หนาปก
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คูมือครูฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คํานํา
คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 3 วิทยาศาสตรประยุกต เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรม ฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการ ฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โดยไดดํา เนิน การภายใตโ ครงการพัฒ นา ระบบฝก และชุด การฝก ตามความสามารถเพื ่อ การพัฒ นาฝม ือ แรงงาน ดว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่อ ใหค รูฝ ก ไดใ ชเ ปน เครื่อ งมือ ในการบริห ารจัด การการฝก อบรมใหเ ปน ไปตามหลัก สูต ร กลา วคือ สามารถอธิบ ายและทดลองเกี่ย วกับ วิท ยาศาสตร เชน การชั ่ง และการตวงของเหลว หารคํ า นวณหาคา ความหนาแนน เปน ตน ตลอดจนติด ตาม ความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทําใหผูรับ การฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เรื่อง
สารบั ญ
คํานํา สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก โมดูลการฝกที่ 3 09210103 วิทยาศาสตรประยุกต หัวขอวิชาที่ 1 0921010301 ของเหลวและหนวยการวัด หัวขอวิชาที่ 2 0921010302 ความรอนและเคมีเบื้องตน หัวขอวิชาที่ 3 0921010303 หลักการของของเหลว หัวขอวิชาที่ 4 0921010304 ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง คณะผูจัดทําโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
หนา ก ข 1 21 51 81 115 143
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่ เ กิดจากการนํ าความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมิน พื้นฐานความรู ความสามารถ แบบออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบี ย นแบบออนไลน ให ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นผ า นเว็ บ ไซต โดยกรอกประวั ติ เลือกหลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบี ย นแบบออฟไลน ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นที่ ศู น ย ฝ ก โดยการเลื อ กหลั ก สู ต ร กรอกประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐาน ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ค. ผังการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข ารั บการฝ กภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝ กในโมดูล ถัด ไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3)
กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก
ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดย ใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการดาวน โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และ เขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการ ฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คู มื อ การประเมิ น รู ป แบบเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (.pdf) เพื่ อ บั น ทึ ก ผลการประเมิ น การทดสอบของ ผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ า ไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920163100501
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรื อสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก
5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก
รหัสหลักสูตร 0920163100501 วิทยาศาสตรประยุกต รหัสโมดูลการฝก 09210103 รวม 11 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง 30 นาที หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได 3. อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 5. อธิบายเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 6. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 7. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 8. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 9. อธิบายความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 10. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องธาตุและสารประกอบ 2. มีความรูเรื่องสารและสมบัติของสาร 3. มีความรูเรื่องปฏิกิริยาเคมีเบื้องตน 4. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 2 มาแลว สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของ หัวขอที่ 1 : ของเหลวและหนวยการวัด 0:15 2:00 2:15 ของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของ ของเหลวได 3. อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัด ของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัด ของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 5. อธิบายเกี่ยวกับความรอน หัวขอที่ 2 : ความรอนและเคมีเบื้องตน 1:00 3:00 4:00 อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมี เบื้องตนได 6. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และ เคมีเบื้องตนได 7. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของ หัวขอที่ 3 : หลักการของของเหลว 0:30 2:00 2:30 ของเหลวได 8. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของ ของเหลวได
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
9. อธิบายความหมายของมวล หัวขอที่ 4 : ความหมายของมวล น้ําหนัก ความ น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน ความดัน และแรง และแรงได 10. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได รวมทั้งสิ้น
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
0:30
2:30
3:00
2:15
9:30
11:45
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921010301 ของเหลวและหนวยการวัด (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.
อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของของเหลวได อธิบายเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได
2. หัวขอสําคัญ 1. ของเหลวและสมบัติทั่วไป 2. หนวยของการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํา จํานวน 10 ลิตร 2) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กระบอกตวง 1,000 ซีซี จํานวน 5 อัน 2) กระบอกตวง 2,000 ซีซี จํานวน 3 อัน 3) กระบอกตวง 500 ซีซี จํานวน 10 อัน 4) แกลลอนน้ํามัน 5 ลิตร จํานวน 1 ใบ 5) เครื่องชั่งน้ําหนัก จํานวน 1 เครื่อง
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม วรรณิสา หนาผอง. ลักษณะโมเลกุล ของแข็ง ของเหลว แกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://wannisa126. wordpress.com
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 15-37 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก กระบอกตวง ขวดน้ํา แกว ถวย น้ํา แอลกอฮอล น้ํามัน ตาราง หนวยยอยของการวัดในระบบตาง ๆ 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับของเหลวและหนวยการวัด
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ของเหลวและ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น หนวยการวัด ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 15-37
1. รับ คูมือผูรับ การฝ ก เรื่อง ระบบรองรั บ น้ํ า หนั ก หนาที่ 15-37 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 17-21 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ของเหลวและสมบัติทั่วไป 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 หน ว ยของการวั ด ของของเหลวตาม มาตรฐาน SI Unit - ระบบอังกฤษ - ระบบเมตริก - การเปรี ย บเที ย บหน ว ยการวั ด ความยาว - การวัดในระบบ SI Unit 3. ทดลองตวงของเหลวใหผูรับการฝกสังเกตการ 3. สังเกตการเปลี่ยนแปลงรูปรางของของเหลว เปลี่ยนแปลงรูปรางตามภาชนะ 4. แสดงตารางหน ว ยย อยของการวั ด ในระบบ 4. ดูตารางหนวยยอยของการวัดในระบบตาง ๆ และ ตาง ๆ ใหผูรับการฝกดู และใหทดลองอาน ทดลองอานตามที่ครูฝกกําหนด 5. มอบหมายให ทําใบทดสอบจากคู มือผูรั บการ 5. ทําใบทดสอบ หนาที่ 22-23 โดยครูคอยสังเกต ฝก หนาที่ 22-23 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 6. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 6. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 34 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 7. มอบหมายให ศึกษาใบงานที่ 1.1 การตรวจ 7. ศึกษาใบงานที่ 1.1 การตรวจของเหลวตามมาตรฐาน ของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit จากคูมือผูรับ SI Unit จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 24-30 ซักถาม การฝก หนาที่ 24-30 ขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 8. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-04:25 พรอม 8. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้ อ หา พร อ มแสดงความคิ ด เห็ น ด ว ยวาจาที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ สุภาพเรียบรอย ดังนี้ 8.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่ อ งมื อ และ อุปกรณกอนใชงาน 8.2 ทํ า ความสะอาดเครื่ องมื อและอุ ป กรณ กอนใชงาน 8.3 การตวงน้ํ า ให ไ ด ป ริ ม าณด ว ยกระบอก ตวงที่มีขนาดตามที่โจทยกําหนด 9. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 9. แบงกลุมตามความสมัครใจ 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 10. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 10. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 25 หนาที่ 36 11. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 11. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ความปลอดภัย ปฏิบัติงานอยางใกลชิด 12. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 12. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 13. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 13. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 14. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 1.2 การชั่ ง 14. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 1.2 การชั่งของเหลวตาม มาตรฐาน SI Unit จากคูมือผู รับ การฝ ก หนา ที่ ของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit จากคู มื อ 31-37 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ ผูรับการฝก หนาที่ 31-37 15. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 04:29-07:29 พรอม 15. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาสุภาพ อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 15.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่ อ งมื อ และ อุปกรณกอนใชงาน 15.2 ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ กอนใชงาน 15.3 ทดลองชั่งน้ําใหไดน้ําหนักตามที่โจทย กําหนด 15.4 อานคาของน้ําหนักที่ชั่งได 16. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 17. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 17. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 32 ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก หนาที่ 44 18. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 18. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ความปลอดภัย ปฏิบัติงานอยางใกลชิด 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 19. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 19. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 20. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 20. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ของเหลวและ หนวยการวัด ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อง ของเหลวและ หนวยการวัดเกี่ยวกับ กิจ นิสัยในการปฏิบัติ งาน และ คุณลั กษณะที่ ตองการบู ร ณาการคุ ณธรรม จริ ยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ของเหลวและหนวยการวัด 1. ของเหลวและสมบัติทั่วไป ของเหลว เชน น้ํา แอลกอฮอล น้ํามัน มีสมบัติที่เฉพาะตัว ดังตอไปนี้ 1.1 มีอนุภาคเรียงตัวอยางหลวม ๆ เนื่องจากมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยกวาของแข็ง ทําใหโมเลกุลของเหลว สามารถเคลื่อนที่ผานโมเลกุลอื่น ๆ ได ของเหลวจึงสามารถไหลได 1.2 มีรูปรางไมแนนอน สามารถเปลี่ยนรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ 1.3 การเพิ่มความดันและการเพิ่มอุณหภูมิไมทําใหปริมาตรของของเหลวเปลี่ยนแปลงไปมากนัก เนื่องจากของเหลวมี ชองวางระหวางโมเลกุลนอย 1.4 อนุภาคของของเหลวสามารถเกิดการแพรได ถานําของเหลวสองชนิดมาผสมกัน จะเกิดการแพรกระจายของ โมเลกุลของของเหลวทั้งสองชนิด เชน การหยดน้ําหมึกลงในน้ําจะสังเกตเห็นการแพรกระจายของน้ําหมึกจนมี สีเดียวกันทั้งหมด
ภาพที่ 1.1 การเรียงตัวของอนุภาคสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแกส
ภาพที่ 1.2 การแพรของน้ําหมึกในน้ํา
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. หนวยของการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit การวัด (Measurement) หมายถึง กระบวนการเพื่อใหไดมาซึ่งขนาดของปริมาณอันหนึ่ง เชน ความยาว มวล และแรง เปนตน โดยจะมีวิธีการวัด 2 ลักษณะ คือ การวัดโดยตรงและการวัดโดยออม ซึ่งเครื่องมือวัดที่นิยมใชวัดเพื่อหาปริมาณ แบงออกเปน 4 ชนิด ไดแก เครื่องมือวัดละเอียดแบบมีสเกล เครื่องมือวัดละเอียดแบบเลื่อนไดมีสเกล เครื่องมือวัดละเอียด แบบถายขนาด และเครื่องมือวัดละเอียดแบบคาคงที่ ระบบการวัด คือ กลุมของหนวยวัดที่สามารถใชระบุสิ่งใด ๆ ซึ่งสามารถวัดได และมีความสําคัญทางประวัติศาสตร มีการวางระเบียบและนิยามเพื่อการพาณิชย ในทางวิทยาศาสตรปริมาณบางชนิดที่ไดวิเคราะหแลวจะถูกกําหนดขึ้นใหเปน หนวยมูลฐาน ซึ่งหมายความวาหนวยอื่น ๆ ที่จําเปนสามารถพัฒนาไดจากหนวยมูลฐานเหลานี้ ปจจุบันระบบการวัดที่สําคัญโดยทั่วไป จะแบงออกเปน 2 ระบบ คือ ระบบอังกฤษ (English System) และระบบเมตริก (Metric System) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ระบบอังกฤษ หน ว ยวั ด ระบบอั ง กฤษ (English System) หรื อ ที่ เ รี ย กว า “หน ว ยนิ้ ว ” เป น หน ว ยวั ด ของราชสํ า นั ก อั ง กฤษ มีขึ้นเพื่อประโยชน ทางการคา โดยหนวยพื้นฐานของระบบวัดนี้ ประกอบไปด วยความยาว มวล และเวลา ซึ่งก็ คือ ฟุต (ft) ปอนด (lb) และวินาที (s) ปจจุบัน หนวยวัดระบบอังกฤษนี้ยังเปนที่นิยมอยูในหลายประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง อังกฤษและสหรัฐอเมริกา 2.1.1 หนวยยอยของการวัดความยาวในระบบอังกฤษ หนวยหลักของการวัดความยาวในระบบอังกฤษ เริ่มจาก 1 หลามาตรฐาน และแบงชวงคาอยางไมคงที่ จนถึง 1 นิ้ว ดังนี้ 1 ไมล
=
1760 หลา
1 หลา
=
3 ฟุต
1 ฟุต
=
12 นิ้ว
สําหรับชวงคาที่ต่ํากวา 1 นิ้วลงไป จะใชการแบงสวนออกเปนสวนยอย คือ 1/2”, 1/8”, 1/16”, 1/32”, 1/64” และ 1/128” และชวงคาที่ยอยลงกวานี้ จะใชคําอุปสรรคนําหนา เชน 1/1,000 นิ้ว
=
0.001 นิ้ว
= 1 ฟลเลอร (Feeler) = 1 Thousandth
1/1,000,000 นิ้ว
=
0.000 001 นิ้ว = 1 micro – inch
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2.2 ระบบเมตริก หนวยวัดระบบเมตริก (Metric System) เปนหนวยการวัดที่รัฐบาลฝรั่งเศสไดสนับสนุนใหมีการศึกษาคนควาและ จัดตั้งระบบ เพื่อใชแทนระบบหนวยและการวัดที่มีอยูเดิมใหมีมาตรฐาน และไดลงนามเห็นชอบใหใชระบบเมตริกเปน หนวยวัดในฝรั่งเศสเมื่อป ค.ศ. 1795 2.2.1 หนวยยอยของการวัดความยาวในระบบเมตริก หนวยหลักของการวัดในระบบเมตริก คือ เมตร เมื่อตองการทําใหเปนหนวยยอย สามารถทําไดโดยใช คําอุปสรรค เปนตัวคูณไวหนาหนวยเมตร ดังนี้ ตารางที่ 1.1 คําอุปสรรค คําอุปสรรค
สัญลักษณ
ตัวคูณ
เทรา (Tera)
T
1012
กิกะ (Giga)
G
109
เมกะ (Mega)
M
106
กิโล (Kilo)
k
103
เฮ็กโต (Hecto)
h
102
เดกะ (Deca)
da
10
เดซิ (Deci)
d
10-1
เซนติ (Centi)
c
10-2
มิลลิ (Milli)
m
10-3
ไมโคร (Micro)
10-6
นาโน (Nano)
μ n
พิโก (Pico)
p
10-12
10-9
จากตารางที่ 1.1 หนวยยอยของการวัดความยาวในระบบเมตริก คือ เทราเมตร กิกะเมตร เมกะเมตร กิโลเมตร เซนติเมตร ไมโครเมตร นาโนเมตร และพิโคเมตร
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2.3 การเปรียบเทียบหนวยการวัดความยาว ตารางที่ 1.2 หนวยการวัดความยาว ระบบเมตริก
ระบบอังกฤษ
25.4
มิลลิเมตร
1
นิ้ว
1
มิลลิเมตร
0.03937 นิ้ว
0.3048 เมตร
1
1
3.281 ฟุต
เมตร
ฟุต
0.9144 เมตร
1
1
1.094 หลา
เมตร
หลา
1.6093 กิโลเมตร
1
1
0.621 ไมล
กิโลเมตร
ไมล
2.4 การวัดในระบบ SI Unit ระบบ SI Unit (International System of Unit) เปนสวนหนึ่งของการวัดในระบบเมตริก สรางมาจากหนวยฐาน ทั้ง 7 หนวย และใชระบบเลขฐานสิบ ซึ่งถือวาเปนหนวยการวัดที่แพรหลายที่สุดในปจจุบัน เนื่องจากของเหลวจะเปลี่ยนรูปรางไปตามภาชนะที่บรรจุ ในการวัดของเหลวจึงบงบอกเปนปริมาตร โดยหนวย ของของเหลวตามมาตรฐานระบบหนวยสากล SI Unit หรือ International System of Unit คือ ลูกบาศกเมตร (m3) ซึ่งคํานวณเบื้องตนจากรูปทรงที่มีความกวาง 1 เมตร ความยาว 1 เมตร และสูง 1 เมตร และลูกบาศกเซนติเมตร (cm3) ซึ่งคํานวณเบื้องตนจากรูปทรงที่มีความกวาง 1 เซนติเมตร ความยาว 1 เซนติเมตร และสูง 1 เซนติเมตร
ภาพที่ 1.3 ลูกบาศกเมตร 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 1.4 ลูกบาศกเซนติเมตร
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. ของเหลวมีรูปรางไมแนนอน เปลี่ยนตามภาชนะที่บรรจุ 2. ของเหลวประกอบดวยโมเลกุลที่เคลื่อนที่อยางเปนระเบียบไมมีชองวางระหวาง โมเลกุล 3. โมเลกุลของของเหลวอยูชิดกั นมากกวากาซ เพราะมีแรงยึ ดเหนี่ยวระหว าง อนุภาคมากกวา 4. ปริมาตรของของเหลวเปลี่ยนแปลงนอยมาก เมื่ออุณหภูมิและความดันเปลี่ยน 5. ของเหลวสวนใหญมีความหนาเเนนมากกวากาซ แตนอยกวาของเเข็งหนวยวัด ในระบบอังกฤษ ไดแก มิลลิเมตร เมตร กิโลเมตร เปนตน 6. อนุภาคของของเหลวสามารถแพรกระจายได 7. หนวยวัดในระบบอังกฤษ มีชื่อเรียกอีกอยางหนึ่งวา หนวยปอนด 8. ของเหลวสวนใหญมีความหนาเเนนมากกวากาซ แตนอยกวาของเเข็ง 9. 1 นิ้ว มีคาเทากับ 24.5 มิลลิเมตร 10. M (เมกะ) มีคาเทากับ 106
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 3. ปฏิบัติงานตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเทน้ําเปลาลงในกระบอกตวงแตละขนาดใหไดจํานวน 5,000 ซีซีและทําการบันทึกผลในตาราง บันทึกผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง อุปกรณในการตวง
จํานวนกระบอกที่ใช
กระบอกตวง 500 ซีซี กระบอกตวง 1,000 ซีซี กระบอกตวง 2,000 ซีซี สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. กระบอกตวง 500 ซีซี
จํานวน 10 อัน
2. กระบอกตวง 1,000 ซีซี
จํานวน 5 อัน
3. กระบอกตวง 2,000 ซีซี
จํานวน 3 อัน
4. แกลลอนน้ํามัน 5 ลิตร
จํานวน 1 ใบ
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา
จํานวน 5 ลิตร
2. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. เติมน้ําลงในแกลลอน
เติ ม น้ํ า ลงไปในแกลลอนเปล า จนเต็ ม ระวังอยาทําน้ําหกและ ความจุ 5 ลิตร
ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
3. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 2,000 ซีซี
เทน้ํ า จากแกลลอนลงในกระบอกตวง
4. นับจํานวนกระบอกตวง
ขนาด 2,000 ซี ซี จนกระทั่ ง น้ํ า หมด
5. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี
แกลลอน
6. นับจํานวนกระบอกตวง
นับจํานวนกระบอกตวงขนาด 2,000 ซีซี
7. ตวงน้ําโดยใชกระบอกตวงขนาด 500 ซีซี
ที่ใช และบันทึกผล
8. นับจํานวนกระบอกตวง
เทน้ํ า จากกระบอกตวงขนาด 2,000 ซี ซี ลงในกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี นับจํานวนกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี ที่ใช และบันทึกผล เทน้ําจากกระบอกตวงขนาด 1,000 ซีซี ลง ในกระบอกตวงขนาด 500 ซีซี
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย นั บ จํ า นวนกระบอกตวงขนาด 500 ซี ซี ที่ใช และบันทึกผล
9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตวงของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเทน้ําเปลาลงในกระบอกตวงแตละขนาดใหไดจํานวน 5,000 ซีซี และทําการบันทึกผลในตาราง บันทึกผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการทดลอง อุปกรณในการตวง
จํานวนกระบอกที่ใช
กระบอกตวง 500 ซีซี
10 กระบอก
กระบอกตวง 1,000 ซีซี
5 กระบอก
กระบอกตวง 2,000 ซีซี
2 กระบอก
1 2
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา เมื่อเทน้ําจากแกลลอนปริมาตร 5 ลิตร ใสลงกระบอกตวงขนาดตาง ๆ จะไดจํานวนกระบอกตวง แตกตางกัน ดังนี้ กระบอกตวง 500 ซีซี ได 10 กระบอก กระบอกตวง 1,000 ซีซี ได 5 กระบอก และกระบอกตวง 2,000 ซีซี ได 2 ½ กระบอก ซึ่งสรุปไดวา น้ําสามารถอยูในภาชนะที่มีขนาดแตกตางกันได โดยจะมีปริมาตรรวมคงเดิม
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกต อง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด
3
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
6
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหนวยการวัดของของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 3. ปฏิบัติงานชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ได 4. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกชั่งแกลลอนเปลาบนเครื่องชั่ง จากนั้นเติมน้ําเปลาครั้งละ 1 ลิตร ชั่งน้ําหนักของแกลลอนที่บรรจุน้ํา พรอมบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การชั่งน้ําหนักของแกลลอน
น้ําหนักที่ชั่งได (กิโลกรัม)
แกลลอนเปลา แกลลอนบรรจุน้ํา 1 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 2 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 3 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ํา 4 ลิตร แกลลอนบรรจุน้ําจนเต็ม สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แกลลอนน้ํามัน 5 ลิตร
จํานวน 1 ใบ
2. เครื่องชั่งน้ําหนักดิจิทัล
จํานวน 1 เครื่อง
3. ถวยทดลอง 1,000 ซีซี
จํานวน 5 ใบ
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5. การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา
จํานวน 5 ลิตร
2. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง
เทน้ําลงในถวยทดลอง ขนาด 1,000 ซีซี จํานวน 5 ใบ จนเต็ม (1,000 ซีซี = 1 ลิตร)
3. ชั่งแกลลอนเปลา
ชั่งแกลลอนเปลา และบันทึกผล
4. เติมน้ําลงในแกลลอน
เติ ม น้ํ า ลงไปในแกลลอนเปล า ให ไ ด ระวังอยาทําน้ําหกและ ปริมาตร 1 ลิตร
ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ชั่งแกลลอนที่มีน้ํา
คําอธิบาย ชั่ ง แกลลอนที่ มี น้ํ า ปริ ม าตร 1 ลิ ต ร และ บันทึกผล
6. เติมน้ําเพิ่มในแกลลอน
เติมน้ําลงไปในแกลลอน เพิ่มอีก 1 ลิตร
7. ชั่งแกลลอนหลังเติมน้ําเพิ่ม
นําแกลลอนที่เติมน้ําเพิ่ม แลว ไปชั่ง และ
8. ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 5 – 6
บันทึกผล ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ 5 – 6 ซ้ํา จนกวาน้ํา ในแกลลอนจะครบความจุ 5 ลิตร
9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 1.2 การชั่งของเหลวตามมาตรฐาน SI Unit คํา ชี้แ จง ใหผูรับ การฝก ชั่ง แกลลอนเปลา บนเครื่อ งชั่ง จากนั้น เติม น้ํา เปลา ครั้ง ละ 1 ลิต ร ชั่ง น้ํา หนัก ของแกลลอน ที่บรรจุน้ํา พรอมบันทึกผลลงในตารางบันทึกผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการทดลอง การชั่งน้ําหนักของแกลลอน
น้ําหนักที่ชั่งได (กิโลกรัม)
แกลลอนเปลา
0.1
แกลลอนบรรจุน้ํา 1 ลิตร
1.1
แกลลอนบรรจุน้ํา 2 ลิตร
2.1
แกลลอนบรรจุน้ํา 3 ลิตร
3.1
แกลลอนบรรจุน้ํา 4 ลิตร
4.1
แกลลอนบรรจุน้ําเปลาจนเต็ม
5.1
สรุปผลการทดลอง จากการชั่งน้ําหนักของแกลลอนเปลา พบวามีน้ําหนัก 0.1 กิโลกรัม เมื่อเติมน้ําลงในแกลลอน 1 ลิตร ชั่งน้ําหนัก แกลลอนที่มีน้ํา 1 ลิตรนั้นได 1.1 กิโลกรัม และเติมน้ําลงไปอีกครั้งละ 1 ลิตร ชั่งน้ําหนักทุกครั้งหลังจากเติมน้ําในแตละลิตร เติมไปเรื่อย ๆ จนครบ 5 ลิตร น้ําเต็มแกลลอนพอดี ซึ่งแกลลอนที่ใสน้ําเต็มมีน้ําหนัก 5.1 กิโลกรัม จะได น้ําหนักของน้ําที่อยูในแกลลอน = น้ําหนักของแกลลอนที่มีน้ําเต็ม – น้ําหนักแกลลอนเปลา = 5.1 kg. – 0.1 kg. = 5 kg. ดังนั้น น้ําที่มีปริมาตร 5 ลิตร จะมีน้ําหนัก 5 กิโลกรัม
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด
3
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ผลการทดลองถูกตอง 5 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 4 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 2 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 3 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921010302 ความรอนและเคมีเบื้องตน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได
2. หัวขอสําคัญ 1. ความรอนและอุณหภูมิ 2. การถายเทความรอน 3. เคมีเบื้องตน
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ดินน้ํามัน จํานวน 4 กอน 2) น้ํารอน ปริมาตร 400 ซีซี 3) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ชุดทดลองการนําความรอน จํานวน 1 ชุด 2) ถวยทดลองขนาด 250 ซีซี. จํานวน 1 ใบ
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงานพรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
7. บรรณานุกรม ศูนยการเรียนรูวิทยาศาสตรโลกและดาราศาสตร. อุณหภูมิและความรอน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/temperature
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 38-60 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก เทอรโมมิเตอร หนวยตาง ๆ น้ํารอน น้ําเย็น น้ําแข็ง 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับความรอนและเคมีเบื้องตน
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ความรอนและ เคมีเบื้องตน ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 38-60
1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง ความร อ นและเคมี เบื้องตน หนาที่ 38-60 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 40-44 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ความรอนและอุณหภูมิ 2.2 การถายเทความรอน 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก - การนําความรอน - การพาความรอน - การแผรังสีความรอน 2.3 เคมีเบื้องตน 3. แสดงเทอรโมมิเตอรหนวยตาง ๆ ใหผูรับการฝกดู 3. สังเกตหนวยวัดที่แตกตางกันของเทอรโมมิเตอร 4. ใหผูรับการฝกทดลองวัดคาอุณหภูมิ โดยจุม 4. ทดลองวัดคาอุณหภูมิ โดยจุมเทอรโ มมิเตอร ใ น น้ํารอน น้ําเย็น และน้ําแข็ง แลวอานคาที่วัดได เทอรโมมิเตอรในน้ํารอน น้ําเย็น และน้ําแข็ง แลวอานคาที่วัดได 5. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 5. ทําใบทดสอบ หนาที่ 45-46 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม หนาที่ 45-46 6. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 6. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ หนาที่ 64 เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 7. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 2.1 การนํ า 7. ศึกษาใบงานที่ 2.1 การนําความรอนของแท ง ไม และแทงแกว จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 47-53 ความรอนของแทงไมและแทงแกว จากคูมือ ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ ผูรับการฝก หนาที่ 47-53 8. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-02:24 พรอม 8. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 8.1 ตรวจสอบสภาพของชุดทดลองความรอน กอนใชงาน 8.2 ทํ าความสะอาดชุ ดทดลองการนํ าความ รอนกอนใชงาน 8.3 ประกอบชุ ด ทดลองการนํ า ความร อ น โดยใช แ ท ง ไม แ ละแท ง แก ว เป น ตั ว นํ า ความรอน 8.4 การสั ง เกตความเปลี่ ย นแปลงของ ดินน้ํามันระหวางทดลอง 9. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 9. แบงกลุมตามความสมัครใจ 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 10. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 10. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 48 หนาที่ 66 11. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 11. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ความปลอดภัย ปฏิบัติงานอยางใกลชิด 12. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 12. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 13. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 13. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 14. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.2 การนําความ 14. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 2.2 การนําความรอนของ แทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง จากคูมือผูรับ รอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง การฝก หนาที่ 54-60 ซักถามขอสงสัย ดวยความ จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 54-60 ตั้งใจ 15. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 02:28-05:10 พรอม 15. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 15.1 ตรว จส อบส ภ าพของชุ ดท ด ล อ ง ความรอนกอนใชงาน 15.2 ทํ า ความสะอาดชุ ด ทดลองการนํ า ความรอนกอนใชงาน 15.3 ประกอบชุดทดลองการนําความร อน โดยใชอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง เปนตัวนําความรอน 15.4 การสั ง เกตความเปลี่ ย นแปลงของ ดินน้ํามันระหวางทดลอง 16. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 17. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 17. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 55 หนาที่ 74 56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 18. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 18. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 19. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 19. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 20. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 20. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ความรอนและ เคมีเบื้องตน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่ อง ความรอนและ เคมี เ บื้ องต น เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติงาน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ความรอนและเคมีเบื้องตน 1. ความรอนและอุณหภูมิ ความรอน (Heat) คือ พลังงานที่ถายเทขามสสารหรือระบบ โดยอาศัยความแตกตางของอุณหภูมิ เมื่อนําสสารสองชนิดที่ มีอุณหภูมิตางกันมาไวในที่เดียวกัน จะมีการถายเทความรอน โดยหากสสารมีอุณหภูมิสูงกวาสิ่งแวดลอม ความรอนจะถูก ถายเทออกจากสสารไปสูสิ่งแวดลอม ในทางกลับกัน หากสสารมีอุณหภูมิต่ํากวาสิ่งแวดลอม ความรอนก็จะถูกถายเทจาก สิ่งแวดลอมเขาสูสสาร เชน เมื่อนําขวดน้ําออกจากตูเย็น แลวมาวางไวบนโตะ จะสังเกตไดวา เมื่อผานไประยะเวลาหนึ่ ง น้ําอัดลมจะเย็นนอยลงจนกระทั่งเทาอุณหภูมิหอง จึงสรุปไดวา หากสสารหรือระบบมีอุณหภูมิมีอุณหภูมิแตกตางกับสสาร หรือระบบอื่น หรือแตกตางกับสิ่งแวดลอม การถายเทความรอนจะเกิดขึ้น อุณหภูมิ (Temperature) เปนตัวเลขที่มีการเปลี่ยนแปลงสัมพันธกับพลังงานจลนในอะตอม เนื่องจากเมื่ออะตอมไดรับ พลังงานจลน อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบ ๆ นิวเคลียสและเปลี่ยนระดับโคจร และอาจจะหลุดออกจากวงโคจรได ถาไดรับ พลังงานที่มากพอ แตเนื่องจากผิวโลกและบรรยากาศของโลกอะตอมจะรวมตัวเปนโมเลกุล การเคลื่อนที่ของโมเลกุลเหลานี้ จะทําใหเกิดพลังงานจลนที่เรียกวา ความรอน ระดับการวัดอุณหภูมิของสารที่นิยมใชกันมี 3 ระบบ ไดแก 1) องศาฟาเรนไฮต ใชสัญลักษณ °F โดยน้ําแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 32 °F และมีจุดเดือดที่ 212 °F นิยมใช ในสหรัฐอเมริกา 2) องศาเซลเซียส ใชสัญลักษณ °C โดยน้ําแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 0 °C และมีจุดเดือดที่ 100 °C 3) องศาสัมบูรณ หรือหนวยเคลวิน ใชสัญลักษณ K เปนการแสดงความสัมพันธระหวางความรอนและอุณหภูมิ ซึ่งน้ําแข็งมีจุดหลอมเหลวที่ 273 K และมีจุดเดือดที่ 373 K โดยที่อุณหภูมิ -273 °C พบวาอะตอมไม มี พลังงาน และอนุภาคทั้งหมดในอะตอมหยุดนิ่ง ดังนั้น 0 K = -273 °C ซึ่งหนวยเคลวินนิยมใชในการคํานวณ ทางวิทยาศาสตร
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 2.1 การเทียบองศาของเทอรโมมิเตอรหนวยตาง ๆ แมวาการวัดอุณหภูมิจะมีอยูหลายหนวย แตคาที่อานไดก็สามารถแปลงเปนหนวยเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบได โดยเปนไปตามสมการ ตอไปนี้ °F = (1.8 x °C) + 32 °C = K - 273 °C = (°F – 32) / 1.8 K = °C + 273 2. การถายเทความรอน การถายเทความรอน คือ การที่ความรอนจากสสาร ระบบ หรือสิ่งแวดลอม ซึ่งมีอุณหภูมิสูงกวา ถายเทไปยังสสาร ระบบ หรือสิ่งแวดลอมที่มีอุณหภูมิต่ํากวา มี 3 ลักษณะ ไดแก การนําความรอน การพาความรอน และการแผรังสีความรอน ดังนี้ 2.1 การนําความรอน (Heat Conduction) เปนการถายเทความรอนจากจุดที่มีอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ํา โดยที่ ตัวกลางจะอยูกับที่ แตความรอนกระจายไปตามเนื้อวัตถุนั้น เชน การจับถวยที่ใสกวยเตี๋ยวรอน ๆ เปนตน วัสดุที่ ยอมใหความรอนไหลผานไดดีจะเรียกวา ตัวนําความรอน เชน เงิน ทองแดง เหล็ก สวนวัตถุที่ไมยอมใหความรอน ผาน เรียกวา ฉนวนความรอน เชน ไม พลาสติก ผา เปนตน
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 2.2 วัตถุที่เปนตัวนําความรอน
ภาพที่ 2.3 วัตถุที่เปนฉนวนความรอน
ภาพที่ 2.4 การนําความรอน 2.2 การพาความรอ น (Heat Convection) เปน การถา ยเทความรอ นผา นตัว กลางที่เ ปน ของเหลวหรือ แกส โดยที่ตัวกลางจะเคลื่อนที่พาความรอนไปดวย เพราะเมื่อสารไดรับความรอนแลวความหนาแนนของอนุภาคจะลดลง เกิดการขยายตัวลอยสูงขึ้น สวนที่ยังไมไดรับความรอนซึ่งมีความหนาแนนของอนุภาคมากกวาจะเคลื่อนที่มาแทน ตัวอยางเชน การสรางปลองควัน เพื่อระบายความรอนในโรงงานอุตสาหกรรม ก็อาศัยหลักการนี้ดวย
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 2.5 การพาความรอน 2.3 การแผรังสีความรอน (Radiation) เปนการถายเทความรอนทุกทิศทาง โดยไมตองใชตัวกลาง เชน ความรอน จากดวงอาทิตยที่ผานอวกาศมาสูโลก วัตถุตาง ๆ จะมีความสามารถในการดูดกลืนความรอนจากการแผรังสีได ไมเ ทากัน ขึ้น อยูกับ สีของวัต ถุ และพื้น ผิว ของวัต ถุ โดยวัต ถุที่มีสีเขมจะดูดกลืน ความรอนไดดีกวาวัต ถุสีออน และวัตถุท่ีมีผิวขรุขระจะดูดกลืนรังสีไดดีกวาวัตถุผิวเรียบมันวาว
ภาพที่ 2.6 การแผรังสีความรอน
3. เคมีเบื้องตน สสาร (Matter) คือ สิ่งที่มีตัวตน มีมวล และตองการที่อยู สามารถสัมผัสไดโดยประสาทสัมผัส ทั้ง 5 แตยังไมทราบ สมบัติที่แนนอน เชน ดิน น้ํา อากาศ เปนตน ภายในสสารหรือเนื้อของสสาร เรียกวา สาร สาร (Substance) คื อ สสารที ่ รู แ ละสามารถระบุส มบัต ิแ ละองคป ระกอบที ่แ นน อน โดยสมบัต ิข องสาร แบงออกเปน 2 ประเภท 1) สมบัติทางกายภาพ (Physical Properties) หมายถึง สมบัติสารที่สังเกตจากลักษณะภายนอก เชน สถานะ เนื้อสาร สี กลิ่น รส ความหนาแนน จุดเดือด จุดหลอมเหลว การนําไฟฟา การนําความรอน การละลาย ความเหนียว ความแข็ง เปนตน 61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2) สมบัติทางเคมี (Chemical Properties) หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวของกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีและองคประกอบ ทางเคมีของสาร เชน การผุกรอน การติดไฟ การทําปฏิกิริยากับน้ํา การทําปฏิกิริยากับกรดเบส เปนตน สารแบงออกเปน 3 สถานะ คือ 1) ของแข็ง (Solid) หมายถึง สารที่มีลักษณะรูปรางไมเปลี่ยนแปลง และมีรูปรางเฉพาะตัว เนื่องจากอนุภาค ในของแข็ ง จั ด เรี ย งชิ ด ติ ด กั น และอัด แนน อยา งมีร ะเบีย บไมมี ก ารเคลื่ อ นที่ ห รื อ เคลื่ อ นที่ ไ ดน อ ยมาก ไมสามารถทะลุผานไดและไมสามารถบีบหรือทําใหเล็กลงได 2) ของเหลว (Liquid) หมายถึง สารที่มีลักษณะไหลได มีรูปรางตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคในของเหลว อยูหางกันมากกวาของแข็ง อนุภาคไมยึดติดกันจึงสามารถเคลื่อนที่ไดในระยะใกล และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน มีปริมาตรคงที่ สามารถทะลุผานได 3) แกส (Gas) หมายถึง สารที่ลักษณะฟุงกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคของแกสอยูหางกัน มาก มีพลังงานในการเคลื่อนที่อยางรวดเร็วไปไดในทุกทิศทางตลอดเวลา จึงมีแรงดึงดูดระหวางอนุภาคนอย มาก สามารถทะลุผานไดงาย และบีบอัดใหเล็กลงไดงาย อนุภาคของสารมีอยู 3 แบบ ไดแก 1) อะตอมของธาตุ เขียนแทนดวยตัวอักษรภาษาอังกฤษ เชน H = ไฮโดรเจน O = ออกซิเจน อะตอมเป น อนุภาคขนาดเล็กที่สุด ซึ่งประกอบดวยอนุภาคพื้นฐาน ไดแก อิเล็กตรอน (e) ที่มีประจุไฟฟาลบ โปรตอน (p) มีประจุไฟฟาบวก และนิวตรอน (n) ไมมีประจุไฟฟา 2) โมเลกุล เปนอนุภาคที่สามารถอยูในธรรมชาติ ไดอยางอิส ระ ซึ่งโมเลกุลเกิดจากการรวมกัน ของอะตอม ตั้ งแต 2 อะตอมขึ้ น ไป โดยเขี ย นแทนดว ยสูต รเคมี เชน H2O เปน สูตรเคมี ข องน้ํา ซึ่งประกอบไปด ว ย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม 3) ไอออน เปนอะตอมที่มีประจุไฟฟาซึ่งมี 2 ชนิด คือ ไอออนบวก และไอออนลบ เชน H+ กับ O-2
ภาพที่ 2.7 อะตอม โมเลกุล ไอออน
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. องศาฟาเรนไฮต มีจุดหลอมเหลวที่ 34 °F และมีจุดเดือดที่ 200 °F 2. ตัวอยางหนึ่งของการพาความรอน คือ การสรางปลองควัน เพื่อระบายความรอนใน โรงงานอุตสาหกรรม 3. การพาความรอน คือ การถายเทความรอนจากจุดที่มีอุณหภูมิสูงไปยังอุณหภูมิต่ํา โดยที่ตัวกลางจะอยูกับที่ แตความรอนกระจายไปตามเนื้อวัตถุ 4. การแผรังสีความรอน แตกตางกับการถายเทความร อนอื่น ๆ เนื่องจากเป น การถายเทความรอนโดยไมตองผานตัวกลาง 5. ในการถายเทความรอน ถาสสารมีอุณหภูมิต่ํากวาสิ่งแวดลอม ความรอนจะถูก ถายเทออกจากสสารไปสูสิ่งแวดลอม 6. องศาสั มบู ร ณ คือ การแสดงความสั ม พั น ธ ร ะหว า งความร อ นและอุ ณ หภู มิ เรียกอีกอยางหนึ่งวา องศาเคลวิน 7. สารในสถานะของเหลว มีพลังงานในการเคลื่อนที่อยางรวดเร็วไปไดในทุกทิศทาง จึงมีแรงดึงดูดระหวางอนุภาคนอยมาก สามารถทะลุผานไดงาย และบีบอัดใหเล็ก ลงไดงาย 8. การผุ ก ร อ น การติ ด ไฟ การทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ น้ํ า คื อ ตั ว อย า งของสมบั ติ ทางเคมี 9. การแปลงหนวยองศาเคลวินใหเปนองศาเซลเซียส สามารถทําไดโดย นําคา อุณหภูมิหนวยองศาเซลเซียส มาลบกับ 273 10. อุณหภูมิ คือ ตัวเลขที่มีการเปลี่ยนแปลงสัมพันธกับพลังงานจลนในอะตอม เนื่องจากเมื่ออะตอมไดรับพลังงานจลน อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่รอบ ๆ นิวเคลียส และเปลี่ยนระดับโคจร และอาจจะหลุดออกจากวงโคจรได
63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องการนําความรอนของแทงไมและแทงแกวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงไมและแทงแกว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
สภาพของดินน้ํามัน
ดินน้ํามันที่ปลายแทงไม
ดินน้ํามันที่ปลายแทงแกว สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4. การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดทดลองการนําความรอน
จํานวน 1 ชุด
2. ถวยทดลอง ขนาด 250 ซีซี.
จํานวน 1 ใบ
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํารอน
ปริมาตร 200 ซีซี.
2. ดินน้ํามัน
จํานวน 2 กอน
3. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. เตรียมน้ํารอนในถวยทดลอง
เทน้ํารอนลงในถวยทดลองใหไดปริมาตร 200 ซีซี
3. ประกอบชุดทดลอง
ประกอบแท ง ไม แ ละแท ง แก ว เข า กั บ ชุ ด
4. ติดดินน้ํามันไวที่ปลายแทงไมและแทงแกว
ทดลองการนําความรอน ปนดินน้ํามันเปนกอนกลม ๆ แลวติดไวที่ ปลายแทงไมและแทงแกว
5. เทน้ํารอนลงในชุดทดลอง
เทน้ํารอนจากถวยทดลองลงในชุดทดลอง การนําความรอนที่ประกอบเสร็จเรียบรอย แลว
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. สังเกตผล
คําอธิบาย รอระยะเวลา 10 นาที สังเกตผลที่เกิดขึ้น และบันทึกลงในตาราง
7. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 2.1 การทดลองนําความรอนของแทงไมและแทงแกว คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการทดลองการนําความรอนของยางและพลาสติก และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
สภาพของดินน้ํามัน มีลักษณะเหมือนเดิม
ดินน้ํามันที่ปลายแทงไม มีลักษณะเหมือนเดิม ดินน้ํามันที่ปลายแทงแกว สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา ดินน้ํามันมีสภาพคงเดิม ไมหลุดออกจากปลายแทงไมและปลายแทงแกว แมน้ําในแกวจะมี อุณหภูมิสูงมาก แตความรอนก็ไมสงผานแทงไมและแทงแกวไปยังดินน้ํามัน จึงสรุปไดวาวัสดุทั้งสอง ซึ่งทําจากไมและแกว ไมสามารถนําความรอนได
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน และเคมีเบื้องตนได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดงได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง และบันทึกผลการทดลอง ลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
สภาพของดินน้ํามัน
ดินน้ํามันที่ปลายแทงอะลูมิเนียม ดินน้ํามันที่ปลายแทงเหล็ก
ดินน้ํามันที่ปลายแทงทองแดง สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดทดลองการนําความรอน (อะลูมิเนียม เหล็ก ทองแดง)
จํานวน 1 ชุด
2. ถวยทดลอง ขนาด 250 ซีซี.
จํานวน 1 ใบ
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5. การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํารอน
ปริมาตร 200 ซีซี..
2. ดินน้ํามัน
จํานวน 2 กอน
3. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. ประกอบชุดทดลอง
ประกอบแท ง อะลู มิ เ นี ย ม เหล็ ก และ
3. ติดดินน้ํามันไวที่ปลายแทงไมและแทงแกว
ทองแดงเข า กั บ ชุ ด ทดลองการนํ า ความ รอน ปนดินน้ํามันเปนกอนกลม ๆ แลวติดไวที่ ปลายแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง
4. เตรียมน้ํารอนในถวยทดลอง
เทน้ํารอนลงในถวยทดลองใหไดปริมาตร ระวังอยาใหน้ํารอนหก
5. เทน้ํารอนลงในชุดทดลอง
250 cm3
เพราะอาจทํ า ให เ กิ ด อุบัติเหตุได
เทน้ํารอนในถวยทดลองลงในชุดทดลอง ก า ร นํ า ค ว า ม ร อ น ที่ ป ร ะ ก อ บ เ ส ร็ จ เรียบรอยแลว
75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. สังเกตผล
คําอธิบาย รอระยะเวลา 10 นาที สังเกตผลที่เกิดขึ้น และบันทึกลงในตาราง
7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 2.2 การทดลองนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองการนําความรอนของแทงอะลูมิเนียม เหล็ก และทองแดง และบันทึกผลการทดลองลงใน ตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
สภาพของดินน้ํามัน ละลายหลุดออกจากแทงอะลูมิเนียมภายในเวลา 3 นาที
ดินน้ํามันที่ปลายแทงอะลูมิเนียม ละลายหลุดออกจากแทงเหล็กภายในเวลา 4 นาที ดินน้ํามันที่ปลายแทงเหล็ก ละลายหลุดออกจากแทงทองแดงภายในเวลา 2 นาที ดินน้ํามันที่ปลายแทงทองแดง สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา ดินน้ํามันละลายและหลุดออกจากปลายแทงลวดทองแดงภายในเวลา 2 นาที ละลายและหลุดออก จากปลายแทงเหล็กภายในเวลา 4 นาที และปลายแทงอะลูมิเนียม ภายในเวลา 3 นาที แสดงใหเห็นวา เหล็ก อะลูมิเนียม และ ทองแดงสามารถสงผานความรอนไปถึงดินน้ํามัน ได จึงสรุปไดวา วัสดุทั้งสามชนิดมีคุณสมบัตินําความรอน ซึ่งวัสดุที่นําความ รอนไดดีที่สุด คือทองแดง เพราะความรอนที่สงผานทองแดง ทําใหดินน้ํามันละลายและหลุดออกโดยใชเวลานอยกวาเหล็ก
78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน
79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921010303 หลักการของของเหลว (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได
2. หัวขอสําคัญ 1. แรงลอยตัว 2. ความตึงผิว 3. ความหนืด
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) เชือกเสนเล็ก จํานวน 1 เสน 2) ดินน้ํามัน จํานวน 4 กอน 3) น้ํา จํานวน 2 ลิตร 4) น้ํายาลางจาน จํานวน 1 ขวด 5) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) แกวน้ํา จํานวน 1 ใบ 2) คลิปหนีบกระดาษ จํานวน 1 กลอง 3) เครื่องชั่งน้ําหนักดิจิทัล จํานวน 1 เครื่อง 4) เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน จํานวน 1 อัน 5) ถวยทดลอง จํานวน 1 ใบ 6) ถวยยูเรกา จํานวน 1 ใบ
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ของไหล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.neutron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com_ content&task=view&id=2532 ความตึงผิว. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/9/ Fluid/sureface.htm ความหนืด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/15/9/ Fluid/viscosity.htm
83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 61-87 5. เตรี ย มสื่ อ การสอนของจริ ง ได แ ก ใบไม ส ด โลหะทรงกลมรั ศมี 2 มิ ล ลิ เ มตร น้ําสะอาด น้ํามัน หลอดทดลอง 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับหลักการของของเหลว
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง หลักการของ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย พรอมแสดงความคิดเห็น ของเหลว ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 61-87
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง หลักการของของเหลว หนาที่ 61-87 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 64-67 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 แรงลอยตัว 2.2 ความตึงผิว 84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 ความหนืด 3. ทดลองหยดน้ํ า ลงบนใบไม ให ผู รั บ การฝ ก 3. สังเกตหยดน้ําบนใบไมและแสดงความคิดเห็น สังเกตแรงตึงผิวของหยดน้ําบนใบไม 4. ทดลองเทน้ํามันลงในหลอดทดลอง จากนั้น 4. สังเกตการณเคลื่อนที่ของวัตถุและแสดง หยอนวัตถุทรงกลมลงในของเหลวในแนวดิ่ง ความคิดเห็น เพื่อสังเกตการเคลื่อนที่ของวัตถุ 5. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 5. ทําใบทดสอบ หนาที่ 68-69 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 68-69 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 6. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 6. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 94 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 7. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.1 การทดลอง 7. ศึกษาใบงานที่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของ เรื่องแรงลอยตัวของของเหลว จากคูมือผูรับ ของเหลว จากคู มื อผู รั บการฝ ก หน า ที่ 70-77 การฝก หนาที่ 70-77 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 8. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-04:07 พรอม 8. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 7.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่ อ งมื อ และ อุปกรณที่ใชทดลองเรื่องแรงลอยตัวของ ของเหลว กอนใชงาน 7.2 เช็ ด ทํ า ความสะอาดเครื่ อ งมื อ และ อุปกรณกอนใชงาน 7.3 ชั่ งน้ํ า หนั กของวั ตถุ ดว ยเครื่ องชั่งสปริง แบบแขวน 7.4 อานคาน้ําหนักของวัตถุที่ชั่งดวยเครื่อง ชั่งสปริงแบบแขวน 7.5 ชั่งน้ําหนักของวัตถุดวยเครื่องชั่งดิจิทัล 7.6 อานคาน้ําหนักของวัตถุที่ชั่งดวยเครื่องชั่ง ดิจิทัล 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 7.7 ชั่งน้ําหนักวัตถุในน้ําโดยใชถวยยูเรกา 7.8 อานคาน้ําหนักของวัตถุในน้ําที่ชั่งได 7.9 คํานวณหาน้ําหนักที่หายไปของวัตถุ 9. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 9. แบงกลุมตามความสมัครใจ 10. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 10. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 71 หนาที่ 96 11. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 11. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 12. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 12. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 13. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 13. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 14. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.2 การทดลอง 14. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึง เรื่ อ งความตึ ง ผิ ว ของของเหลว จากคู มื อ ผิวของของเหลว จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 78ผูรับการฝก หนาที่ 78-87 87 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 15. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 04:14-09:58 พรอม 15. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาสุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 14.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่ อ งมื อ และ อุปกรณที่ใชทดลองเรื่ อง ความตึงผิ ว ของของเหลว กอนใชงาน 14.2 เช็ ด ทํ า ความสะอาดเครื่ อ งมื อ และ อุปกรณกอนใชงาน 14.3 ทดลองวางคลิ ป หนี บ กระดาษลงใน แกวที่บรรจุน้ําเปลา 14.4 สังเกตแรงตึงผิวของน้ํา โดยสังเกตวามี คลิปหนีบกระดาษกี่ตัวที่สามารถลอย บนผิวน้ําได 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 14.5 ผสมน้ํากับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50 14.6 ทดลองวางคลิ ป หนี บ กระดาษลงใน แก ว ที่ บ รรจุ น้ํ า กั บ น้ํ า ยาล า งจานใน อัตราสวน 50:50 14.7 สังเกตแรงตึงผิวของน้ํา โดยสังเกตวามี คลิปหนีบกระดาษกี่ตัวที่สามารถลอย บนผิวน้ําได 14.8 ผสมน้ํากับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 25:75 14.9 ทดลองวางคลิ ป หนี บ กระดาษลงใน แก ว ที่ บ รรจุ น้ํ า กั บ น้ํ า ยาล า งจานใน อัตราสวน 25:75 14.10 สังเกตแรงตึงผิวของน้ํา โดยสังเกตวามี คลิปหนีบกระดาษกี่ตัวที่สามารถลอย บนผิวน้ําได 14.11 ทดลองวางคลิ ป หนี บ กระดาษลงใน แกวบรรจุน้ํายาลางจาน 14.12 สังเกตแรงตึงผิวของน้ํา โดยสังเกตวามี คลิปหนีบกระดาษกี่ตัวที่สามารถลอย บนผิวน้ําได 16. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 16. แบงกลุมตามความสมัครใจ 17. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม 17. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 105 ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 79 18. ควบคุ ม ดู แ ลและให คํ า แนะนํ า ผู รั บ การฝ ก ขณะ 18. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 19. ตรวจเช็ ค วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หลั ง จาก 19. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 20. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 20. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อง หลั กการของ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ของเหลว ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง หลั ก การของ รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย ของเหลวเกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน
88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 หลักการของของเหลว เนื่องจากของเหลวมีแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลมากกวาแกส แตนอยกวาของแข็ง ปจจัยดานแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลนี้ ทําใหของเหลวมีสมบัติพิเศษ ดังนี้ 1. แรงลอยตัว (Buoyant Force) คือ แรงดึง ดูดระหวางโมเลกุล ของของเหลวที่ชว ยพยุงวัต ถุที่แชใ นของเหลวนั้น โดยปจจัยที่สงผลตอแรงลอยตัวของของเหลว ไดแก - ความหนาแนน ของวัต ถุแ ละของเหลว เนื่อ งจากสารแตล ะชนิด มีค วามหนาแนน ไมเ ทา กัน ในการวัด ความหนาแน น ของของเหลวจะใช ไ ฮโดรมิ เ ตอร ซึ่ ง อาศั ย หลั ก การเกี่ ย วกั บ แรงลอยตั ว ของของเหลว โดยการเปรียบเทียบระหวางวัตถุที่มีปริมาตรเทากัน จะพบวา กรณีที่ 1 ถาวัตถุมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว วัตถุนั้นจะลอย
ภาพที่ 3.1 วัตถุลอยในของเหลว กรณีที่ 2 ถาวัตถุมีความหนาแนนใกลเคียงกับของเหลว วัตถุนั้นจะลอยปริ่มของเหลว
ภาพที่ 3.2 วัตถุลอยปริ่มของเหลว 89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กรณีที่ 3 ถาวัตถุมีความหนาแนนมากกวาของเหลว วัตถุนั้นจะจม
ภาพที่ 3.3 วัตถุจมของเหลว - ขนาดของวั ต ถุ มี ผ ลต อ ปริ ม าตรของวั ต ถุ ส ว นที่ จ มลงไปในของเหลว ยิ่ ง มี ส ว นที่ จ มในของเหลวมาก แรงลอยตัวที่กระทําของสวนนั้นก็มากดวย ตามหลักการของอารคิมีดีส ซึ่งมีสาระสําคัญวา กรณีที่วัตถุจม ทั้งชิ้น ขนาดของแรงลอยตัว จะเทากับ ขนาดของน้ําหนัก ของของเหลวที่มีป ริม าตรเทากับ วัต ถุ กรณีที่ วัตถุจมแคบางสวนหรือวัตถุลอย ขนาดของแรงลอยตัวจะเทากับน้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับ วัตถุสวนที่จมในของเหลว
ภาพที่ 3.4 หลักการของอารคิมีดีส 2. ความตึงผิว (Surface tension) คือ ความพยายามในการยึดเหนี่ยวกันของโมเลกุลบริเวณผิวของของเหลว ซึ่งเกิดจาก แรงตึงผิวที่กระทําตอวัตถุที่ไปสัมผัสกับของเหลวในทิศทางตั้งฉากกับวัตถุที่สัมผัส แตขนานกับผิวของของเหลว
90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 3.5 ทิศทางของแรงตึงผิว โดยแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลในของเหลวจะมีแรง 2 ประเภท ไดแก 1) แรงยึดติด (Cohesive Forces) เปนแรงที่ยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของของเหลวชนิดเดียวกัน ซึ่งแรงประเภทนี้ สามารถรับความเคนดึงไดเล็กนอย 2) แรงเชื่อมแนน (Adhesive Forces) เปนแรงที่ยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของของเหลวกับสารชนิดอื่น เชน น้ํากับแกว เปนตน
ภาพที่ 3.6 Cohesive Forces และ Adhesive Forces ปรากฎการณเกี่ยวกับแรงตึงผิว เชน การเกิดหยดของของเหลวในการฉีดของเหลวออกจากหัวฉีด หรือหยดของเหลว บนใบไม ซึ่งแรงตึงผิวจะสงผลใหหยดของเหลวอยูในลักษณะทรงกลม การวางเข็มบนผิวน้ํา และการวิ่งบนผิวน้ําของจิงโจน้ํา
91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 3.7 หยดน้ําบนใบไม
ภาพที่ 3.8 จิงโจน้ําบนผิวน้ํา 3. ความหนืด (Viscosity) แสดงถึงความสามารถของของเหลวในการตานทานการไหล เนื่องมาจากแรงที่ตานทานการเคลื่อนที่ ของวัตถุในของเหลว เรียกวา แรงหนืด ซึ่งขนาดของแรงหนืดจะขึ้นอยูกับความเร็วของวัตถุในของเหลว และแรงหนืด มีทิศทางตรงขามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยกฎของสโตกสไดคนพบความหนืดของของเหลว จากการทดลอง ปลอยลูกโลหะกลมลงในของเหลวชนิดหนึ่งในแนวดิ่ง โดยแรงหนืดจะตานทานความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ จนทําให วัตถุมีความเร็วคงที่จึงจะทราบแรงหนืดสูงสุดของของเหลว
ภาพที่ 3.9 ความหนืดของของเหลว 92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. แรงลอยตัว คือ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของของเหลวที่ชวยพยุงวัตถุที่แชใน ของเหลวนั้น 2. ถาวัตถุมีความหนาแนนนอยกวาของเหลว วัตถุนั้นจะจม 3. ถาของเหลวมีความหนาแนนนอยกวาวัตถุ วัตถุนั้นจะจม 4. ปจจัยที่สงผลตอแรงลอยตัวของวัตถุในของเหลว ไดแก ความหนาแนนของวั ตถุ และขนาดของภาชนะที่บรรจุของเหลว 5. ตามหลักการของอารคิมีดีส ในกรณีที่วัตถุจมทั้งชิ้น ขนาดของแรงลอยตัวจะเทากับ ขนาดของน้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเทากับวัตถุ 6. ยิ่ งวั ตถุ มีส ว นที่จ มในของเหลวมาก แรงลอยตัว ที่ก ระทํ า ของสว นนั้ น จะลด นอยลง 7. “ความพยายามในการยึดเหนี่ยวกันของโมเลกุลบริเวณผิวของของเหลว ซึ่งเกิดจาก แรงตึงผิวที่ กระทํ าตอ วัต ถุที่ไ ปสัม ผัส กับ ของเหลวในทิศ ทางตั ้ง ฉากกับ วัต ถุท่ี สัมผัส แตขนานกับผิวของของเหลว” คือความหมายของความตึงผิว 8. แรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลในของเหลว มี 2 ประเภท คือ แรงยึดติด และแรง ควบแนน 9. ความสามารถของของเหลวในการตานทานการไหล เรียกวา ความหนืด 10. ขนาดของแรงหนืดจะขึ้นอยูกับความเร็วของวัตถุในของเหลว และแรงหนืด มีทิศทางเดียวกันกับทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุ
93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
ผลการทดลอง (g)
น้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งในอากาศ (ก.) น้ําหนักของดินน้ํามันขณะจมครึ่งกอน (ข.) น้ําหนักของดินน้ํามันขณะจมทั้งกอน (ค.) สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องชั่งสปริงแบบแขวน
จํานวน 1 อัน
2. ถวยยูเรกา
จํานวน 1 ใบ
3. ถวยทดลอง
จํานวน 1 ใบ
4. เครื่องชั่งน้ําหนักดิจิทัล
จํานวน 1 เครื่อง
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา
จํานวน 1 ลิตร
2. ดินน้ํามัน
จํานวน 1 กอน
3. เชือกเสนเล็ก
จํานวน 1 เสน
4. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน 96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. เตรียมชั่งน้ําหนักกอนดินน้ํามัน
นําปลายเชือกขางหนึ่งผูกกับกอนดินน้ํามัน ปลายเชือกที่เหลือผูกคลองกับตะขอเครื่อง ชั่งสปริง
3. ชั่งน้ําหนักกอนดินน้ํามัน
ชั่งน้ําหนักของดินน้ํามันขณะอยูในอากาศ สังเกตและบันทึกผล
97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ชั่งน้ําหนักของถวยทดลองเปลา
คําอธิบาย นํ า ถ ว ยทดลองเปล า ชั่ ง บนเครื่ อ งชั่ ง
ขอควรระวัง
น้ําหนัก และบันทึกผล
5. เทน้ําลงในถวยยูเรกา
เทน้ําใสในถวยยูเ รกา ซึ่งมีชองทางใหน้ํ า ระวังอยาทําน้ําหกและ
6. ชั่งน้ําหนักของดินน้ํามันในน้ํา
ลน ออกมาได และวางถว ยทดลองไวใตรู ทําใหพื้นเปย ก เพราะ ของถวยยูเรกา
อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
ชั่งน้ําหนักของดิ นน้ํามัน ในน้ําขณะจมทั้ง กอน และบันทึกผล
7.หาน้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป
นําน้ําหนักของดินน้ํามันขณะชั่งในอากาศ ลบกับน้ําหนักของดินน้ํามันขณะชั่งในน้ํา เพื่อหาน้ําหนักที่หายไป และบันทึกผล
8. ชั่งน้ําหนักน้ําที่ลนออกจากถวยยูเรกา
นําถวยทดลองที่รองรับน้ําซึ่งลนจากถ ว ย ยูเรกาไปชั่งน้ําหนัก และบันทึกผล
98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. เปรียบเทียบน้ําหนักของน้ําในถวยทดลองกับ
คําอธิบาย เปรียบเทียบน้ําหนักของน้ําในถวยทดลอง
น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป
ซึ่งเปนน้ําที่ลนออกมาจากถวยยูเรกา กับ น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป และสรุปผล การทดลอง
10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 3.1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองเรื่องแรงลอยตัวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผล การทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
ผลการทดลอง (g)
น้ําหนักของถวยทดลองเปลา
10.2
น้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งในอากาศ
4.8
น้ําหนักของดินน้ํามันที่ชั่งในน้ํา
4.2
น้ําหนักของน้ําที่ลนจากถวยยูเรกา
2.3
สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา น้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งในอากาศจะมีคามากกวาน้ําหนักของดินน้ํามันเมื่อชั่งขณะจมน้ํา ทั้งกอน เนื่องจากในน้ํามีแรงที่มากระทําตอวัตถุ และเมื่อนําน้ําที่ลนออกมาจากถวยยูเรกาไปชั่งน้ําหนัก และเปรียบเทียบกับ น้ําหนักของดินน้ํามันที่หายไป จะพบวา น้ําหนักของน้ําที่ลนและน้ําหนักของดินน้ํามันสวนที่หายไปเมื่อชั่งในน้ํามีคาใกลเคียง กัน ดังนั้น จึงสรุปไดวาขนาดของแรงที่มากระทําตอวัตถุในของเหลวมีคาเทากับขนาดน้ําหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่
101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน
5
ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน
102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับหลักการของของเหลวได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้ง เขียนสรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
จํานวนคลิปหนีบกระดาษ
ในน้ําสะอาด ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50 ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 25:75 ในน้ํายาลางจาน สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คลิปหนีบกระดาษ
จํานวน 1 กลอง
2. แกวน้ํา
จํานวน 1 ใบ
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํา
จํานวน 1 ลิตร
2. น้ํายาลางจาน
จํานวน 1 ขวด
3. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการทดลอง การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ
ขอควรระวัง
และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. เติมน้ําลงในแกว
เติมน้ําสะอาดใหเต็มแกว
ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
3. ดัดคลิปหนีบกระดาษ
ดัดคลิปหนีบกระดาษใหเปนรูปตัวแอล (L)
4. วางคลิปหนีบกระดาษ
วางคลิปหนีบกระดาษบนคลิปหนีบ กระดาษรูปตัวแอล
106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว
คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง
ขอควรระวัง
เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได
6. วางคลิปหนีบกระดาษใหเต็มผิวน้ํา
วางคลิปหนีบกระดาษใหเต็มผิวน้ํา สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง
2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ผสมน้ํากับน้ํายาลางจาน
คําอธิบาย นําน้ําผสมกับน้ํ ายาลางจานในอั ตราส ว น 50:50 แลวเทใสแกวใหเต็ม
2. วางคลิปหนีบกระดาษ
วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล
107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว
คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง
ขอควรระวัง
เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได
4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม
ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง
2.3 การทดลองที่ 3 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ผสมน้ํากับน้ํายาลางจาน
คําอธิบาย นําน้ําผสมกับน้ํ ายาลางจานในอั ตราส ว น 25:75 แลวเทใสแกวใหเต็ม
2. วางคลิปหนีบกระดาษ
วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล
108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว
คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง
ขอควรระวัง
เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได
4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม
ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง
2.4 การทดลองที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เทน้ํายาลางจาน
คําอธิบาย เทน้ํายาลางจานใสแกวใหเต็ม
2. วางคลิปหนีบกระดาษ
วางคลิ ป หนี บ กระดาษบนคลิ ป หนี บ กระดาษรูปตัวแอล
109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. วางคลิปหนีบกระดาษลงในแกว
คําอธิบาย วางคลิ ป หนี บ กระดาษลงในแก ว อย า ง เบามือ เพื่อใหคลิปหนีบกระดาษลอยอยูได
4. วางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม
ทดลองวางคลิปหนีบกระดาษเพิ่ม สังเกต และบันทึกผลลงในตาราง
5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 3.2 การทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความตึงผิวของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียนสรุปผล การทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ การทดลอง
จํานวนคลิปหนีบกระดาษ มากกวา 3 ตัว 0 ตัว 0 ตัว 0 ตัว
ในน้ําสะอาด ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50 ในน้ําผสมกับน้ํายาลางจานในอัตราสวน 25:75 ในน้ํายาลางจาน สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบวา เมื่อวางคลิปหนีบกระดาษบนผิวน้ําที่ไมมีสวนผสมของน้ํายาลางจาน คลิปหนีบกระดาษสามารถ ลอยอยูบนผิวน้ําไดมากกวา 3 ตัว แตเมื่อทดลองวางคลิปหนีบกระดาษบนผิวน้ําที่ผสมน้ํายาลางจานในอัตราสวน 50:50 25:75 และบนผิวของน้ํายาลางจานเพียงอยางเดียว พบวาคลิปหนีบกระดาษจมลงสูกนแกว จึงสรุปไดวา น้ําเพียงอยางเดียว มีความตึงผิวมากกวาน้ําที่ผสมน้ํายาลางจาน เนื่องจากน้ํายาลางจานเขาจับกับโมเลกุลของน้ําและลดการยึดเหนี่ยวของโมเลกุล ของน้ํา สงผลใหความตึงผิวของน้ําลดลง
112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด
3
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ผลการทดลองถูกตอง 3 ขอ ใหคะแนน 4 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 2 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองถูกตองนอยกวา 2 ขอ ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน
113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921010304 ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน แรง
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
- คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) เกลือ จํานวน 1 ถุง 2) ไขไกสด จํานวน 1 ฟอง 3) น้ํา จํานวน 2 ลิตร 4) น้ําตาล จํานวน 1 ถุง 5) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 1 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ชอนโตะ จํานวน 1 คัน 2) ถวยทดลอง ขนาด 500 ซีซี. จํานวน 1 ใบ 3) แทงแกวคนสาร จํานวน 1 แทง
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ครูฟสิกสไทย. แรง มวล และน้ําหนัก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.thaiphysicsteacher.com/ physics/contentclassmech/force-mass-and-weight/ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ความถวงจําเพาะ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ ความถ ว งจํา เพาะ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ความหนาแนน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ ความหนาแน น ความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/ oldnews/0/285/22/gas1/pressure_volume_temp.htm
117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 88-109 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริ ง ได แก แท งโลหะ รูปทรงสี่เหลี่ยม แทงโลหะรูปรางคลายขัน ถวย ทดลอง น้ําสะอาด 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ ความหมายของมวล ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความรูพื้นฐานที่มีอยู ความดัน และแรง ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ความหมายของ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 88-109
1. รั บ คู มื อผู รั บ การฝ ก เรื่ อง ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง หนาที่ 88-109 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย 118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 91-93 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 มวล 2.2 น้ําหนัก 2.3 ความถวงจําเพาะ 2.4 ความหนาแนน 2.5 ปริมาตร 2.6 ความดัน 2.7 แรง 3. ใหผูรับการฝกนําน้ําสะอาดเทใสถวยทดลอง 3. เทน้ํ า สะอาดใส ถ ว ยทดลองทั้ ง 2 ถ ว ย จากนั้ น ทั้ง 2 ถวย จากนั้นหยอนวัตถุลงในถวยทดลอง หยอนวัตถุล งในถว ยทดลอง และสังเกตการจม และสังเกตการจมและการลอยตัวของวัตถุที่มี และการลอยตัวของวัตถุที่มีความหนาแนนตางกัน ความหนาแนนตางกัน พรอมแสดงความคิดเห็น 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 94-95 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 94-95 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 126 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 4.1 การทดลองเรื่อง 6. ศึกษาใบงานที่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนน ความหนาแน นของของเหลว (น้ําประปาและ ของของเหลว (น้ําประปาและน้ําเกลือ) จากคูมือผูรับ น้ําเกลือ) จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 96-102 การฝก หนาที่ 96-102 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-02:59 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้ อ หา พร อ มแสดงความคิ ด เห็ น ด ว ยวาจาที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ สุภาพเรียบรอย ดังนี้ 7.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่ อ งมื อ และ อุ ป กรณ ที่ใช ในการทดลองเรื่ อง ความ หนาแนนของของเหลว (น้ําประปาและ น้ําเกลือ) กอนใชงาน 119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 7.2 วางไข ไ ก ส ดลงในถ ว ยทดลองบรรจุ น้ําสะอาด 7.3 สังเกตการลอยตัวของไขไกสด 7.4 ผสมน้ํ า สะอาดกั บ เกลื อ ในอั ตราส ว นที่ ใบงานกําหนด 7.5 วางไข ไ ก ส ดลงในถ ว ยทดลองบรรจุ น้ําเกลือ 7.6 สังเกตการลอยตัวของไขไกสด 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 128 ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 97 10. ควบคุ ม ดู แ ลและให คํ า แนะนํ า ผู รั บ การฝ ก ขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ ค วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หลั ง จาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 4.2 การทดลองเรื่อง 13. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 4.2 การทดลองเรื่องความ ความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปาและน้ํา หนาแนน ของของเหลว (น้ําประปาและน้ําผสม ผสมน้ํ าตาล) จากคู มือผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 103น้ําตาล) จากคูมือผูรับ การฝก หนาที่ 103-109 109 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึ ก ษาสื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 03:04-06:08 พร อ ม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่จะ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็น ดวยวาจาสุภาพ ปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ เรียบรอย 14.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่ อ งมื อ และ อุปกรณที่ใชในการทดลองเรื่อง ความ หนาแนนของของเหลว (น้ําประปากับ น้ําตาล) กอนใชงาน 14.2 วางไขไกสดลงในถวยทดลองบรรจุน้ํา สะอาด 120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 14.3 สังเกตการลอยตัวของไขไกสด 14.4 ผสมน้ําสะอาดกับน้ําตาลในอัตราสวน ที่ใบงานกําหนด 14.5 วางไขไกสดลงในถวยทดลองบรรจุน้ํา ผสมน้ําตาล 14.6 สังเกตการณลอยตัวของไขไกสด 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 136 ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 104 17. ควบคุ ม ดู แ ลและให คํ า แนะนํ า ผู รั บ การฝ ก ขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ ค วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หลั ง จาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ความหมายของ มวล น้ํ า หนั ก ความถ ว งจํ า เพาะ ความหนาแน น ปริมาตร ความดัน และแรง ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง ความหมายของ มวล น้ํ า หนั ก ความถ ว งจํ า เพาะ ความหนาแน น ปริ ม าตร ความดั น และแรงเกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการ ปฏิ บั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการ คุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ความหมายของมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1. มวล (Mass) เปนสมบัติของสสารซึ่งบงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ หรืออีกความหมายหนึ่ง หมายถึง ความเฉื่อยตอการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยมวลเขียนแทนดวยสัญลักษณ m มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg) 2. น้ําหนัก (Weight) หมายถึง แรงที่กระทําตอวัตถุอันเนื่องมาจากความเรงโนมถวงของโลก เขียนแทนดวยสัญลักษณ W โดยน้ําหนักของวัตถุจะคํานวณจากมวล (m) คูณกับ ความเรงโนมถวงของโลก (g) มีหนวยเปนนิวตัน (N) 3. ความถวงจําเพาะ (Specific Gravity) หมายถึง อัตราสวนระหวางความหนาแนนของวัตถุกับความหนาแนนของน้ํา ณ อุณหภูมิหนึ่ง ซึ่งความถวงจําเพาะเปนลักษณะทางกายภาพของสาร เพื่อใชเปรียบเทียบกับน้ําที่มีความถวงจําเพาะ เทากับ 1 ถาใสวัตถุลงในน้ํา วัตถุมีความถวงจําเพาะมากกวา 1 จะจมน้ํา สวนวัตถุที่มีความถวงจําเพาะนอยกวา 1 จะลอยน้ํา ความถวงจําเพาะเขียนแทนดวยสัญลักษณ SG
ภาพที่ 4.1 การจมและการลอยของกอนโลหะที่มีความหนาแนนตางกัน 4. ความหนาแน น (Density) เป น ค า ที่บ งบอกมวลของสาร (m) ในหนึ่งหนว ยปริมาตร (V) มีห นว ยเปน กิโ ลกรัมตอ ลูกบาศกเมตร (kg/m3) ความหนาแนนเปนสมบัติที่เกี่ยวกับเนื้อของวัตถุ วัตถุที่มีเนื้อแนนจะมีความหนาแนนมากกวา วัตถุที่มีเนื้อโปรง การคํานวณหาความหนาแนนของวัตถุ จะเริ่มจากการนําวัตถุไปชั่งเพื่อหามวล และคํานวณหาปริมาตร ถาวัตถุมีลักษณะเปนรูปทรงเรขาคณิต สามารถคํานวณไดโดยใชสูตร แตถาวัตถุนั้นไรรูปราง สามารถคํานวณไดโดยใช การแทนที่น้ําในถวยยูเรกา น้ําที่ลนออกจากถวยจะมีปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุ อยางไรก็ตาม วิธีนี้สามารถใชกับ วัตถุรูปทรงเรขาคณิตได เมื่อคํานวณหามวลและปริมาตรแลว ใหคํานวณหาความหนาแนนโดยใชสูตร ดังนี้ 122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ρ= เมื่อ
m V
ρ คือ ความหนาแนนของวัตถุ มีหนวยเปนกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร (kg/m3)
m คือ มวลรวมของวัตถุ มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg)
V คือ ปริมาตรรวมของวัตถุ มีหนวยเปนลูกบาศกเมตร (m3) คาที่ควรจํา : ความหนาแนนของน้ําประปา = 1g/cm3
ภาพที่ 4.2 ความหนาแนนที่แตกตางกันของวัตถุชนิดตาง ๆ 5. ปริมาตร (Volume) หมายถึง บริเวณที่อนุภาคตาง ๆ อยูในลักษณะสามมิติ โดยพิจารณาจากความกวาง ความยาว และความสูง เขีย นแทนดว ยสัญ ลัก ษณ V โดยหนว ยของปริม าตรตามมาตรฐานสากลโลก หรือ SI Unit คือ ลูกบาศกเมตร (m3) และหนวยอื่น ๆ เชน ลิตร (L) มิลลิลิตร (ml) และซีซี (Cubic Centimeter) เปนตน
ภาพที่ 4.3 ปริมาตรรูปทรงสามมิติ
123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
6. ความดัน (Pressure) หมายถึง อัตราสวนระหวางแรงของของแข็ง ของเหลว หรือแกส ที่กระทําในทิศทางตั้งฉากกับ พื้นที่ของสาร เขียนแทนดวยสัญลักษณ p เขียนเปนรูปสมการไดดังนี้
P = F/A โดยที่ P คือ ความดันในหนวย F ตอหนวยพื้นที่ A A คือ แรงรวมในหนวยวัดแรงอยางใดอยางหนึ่ง A คือ พื้นที่ทั้งหมดที่ไดรับแรงในหนวยของพื้นที่อยางใดอยางหนึ่ง หนวยความดันที่ใชมีดังนี้ กิโลกรัมตอตารางเซนติเมตร (kg/cm2) ปอนดตอตารางนิ้ว (Ib/in2, psi) กิโลปาสคาล (kPa) นิวตันตอตารางเมตร (N/m2) มิลลิเมตรปรอท (mmHg) นิ้วปรอท (inHg) บาร (Bar) โดย 1 บาร เทากับ 105 N/m2
ภาพที่ 4.4 ความดัน 7. แรง (Force) คือ อํานาจซึ่งเปลี่ยนหรือพยายามจะเปลี่ยนสถานะอยูนิ่งหรือเคลื่อนที่ของวัตถุ เชน การทําใหวัตถุที่กําลัง เคลื่อนที่หยุดการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนแปลงรูปรางของวัตถุ เขียนแทนดวยสัญลักษณ Fและมีหนวยเปนนิวตัน (N)
124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. ความถ ว งจํ าเพาะ หมายถึง อัต ราสว นระหวา งความหนาแนน ของวัต ถุกับ ความหนาแนนของน้ํา ณ อุณหภูมิหนึ่ง 2. ความดัน คือ อัตราสวนระหวางแรงของของแข็ง ของเหลว หรือแกส ที่กระทํา ในทิศทางขนานกับพื้นที่ของสาร 3. น้ําหนัก คือ สมบัติของสสารซึ่งบงบอกถึงคาความตานทานในการเปลี่ยนสภาพ การเคลื่อนที่ 4. การหาคาความหนาแนนของวัตถุที่ไรรูปราง คํานวณไดจากการแทนที่น้ําใน ถวยยูเรกา น้ําที่ลนออกจากถวยจะมีปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุ 5. มวลของวัตถุจะคํ านวณจากมวล (m) คูณกับ ความเรงโน มถ วงของโลก (g) มี หนวยเปนนิวตัน (N) 6. แรง คือ อํานาจซึ่งเปลี่ยนหรือพยายามจะเปลี่ยนสถานะอยูนิ่งหรือเคลื่อนที่ของ วัตถุ 7. v คือ มวลรวมของวัตถุ มีหนวยเปนกิโลกรัม (kg) 8. ปริมาตร คือ บริเวณที่อนุภาคตาง ๆ อยูในลักษณะสามมิติ โดยพิจารณาจาก ความกวาง ความยาว และความสูง 9. สูตรการหาคาความถวงจําเพาะ คือ ρ =
m V
10. หนวยของปริ มาตรตามมาตรฐานสากลโลก หรือ SI Unit คือ ลูกบาศก เมตร (m3)
125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
ผลการทดลอง
การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา การลอยตัวของไขไกในน้ําเกลือ สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1 ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2 ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3 เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4 รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ถวยทดลอง ขนาด 500 ซีซี.
จํานวน 1 ใบ
2. ชอนโตะ
จํานวน 1 คัน
3. แทงแกวคนสาร
จํานวน 1 แทง
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขไกสด
จํานวน 1 ฟอง
2. น้ํา
จํานวน 2 ลิตร
3. เกลือ
จํานวน 1 ถุง
4. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการทดลอง การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 3. วางไขไกลงในน้ํา
เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง
1 2
ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล
129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 2. เติมเกลือลงในน้ํา
คําอธิบาย เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง
ขอควรระวัง 1 2
ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
ตั ก เกลื อ ใส ล งไปในถ ว ยทดลอง 5 ช อ น และใชแทงแกวคนจนเกลือละลายหมด 3. วางไขไกลงในน้ํา
นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล
4. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 4.1 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําเกลือ) คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
ผลการทดลอง
การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา
ไมลอยตัว
การลอยตัวของไขไกในน้ําเกลือ
ลอยตัว
สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา เมื่อนําไขไกใสลงในน้ําประปาไขไกจะจมลงสูกนถวยทดลอง เนื่องจากความหนาแน นของ น้ําประปามี ค า 1g/cm3 ซึ่งมีคา ความหนาแนน น อ ยกวา ไขไ ก จึงทําให น้ํา ไมส ามารถพยุง ใหไ ขไ กล อยน้ํา ได แตเ มื่ อ ใส เกลือลงไปในน้ําประปาจํานวน 5 ชอน ทดลองโดยใชไขไกใบเดิม จะเห็นวาไขไกคอย ๆ ลอยขึ้นจากกนถวยทดลองจนถึง ถึงบริเวณผิวน้ํา จึงสามารถสรุปไดวา น้ําที่ผสมเกลือมีความหนาแนนมากกวาไขไก ทําใหไขไกลอยสูบริเวณผิวน้ําได
132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด
3
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตองทุกขอ
5
ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 1 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน
133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบงาน ใบงานที่ 4.2 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ทดลองเกี่ยวกับมวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรงได 2. ปฏิบัติงานทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลวได 3. คํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
ผลการทดลอง
การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา การลอยตัวของไขไกในน้ําผสมน้ําตาล สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.2 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ถวยทดลอง ขนาด 500 ซีซี.
จํานวน 1 ใบ
2. ชอนโตะ
จํานวน 1 คัน
3. แทงแกวคนสาร
จํานวน 1 แทง
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขไกสด
จํานวน 1 ฟอง
2. น้ํา
จํานวน 1 ลิตร
3. น้ําตาล
จํานวน 1 ถุง
4. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน 136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ลําดับการทดลอง การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) 2.1 การทดลองที่ 1 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ และใชผาเช็ดทําความสะอาด
2. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 3. วางไขไกลงในน้ํา
เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง
1 2
ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล
137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2.2 การทดลองที่ 2 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เติมน้ําลงในถวยทดลอง 2. เติมน้ําตาลลงในน้ํา
คําอธิบาย เติมน้ําลงในถวยทดลอง ประมาณ ถวยทดลอง
ขอควรระวัง 1 2
ของ ระวังอยาทําน้ําหกและ ทําใหพื้นเปยก เพราะ อาจทําใหเกิดอุบัติเหตุ ลื่นลมได
ตักน้ําตาลใสลงไปในถว ยทดลอง 5 ชอน และใชแทงแกวคนจนน้ําตาลละลายหมด 3. วางไขไกลงในน้ํา
นําไขไกสดวางลงในน้ําอยางเบามือ สังเกต และบันทึกผล
4. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
ผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สรุปผลการทดลอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 4.2 การทดลองเรื่องความหนาแนนของของเหลว (น้ําประปา และ น้ําผสมน้ําตาล) คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลอง เรื่องความหนาแนนของของเหลว และบันทึกผลการทดลองลงในตาราง พรอมทั้งเขียน สรุปผลการทดลอง ตัวอยางเฉลยใบงาน ตารางบันทึกผลการทดลอง การทดลอง
ผลการทดลอง
การลอยตัวของไขไกในน้ําประปา
ไมลอยตัว
การลอยตัวของไขไกในน้ําผสมน้ําตาล
ลอยตัว
สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบวา เมื่อนําไขไกใสลงในน้ําประปาไขไกจะจมลงสูกนถวยทดลอง เนื่องจากไขไกมีความหนาแนน มากกวาน้ํา แตเมื่อใสน้ําตาลลงไปในน้ํ าประปาจํ านวน 5 ชอน ทดลองโดยใชไข ไกใบเดิม จะเห็นวาไขไกคอย ๆ ลอยขึ้ น เนื่องจากการผสมน้ําตาลลงไปในน้ําประปาเปนการเพิ่มความหนาแนนใหกับน้ํา ดังนั้น น้ําที่ผสมน้ําตาลจึงมีความหนาแนน มากกวาไขไก จึงสามารถพยุงใหไขไกลอยน้ําได
140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
ผลการทดลอง
ผลการทดลองถูกตองทุกขอ ใหคะแนน 5 คะแนน ผลการทดลองถูกตอง 1 ขอ ใหคะแนน 3 คะแนน ผลการทดลองไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
สรุปผลการทดลอง
สรุปผลการทดลองไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
5
สรุปผลการทดลองถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน สรุปผลการทดลองไมถูกตองและไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตอง หรือไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและไม ครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 3
144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน