คู่มือครูฝึก ช่างบำรุงรักษารถยนต์ ระดับ 1 โมดูล 4

Page 1

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คูมือครูฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 4 09210201 วัสดุ และคุณสมบัตขิ องวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 4 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อ ใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝก และชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการ ฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถอธิบายสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และสมบัติของทอยางและทอโลหะ รวมทั้งสามารถเลือกใชวัสดุตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทํา ใหผูรับ การฝ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึ งถื อเป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้งในปจ จุบัน และอนาคต ซึ่งหากมี ก ารนํา ระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝ มือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 4 09210201 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน หัวขอวิชาที่ 1 0921020101 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุ

20

หัวขอวิชาที่ 2 0921020102 ทอที่ใชในงานรถยนต

55

คณะผูจัดทําโครงการ

80

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมิน พื้นฐานความรู ความสามารถ แบบออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบี ย นแบบออนไลน ให ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นผ า นเว็ บ ไซต โดยกรอกประวั ติ เลือกหลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบี ย นแบบออฟไลน ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นที่ ศู น ย ฝ ก โดยการเลื อ กหลั ก สู ต ร กรอกประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐาน ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข ารั บการฝ กภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝ กในโมดูล ถัด ไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

­ ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดย ใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการดาวน โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และ เขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการ ฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คู มื อ การประเมิ น รู ป แบบเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (.pdf) เพื่ อ บั น ทึ ก ผลการประเมิ น การทดสอบของ ผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ า ไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920163100501

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 4 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน รหัสโมดูลการฝก 09210201 3. ระยะเวลาการฝก รวม 5 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 45 นาที ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายคุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 3. จําแนกชนิดของทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 4. เลือกใชทอยางและทอโลหะได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องสารและสมบัติของสารเบื้องตน ความสามารถของ ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 3 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายคุณสมบัติของ หัวขอที่ 1 : วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ 0:30 2:30 3:00 น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

สารระบายความรอน และ สารกันสนิมได 1. จําแนกชนิดของทอยางและ ทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 2. เลือกใชทอยางและทอโลหะได

หัวขอที่ 2 : ทอที่ใชในงานรถยนต

0:15

2:00

3:15

รวมทั้งสิ้น

0:45

4:30

5:15

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921020101 วัสดุ และคุณสมบัติของวัสดุ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายคุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

คุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง คุณสมบัติของสารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) คุณสมบัติของสารระบายความรอน คุณสมบัติของสารกันสนิม

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํามันเกียรอัตโนมัติ จํานวน 1 แกลลอน 2) น้ํามันแกสโซฮอล E20 จํานวน 1 แกลลอน 3) น้ํามันแกสโซฮอล E85 จํานวน 1 แกลลอน 4) น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 91 จํานวน 1 แกลลอน 5) น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95 จํานวน 1 แกลลอน 6) น้ํามันดีเซล จํานวน 1 แกลลอน 7) น้ํามันเบนซิน จํานวน 1 แกลลอน 8) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 1 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) แกวพลาสติก ความจุ 7 ออนซ จํานวน 10 แกว 2) โตะปฏิบัติการ จํานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม คุณสมบัติของน้ํามันดีเซล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/namandisel/khunsmbatikhxng-naman-disel มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เลขออกเทน และเลขซีเทน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/ schoolnet/snet5/topic8/octane.html วิทยาลัยเทคนิคกันทรารมย. หนวยที่ 7 วัสดุหลอลื่น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.krtc.ac.th/html/ images/stories/chapter7.pdf แอลกา โมเอกส. องคประกอบและคุณสมบัติของสารหลอลื่น. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.elkalube.com/index.php/component/content/article/6-2009-02-26-02-26-57

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 14-43 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก น้ํามันชนิด ต า ง ๆ สารหล อ ลื่ น สารระบายความร อ น สารกันสนิม 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ วั ส ดุ และคุ ณสมบัติข อง ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช วัสดุ ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง วั ส ดุ และ คุณสมบัติของวัสดุ

1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย 2. ฟง ซักถามขอสงสัย พรอมแสดงความคิดเห็น

ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 14-43

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง วัสดุ และคุณสมบัติของ วัสดุ หนาที่ 14-43 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มสื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 04:27-08:24 และใชคูมือผูรับการฝก หนาที่ 17-31 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.1 คุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง 2.2 คุณสมบัติของสารหลอลื่น 2.3 คุณสมบัติของสารระบายความรอน 2.4 คุณสมบัติของสารกันสนิม 3. แสดงสื่อการสอนของจริงใหผูรับการฝกดู 3. ดูสื่อการสอนของจริงพรอมแสดงความคิดเห็น 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 32-35 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 32-35 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 44 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 1.1 การ 6. ศึกษาใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามัน จากคูมือผูรับ ตรวจสอบน้ํามัน จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ การฝก หนาที่ 36-43 ซักถามขอสงสัย ดวยความ 36-43 ตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-08:36 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 7.1 สังเกตสีของน้ํามัน 7.2 บอกคุณสมบัติของน้ํามันแตละชนิด 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จา ยวัส ดุ- อุป กรณแ ละเครื่อ งมือ ปฏิบ ัต ิงานตาม 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั ้น ตอนการปฏิบ ัต ิง านในคู ม ือ ครูฝ ก หนา ที ่ ใบขั้น ตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับ การฝก หนาที่ 46-47 37-38 10. ควบคุ ม ดู แ ลและให คํ า แนะนํ า ผู รั บ การฝ ก ขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ ค วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หลั ง จาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อ ง วั ส ดุ และ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน คุณสมบัติของวัสดุ ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง วั ส ดุ และ คุณสมบัติของวัสดุเกี่ยวกับ กิจนิสัย ในการปฏิบั ติ งาน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 วัสดุและคุณสมบัติของวัสดุ 1. คุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง น้ํ ามั นเชื้ อเพลิ งที่นํ ามาใช กับเครื่ องยนต ได มาจากน้ํามันดิบที่ผ านการกลั่ นและแปรรู ป เพื่ อให เหมาะสมต อการใช งาน โดยทั่วไปจะใชอยูหลัก ๆ 2 ประเภท คือ น้ํามันเบนซินกับน้ํามันดีเซล 1.1 น้ํามันเบนซิน น้ํามันเบนซิน คือ น้ํามันเชื้อเพลิงที่ใชสําหรับการเผาไหมในเครื่องยนตแกสโซลีน ปจจุบันกระทรวงพลังงานได กําหนดใหสีของน้ํามันเบนซินคือสีเหลือง โดยน้ํามันเบนซินมีคุณสมบัติดังนี้ 1) ติดเครื่องยนต ง า ย น้ํา มัน เบนซิน สามารถระเหยกลายเปน ไอไดอยา งรวดเร็ว ในขณะที่เ ครื่องยนต ยัง มีอุณ หภูมิต่ํา ซึ่ง ชว ยใหเ ครื่อ งยนตที่ใ ชง านในแถบประเทศที่มีส ภาพอากาศหนาว สามารถติด เครื่องยนตงาย 2) มีอัตราสวนผสมที่เหมาะสม น้ํามันเบนซินจะมีอัตราสวนที่พอเหมาะตอการเผาไหม ซึ่งทําใหเครื่องยนต ติดงาย และเรงตอบสนองการใชงานไดทันที 3) ไมเกิดอาการเวเปอรล็อก (Vapour Lock) หรือ การระเหยตัวกลายเปนไอของน้ํามัน ถาน้ํามันระเหยตัว กลายเปนไออยางรวดเร็วภายในปมน้ํามันเชื้อเพลิง จะทําใหเกิดฟอง และเกิดอาการเวเปอรล็อกขึ้น ทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงไมสามารถจายไปยังหองเผาไหมได สงผลใหเครื่องยนตเกิดอาการสะดุดและดับ 4) เรงเครื่องยนตไดอยางสม่ําเสมอ ในการเรงเครื่องยนตทุกครั้ง วงจรปมเรงในหองเผาไหมจะตองฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิงในปริมาณที่มากกวาปกติ น้ํามันเบนซินจะระเหยตัวกลายเปนไออยางรวดเร็ว ซึ่งชวยปองกัน อาการเครื่องยนตสะดุดชั่วขณะ 5) อุนเครื่องยนตไดอยางรวดเร็ว การที่เครื่องยนตอุนตัวไดเร็วขึ้นอยูกับอัตราการระเหยกลายเปนไอของ น้ํามัน ซึ่งน้ํามันเบนซินระเหยตัวกลายเปนไอไดงาย จึงสามารถชวยใหเครื่องยนตติดไดเร็ว

ภาพที่ 1.1 น้ํามันเบนซิน 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.1.1 ชนิดของน้ํามันเบนซิน น้ํามันเบนซินสามารถแบงออกได 2 ชนิด โดยแบงตามเลขออกเทน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1) น้ํ ามั นเบนซิ นชนิ ดพิ เศษ (Premium Motor Gasoline) คื อ น้ํ ามั นเบนซิ นที่ มี ค าออกเทน 95 น้ํามันมีลักษณะใสและมีสีเหลืองออน เหมาะสําหรับใชงานกับเครื่องยนตเบนซินที่มีกําลังอัดสูง กว า อั ต ราส ว น 8:1 ขึ้ น ไป เช น รถยนต นั่ ง ทั่ ว ไป หรื อ รถบรรทุ ก ขนาดเล็ ก ที่ เ ป น ประเภท เครื่องยนตเบนซิน เปนตน 2) น้ํามันเบนซินธรรมดา (Regular Motor Gasoline) คือ น้ํามันเบนซินที่มีคาออกเทน 91 น้ํามัน มีลักษณะใสและมีสีแดง เหมาะสําหรับ ใชงานกับ เครื่องยนตเ บนซิน ที่มีกําลังอัดต่ํากวา 8:1 เชน รถยนตขนาดเล็ก รถจักรยานยนต เครื่องปนไฟ ปมน้ําขนาดเล็ก เปนตน 1.1.2 ชนิดของน้ํามันแกสโซฮอล น้ํ า มั น แก ส โซฮอล คื อ การนํ า น้ํ า มั น เบนซิ น พื้ น ฐานมาผสมกั บ เอทานอลหรื อ เอทิ ล แอลกอฮอล ซึ่ ง มี รายละเอียด ดังนี้ 1) น้ํามันแกสโซฮอล E10 (Gasohol E10) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 90% ตอเอทานอล 10% แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ - น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95 (Gasohol 95) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมา ผสมกั บ เอทานอลหรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสว น น้ํามัน เบนซิน ออกเทน 91 จํานวน 9 สวน ผสมกับเอทานอล 1 สวน ใชกับรถยนตที่ระบุวา สามารถใชน้ํามัน แกสโซฮอล ออกเทน 95 ไดเทานั้น และไมควรใชกับรถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือน ขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95 คือสีสม - น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 91 (Gasohol 91) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมา ผสมกั บ เอทานอลหรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสว น น้ํามัน เบนซิน ออกเทน 88 จํานวน 9 สวน ผสมกับเอทานอล 1 สวน ใชกับรถยนตที่ระบุวา สามารถใชน้ํามัน แกสโซฮอล ออกเทน 91 ไดเทานั้น และไมควรใชกับรถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือน ขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 91 คือสีเขียว 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2) น้ํามันแกสโซฮอล E20 (Gasohol E20) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 80% ตอเอทานอล 20% เหมาะสําหรับรถที่ตองการประหยัดน้ํามัน และไมตองการออกตัวแรง ใชไดกับรถยนตที่ ระบุวา สามารถใชน้ํามันแกสโซฮอล E20 ไดเทานั้น และไมควรใชกับรถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือนขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันแกสโซฮอล E20 คือสีน้ําตาล 3) น้ํามันแกสโซฮอล E85 (Gasohol E85) คือ การนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล หรือเอทิลแอลกอฮอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 15% ตอเอทานอล 85% เปนน้ํามันที่ระเหยตัวเร็ว ทําใหเปลืองน้ํามัน เหมาะสําหรับรถยนตที่ไมตองการออกตัว แรง ใชไดกับรถยนตที่ระบุวา สามารถใชน้ํามันแกสโซฮอล E85 ไดเทานั้นและไมควรใชกับ รถยนตที่ไมไดใชงานเกิน 1 เดือนขึ้นไป ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามัน แกสโซฮอล E20 คือสีมวง 1.1.3 เลขออกเทน (Octane Number) คาตัวเลขที่แสดงเปนรอยละโดยมวลของไอโซออกเทน ในสวนผสมระหวางไอโซออกเทน (C8H18) และ เฮปเทน (C7H16) ซึ่งสามารถเกิดการเผาไหมไดหมด และนอกจากนี้เลขออกเทนยังเปนตัวเลขที่ใชบอกคุณภาพของ น้ํามันเบนซินดวย ดังนี้ 1) น้ํา มั น เบนซิ น ที่ มี เ ลขออกเทน 100 คือ น้ํา มั น เบนซิ น ที่ มี ส มบั ติ ก ารเผาไหม เ ช น เดี ย วกั บ ไอโซออกเทน 100% โดยมวล 2) น้ํามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 0 คือ น้ํามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับเฮปเทน 100% โดยมวล 3) น้ํามันเบนซินที่มีเลขออกเทน 70 คือ น้ํามันเบนซินที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับไอโซออกเทน 70% โดยมวล และเฮปเทน 30 % โดยมวล 1.2 น้ํามันดีเซล น้ํามันดีเซล หรือ โซลา คือ เปนผลิตภัณฑชนิดหนึ่งที่ไดจากการกลั่นน้ํามันดิบ มีชวงของจุดเดือด และความขนใส สูงกวาน้ํามันเบนซิน ปจจุบันกระทรวงพลังงานไดกําหนดใหสีของน้ํามันดีเซลคือสีเขม โดยน้ํามันดีเซลจะมีคุณสมบัติ ดังนี้ 1) การติดไฟ น้ํามัน ดีเ ซลที่มีคาซีเทนต่ําจะจุดระเบิด ไดชา (Long Delay Period) แตถามีคาซีเ ทนสูง จะสามารถจุดระเบิดไดเร็ว (Short Delay Period) ซึ่งชวยใหเครื่องยนตสามารถสตารทติดงาย ปองกัน 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การน็อคของเครื่องยนตในระหวางการเผาไหมน้ํามันเชื้อเพลิงภายในกระบอกสูบ ยืดอายุเครื่องยนต ลดควันดํา และชวยประหยัดน้ํามัน 2) ความสะอาด น้ํามันดีเซลตองสะอาดอยูเสมอ ทั้งกอนและหลังการเผาไหม เพราะระบบเครื่องยนตดีเซล ตองใชปมและหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง สําหรับชวยในการเผาไหม 3) การกระจายตัวเปนฝอย น้ํามันดีเซลที่มีความหนืดหรือขนใสที่เหมาะสม จะสามารถกระจายตัวเปนฝอย ไดดี นอกจากนี้ความหนืดของน้ํามันดีเซลยังมีผลตอการทํางานของระบบปมน้ํามันเชื้อเพลิงดวย เนื่องจาก ในหัวฉีดทําการฉีดน้ํามันในชวงเริ่มการเผาไหม น้ํามันจะทําหนาที่หลอลื่นลูกสูบปมไปในตัว 4) อัตราการระเหยตัว อัตราการระเหยตัวของน้ํามันมีผลตอจุดเดือด (Boiling Point) จุดวาบไฟ (Flash Point) และจุดติดไฟ (Fire Point) น้ํามันดีเซลจัดวาเปนน้ํามันระเหยตัวชาหากเทียบกับน้ํามันเบนซิน โดยการวัดอัตราการระเหยตัวจะวัดจากคาอุณหภูมิที่น้ํามันระเหยตัวกลายเปนไอ แลวกลั่นตัวกลับเปน ของเหลว ถาเกิดการระเหยตัวอยางรวดเร็วจะชวยใหเครื่องยนตสตารทติดไดดีแมมีอุณหภูมิตา่ํ เกิดการ ระเหยตัวปานกลางจะชวยทําใหเครื่องยนตรอนเร็ว และถาเกิดการระเหยตัวชาจะชวยในสวนของกําลัง และชวยประหยัดน้ํามัน 5) อัตราซีเทน (Cetane Number) หรือ CN คือ คาที่ใชวัดคุณภาพของน้ํามันดีเซลในเรื่องคุณสมบัติการติดไฟ ซึ่งคา CN นี้ควรสูงพอ ๆ กับความเร็วรอบของเครื่องยนต เพราะจะชวยใหติดเครื่องยนตงาย ปองกัน การน็อค และประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง

ภาพที่ 1.2 น้ํามันดีเซล

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1.2.1 ชนิดของน้ํามันดีเซล น้ํามันดีเซลสามารถแบงได 2 ชนิด ดังนี้ 1) น้ํามันดีเซลหมุนเร็ว (High Speed Diesel Oil) หรือน้ํามันโซลา หรือแกสออยล คือ เชื้อเพลิง ของเครื่ อ งยนต ดี เ ซลหมุ น เร็ ว ที่ มี ค วามเร็ ว รอบสู ง กว า 1,000 รอบต อ นาที เช น รถป คอั พ รถบรรทุก รถโดยสาร รถแทรกเตอร เรือประมง และเครื่องกําเนิดไฟฟาบางประเภท เปนตน 2) น้ํามันดีเซลหมุนชา (Low Speed Diesel Oil) คือ เชื้อเพลิงของเครื่องยนตดีเซลความเร็ว รอบปานกลาง ที่มีค วามเร็ว รอบอยูร ะหวา ง 300 – 1,000 รอบตอ นาที และเครื่อ งยนต ดีเ ซลหมุน ชา ที่มีค วามเร็ว รอบต่ํากวา 300 รอบตอ นาที เชน เครื่อ งยนตดีเ ซลขนาดใหญ เรือประมง เรือเดินสมุทร และเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาดใหญ เปนตน 1.2.2 เลขซีเทน (Cetane number) คาตัวเลขที่แสดงเปนรอยละโดยมวลของซีเทน ในสวนผสมระหวางซีเทน (C16H34) และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน (C11H10) ซึ่ง สามารถเกิด การเผาไหมไ ดห มด และนอกจากนี้เ ลขซีเ ทนยังเปน ตัว เลขที่ใ ชบ อกคุณ ภาพของ น้ํามันดีเซลดวย ดังนี้ 1) น้ํามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 100 คือ น้ํามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับซีเทน 100% โดยมวล 2) น้ํามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 0 คือ น้ํามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 100% โดยมวล 3) น้ํามันดีเซลที่มีเลขซีเทน 80 คือ น้ํามันดีเซลที่มีสมบัติการเผาไหมเชนเดียวกับซีเทน 80% โดย มวลในการผสมระหวางซีเทน และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 2. คุณสมบัติของสารหลอลื่น สารหลอลื่นมีลักษณะเปนทั้งแกส ของเหลว และของแข็ง เพื่อความเหมาะสมตอการใชงาน เชน การใชอากาศเปน สารหลอลื่นในระบบที่มีความเร็วรอบสูง น้ํามันหลอลื่นที่ใชสําหรับเครื่องยนต เปนตน โดยสารหลอลื่นที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1) สารหลอลื่นประเภทจาระบี ควรมีความหนืดที่เหมาะสมตอการใชงานที่อุณหภูมิหอง และสามารถคงคา ความหนืดไดอยางดี เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในระบบ 2) เมื่ออุณหภูมิสูงสารหลอลื่นที่ดีจะไมมีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติตาง ๆ ทั้งทางกายภาพและทางเคมี และมี อัตราการระเหยในปริมาณต่ํา 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3) หากอุณหภูมิต่ํา สารหลอลื่นจะยังคงไหลไดอยางเปนอิสระ 2.1 ประเภทของสารหลอลื่น สารหลอลื่นสามารถแบงประเภทไดดังนี้ 2.1.1 สารหลอลื่นลักษณะของเหลว หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา น้ํามันหลอลื่น (Lubrication Oils or Lube Oils) เชน น้ํามันเครื่อง น้ํามันเกียร และน้ํามันเฟองทาย เปนตน โดยการเลือกใชสารหลอลื่นประเภทนี้ สามารถดูไดจากเกรดของน้ํามันที่ถูกกําหนดไวตามมาตรฐานตามสภาพการใชงาน เชน - เกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตเบนซิน ไดแก API, SA, SB, SC, SD, SE, SF, SG, SH, SJ, SL, SM, SN - เกรดน้ํามันหลอลื่นเครื่องยนตดีเซล ไดแก API, CA, CB, CC, CE, CF-4, CG-4, CH-4, CI-4 2.1.1.1 น้ํามันหลอลื่นพื้นฐาน สามารถแบงได 2 ประเภท ดังนี้ 1) น้ํามันเกียร คือ สารหลอลื่นชนิดหนึ่ง ทําหนาที่ลดแรงเสียดทาน ลดการสึกหรอ ชะลางเศษโลหะ จากหนาฟนเกียรที่เกิดจากการกระเทือน และปองกันสนิม น้ํามันเกียรแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก น้ํามันเกียรธรรมดา และน้ํามันเกียรอัตโนมัติ 1.1) น้ํามันเกียรธรรมดา กระปุกเกียร ทําหนาที่เปนตัวสงกําลังเพิ่มหรือลดความเร็ว และเปลี่ยนทิศทางการหมุน โดยใชน้ํามันเกียรเปนตัวหลอลื่น ซึ่งน้ํามันเกียรจะทําหนาที่ดังนี้ - ปองกันการสึกหรอของตลับลูกปนและเฟอง - ลดการสั่นสะเทือนและลดแรงกระแทกของเฟองตาง ๆ - รักษาสภาพของเฟองตาง ๆ ใหคงทน - ลดเสียงดังอันเกิดจากการขบกันของเฟอง คุณสมบัติของน้ํามันเกียรธรรมดา มีดังนี้ - ปองกันสนิม การกัดกรอน และการสึกหรอ - มีความหนืดเหมาะสม - ตานทานการรวมตัวกับออกซิเจนไดดี - ตานทานการเกิดฟอง 1.2) น้ํามันเกียรอัตโนมัติ น้ํามันเกียรอัตโนมัติ คือ น้ํามันหลอลื่นคุณภาพสูงผสมดวยสารตาง ๆ โดยทั่วไปมีสีแดงเขม น้ํามันชนิดนี้จะถูกดูดและสงตอไปยังทอรกคอนเวอรเตอร ใชเปนตัวสงกําลังผานการหมุนของ 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เครื่องยนตและแรงบิดใหกับระบบสงกําลัง ในขณะเดียวกัน ความดันของน้ํามันเกียรอัตโนมัติ จะกระทํากับลิ้นของระบบควบคุมเกียรอัตโนมัติ เพื่อใหชุดสงกําลังเลื่อนเปลี่ยนเกียรได และ หลอลื่นชิ้นสวนที่หมุนอยูในชุดสงกําลัง คุณสมบัติของน้ํามันเกียรอัตโนมัติ มีดังนี้ - หลอลื่นระบบเฟองเกียร - สามารถสงกําลังผานเขาไปที่ตัวจานลอหรือตัวสงแรงบิดได - ไมทําปฏิกิริยากับคลัตชและซีล - ควบคุมแรงเสียดทานไดอยางเหมาะสม - ปองกันสนิมและการสึกกรอนในชุดสงกําลัง - ระบายความรอนที่เกิดจากทอรกคอนเวอรเตอร มาตรฐานน้ํามันเกียรอัตโนมัติ น้ํามันเกียรอัตโนมัติที่นิยมกันมาก ไดแก ชนิดของ GM (General Motor) ซึ่งน้ํามันเกียร อัตโนมัติที่ใชกับระบบของ GM จะตองมีคําวา Dexron กํากับไว เชน - Dexron II (GM 6137 - M) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ใชกันในปจจุบันทั่วโลก - Dexron (GM 6037 - M) ซึ่งเปนมาตรฐานที่ยังใชกันบางแหงในยุโรป - Type A และ Suffix A ซึ่งเปน มาตรฐานเกาแกที่สุด น้ํามัน เกีย รที่ใชกับ ชนิดของ FORD จะมีตัวอักษรที่บอก Type กํากับไว เชน M2C33 – F (Type F) มาตรฐานที่ ใชกันทั่วโลกในยุโรป และ M 2 C 183 – CJ มาตรฐานที่ใชในอเมริกาและยุโรป 1.3) สารเพิ่มคุณภาพน้ํามันเกียร สารเพิ่ม คุณ ภาพที่จ ะใชผ สมลงไปในน้ํา มัน เกีย ร คือ สารรับ แรงกดแรงกระแทก EP สารปองกันสนิม สารปองกันการกัดกรอน สารปองกันปฏิกิริยาออกซิเดชัน และ สารปองกัน การเกิดฟอง หรือในน้ํามันเกียรบางชนิด อาจผสมโมลิบดินัมไดซัลไฟต และแกรไฟต ซึ่งเปนสาร หลอลื่นที่เกาะผิวชิ้นงาน และหลอลื่นฉุกเฉินไดดี 2) น้ํามันเฟองทาย ทําหนาที่ลดแรงเสียดทาน ลดสึกหรอ ชะลางเศษโลหะ และปองกันสนิมใน ระบบเฟองทาย น้ํามันเฟองทายและน้ํามันเกียรโดยทั่วไปใชน้ํามันชนิดเดียวกัน ซึ่งคุณสมบัติ ของน้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายที่ดี มีดังนี้

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- มีคุณสมบัติทางความหนืดเหมาะสม น้ํามันเกียรที่มีคาความหนืดสูงจะชวยปองกัน ความเสียหายของเฟองลูกปน เสียงดัง และการรั่วของน้ํามัน จึงควรใชน้ํามันเกียรที่มี ความหนืดเหมาะสม ซึ่งคาความหนืดของน้ํามันเกียรจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิลดลง - ต า นทานแรงกดและแรงกระแทก คุ ณ สมบั ติ นี้ ไ ด จ ากการเติ ม สาร EP (Extreme Pressure) ซึ่งจะแตกตัวออกมาจากกํามะถัน คลอรีน ฟอสฟอรัส และไอโอดีน สาร EP ทนทานตอแรงกดและแรงกระแทกมาก ทนตอความรอน และยังชวยเคลือบผิวโลหะ ที่เสียดสีกันอีกดวย - ต า นทานความร อ นและการรวมตั ว กั บ ออกซิ เ จน เมื่ อ น้ํ า มั น เกี ย ร เ สื่ อ มลง อันเนื่องมาจากความรอนและออกซิเจน ตะกอนและกรดจะกอตัวขึ้น ทําใหความหนืด ของน้ํามันเพิ่มขึ้น และมีการหลอลื่นที่ไมสมบูรณ อีกทั้ง ตะกอนที่มีความแข็งอาจ ทําใหชิ้นสวนเสียหาย - ป อ งกั น การเกิ ด ฟอง เนื่ อ งจากการเกิ ด ฟองคื อ คุ ณ สมบั ติ อั น ไม พึ ง ประสงค ข อง การหล อ ลื่ น จึ ง ควรเติ ม สารซิ ลิ โ คนโพลี เ มอร หรื อ โพลี เ มทิ ล ไซไลแทนลงไปใน น้ํามันเกียร เพื่อปองกันการเกิดฟอง 3) มาตรฐานน้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทาย นิยมใชมาตรฐานเดียวกันกับน้ํามันเครื่อง คือมาตรฐาน SAE และมาตรฐาน API ดังนี้ 3.1) น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายตามมาตรฐาน SAE สมาคมวิศวกรรมยานยนตแหงสหรัฐอเมริกา (SAE) ไดกําหนดมาตรฐานความหนืดของ น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทาย โดยแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก ชนิดเกรดเดี่ยว และชนิดเกรดรวม ซึ่งมี 6 เกรดเชนเดียวกับน้ํามันเครื่อง ไดแก SAE 75W 80W 85W 90 140 และ 250 สําหรับ ประเทศไทยที่มีอากาศรอนตลอดทั้งป รถยนตขับหลังทั่วไปจึงควรใชน้ํามันเกียรเกรดเดี่ยว SAE 90 และสําหรับน้ํามันเฟองทาย ใชน้ํามันเกียรเกรดเดี่ยว SAE 140 หรือตามที่คูมือประจํา รถยนตกําหนด 3.2) น้ํามันเกียรและน้ํามันเฟองทายตามมาตรฐาน API (GL = Gear Lubricant) - GL- 1 ใชสําหรับเกียรแบบเฟองเดือยหมู เฟองหนอน รับภาระเบา และไมจําเปน ตองเติมสารเพิ่มคุณภาพ - GL- 2 ใชสําหรับเกียรเฟองหนอน เพลาลอ ซึ่งรับภาระหนักกวาประเภท GL- 1 และ จําเปนตองเติมสารเพิ่มคุณภาพ 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- GL- 3 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองเดือยหมู และกระปุกเกียรที่รับแรงไดขนาดปานกลาง ซึ่งจําเปนตองเติมสารเพิ่มคุณภาพแรงกดปานกลาง - GL- 4 ใช สํ า หรั บ เกี ย ร ป ระเภทเฟ อ งไฮปอยด ที่ ทํ า งานหนั ก ปานกลาง และมี คุณลักษณะการทํางานในขั้น MIL-L-2105 - GL- 5 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองไฮปอยด ที่ทํางานหนัก และมีแรงกระแทก และมี คุณลักษณะการทํางานในขั้น MIL-L-2105 - GL- 6 ใชสําหรับเกียรประเภทเฟองไฮปอยดที่มีแนวเยื้องศูนยมากกวา 2 นิ้ว และมี ความเร็วสูง 2.1.2 สารหลอลื่นลักษณะกึ่งแข็งกึ่งเหลว หรือจาระบี (Grease) เปนสารหลอลื่นที่ใชสําหรับหลอลื่นในบริเวณ ที่ไมสามารถกักเก็บน้ํามันได เชน ตลับลูกปนลอ ลูกหมาก หูแหนบ ลูกปนบางชนิด เปนตน โดยจาระบี สามารถแบงได 5 ชนิด ดังนี้ 1) จาระบีแคลเซียม (Calcium Grease) จาระบีแคลเซียม เรียกอีกชื่อหนึ่งวาจาระบีปูนขาว มีสมบัติไวตออุณหภูมิในจุดที่สามารถทําให เกิดการระเหยตัวได หากเพิ่มเกลือแคลเซียมเขาไปในจาระบีประเภทนี้ จะชวยเพิ่มสมบัติดาน การทนตอความดันสูง ๆ ได จึงนิยมใชงานกับเครื่องจักรกล

ภาพที่ 1.3 จาระบีแคลเซียม 2) จาระบีโซเดียม (Sodium Grease) จาระบีโซเดียม เปนจาระบีที่สามารถละลายน้ําไดงาย จึงมีการนํา Metal Soaps มาผสม เพื่อ เพิ่มสมบัติในดานการตานทานน้ําดีขึ้น โดยจาระบีประเภทนี้สามารถใชไดกับงานที่มีอุณหภูมิสูง ถึง 121 องศาเซสเซียส จึงนิยมใชในมอเตอรไฟฟา

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.4 จาระบีโซเดียม 3) จาระบีอะลูมินัม (Aluminum Grease) จาระบีอ ะลูมินัม เปน จาระบีใ สที่มีลัก ษณะคลา ยเชือ ก มีส มบัติใ นการยึด ติด และปอ งกัน การเกิดสนิม เมื่อจาระบีชนิดนี้มีอุณหภูมิสูง 79 องศาเซสเซียส จาระบีจะมีความเหนียวมากขึ้น และสรางสารที่มีลักษณะคลายยางออกมารองรับผิวโลหะ และลดระดับการหลอลื่น 4) จาระบีลิเทียม (Lithium Grease) จาระบีลิเ ทีย ม เปน จาระบีที่มีเ นื้อ เรีย บ มีส มบัติท นตอ ความรอ นสูง มีจุด หยดสูง ถึง 204 องศาเซสเซียสมีความคงทนตอแรงเฉือน นิยมใชกับเครื่องจักรที่มีความเร็วสูง

ภาพที่ 1.5 จาระบีลิเทียม 5) จาระบีชนิดอื่น ๆ (Other Grease) จาระบีชนิดอื่น ๆ ในที่นี้หมายถึง จาระบีที่ใชสารอินทรีย (Organics) และสารอนินทรีย (Inorganic) เปนสารประกอบ โดยปราศจาก Soaps ยกตัวอยางเชน 6) จาระบีโพลียูเรีย (Polyurea Grease) จาระบีโพลียูเรียนเปนจาระบีที่ใชสารอินทรียเปนสารประกอบ เพื่อทําใหน้ํามันมีความเขมขน และเกิด ความตานตอการออกซิเดชั่น ทําใหสามารถใชงานตั้งแตอุณหภูมิ -20 องศาเซสเซียส จนถึงอุณหภูมิ 177 องศาเซสเซียส และสามารถตานทานน้ําได

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

7) จาระบีโพลียูเรียคอมเพล็กซ (Polturea Complex Grease) จาระบี โพลี ยู เรี ยคอมเพล็ กซ เปนจาระบี ที่ผลิ ตจากการนํ าโพลีเมอรมาผสมกับแคลเซี ยมอะซิเตท (Calcium Acetate) หรือแคลเซียมฟอสเฟต (Calcium Phosphate) ทําใหมีสมบัติคลายกับจาระบี อเนกประสงค 8) จาระบีออรกาโน-เคลย (Organo-Clay) จาระบีออรกาโน-เคลเปนจาระบีที่ใชสารอนินทรียเปนสารประกอบ เพื่อใหน้ํามันมีความเขมขน โดยสารอนินทรียที่นํามาใชนั้น ไดจากการดัดแปลงดินเหนียวที่ไมละลายในน้ํามัน จึงมีสมบัติ ความตานทานความรอนสูงเปนพิเศษ การใชงานจึงถูกกําหนดโดยอุณหภูมิการระเหยของน้ํามัน คือ 177 องศาเซสเซียส แตในกรณีที่ใชงานในระยะเวลาสั้น ๆ จะสามารถทนอุณหภูมิไดสูงถึง 260 องศาเซสเซียส และหากผสมสารตานทานการเกิดออกซิเดชั่นเขาไป จะชวยเพิ่มสมบัติ ในการตานทานน้ําไดอีกดวย 2.2 มาตรฐานน้ํามันเครื่องตามสภาพการใชงาน น้ํามันเครื่อง คือ น้ํามันที่ใชหลอลื่นชิ้นสวนตาง ๆ ภายในเครื่องยนต เชน ลูกสุบ เพลาขอเหวี่ยง ลูกเบี้ยว หรือ กระเดื่องกดวาลว เปนตน ซึ่งนอกจากจะชวยหลอลื่นแลว น้ํามันเครื่องยังทําหนาที่ชวยระบายความรอน ปองกันการเกิด สนิมและการกัดกรอน รวมทั้งชวยในการรักษาความสะอาดภายในเครื่องยนตอีกดวยการแบงมาตรฐานการใชงานสาร หลอลื่น โดยทั่วไปสามารถแบงได 6 มาตรฐาน ดังนี้ 1) SAE (Society of Automotive Engineers) มาตรฐานน้ํามันเครื่องที่ถูกกําหนดขึ้นโดยสมาคมวิศวกรรม ยานยนต ใชคาความหนืดของน้ํามันเครื่องเปนตัวกําหนด ยิ่งมีความหนืดมากก็จะยิ่งมีคามาก ซึ่งมาตรฐานนี้ สามารถแบงน้ํามันเครื่องออกเปน 2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ - น้ํามันเครื่องเกรดเดียว (Monograde) คือ น้ํามันเครื่องที่มีคาความหนืดเดียว เชน SAE 30, SAE 40, SAE 90 เปนตน - น้ํา มัน เครื่อ งเกรดรวม (Multigrade) คือ น้ํา มัน เครื่อ งที่มีเ ลขแสดงความหนืด 2 คา ซึ่ง ตัวเลขชุดแรกจะบอกถึงการวัดคามาตรฐานในเขตหนาว สวนอักษร W ยอมาจาก Wintre Grade และเลขชุด ที ่ 2 จะบอกถึง การวัด คา ความหนืด ที ่อุณ หภูมิ 100 องศาเซลเซีย ส ยกตัวอยาง SAE 15W-40 หมายถึง น้ํามันเครื่องสามารถคงความขนใสไวไดถึงอุณหภูมิ -15 องศาเซสเซียส โดยไมเปนไข และมีคาความหนืดอยูที่หมายเลข 40 เปนตน

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2) API (American Petroleum Institute) มาตรฐานน้ํามันเครื่องโดยสถาบันปโตรเลียมแหงอเมริกา ทําการ กําหนดมาตรฐานน้ํามันเครื่องไว ดังนี้ - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน จะใชตัว S ซึ่งยอมาจาก Service Station เปนตัวกํากับ เชน SF, SH, SJ, SL เปนตน - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซล จะใชตัว C ซึ่งยอมาจาก Commercial หรือ Compression เปนตัวกํากับ เชน CC, CD, CF, CF-4, CG-4, CH-4, CD-2, CF-2 เปนตน 3) US.Military Specification หรือ MIL – L Spec. มาตรฐานทางทหารสหรัฐอเมริกา - มาตรฐานน้ํ า มั น เครื่ อ งประเภทเครื่ อ งยนต ดี เ ซล ที่ ใ ช ง านในป จ จุ บั น คื อ MIL-L-2104 D (CD/SF), MIL-L-2104 (CE/SG), MIL-L-2014 F (CF-4/SG) และ MIL-PRE-2104 G - มาตรฐานน้ํ า มั นเครื่ องประเภทเครื่ องยนตเบนซิน ที่ใชงานในป จจุบั น คือ MIL-L-46152 E (SG/CD) 4) CCMC (Committee of Common Market Constructors) มาตรฐานน้ํามันเครื่องของทางยุโรป - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน คือ CCMC (G1), (G2), (G3), (G4), (G5) - มาตรฐานน้ํา มัน เครื ่อ งประเภทเครื ่อ งยนตดีเ ซลงานเบา คือ CCMC (D1), (D2), (D3), (D4), (D5) - มาตรฐานน้ํ า มัน เครื ่อ งประเภทเครื ่อ งยนตด ีเ ซลที ่ใ ชก ับ รถยนตนั ่ง คือ (Passenger Diesel) : (PD-1), (PD-2) 5) ACEA (Association des Constructeurs Europeensd Automobiles) มาตรฐานน้ํามันเครื่องของยุโรป - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน คือ ACEA A1, A2, A3 เทียบเทา A - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซลงานเบา คือ ACEA B1, B2, B3, B4 - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซลงานหนัก คือ ACEA E1, E2, E3, E4, E5 6) Manufacturers มาตรฐานของผูผลิตยานยนตเปนผูกําหนด - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตเบนซิน คือ VW 500.00, VW 501.01, VW502.02, DB 229.1, ILSAC (GF-1), GF-2, GF-3 - มาตรฐานน้ํามันเครื่องประเภทเครื่องยนตดีเซล คือ DB 227.0/1, DB228.0/1, DB 228.2/3, DB 228.5, DB 229.1, VW 505.00, MAN 270, 271, MAN M 3275, MAN M 3277, VOLVO

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

VDS, VOLVO VDS-2, MACK EO-K/2, MACK EO-L, MACK E0-M, SCANIA LDF, MTL 5044 TYPE 1,2,3 RVI E2, RVI E2R, RVI E3, RVI E3R, RVI RLD 3. คุณสมบัติของสารระบายความรอน สารระบายความร อน หรื อ น้ํ า ยาหล อเย็ น เครื่องยนต (Coolant) มีสว นประกอบเปน น้ํา สารหลอเย็น (Ethelene Glycol) หัวเชื้อปองกันสนิม และสีตาง ๆ โดยน้ํายาหลอเย็นจะชวยทําใหจุดเดือดของน้ําที่ผสมน้ํายาหลอเย็นสูงขึ้น ทําใหน้ํา ที่อยูในหมอน้ําเดือดชาลง และชวยถายเทความรอนในระบบหลอเย็นไดอยางรวดเร็ว โดยคุณสมบัติของสารระบายความรอน มีดังนี้

ภาพที่ 1.6 น้ํายาหลอเย็น 1) มีสมบัติปองกันน้ําในระบบหลอเย็นแข็งตัวเปนน้ําแข็ง ในชวงที่สตารทเครื่องยนตใหม ๆ 2) ชวยเพิ่มจุดเดือดของน้ํา คือ การชวยชะลอการระเหยของน้ําในระบบหลอเย็นเมื่อเครื่องยนตรอนจัด 3) ชวยปองกันการเกิดสนิม ตะกรัน และตะกอน 4) ชวยหลอลื่นปมน้ํา ซีลปมน้ํา และวาลวน้ํา 3.1 ชนิดของสารยับยั้งการกัดกรอนหรือเกิดสนิม (Corrosion Inhibitors) สารยับยั้งการกัดกรอนหรือเกิดสนิมที่มีอยูในน้ํายาเติมหมอน้ําทั่วไป มีอยูดวยกัน 3 ชนิด 1) สารเพิ่มคุณภาพอนินทรีย (Inorganic Additive Technology) หรือ IAT สารชนิดนี้จะมีสารซิลิกาเปน

สวนประกอบ ทําหนาที่ปองกันชิ้นสวนตาง ๆ ในระบบระบายความรอนและทอยาง 2) สารเพิ่มคุณภาพอินทรีย (Organic Additive Technology) หรือ OAT ทําหนาที่เผาชั้นผิวโลหะออกไซด

ใหกลายเปนผิวเคลือบบาง ๆ เพื่อปองกันการกั ดกร อน เนื่องจากเมื่อเกิดความชื้นหรื อมี ความชื้ น ใน อากาศ จะสงผลใหเกิดแผนสนิมที่ผิวหนาของชิ้นสวนที่เปนโลหะหรือเหล็กทันที 3) สารเพิ่มคุณภาพไฮบริดอินทรีย (Hybrid Organic Additive Technology) หรือ HOAT คือสารยับยั้ง

การกัดกรอนที่มีซิลิกาและกรดอินทรียเปนสวนประกอบ 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3.2 อันตรายของสารกัดกรอน 1) สารกัดกรอนมีอันตรายตอผิวหนัง หากมีการสัมผัสกับสารกัดกรอน อาจสงใหเกิดอาการตาง ๆ เหลานี้ได เชน อาการระคายเคือง อักเสบ ผิวหนังไหม ในกรณีที่กระเด็นเขาดวงตา อาจสงผลใหตาบอดได 2) สารกัดกรอนมีอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ หากผูใชสัมผัสกับไอระเหยของสารกัดกรอน อาจสงผล ใหเกิดอาการหายใจไมสะดวก แนนหนาอก หากสารมีความเขมขนสูงอาจสงผลกระทบตอการทํางานของ จมูก หลอดลม และปอดได 4. คุณสมบัติของสารกันสนิม การเกิดสนิมเปนปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นไดงาย มีปจจัยคือ น้ําและออกซิเจน เมื่อเหล็กสัมผัสกับน้ําและความชื้น จะคอย ๆ เกิด การสึกกร อนกลายเปน เหล็ กออกไซด ซึ่งมีชื่อเรี ย กทางเคมีว า ไฮเดรตเฟอริกออกไซด หรือที่ทั่ว ไปเรี ย กวา สนิมเหล็ ก โดยจะมีลักษณะเปน คราบสีแดง เพราะฉะนั้ นจึ งมีการผลิตสารกันสนิ มขึ้น เพื่อชวยยับยั้งการเกิดสนิ ม ซึ่งสารกันสนิมมี อยูดวยกันหลายประเภท เชน น้ํามันกันสนิม พลาสติกกันสนิม กระดาษกันสนิม เปนตน 4.1 ประเภทและสมบัติของสารกันสนิม 1) น้ํามันกันสนิม มีสมบัติในการแทนที่ความชื้นไดดี สามารถแทนที่สารละลายตาง ๆ เพื่อเขาไปเคลือบที่ผิว ของโลหะไดอยางรวดเร็ว และเปนของเหลวที่มีความหนืดต่ํา มีหนาที่ชวยปองกันพื้นผิวโลหะจากสนิม

ภาพที่ 1.7 น้ํามันกันสนิม 2) พลาสติกกันสนิม เมื่อใชพลาสติกกันสนิมห อหุมโลหะ สารเคมีที่อยูในพลาสติ กจะระเหย volatilize ออกมา และกลายเปนชั้นโมเลกุล ป องกัน ความชื้น เกลือ สิ่งสกปรก และออกซิเจน มีหนาที่ปองกั น การกัดกรอนและการเกิดสนิม

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.8 พลาสติกกันสนิม 3) กระดาษกันสนิม เมื่อใชกระดาษกันสนิมหอหุมโลหะ สารเคมีชนิดพิเศษที่เคลือบอยูบนกระดาษจะปลอย โมเลกุลออกมาเคลือบพื้นผิวโลหะ เพื่อปองกันความชื้น จึงมีหนาที่ปองกันสนิมและการกัดกรอนได ดี และสามารถปองกันสนิมไดในระยะเวลา 1 – 3 ป

ภาพที่ 1.9 กระดาษกันสนิม

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คําชี้แจง : ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดคือปจจัยของการเกิดสนิม ก. น้ําและคารบอนไดออกไซด ข. น้ําและออกซิเจน ค. อากาศและโมเลกุลของเหล็ก ง. ความรอนและความชื้น 2. ขอใด ไมใช หนาที่ของพลาสติกกันสนิม ก. เคลือบผิวโลหะ ข. ปองกันการกัดกรอน ค. ปองกันการเกิดสนิม ง. ปองกันความชื้น 3. จาระบีชนิดใดตอไปนี้ เปนจาระบีใสที่มีลักษณะคลายเชือก เมื่อมีอุณหภูมิสูง 79 องศาเซสเซียส จะมีความเหนียวมากขึ้น และสรางสารที่มีลักษณะคลายยางออกมารองรับผิวโลหะ ก. จาระบีลิเทียม ข. จาระบีออรกาโน – เคลย ค. จาระบีอะลูมินัม ง. จาระบีโพลียูเรีย 4. จาระบีชนิดใดตอไปนี้ นํา Metal Soaps มาผสม เพื่อเพิ่มสมบัติในดานการตานทานน้ําดีขึ้น ก. จาระบีลิเทียม ข. จาระบีโพลียูเรียคอมเพล็กซ ค. จาระบีออรกาโน – เคลย ง. จาระบีโซเดียม

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

5. เมื่อนําน้ํามันเบนซินพื้นฐานมาผสมกับเอทานอล ในอัตราสวน น้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 9 สวน และเอทานอล 1 สวน จะไดน้ํามันชนิดใด ก. น้ํามันแกสโซฮอล 91 ข. น้ํามันแกสโซฮอล 95 ค. น้ํามันแกสโซฮอล E 20 ง. น้ํามันแกสโซฮอล E 85 6. เมื่อแยกประเภทน้ํามันเกียรตามมาตรฐาน API น้ํามันเกียรประเภทใดใชสําหรับเกียรประเภทเฟองเดือยหมู และกระปุกเกียร ที่รับแรงไดขนาดปานกลาง ก. GL- 1 ข. GL- 2 ค. GL- 3 ง. GL- 4 7. เฟองทายแบบไฮปอยดควรใชน้ํามันเกียรแบบใด ก. GL- 1 ข. GL- 2 ค. GL- 3 ง. GL- 4 8. ขอใดไมใชสมบัติของสารระบายความรอน ก. ชะลอการระเหยของน้ําในระบบหลอเย็น ข. ปองกันการเกิดสนิม ตะกรัน และตะกอน ค. เพิ่มความเย็น ใหน้ําในระบบหลอเย็นแข็งตัวจนเปนน้ําแข็ง ง. หลอลื่นปมน้ํา ซีลปมน้ํา และวาลวน้ํา

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

9. ขอใด คือ คุณสมบัติของน้ํามันเกียรอัตโนมัติที่ดี ก. ควบคุมแรงเสียดทานไดอยางเหมาะสม ข. ทําปฏิกิริยากับคลัตชและซีล ค. ไมตานทานการรวมกับออกซิเจน ง. ทําใหเกิดฟองไดดี 10. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับอัตราซีเทน (Cetane Number) ก. คุณสมบัติในการเผาไหมของน้ํามันดีเซล ข. คาที่ใชวัดคุณภาพของน้ํามันดีเซลในเรื่องคุณสมบัติการติดไฟ ค. อัตราการระเหยตัวของน้ํามันดีเซลไมมีผลตอจุดเดือด ง. คาความขนใสของน้ํามันดีเซล

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามัน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. ปฏิบัติงานการตรวจสอบน้ํามันได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบน้ํามันชนิดตาง ๆ พรอมทั้งเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ชนิดของน้ํามัน

ลักษณะของน้ํามัน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

รายละเอียด


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามัน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แกวพลาสติก ความจุ 7 ออนซ

จํานวน 10 แกว

2. โตะปฏิบัติการ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเกียรอัตโนมัติ

จํานวน 1 แกลลอน

2. น้ํามันแกสโซฮอล E20

จํานวน 1 แกลลอน

3. น้ํามันแกสโซฮอล E85

จํานวน 1 แกลลอน

4. น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 91

จํานวน 1 แกลลอน

5. น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95

จํานวน 1 แกลลอน

6. น้ํามันดีเซล

จํานวน 1 แกลลอน 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

7. น้ํามันเบนซิน

จํานวน 1 แกลลอน

8. ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

หมายเหตุ : เตรียมน้ํามันใสแกวพลาสติกขนาด 7 ออนซ

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบน้ํามัน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จัดเตรียมน้ํามัน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ครูฝกจัดเตรียมน้ํามันชนิดตาง ๆ บนโตะ ขณะปฏิบัติงานควร

2. เลือกหยิบน้ํามัน

หลีกเลี่ยงการกอ

3. สังเกตน้ํามัน

ประกายไฟ ผูรับการฝกเลือกหยิบน้ํามันตามที่ครูฝก กําหนด สังเกตสีของน้ํามันที่หยิบมา

ไมควรสูดดมไอน้ํามัน อาจเปนอันตรายตอ ระบบหายใจ และ เสี่ยงตอการเปน โรคมะเร็งปอดอีกดวย

4. บันทึกผลลงในตาราง

บันทึกชื่อ สีของน้ํามัน คุณสมบัติ และ การนําไปใชงาน ลงในตารางบันทึกผล

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

5. ทําตามขั้นตอนที่ 2-4 อีกครั้ง

คําอธิบาย

ห ลัง จ า ก บัน ทึ ก ผ ล แ ล ว ค รูฝ  ก จ ะ กํา หนดชนิด ของน้ํ า มัน ใหผู ร ับ การฝ ก นํา ไปศึก ษาตามขั้น ตอนที่ 2-4 อีก ครั้ง จนกระทั่งตรวจสอบน้ํามัน ครบทุ กชนิด

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การตรวจสอบน้ํามัน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบน้ํามัน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชน้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน และสารกันสนิมได 2. ปฏิบัติงานการตรวจสอบน้ํามันได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 30 นาที

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบน้ํามันชนิดตาง ๆ พรอมทั้งเขียนรายละเอียดลงในตารางบันทึกผล ตัวอยางเฉลยใบงาน ชนิดของน้ํามัน

ลักษณะของน้ํามัน

รายละเอียด

น้ํามันเบนซิน

สีเหลืองออน

น้ํามันที่ใชกับเครื่องยนตแกสโซลีน สามารถ ระเหยไดเร็ว ทําใหติดเครื่องยนตงาย เรง เครื่องยนตไดสม่ําเสมอ นอกจากนี้ ยังทําให ไมเกิดอาการเวเปอรล็อกอีกดวย

น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน91

สีเขียว

เกิดจากการน้ํามันเบนซินออกเทน 88 จํานวน 90% มาผสมกับเอทานอล10%

น้ํามันแกสโซฮอล ออกเทน 95

สีสม

เกิดจากการน้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 90% มาผสมกับเอทานอล 10%

น้ํามันแกสโซฮอล E20

สีน้ําตาล

เกิดจากการน้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 80% มาผสมกับเอทานอล 20% เหมาะสําหรับรถที่ตองการประหยัดน้ํามัน และไมตองการการออกตัวแรง

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ชนิดของน้ํามัน

ลักษณะของน้ํามัน

น้ํามันแกสโซฮอล E85

สีมวง

รายละเอียด เกิดจากการน้ํามันเบนซินออกเทน 91 จํานวน 15% มาผสมกับเอทานอล 85%

น้ํามันดีเซล

สีเหลืองอมน้ําตาล

น้ํามันเกียรอัตโนมัติ

สีแดงเขม

ใช กั บ เครื่ อ งยนต ดี เ ซล ความสามารถใน การจุดระเบิด ขึ้นอยูกับคาซีเทน หากมีคา ซีเทนสูง ก็จะสามารถจุดระเบิดไดเร็ว และ ติดเครื่องยนตงาย น้ํามันเกียรอัตโนมัติ จะชวยหลอลื่นระบบ เฟองเกียร ปองกันสนิม การสึกกรอนในชุด สงกําลัง และ ระบายความรอนที่เกิดจาก ทอรกคอนเวอรเตอร

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตองอยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา หนากากชนิดแผนกรองอากาศ รองเทานิรภัย ชุด

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลอย า งถู ก ต อ ง ครบทั้ง 4 ชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

ปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่ม ปฏิบัติงาน

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง 3 ชิ้น ใหคะแนน 2 คะแนน

3

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลอย า งถู ก ต อ ง นอยกวา 3 ชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน

3

สลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การตรวจสอบน้าํ มัน

ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตอง ครบถวนทั้ง 7 ชนิด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตอง 5 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตอง 3 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน ตรวจสอบน้ํามันไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

3

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือ ไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และ ไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 6

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตองและไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน3 คะแนน

3

ปฏิบตั ิงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

23

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921020102 ทอที่ใชในรถยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. จําแนกชนิดของทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 2. เลือกใชทอยางและทอโลหะได

2. หัวขอสําคัญ 1. ชนิดของทอยางที่ใชในงานรถยนต 2. ชนิดของทอโลหะที่ใชในงานรถยนต

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ - ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 1 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ทอน้ําเขา จํานวน 1 ทอ 2) ทอน้ํามันเบรก จํานวน 1 ทอ 3) ทอน้ํายาแอร จํานวน 1 ทอ 4) ทอน้ําหมอพักน้ํา จํานวน 1 ทอ 5) ทอน้ําออก จํานวน 1 ทอ 6) ทออากาศ จํานวน 1 ทอ 7) ทอไอเสียจากกรองไอเสียตัวที่ 1 จํานวน 1 ทอ 8) ทอไอเสียจากทอรวม จํานวน 1 ทอ 9) รถยนต จํานวน 1 คัน 10) ลิฟตยกรถ จํานวน 1 ตัว 11) สายฉีดน้ําฝน จํานวน 1 ทอ

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม นิวแอนดไฮด ชนิดของยาง และคุณสมบัติของยาง [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pneu-hyd.co.th/บทความ-นิวเมติกส-ไฮดรอลิก/361-บทความ.html

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 44-64 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก ทอชนิดตาง ๆ ที่ใชในรถยนต 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับทอที่ใชในรถยนต

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง ท อ ที่ ใ ช ใ น 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น รถยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 44-64

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง ทอที่ใชในรถยนต หนาที่ 44-64 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มสื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 04:30-06:45 และใชคูมือผูรับการฝก หนาที่ 46-51 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ชนิดของทอยางที่ใชในงานรถยนต 2.2 ชนิดของทอโลหะที่ใชในงานรถยนต 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 3. แสดงตัวอยางทอของจริงใหผูรับการฝกดู 3. ดูตัวอยางทอของจริง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 52-54 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 52-54 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 69 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.1 การสํารวจ 6. ศึกษาใบงานที่ 2.1 การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ ทอยางและทอโลหะที่ใชในรถยนต จากคูมือ ใช ในรถยนต จากคู มื อผู รั บการฝ ก หน าที่ 55-64 ผูรับการฝก หนาที่ 55-64 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-07:28 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 7.1 สํารวจทอยางที่ใชในงานรถยนต 7.2 จดจําตําแหนงของทอยางในรถยนต 7.3 สํารวจทอโลหะที่ใชในงานรถยนต 7.4 จดจําตําแหนงของทอโลหะรถยนต 7.5 บันทึกชื่อและตําแหนงของทอที่สํารวจลง ในตารางบันทึกผล 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้น ตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับ การฝก หนาที่ หนาที่ 71-72 56-57 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง การสํารวจทอ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ยางและทอโลหะที่ใชในรถยนต ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง การสํารวจท อยาง และท อ โลหะที่ ใ ช ในรถยนต เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการ ปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ทอที่ใชในงานรถยนต ทอภายในรถยนตเปนสวนที่ใชลําเลียงของเหลวหรือกาซในระบบตาง ๆ เชน ระบบสงไอเสีย ระบบสงอากาศดีขาเขา เปนตน ซึ่งจะมีคุณสมบัติแตกตางกันออกไป ดังนี้ 1. ชนิดของทอยางที่ใชในงานรถยนต ทอยางเปนทอที่ใชในงานสงถายของเหลวจากระบบหนึ่งไปยังระบบหนึ่ง ซึ่งอาจจะเปนน้ําธรรมดา น้ํามันเครื่อง น้ํามัน เชื้อเพลิง น้ํามันไฮดรอลิก หรืออาจจะใชสงถายในรูปของอากาศ กาซ ไอ ก็ได โดยในแตละระบบนั้นจะมีลักษณะการส ง ของเหลว หรือกาซที่ไมเหมือนกัน ในการเลือกใชจึงควรเลือกใชตามความเหมาะสม สาเหตุที่ไมใชทอเหล็ก เพราะทอยาง มีความยืดหยุนสูงกวา บางตําแหนงจะตองสามารถใหตัวได เชน ทอยางหมอน้ํากับเครื่องยนต สายออนเบรก ดังนั้นจึงควรให ความสําคัญในการเลือกใชทอสําหรับการใชงานในแตละระบบ 1.1 ชนิดและลักษณะของทอยางในระบบตาง ๆ 1) ทอยางหมอน้ํา จะยึดติดกับคอหมอน้ําระบายความรอน (รังผึ้ง) ซึ่งทําจากโลหะที่ถายเทความรอนไดรวดเร็ว เมื่อน้ําที่มีอุณหภูมิสูงเหลานี้ เคลื่อนตัวจากดานบนลงสูดานลาง ก็จะถายเทความรอนออกไป ใหครีบ ระบายความรอน โดยทอยางเหลานี้จะมีหนาที่ลําเลียงน้ําที่มีอุณหภูมิสูงผานหมอน้ําตอไปสูทางเขาผนัง เสื้อสูบ เพื่อทําให น้ําที่ มีอยูในระบบ ไหลเวียนไปมาระหว างโพรงผนั งห องเครื่องกับ หมอน้ําได อ ยา ง ตอเนื่อง

ภาพที่ 2.1 ทอยางหมอน้ํา 2) ทอยางถังน้ํามันเชื้อเพลิง มีหนาที่เปนทอที่เชื่อมตอระหวางถังน้ํามันเชื้อเพลิงจนถึงปากทอเติมน้ํามัน เชื้อเพลิง ซึ่งใชสําหรับการเติมน้ํามันเชื้อเพลิง

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 2.2 ทอยางถังน้ํามันเชื้อเพลิง 3) ทออากาศ มีหนาที่ลําเลียงอากาศจากหมอกรองอากาศกอนเขาหองเผาไหม เพื่อทําหนาที่ในการลําเลียง อากาศดีที่ผานการกรองจากหมอกรองอากาศ เพื่อผสมกับน้ํามันเชื้อเพลิงที่ทอรวมไอดี และเกิดการ สันดาปในหองเผาไหม โดยทออากาศนั้นจะทําการตอจากหมอกรองอากาศเขากับทอรวมไอดีและอากาศ จะเขาฝาสูบ เพื่อนําอากาศดีจากหมอกรองไปยังภายในหองเผาไหม

ภาพที่ 2.3 ทออากาศ 4) ทอหายใจหรือทอดักไอน้ํามัน มีหนาที่คอยดักไอน้ํามันเครื่องที่จะเล็ดลอดออกมาจากฝาครอบวาลว เนื่องจากการทํางานของเครื่องยนตจําเปนตองมีน้ํามันเครื่องในการหลอลื่น และระบายความรอนภายใน รวมไปถึงชิ้นสวนดานบนเครื่องยนต เชน ชุดวาลว และชุดเพลาลูกเบี้ยว เปนตน เพื่อชวยในการถายเท ความรอน นอกจากนี้ ยังชวยระบายแรงดัน ระบายไอระเหย และยังชวยในการหลอลื่นชิ้นสวนของวาลว ที่อยูในชองทางเดินอากาศ กอนที่จะเผาไหมไปบางสวนในการจุดระเบิดอีกดวย 5) ทอออยคูลเลอร ทําหนาที่ลําเลียงน้ํามันที่ผานการระบายความรอนภายในเครื่องยนตเขาและออก ในการ ระบายความรอนของน้ํามันเครื่อง ซึ่งออยคูลเลอรนั้นจะระบายความรอนดวยอากาศ และจะมีการติดตั้ง แยกตัวอยางเปนอิสระ ออยคูลเลอรนั้นจะชวยใหอุณหภูมิของน้ํามันเครื่ องนั้น คงที่ และทําใหน้ํามัน เครื่องใชงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 2.4 ทอออยคูลเลอร 6) ทอเพาเวอรพวงมาลัย มีหนาที่ในการสงตอแรงดันน้ํามันเพาเวอรไปยังปมเพาเวอรเพื่อทําการผอนแรง การบังคับลอจากพวงมาลัย โดยเพาเวอรนั้นจะสรางแรงดันดวยปมเพาเวอร โดยการหมุนพวงมาลัย เพื่อเปลี่ยนชองทางการไหลของน้ํามันเพาเวอร

ภาพที่ 2.5 ทอเพาเวอรพวงมาลัย 7) สายออนเบรก ทํา มาจากทอ ยางไฮดรอลิก หลายชั้น หุม ดว ยยางกัน การเสีย ดสี และกัน ความรอ น สามารถออนตัวไปตามการหมุนของลอ และการขยับของชวงลางไดอยางคลองตัว

ภาพที่ 2.6 สายออนเบรก 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

8) ทอน้ํามันคลัตชและสายออนคลัตช ทําหนาที่ลําเลียงน้ํามันคลัตช ที่มีแรงดันสูงในแบบไฮดรอลิกสงไปยัง ปมคลัตซลาง เพื่อทําหนาที่ตัดตอกําลัง

ภาพที่ 2.7 ทอน้ํามันคลัตช 1.2 มาตรฐานของทอตาง ๆ 1) SAE J30R6 มาตรฐานสายยางทอน้ํามัน ใชกับน้ํามันเบนซินธรรมดา เหมาะสําหรับใชเปนสายน้ํามัน แบบแรงดันต่ํา เชน สงน้ํามันเขาคารบูเรเตอร เปนตน 2) SAE J60R7 มาตรฐานสายยางทอน้ํามัน ใชกับน้ํามันเบนซินธรรมดา เหมาะสําหรับใชเปนสายน้ํามันไหล กลับถัง 3) SAE J30R9 สายยางทอน้ํามันเบนซินและแกสโซฮอล ใชกับระบบหัวฉีดได ทําหนาที่ลําเลียงน้ํามันนอกถัง 4) SAE J30R10 สายยางทอน้ํามันเบนซินและแกสโซฮอล ตอเขากับปมเบนซิน และสามารถอยูในถังน้ํามันได - SAE 30 R10 เปนทอที่อยูภายในถังน้ํามัน สามารถรองรับน้ํามันไดสูงสุด - SAE 30 R9 รองรับแกสโซฮอล E10 E20 E85 น้ํามันดีเซล และไบโอดีเซล ทอชนิดนี้หามแช หรือจุมในถังน้ํามัน - SAE 30 R7 รองรับน้ํามันเบนซินไรสารตะกั่ว น้ํามันดีเซล และน้ํามันเบนซิน ที่มีสวนผสมของ เอทานอล (E10) ทอชนิดนี้หามแชหรือจุมในถังน้ํามัน - SAE 30 R6 เปนรุนเการองรับแคน้ํามันเบนซินไรสารตะกั่ว น้ํามันดีเซล และไมรองรับน้ํ ามัน เบนซินที่มีสวนผสมของเอทานอลและไบโอดีเซล ทอชนิดนี้หามแชหรือจุมในถังน้ํามัน 1.3 คุณสมบัติที่ดีของทอยาง 1) เนื้อยางจะตองนิ่มและยืดหยุนตามลักษณะการใชงาน 2) ไมมีรอยแตกลายงา เปอยยุย หรือฉีกขาด 3) ไมบวม และคงรูปตามลักษณะการใชงาน 4) การใชงานเหมาะสมกับประเภทของทอยาง 5) ไมควรนํายางที่หมดอายุแลวมาใชงาน

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ชนิดของทอโลหะที่ใชในงานรถยนต ทอโลหะนั้นจะพบไดในระบบทอไอเสีย ซึ่งทําการกรองมลพิษตาง ๆ ที่ไดจากการเผาไหมในกระบอกสูบของเครื่องยนต ซึ่งไอเสียที่ไดจากการเผาไหมนั้นจะถูกลําเลียงกาซที่มีปริมาณคารบอนที่สูง จึงจําเปนที่จะตองมีการกรองไอเสียเพื่อใหเกิดมลพิษ ทางอากาศใหนอยที่สุด การระบายไอเสียออกจากเครื่องยนต ใชการขยายตัวของกาซแรงดันสูงและรอนที่จะเคลื่อนตัวหา อากาศภายนอกที่เย็น และมีแรงดันต่ํากวา รวมกับการเลื่อนตัวขึ้นของลูกสูบ ผานวาลวไอเสีย และพอรทไอเสียบนฝาสูบ ออกนอกเครื่องยนตโดยผานระบบทอไอเสีย โดยมีสวนประกอบดังตอไปนี้ 2.1 ทอรวมไอเสีย (Exhaust manifold) มีหนาที่ในการระบายแกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหม ออกจากกระบอก สูบทางลิ้นไอเสียของเครื่องยนต กอนรวมเปนทอเดี่ยวหรือคู เพื่อสงผานไปยังทอไอเสีย รถยนตทั่วไปมักเลือกใชทอ รวมไอเสียที่ทํามาจากเหล็ กหล อโดยมี ขนาดสั้น ซึ่งสามารถผลิตไดจํานวนมากและมี ความรวดเร็วในการผลิ ต ทอรวมไอเสียนั้นแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ทอรวมไอเสียแบบธรรมดาและทอรวมไอเสียแบบเฮดเดอร

ภาพที่ 2.8 ทอรวมไอเสีย 2.2 หมอพัก (Muffler) มีห นาที่ในการดูดซับเสียงที่เ กิดจากทอรวมไอเสีย ซึ่งทําใหเ สียงที่เ กิดขึ้นจากเครื่องยนต เบาลง และไมเกิดการสะทอนของเสียงเขาไปยังหองโดยสาร โดยหมอพักในระบบทอไอเสียจะมีดวยกันสอง ตําแหนง คือ หมอพักไอเสียกลางและหมอพักไอเสียทาย โดยหมอพักไอเสียกลางนั้นจะเชื่อมตอจากทอรวมไอเสีย สวนใหญจะเปนไสตรงหรือตรงเกลียว เพื่อประสิทธิภาพในการลดเสียง หมอพักไอเสียทายนั้นจะอยูในสวนสุดทาย สวนใหญจะติดกับปลายทอดานทายรถ มีหนาที่ซัพเสียงไมตางจากหมอพักกลางมากนัก โดยหมอพักไอเสียทายนั้น จะมีลักษณะการวางตัวทอภายในหมอพักที่แตกตางกัน เพื่อสรางแรงอั้นใหเหมาะสมกับขนาดของเครื่องยนตและ ชนิดของเกียร ดังนี้

ภาพที่ 2.9 หมอพักไอเสีย 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

1) หมอพักไสยอน สว นใหญทอจากโรงงานจะเปน ทอประเภทนี้ โดยจะมีคุณสมบัติในการดูด ซับ เสีย ง จากเครื่องยนตไดดี ใชไดทั้งเกียรธรรมดาและเกียรอัตโนมัติ แตเหมาะกับเกียรอัตโนมัติที่สุดเพราะมี แรงอั้นสูง สงผลใหพละกําลังการออกตัวและรอบตนดี แตจะไมเหมาะกับเครื่องยนตที่มีระบบอัดอากาศ (เทอรโบ)

ภาพที่ 2.10 หมอพักไอเสียไสยอน 2) หมอพักไสเยื้อง จะมีความโลงมากกวาหมอพักไสยอน ใชไดทั้งเกียรธรรมดาและเกียรอัตโนมัติ โดย หมอพักไสเยื้องนั้นจะใหแรงอั้นที่ต่ํากวาหมอพักไสยอน อาจสงผลใหเกิดอาการขาดกําลังในรอบตน

ภาพที่ 2.11 หมอพักไอเสียเยื้อง 3) หมอพักไสตรง มีความโลงมากที่สุดในบรรดาหมอพักทั้งหมด ไมเหมาะกับรถเกียรอัตโนมัติ เนื่องจากไมมี แรงอั้น โดยหมอพักประเภทนี้จะเหมาะสําหรับรถที่มีระบบอัดอากาศ และเกียรธรรมดา

ภาพที่ 2.12 หมอพักไอเสียไสตรง

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ

ก. = ทอรวมไอเสีย 1. ข. = ทออากาศ

ค. = หมอพักไอเสีย 2. ง. = ทอออยคูลเลอร

จ. = สายออนเบรก

3.

ฉ. = ทอยางหมอน้ํารถยนต 4.

5.

6.

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 7. หมอพักไสตรงมีความโลงมากที่สุดในบรรดาหม อพักทั้งหมด เหมาะสําหรั บ รถยนตเกียรอัตโนมัติ 8. ทอยางถังน้ํามันเชื้อเพลิง มีหนาที่เปนทอที่เชื่อมตอระหวางถังน้ํามันเชื้อเพลิง จนถึงปากทอเติมน้ํามันเชื้อเพลิง 9. หมอพัก (Muffler) มีหนาที่ในการดูดซับเสียงที่เกิดจากทอรวมไอเสีย ซึ่งทําให เกิดการสะทอนของเสียงเขาไปยังหองโดยสาร 10. ทอรวมไอเสียนั้นแบงไดเปน 2 ประเภท คือ ทอรวมไอเสียแบบธรรมดาและ ทอรวมไอเสียแบบเฮดเดอร 11. ทอออยคูลเลอร มีหนาที่คอยดักไอน้ํามันเครื่องที่จะเล็ดลอดออกมาจากฝา ครอบวาลว 12. SAE J30R6 มาตรฐานสายยางทอ น้ํ า มัน ใชก ับ น้ํ า มัน เบนซิน ธรรมดา เหมาะสําหรับใชเปนสายน้ํามันแบบแรงดันต่ํา เชน สงน้ํามันเขาคารบูเรเตอร 13. ทอออยคูลเลอรนั้นจะระบายความรอนดวยอากาศ และจะมีการติดตั้งแยกตัว อยางเปนอิสระ 14. SAE J60R7 เปนทอที่อยูภายในถังน้ํามัน สามารถรองรับน้ํามันไดสูงสุด 15. ทออากาศมีหนาที่ลําเลียงอากาศจากหมอกรองอากาศกอนเขาหองเผาไหม 16. สายอ อ นเบรก ทํ า มาจากทอ ยางไฮดรอลิก หลายชั ้น หุ ม ดว ยยาง กันการเสียดสี และกันความรอน

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 6 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ

ถูก

ผิด

7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชทอยางและทอโลหะได 2. ปฏิบัติงานสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจทอยางและทอโลหะในรถยนต และบันทึกผลลงในตารางใหถูกตอง ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ชื่อของทอ

ตําแหนงของทอในรถยนต

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต

จํานวน 1 คัน

2. ลิฟตยกรถ

จํานวน 1 ตัว

3. ทอน้ําเขา

จํานวน 1 ทอ

4. ทอน้ําออก

จํานวน 1 ทอ

5. ทอน้ําหมอพักน้ํา

จํานวน 1 ทอ

6. ทออากาศ

จํานวน 1 ทอ

7. ทอน้ํามันเบรก

จํานวน 1 ทอ

8. ทอน้ํายาแอร

จํานวน 1 ทอ

9. สายฉีดน้ําฝน

จํานวน 1 ทอ

10. ทอไอเสียจากทอรวม

จํานวน 1 ทอ

11. ทอไอเสียจากกรองไอเสียตัวที่ 1

จํานวน 1 ทอ 71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด

จํานวน 1 ผืน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ

คําอธิบาย ใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ

2. ดับเครื่องยนตและเขาเกียร

กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน

ขอควรระวัง

ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียร ที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 3. เปดฝากระโปรงหนารถ 4. จัดเตรียมทอยางและทอโลหะ 5. สํารวจทอยางในหองเครื่อง

เปดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน

ล็อกไมค้ํายันฝา กระโปรงหนารถทุกครั้ง เพื่อปองกันไมใหฝา กระโปรงปด ระหวาง ปฏิบัติงาน

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย ครูฝกจัดเตรียมทอยางและทอโลหะ ซึ่งถอด ออกมาจากรถยนตแลว โดยนํามาวางเรียง กันบนพื้น ผูรับ การฝก จํา ตํา แหนง ทอ ยางตา ง ๆ ใน หองเครื่อง เปนเวลา 15 นาที

6. เลือกหยิบทอยาง

หลังจากจําตําแหนงของทอแลว ใหผูรับการฝก เลือกหยิบทอยางที่ครูฝกเตรียมไวบนพื้นครั้ง ละ 1 ทอ

7. สังเกตและบันทึกผล

สั ง เกตลั ก ษณะของท อ ยาง และบั น ทึ ก ชื่ อ ของทอยาง และตําแหนงของทอยางใน หองเครื่อง ลงในตารางบันทึกผล

8. ทําตามขั้นตอนที่ 6-7 อีกครั้ง

หลังจากบัน ทึ กผลแลว ใหผู รับการฝ ก เลือกหยิบ ทอยางใหม และทําตามขั้น ตอน ที่ 6-7 อีกครั้ง จนกระทั่งครบทุกทอ

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. ยกรถขึ้น

คําอธิบาย เลื่อนแขนของจานรองรับรถใหอยูใน

ขอควรระวัง หามนําจานไปรองรับ

ตําแหนงรองรับรถ จากนั้นกดสวิตชย กรถ

บริเวณพื้นรถ หรือ

ขึ้น ในตําแหนงที่ต องการ

บริเวณที่ไมใชจุดรองรับ

เพื่อยกรถขึ้น ดวยลิฟตย กรถ

เพราะจะทําใหตัวถัง ชํารุด

10. สํารวจทอโลหะในรถยนต

ผู ร ับ การฝก จํ า ตํ า แหนง ทอ โลหะตา ง ๆ เปนเวลา 10 นาที

11. เลือกหยิบทอโลหะ

หลังจากจําตําแหนงของทอแลว ใหผูรับการฝก เลือกหยิบทอโลหะที่ครูฝ กเตรีย มไว บ นพื้ น ครั้งละ 1 ทอ

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 12. สังเกตและบันทึกผล

คําอธิบาย สังเกตลักษณะของทอโลหะ และบันทึกชื่อ

ขอควรระวัง

ของทอยาง และตําแหนงของทอยางในหอง เครื่อง ลงในตารางบันทึกผล

13. ทําตามขั้นตอนที่ 11-12 อีกครั้ง

หลัง จากบัน ทึก ผลแลว ใหผู ร ับ การฝก เลือกหยิบท อยางใหม และทําตามขั้ น ตอน ที่ 11-12 อีกครั้ง จนกระทั่งครบทุกท อ

14. นํารถลง

กดสวิตชนํารถลงสูระดับ พื้ นราบปกติ และ ระวังอยาใหมีคนหรือสิ่ง เลื่อนแขนของจานรองรับรถออก โดยใหแขน กีดขวางใตทองรถ หรือ ของคานอยูในตําแหนงขนานกับเสา

บริเวณใกลเคียง ขณะนํา

ผู ขั บ ขึ้ น รถ และขั บ รถออกจากลิ ฟ ต ย กรถ รถลง จากนั้ น พั บ แขนของลิ ฟ ต ย กรถเก็ บ ให เรียบรอย

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 15. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ อุปกรณ

ขอควรระวัง

ปฏิบัติงาน และจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหเรียบรอย

3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน

2

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

3

การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน

4

การสํารวจทอยาง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

การสํารวจทอโลหะ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

7

การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน

8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ทันเวลาที่กําหนด

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบงาน ใบงานที่ 2.1 การสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เลือกใชทอยางและทอโลหะได 2. ปฏิบัติงานสํารวจทอยางและทอโลหะที่ใชในงานรถยนตได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจทอยางและทอโลหะในรถยนต และบันทึกผลลงในตารางใหถูกตอง ตารางบันทึกผลการตรวจสอบ ชื่อของทอ

ตําแหนงของทอในรถยนต

ทอน้ําเขา

เชื่อมตอจากดานลางของหมอน้ํา ไปยังปมน้ําของเครื่องยนต

ทอน้ําออก

เชื่อมตอจากดานบนของหมอน้ํา ไปยังฝาสูบดานหนาของเครื่องยนต

ทอน้ําหมอพักน้ํา

เชื่อมตอจากคอหมอน้ํา ไปยังถังพักน้ํา

ทออากาศ

เชื่อมตอจากกรองอากาศ ไปยังทอรวมไอดี

ทอน้ํามันเบรก

เชื่อมตอจากคาลิปเปอร ไปยังตําแหนงทอน้ํามันเบรกที่ยึดอยูกับปกนก

ทอน้ํายาแอร

เชื่อมตอจากคอมเพรสเซอรไปยังผนังหองเครื่องที่ขอตอเขากับตัวถังรถยนต

สายฉีดน้ําฝน

เชื่อมตอจากหมอพักน้ําปดน้ําฝน ไปยังหัวฉีดน้ําลางกระจกที่ฝากระโปรง

ทอไอเสียจากทอรวม

เชื่อมตอจากทอรวมไอเสียไปยังขอตอเขากับกรองไอเสียตัวที่ 1

ทอไอเสียจากกรองไอเสียตัวที่ 1

เชื่อมตอจากกรองไอเสียตัวที่ 1 ไปยังกรองไอเสียตัวทาย

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่

1

รายการตรวจสอบ

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน

ขอกําหนดในการใหคะแนน

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน

คะแนน เต็ม 3

เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน 2

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา

สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คลอย า งถู ก ต อ ง

รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติการชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

ครบทั้ง 3 ชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง 2 ชิ้น

3

ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง 1 ชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน 3

การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน

ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน

3

ใหคะแนน 3 คะแนน สลับในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขามขั้นตอนที่สําคัญ ใหคะแนน 0 คะแนน 4

การสํารวจทอยาง

บอกชื่อและตําแหนงของทอยางไดถูกตอง ครบถวน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอยางผิด 1 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอยางผิด 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอยางผิดตั้งแต 3 ชนิดขึ้นไป ใหคะแนน 0 คะแนน 5

การสํารวจทอโลหะ

บอกชื่อและตําแหนงของทอโลหะไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน บอกชื่อและตําแหนงของทอโลหะผิด 1 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับที่

รายการตรวจสอบ

ขอกําหนดในการใหคะแนน

คะแนน เต็ม

คะแนนที่ได

บอกชื่อและตําแหนงของทอโลหะผิด 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 6

ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย

3

และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 0 คะแนน 7

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน

จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน

3

ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8

เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน

3

ปฏิบตั ิงานเกินเวลาทีก่ ําหนด 1-5 นาที ใหคะแนน 2คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม

28

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1

โมดู ล การฝ ก ที่ 4

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.