารถกักเก็บน้ํามันได เชน ตลับลูกปนลอ ลูกหมาก หูแหนบ ลูกปนบางชนิด เปนตน 2. สมบัติของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต (Lubricanting Oil) แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1) น้ํามัน หลอลื่นธรรมดา (Conventional Oil) เปน น้ํามันปโตรเลีย มที่เหลือจากการกลั่น ไมผานกรรมวิธี ทางเคมีใ ด ๆ มีอ ายุก ารใชง านสั้น และราคาถูก โดยทั่ว ไปมีร ะยะเวลาการเปลี่ย นถา ย 6 เดือ น หรือ 5,000 กิโลเมตร เหมาะสําหรับรถยนตที่ไมไดทํางานดวยความเร็วรอบสูงมากนัก 2) น้ํามันหลอลื่นสังเคราะห (Fully Synthetic) เปนน้ํามันเครื่องที่ไดจากการสังเคราะหทางเคมี จึงสามารถเพิ่ม คุณ สมบัติพิเ ศษบางอยา งเพื่อ เพิ่ม ประสิท ธิภ าพได โดยทั่ว ไปมีร ะยะเวลาการเปลี่ย นถา ย 1 ป หรือ 10,000 กิโลเมตร และมีจุดเดน คือ เกิดความเสื่อมเพราะการรวมตัวกับออกซิเจนนอย อัตราการระเหยต่ํา ปองกันการสึกหรอของชิ้นสวนตาง ๆ และทําใหเครื่องยนตทํางานไดเหมือนใหมในทุกสภาพการขับขี่ แตมี ราคาสูง เหมาะสําหรับรถยนตที่ตองการการดูแลมากเปนพิเศษ 3) น้ํ า มั น หล อ ลื่ น กึ่ ง สั ง เคราะห (Semi Synthetic) เป น การผสมกั น ระหว า งน้ํ า มั น หล อ ลื่ น สั ง เคราะห กั บ น้ํามันหลอลื่นธรรมดา สําหรับประเทศไทยไมมีขอบังคับเรื่องอัตราสวน มีระยะเวลาการเปลี่ยนถาย 9 เดือน หรือ 8,000 กิโลเมตร เปนน้ํามันที่ไดรับความนิยมสูง เพราะมีประสิทธิภาพอยูในเกณฑดี และมีราคาไมสูง
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ภาพที่ 1.1 น้ํามันเครื่อง การผลิตน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตโดยทั่วไป จะมีการเติมสารเพิ่มคุณภาพตาง ๆ ลงในน้ํามันหลอลื่นพื้นฐาน ซึ่งสมบัติของ น้ํามันหลอลื่น มีรายละเอียดดังตอไปนี้ 2.1 ความหนืด (Viscosity) ความหนืดเปนสมบัติการวัดความตานการไหลของน้ํามันหลอลื่น น้ํามันหลอลื่นที่มีความหนืดต่ําจะมีฟลมบาง และ สามารถไหลไดงาย แตไมควรมีคาความหนืดต่ําจนเกินไป เพราะเมื่อนําไปใชจะสงผลใหชิ้นสวนของโลหะเสียดสีกัน และ สึกหรออยางรวดเร็ว สวนน้ํามันหลอลื่นที่มีความหนืดสูงจะมีฟลมหนา และไหลยาก เมื่อนําไปใชงานจะไหลไปยังชิ้นสวนตาง ๆ ไดชา โดยเฉพาะในขณะที่เครื่องยนตเย็นอยู สงผลใหชิ้นสวนตาง ๆ ขาดน้ํามันหลอลื่นเกิดการสึกหรอเร็ว และยังทําให เครื่องยนตสูญเสียกําลังบางสวนไปเนื่องจากความหนืดสูง และในขณะติดเครื่องยนตตองใชกําลังขับจากมอเตอรสตารท คอนขางสูง ดังนั้น น้ํามันหลอลื่นที่ดีควรมีความหนืดที่เหมาะสม เพื่อสามารถไหลผานไปสูจุดตาง ๆ ไดงาย 2.2 ดัชนีความหนืด (Viscosity Index) ดัชนีความหนืดเปนสมบัติการวัดการเปลี่ยนแปลงความหนืดของน้ํามันหลอลื่น ตอการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ เนื่องจากน้ํามันหลอลื่นจะมีความหนืดสูงเมื่ออุณหภูมิต่ํา และจะมีความหนืดต่ําเมื่ออุณหภูมิสูง น้ํามันหลอลื่นที่นํามาใช กับเครื่องยนตควรมีความหนืดคงที่สม่ําเสมอ ทั้งในขณะที่มีอุณหภูมิต่ําและอุณหภูมิสูง จึงมีการปรับปรุงน้ํามันหลอลื่น ไมใหเปลี่ยนแปลงความหนืดมากเกินไป เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนแปลง น้ํามันหลอลื่นเกรดเดี่ยว หรือน้ํามันหลอลื่นความหนืดเดี่ยว (Single-Viscosity Oil) เปนน้ํามันหลอลื่นที่เปลี่ยนแปลงความหนืดตามอุณหภูมิไดงาย จึงมีคาดัชนีความหนืดต่ํา ตอมา ไดรับการปรับปรุง โดยเพิ่มคาดัชนีความหนืด เติมสารเสริมบางอยาง ลงในน้ํามันหลอลื่น ทําใหน้ํามันหลอลื่นมีแนวโนมที่ จะรักษาความหนืดเอาไวคงเดิมทั้งอุณหภูมิต่ําและสูง
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
2.3 ความตานทานการเกิดคารบอน และการรวมตัวกับออกซิเจน น้ํามันหลอลื่นที่ดีควรมีความตานทานการเกิดคารบอน และการรวมตัวกับออกซิเจนจนเกิดออกซิเดชัน ซึ่งอาการนี้ มักจะเกิดขึ้นในที่อุณหภูมิสูง ดังนั้น น้ํามันหลอลื่นจึงมีสารเติมแตง เพื่อลดปญหาดังกลาว 2.4 ความตานทานการเกิดสนิม และการกัดกรอน เมื่อใสสารเติมแตงพิเศษบางชนิดลงไปในน้ํามันหลอลื่น จะชวยใหน้ํามันหลอลื่นมีความตานทานตอการเกิดสนิม และการกัดกรอนบนชิ้นโลหะที่ไดรับการหลอลื่น สารเติมแตงนี้จะเขาไปแทนที่น้ําบริเวณผิวโลหะ และเปนตัวทําลาย ความเปนกรดของน้ํามัน 2.5 ความตานทานการเกิดฟอง น้ํ ามั น หล อลื่ น จะมี การใส ส ารเติ มแต งที่ ชว ยลดการเกิดฟอง เนื่องจากการหมุน ของเพลาขอเหวี่ย งอาจทํ า ให น้ํ า มั น หล อลื่ นเกิ ดฟอง และส งผลใหส มบัติในการหลอลื่นของน้ํามัน ลดลง นอกจากนี้ ฟองน้ํามัน หลอลื่นอาจทําให น้ํามันหลอลื่นไหลเขาไปในระบบเครื่องยนตจนทําใหชิ้นสวนเสียหายได 2.6 ความสามารถในการฟอก สารเติมแตงบางชนิดที่เติมลงในน้ํามันหลอลื่น มีสมบัติในการฟอก คือ ชวยขจัดอนุภาคคารบอน และสิ่งสกปรกอื่น ๆ ออกจากชิ้นสวนที่น้ํามันหลอลื่นเขาไปหลอเลี้ยง โดยน้ํามันหลอลื่นจะนําสิ่งสกปรกลงไปสูอางน้ํามันรองน้ํามันเครื่อง 2.7 ความตานทานความดันสูง สารเติมแตงบางชนิดที่เติมลงไปในน้ํามันหลอลื่น มีสมบัติที่ชวยใหน้ํามันหลอลื่นสามารถทนตอความดันสูง บริเวณแบริ่ง และกลไกวาลวไดดี โดยสารเติมแตงชนิดนี้ จะทําปฏิกิริยาทางเคมีกับผิวโลหะ ทําใหเกิดฟลมน้ํามันหลอลื่นที่มีความแข็งแรง และลื่นไหลไดสะดวก ซึ่งจะทนตอแรงกระแทก และแรงอัดไดดี 2.8 น้ํามันหลอลื่นชนิดประหยัดพลังงาน น้ํามันหลอลื่นบางชนิด มีการใสสารเติมแตงพิเศษที่ชวยลดความฝดของน้ํามัน ซึ่งสารเติมแตงพิเศษนี้มี 2 ประเภท คือ ประเภทละลายในน้ํามันหลอลื่น และประเภทผงกราไฟต ซึ่งเปนสารแขวนลอยที่ชวยลดการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง 3. หนาที่ของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต 1) หลอลื่นชิ้นสวนที่เคลื่อนไหวของเครื่องยนต เพื่อลดการสึกหรอ 2) ชวยลดความฝดของเครื่องยนต ซึ่งชวยเพิ่มกําลังมาใหสูงขึ้น
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3) ชว ยระบายความรอนจากการเผาไหมเชื้อเพลิงภายในกระบอกสูบ และชวยระบายความรอนที่เกิดจาก การเสียดสีของชิ้นสวนตาง ๆ ในเครื่องยนต 4) ชวยลดแรงกระแทกที่กระทํากับกานสูบและแบริ่งหลัก และชวยรองรับแรงกระแทก 5) ชวยอุดรอยรั่วระหวางแหวนลูกสูบและผนังนอกกระสูบ ทําหนาที่เปนซีลปองกันความดันรั่วไหล 6) ชวยทําความสะอาดในขณะที่น้ํามันหลอลื่นไหลผานไปตามจุดตาง ๆ ของเครื่องยนต และนําพาเอาอนุภาค ของโลหะ และคารบอนกลับสูอางน้ํามัน และอนุภาคจะตกตะกอนอยูที่กนอาง และถูกกรองออกไปดวย กรองน้ํามันหลอลื่น 7) ชวยปองกันการเกิดสนิมและการกัดกรอน เนื่องจากน้ํามันหลอลื่นที่ดีจะสมบัติในการทําใหกรดเจื อจาง จนไมสามารถกัดกรอนหรือทําลายชิ้นสวนโลหะได 4. การเลือกใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต การเลือกใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตที่เหมาะสมจะชวยใหเครื่องยนตทํางานไดอยางเต็มสมรรถนะ เพราะน้ํามันหลอลื่น เครื่องยนตจะชว ยป องกั น ไม ให ผิว ของชิ้ นสว นโลหะในเครื่องยนตเสีย ดสี และเกิดการสึกหรอ โดยการสรางชั้น ฟล ม คั่ น ระหวา งพื้นผิวโลหะ อีกทั้ง ยังชวยระบายความรอน และใหการปกปองเครื่องยนต ซึ่งสมบัติสําคัญที่สุดของน้ํามันหลอลื่น เครื่องยนตที่ดี คือ การปองกันการเกิดคราบเขมา การสะสมของสิ่งสกปรก ชวยปองกันการเกิดคราบตะกอนยางเหนียว ตานการเกิดออกซิเดชัน และลดกรดที่ทําใหเกิดการกัดกรอนเครื่องยนต สิ่งที่ควรตระหนักถึงในการเลือกซื้อน้ํามันเครื่อง มีดังนี้ 4.1 การสัมผัสกับน้ําและความชื้น สารหลอลื่นแตละประเภทจะมีสารอุมน้ําที่แตกตางกันทําใหความสามารถในการทนตอน้ํา และความชื้นแตกตาง กันดวย หากงานที่ใชตองมีการสัมผัสกับน้ํา และความชื้นมาก ควรเลือกสารหลอลื่นที่มีคุณสมบัติทนน้ําไดดี 4.2 อุณหภูมิในการใชงาน สารหลอลื่นแตละประเภทจะมีสวนประกอบทางเคมีที่แตกตางกันทําใหสมบัติในการทนความรอนตางกัน ดังนั้น ควรเลือกใชสารหลอลื่นที่มีคุณสมบัติในการทนตอความรอนไดดี และดูชวงอุณหภูมิที่สามารถใชงานได 4.3 การทนตอแรงกดและแรงกระแทก สารหล อลื่ น มี ส ว นประกอบของน้ํ า มั น หลอลื่น ซึ่งน้ํามัน หลอลื่น แตล ะชนิดจะสามารถทนตอแรงกด และแรง กระแทกที่ตางกัน ดังนั้น การใชงานที่ตองมีการรับแรงกด และแรงกระแทกมากก็ควรเลือกสารหลอลื่นที่ประกอบดวย น้ํามันหลอลื่นที่มีความหนืดสูง
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
5. มาตรฐานน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตตามความหนืด (SAE) SAE ย อ มาจาก “The Society of Automotive Engineers” หรื อ สมาคมวิ ศ วกรยานยนต แ ห ง สหรั ฐ ซึ่ งกํ าหนด มาตรฐานน้ํ า มัน เครื ่อ งตามความหนืด โดยแบง น้ํ า มัน หลอ ลื ่น ออกเปน 2 ประเภท ไดแ ก น้ํ า มัน หลอ ลื ่น เกรดเดี ่ย ว (Monograde oil) และน้ํามันหลอลื่นเกรดรวม (Multigrade Oil) 1) น้ํามันหลอลื่นเกรดเดี่ยว (Monograde Oil) ตารางที่ 1.1 ตารางแสดงเกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตตามความหนืด (เกรดเดี่ยว) เกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตสําหรับฤดูหนาว ระดับความหนืด
อุณหภูมิที่ทดสอบ (องศาเซลเซียส)
เกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตสําหรับฤดูรอน ระดับความหนืด
อุณหภูมิที่ทดสอบ (องศาเซลเซียส)
0W
-30
20
100
5W
-25
30
100
10W
-20
40
100
15W
-15
50
100
20W
-10
60
100
25W
-5
ตัวเลขแสดงคาความหนืดของน้ํามันเครื่องชนิดนี้ แบงออกเปน 2 แบบ คือ น้ํามันหลอลื่นที่เหมาะสําหรับ ประเทศเขตรอน ซึ่งจะทดสอบที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เชน น้ํามันเกรด SAE 20 หมายถึง น้ํามันจะมีคา ความหนืดระดับ 20 ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส และน้ํามันหลอลื่นสําหรับประเทศเขตหนาว จะทดสอบที่ อุณหภูมิติดลบ โดยจะตองมีอักษร W ซึ่งยอมาจาก Winter อยูหลังตัวเลข เชน จากตารางที่ 1.1 น้ํามันเกรด SAE 5W หมายถึง น้ํามันจะมีคาความหนืดระดับ 5 ที่อุณหภูมิ -25 องศาเซลเซียส ทั้งนี้ หากน้ํามันหลอลื่นมี ตัวเลขแสดงคาความหนืดต่ํา จะมีความหนืดนอยกวาน้ํามันหลอลื่นที่มีคาความหนืดสูง
ภาพที่ 1.2 น้ํามันหลอลื่นเกรดเดี่ยว SAE 40 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
2) น้ํามันหลอลื่นเกรดรวม (Multigrade Oil) ตารางที่ 1.2 ตารางแสดงเกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตตามความหนืด (เกรดรวม) น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต (เกรดรวม) 5W-20
10W-50
15W-30
15W-40
5W-40
15W-50
5W-50
20W-40
10W-30
20W-50
10W-40
10W-60
น้ํามันหลอลื่นชนิดนี้ สามารถรักษาความหนืดไวไดดี แมวาอุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลง เพราะกําหนดชวงความหนืด ไวครอบคลุมทั้งอุณหภูมิต่ําและอุณหภูมิสูง และยังสามารถใชแทนน้ํามันหลอลื่นชนิดเกรดเดี่ยวได เชน SAE 5W-30 หมายถึง น้ํามันจะมีคาความหนืดเทากับน้ํามันเกรด SAE 5W และน้ํามันเกรด SAE 30 กลาวคือ จะมีคาความหนืด ระดับ 5 ที่อุณหภูมิ -25 องศาเซลเซียส และมีคาความหนืดระดับ 30 อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส
ภาพที่ 1.3 น้ํามันหลอลื่นเกรดรวม 5W- 40
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ตารางที่ 1.3 ตารางแสดงมาตรฐานน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตตามความหนืด (SAE) Viscosity (cP) at SAE Viscosity Grade
Temperature (°C)
Viscosity (cSt) at 100 (°C)
Max
Min
Max
0W
3250 at -30
3.8
-
5W
3500 at -25
3.8
-
10W
3500 at -20
4.1
-
15W
3500 at -15
5.6
-
20W
4500 at -10
5.6
-
25W
6000 at -5
9.3
-
20
-
5.6 less than 9.3
30
-
9.3 less than 12.5
40
-
12.5 less than 16.3
50
-
16.3 less than 21.9
60
-
21.9 less than 26.1
6. มาตรฐานน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตตามสภาพการใชงาน (API) API ยอมาจาก American Petroleum Institute หรือ สถาบันปโตรเลียมแหงสหรัฐอเมริกา ซึ่งกําหนดมาตรฐานน้ํามันเครื่อง ตามสภาพการใชงาน โดยจําแนกตามประเภทของเครื่องยนต ไดแก มาตรฐานน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตเบนซิน และมาตรฐาน น้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตดีเซล 6.1 มาตรฐาน API สําหรับเครื่องยนตเบนซิน API กําหนดมาตรฐานน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตเบนซิน 7 ระดับ ดังนี้ 1) ระดับ SA สําหรับเครื่องยนตเบนซินรุนเกา เครื่องเดินรอบชามีกําลังอัดต่ํา น้ํามันหลอลื่นระดับนี้ไมมี สารเพิ่มคุณภาพใด ๆ 2) ระดับ SB สําหรับเครื่องยนตเบนซินที่ทํางานเบา มีกําลังอัดต่ํา มีสารเพิ่มคุณภาพดวยเล็กนอยมีคุณสมบัติ ปองกันการรวมตัวของออกซิเจนในอากาศ และกรดกัดกรอนที่แบริ่ง
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3) ระดั บ SC สํา หรั บ เครื่ อ งยนต เ บนซิ น ป พ.ศ.2507-2510 มีส ารเพิ่ม คุณ ภาพที่ส ามารถตา นทาน การรวมตัวของเขมาและตะกอน รวมถึงสิ่งสกปรกทั้งที่อุณหภูมิต่ําและสูง ปองกันการสึกกรอน และสนิม 4) ระดับ SD สําหรับรถยนตนั่งและรถบรรทุกเล็กป พ.ศ.2511-2513 มีสารเพิ่มคุณภาพที่มากกวาระดับ SC และปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพใหชะลางดีขึ้น รวมทั้งปองกันการรวมตัวกับออกซิเจนและการสึกหรอ 5) ระดับ SE สําหรับรถยนตนั่งและรถบรรทุกเล็กป พ.ศ.2515–2522 มีสารเพิ่มคุณสมบัติพิเศษมากกวา ระดับ SC และ SD สามารถปรับใชกับเครื่องยนตที่มีประสิทธิภาพสูง หรือ เครื่องยนตมีขนาดเล็ก ใหมี กําลังแรงมาและกําลังอัดสูง 6) ระดับ SF สําหรับรถยนตนั่งและรถบรรทุกบางชนิด ประกาศใชในป พ.ศ. 2523 น้ํามันหลอลื่นระดับนี้ จะเติมสารตานทานการรวมตัวของออกซิเจน และปองกันการสึกหรอสูงกวาเกรด SE นอกจากนี้ ยังสามารถ ปองกันการเกิดสนิมและการกัดกรอน เหมาะสําหรับเครื่องยนตที่ทํางานหนัก เครื่องเดินรอบสูง กําลังอัดสูง 7) ระดับ SG สําหรับรถยนตนั่ง รถบรรทุกขนาดเล็ก และรถตู ประกาศใชในป พ.ศ. 2531 มีคุณสมบัติ ปองกันการเกิดโคลน (Sludge) ในอางน้ํามันเครื่อง และตานทานการรวมตัวกับออกซิเจน นอกจากนี้ ยังปองกันการสึกหรอ การเกิดสนิม และการกัดกรอน 8) ระดับ SH สําหรับรถยนตนั่ง รถตู และรถบรรทุกขนาดเล็ก ประกาศใชป พ.ศ. 2537 มีคุณสมบัติสูงกวา มาตรฐานขั้นต่ําของระดับ SG สามารถปองกันการเกิดโคลนในอางน้ํามันเครื่อง ตานทานการรวมตัวกับ ออกซิเจน การสึกหรอ การเกิดสนิม และการกัดกรอน 9) ระดับ SJ ประกาศใชในป พ.ศ. 2540 มีคุณสมบัติเหมือนน้ํามันหลอลื่นระดับ SH แตเพิ่มความสามารถ ในการลดคราบจับของลูกสูบที่เกิดขณะอุณหภูมิสูง ลดอัตราการกินน้ํามันเครื่อง และลดการเกิดฟอง 10) ระดั บ SL ประกาศใช ใ นป พ.ศ. 2544 พัฒ นาคุณสมบัติ ขึ้ น จากระดั บ SJ ดานการทําความสะอาด เครื่องยนต ลดการสะสมคราบสกปรกขณะอุณหภูมิสูง รวมทั้งชวยยืดอายุการใชงานของน้ํามันเครื่อง 11) ระดับ SM ประกาศใชในป พ.ศ. 2547 เพิ่มเติมการกําหนดคากํามะถัน และการควบคุมผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้นกับอุปกรณกําจัดไอเสีย รวมทั้งพัฒนาคุณสมบัติดานการระเหย การรวมตัวกับออกซิเจน และ การปองกันการสึกหรอ 12) ระดับ SN ประกาศใชในป พ.ศ. 2553 เพิ่มความสามารถดานการชะลาง การทําความสะอาดเครื่องยนต และควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสมที่ลูกสูบ ตานทานการกระจายของสิ่งสกปรก และการวัดคาตามที่ เกิดขึ้นในเครื่องยนต ปจจุบัน API ยุติการออกเครื่องหมายรับรองคุณภาพน้ํามันหลอลื่นระดับ SA – SH แลว
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
6.2 มาตรฐาน API สําหรับเครื่องยนตดีเซล API กําหนดมาตรฐานน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตดีเซล มี 5 ระดับ 1) ระดับ CA สําหรับเครื่องยนตดีเซลธรรมดา ที่ทํางานเบาและปานกลาง สามารถปองกันไมใหเกิดการกัดกรอน ในแบริ่งและชะลางเขมาตะกอนในอุณหภูมิสูง ๆ ได น้ํามันหลอลื่นระดับนี้ใชในป พ.ศ. 2483 - 2493 2) ระดับ CB สําหรับเครื่องยนตที่ทํางานเบาและปานกลาง กําลังอัดต่ํา ใชเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํากวาระดับ CA จึงตองการการปองกันการสึกหรอและคราบสกปรกสูงกวาที่ใชในระดับ CA น้ํามันหลอลื่นระดับนี้ ใชในป พ.ศ. 2492 – 2503 3) ระดับ CC หรืออาจเรีย กวา HD oil เหมาะสําหรับ เครื่องยนตที่มีซุป เปอรช ารจ หรือ เทอรโ บชารจ น้ํามันในระดับนี้มีคุณสมบัติในการชะลางการกระจายตัวของเขมาและตะกอนที่อุณหภูมิสูง สามารถ ปองกันการเกิดสนิมและการกัดกรอนไดดี น้ํามันหลอลื่นระดับนี้เริ่มใชในป พ.ศ. 2504 4) ระดับ CD สํา หรับ เครื่อ งยนตที่มีซุป เปอรช ารจ หรือ เทอรโ บชารจ ใชน้ํา มัน เชื้อ เพลิง คุณ ภาพต่ํา มีกํามะถันสูง ทําใหเกิดกรดซัลฟูริก น้ํามันหลอลื่นระดับนี้เริ่มใชในป พ.ศ. 2498 มีคุณสมบัติปองกัน การสึกหรอ การเกิดคราบสกปรกที่อุณหภูมิสูง และการกัดกรอนที่แบริ่ง 5) ระดับ CD II เริ่มใชในป พ.ศ. 2530 สําหรับเครื่องยนตดีเซล 2 จังหวะ มีคุณสมบัติมีคุณสมบัติปองกัน การสึกหรอและการเกิดคราบสกปรก 6) ระดับ CE สําหรับเครื่องยนตดีเซลสภาพงานหนัก มีซุปเปอรชารจ หรือ เทอรโบชารจ เปนน้ํามันเกรดรวม ที่มีคุณสมบัติพิเศษในการควบคุมเขมาที่บริเวณแหวนและลูกสูบ ปองกันการทําปฏิกิริยากับออกซิเจน ทําใหน้ํามันมีอายุการใชงานยาวนานขึ้น ชวยลดการสึกหรอของลูกสูบ และกระบอกสูบ 7) ระดับ CF-4 สําหรับเครื่องยนตดีเซลที่มีความเร็วรอบสูง โดยเฉพาะรถบรรทุกงานหนักที่ใชในทางหลวง ชวยลดอัตราการสิ้น เปลื องน้ํามันเครื่ อง และลดคราบสกปรกที่ลู กสูบ น้ํามันหลอลื่น ระดั บ นี้ เมื่อใช รวมกับน้ํามันระดับ S ของเครื่องยนตเบนซิน จะสามารถใชไดทั้งเครื่องยนตเบนซินและดีเซล 8) ระดับ CF สําหรับเครื่องยนตดีเซลที่มีหองเผาไหมชวย เครื่องยนตดีเซลธรรมดา เครื่องยนตซูเปอรชารจ และเครื่องยนตเทอรโบชารจ สามารถใชไดกับน้ํามันดีเซลทั้งชนิดที่มีกํามะถันสูงและต่ํา นอกจากนี้ ยัง มีคุณสมบัติในการควบคุมการเกิดคราบสกปรกที่ลูกสูบ ปองกันการสึกหรอ และการกัดกรอนของแบริ่ง น้ํามันหลอลื่นระดับนี้เริ่มใชในป พ.ศ. 2537 และสามารถใชไดกับเครื่องยนตที่แนะนําใหใชน้ํามันระดับ CD ได
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
9) ระดับ CF-2 เริ่มใชในป พ.ศ. 2537 เหมาะสําหรับเครื่องยนตดีเซล 2 จังหวะที่ใชงานทั่วไป สามารถปองกัน การเกิดรอยขีดขวนในกระบอกสูบและหนาแหวนลูกสูบได รวมทั้งสามารถใชไดกับเครื่องยนตที่แนะนําให ใชน้ํามันระดับ CD-II ได 10) ระดั บ CG-4 เริ่ มใช ในป พ.ศ. 2537 สําหรับ เครื่องยนตดี เซลสภาพงานหนั ก ใชงานภายใตส ภาวะ ความเร็วรอบสูงทั้งบนทางหลวงและนอกทางหลวง มีคุณสมบัติในการลดคราบสกปรกที่ลูกสูบ ปองกัน การสึกหรอ ปองกันการกัดกรอน และตานทานการเกิดฟอง ตานทานการรวมตัวกับออกซิเจน รวมทั้ง ปองกันการสะสมของเขมา 11) ระดับ CH-4 เริ่มใชในป พ.ศ. 2541 สําหรับเครื่องยนตดีเซลสภาพงานหนัก สามารถใชไดดีกับเครื่องยนต ดีเซลทั้งชนิดกํามะถันต่ําและสูง น้ํามันระดับนี้จะเพิ่มประสิทธิภาพจากน้ํามันระดับ CG-4 ในดานการควบคุม และกระจายตัวของเขมา ลดคราบสกปรกที่ลูกสูบ ปองกัน การสึกหรอและการกัดกรอน รวมทั้งลด อัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเครื่อง สามารถใชแทนน้ํามันมาตรฐาน CD, CE, CF-4 และ CG-4 ได 12) ระดับ CI-4 เริ่มใชในป พ.ศ. 2545 โดยพัฒนาขึ้นเพื่อเตรียมรับมาตรฐานมลพิษ ป ค.ศ. 2004 ที่สถาบัน สิ่งแวดลอมของสหรัฐอเมริกา (EPA) ไดกําหนดขึ้น โดยลดปริมาณกาซไนโตรเจนออกไซดลงครึ่งหนึ่งจาก ป ค.ศ. 1998 สงผลใหผูผลิตรถยนตตองติดตั้งระบบกําจัดไอเสีย EGR (Exhaust Gas Recirculation) ซึ่งเปนระบบที่นําไอเสียไปหมุนเวียนใหม นอกจากนี้ ยังเพิ่มคุณสมบัติดานการชะลาง การทําความสะอาด บริเวณลูกสูบและรองแหวน ควบคุมการกระจายเขมา และปองกันการกัดกรอน 13) ระดับ CI-4 PLUS เริ่ม ใชใ นป พ.ศ. 2547 สํา หรับ เครื่อ งยนตดีเ ซลที่ติด ตั้งระบบกํา จัด ไอเสีย EGR แตปรับปรุงเรื่องการกระจายเขมา และการตานทานการเพิ่มขึ้นของความหนืด 14) ระดับ CJ-4 เริ่มใชในป พ.ศ. 2549 พัฒนาการกําหนดอัตราธาตุกํามะถัน ฟอสฟอรัส และปริมาณเถา เพิ่มเติม เพื่อปกปองอุปกรณกําจัดมลพิษที่ติดตั้งมากับยานยนต เพื่อรองรับมาตรฐานมลพิษที่เขมงวดขึ้น ปจจุบัน API ยุติการออกเครื่องหมายรับรองคุณภาพน้ํามันหลอลื่นระดับ CA – CG-4 แลว 7. มาตรฐานน้ํามันน้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายตามความหนืด (SAE) สมาคมวิศวกรรมยานยนตแหงสหรัฐอเมริกา (SAE) ไดกําหนดมาตรฐานความหนืดของน้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทาย โดยแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก ชนิดเกรดเดี่ยว และชนิดเกรดรวม ซึ่งมี 6 เกรดเชนเดียวกับน้ํามันเครื่อง ไดแก SAE 75W 80W 85W 90 140 และ 250 สําหรับประเทศไทนที่มีอากาศรอนตลอดทั้งป รถยนตขับหลังทั่วไปจึงควรใชน้ํามันเกียรเกรดเดี่ยว SAE 90 และสําหรับน้ํามันเฟองทาย ใชน้ํามันเกียรเกรดเดี่ยว SAE 140 หรือตามที่คูมือประจํารถยนตกําหนด
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
8. มาตรฐานน้ํามันน้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายตามสภาพการใชงาน (API) (GL = Gear Lubricant) 1) GL- 1 ใชสําหรับเกียรแบบเฟองเดือยหมู เฟองหนอน รับภาระเบา และไมจําเปนตองเติมสารเพิ่มคุณภาพ 2) GL- 2 ใชสําหรับ เกีย รเฟองหนอน เพลาลอ ซึ่งรับ ภาระหนักกวาประเภท GL- 1 และจําเปน ตองเติ ม สารเพิ่มคุณภาพ 3) GL- 3 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองเดือยหมู และกระปุกเกียรที่รับแรงไดขนาดปานกลาง ซึ่งจําเปนตองเติม สารเพิ่มคุณภาพแรงกดปานกลาง 4) GL- 4 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองไฮปอยด ที่ทํางานหนักปานกลาง และมีคุณลักษณะการทํางานในขั้น MIL-L-2105 5) GL- 5 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองไฮปอยด ที่ทํางานหนัก และมีแรงกระแทก และมีคุณลักษณะการทํางาน ในขั้น MIL-L-2105 6) GL- 6 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองไฮปอยดที่มีแนวเยื้องศุนยมากกวา 2 นิ้ว และมีความเร็วสูง
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับสารหลอลื่น ก. ลดความฝดของเครื่องมือและเครื่องจักรกล ข. ชวยเพิ่มอุณหภูมิภายในเครื่องยนต ค. ขจัดสิ่งสกปรกออกจากผิวของวัสดุ ง. ปองกันการสึกหรอของเครื่องมือ 2. น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตธรรมดา มีระยะทางการเปลี่ยนถายเทาใด ก. 3,000 กิโลเมตร ข. 5,000 กิโลเมตร ค. 8,000 กิโลเมตร ง. 10,000 กิโลเมตร 3. ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับหนาที่ของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต ก. ลดแรงกระแทกที่กระทํากับกานสูบและแบริ่งหลัก ข. ปองกันการเกิดสนิมและการกัดกรอน ค. ระบายความรอนจากการเผาไหมภายในอางน้ํามันเครื่อง ง. อุดรอยรั่วระหวางแหวนลูกสูบและผนังกระบอกสูบ 4. ขอใด คือ ระดับของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตที่ API ยุติการรับรองคุณภาพแลว ก. CJ-4 ข. SL ค. SD ง. CH-4
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
5. น้ํามันหลอลื่นระดับใด เหมาะสําหรับเครื่องยนตดีเซล 2 จังหวะที่ใชงานทั่วไป ก. CF-2 ข. CJ-4 ค. CH-4 ง. CE 6. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตระดับ CI-4 ก. ทําใหผูผลิตรถยนตตองติดตั้งระบบกําจัดไอเสีย EGR ข. API ยุติการออกเครื่องหมายรับรองคุณภาพแลว ค. เหมาะสําหรับเครื่องยนตดีเซลที่มีหองเผาไหมชวย ง. ใชเชื้อเพลิงคุณภาพต่ํากวาน้ํามันหลอลื่นระดับ CA 7. น้ํามันหลอลื่นระดับใด สามารถปองกันการเกิดโคลน (Sludge) ในอางน้ํามันเครื่องได ก. SL ข. SD ค. CE ง. SG 8. ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตระดับ ระดับ CF ก. ชวยควบคุมการเกิดคราบสกปรกที่ลูกสูบ ข. ใชกับเครื่องยนตที่แนะนําใหใชน้ํามันระดับ CD ได ค. ใชไดเฉพาะกับน้ํามันดีเซลทั้งชนิดที่มีกํามะถันสูง ง. เริ่มใชครั้งแรกในป พ.ศ. 2537
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
9. น้ํามันหลอลื่นระดับใด ไมเหมาะกับเครื่องยนตที่มีซุปเปอรชารจ หรือ เทอรโบชารจ ก. CB ข. CD ค. CE ง. CF 10. ขอใดกลาวไมถูกตอง เกี่ยวกับตัวเลขความหนืด ก. หนวยงานที่กําหนดตัวเลขความหนืด คือ สมาคมวิศวกรยานยนต ข. น้ํามันหลอลื่นเกรด SAE 20 มีความหนืดสูงกวาเกรด SAE 40 ค. ประเทศที่ฤดูหนาวไมไดหนาวจัด จะใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเกรดเดี่ยว ง. ตัวอักษร W ใน SAE 5 W มาจากคําวา WInter
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตเบนซิน และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
รายละเอียด
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - โตะปฏิบัติการ
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 0W-40 /API SN/CF
จํานวน 1 แกลลอน
2. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-30 / API CI-4/SL
จํานวน 1 แกลลอน
3. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-50 /API CF-4/SL
จํานวน 1 แกลลอน
4. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CH-4/SJ
จํานวน 1 แกลลอน
5. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CI-4/ SL
จํานวน 1 แกลลอน
6. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CJ-4
จํานวน 1 แกลลอน
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
7. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 20W-50 /API SJ
จํานวน 1 แกลลอน
8. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD
จํานวน 1 แกลลอน
9. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API CC/ SD
จํานวน 1 แกลลอน
10. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SD/CC
จํานวน 1 แกลลอน
11. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SL/CF
จํานวน 1 แกลลอน
12. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CI-4
จํานวน 1 แกลลอน
13. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CJ-4/SM
จํานวน 1 แกลลอน
14. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API SN/CF
จํานวน 1 แกลลอน
15. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-40 /API SN/CF
จํานวน 1 แกลลอน
16. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเลือกใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
1. จัดเตรียมน้ํามัน
ครูฝกจัดเตรียมน้ํามันชนิดตาง ๆ
ขณะปฏิบัติงาน
2. เลือกหยิบน้ํามัน
บนโตะ
ควรหลีกเลี่ยง การกอประกาย ไฟ
ผู รั บ การฝ ก เลื อ กหยิ บ น้ํ า มั น ที ล ะ แกลลอน 3. สังเกตน้ํามัน
สังเกตตัวเลขแสดงเกรดของ
ไมควรสูดดมไอ
น้ํามันหลอลื่น วาเปนน้ํามันสําหรับ
น้ํามันอาจเปน
เครื่องยนตเบนซิน หรือดีเซล
อันตรายตอ ระบบหายใจ และเสี่ยงตอการ
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง เปนโรคมะเร็ง ปอดอีกดวย
4. บันทึกผลลงในตาราง
เมื่อทราบวาน้ํามั นแกลลอนบ า งใด คือน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนต เบนซิน บันทึกเกรดของน้ํามัน และ รายละเอียดลงในตาราง
5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตเบนซิน และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
รายละเอียด
น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 0W-40 /API
เหมาะกับเครื่องยนตเบนซินรุนใหม ทําความสะอาดเครื่องยนตไดอยางมี
SN/CF
ประสิทธิภาพและควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม
น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 20W-50 /API SJ
มีการเพิม่ ความสามารถในการลดคราบจับของลูกสูบขณะอุณหภูมิสูง ลดอัตราการกินน้ํามันเครื่อง และลดการเกิดฟอง น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SD/CC เหมาะกับเครื่องยนตเบนซินประเภทรถยนตนั่งและรถบรรทุกเล็ก รวมทั้ง เพิ่มประสิทธิภาพการชะลาง ปองกันการรวมตัวกับออกซิเจน และการสึกหรอ น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SL/CF ลดการสะสมคราบสกปรกขณะอุณหภูมิสูง และยืดอายุการใชงานของน้ํามัน น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API SN/CF เหมาะกับเครื่องยนตเบนซินรุนใหม ทําความสะอาดเครื่องยนตไดอยาง มีประสิทธิภาพและควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-40 /API SN/CF มีคุณสมบัติเชนเดียวกัน แตแตกตางกันที่ระดับความหนืด
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ รายการตรวจสอบ
ลําดับที่
1
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
3
หนากากชนิดแผนกรองอากาศ รองเทานิรภัย ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด ปฏิบัติงาน
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน
การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซินไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น
ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไดถูกตอง ครบถวน
5
ใหคะแนน 5 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตดีเซล และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
รายละเอียด
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.2 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - โตะปฏิบัติการ
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 0W-40 /API SN/CF
จํานวน 1 แกลลอน
2. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-30 / API CI-4/SL
จํานวน 1 แกลลอน
3. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-50 /API CF-4/SL
จํานวน 1 แกลลอน
4. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CH-4/SJ
จํานวน 1 แกลลอน
5. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CI-4/ SL
จํานวน 1 แกลลอน
6. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CJ-4
จํานวน 1 แกลลอน
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
7. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 20W-50 /API SJ
จํานวน 1 แกลลอน
8. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD
จํานวน 1 แกลลอน
9. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API CC/ SD
จํานวน 1 แกลลอน
10. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SD/CC
จํานวน 1 แกลลอน
11. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API SL/CF
จํานวน 1 แกลลอน
12. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CI-4
จํานวน 1 แกลลอน
13. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CJ-4/SM
จํานวน 1 แกลลอน
14. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API SN/CF
จํานวน 1 แกลลอน
15. น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-40 /API SN/CF
จํานวน 1 แกลลอน
16. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเลือกใชน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
1. จัดเตรียมน้ํามัน
ครูฝกจัดเตรียมน้ํามันชนิดตาง ๆ
ขณะปฏิบัติงาน
2. เลือกหยิบน้ํามัน
บนโตะ
ควรหลีกเลี่ยง การกอประกาย ไฟ
ผูรับ การฝกเลือกหยิบน้ํามันทีละ แกลลอน 3. สังเกตน้ํามัน
สังเกตตัวเลขแสดงเกรดของ
ไมควรสูดดมไอ
น้ํามันหลอลื่น วาเปนน้ํามัน
น้ํามันอาจเปน
สําหรับเครื่องยนตเบนซิน หรือ
อันตรายตอ
ดีเซล
ระบบหายใจ และเสี่ยงตอ การเปน
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง โรคมะเร็งปอด อีกดวย
4. บันทึกผลลงในตาราง
เมื่อทราบวาน้ํามันแกลลอนบางใด คือน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนต ดีเซล บันทึกเกรดของน้ํามัน และ รายละเอียดลงในตาราง
5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ วั ส ดุ อ ย า งถู ก ต อ ง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ วัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 1.2 การตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชสารหลอลื่นไดเหมาะสมกับสวนตาง ๆ ของรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกน้ํามันหลอลื่นสําหรับเครื่องยนตดีเซล และเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
รายละเอียด
น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 10W-30 / API CI-4/SL
มีการเพิ่มคุณสมบัติการชะลาง การทําความสะอาดบริเวณลูกสูบ และควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CH-4/SJ เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลสภาพงานหนัก เพิ่มประสิทธิภาพ จาก น้ํามันระดับ CG4 ควบคุมการกระจายของเขมา และลดคราบสกปรก ที่ลูกสูบ น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CI-4/ SL มีการเพิ่มคุณสมบัติการชะลาง การทําความสะอาดบริเวณลูกสูบ และควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 15W-40 /API CJ-4 เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลรุนใหม กําหนดอัตราธาตุกํามะถัน ฟอสฟอรัส และปริมาณเถาเพิ่ม และปกปองอุปกรณกําจัดมลพิษที่ติดตั้ง มากับยานยนต น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลทีมีซุปเปอรชารจ และปองกันการเกิดสนิม และการกัดกรอนไดดี น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 40 /API CC/ SD เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลทีมีซุปเปอรชารจ และปองกันการเกิดสนิม และการกัดกรอนไดดี เหมือนน้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 30 /API CC/SD แตแตกตางกันที่ระดับความหนืด 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
เกรดของน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต
รายละเอียด
น้ํามันหลอลื่น เกรด SAE 5W-30 /API CI-4
มีการเพิ่มคุณสมบัติการชะลาง การทําความสะอาดบริเวณลูกสูบ และควบคุมการเกิดคราบเขมาสะสม น้ํามันหลอลืน่ เกรด SAE 5W-30 /API CJ-4/SM เหมาะกับเครื่องยนตดีเซลรุนใหม กําหนดอัตราธาตุกํามะถัน ฟอสฟอรัส และปริมาณเถาเพิ่ม รวมทั้งปกปองอุปกรณกําจัดมลพิษที่ ติดตั้งมากับยานยนต
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
หนากากชนิดแผนกรองอากาศ รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัตกิ ารชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม
ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
ปฏิบัติงาน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 3 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล
การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน การตรวจสอบน้าํ มันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้ํามันหลอลื่น
ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไดถูกตอง ครบถวน
5
ใหคะแนน 5 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 1 ชนิด หรือ ไมครบถวน 1 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 4 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 2 ชนิด หรือ ไมครบถวน 2 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง 3 ชนิด หรือ ไมครบถวน 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับน้าํ มันหลอลื่นไมถูกตอง มากกวา 3 ชนิด หรือ ไมครบถวนมากกวา 3 ชนิด อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921020602 การใชและวิเคราะหขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายและวิเคราะหขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนต กรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐานกําหนดได 2. แกไขขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนต กรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐานกําหนดได
2. หัวขอสําคัญ - สาเหตุการสึกหรอของเครื่องยนต
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํามันเบนซิน 2) ปะเก็นฝาสูบ 3) ผาเช็ดทําความสะอาด 4) ฝาสูบใหม (ตรงกับเครื่องที่ใช) 5) เพลาลูกเบี้ยวไอดีพรอมเฟองขับ 6) เพลาลูกเบี้ยวไอเสียพรอมเฟองขับ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) เครื่องมือชางพื้นฐาน 2) เครื่องมือถอดประกอบกรองน้ํามันเครื่อง 3) เครื่องยนตตั้งแทน 4) โตะปฏิบัติการ 5) ประแจวัดแรงบิด 6) ปมลม 7) ปนเปาลม
จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 แผน จํานวน 1 ผืน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 อัน จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อัน
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ไขขอสงสัย ปญหาน้ํามันเครื่องหาย สาเหตุเกิดจากอะไร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thailandautocars.com / สาเหตุการสึกหรอของเครื่องยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.jspeedk.com/14312575/ สาเหตุการสึกหรอของเครื่องยนต/
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การใชและวิเคราะหขอขัดของความเสียหายสวนตาง ๆ ของรถยนต 1. สาเหตุการสึกหรอของเครื่องยนต การสึกหรอของเครื่องยนต อันเนื่องมาจากปญหาเกี่ยวกับการใชสารหลอลื่น เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ดังนี้ 1.1 น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเสื่อมคุณภาพ น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต ทําหนาที่หลอลื่นและลดการเกิดเขมาภายในเครื่องยนต ปองกันการเกิดสนิม และยืดอายุ การใชงาน แตในทางกลับกัน หากน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตที่เสื่อมสภาพ ไมวาจะเปน มีฝุนผงหรือเขมาปะปน เกิดการรวมตัว กับออกซิเจน หรือสารเพิ่มคุณภาพที่เติมไวเริ่มเสื่อมลง จะทําใหชิ้นสวนเครื่องยนตสึกหรอ และทํางานไมปกติ 1.2 น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตไมขึ้นไปหลอเลี้ยงบนฝาสูบ เกิดจากทางเดินน้ํามันเครื่องที่ขึ้นไปบนฝาสูบอุดตัน และปมน้ํามันเครื่องสึกหรอ จึงทําใหสรางแรงดันน้ํามันเครื่องต่ํา กวาปกติ ในกรณีที่เปนเครื่องยนตเพลาลูกเบี้ยวคูบนฝาสูบ ถาน้ํามันเครื่องไมขึ้นไปหลอเลี้ยงฝาสูบ จะสงผลใหเกิดความรอน บริเวณผิวรองรับเพลาลูกเบี้ยว และอาจทําใหชิ้นสวนบริเวณนั้นถูกหลอมละลาย หรือเสียหายได 1.3 เกิดตะกรันในน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต ทําใหน้ํามันไปหลอเลี้ยงไมเพียงพอ ตะกรั นในน้ํ ามั นเครื่ อง เกิ ดจากการไม เปลี่ ยนถ ายน้ํ ามั นเครื่ องตามเวลาที่ กํ าหนด ซึ่ งตะกรั นจะทํ าให ทางเดิ น น้ํามันเครื่องอุดตัน และน้ํามันเครื่องไหลไปหลอลื่นชิ้นสวนตาง ๆ ไดไมสะดวก 1.4 ใชน้ํามันหลอลื่นผิดเกรด ในกรณีที่เปนเครื่องยนตใหม ซึ่งชองวางระหวางชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ไดมีระยะหางนอย การใชน้ํามันเครื่องที่มีคา ความหนื ด สู งเกิ นไป อาจทํ าให ช้ิ นส วนเสี ยดสี กั นจนไดรั บความเสี ยหาย เนื่ องจากการไหลของน้ํ ามั นจะไม ครอบคลุ ม เครื่องยนตทุกชิ้นสวน ในทางกลับกัน หากเปนเครื่องยนตเกา ชองวางระหวางชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ไดจะมีระยะหางมาก การใช น้ํามันเครื่องที่มีคาความหนืดต่ําเกินไป น้ํามันเครื่องจะไมสามารถรักษาสภาพหนาสัมผัสของชิ้นสวนเครื่องยนตไดดี 1.5 น้ํามันหลอลื่นไมเพียงพอ หรือไมมีน้ํามันหลอลื่นในระบบเครื่องยนต ทําใหชิ้นสวนภายในของเครื่องยนตเสียดสีกัน ซึ่งสงผลใหเกิดปญหาตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1) เมื่อติดเครื่องยนตน้ํามันหลอลื่นจะยังไมถูกสงไปหลอลื่นครอบคลุมทุกชิ้นสวนโลหะภายในเครื่องยนต ทําใหมีความฝด และแรงเสียดทานมาก จึงเปนสาเหตุหลักของความเสื่อมที่จะเกิดกับลูกสูบ และเสื้อสูบ
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ภาพที่ 2.1 ลูกสูบสึกหรอ 2) คาความหนืดของน้ํามันเครื่องหลอลื่นที่ไมคงที่ และการไหลตัวของน้ํามันหลอลื่นไมสม่ําเสมอ เมื่อมี การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ 3) รถยนตที่ถูกจอดทิ้งไวนาน กระบอกลูกสูบอาจเกิดสนิมได เพราะไมมีน้ํามันไปหลอลื่นตามสวนตาง ๆ เปนเวลานาน เมื่อนํามาใชงานจะสตารทเครื่องยนตติดยาก หรือสตารทไมติด 4) ไมตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต ปลอยใหน้ํามันหลอลื่นอยูในระดับต่ํากวามาตรฐาน และไมเพียงพอ 5) การใชเครื่องยนตระยะทางไกล จะทําใหเครื่องยนตมีความรอนสะสมสูง 6) ระบบระบายความรอนไมมีประสิทธิภาพ หากหมอน้ํารั่ว มีฝุน สกปรก จะทําใหถายเทความรอนไดไมเต็มที่ พัดลมไมทํางาน สายยางรั่ว หรือแตก และปมน้ําไมทํางาน 7) เครื่องยนตหยุดการทํางาน เนื่องจากมีความรอนสูงมาก (over heat) อาจสงผลใหฝาสูบราว หรือแตกได 8) เครื่องยนตติดยากในชวงที่อากาศเย็น เนื่องจากเครื่องยนตตองการอุณหภูมิที่เหมาะสมตอการจุดระเบิด ภายในหองเผาไหม 9) ใชส ารเพิ่ม ประสิท ธิภ าพเครื่อ งยนต การใชส ารบางชนิด เปน เวลานาน อาจสง ผลใหน้ํา มัน หลอลื่น เสื่อมประสิทธิภาพลง
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. สาเหตุหลักของความเสียหายที่จะเกิดกับลูกสูบและเสื้อสูบ คือมีน้ํามันหลอลื่น ไมเพียงพอ หรือไมมีน้ํามันหลอลื่นในระบบเครื่องยนต 2. เครื่องยนตทํางานอยูจอดรถยนตทิ้งไวเปนระยะเวลานาน จะทําใหเครื่องยนตมี ความรอนสะสมสูง 3. การไม มี น้ํ า มั น ไปหล อ ลื่ น ส ว นต า ง ๆ ของเครื่ อ งยนต จะทํ า ให เ กิ ด สนิ ม ที่ กระบอกสูบได 4.การใช น้ํ ามั นหล อลื่ นผิ ดเกรด อาจทํ า ให น้ํ า มั น เสื่ อ มคุ ณ ภาพ แต ไ ม มี ผ ลกั บ เครื่องยนต 5. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ จะทําใหคาความหนืดของน้ํามันเครื่องหลอลื่น ไมคงที่ 6.ในกรณีที่เปนเครื่องยนตใหม การใชน้ํามันเครื่องที่มีคาความหนืดต่ําเกินไป อาจ ทําใหชิ้นสวนเสียดสีกันจนไดรับความเสียหาย 7.ถาน้ํามันเครื่องไมขึ้นไปหลอเลี้ยงฝาสูบ จะสงผลใหเกิดความรอนบริเวณผิวรองรับ เพลาลูกเบี้ยว และอาจทําใหชิ้นสวนบริเวณนั้นถูกหลอมละลาย หรือเสียหายได 8. การไมเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องตามเวลาที่กําหนด ทําใหเกิดตะกรันในน้ํามันเครื่อง 9. การใชส ารเพิ ่ม ประสิท ธิภ าพเครื ่อ งยนตเ ปน เวลานาน อาจสง ผลให น้ํามันหลอลื่นเสื่อมประสิทธิภาพลง 10. หากชองวางระหวางชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ไดจะมีระยะหางนอย การใชน้ํามันเครื่องที่ มีคาความหนืดต่ําเกินไป น้ํามันเครื่องจะไมสามารถรักษาสภาพหนาสัมผัสของชิ้นสวน เครื่องยนตไดดี
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของความเสียหายของสวนตาง ๆ ของรถยนต กรณีใชสารหลอลื่นผิดมาตรฐานที่กําหนดได 2. ปฏิบัติงานถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
2. เครื่องยนตตั้งแทน
จํานวน 1 เครื่อง
3. โตะปฏิบัติการ
จํานวน 1 ตัว
4. ประแจวัดแรงบิด
จํานวน 1 อัน
5. ประแจกระบอก
จํานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ปะเก็นทอรวมไอเสีย
จํานวน 1 แผน
2. ปะเก็นฝาสูบ
จํานวน 1 แผน
3. ฝาสูบใหม (ตรงกับเครื่องที่ใช)
จํานวน 1 ตัว
4. เพลาราวลิ้น
จํานวน 2 ตัว
5. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การถอดและเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวและฝาสูบ (กรณีที่เพลาลูกเบี้ยว ประกับแบริ่ง และผิวหนารองรับเพลาลูกเบี้ยว ไอดีและไอเสียชํารุด) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ
เตรียมเครื่องยนตตั้ งแทน และอุป กรณ
2. ถอดทอรวมไอเสีย
ตาง ๆ บนโตะปฏิบัติการ ถอดทอรวมไอเสียออก โดยคลายนอตยึด ออกดวยประแจกระบอก
3. นําปะเก็นทอไอเสียออก
นําปะเก็นทอไปเสียออก
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ถอดทอรวมไอดี
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใชประแจปากตายคลายนอตยึดทอรวม ระวังทอรวมไอดีหลน ไอดี ด า นบนออก จากนั้ น ใช ป ระแจ ทับรางกาย กระบอกคลายนอตยึ ด ท อ ไอดี ที่ อ ยู ดานลางออก แลวจึงยกทอรวมไอดีออก
5. ถอดฝาครอบวาลว
ใช ป ระแจกระบอกคลายโบลต ยึ ด ฝา การคลายโบลตยึดฝา ครอบวาล อ อก และยกฝาครอบวาล ว ครอบวาลวตองคลาย ออก
6. ถอดพูลเลย
ครอบประแจกระบอกที่ หั ว นอตของ พูลเลย จากนั้นใชคอนเคาะที่ดามประแจ 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
จากนอกเขาใน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย และใชประแจคลายนอตยึดออก แลวจึง ยกพูลเลยออก
7. ถอดฝาครอบสายพานราวลิ้น
ใชประแจกระบอกคลายนอตยึดฝาครอบ สายพานราวลิ้ น ออกออก และยกฝา ครอบสายพานราวลิ้นออก
8. ถอดสายพาน
ใ ช ป ร ะ แ จ ก ร ะ บ อ ก ค ล า ย น อ ต ยึ ด สายพานใหหลวม เพื่อใหสายพานหยอน และปลดสายพานออก
9. ถอดเพลาราวลิ้น
ใช ป ระแจกระบอกคลายโบลต ยึ ด ฝา ครอบเพลาราวลิ้นและเพลาราวลิ้นออก จากนั้ น ยกฝาครอบเพลาราวลิ้ น และ เพลาราวลิ้นออก
63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. ถอดฝาสูบ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใชประแจกระบอกคลายโบลตยึดฝาสูบ การคลายโบลต ยึ ด ออก แลวจึงยกฝาสูบออก
ฝาสูบตองคลายจาก นอกเขาใน
11. เปลี่ยนปะเก็นฝาสูบ
นํ า ปะเก็ น ฝาสู บ เก า ออก จากนั้ น ใช
12. ใสปะเก็นใหม
ประแจกระบอกหมุนลูกสูบที่ 1 และ 4 เพื่ อ ดั น ลู ก สู บ ขึ้ น มา แล ว จึ ง นํ า ปะเก็ น ใหมมาวางลงในตําแหนงเดิม
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 13. ประกอบฝาสูบใหม
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
นํ า ฝาสู บ ใหม ที่ ป ระกอบวาล ว ไอดี และ ก า ร ขั น โ บ ล ต ยึ ด วาล ว ไอเสี ย เรี ย บร อ ยแล ว วางลงที่ ฝาสูบตองขั นจากใน ตําแหนงเดิม จากนั้นขันโบลตยึดฝาสูบ ออกนอก ดวยประแจกระบอก และใชประแจวั ด แรงบิ ด ขั น ซ้ํ า อี ก ครั้ ง ตามค า แรงขั น ที่ กําหนดไวในคูมือซอมประจํารถยนต
14. ประกอบเพลาราวลิ้น
วางเพลาราวลิ้ น ใหม ล งที่ ตํ า แหน ง เดิ ม จากนั้ น ปรั บ หมุ น เพลาราวลิ้ น เพื่ อ ให เพลาอยูในจังหวะการทํางานของลูกสูบ และวาลวที่ถูกตอง
15. ประกอบใสฝาครอบเพลาราวลิ้น
นํ า ฝาครอบเพลาราวลิ้ น มาวางลงใน ห า มหมุ น เพล าข อ ตําแหนงเดิม ขันนอตยึดฝาครอบเพลา เหวี่ย งและเพลาราว ราวลิ้น ดว ยประแจวัดแรงบิดใหได ตาม ลิ้ น เพราะจะทํ า ให คาแรงขันที่กําหนดไวในคูมือซอมประจํา ตํ า แหน ง ที่ ป รั บ ไว รถยนต
เคลื่อน ก า ร ขั น โ บ ล ต ยึ ด ฝาครอบเพลาราวลิ้น ต อ งขั น จากในออก นอก
16. ใสสายพานไทมมิ่ง
ใสสายพานไทมมิ่งเขาไปในตําแหนงเดิม จากนั้นปรับตั้งสายพานใหตึงตามระยะ อางอิงที่คูมือกําหนด 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
17. ประกอบฝาครอบสายพานไทมมิ่ง
คําอธิบาย
นํ า ฝาครอบสายพานไทม มิ่ ง มาวางที่ ตําแหนงเดิม จากนั้นใชประแจกระบอก ขันนอตใหแนน
18. ประกอบพูลเลย
นํ า พู ล เล ย ม าวางที่ ตํ า แหน ง เดิ ม ใช ประแจกระบอกขันนอตยึดพูลเลย
19. ประกอบฝาครอบวาลว
นําฝาครอบวาลว มาวางที่ตําแหนงเดิ ม ใชป ระแจกระบอกขัน นอตยึดฝาครอบ วาลว
20. ประกอบทอรวมไอดี
นําทอรวมไอดีมาวางที่ตําแหนงเดิม ใช ประแจแหวนขั น นอตด า นบน และใช ประแจกระบอกขันนอตดานลาง 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
21 ประกอบทอรวมไอเสีย
นําปะเก็นใหมมาวางที่ตําแหนงเดิม และ
22. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
นํ า ท อ ร ว มไอเสี ย ใหม ม าประกบ ใช ประแจกระบอกขันนอตยึดทอไอเสีย ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็น
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
ถอดประกอบทอรวมไอดี
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ถอดประกอบสายพานไทมมิ่ง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
ถอดประกอบเพลาราวลิ้น
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
9
การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน
10
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครือ่ งมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถกู ตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด
3
ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็น
ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน
69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
ถอดประกอบทอรวมไอเสียและปะเก็นไมถูกตองตาม ขั้นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ถอดประกอบทอรวมไอดี
ถอดประกอบทอรวมไอดีถูกตองตาม ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ถอดประกอบทอรวมไอดีไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอดีไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบทอรวมไอดีไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบท อ ร ว มไอดี ไมถู ก ต อ งตามขั้ นตอนมากกว า 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ถอดประกอบสายพานไทมมิ่ง
ถอดประกอบสายพานไทมมิ่งถูกตองตามขั้นตอน
5
ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบสายพานไทม มิ่ ง ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน มากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแน 7
ถอดประกอบเพลาราวลิ้น
ถอดประกอบเพลาราวลิ้นถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไมถูกตองตามขั้นตอน 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดประกอบเพลาราวลิ้นไม ถูกต องตามขั้ นตอนมากกวา 3 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
ลําดับที่
8
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ป ฏิ บั ติ ง า นได อ ย า งสมบู ร ณ ภ า ยในเว ลาที่ กํ า หนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ป ฏิ บั ติ ง า น เ กิ น เ ว ล า ที่ กํ า ห น ด ไ ม เ กิ น 5 น า ที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
38
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 27 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2
โมดู ล การฝ ก ที่ 7
73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน