คู่มือครูฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 1

Page 1

โ0

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คูมือครูฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานทีท่ ํางาน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 1 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของ หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝก ตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไป ตามหลั ก สู ต ร กล า วคื อ อบรมผู รั บ การฝ ก ให ส ามารถปฏิ บั ติ ง านได อ ย า งปลอดภั ย และติ ด ตามความก า วหน า ของ ผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เรื่อง

สารบั ญ

คํานํา สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก โมดูลการฝกที่ 1 09210101 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน หัวขอวิชาที่ 1 0921010101 ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย หัวขอวิชาที่ 2 0921010102 วิธีการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย หัวขอวิชาที่ 3 0921010103 กฎของโรงงาน หัวขอวิชาที่ 4 0921010104 การใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ หัวขอวิชาที่ 5 0921010105 หลักการเบื้องตนของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง หัวขอวิชาที่ 6 0921010106 วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน คณะผูจัดทําโครงการ

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หนา ก ข 1 20 30 38 50 76 101 135



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมิน พื้นฐานความรู ความสามารถ แบบออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบี ย นแบบออนไลน ให ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นผ า นเว็ บ ไซต โดยกรอกประวั ติ เลือกหลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบี ย นแบบออฟไลน ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นที่ ศู น ย ฝ ก โดยการเลื อ กหลั ก สู ต ร กรอกประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐาน ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข ารั บการฝ กภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝ กในโมดูล ถัด ไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

­ ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดย ใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการดาวน โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และ เขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการ ฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คู มื อ การประเมิ น รู ป แบบเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (.pdf) เพื่ อ บั น ทึ ก ผลการประเมิ น การทดสอบของ ผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ า ไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100501

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกิ นระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก

5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก

รหัสหลักสูตร 0920163100501 ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน รหัสโมดูลการฝก 09210101 รวม 12 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง 45 นาที ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตรายได 2. บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได 3. อธิบายกฎของโรงงานและปายเตือนตาง ๆ ได 4. อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 5. ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 6. อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 7. ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 8. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 9. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องความปลอดภัยในการใชงานอุปกรณงานชางเบื้องตน 2. มีความรูเรื่องวิธีการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 3. มีความรูเรื่องการรักษาบาดแผลตาง ๆ และความรูในการปฐมพยาบาลเบื้องตน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุ หัวขอที่ 1 : ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสาร 0:30 0:30 ติดไฟงายและสารอันตรายได อันตราย

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. บอกขั้นตอนการปฏิบัตงิ านที่ ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได 3. อธิบายกฎของโรงงานและ ปายเตือนตาง ๆ ได 4. อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ ได 5. ใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ ได 6. อธิ บ ายวิ ธี ก ารป อ งกั น อั ค คี ภั ย และหลักการดับเพลิงได 7. ปฏิบัติตามวิธีการปองกัน อัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 8. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาล เบื้องตนได 9. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

หัวขอที่ 2 : วิธีการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย

0:30

-

0:30

หัวขอที่ 3 : กฎของโรงงาน

0:15

-

0:15

หัวขอที่ 4 : การใชอุปกรณปองกันอันตราย ประเภทตาง ๆ

0:45

2:30

3:15

หัวขอที่ 5 : หลักการเบื้องตนของการปองกัน อัคคีภัยและการดับเพลิง

0:45

3:00

3:45

หัวขอที่ 6 : วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน

1:00

3:30

4:30

รวมทั้งสิ้น

3:45

9:00

12:45

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921010101 ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับวิธีใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตรายได

2. หัวขอสําคัญ 1. ความหมายของวัตถุไวไฟและสารอันตราย 2. หลักการใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ศศิมา ครองพันธ. การใชสารเคมีอยางถูกตองและปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/krunarm2/bth-thi-3-kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-khx-ng-laea-plxdph/kar-chi-sar-khemi-xyang-thuk-txng-laea-plxdphay สุชาตา ชินะจิตร. 2549. สารไวไฟ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.chemtrack.org/NewsDetail.asp?TID=1&ID=42

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 15-21 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก น้ํามันเชื้อเพลิง แอลกอฮอล ทินเนอร 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงาย ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช และสารอันตราย ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง ความรู 2. ฟง และซักถามขอสงสัย เกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 15-21

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง ความรูเกี่ยวกับวัสดุติด ไฟงายและสารอันตราย หนาที่ 15-21 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรียนรูโดยใชวิธีถาม-ตอบกับผูรับการฝกโดย เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ ใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอดเปน เรียบรอย ความรูใหมพรอมใชสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:3703:18 และคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 16-18 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.1 ความหมายของวัสดุติดไฟงายและสาร อันตราย 2.2 การใชวัสดุติดไฟงายหรือสารอันตราย 3. ใหผูรับการฝกศึกษาดูวัสดุติดไฟงายประเภท 3. ศึกษาดูวัสดุติดไฟงายประเภทตาง ๆ ของจริง ตาง ๆ ของจริง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 19-21 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 19-21 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 29 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ความรูเกี่ยวกั บ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน วัสดุติดไฟงายและสารอันตราย ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง ความรูเกี่ยวกั บ วัสดุติดไฟงายและสารอันตรายเกี่ยวกับกิจนิสัยในการ ปฏิ บั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการ คุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ความรูเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย ผูปฏิบัติงานทุกคนควรมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับวัสดุติดไฟงาย สารอันตราย พรอมทั้งทราบวิธีการใชงานที่ถูกตอง แลว นําไปปฏิบัติตามอยางเครงครัด เพื่อปองกันการเกิดอันตรายระหวางปฏิบัติงาน 1. ความหมายของวัตถุไวไฟและสารอันตราย 1.1 วัสดุติดไฟงาย หรือ วัตถุไวไฟ คือ วัตถุหรือสารที่สามารถติดไฟไดงาย เมื่อไดรับความรอนหรือประกายไฟ โดยมี สถานะเปนของเหลว ของแข็ง หรือแกสก็ได 1.2 สารอันตราย คือ ธาตุ หรือ สารประกอบ ที่มีคุณสมบัติเปนพิษหรือเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิต ทรัพยสิน และสงผล ให สิ่ งแวดล อมเกิ ดความเสื่ อ มโทรม ซึ่ งสารอัน ตรายสามารถจํา แนกไดห ลายประเภท เชน วัตถุร ะเบิด แกส ของเหลวไวไฟ ของแข็งไวไฟ วัตถุกัดกรอน วัตถุมีพิษและวัตถุติดเชื้อ เปนตน

ภาพที่ 1.1 วัตถุระเบิด

ภาพที่ 1.2 แกส

ภาพที่ 1.3 น้ํามันเชื้อเพลิง

ภาพที่ 1.4 กํามะถัน (ของแข็งไวไฟ)

ภาพที่ 1.5 โซเดียมไฮดรอกไซด (วัตถุกัดกรอน)

ภาพที่ 1.6 วัตถุมีพิษ 24

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.7 ขยะที่มีเชื้อโรคปนเปอนและเข็มฉีดยาใชแลว 2. หลักการใชวัสดุติดไฟงายและสารอันตราย มีดังตอไปนี้ 2.1 หลีกเลี่ยงหรือเพิ่มความระมัดระวังในการใชวัสดุติดไฟงายในบริเวณที่อยูใกลผิวโลหะที่มีอุณหภูมิสูง ทอน้ํารอน และ บริเวณที่กอใหเกิดประกายไฟ เปนตน 2.2 หากแกสไวไฟรั่วไหล ใหพยายามปดรอยรั่วใหเร็วที่สุด และเปดประตูหนาตางทั้งหมด เพื่อทําใหแกสเจือจางโดยเร็ว 2.3 หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่มีวัตถุไวไฟ

ภาพที่ 1.8 สัญลักษณหามสูบบุหรี่ 2.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของสารอันตราย 2.5 รูวิธีการเก็บรักษาที่ถูกตอง 2.6 อานฉลากและวิธีใชงานกอนทุกครั้ง 2.7 คัดแยกสารเคมีกอนทิ้งทุกครั้ง 2.8 รูจักสัญลักษณของสารอันตรายตาง ๆ

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ภาพที่ 1.9 สูบบุหรี่ในสถานที่ไมปลอดภัย


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.10 สัญลักษณของสารอันตราย วัตถุไวไฟ และวัตถุมีพิษ 2.9 หากถูกสารเคมีใหรีบลางน้ําสะอาดทันที 2.10 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดกลาวถึง ความหมายของวัตถุไวไฟ ถูกตองที่สุด ก. วัสดุที่มีสารเคมีเปนสวนประกอบ ข. วัสดุที่มีสถานะเปนของเหลวหรือแกส ค. วัสดุติดไฟงายเมื่อไดรับความรอนหรือประกายไฟ ง. วัสดุติดไฟได เมื่อไดรับความรอนที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสขึ้น 2. บุคคลใด ปฏิบัติตนตามหลักการใชสารอันตราย ก. สมปองนําสารเคมีที่ใชแลวใสถุงและทิ้งลงถังขยะทั่วไป ข. อํานวยอานฉลากสมบัติของสารเคมีกอนนํามาใชงานเสมอ ค. พรชัยเก็บสารเคมีทุกชนิดรวมไวในตูเก็บของหองปฏิบัติงาน ง. สุชาติสูบบุหรี่ในพื้นที่หามสูบ เพราะเห็นวาไมมีวัสดุไวไฟ 3. ขอใด คือ สัญลักษณของสารอันตราย

ก. ข. ค. ง.

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. ขอใด ไมใช สารอันตราย ก. น้ํามันเชื้อเพลิง ข. แกส ค. กํามะถัน ง. น้ําเกลือ 5. บุคคลใด ปฏิบัติตนถูกตองเมื่อเกิดเหตุการณแกสไวไฟรั่วไหล ก. อนุชาพยายามปดรอยรั่วพรอมทั้งเปดหนาตางและประตูเพื่อทําใหแกสเจือจาง ข. ศักดาใชถังดับเพลิงฉีดเขาไปในบริเวณที่เกิดเหตุเพื่อทําใหแกสเจือจาง ค. ยุทธนาปดหนาตางทุกบานเพื่อปองกันไมใหแกสรั่วไหลออกไปภายนอก ง. สิทธิศักดิ์เคลื่อนยายวัตถุตนเหตุที่เกิดรั่วไหลออกไปนอกพื้นที่

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921010102 วิธีการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยทั้งผูปฏิบัติงาน เครื่องมือ และอุปกรณได

2. หัวขอสําคัญ 1. หลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย 2. หลักการใชเครื่องมือและอุปกรณอยางปลอดภัย

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 7. บรรณานุกรม ไทยแลนดอินดัสตรี้ดอทคอม การใชเครื่องมือและเครื่องมือกลอยางปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.jorpor.com/forum/index.php?topic=3546.0;wap2 ความปลอดภัยในการทํางาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kru-wattanachi.blogspot.com/2014/11 /blog-post_24.html

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 22-27 5. เตรี ย มสื่ อ การสอนของจริ ง ได แ ก อุ ป กรณ ปองกันอันตรายสวนบุคคล 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง วิ ธี ก าร 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 22-27

1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ง านที่ ปลอดภัย หนาที่ 22-27 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรียนรูโดยใชวิธีถาม-ตอบกับผูรับการฝกโดย เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ ใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอดเปน เรียบรอย ความรูใหมพรอมใชสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:0002:49 และคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 24-25 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 หลักการใชเครื่องมือและอุปกรณอยาง ปลอดภัย 3. ให ผู รั บ การฝ ก ดู ตั ว อย า งอุ ป กรณ ป อ งกั น 3. ดูตัวอยางอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลของ อันตรายสวนบุคคลของจริง จริง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 26-27 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 26-27 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 37 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง วิธีการปฏิบัติงาน อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ที่ปลอดภัย ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง วิธีการปฏิบัติงาน ที่ ปลอดภั ยเกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุ ณลั กษณะที่ ตองการบู ร ณาการคุ ณธรรม จริ ยธรรม และใบทดสอบ

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 วิธีการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย ผูปฏิบัติงานทุกคนควรยึดถือและปฏิบัติตามหลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย งายตอ การควบคุมดูแล และปองกันการเกิดอันตรายระหวางปฏิบัติงาน 1. หลักการปฏิบัตงิ านที่ปลอดภัย หลักการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย มี 10 ขอ ดังตอไปนี้ 1) แตงกายใหรัดกุมเหมาะสมกับการปฏิบัติงาน

ภาพที่ 2.1 การแตงกายที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน 2) ตรวจสอบอุปกรณ เครื่องมือ และเครื่องจักรใหอยูในสภาพพรอมใชงาน 3) ไมใชเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณตาง ๆ หากยังไมไดรับคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีการใช 4) สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทุกครั้ง เมื่อตองปฏิบัติงานที่อาจเกิดอันตราย 5) ไมเลนหรือหยอกลอกันในขณะปฏิบัติงาน 6) ถาอุปกรณการใชงาน เครื่องมือ หรือเครื่องจักร ชํารุดขณะปฏิบัติงานตองแจงผูควบคุมทราบทันที 7) ถาเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน ตองแจงผูควบคุมทราบทันที 8) ทําความสะอาดอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร และพื้นโรงงานใหเรียบรอย หลังการปฏิบัติงานทุกครั้ง 9) หามนําเครื่องมือหรืออุปกรณใด ๆ ออกนอกบริเวณโรงงานโดยไมไดรับอนุญาต 10) ผูปฏิบัติงานตองศึกษาและปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยของโรงงานอยางเครงครัด

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. หลักการใชเครื่องมือและอุปกรณอยางปลอดภัย เครื่องมือและอุปกรณถือเปนสิ่งสําคัญในการปฏิบัติงานชาง จึงตองมีการกําหนดหลักการใชเครื่องมือและอุปกรณอยาง ปลอดภัย ใหผูปฏิบัติงานปฏิบัติตาม เพื่อใหการทํางานประสบความสําเร็จ และปลอดภัย โดยหลักการใชเครื่องมื อ และ อุปกรณอยางปลอดภัย มี 8 ขอ ดังตอไปนี้ 1) เลือกใชเครื่องมือหรืออุปกรณที่เหมาะสมกับงาน 2) เลือกใชเครื่องมือหรืออุปกรณที่อยูในสภาพพรอมใช 3) ใชเครื่องมือหรืออุปกรณอยางถูกวิธี 4) สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทุกครั้ง

ภาพที่ 2.2 สวมอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนปฏิบัติงาน 5) หามทํางานกับเครื่องมือหรือเครื่องมือกลที่ไมไดรับมอบหมาย 6) เมื่อตองใชงานเครื่องมือกลที่หมุนได หามสวมถุงมือ เสื้อผาที่ไมรัดกุม และเครื่องประดับเด็ดขาด 7) หามใชอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งหยุดเครื่องมือกล 8) เมื่อปดเครื่องมือกลแลว ใหรอดูจนกวาเครื่องจะหยุดสนิท เพื่อปองกันไมใหบุคคลอื่นไดรับอันตราย

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. ไมใชเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ หากยังไมไดรับคําแนะนําวิธีการใช 2. หยอกลอกับเพื่อนระหวางปฏิบัติงาน เพื่อผอนคลายความตึงเครียด 3. เมื่อเกิดอุบัติเหตุระหวางปฏิบัติงาน ตองแจงผูควบคุมทันที 4. นําเครื่องมือและอุปกรณของศูนยฝกอบรมกลับไปใชงานที่บาน 5. ใชมือหยุดเครื่องมือกลที่กําลังทํางาน 6. หามสวมถุงมือ เมื่อตองใชงานเครื่องมือกลที่หมุนได 7. ตรวจสอบสภาพเครื่องมือกอนนํามาใชงานทุกครั้ง 8. อยูทํางานลวงเวลาเพียงลําพัง เพื่อใหงานสําเร็จ 9. ศึกษาวิธีการใชกฎระเบียบและปฏิบัติตามอยางเครงครัด 10. สวมแวนตานิรภัยเมื่อตองปฏิบัติงานเกี่ยวกับน้ํากรด

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921010103 กฎของโรงงาน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายกฎของโรงงานและปายเตือนตาง ๆ ได

2. หัวขอสําคัญ 1. กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 2. ปายเตือนตาง ๆ ในโรงงาน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201 กฎระเบียบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.craft-skill.com/_m/article/ content/content.php?aid=554586 การบริหารงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สีและเครื่องหมายความปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=web&cd =7&ved=0ahUKEwjg6Iuro-DXAhUM448KHT9cAJgQFgg2MAY&url=http%3A%2F%2Fcompacpaint.com %2Fsym%2Froot%2Fvar%2Fwww%2Fhtml%2Fwebmail%2Fdatabase%2Finfo_1241miraculous.com_local host%2F_attachments%2Fe7c76e7d362bc1ce81437f783235b0cb_697856_%25CA%25D5%25E1%25C5%2 5D0%25E0%25A4%25C3%25D7%25E8%25CD%25A7%25CB%25C1%25D2%25C2%25A4%25C7%25D2%25 C1%25BB%25C5%25CD%25B4%25C0%25D1%25C2.doc&usg=AOvVaw1s280SzTdY7zPK5seHg56M

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 28-38 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก ตัวอยางปาย เตือนประเภทตาง ๆ 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับกฎของโรงงาน

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง กฎของโรงงาน 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 28-38

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง กฎของโรงงาน หนาที่ 28-38 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00:00-05:24 และคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 31-35 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 กฎทั ่ว ไปเกี ่ย วกับ ความปลอดภัย ใน การปฏิบัติงาน 2.2 ปายเตือนตาง ๆ ในโรงงาน 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 3. ให ผู รั บ การฝ กดู ตัว อย า งป า ยเตื อนประเภท 3. ดูตัวอยางปายเตือนประเภทตาง ๆ ตาง ๆ 4. มอบหมายให ทําใบทดสอบจากคู มือผูรั บการ 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 36-38 โดยครูคอยสังเกต ฝก หนาที่ 36-38 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 49 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง กฎของโรงงาน อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อง กฎของโรงงาน เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 กฎของโรงงาน ผูปฏิบัติงานควรปฏิบัติตามกฎและขอปฏิบัติดานความปลอดภัย ดังตอไปนี้ 1. กฎทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน 1) ปฏิบัติตามระเบียบ คําแนะนําตาง ๆ อยางเครงครัด ไมฉวยโอกาสหรือละเวน ถาไมทราบไมเขาใจใหถาม เจาหนาที่ความปลอดภัยหรือหัวหนางาน 2) เมื่อพบเห็นสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย หรือพบวาเครื่องมือเครื่องใชชํารุดไมอยูในสภาพที่ปลอดภัย ตองรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว

ภาพที่ 3.1 เครื่องมือที่อยูในสภาพไมปลอดภัย 3) สังเกตและปฏิบัติตามปายหามปายเตือนอยางเครงครัด 4) หามบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขาไปบริเวณทํางานที่ตนไมมีหนาที่เกี่ยวของ 5) อยาทํางานในที่ลับตาคนเพียงผูเดียวโดยไมมีใครทราบ โดยเฉพาะการทํางานหลังเวลาทํางานปกติ 6) แตงกายใหเรียบรอยรัดกุม และหามถอดเสื้อในขณะที่ปฏิบัติงานตามปกติ 7) ใสหมวกนิรภัยตลอดเวลาทํางานตามที่เครื่องหมายบังคับกําหนด 8) หามใสรองเทาแตะ ตองใสรองเทาหุมสนตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใสได

ภาพที่ 3.2 หามใสรองเทาแตะในขณะปฏิบัติงาน 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

9) หามหยอกลอเลนกันในขณะปฏิบัติงาน 10) หามเสพของมึนเมา และเขามาในสถานที่ปฏิบัติงานในลักษณะมึนเมาโดยเด็ดขาด 11) หามปรับแตงหรือซอมแซมเครื่องจักรกล และอุปกรณไฟฟาที่ตัวเองไมมีหนาที่หรือไมไดรับอนุญาต ตองให ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเทานั้นเปนผูดําเนินการ 12) ใชอุปกรณปองกันตาง ๆ และรักษาอุปกรณเหลานั้นใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ 13) หากไดรับบาดเจ็บ ตองรายงานใหหัวหนางานและเจาหนาที่ความปลอดภัยทราบ เพื่อสอบถามสาเหตุหาวิธีปองกัน และแจงใหผูปฏิบัติงานอื่น ๆ และรับการปฐมพยาบาลเพราะหากปลอยไวอาจเกิดอันตรายในภายหลัง 14) หากหัวหนางานเห็นวาผูใตบังคับบัญชาไมอยูในสภาพที่จะทํางานไดอยางปลอดภัย ตองสั่งใหหยุดพักทํางานทันที 2. ปายเตือนตาง ๆ ในโรงงาน สัญลักษณปลอดภัย หรือ safety sign หมายถึง เครื่องหมายที่ใชสื่อความหมายอยางเฉพาะเจาะจงกับผูที่อาจไดรับ อันตรายในสถานที่ทํางาน การปฏิบัติตามสัญลักษณและเครื่องหมายความปลอดภัยอยางเครงครัดจะชวยลดความสูญเสีย อันเนื่องมาจากอุบัติภัยตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได โดยสัญลักษณความปลอดภัยจะใชสีและมีสัญลักษณหรือภาพที่ตรงกลางของ เครื่องหมาย เพื่อแสดงความหมายที่แตกตางกัน ดังนี้ สีเพื่อความปลอดภัย

สีตัด

สีแดง

สีขาว

ความหมาย - หยุด

ตัวอยางการใชงาน - เครื่องหมายหยุด - เครื่องหมายอุปกรณหยุดชั่วคราว - เครื่องหมายหาม - ระบบดับเพลิง

สีเหลือง

สีดํา

- ระวัง

- ชี้บงวามีอันตราย

- มีอันตราย

(เชน ไฟ วัตถุระเบิด) - ชี้บงถึงเขตอันตราย - เครื่องหมายเตือน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สีเพื่อความปลอดภัย

สีตัด

ความหมาย

สีฟา

สีขาว

- บังคับใหตอง ปฏิบัติ

สีเขียว

สีขาว

- แสดงภาวะ ปลอดภัย

ตัวอยางการใชงาน - บังคับใหสวมเครื่องปองกันสวนบุคคล - เครื่องหมายบังคับ

- ทางหนี - ทางออกฉุกเฉิน - หนวยปฐมพยาบาล - หนวยกูภัย - แสดงภาวะปลอดภัย

ภาพที่ 3.3 สัญลักษณความปลอดภัย 2.1 สัญลักษณปลอดภัย จะแบงเปน 4 ประเภท คือ 1) เครื่องหมายหาม เปนรูปวงกลม มีแถบตามขอบและเสนตัดขวางเปนสีแดง พื้นเปนสีขาว สวนภาพหรือ สัญลักษณภายในเปนสีดํา เชน หามดื่มสุรา หามสูบบุหรี่ หามสัมผัส หามจุดไฟ หามใชเครื่องจักร หาม สวมรองเทาแตะ หามปน และหามเดินหรือยืนบริเวณนี้ ดังภาพ

ภาพที่ 3.4 เครื่องหมายหาม

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) เครื่องหมายเตือน เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา มีแถบตามขอบเปนสีดํา พื้นเปนสีเหลือง สวนภาพหรือ สัญลักษณภายในเปนสีดํา เชน ระวังอันตราย ระวังไฟฟาแรงสูง ระวังสารกัมมันตภาพรังสี ระวังความรอน ระวังวัตถุไวไฟ ระวังตก ระวังประกายไฟ และระวังของตกจากที่สูง ดังภาพ

ระวังอันตราย

ระวังรอน

ระวังวัตถุไวไฟ

ระวังไฟฟาแรงสูง ระวังสารกัมมันตภาพรังสี

ระวังตก

ระวังประกายไฟ ระวังของตกจากทีส่ ูง

ภาพที่ 3.5 เครื่องหมายเตือน 3) เครื่องหมายบังคับ ซึ่งเปนการบังคับใหตองปฏิบัติตาม จะเปนรูปวงกลมสีน้ําเงิน ในกรอบดํา มีภาพหรือ สั ญลั กษณ ภายในเป นสี ขาว เช น สวมชุ ดป องกั นสารเคมี สวมกระบั งหน านิ รภั ย สวมรองเท านิ ร ภั ย สวมแว นตานิ รภั ย สวมถุ งมื อนิ รภัย ตองสวมชุดปกปองรางกาย สวมหมวกนิรภัย และตองสวมเสื้อผา สะทอนแสง ดังภาพ

ภาพที่ 3.6 เครื่องหมายบังคับ

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4) เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผา พื้นเปนสีเขียว สวนภาพหรือสัญลักษณภายในเปนสีขาว เชน สภาวะความปลอดภัย ชําระลางดวงตาฉุกเฉิน ปุมกด สําหรับหยุดฉุกเฉิน น้ําชําระลางฉุกเฉิน โทรศัพทฉุกเฉิน ปฐมพยาบาล ทางหนีไฟ ทางออก ดังภาพ

ภาพที่ 3.7 เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. บุคคลใด ไมปฏิบัติตามกฎของโรงงานอยางเครงครัด ก. ขจรเดชนําเครื่องมือที่ชํารุดไปซอมบํารุงดวยตนเอง ข. ศักดิ์ดาสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งเมื่ออยูในพื้นที่ปฏิบัติงาน ค. อํานาจสวมรองเทานิรภัยตลอดเวลา ง. อนุชาแจงหัวหนางานทันทีหลังพบวาเครื่องจักรทํางานผิดปกติ 2. ขอใด ไมถือ เปนกฎทั่วไปที่เกี่ยวกับความปลอดภัย ก. หามทํางานในที่ลับตาตามลําพัง ข. อานปายเตือนและปฏิบัติตามอยางเครงครัด ค. หามพาบุคคลภายนอกเขาเยี่ยมชมบริเวณที่ปฏิบัติงาน ง. ทําความสะอาดสถานที่ปฏิบัติงานทุก 1 สัปดาห 3.

สัญลักษณขางตน มีความหมายวาอยางไร ก. ระวังไฟฟาแรงสูง ข. ระวังอันตราย ค. ระวังวัตถุระเบิด ง. ระวังสารกัมมันตภาพรังสี

4. ปายสัญลักษณความปลอดภัยที่ “บังคับใหตองปฏิบัติตาม” จะใชสีใด ก. สีแดงตัดขาว ข. สีเหลืองตัดดํา ค. สีฟาตัดขาว ง. สีเขียวตัดขาว

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5.

ภาพขางตน จัดเปนเครื่องหมายประเภทใด ก. เครื่องหมายบังคับ ข. เครื่องหมายหาม ค. เครื่องหมายเตือน ง. เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921010104 การใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได 2. ใชอปุ กรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได

2. หัวขอสําคัญ 1. ความหมายของอุปกรณปองกันสวนบุคคล 2. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 3. ประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ - ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 1 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ชุดปองกันที่ทําจากหนัง จํานวน 1 ชุด 2) โตะสําหรับวางอุปกรณ จํานวน 1 ตัว 3) ถุงมือตาขายโลหะ จํานวน 1 คู 4) ถุงมือหนังสัตว จํานวน 1 คู 5) ที่ครอบหูลดเสียง จํานวน 1 อัน 6) รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะ จํานวน 1 คู 7) แวนตานิรภัย จํานวน 1 อัน 8) หนากากกรองสารเคมี จํานวน 1 อัน 9) หนากากกรองอนุภาค จํานวน 1 อัน 10) หนากากเชื่อม จํานวน 1 อัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา. แผนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการที่ 5 เรื่อง เครื่องปองกันอันตราย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://building.cmtc.ac.th/main/images/stories/kartisak/ Rsewa%20Rnamai/ week%205.pdf

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 39-61 5. เตรี ย มสื่ อ การสอนของจริ ง ได แ ก อุ ป กรณ ปองกันอันตรายสวนบุคคล 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ การใช อุ ป กรณ ป อ งกั น ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช อันตรายประเภทตาง ๆ ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง การใชอุปกรณ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 39-61 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง การใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ หนาที่ 39-61 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใหม พร อม และคูมือผู รั บ การฝก หนาที่ 42-48 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หลั ก เกณฑ ใ นการใช อุ ป กรณ ป อ งกั น อันตรายสวนบุคคล 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 ประเภทของอุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตราย สวนบุคคล 2.3 ความแตกตางในการใชงานของอุปกรณ ป อ งกั น อั น ตรายแต ล ะประเภท เช น ความแตกตางของถุงมือ แตละประเภท เปนตน 3. มอบหมายให ทําใบทดสอบจากคู มือผูรั บการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 49-51 โดยครูคอยสังเกต ฝก หนาที่ 49-51 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 65 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 4.1 การตรวจสอบ 5. ศึ กษาใบงานที่ 4.1 การตรวจสอบและใช อุ ปกรณ และใช อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ป องกั นอั นตรายส วนบุ คคล จากคู มื อผู รั บการฝ ก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 52-61 หนาที่ 52-61 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 6. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-06:54 พรอม 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 การตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกัน อันตรายสวนบุคคลกอนใชงาน 6.2 การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวน บุคคลใหเหมาะสมกับงานที่จะปฏิบัติ 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 8. รับ วัส ดุ- อุป กรณแ ละเครื่อ งมือ ปฏิบัติง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้น ตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับ การฝก หนาที่ หนาที่ 68-69 54-55 9. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 10. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง การใชอุปกรณ ปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่ อง การใชอุป กรณ ปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ เกี่ยวกับกิจนิสัยในการ ปฏิ บั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู รณาการ คุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ อุปกรณปองกันสวนบุคคลโดยทั่วไปมักจะเรียกกันวา อุปกรณนิรภัย หรือ เซฟตี้ (Safety) 1. ความหมายของอุปกรณปองกันสวนบุคคล อุปกรณปองกันสวนบุคคล หมายถึง อุปกรณที่ใชสวมใสอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย เพื่อปองกันอันตรายจากการปฏิบัติงาน 2. หลักเกณฑในการใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล มีดังนี้ 2.1 เลือกใชอุปกรณใหเหมาะสมกับลักษณะของงาน 2.2 มีการอบรมวิธีการใชที่ถูกตอง 2.3 สรางความเคยชินในการใชอุปกรณ 2.4 กําหนดระเบียบขอบังคับในการสวมอุปกรณปองกันอันตราย 2.5 จัดเตรียมอุปกรณใหเพียงพอตอจํานวนพนักงาน 2.6 ดูแลทําความสะอาดอยางสม่ําเสมอ 2.7 ตรวจสอบและเก็บรักษาอยางถูกวิธี 3. ประเภทของอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อุป กรณปองกัน อัน ตรายสว นบุคคล คือ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ใชส วมใสป กปดอวัย วะบนรางกาย เพื่อปองกัน อัน ตรายตอ อวัยวะสวนตาง ๆ โดยสามารถแบงประเภทตามลักษณะการใชงานได ดังนี้ 3.1 อุปกรณปองกันใบหนาและดวงตา 1) อุป กรณปองกัน ใบหนา (Face Protection) ใชปองกัน อัน ตรายจากเศษวัสดุ สารเคมี และแสงที่จะ เกิดกับใบหนา เชน กระบังปองกันใบหนา หนากากเชื่อม ครอบปองกันใบหนา เปนตน

ภาพที่ 4.1 กระบังปองกันใบหนา

ภาพที่ 4.2 หนากากเชื่อม 56

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 4.3 ครอบปองกันใบหนา 2) อุปกรณปองกันดวงตา (Eye Protection) หรือ แวนตานิรภัย ใชเปนเครื่องปองกันอันตรายสวนบุคคล จากเศษโลหะหรือ วัส ดุตา ง ๆ ซึ่งสําหรับการปฏิบัติงานที่อาจไดรับอันตรายจากรังสีหรือความร อน แวนตานิรภัยจะเปนเลนสสีเขม เพื่อปองกันแสงสวาง แวนตานิรภัยสามารถแบงออกไดเปน 3 แบบ ตาม มาตรฐานแหงชาติอเมริกัน (ANSI) ดังนี้ - ชนิด A ใชปองกันอันตรายที่เกิดขึ้นทางดานหนา

ภาพที่ 4.4 แวนตาปองกันอันตรายชนิด A - ชนิด B ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดจากทุก ๆ ดานของดวงตา

ภาพที่ 4.5 แวนตาปองกันอันตรายชนิด B - ชนิด C ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดจากทางดานขาง

ภาพที่ 4.6 แวนตาปองกันอันตรายชนิด C 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.2 อุปกรณปองกันหู เปนอุปกรณลดความดังของเสียงที่จะมารบกวนตอแกวหูและกระดูกหู เพื่อชวยปองกันอันตราย ที่มีตอระบบการไดยิน และชวยปองกันอันตรายจากเศษวัสดุปลิวเขาหูดวย เชน ที่อุดหู (Ear Plug) ซึ่งใชวัสดุที่ทํา จากยางหรือพลาสติกออนที่มีขนาดพ อ ดี กั บ รู หู แ ล ะ สามารถลดความดังของเสียงได 25 - 30 เดซิเบล และ ที่ค รอบหูล ดเสีย ง (Ear Muffs) ซึ่ง จะมีกานโคงครอบศีรษะและใชวัสดุที่มีค วามนุ ม หุ ม ทั บ สามารถลดระดับ ความดังของเสียงได 35 - 40 เดซิเบล

ภาพที่ 4.7 ที่อุดหู (Ear Plug)

ภาพที่ 4.8 ที่ครอบหูลดเสียง (Ear Muffs)

3.3 อุปกรณปองกันอันตรายของระบบหายใจ ใชปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับระบบหายใจของผูที่ทํางานในสถานที่ ที่มีมลพิษ มีหลายชนิดตามความจําเปนในการใชงาน เชน 1) หนากากกรองสารเคมี ผลิตจากพลาสติกหรือยาง มีลักษณะเปนหนากากปดครึ่งใบหนา และมีที่กรองอากาศ อยูที่บริเวณจมูก ภายในบรรจุผงถาน ซึ่งทําหนาที่ดูดซับ ไอของสารพิ ษ เหมาะสําหรับใช ในพื้ น ที่ ที่ มี อากาศพิษความเขมขนต่ํา ไมเหมาะกับบริเวณที่มีออกซิเจนนอย หรือมีสารเคมีที่ไมมีกลิ่น

ภาพที่ 4.9 หนากากกรองสารเคมี 2) หนากากกรองอนุภาคและไอควันของโลหะ ผลิตจากพลาสติกหรือยาง มีลักษณะเปนหนากากครอบ บริเวณจมูก และมีแผนกรองเพื่อกรองฝุนละออง

ภาพที่ 4.10 หนากากกรองอนุภาคและไอควันของโลหะ 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.4 อุปกรณปองกันกันศีรษะ หรือหมวกนิรภัย (Safety Hat) ใชปองกันอันตรายที่เกิดจากแรงกระแทกหรือการเจาะ ทะลุของวัตถุที่ตกใสศีรษะ โดยหมวกนิรภัยสามารถแบงตามลักษณะการใชงานได 4 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภท A ทําจากพลาสติกหรือไฟเบอรกลาส เหมาะกับการใชงานทั่วไป เชน งานกอสราง งานโยธา หรืองานเครื่องกล ไมเหมาะกับงานที่เกี่ยวกับไฟฟาแรงสูง ภายนอกหมวกปองกันน้ําไดและไหมไฟชา

ภาพที่ 4.11 หมวกนิรภัยประเภท A 2) ประเภท B ทําจากพลาสติกหรือไฟเบอรกลาส ไมมีรูที่หมวก ปองกันแรงดันไฟฟาไดสูงกวาแบบ A เหมาะ สําหรับงานที่เกี่ยวกับไฟฟาแรงสูง เชน งานเดินสายไฟ เปนตน

ภาพที่ 4.12 หมวกนิรภัยประเภท B 3) ประเภท C ทําจากวัส ดุที่เ ปนโลหะ ไมส ามารถปองกัน แรงดัน ไฟฟาได แตส ามารถทนแรงกระแทก หรือแรงเจาะไดดี เหมาะกับงานที่ไมเกี่ยวของกับกระแสไฟฟา

ภาพที่ 4.13 หมวกนิรภัยประเภท C 4) ประเภท D ใชในการปองกันไฟและแรงดันไฟฟา ทนความรอนสูงเพราะทําจากวัสดุที่ไมไหมไฟ และไมเปน ตัวนําไฟฟา เหมาะสําหรับงานประเภทดับเพลิง 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 4.14 หมวกนิรภัยประเภท D 3.5 อุปกรณปองกันเทา หรือรองเทานิรภัย (Safety Shoes) ใชปองกันอันตรายจากเศษวัสดุและเชื้อโรค โดยรองเทา นิรภัยมีอยูดวยกันหลายประเภท เชน 1) รองเท าชนิ ดหั วโลหะ ใชปองกันอั นตรายจากของแหลมคม ทนทานตอแรงกระแทกและความร อน ซึ่ง สามารถรองรับน้ําหนั กได 2500 ปอนด และทนแรงกระแทกของวัตถุหนั กที่ตกจากที่สู ง 1 ฟุต ได 50 ปอนด

ภาพที่ 4.15 รองเทาชนิดหัวโลหะ 2) รองเทาตัวนําไฟฟา เหมาะกับงานที่เกี่ยวของกับกระแสไฟฟา เพราะมีตัวนําไฟฟาสําหรับใหประจุไฟฟา ไหลผานไป

ภาพที่ 4.16 รองเทาตัวนําไฟฟา

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.6 อุปกรณปองกันมือ หรือถุงมือนิรภัย ใชปองกันอันตรายในรูปแบบตาง ๆ ขึ้นอยูกับประเภทของงาน มีอยูดวยกัน หลายประเภท เชน 1) ถุงมือตาขายโลหะ ผลิตจากโลหะที่มีคุณสมบัติยืดได ใชสําหรับปองกันรอยขีดขวนหรือถูกของมีคมบาด

ภาพที่ 4.17 ถุงมือตาขายโลหะ 2) ถุงมือหนังสัตว ผลิตจากหนังสัต วที่มีเ หนีย วและทนทาน ใชสําหรับ ปองกัน อัน ตรายจากประกายไฟ และความรอนจากการใชเครื่องมือตัดหรือเชื่อม

ภาพที่ 4.18 ถุงมือหนังสัตว 3) ถุงมือกันความรอน โดยมากผลิตจากวัสดุตานทานความรอน เชน ยางไนไตร หรือเคฟลา ใชสําหรับ ปองกันอันตรายเมื่อตองสัมผัสกับความรอน

ภาพที่ 4.19 ถุงมือกันความรอน 4) ถุงมือพลาสติก ผลิตจากพลาสติกบาง ใชปองกันฝุนหรือสิ่งสกปรกอื่นๆ ที่อาจทําใหเกิดอาการแพหรือ ระคายเคือง เหมาะสําหรับงานทั่วไป 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 4.20 ถุงมือพลาสติก 3.7 อุ ปกรณ ปองกั น พิ เ ศษที่ ใ ช งานเฉพาะ คือ อุป กรณที่ใชเพื่อความสะดวกและความปลอดภัย สําหรับ งานบาง ประเภท มีอยูดวยกันหลายประเภท เชน 1) อุป กรณปอ งกัน ลํา ตัว ทําจากแผน หนัง ใยทอชนิด เหนีย ว ยางสังเคราะห หรือพลาสติก ขึ้น อยูกับ ลักษณะการใชงาน เชน ในงานที่ตองเสี่ยงอันตรายจากความรอน ควรใชอุปกรณปองกันตัวที่ทําจาก วัสดุทนความรอน

ภาพที่ 4.21 หนังกันเปอน 2) ชุด ปองกัน ที่ทําจากหนัง ใชปองกัน รางกายจากการทํา งานที่ตองเสี่ย งอัน ตรายจากความรอ นและ ประกายไฟ เชน งานเชื่อมหรืองานหลอมโลหะ งานที่เกี่ยวกับรังสี ชุดประเภทนี้ปองกันแรงกระแทก ไดไมมากนัก

ภาพที่ 4.22 ชุดปองกันที่ทําจากหนัง 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ ความหมายของอุปกรณปองกันสวนบุคคล ก. อุปกรณที่สวมใสเพื่อปองกันอันตราย ข. อุปกรณของใชสวนบุคคล ค. อุปกรณสําหรับใชในงานชางพื้นฐาน ง. อุปกรณที่ใชในงานซอมบํารุง 2. ขอใด ไมใช หลักเกณฑในการเลือกใชอุปกรณปองกันอันตราย ก. ใชอุปกรณเหมาะกับลักษณะงาน ข. เลือกอุปกรณที่อยูในสภาพใหม ค. ปฏิบัติตามขอบังคับในการสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ง. อบรมวิธีการใชงานอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 3. ขอใด คือ อุปกรณปองกันใบหนา ก. แวนตานิรภัย ข. ที่ครอบหูลดเสียง ค. หนากากกรองสารเคมี ง. หนากากเชื่อม 4. ขอใด คือ อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่จําเปนสําหรับงานเปาทําความสะอาดกรองอากาศแบบแหง ก. หมวกนิรภัยประเภท C ข. ที่ครอบหูลดเสียง ค. หนากากกรองอนุภาค ง. รองเทาตัวนําไฟฟา

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ถาตองปฏิบัติงานเกี่ยวกับวัสดุมีคม ควรเลือกใชถุงมือประเภทใด ก. ถุงมือตาขายโลหะ ข. ถุงมือหนังสัตว ค. ถุงมือพลาสติก ง. ถุงมือยาง

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใชอุปกรณปองกันอันตรายประเภทตาง ๆ ได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหถูกตองตามสถานการณที่กําหนด เพื่อนํามา ตรวจสอบสภาพและบันทึกผลลงในตาราง พรอมทั้งสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เพื่อฝกปฏิบัติงาน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ สถานการณที่กําหนด

อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

เชื่อมโลหะโดยใช เครื่องเชื่อมไฟฟา

ตัดโลหะโดยใช หินเจียระไน

เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่

ไลลมเบรก

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชํารุด

ความเสียหาย


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สถานการณที่กําหนด

อุปกรณปองกันอันตราย ที่เลือกใช

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

เปาทําความสะอาด ไสกรองอากาศ

ปฏิบัติงานในหองที่มี สารเคมี

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชํารุด

ความเสียหาย


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดปองกันที่ทําจากหนัง

จํานวน 1 ชุด

2. โตะสําหรับวางอุปกรณ

จํานวน 1 ตัว

3. ถุงมือตาขายโลหะ

จํานวน 1 คู

4. ถุงมือหนัง

จํานวน 1 คู

5. ที่ครอบหูลดเสียง

จํานวน 1 อัน

6. รองเทานิรภัยชนิดหัวโลหะ

จํานวน 1 คู

7. แวนตานิรภัย

จํานวน 1 อัน

8. หนากากกรองสารเคมี

จํานวน 1 อัน

9. หนากากกรองอนุภาค

จํานวน 1 อัน

10. หนากากเชื่อม

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบและใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จัดเตรียมอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ครูฝกจัดเตรียมอุปกรณปองกันอันตราย

2. เลือกหยิบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

สวนบุคคลชนิดตาง ๆ ไวบนโตะ ผู รั บ การฝ ก เลื อ กหยิ บ อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลให เ หมาะส มกั บ สถานการณที่ใบงานกําหนด

3. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย

ตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ ป อ งกั น

สวนบุคคล

อั น ตรายส ว นบุ ค คลทั้ ง ภายนอก และ ภายในว า อยู ใ นสภาพพร อ มใช ง าน หรื อ ชํารุด

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. บันทึกผลลงในตาราง

คําอธิบาย บันทึกสภาพของอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคลลงในตารางบันทึกผล

5. ทําตามขั้นตอนที่ 2-4 จนครบทุกสถานการณที่ หลัง จากบัน ทึก ผลแลว ใหผู ร ับ การฝก ใบงานกําหนด

ปฏิบ ัต ิต ามขั ้น ตอนที ่ 2-4 จนกระทั ่ ง ตรวจสอบสภาพของอุป กรณป  อ งกั น อัน ตรายสว นบุ ค คลครบทุ ก สถานการณ ที่ใบงานกําหนด

6. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ผูรับการฝกสวมทดลองใสอุปกรณป องกัน อันตรายสวนบุคคล สําหรับปฏิบัติงาน ดังนี้ - เชื่อมโลหะดวยเครื่องเชื่อมไฟฟา - ตัดโลหะโดยใชหินเจียระไน - เติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ - ไลลมเบรก - เปาทําความสะอาดไสกรองอากาศ

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

7. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

รายการตรวจสอบ เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ ครบถวน การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเชื่อมโลหะโดยใชเครื่องเชื่อมไฟฟา การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับตัดโลหะโดยใชหินเจียระไน การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับไลลมเบรก การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเปาทําความสะอาดไสกรองอากาศ การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับการปฏิบัติงานในหองที่มีสารเคมี การตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ ป อ งกั น อันตรายสวนบุคคล การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณหลัง ปฏิบัติงาน เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

เกณฑการพิจารณา ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัตงิ าน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทันเวลาที่กําหนด


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น เชื่อมโลหะโดยใชเครื่องเชื่อมไฟฟา

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตราย สําหรับตัดโลหะ

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

โดยใชหินเจียระไน

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน

5

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับเติม

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

น้ํากลั่นแบตเตอรี่

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน

5

อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

ไลลมเบรก

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

6

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เปาทําความสะอาดไสกรองอากาศ

เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน

คะแนน เต็ม 5

เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การเลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล สําหรับ เลือกใชอุปกรณปอ งกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ปฏิบัติงานในหองที่มีสารเคมี

5

ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกใชอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน

8

การตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวน

5

ทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 9

การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 5 คะแนน

5

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 10

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 11

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 12

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

52

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 36 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 0921010105 หลักการเบื้องตนของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได 2. ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได

2. หัวขอสําคัญ 1. การปองกันการเกิดอัคคีภัย 2. หลักการดับเพลิงเบื้องตน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ - น้ํามันเชื้อเพลิง 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กระบะสําหรับจุดกองไฟ 2) ชุดดับเพลิง 3) ถังดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซด 4) ถังดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา 5) ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง 6) ถังดับเพลิงชนิดโฟม 7) ถังดับเพลิงชนิดสารสะอาด 8) ถุงมือหนังสัตว 9) ไมขีดไฟ หรือ ไฟแช็ก 10) รองเทาดับเพลิง 11) หมวกนิรภัยประเภท D

จํานวน 1 แกลลอน จํานวน 1 กระบะ จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ถัง จํานวน 1 ถัง จํานวน 1 ถัง จํานวน 1 ถัง จํานวน 1 ถัง จํานวน 1 คู จํานวน 1 อัน จํานวน 1 คู จํานวน 1 ใบ

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณะภัย เขต 11 สุราษฎรธานี. เอกสารประกอบการฝกอบรม วิชาการปองกันและระงับ อัคคีภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.kamphaengsaen.go.th/work_infomation/2557/ fire_protect.pdf

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 62-82 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริ ง ได แก ถั งดับเพลิง ประเภทตาง ๆ 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ หลั ก การเบื้ อ งต น ของ ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช การปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง หลักการเบื้องตน 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 62-82

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง การใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ หนาที่ 62-82 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใหม พร อม และคู มือผู รั บ การฝก หนาที่ 65-70 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 การปองกันการเกิดอัคคีภัย 2.2 หลักการดับเพลิงเบื้องตน 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก - ประเภทของไฟ - หลักในการดับเพลิง - ชนิดของถังดับเพลิง - วิธีการใชถังดับเพลิง - การตรวจสอบถังดับเพลิง 3. มอบหมายให ทําใบทดสอบจากคู มือผูรั บการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 71-73 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม ฝก หนาที่ 71-73 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ หนาที่ 90 เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 5.1 การตรวจสอบ 5. ศึ ก ษาใบงานที่ 5.1 การตรวจสอบและการใช ถั งดั บเพลิ ง จากคู มื อผู รั บการฝ ก หน าที่ 74-82 และการใช ถั ง ดั บ เพลิ ง จากคู มือผู รับการฝก ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ หนาที่ 74-82 6. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-05:15 พรอม 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 ประเภทของถังดับเพลิงและการเลือกใช ถังดับเพลิงที่เหมาะสม 7.2 การตรวจสอบสารภาพถังดับเพลิง 7.3 หลักการดับเพลิงเบื้องตน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 8. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้น ตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับ การฝก หนาที่ ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก 75-76 หนาที่ 92-93 9. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ความปลอดภัย ปฏิบัติงานอยางใกลชิด 10. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง หลักการเบื้องตน ของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง หลักการเบื้องตน ของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง เกี่ยวกับกิจ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการ บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 หลักการเบื้องตนของการปองกันอัคคีภัยและการดับเพลิง อัคคีภัย คือ ภัยที่เกิดจากไฟ และมีการลุกลามตอเนื่องไปตามบริเวณที่มีเชื้อเพลิง ซึ่งอาจสงผลใหเกิดความสูญเสียทั้งชีวิต และทรั พ ย สิ น ดั ง นั้ น ควรมี ก ารวางแผนป อ งกั น และมี ค วามรู พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บ การดั บ เพลิ ง เพื่ อ เตรี ย มพร อ มรั บ มื อ หากเกิดเหตุการณไมคาดคิดขึ้น 1. การปองกันการเกิดอัคคีภัย 1) ระบบไฟฟ า เลือกใช อุ ป กรณ ไ ฟฟา ที่มีคุณ สมบัติเ หมาะสมกับ พื้น ที่ใชง าน และหลัง เลิก ใชง านทุก ครั้ ง ควรปดสวิตชและดึงปลั๊กไฟออกทุกครั้ง 2) การบํารุงรักษาเครื่องจักร ตรวจสอบและซอมบํารุงอยางเปนระบบ เพื่อปองกันการเกิดอัคคีภัยจากการชํารุ ด เสียหายของอุปกรณ 3) การสํารวจและตรวจสอบ หมั่นตรวจสอบดูแลความเรียบรอยทั้งภายในและนอกอาคาร จัดเก็บสารเคมีอยาง ถูกวิธีตามเอกสารขอมูลและความปลอดภัยเกี่ยวกับเคมีภัณฑ รวมไปถึงการบํารุงรักษาเครื่องจักร และ ระบบไฟฟาอยูเสมอ 4) การฝกอบรมผูปฏิบัติงาน จัดการอบรมเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และการปฏิบัติตนที่ปลอดภัย ใหกับผูปฏิบัติงาน ทุกคน เพื่อใหเ กิด ความเขาใจและนําไปปฏิบัติต าม นอกจากนี้ควรจัด ใหมีการฝกอบรมและซอมหนีไฟ อยางนอย ปละ 1 ครั้ง 5) การปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัยที่เกี่ยวของ เชน กรมพัฒ นาและการสงเสริมพลังงานการไฟฟา นครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค หรือพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ.2541 (หมวดที่ 8 ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน) ของกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เปนตน 2. หลักการดับเพลิงเบื้องตน เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม ควรวิเคราะหและแยกแยะประเภทของไฟใหถูกตอง เพื่อใหสามารถรับมือไดอยางถูกวิธี 2.1 ประเภทของไฟ ไฟสามารถแบง ออกได 4 ประเภท ตามลัก ษณะเชื้อ เพลิง มาตรฐาน NFPA (NATION FIRE PROTECTION ASSOCIATION) ดังนี้ 1) ไฟประเภท A คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของแข็งธรรมดา เชน ฟน ไม ใบไมแหง ฟาง กระดาษ พลาสติก หนังสัตว เศษผา นุน เปนตน 82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 5.1 สัญลักษณไฟประเภท A 2) ไฟประเภท B คือ ไฟที่เ กิด จากเชื้อ เพลิงที่เปน ของเหลวและแกส เชน น้ํา มัน ทุก ชนิด แอลกอฮอล ทินเนอร จาระบี ยางมะตอย แกสชนิดตาง ๆ เปนตน

ภาพที่ 5.2 สัญลักษณไฟประเภท B 3) ไฟประเภท C คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของแข็งและมีกระแสไฟไหลเวียนอยู เชน อุปกรณไฟฟา เปนตน

ภาพที่ 5.3 สัญลักษณไฟประเภท C 4) ไฟประเภท D คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงประเภทโลหะและสารเคมีติดไฟ เชน วัตถุระเบิด ปุยยูเรีย เปนตน

ภาพที่ 5.4 สัญลักษณไฟประเภท D

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2.2 หลักในการดับเพลิง แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) กําจัดเชื้อเพลิง - ยายวัตถุที่เปนเชื้อเพลิง หรือพยายามตัดทางหนุนเนื่องของเชื้อเพลิง เชน ปดรูรั่วของถังน้ํามัน ปดวาลวถังแกส เปนตน - ยายเชื้อเพลิงที่ติดไฟออกจากกองเพลิง - แบงวัตถุที่ติดไฟเปนกองเล็ก ๆ เพื่อใหงายตอการดับ 2) การลดอุณหภูมิ - ทําใหเชื้อเพลิงมีอุณหภูมิต่ําลง โดยการใชน้ําหรือสารเคมีเหลวที่เปนตัวลดอุณหภูมิ 3) การคลุมดับหรือกําจัดอากาศ - ลดปริมาณออกซิเจนใหนอยลง โดย ใชผาหอคลุมทําใหอับอากาศ ใชทรายหรือดินรวนเทกลบ หรือ ใชโฟมหรือน้ํายาเปนฟองฉีดคลุมลงไป 2.3 ชนิดของถังดับเพลิง ถังดับเพลิงสามารถแบงได 5 ชนิด ตามสารเคมีที่บรรจุภายในถัง ดังนี้ 1) ชนิดผงเคมีแหง (Dry Chemical) สามารถดับไฟประเภท A B C ยกเวน CLASS K มีราคาถูก หาซื้อง าย แตมีขอเสีย คื อ เมื่อฉีด ออกมาจะฟุ ง กระจาย และหลังจากฉี ด แลว แรงดัน จะตก ไมส ามารถใช ง าน ไดอีก ตองนําไปบรรจุผงเคมีใหม 2) ชนิดเคมีสูตรน้ํา (Low Pressure Water Mist) สารเคมีเปนน้ํายาชื่อวา “ABFFC” ใชสําหรับดับไฟ ไดดี ไมเปนสื่อนําไฟฟา สามารถดับไฟไดทุกประเภท แตราคาจะแพงกวาถังชนิดเคมีแหง เหมาะกับ ใชใ นบา น เนื่อ งจากสามารถดับ ไฟที่เ กิด จากน้ํา มัน ทอดในครัว เรือ นได และหากมีก ารใชง านแลว แมวาจะฉีดสารเคมีไมหมดก็ยังสามารถใชตอได 3) ชนิดสารสะอาด หรือ ฮาโลตรอนวัน สารเคมีภายในบรรจุแกส Halotron-1 เมื่อฉีดแลวจะระเหยไปเอง ไม ทิ้ ง คราบสกปรก สามารถดั บ ไฟประเภท A B C ยกเว น CLASS K เหมาะสํา หรั บ การใชง านใน หองคอมพิวเตอร คลีนรูม ไลนการผลิต หองไฟฟา หองเก็บอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เปนตน 4) ชนิดแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) สารเคมีภายในบรรจุแกสคารบอนไดออกไซด แกสที่ฉีดออกมาจะ เปนไอเย็นจัดคลายน้ําแข็งแหง ชวยลดความรอนของไฟได และไมทิ้งคราบสกปรก อีกทั้งยังสามารถดับไฟ ประเภท B และ C ได จึงเหมาะสําหรับการใชงานในหองเครื่องจักร ไลนการผลิต อุตสาหกรรมอาหาร เปนตน

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5) ชนิด โฟม สารเคมีภ ายในบรรจุโ ฟม เมื่อ ฉีด ออกมาจะเปน ฟองโฟมคลุม ผิว เชื้อ เพลิง ที่ล ุก ไหม จึ ง สามารถดับ ไฟประเภท A และ B ได แตไ มส ามารถดั บ ไฟประเภท C ได เพราะเป น สื่ อ นํา ไฟฟ า เหมาะสําหรับใชในภาคอุตสาหกรรม

ภาพที่ 5.5 ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง

ภาพที่ 5.6 ถังดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา

ภาพที่ 5.7 ถังดับเพลิงชนิดสารสะอาด

ภาพที่ 5.8 ถังดับเพลิงชนิดแกสคารบอนไดออกไซด

ภาพที่ 5.9 ถังดับเพลิงชนิดโฟม

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2.4 วิธีการใชถังดับเพลิง 1) ยืนเหนือลมใหหางจากฐานของไฟประมาณ 2 - 3 เมตร 2) ดึงสลัก หรือลวดที่รั้งวาลวออก 3) ยกหัวฉีดปากกรวยชี้ไปที่ฐานของไฟ ทํามุมประมาณ 45 องศา 4) บีบไกเปดวาลวเพื่อใหแกสพุงออกมา 5) ฉีดไปตามทางยาว และสายสายฉีดไปซาย-ขวาชา ๆ จนไฟดับสนิท ในกรณีที่เกิดเพลิงไหมอยูในระดับตางกัน ใหฉีดจากขางลางขึ้นไปขางบน และถาน้ํามันรั่วไหลใหฉีดจาก ปลายทางที่รั่ว ไหลไปยั งจุ ดที่รั่ ว ไหล และถาเหตุเ พลิง ไหมเ กิดจากอุป กรณไ ฟฟาที่มีกระแสไฟฟา ไหลอยู ตอง รีบตัดกระแสไฟฟากอน เพื่อปองกันมิใหเกิดการลุกไหมขึ้นมาอีกได

ภาพที่ 5.10 วิธีการใชถังดับเพลิง 2.5 การตรวจสอบถังดับเพลิง 1) ตรวจสอบสภาพของสายฉีด วาชํารุดหรืออุดตันหรือไม 2) ตรวจสอบสภาพซีลล็อกของถังดับเพลิงที่อยูตรงคันบีบ วาอยูในสภาพปดเรียบรอยหรือไม 3) คว่ําถังดับเพลิง เพื่อใหสารเคมีภายในกระจายตัว ปองกันการจับตัวเปนกอน 4) ตรวจสอบมาตรวัดความดันของถังดับเพลิง ซึ่งดานขวาจะมีคําวา Over Charge และซายมือจะมีคําวา Recharge หากเข็มสีเหลืองในมาตรวัดเบนไปทางคําวา Over Charge แสดงวาถังดับเพลิงอยูในสภาพ พรอมใชงาน แตหากเข็มเบนไปที่คําวา Recharge แสดงวาถังดับเพลิงขัดของ หรือตองบรรจุใหม

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 5.11 มาตรวัดความดันของถังดับเพลิง

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ หลักการดับเพลิงในขั้นตอนการกําจัดเชื้อเพลิง ก. ใชสารเคมีลดอุณหภูมิของเชื้อเพลิง ข. ใชทรายเทกลบบริเวณกองเพลิง ค. ยายวัตถุที่เปนเชื้อเพลิงออกจากกองเพลิง ง. ฉีดโฟมคลุมลงไปบนกองเชื้อเพลิง 2. วิธีใด คือ การกําจัดอากาศตามหลักการดับเพลิง ก. แบงวัตถุที่ติดไฟเปนกองเล็ก ๆ ข. ใชผาหอคลุมทําใหอับอากาศ ค. ตัดทางหนุนเนื่องของเชื้อเพลิง ง. ฉีดน้ําลงไปบนกองเชื้อเพลิง 3. ขอใด คือ เชื้อเพลิงของไฟประเภท B ก. พลาสติก ข. สารเคมี ค. อุปกรณไฟฟา ง. ยางมะตอย 4. การใชถังดับเพลิงควรยืนในลักษณะใด ก. ยืนเหนือลมหางจากฐานของไฟ 2-3 เมตร ข. ยืนใตลมหางจากฐานของไฟ 5 เมตร ค. ยืนในมุมใดมุมหนึ่งโดยหางจากฐานของไฟ 5 เมตร ง. ยืนในตําแหนงซายของกองเพลิงหางจากฐานของไฟ 2-3 เมตร

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. ขอใดกลาวถึงวิธีใชถังดับเพลิงไดถูกตอง ก. ฉีดเปนทางยาวจอใหตรงกองเพลิง ข. ฉีดในลักษณะยกสายฉีดขึ้นลง ค. ฉีดตามทางยาว และสายซาย-ขวาชา ๆ ง. ฉีดในลักษณะวนเปนวงกลมตามเข็มนาฬิกา

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติตามวิธีการปองกันอัคคีภัยและหลักการดับเพลิงได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบสภาพถังดับเพลิง พรอมบันทึกลงในตารางการตรวจสอบ และทดลองใชถังดับเพลิง ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ รายการอุปกรณ

สภาพของอุปกรณ พรอมใชงาน

ชํารุด

ถังดับเพลิง ถังที่ 1 ถังดับเพลิง ถังที่ 2 ถังดับเพลิง ถังที่ 3 ถังดับเพลิง ถังที่ 4 ถังดับเพลิง ถังที่ 5

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ความเสียหาย


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.1 การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก 1. รองเทานิรภัย 2. ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระบะสําหรับจุดกองไฟ

จํานวน 1 กระบะ

2. ชุดดับเพลิง

จํานวน 1 ชุด

3. ถังดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซด

จํานวน 1 ถัง

4. ถังดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา

จํานวน 1 ถัง

5. ถังดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง

จํานวน 1 ถัง

6. ถังดับเพลิงชนิดโฟม

จํานวน 1 ถัง

7. ถังดับเพลิงชนิดสารสะอาด

จํานวน 1 ถัง

8. ถุงมือหนังสัตว

จํานวน 1 คู

9. ไมขีดไฟ หรือ ไฟแช็ก

จํานวน 1 อัน

10. รองเทาดับเพลิง

จํานวน 1 คู

11. หมวกนิรภัยประเภท D

จํานวน 1 ใบ

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1.5 การเตรียมวัสดุ 1. น้ํามันเชื้อเพลิง

จํานวน 1 แกลลอน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบและการใชถังดับเพลิง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. จัดเตรียมถังดับเพลิง และอุปกรณปองกันอันตราย ครู ฝ ก จั ด เตรี ย มถั ง ดั บ เพลิ ง ชนิ ด ต า ง ๆ สวนบุคคล

และอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหพรอม

2. ตรวจสอบสภาพของถังดับเพลิง

ผู รั บ การฝ ก ตรวจสอบสภาพของถั ง ดับเพลิงวาอยูในสภาพพรอมใชงาน หรือ ชํารุด

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. บันทึกผลลงในตาราง

คําอธิบาย บันทึกสภาพของถังดับเพลิงลงในตาราง บันทึกผล

4. ทําตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 จนครบทุกถังดับเพลิง

หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก ปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 จนกระทั่ งตรวจสอบสภาพของถั ง ดับเพลิงครบทุกถังตามที่ครูฝกกําหนด

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

5. เลือกอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

ผูรับ การฝ ก เลื อ กหยิบ อุป กรณป อ งกัน

6. สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

อ ัน ต ร า ย ส ว น บ ุค ค ล ที ่ใ ช สํ า ห ร ับ ปฏิ บั ติ งานดั บเพลิ ง พร อมทั้ งตรวจสอบ สภาพของอุป กรณ ผู รั บ การฝ ก สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อัน ตรายสว นบุคคล สําหรับ ปฏิบัติง าน ดับเพลิง

7. เตรียมงานสําหรับทดสอบดับเพลิง

ครู ฝ ก จุ ด ไฟในกระบะ โดยใช น้ํ า มั น เชื้อเพลิง

8. ปฏิบัติงานดับเพลิง

ผูรับ การฝกปฏิบัติงานดับ เพลิง โดยยืน

9. ตรวจสอบสภาพกองเพลิง

เหนือลมหางจากฐานของไฟ 2 – 3 เมตร ดึงสลักวาลวถังดับเพลิง ยกปลายกรวย ไปที่ ฐ านของไฟในมุ ม 45 องศา บี บ ไก เปดวาลว และฉีดไปตามทางยาว พรอม สายสายฉีดไปทางซายและขวา ตรวจสอบกองเพลิงวาไฟดับสนิทแลวใช หรือไม

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 10. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน

คําอธิบาย ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอม ทั้ ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใ ห เรียบรอย

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบถังดับเพลิง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การใชถังดับเพลิง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การสวมใสอุป กรณปองกันอันตรายเมื่อใชถัง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ดับเพลิง

7

การปฏิบัติงานดับเพลิงในกระบะ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

9

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 10

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก รองเทา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นิรภัย ชุดปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน

3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบถังดับเพลิง

ตรวจสอบถังดับเพลิงไดอยางถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบถังดับเพลิงไมถูกตอง 1 ถัง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบถังดับเพลิงไมถูกตองมากกวา 2 ถัง ใหคะแนน 1 คะแนน 5

การใชถังดับเพลิง

ใชถังดับเพลิงตามขั้นตอนไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชถังดับเพลิงไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ใชถังดับเพลิงไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

6

รายการตรวจสอบ

การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิง

ขอกําหนดในการใหคะแนน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไดอยาง ถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น

คะแนน เต็ม 3

ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไมครบถวน หรือไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายเมื่อใชถังดับเพลิงไมครบถวน และไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7

การปฏิบัติงานดับเพลิงในกระบะ

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ขามหรือสลับขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 9

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

10

รายการตรวจสอบ

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 3 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

36

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 6 0921010106 วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 2. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

2. หัวขอสําคัญ 1. วิธีการปฏิบัติตามหลัก 3 ต 2. วิธีการพยาบาลคนหมดสติ 3. วิธจี ัดการปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดขณะปฐมพยาบาล

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) เข็มกลัดซอนปลาย 2) ถุงมือพยาบาล 3) เทปปดแผลขนาดตาง ๆ 4) น้ําสะอาด 5) ผาพันแผลหรือผากอซ 6) ผาสะอาด 7) พลาสเตอรปดแผล 8) ไมพันลําสี 9) ยาลางแผลชนิดตาง ๆ 10) ยาสําหรับทาแผลไฟไหม 11) สําลี 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กรรไกร 2) กลองอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน

จํานวน 1 กลอง จํานวน 1 คู จํานวน 3 มวน จํานวน 1 ขวด จํานวน 1 ถุง จํานวน 1 ผืน จํานวน 1 กลอง จํานวน 1 ถุง จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ถุง จํานวน 1 เลม จํานวน 1 เลม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ฉัตรกนก ทุมวิภาต. 2558. CPR GUIDELINE 2015. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.si.mahidol.ac.th/th/ division/cpr/content/CPRnurse2015.pdf ธีรยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางรถยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : บริษัท เอช เอ็น กรุป จํากัด. มีเดียวิกิ. วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://th.wikihow.com/ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต น สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ (สพฉ.). ชุดปฐมพยาบาล สิ่งจําเปนยามเดินทาง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.niems.go.th/th/View/ContentDetails.aspx?CateId=112&ContentId= 25560418094225698

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 83-112 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก อุปกรณปฐม พยาบาลเบื้องตน 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ วิ ธี ก ารปฐมพยาบาล ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช เบื้องตน ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง วิ ธี ก าร 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ปฐมพยาบาลเบื้องตน ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 83-112

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง การใชอุปกรณปองกัน อันตรายประเภทตาง ๆ หนาที่ ไปศึกษา 83-112 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใหม พร อม และคู มือผู รั บ การฝก หนาที่ 84-94 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 วิธีการปฏิบัติตามหลัก 3 ต 2.2 วิธีการพยาบาลคนหมดสติ 104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 วิ ธี จั ด การป ญ หาที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได ข ณะ ปฐมพยาบาล 3. กําหนดสถานการตาง ๆ เชน มีดบาด น้ํารอน 3. เลือกหยิบอุปกรณ ปฐมพยาบาลให เหมาะสมกั บ ลวก ศีรษะแตก เปนตน และใหผูรับการฝ ก สถานการณที่ครูฝกกําหนด เลือกหยิบอุปกรณปฐมพยาบาลใหเหมาะสม กับสถานการณที่กําหนด 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 95-96 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 95-96 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 118 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 6.1 การตรวจสอบ 6. ศึ ก ษาใบงานที่ 6.1 การตรวจสอบอุ ป กรณ ป ฐม อุ ป กรณ ป ฐมพยาบาลเบื้ องตน และการปฐม พยาบาลเบื้องตนและการปฐมพยาบาลเบื้องตน จาก พยาบาลเบื้องตน จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ คูมือผูรับการฝก หนาที่ 97-104 ซักถามขอสงสัย 97-104 ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-05:13 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 การตรวจสอบสภาพอุ ป กรณ ป ฐ ม พยาบาลกอนใชงาน 7.2 การปฐมพยาบาลแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิว 7.3 วิธีการระบายความรอนออกจากแผล 7.4 วิธีการทําความสะอาดบาดแผล 7.5 วิธีการใสยาแผลไฟไหม 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 98หนาที่ 120-121 99 105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 6.2 การฝ ก 13. ศึ ก ษาใบงานที่ ที่ 6.2 การฝ ก ปฐมพยาบาล ปฐมพยาบาลเบื้ องตน จากคูมือผูรั บการฝ ก เบื้องตน จากคูมือผูรับ การฝก หนาที่ 105-112 หนาที่105-112 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 05:13-13:03 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 การตรวจสอบสภาพอุปกรณ ปฐมพยาบาลกอนใชงาน 14.2 การปฐมพยาบาลแผลถลอก 14.3 วิธีการทําความสะอาดแผลถลอก 14.4 วิธีการใสยาแผลถลอก 14.5 การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกแขนหัก 14.6 วิ ธี ก ารประคองแขนผู ป ว ยโดยใช ผ า สะอาด 14.7 วิธีการปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ 14.8 กาตรวจดูการตอบสนองของผูปวย 14.9 วิธีการเปดทางเดินหายใจของผูปวย 14.10 วิธีการชวยหายใจ 14.11 วิธีการนวดหัวใจ 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม หนาที่ 129 ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 106 106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อ ง วิ ธี ก ารปฐม พยาบาลเบื้องตน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง วิ ธี ก ารปฐม พยาบาลเบื้องตน เกี่ยวกับกิจนิ สัย ในการปฏิบั ติง าน และคุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 6 วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน การปฐมพยาบาลเบื้องตน หมายถึง การใหความชวยเหลือผูปวยหรือผูไดรับบาดเจ็บเบื้องตน ดวยการประเมินอาการ และเลือกใชวิธีการชวยเหลืออยางเหมาะสม ดังจะอธิบายตอไปนี้ อุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน อุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน หรือชุดปฐมพยาบาล คือ อุปกรณที่ใชในการชวยเหลือผูไดรับบาดเจ็บในเบื้องตน ที่ควร มีไวประจําบานหรือสถานปฏิบัติงาน เพราะหากเกิดเหตุการณฉุกเฉินขึ้นจะไดมีอุปกรณพรอมใชงานอยูเสมอ ซึ่งถือเปน สิ่งที่ควรใหความสําคัญเปนอยางยิ่ง สวนมากอุปกรณปฐมพยาบาลจะอยูในรูปแบบของกลองปฐมพยาบาลเบื้องตน ซึ่งจะ ประกอบไปดวยอุปกรณตาง ๆ ดังนี้ 1. ถุ ง มื อ พยาบาล ใช สํ า หรั บ ป อ งกั น ไม ใ ห ผู ช ว ยเหลื อ สั ม ผั ส เลื อ ด อาเจี ย น หรื อ สารคั ด หลั่ ง ต า ง ๆ ของ ผูไดรับบาดเจ็บ 2. ยาลางแผล ใชสําหรับลางบาดแผลในเบื้องตน เชน น้ําเกลือ แอลกอฮอล ยาฆาเชื้อ เปนตน 3. ผาพันแผลหรือผากอซขนาดตาง ๆ ใชสําหรับปดบาดแผลหรือหามเลือด 4. เทปปดแผลขนาดตาง ๆ ใชสําหรับติดผาปดแผล 5. พลาสเตอรปดแผล ใชสําหรับปดบาดแผลที่ผานการทําความสะอาดเรียบรอยแลว 6. กรรไกร ใชสําหรับตัดผาปดแผลหรือเสื้อผาของผูไดรับบาดเจ็บ 7. ผาปดตา ใชสําหรับปดตาผูที่ไดรับบาดเจ็บบริเวณดวงตา 8. เข็มกลัดซอนปลาย ใชสําหรับติดผาสามเหลี่ยม ผาคลองคอ หรือผายืดตาง ๆ 9. สําสีและไมพันสําลี ใชสําหรับชุบยาเช็ดบาดแผล และทายาบริเวณรอบ ๆ บาดแผล

ภาพที่ 6.1 อุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน 108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1. วิธีการปฏิบัตติ ามหลัก 3 ต 1.1. ตรวจสอบสภาพแวดลอม ประเมินวาสถานการณหรือสถานที่เกิดเหตุมีสิ่งที่จะกอใหเกิดอันตรายหรือไม เชน แกสพิษ โครงสรางอาคารที่ไมแข็งแรง สายไฟชํารุด เปนตน หากเสี่ยงตอการเกิดอันตราย ใหขอความชวยเหลือ จากผูเชี่ยวชาญทันที เนื่องจากบุคคลเหลานั้นไดรับการฝกฝนและมีความชํานาญมากกวา

ภาพที่ 6.2 การตรวจสอบสภาพแวดลอม 1.2 ติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน กรณีที่ผูปวยหรือผูไดรับบาดเจ็บมีอาการสาหัส

ภาพที่ 6.3 การติดตอขอความชวยเหลือจากเจาหนาที่หรือหนวยบริการฉุกเฉิน 1.3 ตรวจดูแลผูปวย เนื่องจากผูปวยเพิ่งประสบเหตุการณรุนแรง ควรดูแลทั้งรางกายและสภาพจิตใจ

ภาพที่ 6.4 การตรวจดูแลผูปวย 109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. วิธีการพยาบาลคนหมดสติ 2.1 ตรวจดูการตอบสนอง หากผูปวยหมดสติ พยายามปลุกดวยการสะกิดที่มือและเทาเบา ๆ 2.2 ตรวจลมหายใจและชีพจร หากผูปวยไมมีการตอบสนอง ใหตรวจสอบลมหายใจ โดยการสังเกตการขยับขึ้นลงของ หนาอก ฟงเสียงลมหายใจเขาออก 2.3 หากผูปวยยังไมตอบสนอง ใหเตรียมการปมหัวใจ จําและปฏิบัติตามกฎ ABC ในการปมหัวใจ ดังนี้ 1) Airway คือ การเปดทางเดินหายใจใหโลง เนื่องจากโคนลิ้นและกลองเสียงมีการตกลงไปอุดทางเดินหายใจ สวนบนในผูปวยที่หมดสติ มีขั้นตอนดังนี้ - จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง วางแขนสองขางแนบลําตัว - ใหผูชวยเหลือนั่งคุกเขาตรงระดับไหลของผูปวย - แหงนศีรษะของผูปวยโดยใชฝามือขางหนึง่ ดันหนาผาก และใชนิ้วชี้และนิ้วกลางของมือ อีกขาง เชิดคางขึ้น เพื่อทําใหทางเดินหายใจโลง

ภาพที่ 6.5 Airway 2) Breathing การชวยหายใจ เพื่อชวยใหออกซิเจนเขาสูปอดผูปวย สามารถทําได 2 วิธี คือ - วิธีเปาลมเขาปาก ให ผู ช ว ยเหลื อ บี บ จมู ก ของผู ป ว ย โดยผูช ว ยเหลื อ หายใจเข า ปอดลึ ก ๆ 2-3 ครั้ ง เมื่ อ หายใจเข า เต็ ม ที่ แล ว จึ ง ประกบปากให แ นบสนิ ทกับ ปากของผู ป ว ย และเปาลมหายใจเข า ไปในปอดของผู ป ว ยให เ ต็ ม ที่ - วิธีเปาลมเขาจมูก ใชในรายที่มีการบาดเจ็บในปาก หรือในเด็กเล็ก โดยตองปดปากของผูปวยกอน และเปาลม หายใจเข า ทางจมู กแทน ขณะที่เปาใหเหลือบมองทรวงอกของผูปว ยด วยวามี การยกตัวขึ้น หรือไม จากนั้นผูชวยเหลือถอนปากออกจากปากหรือจมูกของผูปวย เพื่อใหผูปวยหายใจออกมา 110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เอง การเปาลมหายใจของผูชวยเหลือผานทางปากหรือจมูก จะตองทําอยางชา ๆ โดยใหผาย ปอด 2 ครั้ง ๆ ละ 1-1.5 วินาที

ภาพที่ 6.6 Breathing 3) Circulation คือ การนวดหัวใจภายนอก เมื่อพบวาผูปวยมีภาวะหัวใจหยุดเตน จะชวยใหมีการไหลเวียน ของเลือด โดยมีขั้นตอนดังนี้ - จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง - วัดตําแหนงที่เหมาะสําหรับการนวดหัวใจ โดยผูชวยเหลือใชนิ้วชี้และนิ้วกลางขางที่ถนัดวาดจาก ขอบชายโครงลางของผูปวยขึ้นไปจนถึงปลายกระดูกหนาอก โดยวัดเหนือปลายกระดูกหนาอก ขึ้นมา 2 นิ้วมือ ใชสันมือขางที่ไมถนัดวางบนตําแหนงดังกลาว และใชสันมือขางที่ถนัด วางทับ ลงไป จากนั้น เกี่ย วใหนิ้ว มือ บนแนบชิด ในรอ งนิ้ว มือ ของมือ ขา งลา ง ยกปลายนิ้วขึ้นจาก หนาอก และตองมั่นใจวาไมกดน้ําหนักลงบนกระดูกซี่โครงของผูปวย - ยืดไหลและแขนทั้ง 2 ขางเหยียดตรง จากนั้นปลอยน้ําหนักตัวผานจากไหลไปสูแขนทั้งสองขาง และลงไปสูกระดูกหนาอกในแนวตั้งฉากกับลําตัวของผูปวย ในผูใหญและเด็กโต ใหกดลงไปลึก ในแนวดิ่งประมาณ 5 เซนติเมตร และไมเกิน 6 เซนติเมตร - ผอนมือที่กดเพื่อใหทรวงอกมีการขยายตัวเต็มที่ ขณะที่ผอนมืออยายกมือออกจากหนาอก ไมจําเปนตองยกมือขึ้นสูง โดยใหมือยังคงสัมผัสอยูที่กระดูกหนาอก - กดหน า อกด ว ยอั ตราความเร็ว 100 -120 ครั้งตอนาที จังหวะการกดแตละครั้ง ใหนับ สอง พยางค คือ “1 และ 2 และ 3 และ ... และ 14 และ 15”” โดยกดหนาอก 30 ครั้ง สลับกับการ ชวยหายใจ 2 ครั้ง หรือก็คือ 30 ตอ 2

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 6.7 Circulation 2.4 ใหความสําคัญเกี่ยวกับขอหามตาง ๆ ในการปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ 1) หามใหอาหารหรือน้ําแกผูปวยหมดสติ อาจเกิดการสําลักได 2) หามยกหัวผูปวยหนุนหมอน 3) หามตบหนาผูปวย เพื่อเรียกสติ 4) หามสาดน้ําใสผูปวย เพื่อเรียกสติ 3. วิธีจัดการปญหาที่อาจเกิดขึ้นไดขณะปฐมพยาบาล 3.1 การติดเชื้อตาง ๆ หลีกเลีย่ งการสัมผัสเลือดจากผูป วยโดยตรง และหากสัมผัสไปแลว ใหรีบทําความสะอาดใหเร็วที่สุด

ภาพที่ 6.8 การปองกันการติดเชื้อ 3.2 การหยุดเลือด ควรใชแรงกดลงไปบนบาดแผลโดยตรง

ภาพที่ 6.9 การหยุดเลือด 112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.3 การปฐมพยาบาลเบื้องตนผูปวยกระดูกหัก พยายามยึดบริเวณที่หักใหแนน เพื่อแนใจวากระดูกที่หักจะไมขยับ

ภาพที่ 6.10 การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหักเบื้องตน 3.4 การชวยเหลือผูปวยอาหารติดคอ รัดกระตุกที่หนาทองเหนือสะดือใตลิ้นป โดยโอบผูปวยจากขางหลัง แลวใชมือ ประสานกันเหนือสะดือ แตใตกระดูกอก ดันขึ้นเพื่ออัดอากาศจากปอด ทําซ้ําจนกวาสิ่งอุดตันในชองลมจะออกมา

ภาพที่ 6.11 การชวยเหลือผูปวยอาการติดคอ 3.5 การดูแลบาดแผลถลอก ผูชวยเหลือควรใชแอลกอฮอลเช็ดรอบบาดแผลใหสะอาด กอนใชสําลีชุบน้ําเกลือหรือ ทิงเจอรไอโอดีนเช็ดรอบบาดแผล จากนั้นใชผากอซหุมสําลีปดแผลเพื่อซับสารคัดหลั่ง และยึดผากอซกับผิวหนังให ติดกันดวยเทปกาวปดแผล 3.6 การดูแลบาดแผลไฟไหม การปฐมพยาบาลบาดแผลไฟไหม แบงเปน 2 กรณี กรณีที่ 1 ไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง - ใหระบายความรอนออกจากแผล โดยวิธีการใชผาชุบน้ําประคบบาดแผล แชลงในน้ํา หรือเปดใหน้ําไหล ผานบริเวณบาดแผลประมาณ 10 นาที - ทายาสําหรับแผลไฟไหม - หามเจาะถุงน้ําหรือตัดหนังสวนที่พอง - ปดบาดแผลดวยผาสะอาด - ถาบาดแผลมีขนาดใหญใหนําตัวสงโรงพยาบาล 113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 6.12 การดูแลแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง กรณีที่ 2 ไหมลึกถึงเนื้อเยื่อใตผิวหนัง - หามระบายความรอนออกจากบาดแผล เพราะจะทําใหเกิดการติดเชื้อ - หามใสยาทุกชนิดลงบนบาดแผล - ใชผาสะอาดหอตัวผูบาดเจ็บ เพื่อปองกันสิ่งสกปรก จากนั้นใหรีบนําตัวสงโรงพยาบาลทันที

ภาพที่ 6.13 การดูแลแผลไฟไหม 3.7 การดูแลอาการบาดเจ็บที่ตาเนื่องจากเศษโลหะหรือประกายไฟ หากผูปวยไดรับบาดเจ็บที่ตา ผูชวยเหลือควร บอกใหผูปวยตรึงนัยนตาไวนิ่ง ๆ ไมขยี้ตา และไมพยายามสัมผัสนัยนตาดวยวัตถุใดๆ จากนั้นใชผาพันรอบตาทั้ง สองขางไวอยางหลวม ๆ และรีบพาผูปวยไปพบแพทย 3.8 การตรวจสอบความมีสติของผูปวย หากผูปวยไดรับบาดเจ็บที่ศีรษะ ใหตรวจสอบวาผูปวยมีอาการวิงเวียน พูดจา ไม รู เ รื่ อ ง ความทรงจํ า ผิ ด ปกติ คลื่ น ไส ง ว งซึ ม หรื อ หมดสติ ห ลั ง ได รั บ บาดเจ็ บ หรื อ ไม ถ า มี อ าจได รั บ การ กระทบกระเทือนทางสมอง

ภาพที่ 6.14 การตรวจสอบความมีสติของผูปวย 114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.9 การพยาบาลผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลัง หามขยับศีรษะ คอ หรือหลังของผูปวย ยกเวนกรณีที่จําเปน จะตองปมหัวใจ

ภาพที่ 6.15 การพยาบาลผูปวยที่ไดรับบาดเจ็บกระดูกสันหลัง 3.10 การชวยเหลือผูปวยที่มีอาการชัก เก็บของรอบตัว เพื่อปองกันไมใหผูปวยใชทํารายตัวเอง หลังการชักชว ยผูปวย ใหน อนลงพื้ น แลว สอดของนุ ม ๆ หรือแบน ๆ รองศีร ษะ จับ ผูปว ยนอนตะแคงเพื่ อช ว ยในการหายใจ และ หา มกดตัว ผูป ว ยลง หรือ พยายามหยุด การเคลื ่อ นไหวของเขาเด็ด ขาด หากผู ป ว ยชัก เกิน 5 นาที ใหแจง เจาหนาที่ฉุกเฉินทันที

ภาพที่ 6.16 การชวยเหลือผูปวยที่มีอาการชัก 3.11 การชวยเหลือผูปวยจากการถูกไฟฟาดูด ผูชวยเหลือควรรีบตัดวงจรไฟฟาเพื่อปองกันการถูกไฟฟาดูด กอนที่จะ สัมผัสรางกายของผูปวย หากไมสามารถตัดวงจรไฟฟาได ใหใชไมแหงหรือวัสดุที่เปนฉนวนไฟฟาเลื่อนรางกายของ ผูปวยออกจากสายไฟฟา จากนั้นนําตัวผูปวยไปยังสถานที่ที่เงียบและอบอุน จัดใหผูปวยนอนราบและยกขาขึ้น เล็กนอย คลายเสื้อผาที่รัดแนนออก ตรวจดูวาหัวใจหยุดเตนหรือไม หากหยุดเตนใหผูชวยเหลือรีบปมหัวใจตามวิธี ดังที่กลาวมาแลว และรีบนําผูปวยสงโรงพยาบาลทันที

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.12 การชวยเหลือผูปวยหัวใจวาย ใหยาแอสไพรินหรือไนโตรกลีเซอรีน และรีบพาผูปวยสงโรงพยาบาลทันที

ภาพที่ 6.17 การชวยเหลือผูปวยหัวใจวาย

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. เข็มกลัดซอนปลายเปน 1 ในอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน 2. ตบใบหนาผูปวยเบา ๆ เพื่อตรวจสอบการตอบสนอง 3. การนวดหัวใจคือขั้นตอนแรกในการทํา CPR ผูปวยที่ไมมีการตอบสนอง 4. การปฐมพยาบาลผูปวยเบื้องตน ควรดูแลทั้งสภาพรางกายและสภาพจิตใจ 5. หากผูปวยหมดสติใหนําหมอนหรือผามารองศีรษะใหผูปวยหนุน 6. การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมผิวหนังชั้นนอก ใหใชผาชุบน้ํา ประคบเพื่อระบายความรอนจากแผล 7. การกดหนาอกนวดหัวใจ ควรกดดวยอัตราความเร็ว 100-120 ครั้งตอนาที 8. หากผูปวยมีอาการชักใหพยายามกดตัวผูปวย เพื่อหยุดการเคลื่อนไหว 9. ไมควรใหน้ําแกผูปวยที่ไมไดสติ 10. ใหยาไนโตรกลีเซอรีนแกผูปวยที่มีอาการหัวใจวาย และนําตัวสงโรงพยาบาล

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 6.1 การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน พรอมบันทึกผลการตรวจสอบลงในตารางบันทึกผล และทดสอบปฏิบัติงานปฐมพยาบาลเบื้องตน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ รายการอุปกรณ

ตรวจสอบสภาพ พรอมใชงาน

ไมพรอมใชงาน

วันที่ผลิต

สําลี ไมพันสําลี ผาพันแผลหรือผากอซ เทปปดแผลขนาดตาง ๆ กรรไกร เข็มกลัดซอนปลาย พลาสเตอรปดแผล น้ําเกลือ แอลกอฮอล ยาใสแผล (เบตาดีน) ยาสําหรับทาแผลไฟไหม

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

วันหมดอายุ

ลักษณะอุปกรณ


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.1 การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - กรรไกร

จํานวน 1 เลม

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. เข็มกลัดซอนปลาย

จํานวน 1 กลอง

2. ถุงมือพยาบาล

จํานวน 1 คู

3. เทปปดแผลขนาดตาง ๆ

จํานวน 3 มวน

4. น้ําเกลือ

จํานวน 1 ขวด

5. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

6. ผาพันแผลหรือผากอซ

จํานวน 1 ถุง

7. พลาสเตอรปดแผล

จํานวน 1 กลอง

8. ไมพันสําลี

จํานวน 1 ถุง

9. ยาสําหรับทาแผลไฟไหม

จํานวน 1 ชุด 120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

10. ยาใสแผล (เบตาดีน)

จํานวน 1 ขวด

11. สําลี

จํานวน 1 ถุง

12. แอลกอฮอล

จํานวน 1 ขวด

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบอุปกรณปฐมพยาบาลและการปฐมพยาบาลเบื้องตน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จัดเตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน

คําอธิบาย ครู ฝ ก จั ด เตรี ย มอุ ป กรณ ป ฐมพยาบาล เบื้องตนใหพรอม

2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ผูรับการฝกตรวจสอบสภาพของอุปกรณ ปฐมพยาบาลเบื้ อ งต น ว า อยู ใ นสภาพ พรอมใชงาน หรือไม

3. บันทึกผลลงในตาราง

บันทึกสภาพของอุป กรณปฐมพยาบาล เบื้องตนลงในตารางบันทึกผล

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. ทํ า ตามขั้ น ตอนที่ 2 และ 3 จนครบทุ ก อุ ป กรณ หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก ปฐมพยาบาลเบื้องตน

ปฏิบัติ ตามขั้นตอนที่ 2 และ 3 จนกระทั่ งตรวจสอบสภาพของอุปกรณ ปฐมพยาบาลเบื้องตนครบทุ กชิ้นตามที่ ใบงานกําหนด

5. เลื อกอุ ป กรณ ป ฐมพยาบาลเบื้ องต น สํ า หรั บ ปฐม ผูรับการฝกเลือกหยิบอุป กรณ พยาบาลแผลไฟไหม

ปฐมพยาบาลเบื้ องตนที่ใชสําหรับ ปฐมพยาบาลแผลไฟไหม

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. ระบายความรอนจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง

ขอควรระวัง

ระบายความรอนออกจากบาดแผล โดย ห า มเจาะถุ ง น้ํ า หรื อ เทน้ําเกลือใหไหลผานบาดแผล

ตั ด หนั ง ส ว นที่ พ อง เด็ดขาด

7. ทําแผลและปดบาดแผล

ใชยาลางแผลลางทําความสะอาดบริเวณ คํานึงถึงเรื่องความ บาดแผลและทายาสําหรับ แผลไฟไหม สะอาดเปนสําคัญ พรอมปดบาดแผลดวยผาพันแผล

ขณะปฐมพยาบาล เพื่อปองกันการติดเชื้อ

8. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน

ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอม ทั้ ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใ ห เรียบรอย

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับ การ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ปฐมพยาบาลเบื้องตน

5

การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผล

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หลังปฏิบัติงาน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองและครบถวน

สวมใสชุดปฏิบัติงานชางไดอยางถูกตองและครบถวน กอน

กอนเริ่มปฏิบัติงาน

เริ่มปฏิบัติงาน ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสชุดปฏิบัติงานชางกอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับ การปฐมพยาบาลเบื้องตน

ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไดอยางถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบอุปกรณและยาที่ใชสําหรับการปฐมพยาบาล ไมถูกตอง และ ไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะ ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้นผิวหนัง ชั้นผิวหนัง

ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะชั้น ผิวหนังบกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากแผลไฟไหมเฉพาะ ชั้นผิวหนังบกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด

3

ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 1-5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบงาน ใบงานที่ 6.2 การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. อธิบายวิธีการการปฐมพยาบาลเบื้องตนได 2. ปฐมพยาบาลเบื้องตนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัตงิ าน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดสอบการปฐมพยาบาลเบื้องตนตามขั้นตอนที่ถูกตอง และบันทึกขอมูลลงในตาราง ตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน สถานการณจําลอง

อุปกรณที่ตองใช

ผูปวยบาดเจ็บเปนแผลถลอก

ผูปวยกระดูกหัก

ผูปวยหมดสติ

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขั้นตอนการปฏิบัติ


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.2 การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - กลองอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน

จํานวน 1 กลอง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การฝกปฐมพยาบาลเบื้องตน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จัดเตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน

คําอธิบาย เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตนให พรอม

2. ตรวจสอบสภาพของอุปกรณปฐมพยาบาล

ผูรับการฝกตรวจสอบสภาพของอุป กรณ

เบื้องตน

ปฐมพยาบาลเบื้องตนวาอยูในสภาพพรอม ใชงาน หรือไม

3. เลือกอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน สําหรับปฐม ผูรับการฝกเลือกหยิบอุปกรณปฐมพยาบาล พยาบาลผูปวยแผลถลอก

เบื้องตนที่ใชสําหรับปฐมพยาบาลผูปวย แผลถลอก

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย ใหความสําคัญในเรื่อง แผลถลอก

ความสะอาด เพื่อ ปองกันการติดเชื้อ

5. ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก

ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย คํ า นึ ง ถึ ง ขั้ น ตอนการ กระดูกหัก

ปฏิบัติที่ตองปลอดภัย อยูเสมอ

6. ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ

ผูรับการฝกปฏิบัติงานปฐมพยาบาลผูปวย คํ า นึ ง ถึ ง ขั้ น ตอนการ หมดสติ

ปฏิบัติที่ตองปลอดภัย อยูเสมอ

7. ทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่ปฏิบัติงาน

ใชผาเช็ดทําความสะอาดอุปกรณ พรอมทั้ง ทํ า ความสะอาดสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และ จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

8

การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงาน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ชุด

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

ปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองกอนเริ่มปฏิบัติงาน

ใหคะแนน 3 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

3

ใหคะแนน 0 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ขามหรือสลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก

ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยแผลถลอก บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 5

การปฐมพยาบาลผูปว ยกระดูกหัก

ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยกระดูกหัก บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 6

การปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ

ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ ไดอยางถูกตอง ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ บกพรอง 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ปฐมพยาบาลผูปวยหมดสติ บกพรองมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน 7

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 8

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

3

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 3 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 1

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.