คู่มือครูฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 2 โมดูล 8

Page 1

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คูมือครูฝก 0920163100502 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 8 09210401 การทํารายงานและทําสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 โมดูล 8 การทํารายงานและทําสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตาม ลูกคาเบื้องตนฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถทํารายงานทางสถิติ และทําระบบติดตามลูกคา เบื้องตนได ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐาน ที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 8 09210401 การทํารายงานและทําสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน หัวขอวิชาที่ 1 0921040101 การทํารายงานและทําสถิติ

14

หัวขอวิชาที่ 2 0921040102 การทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน

47

คณะผูจัดทําโครงการ

72

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ครูฝกใหใบงานแกผูรับการฝก อธิบายขั้นตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อถึงวันฝกภาคปฏิบัติ ครูฝกใหใบงานแกผูรับการฝก อธิบายขั้นตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฏี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100502

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝ กใน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 1.2 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรชางยนต 1.3 มีความรูเกี่ยวกับวิทยาศาสตรประยุกต 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุ และสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการวิเคราะหและแกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตน 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการหลอลื่นและการเลือกใชสารหลอลื่น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการทํารายงานสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 113 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกิ นระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 8 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920163100502 2. ชื่อโมดูลการฝก การทํารายงานและทําสถิติ รวมถึงการทําระบบติดตามลูกคา รหัสโมดูลการฝก เบื้องตน 09210401 3. ระยะเวลาการฝก รวม 6 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 5 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการทํารายงานและการทําสถิติได 2. ทํารายงานและทําสถิติได 3. อธิบายการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตนได 4. ทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตนได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูเรื่องคณิตศาสตรพื้นฐาน ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 7 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายการทํารายงาน การทํา หัวขอที่ 1 : การทํารายงานและทําสถิติ 1:00 3:00 4:00 สถิติได 2. ทํารายงานและทําสถิติได 3. อธิบายการทําระบบติดตาม หัวขอที่ 2 : การทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 0:30 2:00 2:30 ลูกคาเบื้องตนได 4. ทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน ได รวมทั้งสิ้น 1:30 5:00 6:30 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 2

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921040101 การทํารายงานและทําสถิติ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการทํารายงาน การทําสถิติได 2. ทํารายงานและทําสถิติได

2. หัวขอสําคัญ 1. มาตรฐานการจัดทํารายงานสถิติ 2. องคประกอบรายงานสถิติ 3. การทํารายงานและทําสถิติ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) กระดาษ A4 จํานวน 1 ชุด 2) ดินสอ จํานวน 1 แทง 3) ปากกา จํานวน 1 ดาม 2.2 เครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน -

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

7. บรรณานุกรม สํานักงานสถิติแหงชาติ มาตรฐานการจัดทํารายงานสถิติ [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://service.nso.go.th/ statstd/report.html

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การทํารายงานและทําสถิติ 1. มาตรฐานการจัดทํารายงานสถิติ มาตรฐานการจัดทํารายงานสถิติ คือ แนวทางในการกําหนดองคประกอบ และรายละเอียดของเอกสารรายงานผลการ สํามะโน รายงานเชิ ง วิ เ คราะห และรายงานอื่ น ๆ ที่ จั ด ขึ้น โดยสํา นัก งานสถิติแ ห ง ชาติ เพื่อ ใหส ามารถนํา ไปประยุ ก ตใ ช ไ ด ตามความเหมาะสม และมีรูปแบบกับวิธีการนําเสนอที่เปนมาตรฐานเดียวกัน 2. องคประกอบรายงานสถิติ องคประกอบของรายงานสถิติ คือ สวนที่แสดงโครงสราง ลําดับ และองคประกอบของรายงานสถิติ โดยองคประกอบของ รายงานสถิติ สามารถแบงได 3 สวนหลัก ไดแก สวนหนา (Front Matter) สวนเนื้อหา (Text Matter) และสวนหลัง (Back Matter) ซึ่งแตละสวนมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1 สวนหนา (Front Matter) สวนหนาของรายงานทั่วไป จะประกอบดวยเนื้อหาที่เป นขอความ แสดงใหทราบถึงแนวคิดของวัตถุประสงค ขอบเขตของรายงาน ขอมูลพื้นฐานของเนื้อหารายงาน และรายละเอียดของรายงาน เพื่อใหผูอานสามารถคนหาหัวขอตาง ๆ ไดอยางถูกตอง 1) ปกนอก (Cover) คือ สวนที่ใชหอหุมเลมรายงาน จะประกอบดวย - ชื่อ รายงาน การตั้ง ชื่อ รายงานควรสื่อ ความหมายใหผูอา นเขา ใจถึง สิ่ง ที่ตอ งการนํา เสนอ โดยใชคําสั้นหรือประโยค และมีความหมายชัดเจน ซึ่งชื่อรายงานจะประกอบดวย ชื่อเรื่อง เวลา พื้นที่ภูมิศาสตรที่นําเสนอขอมูล ตารางที่ 1.1 แสดงขอมูลประกอบการตั้งชื่อรายงาน ประเภท รายงาน สํามะโน

ชื่อเรื่อง สํามะโน + (ชื่อเรื่อง)

เวลา

พื้นที่ภูมิศาสตร

ปที่เก็บขอมูล

พื้นที่นําเสนอขอมูล

ตัวอยาง - สํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553 ทั่วราชอาณาจักร

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ประเภท

ชื่อเรื่อง

รายงาน สํารวจ

เวลา

พื้นที่ภูมิศาสตร

การสํารวจ + (ชื่อเรื่อง) ปที่เก็บขอมูล

พื้นที่นําเสนอขอมูล

ตัวอยาง - การสํารวจความพึงพอใจของ ผูใชบริการประกันสังคม พ.ศ. 2545 ปริมณฑล

รายงานเชิง

(ชื่อเรื่อง)

วิเคราะห

ปที่เก็บขอมูล

- สถานภาพของผูใชแรงงานไทย

(จะมีหรือไมมี ก็ไดขึ้นอยูกับ ดุลยพินิจของ ผูจัดทํา)

เครื่องชี้วัด

(ชื่อเรื่อง)

ปที่จัดทํา

พื้นที่นําเสนอขอมูล - เครื่องชี้วัดภาวะเศรษฐกิจไทย พ.ศ.2546

เอกสารรายงาน (ชื่อเรื่อง)

ปที่จัดทํา

พื้นที่นําเสนอขอมูล - สมุดสถิติรายปประเทศไทย

อื่น ๆ ที่มีรอบ

พ.ศ.2552

การจัดทําที่ แนนอน - ชื่อหนวยงานที่จัดทํา แสดงชื่อหนวยงานพรอมกระทรวงที่สังกัด และใชชื่อหนวยงานที่รวมจัดทํา กรณีที่ทํารวมกับหนวยงานอื่น - ตราสัญลักษณของหนวยงานที่จัดทํา และตราสัญลักษณของหนวยงานที่รวมจัดทํา (ถามี) - หมายเลขมาตรฐานสากลประจําวารสาร (ISSN) (ถามี) โดยแสดงไวที่มุมบนดานขวามือของปกนอก ดานหนา - การจัดทํารายงานควรพิมพชื่อรายงานไวที่สันปก 2) ปกใน (Title Page) คื อ ส ว นที่แสดงรายละเอีย ดของขอมูล ที่ตองใชเขีย นในการเขีย นบรรณานุกรม ประกอบดวย - ปกในดานหนา (Front Title Page) ประกอบดวย ชื่อรายงาน ชื่อหนวยงานเจาของเรื่อง พรอม ทั้งรายละเอียด เชน หมายเลขโทรศัพท ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส และตราสัญลักษณ

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- ปกในด า นหลั ง (Back Title Page) จะประกอบด ว ย ชื่ อ หน ว ยงานที่ เ ผยแพร แ ละจํ า หน าย รายงาน หนวยงานที่สังกัด พรอมสถานที่ติดตอ หมายเลขโทรศัพท ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ปที่จัดพิมพ รายละเอียดเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ หมายเลขมาตรฐานสากลประจําหนังสือ และสถานที่ จัดพิมพ การจัดทําปกในดานหลังของรายงาน 2 ภาษา ใหแสดงภาษาไทยกอนทุกครั้ง 3) หนาลิขสิทธิ์ (Copyright Page) คือ สวนที่บอกรายละเอีย ดเกี่ยวกับเรื่ องลิ ขสิ ทธิ์ โดยจะตองมี คํา ว า “สงวนลิขสิทธิ์” หรือสัญลักษณ “©” และตามดวยปที่จดลิขสิทธิ์ ผูเปนเจาของลิขสิทธิ์ 4) คําปรารภ/ คํานิย ม (Foreword) คือ คําอธิบ ายเบื้องหลัง หรือเนื้อหารายงาน ที่เขีย นโดยบุคคลที่มี ความนาเชื่อถือ ไมใชผูจัดทําเปนผูเขียนเอง 5) คํานํา (Preface) คือ สิ่งที่บ อกความเปน มา วัต ถุป ระสงค ขอบเขตของรายงาน และคําขอบคุณแก ผูใหความชวยเหลือ สนับสนุน 6) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ คํากลาวขอบคุณผูใหความชวยเหลือ และสนับสนุน ที่มี ความยาวเกินกวาจะเขียนไวในคํานํา โดยอยูหนาถัดจากคํานํา 7) บทสรุ ป สํ า คั ญ ของผู บ ริ ห าร (Executive Summary) คื อ ส ว นที่ ส รุ ป เนื้ อ หาของรายงานทั้ ง เล ม ประกอบดวย สวนบทนํา ระยะเวลา พื้นที่ที่นําเสนอขอมูล สวนคําอธิบาย ผลการดําเนินงาน สรุปผล และขอเสนอแนะ 8) สารบัญ (Table of Contents) คือ สวนแสดงโครงสราง และขอบเขตรายงาน โดยจะระบุหัวขอ และ หมายเลขหนาเริ่มตนของแตละหัวขอภายในเลมรายงาน ซึ่งโครงสรางของหัวขอที่แสดงในสารบัญจะ เหมือนกับโครงสรางรายงาน คือมี 3 สวนประกอบ ดังนี้ - สวนหนา หั ว ข อที่ จ ะนํ า เสนอในสว นนี้จ ะเริ่ มจาก คําปรารภ จากนั้น เรีย งไปตามลํ าดั บ ของหัว ข อ ใน รายงาน ซึ่งในสวนหนาของรายงานฉบับภาษาไทย จะใชตัวพยัญชนะไทยแทนเลขหนา ยกเวน ฃ และ ฅ สวนรายงานภาษาอังกฤษ หรือรายงาน 2 ภาษา จะใชเลขโรมันแทน เชน i, ii, iii เปนตน - สวนเนื้อหา หัวขอที่จะนําเสนอในสวนนี้ จะเรียงลําดับตามเนื้อหาที่แสดงในเลมรายงาน - สวนหลัง หัวขอที่จะนําเสนอในสวนนี้ จะเรียงตามลําดับที่อยูในสวนหลังของเลมรายงาน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

9) สารบัญแผนภูมิ/ สารบัญตาราง (List(s) of Figures and Table) คือ สวนแสดงรายการที่เปนแผนภูมิ และตารางในเนื้อหาของรายงาน ซึ่งจะทําขึน้ ตอเมื่อมีแผนภูมิมากกวา 5 แผนภูมิ หรือตารางมากกวา 5 ตาราง หากมีนอยกวาให 5 ใหรวมสารบัญแผนภูมิ และตารางเขาไวดวยกัน หรือขึ้นอยูกับความเหมาะสม ทั้งนี้ หมายเลขที่เขียนอางอิงในสารบัญแผนภูมิ หรือตาราง ตองสอดคลองกับหมายเลขหนาในเนื้อหา - สารบั ญ แผนภู มิ หรื อสารบัญ ตารางที่แสดงในสว นเนื้อหา (List(s) of Figures and Table) สารบัญนี้จะแสดงไวในสวนหนาของรายงาน ตอจากหนาสารบัญปกติ หากในสารบัญมีขอมูล นอยกวาครึ่งหนา สามารถนําสารบัญแผนภูมิ หรือตารางมาใสตอในหนาเดียวกันได กรณีที่ รายงานมีหลายบท และมีแผนภูมิ หรือตารางจํานวนมาก อาจใชวิธีแสดงหัวขอของบทที่มี การนําเสนอแผนภูมิ หรือตารางกอน แลวจึงแสดงรายการแผนภูมิ และตารางที่มีอยู ในบท ดังกลาว เพื่อใหสารบัญแผนภูมิ หรือสารบัญตารางดังกลาวมีโครงสรางที่ชัดเจน สะดวกตอการคนหา 10) รายการสัญลักษณ ตัวยอ และชื่อยอ (List(s) of Symbols, Abbreviations and Acronyms) คือ สวนอธิบาย ความหมายของสัญลักษณ ตัวยอ และชื่อยอตาง ๆ ที่ใชในรายงานที่มีมากกวา 5 ตัว ขึ้น ไป และทั่ว ไป ไมคอยใช หรือรูจัก ซึ่งการเขียนรายการสัญลักษณ ตัวยอ และชื่อยอ ควรเรียงลําดับการเขียน ดังนี้ - อักษรภาษาไทย - อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญ - อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพเล็ก - อักษรกรีกตัวพิมพใหญ - อักษรกรีกตัวพิมพเล็ก - ตัวหอย - ตัวยก - บันทึกพิเศษ (Special Notes) การเขียน สัญลักษณ ตัวยอ และชื่อยอ ใหแบงออกเปน 2 สดมภ คือ สดมภซายมือแสดงสัญลักษณ ตัวยอ และชื ่อ ยอ สว นสดมภฝ ง ขวามือ แสดงความหมาย หากมีม ากกวา 1 ความหมาย ใหแ บง คํ า อธิบ าย ความหมายโดยใชเครื่องหมาย “,” ดังตัวอยางตอไปนี้ D

ตัวเลขไมพึงเปดเผย Disclosure prohibited

e

ตัวเลขประมาณ Estimated 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

p

ตัวเลขเบื้องตน Preliminary

-

ไมมีขอมูลหรือขอมูลเปน 0 หรือ มีคาขอมูลจํานวนเล็กนอย Nil or zero negligible amount

ยังไมมีขอมูล Data not available

ม2

ตารางเมตร

m2

Square meter

สสช.

สํานักงานสถิติแหงชาติ

NSO

National Statistical Office

2.2 สวนเนื้อหา (Text Matter) คือ สวนที่อธิบายระเบียบวิธี สมมติฐาน และขั้นตอนการดําเนินงาน ผลการดําเนินงาน สรุปผล และขอเสนอแนะ ซึ่งองคประกอบในสวนของเนื้อหารายงาน จะแบงออกเปนบท ๆ ดังนี้ 1) บทที่ 1 บทนํ า (Chapter 1 Introduction) คือ รายละเอียดตาง ๆ ที่ผูจัดทําตองการใหผู อานทราบเป น รายละเอียดที่นอกเหนือจากขอมูลในรายงาน เชน แจงใหทราบถึงหัวขอ วัตถุประสงค ขอบเขต และ แนวทางในการดําเนินงาน เปนตน - ความเปนมา และวัตถุประสงค (Background and Objective) คือ สวนที่อธิบาย ที่มา สาเหตุ และความจําเปนของการจัดทํารายงาน ขอมูลสําคัญที่ทําการรวบรวมไว เปนตน - ขอบขาย และคุมรวม (Scope and Coverage) คือ สวนแสดงขนาด ขอบเขต และขอจํากัด ของการทําสํามะโนหรือสํารวจวา ครอบคลุมหนวยใหขอมูลอะไร และครอบคลุมพื้นที่ใดบาง หรือบอกแหลงที่มาของขอมูล สําหรับรายงานเชิงวิเคราะห - เวลาอางอิง (Time Reference) คือ สวนที่อธิบายระยะเวลาที่ใชในการอางอิงการเก็บขอมูลจากหนวย สถิติกําหนดใหคุมรวม เชน วันสํามะโน ในระหวาง 10 วัน กอนวันสัมภาษณ ในรอบปนี้ เปนตน - รายการขอมูลที่เก็บรวบรวม (The Item of Data) คือ สวนที่แสดงรายการขอมูลสําคัญ ที่ได จากการทําสํามะโน/ สํารวจ 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- คําอธิบายศัพท/ แนวคิด/ คําจํากัดความ (Glossary/ Concept/ Definition) คือ สวนที่แสดง ความหมาย และแนวคิดของคําศัพทที่ใชในรายงาน เพื่อความเขาใจที่ตรงกันระหวางผูจัดทํา และผูอาน 2) บทที่ 2 ระเบียบวิธี (Chapter 2 Methodology) คือ การอธิบายขั้นตอน และวิธีการทําสํามะโน สํารวจ หรือวิเคราะห ซึ่งควรอธิบายอยางกระชับ เขาใจงาย โดยมีเนื้อหาประกอบดวย - แผนการเลือกตัวอยาง หรือแผนการสุมตัวอยาง (Sample Design) อธิบายถึงกลุมบุคคลที่ จ ะ ทํา การสํา รวจ วิธีก ารเลือ กตัว อยา งในแตล ะขั้น ตอน จํา นวนหนว ยตัว อยา งที่ไ ดในแตละ ขั้นตอน - วิธีการประมาณผล (Method of Estimation) อธิบายวิธีการและสูตรที่ใชในการประมาณผล การสํามะโน สํารวจ หรือวิเคราะห - วิ ธี การเก็ บ รวบรวมข อมูล (Data Collection) ประกอบดว ย วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลจาก แหลงขอมูลเบื้องตน คาบเวลาการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูลหรืองานสนาม และอัตรากําลัง ที่ใชในการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล - การประมวลผลขอมูล (Data Processing) อธิบายลําดับขั้นตอนการประมวลผล ตั้งแตขั้นตอน การจัดเตรียมขอมูล จนกระทั่งไดผลของขอมูลที่สมบูรณถูกตองครบถวน - การปดตัวเลข (In Round Figures) อธิบายวิธีการและผลกระทบที่เกิดจากการปดเศษ - ขอ จํา กัด ของข อ มู ล (Limitations of the data) อธิบ ายถึง ปญ หาและขอ จํา กัด ในการ ดําเนินงาน 3) บทที่ 3 ผลสํามะโนสํารวจ/ สํารวจ/ วิเคราะหที่สําคัญ (Chapter 3 Major Findings) คือ การนําเสนอผล ที่ไดจากการทําสํามะโน สํารวจ หรือวิเคราะห สามารถแสดงไดทั้งรูปแบบตาราง แผนภูมิ และอภิปรายผล

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ตารางที่ 1.2 ตัวอยางขอมูลการบํารุงรักษารถยนต ของ นาย ก

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

4) บทที่ 4 สรุปผล และขอเสนอแนะ (Chapter 4 Conclusions and Recommendations) คือ การสรุปผล ที่เปนสาระสําคัญที่ไดจากการทําสํามะโน สํารวจ หรือวิเคราะห 5) ตารางสถิติ (Statistical Tables) คือ การนําเสนอตารางสถิติที่ไดจากการทําสํามะโน สํารวจ หรือ วิเคราะห ตารางที่ 1.3 ตัวอยางสถิติการบํารุงรักษารถยนต ของ นาย ก ตั้งแตเดือนมิถุนายน ป 2008 ถึงเดือนมกราคม ป 2010 คาบํารุงรักษา

คาน้ํามัน

ปริมาณน้ํามัน

อัตรากินน้ํามัน

(บาท)

(บาท)

(ลิตร)

เฉลี่ย (กม./ลิตร)

2008

16,993.14

93,640

3,142.68

12.506

2009

18,963.51

85,855

3,388.14

11.9175

2010

3,556.40

24,910

785.92

11.78

รวม

39,513.05

204,405

7,316.74

12.068

ป

6) เอกสารอางอิง (References) หรือแหลงที่มา หมายถึง เอกสารทุกประเภทที่นํามาเขียนอางอิงแทรกไว ในเนื้อหาของรายงาน การเขียนอางอิงสามารถเขียนได 3 วิธี ดังนี้ - การเขียนอางอิงแบบแนบตัวเลข (Number Identification) ใสตัวเลขกํากับไวทายขอความ หรือชื่อบุคคลที่อางอิง โดยเรียงลําดับตัวเลขตั้งแตเลข 1 เปนตนไปจนจบบทหรือเลมรายงาน และในกรณีที่มีการอางอิงซ้ําใหใชตัวเลขที่เคยใชอางอิงมาแลว - การอางอิงแบบนาม – ป (Authors’ Name and Dates) ใสชื่อผูแตงและปที่พิมพไวภายใน วงเล็ บ โดยแสดงต อท า ยขอความที่อางอิง หากอางอิงเนื้อหาโดยตรง หรือคัดลอกขอความ บางสวนมา ควรระบุเลขหนาดวย - การอางอิงแบบเชิงอรรถ (Citation Footnote) การระบุเอกสาร และแหลงที่มาไวตอนทาย ของแตละหนาของขอความที่อางอิง 2.3 สวนหลัง คือ สวนที่ชวยใหผูอานเขาใจเนื้อหารายงานมากขึ้น เชน คําอธิบายศัพท แนวคิด คําจํากัดความ ภาคผนวก ดัชนี บรรณานุกรม เปนตน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

1) คํ า อธิ บ ายศั พ ท แนวคิ ด และคํ า จํ า กั ด ความ (Glossary/ Concept/ Definition) คื อ ส ว นที่ แ สดง ความหมายหรือแนวคิดของคําศัพท ซึ่งการเขียนควรเขียนเรียงตามลําดับตัวอักษร โดยเขียนคําศัพท 1 บรรทัด และคําอธิบายความหมายอีก 1บรรทัดถัดมา 2) ภาคผนวก คือ สวนของขอมูลและเนื้อหาที่ชวยใหเขาใจมากยิ่งขึ้น ตัวอยางของขอมูลในภาคผนวก - ตัวอยางแบบสอบถาม - การทําสํามะโนทดลอง หรือการทําสํารวจทดลอง - การทําสํารวจภายใน การแจงนับ - เนื้อหาขอมูลของเอกสารอื่น ๆ เชน กฎหมายตาง ๆ รายละเอียดมาตรฐานสถิติ เปนตน - สูตรที่ใชในการคํานวณหาคาตาง ๆ - ความคลาดเคลื่อนของขอมูล (Errors of the data) - Program Input และ Output จากคอมพิวเตอร - กรณีมีหลายภาคผนวก เมื่อเริ่มภาคผนวกใหม ใหขึ้นหนาใหม 3) บรรณานุกรม (Bibliography) คือ รายชื่อแหลงขอมูลของเอกสารทุกประเภท ที่ใชในการศึกษาคนควา จัดทํารายงาน ยกเวนแหลงขอมูลที่เขียนไวในเอกสารอางอิงแลว 4) ดัชนี (Index) ดัชนีเปนรายชื่อหัวขอที่สําคัญในรายงานเรียงตามลําดับตัวอักษร เปนสวนที่มีหรือไมมีก็ได ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูจัดทํา เนื่องจากสวนขององคประกอบของรายงานสถิติ จะมีหลายสวนประกอบทั้งสวนที่จําเปนตองมี และไมจําเปนตองมีใน รายงาน จึงแบงองคประกอบของรายงานออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) องคประกอบหลัก (Required Elements) คือ สวนที่จําเปนตองมีในรายงานสถิติ 2) องคประกอบรอง (Optional Elements) คือ สวนที่มีหรือไมมีก็ได ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูจัดทํารายงาน และความเหมาะสม ตารางที่ 1.4 องคประกอบของรายงานสถิติ สวนหลัก

องคประกอบหลัก

องคประกอบรอง

คําอธิบาย

(Major Section)

(Required Elements)

(Optional Element)

(Explanatory Comment)

สวนหนา

ปกนอก (Cover)

คือ สวนที่ใชหอหุมเลม

(Front Matter)

รายงาน

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สวนหลัก

องคประกอบหลัก

องคประกอบรอง

คําอธิบาย

(Major Section)

(Required Elements)

(Optional Element)

(Explanatory Comment)

ปกใน (Title Page)

คือ สวนที่แสดงรายละเอียด ของขอมูลที่ตองใชเขียนใน การเขียนบรรณานุกรม หนาลิขสิทธิ์

บอกรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง

(Copyright Page)

ลิขสิทธิ์

คําปรารภ/ คํานิยม

คําอธิบายเบื้องหลังหรือ

(Foreword)

เนื้อหารายงาน ที่เขียนโดย บุคคลที่มีความนาเชื่อถือ

คํานํา (Preface)

คือ สิ่งที่บอกความเปนมา วัตถุประสงค ขอบเขตของ รายงาน กิตติกรรมประกาศ

คือ คํากลาวขอบคุณผูใหการ

(Acknowledgements)

สนับสนุนที่มีความยาวเกินกวา จะเขียนไวในคํานํา

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

คือ การสรุปเนื้อหาของ

(Executive Summary)

รายงานทั้งเลม

สารบัญ

คือ สว นแสดงโครงสรางและ

(Table of Contents)

ขอบเขตรายงาน

สารบัญแผนภูมิ หรือ

คื อ ส ว นแสดงรายการที่ เ ป น

สารบัญตาราง

แผนภูมิและตาราง

(List(s) of Figures and Tables)

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สวนหลัก

องคประกอบหลัก

องคประกอบรอง

คําอธิบาย

(Major Section)

(Required Elements)

(Optional Element)

(Explanatory Comment)

รายการสัญลักษณ ตัวยอ

คื อ ส ว นอธิ บ ายความหมาย

และชื่อยอ

ของสั ญ ลั ก ษณ ตั ว ย อ และ

(List(s) of Symbols,

ชื่อยอตาง ๆ ที่ใชในรายงาน

Abbreviations and Acronyms) สวนเนื้อหา

บทที่ 1 บทนํา

คือ สวนที่กลาวถึงหัวเรื่อง

(Text Matter)

(Introduction)

ตาง ๆ เชน - ความเปนมาและวัตถุประสงค - ขอบขายและคุมรวม - เวลาอางอิง - รายการขอมูลที่เก็บรวบรวม เปนตน

บทที่ 2 ระเบียบวิธี

คือ สวนอธิบายระเบียบวิธีทาง

(Methodology)

สถิติ และวิธีการทํา สํามะโน สํารวจ หรือวิเคราะห

บทที่ 3 ผลสํามะโน/

คือ สวนแสดงผลการสํามะโน

สํารวจ/ วิเคราะห ที่สําคัญ

สํ ารวจ หรื อวิ เคราะห รวมถึ ง

(Major Findings)

การอภิปรายผล บทที่ 4 สรุปผลและ

การเสนอผลการสํ า มะโน

ขอเสนอแนะ

สํารวจ หรือวิเคราะห เฉพาะ

(Conclusions and

สวนที่สําคัญ และขอเสนอแนะ

Recommendations)

ของผูจัดทํา

ตารางสถิติ (Statistical

คือ การนําเสนอตารางสถิติที่

Tables) (เฉพาะรายงาน

ไดจากการสํามะโน สํารวจ

สํามะโน/ สํารวจ) 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

สวนหลัก

องคประกอบหลัก

องคประกอบรอง

คําอธิบาย

(Major Section)

(Required Elements)

(Optional Element)

(Explanatory Comment) วิเคราะห ที่ตองการใหผูอาน ทราบ

เอกสารอางอิง

รายชื่อแหลงขอมูลของเอกสาร

(References)

ทุกประเภท ที่นํามาใชเขียน อางอิงแทรกไวในเนื้อหา รายงาน

สวนหลัง

คําอธิบายศัพท (Glossary)

คื อ ส ว นที่ แ สดงความหมาย

(Back Matter)

แนวคิด (Concept)

หรื อ แนวคิ ด ของคํ า ศั พ ท ที่

คําจํากัดความ (Definition)

ตองการอธิบาย ภาคผนวก (Appendixes)

คือ สวนที่ชวยใหเขาใจเนื้ อหา รายงานมากขึ้ น แต ไม ได เ ป น สวนสําคัญของเนื้อหา เชน - ตัวอยางแบบสอบถาม - การทําสํามะโนทดลองหรื อ การทําสํารวจทดลอง - รายชื่อตารางเพิ่มเติม - ความคลาดเคลื่อนของขอมูล เปนตน

บรรณานุกรม

คื อ ส ว นที่ แ สดงรายชื่ อ ของ

(Bibliography)

แหล ง ข อ มู ล ที่ ศึ ก ษาค น คว า ข อ มู ล เพื่ อ นํ า มาใช ใ นการ จัดทํารายงาน

ดัชนี (Index)

คื อ ส ว นแสดงรายชื่ อ หั ว ข อ สําคัญตามตัวอักษร

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. การทํารายงานและทําสถิติ 2.1 การทํารายงาน การทํารายงานโดยทั่วไป ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ 1) ปกนอก 2) ปกรอง (กระดาษเปลาสีขาว) 3) ปกใน (เหมือนปกนอกทุกประการแตใชกระดาษขาว) 4) คํานํา 5) สารบัญ 6) เนื้อหา 7) บรรณานุกรม หรือแหลงอางอิง 8) ภาคผนวก 9) ปกรองหลัง (กระดาษเปลาสีขาว) 10) ปกหลัง โดยภายในเลมรายงาน มีองคประกอบสวนหนา สวนเนื้อหา และสวนหลัง เหมือนกับองคประกอบของรายงานสถิติ 2.2 การทําสถิติ สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แสดงขอเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน สถิติที่แสดงปริมาณน้ําฝน สถิติอุบัติเหตุ สถิตินักเรียน สถิติคาใชจายในการบํารุงรักษารถยนต เปนตน สถิติ เปนศาสตรหรือหลักการและระเบียบวิธีทางสถิติที่วาดวย 1) การเก็บรวบรวมขอมูล 2) การนําเสนอขอมูล 3) การวิเคราะหขอมูล 4) การตีความหมายขอมูล 2.2.1 ลักษณะของขอมูลทางสถิติ ลักษณะของขอมูลแบงเปน 2 ลักษณะใหญ ๆ คือ 1) ขอมูลเชิงปริมาณ เปนขอมูลที่ใชแทนขนาดหรือปริมาณ ซึ่งสามารถแสดงออกมาเปนตัวเลขได เชน จํานวนนักเรียนระดับ ปวช.1 - ปวช. 3 มีจํานวน 950 คน คะแนนสูงสุดของการสอบวิชาสถิติ ของนักศึกษาระดับ ปวส. เปนตน 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2) ขอมูลเชิงคุณภาพ เปนขอมูลที่ไมสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขไดโดยตรง เชน เพศ สถานภาพ การสมรส วุฒิการศึกษา ความคิดเห็น เชน ชอบมากที่สุด ชอบปานกลาง ไมชอบ เปนตน 2.2.2 คําศัพทที่เกี่ยวของกับสถิติ 1) ประชากร (population) หมายถึง กลุมที่มีลักษณะที่เราสนใจ หรือกลุมที่เราตองการจะศึกษา หาขอมูลที่เกี่ยวของ เปรียบเหมือนเอกภพสัมพัทธในเรื่องเซต 2) กลุ ม ตั ว อย า ง (sample) หมายถึ ง ส ว นหนึ่ ง ของกลุ ม ประชากรที่ เ ราสนใจ ในกรณี ที่ ก ลุ ม ประชากรที่จะศึกษานั้นเปนกลุมขนาดใหญ เกินความสามารถหรือความจําเปนที่ตองการ หรือ เพื่อประหยัดในดานงบประมาณและเวลา สามารถศึกษาขอมูลเพียงบางสวนของกลุมประชากรได 3) คาพารามิเตอร หมายถึง คาตาง ๆ ที่คํานวณมาจากกลุมประชากร จะถือเปนคาคงตัว กลาวคือ คํานวณกี่ครั้งก็ไมเปลี่ยนแปลง 4) คาสถิต หมายถึง คาตาง ๆ ที่คํานวณมาจากกลุมตัวอยาง จะเปนคาที่เปลี่ยนแปลงไดตามกลุม ตัวอยางที่เลือกสุมมา จึงถือวาเปนคาตัวแปรสุม 5) ตัวแปรในทางสถิติ หมายถึง ลักษณะบางอยางที่เราสนใจ คาของตัวแปร อาจอยูในรูปขอความ หรือตัวเลขก็ได 6) คาที่เปนไปได หมายถึง คาของตัวแปรที่อาจจะเกิดขึ้นไดจริง 7) คาจากการสังเกต หมายถึง คาที่เก็บรวบรวมไดมาจริง ๆ 2.2.3 ประเภทของสถิติ นักคณิตศาสตรไดแบ งสถิติในฐานะที่ เปน ศาสตร ออกเปนสาขาใหญ ๆ 2 สาขาดวยกัน คือ สถิติเชิ ง พรรณนา (Descriptive Statistics) และการอนุมานเชิงสถิติ หรือ สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ซึ่ง แตละสาขามีรายละเอียด ดังนี้ 1) สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) หมายถึง การบรรยายลักษณะของขอมูล (Data) ที่ ผูวิจัยเก็บรวบรวมจากประชากรหรือกลุมตัวอยางที่สนใจ ซึ่งอาจจะแสดงในรูป คาเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม รอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน เปนตน 2) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) หมายถึง สถิติที่วาดวยการวิเคราะหขอมูลที่รวบรวม มาจากกลุมตัวอยาง เพื่ออธิบายสรุปลักษณะบางประการของประชากร โดยมีการนําทฤษฎี

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ความน า จะเป น มาประยุ ก ต ใ ช สถิ ติ ส าขานี้ ได แ ก การประมาณค า ทางสถิ ติ การทดสอบ สมมุติฐานทางสถิติ การวิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธ เปนตน 2.2.4 ขั้นตอนการจัดทําสถิติ ในการจัดทําสถิติเรามีขั้นตอนการปฏิบัติงานดังนี้ 1) เตรียมงานและวางแผน - กําหนดวัตถุประสงค หรือความตองการขอมูลสถิติใหชัดเจน - พิจารณางบประมาณและความสามารถที่มีอยู - กําหนดขอบเขตที่ตองการทําสถิติ - กําหนดแผนแบบการเลือกตัวอยาง พรอมทั้งวิธีประมาณผลใหถูกตองตามหลัก วิชาการทางสถิติ - สรางแบบสอบถามที่เขาใจงาย เหมาะสมกับผูตอบแบบสอบถาม และรัดกุม - จัดทําคูมือการปฏิบัติงานเก็บรวบรวมขอมูล และคูมือการเตรียมงานประมวลผล - กําหนดรูปแบบการเสนอผลงานทางสถิติ 2) เก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล มีหลายวิธี เชน วิธีสัมภาษณ วิธีสงแบบสอบถามไปใหผูตอบทาง ไปรษณี ย หรื อวิ ธี วั ด แบบปรนัย เชน ชั่ง ตวง วัด ปริมาณ เปน ต น จะใชวิธีใดต อ งคํานึงถึ ง ความเหมาะสม คาใชจาย และความถูกตองของขอมูล 3) ประมวลผลและวิเคราะหขอมูล - บรรณาธิการ คือ การนําแบบสอบถาม ซึ่งไดจากการเก็บรวบรวมขอมูล มาตรวจสอบ ความครบถวนและความถูกตอง - ลงรหัส คือ การแปลงขอความในแบบสอบถามใหเปนรหัส - บันทึกขอมูล คือ การนําขอมูลในรูปแบบสอบถามมาบันทึกลงในสื่อที่ใชประมวลผล ดวยระบบคอมพิวเตอร - วางระบบงานประมวลผลและเขียนผัง คือ การจัดระบบวิธีการนําขอมูล เขาไป ประมวลผลในเครื่องคอมพิวเตอร และเขียนคําสั่ง (โปรแกรม) ใหเครื่องคอมพิวเตอร คิดคํานวณ และพิมพออกมาตามความตองการ

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- ทําการประมวลผลดวยเครื่องคอมพิวเตอร คือ การนําคําสั่งและขอมูลปอนเขาไปใน เครื่องคอมพิวเตอร เพื่อใหเครื่องทําการประมวลผล ตามรูปแบบที่กําหนดไว - วิเคราะหขอมูลสถิติ คือ ตีความหมายหรือแปลความหมายของขอมูลสถิติที่ได จาก การประมวลผล 4) นําเสนอขอมูลและทํารายงาน - จัดรูปตารางสถิติ - ทําแผนภาพและแผนภูมิประกอบ - เขียนรายงานและทําตนฉบับรายงาน - จัดพิมพเปนรูปเลม

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. บทสรุปสําคัญของผูบริหาร จัดอยูในสวนใดของรายงานทางสถิติ ก. สวนหนา ข. สวนเนื้อหา ค. สวนหลัง ง. สวนสรุป 2. สวนประกอบของรายงานสถิติในขอใด จัดอยูในสวนเนื้อหา ก. คําปรารภ/คํานิยม ข. คําอธิบายศัพท แนวคิด และคําจํากัดความ ค. การประมวลผลขอมูล ง. หนาลิขสิทธิ์ 3. สูตรที่ใชในการสํารวจสํามะโน และวิเคราะหขอมูล จัดอยูในสวนใด ก. การประมวลผลขอมูล ข. วิธีการประมาณผล ค. แผนการสุมตัวอยาง ง. วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 4. ขอใด คือความหมายของสัญลักษณพิเศษ p ก. ยังไมมีขอมูล ข. ตัวเลขไมพึงเปดเผย ค. ขอมูลเปน 0 ง. ตัวเลขเบื้องตน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. ขอใด คือ ตัวอยางรายงานเชิงวิเคราะห ก. สมุดสถิติรายปประเทศไทย ป พ.ศ. 2560 ข. สํามะโนประชากรและเคหะทั่วราชอาณาจักร ค. สถานภาพของผูใชแรงงานในประเทศไทย ง. การสํารวจความพึงพอใจของผูรับบริการ 6. จงเรียงลําดับขั้นตอนในการทําสถิติดังตอไปนี้ 1) พิจารณางบประมาณและความสามารถที่มี 2) จัดทําตารางสถิติ 3) กําหนดขอบเขตที่ตองการทําสถิติ 4) เก็บรวบรวมขอมูล ก. 1) 3) 4) 2) ข. 1) 4) 2) 3) ค. 3) 4) 1) 2) ง. 3) 1) 4) 2) 7. ขอใดไมใชขอมูลเชิงปริมาณ ก. จํานวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ข. คะแนนสูงสุดของวิชาสถิติในรอบ 1 ป ค. วุฒิการศึกษานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ง. ราคาเฉลี่ยของสินคาทั้งหมดที่ขายในรานอะไหลยนต 8. ในรายการสัญลักษณ ตัวยอ และชื่อยอ ขอใดคือสิ่งที่ควรเรียงอยูในลําดับสุดทาย ก. อักษรภาษาไทย ข. บันทึกพิเศษ ค. ตัวยก ง. ตัวหอย

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

9. รายชื่อหัวขอสําคัญในรายงานเรียงตามลําดับตัวอักษร เรียกวาอะไร ก. คําอธิบายศัพท แนวคิด และคําจํากัดความ ข. บรรณานุกรม ค. ภาคผนวก ง. ดัชนี 10. คาตาง ๆ ที่คํานวณจากกลุมประชากร ซึ่งถือเปนคาคงตัว เรียกวาอะไร ก. คาพารามิเตอร ข. คาสถิต ค. คาที่เปนได ง. คาจากการสังเกต

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การทํารายงานและทําสถิติ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทํารายงานและทําสถิติได 2. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจัดทํารายงานทางสถิติ เรื่องการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือนของผูเขารับบริการ ใหครบตาม องคประกอบของรายงานสถิติ 1. ขอมูลสําหรับจัดทําใบบันทึกผลการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือน 1) ชื่อ – นามสกุล ที่อยู และเบอรโทรศัพท 2) ยี่หอรถ รุน สีรถ และเลขทะเบียนรถ 3) หมายเลขตัวถังรถ 4) วันที่ใบเสร็จรับเงิน 5) วันที่สงมอบรถใหซอม และวันที่รับรถซอมเสร็จ 6) ระยะทางในวันที่เขาซอมและระยะทางในวันที่ซอมเสร็จ 7) รายการที่ตองตรวจสภาพ - ตรวจสอบระบบเบรกทั้ง 4 ลอ - ความหนาผาเบรกลอหนา/ หลัง - ตรวจสอบชวงลาง ลูกยางตาง ๆ ลูกหมากแร็ค - ตรวจสอบยางกันฝุนแร็ค ยางกันฝุนเพลาขับ - ตรวจสอบระดับน้ํากลั่น น้ําถังพักหมอน้ํา - ตรวจสอบระบบไฟสัญญาณและไฟสองสวาง - ตรวจสภาพยาง วัดแรงดันลมยาง สลับยาง - ตรวจสภาพสายพานไดชารท แอร ยางปดน้ําฝน - ตรวจระดับน้ํามันเบรก ระดับน้ํามันตาง ๆ 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- ตรวจทําความสะอาดไสกรองอากาศ - ตรวจถังน้ํามันเชื้อเพลิง ทอ และขอตอตาง ๆ - ตรวจทอทางน้ํามันเบรก เบรกมือ - ตรวจทอไอเสีย หมอพักไอเสีย - ตรวจสอบระยะหางวาลว (เสียงดังของวาลว) - ตรวจสอบลมยาง 4 ลอ - คาใชจายในการตรวจสภาพ 2. ขอมูลสําหรับสรางตารางทางสถิติ - วัน / เดือน / ป ที่เขาตรวจสภาพรถยนต - ยี่หอรถยนต รุน สี และปของรถยนต - รายการซอม - คาใชจายในการตรวจสภาพ

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การทํารายงานและทําสถิติ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทํารายงานและทําสถิติ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เก็บขอมูล

เก็บขอมูลการตรวจสภาพรถยนต ประจําเดือนของผูเขารับบริการ

2. จัดทําใบบันทึกผลการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือน

ทํ า ใบบั น ทึ ก ผลการตรวจสภาพ ร ถ ย น ต ป ร ะ จํ า เ ดื อ น ต า ม รายละเอียดที่กําหนดในใบงาน

3. สรางตารางทางสถิติ

นําผลบันทึกที่ตรวจสอบได มาสรางตารางทางสถิติ

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. การทํารายงานสถิติ

นําขอมูลทั้งหมดมาเรียบเรียง และ เขียนรายงานสถิติ

5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณ สถานที่ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การจัดทําใบบันทึกผลการตรวจสภาพรถยนต ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ประจําเดือน

5

การจัดทําตารางทางสถิติ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจัดทํารายงานสถิติ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยใบงาน ใบงานที่ 1.1 การทํารายงานและทําสถิติ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจัดทํารายงานทางสถิติ เรื่องการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือนของผูเขารับบริการ ใหครบตาม องคประกอบของรายงานสถิติ ชื่อ-นามสกุล................................................. ที่อยู.............................................................. ...................................................................... ..................................................................... เบอรติดตอ.................................................... รายการตรวจสภาพรถยนต

ยี่หอ.............................. รุน.................................... สี...................................... เลขทะเบียน..................... หมายเลขตัวถังรถ........................ ผลการตรวจสภาพ ปกติ ไมปกติ

ตรวจสอบระบบเบรกทั้ง 4 ลอ ความหนาผาเบรกลอหนา/ หลัง ตรวจสอบชวงลาง ลูกยางตาง ๆ ลูกหมากแร็ค ตรวจสอบยางกันฝุนแร็ค ยางกันฝุนเพลาขับ ตรวจสอบระดับน้ํากลั่น น้ําถังพักหมอน้ํา ตรวจสอบระบบไฟสัญญาณและไฟสองสวาง ตรวจสภาพยาง วัดแรงดันลมยาง สลับยาง ตรวจสภาพสายพานไดชารท แอร ยางปดน้ําฝน ตรวจระดับน้ํามันเบรก ระดับน้ํามันตาง ๆ ตรวจความสะอาดไสกรองอากาศ ตรวจถังน้ํามันเชื้อเพลิง ทอ และขอตอตาง ๆ

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เลขที่ใบเสร็จรับเงิน......................... วันที่สงมอบรถใหซอม..................... วันที่รับรถซอมเสร็จ........................ ระยะทางในวันที่เขาซอม................ ระยะทางในวันที่ซอมเสร็จ.............. รายการซอม

จํานวนเงิน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายการตรวจสภาพรถยนต

ผลการตรวจสภาพ ปกติ ไมปกติ

รายการซอม

จํานวนเงิน

รายการซอม

คาใชจายสุทธิ

ตรวจทอทางน้ํามันเบรก เบรกมือ ตรวจทอไอเสีย หมอพักไอเสีย ตรวจสอบระยะหางวาลว (เสียงดังของวาลว) เช็คลมยาง 4 ลอ ยอดรวม

ตารางสถิติการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือน วัน / เดือน / ป

ยี่หอรถยนต

รุน

ป

สี

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ รายการตรวจสอบ

ลําดับที่

1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

3

ชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารช า งอย า งถู ก ต อ งครบถ ว น ก อ นเริ่ ม ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงาน

ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การจัดทําใบบันทึกผลการตรวจสภาพรถยนต

จัดทําใบบันทึกผลการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือนโดยมี

ประจําเดือน

ขอมูลครบถวน และจัดทํารูปแบบไดถูกตอง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน จัดทําใบบันทึกผลการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือนโดยมี ขอมูลไมครบถวน หรือ จัดทํารูปแบบไมถูกตอง อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน จัดทําใบบันทึกผลการตรวจสภาพรถยนตประจําเดือนโดยมี ขอมูลไมครบถวน และจัดทํารูปแบบไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การจัดทําตารางทางสถิติ

จัดทําตารางทางสถิติโดยมีขอมูลครบถวน และจัดทํา รูปแบบไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน จัดทําตารางทางสถิติโดยมีขอมูลไมครบถวน หรือ จัดทํา รูปแบบไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดทําตารางทางสถิติโดยมีขอมูลไมครบถวน และจัดทํา รูปแบบไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การจัดทํารายงานสถิติ

จัดทํารายงานทางสถิติโดยมีขอมูลครบถวน และจัดทํา

5

รูปแบบไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน จัดทํารายงานทางสถิติโดยมีขอมูลไมครบถวน และจัดทํา รูปแบบไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือ ไมจัดเก็บ เครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921040102 การทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตนได 2. ทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตนได

2. หัวขอสําคัญ 1. ระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2. การทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) กระดาษ A4 จํานวน 1 ชุด 2) ดินสอ จํานวน 1 แทง 3) ปากกา จํานวน 1 ดาม 2.2 เครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน -

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

7. บรรณานุกรม อําพล ซื่อตรง. การจัดการศูนยบริการรถยนต. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ. sundae การบริหารลูกคาสัมพันธ (CRM) [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.sundae.co.th/article/ ?cmd=article&id=168 ชมัยพร วิเศษมงคล. การบริหารลูกคาสัมพันธ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://swhappinessss.blogspot.com/2010/08/customer-relation-management-crm.html

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การทําระบบติดตามลูกคา 1. ระบบการติดตามลูกคาเบื้องตน ระบบติดตามลูกคาเบื้องตน (Customer Relationship Management : CRM) หรือ การบริการลูกคาสัมพันธ หมายถึง วิธีการบริหารใหลูกคาเกิดความรูสึกผูกพันกับสินคา บริการ หรือองคกร ซึ่งวิธีการดังกลาวตองเริ่มจากสังเกตพฤติกรรมลูกคา เพื่อนํามาวิเคราะหหาความเกี่ยวของระหวางพฤติกรรมของลูกคากับกลยุทธทางการตลาด หากสามารถดําเนินการไดสําเร็จ จะสงผลใหมีฐานลูกคาที่มั่นคง และองคกรมีความมั่นมากยิ่งขึ้น 1.1 องคประกอบหลักของระบบติดตามลูกคาเบื้องตน (Customer Relationship Management) สามารถแบงได 3 สวน ดังนี้ 1) ระบบการตลาดอัตโนมัติ (Market Automation) คือ การจัดการดานการแขงขัน ดานเครื่องมือที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล และธุรกิจ 2) ระบบการขายอัตโนมัติ (Sales Automation) คือ ระบบการขายผานโทรศัพท เพื่อใหบริการในลักษณะ Telesales ระบบ E-Commerce เพื่อทําการขายแบบ Up – Selling หรือ Cross – Selling และระบบสนาม ดานการขาย เชน การขายปลีกและมีตัวแทนจําหนาย เปนตน 3) ระบบบริการลูกคา (Customer Service) คือ การติดตาม และใหบริการในสวนตาง ๆ ที่เกิดขึ้นหลังการขาย เชน การใหบริการในดานโทรศัพท ดานเว็บไซต เปนตน 1.2 กระบวนการทํางานของระบบติดตามลูกคาเบื้องตน (Customer Relationship Management : CRM) มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) Identify เก็บขอมูลที่เป นรายละเอีย ดเกี่ยวกับลู กคา เชน ชื่อ หมายเลขโทรศัพท ที่อยู อีเมล ขอมู ล สําหรับติดตอ เปนตน 2) Differentiate วิ เ คราะห พ ฤติ ก รรมของลู ก ค า และทํ า การจั ด กลุ ม ตามคุ ณ ค า ที่ ลู ก ค า มี ต อ องค ก ร หนวยงาน หรือบริษัท 3) Interact การสรางปฏิสัมพันธกับลูกคา เพื่อทราบถึงความตองการของลูกคา และสรางความพึงพอใจ ระยะยาวใหแกลูกคา 4) Customize การนําเสนอสินคาหรือบริการ ที่เหมาะสมกับพฤติกรรมของลูกคา

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

1.3 หลักการและแนวคิดพื้นฐานของระบบติดตามลูกคาเบื้องตน (Customer Relationship Management CRM) ลูกคาแตละคนมี ความต องการแตกตางกัน จึงมีการนําระบบ CRM เขามาเปนเครื่องมือในการบริหารจัด การ เพื่อใหองคกรสามารถดูแลและตอบสนองความตองการของลูกคาได ซึ่งมีหลักการและแนวคิดพื้นฐาน ดังนี้ 1) การมีฐานขอมูลลูกคา ฐานขอมูลลูกคามีความถูกตอง ขอมูลทันสมัยพรอมใชงานเสมอ โดยมีการแยก ประเภทลูกคาจากฐานขอมูล เนื่องจากลูกคาแตละคนมีความตองการตางกัน 2) การมีเทคโนโลยี เทคโนโลยีสามารถชวยเพิ่มฐานลูกคาได เนื่องจากชวยเพิ่มชองทางใหลูกคาสามารถ ติ ด ต อ กั บ องค ก รได ห ลากหลายมากยิ่ ง ขึ้ น เช น ระบบ Call Center, Web Site, Interactive voice response เปนตน นอกจากนี้เทคโนโลยียังสามารถชวยในการวิเคราะห และประมวลผลแยกประเภท ลูกคา และจัดลําดับความสําคัญไดอีกดวย 3) การปฏิบัติเพื่อรักษาลูกคา องคกรทําการกําหนดวิธีปฏิบัติตอลูกคาแตละกลุมประเภทอยางเหมาะสม เชน การจัดทํา Community Program เปนตน 4) การประเมินผล องคกรทําการกําหนดเกณฑที่เปนจุดเนนขององคกอนไวในเรื่องการรักษาลูกคาระยะยาว และเพิ่มประโยชนหรือคุณคาใหกับลูกคามากกวาที่ลูกคาคาดหวัง 1.4 แนวทางในการรักษาฐานลูกคาใหอยูกับองคกรตลอดไป 1) สรางมูลคาเพิ่มใหสินคาและบริการ เพื่อทําใหลูกคาเกิดความรูสึกวา “เกิดความคาดหวัง หรือความพอใจ” 2) สรางบริการกอน และหลังการขาย และบริการอยางเต็มที่ เต็มใจ จริงใจ และเปนกันเอง 3) นําโปรแกรมสงเสริมบริการหลังการขายมาใชสงเสริมการขาย เพื่อหวังผลระยะยาว 4) จัดตั้งฝายบริการลูกคาสัมพันธ ใหดูแลงานดานลูกคาสัมพันธโดยเฉพาะ เพื่อสรางความพึงพอใจใหกับ ลูกคาอยางสูงสุด 5) ใหความเสมอภาค และเทาเทียมกันใหแกลูกคาทุกคน 6) สํารวจความเคลื่อนไหวของคูแขง และสํารวจสถานการณทางการตลาดอยูเสมอ 7) กรณี ที่ ลู ก ค า เป น คนกลางในช อ งทางการตลาด ให เ น น เรื่ อ งการเข า ไปมี ส ว นร ว มในการให บ ริ ก าร ชวยเหลือลูกคาในการวางจําหนายสินคาในราน จัดกิจกรรมพิเศษในราน เนื่องจากเปนการทําการตลาด สัมพันธแบบเชิงรุก 1.5 ประโยชนของระบบติดตามลูกคาเบื้องตน (Customer Relationship Management : CRM) ตอธุรกิจ สามารถแบงได 2 ขอใหญ ดังนี้

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

1) ชวยเพิ่มความสามารถในการบริการลูกคาใหดียิ่งขึ้น เชน ใชเว็บไซตเปนชองทางสําหรับติดตอสื่อสารกับลูกคา ในการใหขอมูลเกี่ยวกับสินคา วิธีการใชสินคา และใหความชวยเหลือแกลูกคา 24 ชั่วโมง เปนตน 2) ชวยพัฒนาความสัมพันธระหวางองคกรกับลูกคาใหดีขึ้น เพราะองคกรจะทราบถึงความสนใจ ความตองการ และพฤติกรรมการซื้อของลูกคาได องคกรจึงสามารถเสนอขายสินคา และใหค วามชว ยเหลือ ลูก ค า สํา หรับ การหลังการขายได ตรงตามความตองการ ทําใหลูกคาเกิด ความประทับ ใจ จึงสามารถสราง ความสัมพันธกับลูกคาในระยะยาวได 1.6 ประโยชนจากการมีความสัมพันธที่ดีตอลูกคา มีดังนี้ 1) สามารถชวยสรางความจงรักภักดีของลูกคาในระยะยาวได โดยองคกรจะตองดูแลรักษาทรัพยสินที่มีคา เปนอยางดี เพราะจะชวยรักษาฐานลูกคา ลดการสูญเสียลูกคา และลดตนทุนทางการตลาดได 2) สามารถชวยเพิ่มยอดขายในระยะยาวได เนื่องจากคาใชจายที่ใชในการหาฐานลูกคาใหมมีมูลคาสูงกวา การรักษาฐานลูกคาเกาไวมากกวาหลายเทา และที่สําคัญลูกคาเกามีแนวโนมที่จะสั่งซื้อสินคาและบริการ จากองคกรสูงกวา 3) สามารถชวยสรางชื่อเสียง และภาพลักษณขององคกรได ถาองคกรดูแลลูกคาเปนอยางดี ลูกคาจะเกิด ความประทับใจ และนําไปพูดแนะนําแบบปากตอปากถึงสินคาและบริการขององคกร 4) สามารถชวยเพิ่มโอกาสในการเติมโตของธุรกิจ โปรแกรมระบบติดตามลูกคาเบื้องตน (Customer Relationship Management : CRM) ที่ใน ประเทศไทย ไดแก Salesforce, SugarCRM, vTigerCRM, MicrosoftCRM, AquaCRM และ Zanroo

ภาพที่ 2.1 Program Salesforc

ภาพที่ 2.2 Program SugarCRM 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ภาพที่ 2.3 Program vTigerCRM

ภาพที่ 2.4 Program MicrosoftCRM

ภาพที่ 2.5 Program AquaCRM

ภาพที่ 2.6 Program Zanroon 2. การทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตน 2.1 ขั้นตอนพื้นฐานของการบริการลูกคาในการบํารุงรักษารถยนต ในการรับซอมและบํารุงรักษารถยนต สิ่งที่ศูนยบริการควรคํานึงถึง คือ ความพึงพอใจของลูกคา การรักษาลูกคา และการคงไวซึ่งผลกําไร ดังนั้นบุคลากรจึงตองมีความสามารถตรงตามความตองการของลูกคาและมีความเขาใจใน บทบาทหนาที่ของแตละฝาย

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนพื้นฐานของการบริการลูกคาในการบํารุงรักษารถยนต การบริการลูกคา หัวหนาชาง ผูรับผิดชอบ การนัดหมาย - จัดตารางการทํางาน รวมกับพนักงานรับรถ

การตอนรับ

- วิเคราะหความ ตองการของลูกคา

การจายเงิน

- จัดสรรงานโดย ขึ้นอยูกับเวลาและ ความชํานาญที่ ตองการ เพื่อใหงาน สําเร็จ

การบริการ

ชางเทคนิค

หัวหนาทีมชาง เทคนิค

พนักงานรับรถ - ฟงความตองการของ ลูกคา จดบันทึกงานซอม วัน เวลา และคาใชจาย โดยประมาณ - จัดตารางการทํางาน รวมกับหัวหนาชาง - ทักทายลูกคา อธิบาย รายละเอียดการซอม และ คาใชจาย โดยตองไดรับ ความเห็นชอบจากลูกคา - ตรวจสอบประวัติการเขา รับบริการ เขียนใบสั่งซอม และตรวจสอบสภาพรถ โดยละเอียด - สงใบสั่งซอมใหหัวหนา ชาง

- รับ/ตรวจสอบ ใบสั่งซอม และรับ อะไหลที่จําเปนตอง ใชงาน - ทํางานในเวลาที่ กําหนด 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

- ทํางานที่มีความ ยุงยากทางดาน เทคนิคมากกวา พรอมทั้งใหการดูแล และชวยเหลือกับ ชางเทคนิค


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

การบริการลูกคา ผูรับผิดชอบ

หัวหนาชาง

ชางเทคนิค

หัวหนาทีมชาง เทคนิค

พนักงานรับรถ

- ตรวจสอบความ เรียบรอยของงาน กับหัวหนาทีม การตรวจสอบขั้นสุดทาย - ยืนยันความเรียบรอย ของงานกับพนักงาน รับรถ - หากงานชะงักหรือ ลาชา ตองกําหนด วิธีการที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อลดความลาชา และแจงพนักงานรับ รถใหทราบทันที การสงมอบ - ใหคําอธิบาย ทางดานเทคนิคหรือ ขอแนะนําเมื่อ พนักงานรับรถ/ ลูกคา ตองการ

- ทําการตรวจสอบ ขั้นสุดทาย - ยืนยันความ เรียบรอยของงาน กับหัวหนาชาง

- เตรียมอะไหลที่ถอด เปลี่ยนไวแสดงกับลูกคา และใบแจงรายการ คาใชจายทั้งหมด - ตรวจดูความสะอาดและ ความเรียบรอยของรถ - ติดตอลูกคาเพื่อยืนยันวา จะสงมอบรถ พรอมทั้ง อธิบายงานที่ทําและ รายละเอียดในใบแจง คาใชจายเกี่ยวกับ คาแรง คาอะไหล และคาอื่น ๆ - ตรวจยืนยันวาลูกคาพึง พอใจกับงานที่ทําทั้งหมด และย้ําถึงกําหนดการใน การเขารับบริการในครั้ง ถัดไป (ถามี)

การติดตามหลังการซอม

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของลูกคาตอการรับบริการ ระดับความพึงพอใจ รายละเอียดการใหบริการ

5

4

3

2

1

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยที่สุด

1. ความพึงพอใจดานผลิตภัณฑและการบริการ - คุณภาพของสินคา/ อะไหล - การรับประกันคุณภาพสินคาหลังการเขา รับบริการ - การบริการของพนักงาน - ความรวดเร็ว/ ระยะเวลาในการเขารับ บริการ - ใหความเสมอภาคกับผูรับบริการ - พนักงานมีความรูแ ละมีทักษะความชํานาญ 2. ความพึงพอใจดานราคา - ความเหมาะสมและคุมคาของสินคา/ อะไหล - ความเหมาะสมและคุมคาของคาแรง - คาใชจายในการเขารับบริการ สมเหตุสมผล - มีการเสนอราคาของสินคา/ อะไหลที่ หลากหลาย 3. ความพึงพอใจดานสถานที่ - สถานที่เดนชัด สะดวกตอการเขารับ บริการ - สถานที่/ หองน้ํา สะอาดนาใชบริการ - ที่จอดรถเพียงพอตอผูเขารับบริการ

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ระดับความพึงพอใจ รายละเอียดการใหบริการ

5

4

3

2

1

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

นอย

นอยที่สุด

4. ความพึงพอใจดานการสงเสริมการตลาด - การประชาสัมพันธใหผูเขารับบริการ ไดรับขอมูลขาวสารที่ถูกตอง ชัดเจน และ เขาใจงาย 3. หนาที่ทั่วไปของพนักงานตอนรับ และการสรางความสัมพันธกับลูกคา นอกเหนือจากการวางแผนและจัดเตรียมระบบการติดตามลูกคาแลว อีกสิ่งหนึ่งที่มีความสําคัญในการสรางความพึงพอใจ ใหแกลูกคา คือ พนักงานตอนรับหรือพนักงานผูใหบริการ และการสรางความสัมพันธกับลูกคา ซึ่งมีวิธีการปฏิบัติ ดังนี้ 3.1 หนาที่ทั่วไปของพนักงานตอนรับหรือพนักงานผูใหบริการ 1) ติดตอประสานงานกับทุกฝายรวมถึงผูบังคับบัญชา เพื่อรับนโยบายของศูนยบริการ 2) ติดตอประสานงานกับทุกแผนกที่เกี่ยวของกับการดูแลลูกคา 3) รับผิดชอบงานเอกสารตาง ๆ 4) ดูแลความเรียบรอยของศูนยบริการ 5) จัดทําประวัติลูกคาผูมาใชบริการ 6) ตอบขอซักถามและใหคําแนะนําแกลูกคา 7) ดูแลและอํานวยความสะดวกใหแกลูกคา 3.2 การสรางความสัมพันธอันดีกับลูกคา 1) ตระหนักถึงความสําคัญในการใหบริการลูกคา 7

2) ปฏิบัติตนตอลูกคาดวยความสุภาพ นอบนอมถอมตน พูดจาไพเราะ 7

7

3) ใหเกียรติลูกคาทุกคน และไมเลือกปฏิบัติ 4) ปฏิบัติตอลูกคาดวยความซื่อสัตย สุจริต และยุติธรรม - ติดตามผลการดําเนินงานใหลูกคา เพื่อใหทุกอยางเรียบรอยตามเวลานัดหมาย - แสดงความรับผิดชอบตอปญหาที่เกิดขึ้น และพยายามหาทางแกไขขอบกพรอง - ใหคําแนะนํา คําปรึกษา และขอมูลที่ถูกตองแกลูกคา - รายงานผลการดําเนินงานใหลูกคาทราบเปนระยะ ขณะที่ลูกคาเขามาขอรับบริการ 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- กลาวคําขอบคุณลูกคา

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การวิเคราะหพฤติกรรมของลูกคา จัดอยูในขั้นตอนใดของระบบ CRM ก. Differentiate ข. Identify ค. Interact ง. Customize 2. ขอใด ไมใช แนวทางในการรักษาฐานลูกคา ก. สรางมูลคาเพิ่มใหสินคาและบริการ ข. บริการกอนและหลังการขาย ค. สรางความแตกตางในการบริการลูกคาแตละระดับ ง. สํารวจความเคลื่อนไหวของคูแขงอยูเสมอ 3. ขอใด คือ หนาที่ของหัวหนาชาง ในขั้นตอนการนัดหมาย ก. รับฟงความตองการของลูกคา ข. จัดตารางการทํางานรวมกับพนักงานรับรถ ค. วิเคราะหความตองการของลูกคา ง. ตรวจสอบใบสั่งซอม 4. ในการตรวจสอบขั้นสุดทาย ใครคือผูยืนยันความเรียบรอยของงานกับหัวหนาชาง ก. หัวหนาทีมชางเทคนิค ข. ชางเทคนิค ค. พนักงานรับรถ ง. ผูชวยหัวหนาชาง

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

5. ขอใด ไมใช หนาที่ของพนักงานรับรถ ก. ตรวจสอบประวัติการเขารับบริการ ข. เตรียมอะไหลที่ถอดเปลี่ยนไวแสดงกับลูกคา ค. ยืนยันความพึงพอใจของลูกคา ง. ใหคําอธิบายหรือขอแนะนําดานเทคนิค ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 6. ในกรณีที่ลูกคาเปนคนกลางในชองทางการตลาด ใหเนนเรื่องการเขาไปมีสวน รวมในการใหบริการ เพราะเปนการทําการตลาดสัมพันธแบบเชิงรุก 7.ระบบการตลาดอัตโนมั ติ คือ ระบบการขายผานโทรศั พท เพื่อใหบริการใน ลั กษณะ Telesales ระบบ E-Commerce เพื่ อทํ าการขายแบบ Up – Selling หรื อ Cross – Selling และระบบสนามดานการขาย เชน การขายปลีกและมีตัว แทน จําหนาย เปนตน 8. หนาที่ของหัวหนาทีมชางเทคนิค คือ กําหนดวิธีการที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อ ลดความลาชาในการปฏิบัติงาน 9.ระบบติ ด ตามลู ก ค า เบื้ อ งต น จะทํ า ให อ งค ก รจะทราบความต อ งการ และ พฤติกรรมการซื้อของลูกคา จึงสามารถเสนอขายสินคา และใหค วามชว ยเหลื อ ลูกคาไดตรงตามความต องการ 10. โปรแกรมระบบติดตามลูกคาเบื้องตนที่มีในประเทศไทย มีเพียง 3 โปรแกรม คือ Salesforce, SugarCRM, vTigerCRM,

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

6 7 8 9 10

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 งานติดตามลูกคาหลังสงมอบงานซอมเรียบรอยแลว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทําระบบติดตามลูกคาเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานติดตามลูกคาหลังสงมอบงานซอมเรียบรอยแลว 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจัดทําระบบติดตามลูกคา หลังสงมอบงานซอมเรียบรอยแลว ดวยความคิดของตนเอง 1. ขอบเขตขอมูลที่ใชในการจัดทําขอกําหนดที่จําเปนตองมีของลูกคา 1) ชื่อ – นามสกุล ที่อยู และเบอรโทรศัพท 2) ยี่หอรถ ทะเบียนรถ สีรถ และชนิดของรถ 3) ประวัติการซอม อาการที่ซอมครั้งกอน ๆ จํานวนเงิน และอื่น ๆ เทาที่จําเปน 2. ขอบเขตขอมูลที่ใชในการจัดทําขอกําหนดของคูมือซอมหรือศูนยบริการ 1) ชื่ออูซอมหรือศูนยบริการ 2) ชื่อ – นามสกุล ที่อยู และเบอรโทรศัพทของอูซอมหรือศูนยบริการ 3) เวลาทําการ และเงื่อนไขอื่น ๆ เทาที่จําเปน 3. ขอบเขตขอมูลที่ใชในการจัดทําขอมูลที่จําเปนในการติดตามลูกคาหลังซอม และสงมอบลูกคาแลวประมาณ 60 วัน 1) อาการที่ซอมในครั้งกอน มีอาการอยางไร 2) ปจจุบันมีอาการผิดปกติอะไรเกิดขึ้นอีกหรือไม 3) อาการที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต 4) ระยะเวลาที่ควรจะนํารถเขารับบริการหรือซอมในครั้งตอไป 5) ตรวจการซอมหรือบํารุงรักษาตามเวลาหรือระยะทางที่กําหนด เชน 10,000 20,000 30,000 จนถึง 100,000 กิโลเมตร ซึ่งประกอบดวย - เครื่องยนต - คลัตช 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

- เกียร - เพลากลาง - ขอตอออน - เพลาขับซาย-ขวา - เฟองทาย - ระบบบังคับเลี้ยว - ระบบเบรก คือ เบรกมือและเบรกเทา - ระบบกันสะเทือน - ลอและยาง - ระบบไฟฟาตาง ๆ ระบบอํานวยความสะดวก และระบบอื่น ๆ 4. ขอบเขตขอมูลที่ใชในการจัดทําแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกคาหลังการใชบริการ 1) การนัดหมาย - ความงายในการนัดหมายเพื่อนํารถเขารับบริการ 2) การตอนรับ - ความงายในการติดตอแจงซอม - การใหบริการของพนักงานรับรถ 3) การรอคอยในระหวางซอมและคุณภาพงานหลังซอม - การติดตอจากพนักงานรับรถในระหวางการซอม - คุณภาพงานซอม 4) การชําระเงิน - ทานมีความพึงพอใจในเรื่องการชําระเงินอยางไร 5) การสงมอบ - ความชัดเจนในการอธิบายรายการซอมและคาใชจาย - ความสะอาดของรถขณะสงมอบ 6) ระยะเวลาในการนํารถเขารับบริการ - ความเหมาะสมของระยะเวลาในการนํารถเขารับบริการ

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

7) สิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ ของศูนยบริการ (ที่จอดรถ ความสะอาด/ สะดวกของหองพักลูกคา หองน้ํา) 8) การใหขอมูลตอลูกคา ทานไดรับการบอกกลาวจากพนักงานที่เกี่ยวของในเรื่องนี้หรือไม - การรับประกันงานซอม - การแจงเตือนการเขารับบริการในครั้งตอไป 9) การใหคําแนะนําวิธีการบํารุงรักษาเบื้องตนที่เปนประโยชน 10) ทานชอบหรือไมชอบสิ่งใดมากที่สุดในการเขารับบริการครั้งนี้

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 งานติดตามลูกคาหลังสงมอบงานซอมเรียบรอยแลว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระดาษ A4

จํานวน 1 ชุด

2. ปากกา

จํานวน 1 ดาม

3. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

2. ลําดับการปฏิบัติงาน งานติดตามลูกคาหลังสงมอบงานซอมเรียบรอยแลว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เก็บขอมูล

เก็ บ ข อ มู ล การตรวจสภาพรถยนต ประจําเดือนของผูเขารับบริการ

2. จัดทําขอกําหนดที่จําเปนตองมีของลูกคา

รวบรวมข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ข อ กํ า หนด ที่จําเปนตองมีของลูกคาตามขอบเขต ข อ มู ล ที่ กํ า หนดไว ใ นใบงาน และ เรี ย บเรี ย งข อ มู ล ให อ ยู ใ นรู ป แบบที่ ผูรับการฝกเห็นวาเหมาะสม

3. จัดทําขอกําหนดของคูมือซอมหรือศูนยบริการ

รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับขอกําหนดของ

4. จัดทําขอมูลที่จําเปนในการติดตามลูกคาหลังซอม

คูมือซอมหรือศูนยบริการตามขอบเขต ข อ มู ล ที่ กํ า หนดไว ใ นใบงาน และ เรี ย บเรี ย งข อ มู ล ให อ ยู ใ นรู ป แบบที่ ผูรับการฝกเห็นวาเหมาะสม รวบรวมขอมูลที่จําเปนในการติดตาม ลูกคาหลังซอม และสงมอบลูกคาแลว 66

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย ประมาณ 60 วัน ตามขอบเขตข อมูล ที่กําหนดไวใน ใบงาน และเรียบเรียง ข อ มู ล ให อ ยู ใ นรู ป แบบที่ ผู รั บ การฝ ก เห็นวาเหมาะสม

5. จั ด ทํ า แบบสอบถามความพึ ง พอใจของลู ก ค า หลั ง ใช จัดทําแบบสอบถามความพึงพอใจของ บริการ

ลูกคาหลังใชบริการตามขอบเขตขอมูล ที่กําหนดไวในใบงาน

6. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ที่ 1

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การจัดทําขอกําหนดที่จําเปนตองมีของลูกคา

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การจั ด ทํ า ข อ กํ า หนดของคู มื อ ซ อ มหรื อ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ศูนยบริการ

6

การจัดทําขอมูลที่จําเปนในการติดตามลู กคา ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังซอม

7

การจั ด ทํ า แบบสอบถามความพึ ง พอใจของ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ลูกคาหลังใชบริการ

8

การวัสดุหลังปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมวัสดุอยางถูกตองและครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถกู ตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

ชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม ปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชนิด ใหสวมใสอุปกรณปองกั นอันตรายสว นบุ คคลไดถูก ตอ ง 2

3

ชนิ ด ให ค ะแนน 2 คะแ2 ชนิ ด หรื อ ไม ส วมใส อุ ป กรณ ปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การจัดทําขอกําหนดที่จําเปนตองมีของลูกคา

จัดทําขอกําหนดที่จาํ เปนตองมีของลูกคาโดยมีขอ มูล ครบถวน และจัดทํารูปแบบไดเหมาะสม ใหคะแนน 5 คะแนน จัดทําขอกําหนดทีจ่ ําเปนตองมีของลูกคาโดยมีขอมูลไมครบถวน หรือ จัดทํารูปแบบไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน จัดทําขอกําหนดทีจ่ ําเปนตองมีของลูกคาโดยมีขอมูลไมครบถวน และจัดทํารูปแบบไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

รายการตรวจสอบ

ลําดับที่

5

การจัดทําขอกําหนดของคูมือซอมหรือศูนยบริการ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

จัดทําขอกําหนดของคูมือซอมหรือศูนยบริการโดยมีขอ มูล ครบถวน และจัดทํารูปแบบไดเหมาะสม

คะแนน เต็ม 5

ใหคะแนน 5 คะแนน จัดทําขอกําหนดของคูมือซอมหรือศูนยบริการโดยมีขอ มูล ไมครบถวน หรือ จัดทํารูปแบบไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน จัดทําขอกําหนดของคูมือซอมหรือศูนยบริการโดยมีขอ มูล ไมครบถวน และจัดทํารูปแบบไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 6

การจัดทําขอมูลที่จําเปนในการติดตามลูกคาหลังซอม

จัดทําขอมูลที่จาํ เปนในการติดตามลูกคาหลังซอมโดยมี ขอมูลครบถวน และจัดทํารูปแบบไดเหมาะสม

5

ใหคะแนน 5 คะแนน จัดทําขอมูลที่จาํ เปนในการติดตามลูกคาหลังซอมโดยมี ขอมูลไมครบถวน หรือ จัดทํารูปแบบไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3-4 คะแนน จัดทําขอมูลที่จาํ เปนในการติดตามลูกคาหลังซอมโดยมี ขอมูลไมครบถวน และจัดทํารูปแบบไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การจัดทําแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกคาหลั งใช จัดทําแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกคาหลังใชบริการ บริการ

5

โดยมีขอมูลครบถวน และจัดทํารูปแบบไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน จัดทําแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกคาหลังใชบริการ โดยมีขอมูลไมครบถวน หรือ จัดทํารูปแบบไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน จัดทําแบบสอบถามความพึงพอใจของลูกคาหลังใชบริการ โดยมี ข อ มู ล ไม ค รบถ ว น และจั ด ทํ า รู ป แบบไม ถู ก ต อ ง ใหคะแนน 0 คะแนน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

3

ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บ ใหคะแนน 0 คะแนน 10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

38

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 27 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 2

โมดู ล การฝ ก ที่ 8

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.