คู่มือครูฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 4

Page 1

คู่มือครูฝึก ระดับ 1_ โมดูล 8_Ver CD.docx

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

คูมือครูฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 4 09217204 การใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

คํา นํา

คูมือครูฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก ระดับ 1 โมดูลที่ 4 การใช บํารุงรักษา เครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรม ฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจั ดการ ฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนิ นการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถ เพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใ ชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตาม หลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัด เครื่องมือวัดทางกล เครื่องมือสวนบุคคล และ ทดสอบงานไฟฟาได และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตาม มาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

เรื่อง

สารบัญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 4 09217204 การใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ หัวขอวิชาที่ 1 0921720401 เครื่องมือวัดงานไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ หัวขอวิชาที่ 2 0921720402 เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล คณะผูจัดทําโครงการ

20 66 99

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้ อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับผิด ชอบของผูม ีสวนไดสวนเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตร ระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถแบบ ออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบีย นแบบออนไลน ใหผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบีย นผานเว็บไซต โดยกรอกประวัติ เลือก หลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบีย นแบบออฟไลน ผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบีย นที่ศูนยฝก โดยการเลือกหลักสูตร กรอก ประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวใ นระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐานของกรม พัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสือ่ สิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ข อเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผู รับ การฝก ที่ศู นยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแ กผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือกใชอุป กรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิม พ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่ม อบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบา น และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูใ นการปฏิบัติงานเกี่ย วกับงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรับอากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ย วกับหนว ยวั ดของระบบต าง ๆ ที่ใ ชงานในเครื่ องทํา ความเย็ นและเครื่อ งปรั บอากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศ ในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 4 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 1 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก การใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา รหัสโมดูลการฝก งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 09217204 3. ระยะเวลาการฝก รวม 11 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 8 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได 2. ใช บํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ วั ด และทดสอบงานไฟฟ า งานเครื่ อ งทํ า ความเย็ น และเครื่องปรับอากาศได 3. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได 4. ใชบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ย วกับการใชเครื่องมือวัด และการทดสอบไฟฟา จากหนวยงาน ผูรับการฝก หรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานการฝกโมดูลที่ 3 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัด หัวขอที่ 1 : เครื่องมือวัดงานไฟฟา เครื่องทําความเย็น 1:45 4:00 5:45 งานไฟฟา และเครื่องปรับอากาศ งานเครื่องทําความเย็น และ เครื่องปรับอากาศได 2. ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัด และทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และ เครื่องปรับอากาศได 18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 3. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัด ทางกล และเครื่องมือ สวนบุคคลได 4. ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัด ทางกล และเครื่องมือ สวนบุคคลได

หัวขอที่ 2 : เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือ สวนบุคคล

1:30

4:00

5:30

รวมทั้งสิ้น

3:15

8:00

11:15

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921720401 เครื่องมือวัดงานไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได 2. ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได

2. หัวขอสําคัญ 1. เครื่องมือวัดงานไฟฟา 2. เครื่องมือวัดงานเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) สายไฟสําหรับเสียบเขาชุดฝก 2) หลอดไฟ 120 W 3) หลอดไฟ 40 W 4) หลอดไฟ 60 W 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ไขควงแฉก 2) ไขควงแบน 3) เครื่องปรับอากาศ 4) แคลมปออนมิเตอร 5) เทอรโมมิเตอร 6) ประแจเลื่อน 7) มัลติมิเตอร 8) แมนิโฟลดเกจ

จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส. นภัทร วัจนเทพินทร. ม.ป.ป. บทที่ 5 กิโลวัตตฮาวมิเตอร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.g-tech.ac.th/vdo/moterdoc/เครื่องมือวัดไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส/บทที่%205%20กิโลวัตตฮาว.pdf นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. รังสรรค ศรีสาคร. 2552. มัลติมิเตอรแบบเข็ม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/saowalak/analog_multi/analog.htm รังสรรค ศรีสาคร. 2552. มัลติมิเตอรแบบตัวเลข. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet3/saowalak/digital_multi/digital.htm รุงโรจน หนูขลิบ. แผนการสอนรายคาบ เรื่องวัตตมิเตอร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://edltv.vec.go.th/courses/32/10110045.pdf Support (นามแฝง). 2557. วิธีการใชงาน อินฟราเรด เทอรโมมิเตอร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://xn--m3cd4aaid9de5d8fgu3ki.com/infrared-themometer-42511/

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรีย มวัสดุ – อุปกรณแ ละเครื่ องมื อ ที่ ใ ช ใ น งานเครื่องปรับอากาศ และตรวจสอบความ พรอมใชงานของอุปกรณ ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ วั ด งานไฟฟ า ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องเครื่องมือวัดงาน 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ขั้นสอน 1. แจกคู มื อ ผู รั บการฝ ก เรื่ อ งเครื่ อ งมือ วัด งาน 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องเครื่องมือวัด งานไฟฟ า เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ หนาที่ ไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 14 - 55 ไปศึกษา หนาที่ 14 - 55 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความรูใ หมพ รอมใชคูมือ ผรั บการฝ ก หนา ที่ 17 - 34 และตัวอยางจริงประกอบการสอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 เครื่ อ งมื อ วั ด ทางไฟฟ า ประกอบด ว ย แอมปมิเตอร มัลติมิเตอร โอหม มิเตอร 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก แคลมป อ อนมิ เ ตอร เครื่ อ งวั ด ความ ตานทานของฉนวน 2.2 เครื่ อ งวั ด งานเครื่ อ งทํ า ความเย็ น และ เครื่ อ งปรั บ อากาศ ประกอบด ว ย แม นิ โ ฟลเกจ เทอร โ มมิ เ ตอร เครื่ อ งวั ด ความเร็วลม 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 35 - 36 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม ฝก หนาที่ 35 - 36 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกั น ตรวจกั บ ฝก หนาที่ 47 เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.1 เครื่องมือวัด 5. ศึ ก ษาใบงานที่ 1.1 เครื่ อ งมื อวั ด งานไฟฟ าและ ทดสอบงานไฟฟ า จากคูมือผูรั บการฝ ก หนา ที่ งานไฟฟาและทดสอบงานไฟฟา จากคูมือผูรับ 37 - 43 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ การฝก หนาที่ 37 - 43 6. อธิ บ ายพรอ มสาธิ ต และถามตอบขอ ซักถาม 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เกี่ย วกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00.00 - 06.10 มี สาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 การวัดคาความตานทานไฟฟา 6.2 การวัดคาแรงดันไฟฟา 6.3 การวัดคากระแสไฟฟา 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตาม 8. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 39 ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 49 9. ควบคุม ดูแ ล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึงถึง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมือ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้ นตอนอย า ง ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูค อย ใกลชิด สังเกตอยางใกลชิด 10. ตรวจเช็ควัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็บวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 12. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.2 การวัดงาน 12. ศึกษาใบงานที่ 1.2 การวัดงานไฟฟาและเครื่องทํา ไฟฟาและเครื่องทําความเย็ น จากคูมือ ผู รั บ ความเย็น จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 44 - 55 การฝก หนาที่ 44 - 55 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 13. อธิ บ ายพรอ มสาธิ ต และถามตอบขอ ซักถาม 13. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เกี่ย วกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 06.14 - 11.00 มี สาระสําคัญ ดังนี้ 13.1 วั ด ค า แรงดั น ไฟฟ า ที่ ค อยล ร อ นและ คอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ 13.2 วั ด ค า กระแสไฟฟ า ที่ ค อยล ร อ นและ คอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ 13.3 วั ด ค า แรงดั น น้ํ า ยาที่ ค อยล ร อ นของ เครื่องปรับอากาศ 13.4 วั ด ค า อุ ณ หภู มิ ล มเข า และลมออกทั้ ง ค อ ย ล ร อ น แ ล ะ ค อ ย ล เ ย็ น ข อ ง เครื่องปรับอากาศ 14. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 14. แบงกลุมตามความสมัครใจ 15. จายวัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ 15. รับวัสดุ- อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 56 ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 46 16. ควบคุม ดูแ ล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 16. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึงถึง ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้ นตอนอย า ง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมือ ใกลชิด ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูค อย สังเกตอยางใกลชิด 17. ตรวจเช็ควัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 17. เก็บวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 18. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 18. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือวัดงาน อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง เครื่องมือวัดงาน ไฟฟ า เครื่ อ งทํ า ความเย็ น และเครื่ อ งปรั บ อากาศ เกี่ย วกับกิจนิสัย ในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และ ใบงาน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 เครื่องมือวัดงานไฟฟา เครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1. เครื่องมือวัดงานไฟฟา 1.1 แอมปมิเตอร

ภาพที่ 1.1 แอมปมิเตอร แอมป มิ เ ตอร คื อ มิ เ ตอร ที่ ใ ช วั ด กระแสไฟฟ า แบ ง ออกเป น 2 ประเภท คื อ แอมป มิ เ ตอร ก ระแสตรง และแอมปมิเตอรกระแสสลับ 1) แอมปมิเตอรกระแสตรง (DC Amp Meter) แอมปมิเตอรกระแสตรงจะมีขั้วหรือสายวัด 2 เสน คือ สายบวก (สีแดง) และสายลบ (สีดํา หรือสีน้ําเงิน) ซึ่งมีวิธีการใชงานตามขั้นตอนตอไปนี้ - ตอแอมปมิเตอรใหถูกขั้ว เพื่อปองกันการตี กลับของเข็ม ซึ่งอาจทําใหแอมปมิเตอรเสีย หายได โดยสายสีแ ดง (ขั้ว +) ตอเขากับดานที่มีศักยไฟฟาบวก และสายสีดํา (ขั้ว - ) ตอเขากับดาน ที่มีศักยไฟฟาลบ - ติดตั้งไวเปนสวนหนึ่งในวงจร โดยปลดสายวงจรตอเขาเครื่องมือวัด - ตอแอมปมิเตอรแบบอนุกรมกับวงจรเสมอ - ในการอานคาที่ถูกตองจะตองใหเข็มของเครื่องวัดและเงาในกระจกทับกันพอดี 2) แอมปมิเตอรกระแสสลับ (AC Amp Meter) แอมปมิเตอรกระแสสลับมีขั้ววัดหรือสายวัด 2 เสน เหมือนแอมปมิเตอรกระแสตรง ถึงแมสายวัดทั้งสอง เสน จะมีสีตา งกัน แตไ มเ รีย กวา สายบวกและสายลบเหมือ นแอมปม ิเ ตอรก ระแสตรง เพราะไฟฟา กระแสสลับ ไมกํา หนดสายใดเปน บวกหรือ เปน ลบแนน อนเหมือ นกระแสตรง สํา หรับ วิธีวัด จะคลายกับ 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 แอมปมิเตอรกระแสตรง แตไมตองเครงครัดขั้ววัด นั่นคือจะตอโดยใชสายวัดเสนใดอยูขา งใดก็ได เนื่องจาก ใหผลการวัดที่เทากัน

ภาพที่ 1.2 การใชแอมปมิเตอร โครงสรา งภายในของแอมปม ิเ ตอรแ บง ออกเปน 3 รูป แบบ ไดแ ก แบบมูฟ วิ ่ง ไอออน แบบอาศัย การ เหนี่ยวนํา และแบบแผนโลหะผลักเคลื่อนที่ 1) แบบมูฟวิ่งไอออน (Moving-iron) แบงออกเปน 3 แบบ คือ - แบบอาศัยแมเหล็กดึงดูด ใชไดทั้งไฟฟากระแสตรง และไฟฟากระแสสลับ การทํางานขึ้นอยู กับ การดึงดูดอํานาจแมเหล็กของเหล็กแผนออน กับแมเหล็กของคอยลอยูกับที่ (Stationary Coil) - แบบอํ า นาจแมเ หล็ก ดึง ดูด ใชก ับ ไฟฟา กระแสสลับ ประกอบไปดว ยคอยลอ ยู ก ับ ที ่ และแทงแมเหล็กออน ภายในวางขนานกันอยูตามแนวแกนของเหล็กอ อนอั นหนึ่งที่ยึดอยู กั บที่ การทํางานขึ้ น อยูกั บการผลัก กั น ระหว างท อ นเหล็ กหรื อแผ น เหล็ กที่ อยูใ กล กั น และอยู ใ น สนามแมเหล็กเดียวกัน - แบบอาศัย อํา นาจแมเ หล็ก ผลัก ดั น ภายในมีค อยลอ ยูกับ ที่แ ละมีแ ท ง แมเ หล็ก ออ นวาง ขนานกัน ซึ่งตัวหนึ่งยึดอยูกับแกน และอีกตัวจะสามารถเคลื่อนที่ได เมื่อมีกระแสไหลผานคอยล อยูกับที่ จะกอใหเกิดสนามแมเหล็กซึ่งจะทําการผลั กกั น สงผลใหเข็มเกิดการเบี่ ยงเบนความ คลาดเคลื่อน 2) แบบอาศัยการเหนี่ยวนํา การทํ า งานของแอมปมิ เตอร ที่ อ าศั ย การเหนี่ ย วนํ า ขึ้ น อยู กั บ แรงบิ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากอํ า นาจแมเหล็ก ของกระแส หรือแรงดันที่จะทําการวัด และกระแสไหลวนจะมีคานอย

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 3) แบบแผนโลหะผลักเคลื่อนที่ เป น มิ เ ตอร ที่ ใ ช ผ ลสนามแมเ หล็ก โดยให แ ผ น โลหะเคลื่ อ นที่ ไ ปในแนวเส น แรงแม เหล็ ก คล า ยกั บ มิเตอรข ดลวดเอีย ง ซึ่งจะทําใหเกิดการเบี่ย งเบนของเข็ม ชี้ การเคลื่อนไหวของแผ น โลหะผลั กเคลื่ อ นที่ สามารถสรางไดทั้ งแอมปมิเตอรแ ละโวลตมิเตอร โครงสรางจะประกอบไปดวยแผ นเหล็กอ อน 2 แผน คือ อยูกับที่ และเคลื่อนที่ไดอยางอิสระ ขอควรระวัง/การบํารุงรักษา 1) ตั้งยานวัดใหถูกตอง 2) หมุนสวิตชเลือกยานวัดเบา ๆ เสมอ 3) ตรวจสอบสายวัดใหขั้วตอแข็งแรง 4) ระวังอยาใหตกจากที่สูง 5) ตรวจสอบแบตเตอรี่ใหพรอมใชงาน 1.2 โอหมมิเตอร

ภาพที่ 1.3 โอหมมิเตอร โอหม มิเ ตอร เปน มาตรวัด ไฟฟา กระแสตรงที่ส รา งขึ้ น เพื่ อ ใชวัด หาคา ความตา นทานของคา ตา ง ๆ โดย โครงสรางของโอหม มิเตอรไดรับการดัดแปลงจากแอมปมิเตอร ทําใหสามารถวัดคาและแสดงคาออกมาเปนคาความ ตานทานไดโดยตรง เพราะคุณสมบัติของคาความตานทาน จะคอยตานการไหลของกระแสในวงจรเมื่อความตานทานใน วงจรแตกตางกัน ยอมทําใหกระแสไหลผานวงจรแตกตางกัน ถาความตานทานในวงจรนอย กระแสจะไหลผานวงจรมาก และถา ความตา นทานในวงจรมาก กระแสจะไหลผา นวงจรนอ ย ดัง นั้น สภาวะกระแสที่ไ หลผา นแอมปม ิเ ตอร แตกตา งกัน จึง ทํา ใหเ ข็ม ชี้ข องแอมปม ิเ ตอรเ บี่ย งเบนไปแตกตา งกัน เมื่อปรับแตงสเกลหนาปด จากสเกลกระแส มาเปนสเกลความตานทานก็สามารถนําแอมปมิเตอรนั้นมาวัดความตานทานโดยทําเปนโอหมมิเตอรได 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 วิธีการใช 1) กอนวัดตองปรับตั้งคา ดวยการนําปลายวัดมาสัม ผัสกัน แลวปรับใหเข็ม บนหนาปดชี้ที่เลข 0 2) ตรวจสอบวาไมมีแหลงจายไฟฟาตอกับอุปกรณที่ตองการวัด เพราะจะทําใหเกิดความเสียหายตอเครื่องได 3) นําปลายวัดไปแตะที่ตัวตานทานเพื่อวัดคา โดยควรปลดตัวตานทานออกจากวงจรขาหนึ่งกอนทําการวัด

ภาพที่ 1.4 การวัดตัวตานทานดวยโอหมมิเตอร ขอควรระวัง/การบํารุงรักษา 1) ตั้งยานวัดใหถูกตอง 2) หมุนสวิตชเลือกยานวัดเบา ๆ เสมอ 3) ตรวจสอบสายวัดใหขั้วตอแข็งแรง 4) ระวังอยาใหตกจากที่สูง 5) ตรวจสอบแบตเตอรี่ใหพรอมใชงาน 1.3 มัลติมิเตอร (Multimeter) 1) โครงสรางและหลักการทํางานของมัลติมิเตอร มัลติมิเตอร เปนเครื่องมือวัดทางไฟฟาที่สามารถวัดปริมาณไฟฟาไดหลายปริมาณ แตวัดไดครั้งละปริมาณ โดยสามารถตั้งเปนโวลตมิเ ตอร แอมมิเตอร หรือโอหม มิเตอรแ ละสามารถเลื อ กไฟฟ ากระแสตรง (DC) หรือไฟฟากระแสสลั บ (AC) ไดมัลติมิเตอรบางชนิดมีคุณสมบัติการวัดเพิ่มเติม เชน วัดคาความจุ วัดความถี่ และทดสอบทรานซิสเตอรเปนตน การแสดงผลของมัลติมิเตอรแบงออกเปน 2 แบบ คือ มัลติมิเตอรแบบเข็ม และมัลติมิเตอรแบบตัวเลข

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.5 มัลติมิเตอร สวนประกอบสําคัญของมัลติมิเตอรแ ตละยี่หอและแตละรุ น อาจจะมีความแตกตางกันบางในแต ล ะ ตําแหนงของสวนประกอบบนมัลติมิเตอร แตมีหนาที่การทํางานและการใชงานของสวนประกอบที่เหมือนกัน

ภาพที่ 1.6 สวนประกอบของมัลติมิเตอร จากภาพที่ 1.6 มีหมายเลขชี้ไปยังสวนประกอบของมัลติมิเตอร โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หมายเลข 1 หนาปดแสดงสเกลบอกคาตาง ๆ ของปริมาณไฟฟาที่วัดได หมายเลข 2 ไดโอดเปลงแสง (LED)จะเปลงแสงสวางออกมา แสดงถึงการตอวงจร (Continuity) เมื่อตั้งยานวัดโอหม (Ω) ที่ยาน x1 ในขณะช็อตปลายสายวัดเขาดวยกัน หมายเลข 3 เข็มชี้ของมิเตอร หมายเลข 4 สกรูใชปรับแตงใหเข็มชี้ในสภาวะมิเตอรไมทํางาน ชี้ที่ตําแหนงซายมือสุดของสเกล พอดี (ที่ ∞, 0 V,0 A) ชวยใหมิเตอรอยูใ นสภาวะพรอมใชงาน และขณะใชงานจะแสดงคาที่วั ดได ออกมามีคาถูกตอง 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 หมายเลข 5 ปุมปรับใหเข็มชี้ของมิเตอรชี้ที่ตําแหนงศูนยโอหมพอดี (0Ω.ADJ) ใชรวมกับการตั้ง ยานวัดโอหม (Ω)โดยขณะที่ช็อตปลายสายวัดมิเตอรเขาดวยกัน เข็ม มิเตอรจะ ตองบายเบนไป ทางขวามือชี้ที่ตําแหนง 0 Ω พอดี ถาเข็มชี้ไมอยูที่ตําแหนง 0 Ω พอดีตองปรับปุมนี้ชวย เพื่อทําให การวัดความตานทานมีคาถูกตอง หมายเลข 6 ขั้วตอเอาตพุต (OUTPUT) ใชสําหรับวัดความดังของเสีย งจากเครื่องขยายเสียง หรือเครื่องรับวิทยุ วัดออกมาเปนหนวยเดซิเบล (dB) ใชงานรวมกับขั้วตอสายวัดมิเตอรขั้วลบ หมายเลข 7 สวิตชปรับเลือกยานวัดคาปริมาณไฟฟาที่เหมาะสม สามารถปรับหมุนไดรอบตัว หมายเลข 8 ขั้วตอสายวัดมิเตอรขั้วบวก (+) ใชสําหรับตอสายวัดสีแดง หมายเลข 9 เปนขั้วตอสายวัดมิเตอรขั้วลบ(-COM) ใชสําหรับตอสายวัดสีดํา 2) วิธีการใช การวัด และการอานคาของมัลติมิเตอร การวัดคาปริมาณทางไฟฟาของมัลติมิเตอร สามารถวัดคาได 4 ปริมาณ คือ การวัดคาแรงดันไฟฟาตรง (DCV) แรงดันไฟฟาสลับ (ACV) กระแสไฟฟาตรง (DCmA) และความตานทาน (Ω) ซึ่งมีวิธีการวัด ดังนี้ วัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ (ACV) - เสียบสายวัดสีแดงเขาที่ขั้วตอขั้วบวก (+) เสียบสายวัดสีดําเขาที่ขั้วตอขั้วลบ (-COM) ของมิเตอร นําสายวัดทั้งสองเสนไปวัดคาแรงดันไฟสลับ - ปรับสวิตชเลือกยานวัด ACV ไปยานที่เหมาะสม หากไมทราบคาแรงดันไฟสลับที่จะวัด ใหตั้ง ยานวัดไปที่ยานสูงสุดไวกอนที่ 1,000 V - การวัดแรงดันไฟสลับ ตองนํามิเตอรไปตอวัดแบบขนานกับวงจร (ตอครอมอุปกรณ) และขณะวัด ไมจําเปนตองคํานึงถึงขั้วของมิเตอร สามารถวัดสลับขั้วได ดังภาพที่ 1.19

ภาพที่ 1.7 แสดงการตอมัลติมิเตอรวัดแรงดันไฟสลับ

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 - กอนตอมัลติมิเตอรวัดแรงดันไฟสลับคาสูง ควรตัดไฟของวงจรที่จะวัดออกกอน เมื่อตอ มัลติมิเตอรเขาวงจรเรียบรอยแลว จึงจายไฟเขาวงจรที่ตองการวัด วัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง (DCV) - เสี ย บสายวั ด สี แ ดงเข า ที่ ขั้ ว ต อ ขั้ ว บวก (+) เสี ย บสายวั ด สี ดํ า เข า ที่ ขั้ ว ต อ ขั้ ว ลบ (-COM) ของมิเตอร นําสายวัดทั้งสองเสนไปวัดคาแรงดันไฟตรงที่ตองการ - ปรับสวิตชเลือกยานวัด DCV ไปยานที่เหมาะสม หากไมทราบคาแรงดันไฟตรงที่ตองการวัด ใหปรับตั้งยานวัดไปที่ยานสูงสุดไวกอนที่ยาน 1,000 V - การวัดแรงดันไฟตรง ตองนํามิเตอรไปตอวัดแบบขนานกับวงจร (ตอครอมอุปกรณ) และขณะวัด ตองคํานึง ถึงขั้วของมิเตอรใหตรงกับขั้วของแรงดันที่วัด โดยยึดหลักดังนี้ ขั้วบวกแหลงจายแรงดั น ตอวัดดวยขั้วบวก (+) ของมิเตอร ขั้วลบแหลงจายแรงดัน ตอวัดดวยขั้วลบ (–) ของมิเตอร

ภาพที่ 1.8 แสดงการตอมัลติมิเตอรวัดแรงดันไฟตรง วัดคากระแสไฟฟากระแสตรง(DCmA) - เสี ย บสายวั ด สี แ ดงเข า ที่ ขั้ ว ต อ ขั้ ว บวก (+) เสี ย บสายวั ด สี ดํ า เข า ที่ ขั้ ว ต อ ขั้ ว ลบ (-COM) ของมิเตอร นําสายวัดทั้งสองเสนไปวัดคากระแสไฟตรง - ปรับสวิตชเลือ กย า นวั ด DCmA ไปยานที่เหมาะสม หากไมทราบคา กระแสไฟตรงที่ จ ะวั ด ใหตั้งยานวัดไปที่ยานสูงสุดไวกอนที่ 250 mA - การวัดกระแสไฟตรง ตองนํามิเตอรไปตออนุกรมกับวงจร (ตัดวงจรออกนํามิเตอรเขาไปตอรวม เปนสวนหนึ่งของวงจร) และขณะตอวัดตองคํานึงถึงขั้วของมิเ ตอรใ หต รงกับขั้วของแรงดั น แหล ง จ า ย โดยยึ ด หลั ก ดั ง นี้ ขั้ ว บวกแหล ง จ า ยแรงดั น ต อ วั ด ด ว ยขั้ ว บวก (+) ของมิ เ ตอร ขั้วลบแหลงจายแรงดัน ตอวัดดวยขั้วลบ (–) ของมิเตอร ดังภาพ 1.9 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.9 แสดงการตอมัลติมิเตอรวัดกระแสไฟตรง วัดคาความตานทาน (Ω) - เสีย บสายวัดสีแดงเขาที่ขั้วตอขั้วบวก เสียบสายวัดสีดําเขาที่ขั้วต อขั้วลบ (-COM) ของมิเตอร นําสายวัดทั้งสองเสนไปวัดคาความตานทาน - ปรับสวิตชเลือกไปยานวัดΩกอนนําโอหมมิเตอรไปใชวัดตัวตานทานทุกครั้ง ในทุกยานวั ดที่ ตั้ง วัดโอหม ตองปรับแตงเข็มชี้ของมิเตอรใหชี้คาที่ 0Ωกอนเสมอ โดยช็อตปลายสายวัดทั้งสองเสน ของมิเตอรเขาดวยกัน ปรับแตงปุมปรับ 0 ΩADJ จนเข็มชี้ของมิเตอรชี้ที่ตําแหนง 0 Ω พอดี ลักษณะการปรับแตงโอหมมิเตอรใหพรอมใชงาน - นําโอหม มิเตอรไปวัดคาความตานทานได ตามตองการอยางถูก ตอง คาที่อานออกมาไดจ าก โอหมมิเตอร คือ คาความตานทานของตัวตานทานตัวที่วัด ดังภาพที่ 1.10

ภาพที่ 1.10 แสดงลักษณะการวัดตัวตานทานดวยมัลติมิเตอรชนิดแบบแอนาล็อก การอานคาสเกลของมัลติมิเตอรจะตองอานคาบนสเกลใหสัมพันธกับยานวัดที่ตั้งไว จึงจะไดคาที่ถูกตอง 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.11 รายละเอียดสเกลของมัลติมิเตอรแบบแอนาล็อก จากภาพที่ 1.11 แสดงสเกลบนหนาจอของมัลติมิเตอรแบบแอนาล็อกโดยมีรายละเอียดตามหมายเลข ดังนี้ หมายเลข 1 สเกลโอหม (Ω) ใชสําหรับอานคาความตานทานที่วัดไดออกมา เมื่อตั้งยานวัด ความตานทานหรือยาน Ω หมายเลข 2 สเกลแรงดัน ไฟตรง กระแสไฟตรง และแรงดันไฟสลับ (DCV, A & ACV) ใชสําหรับ อานคาแรงดันไฟตรง เมื่อตั้งยานวัดแรงดันไฟตรง (DCV) ใชสําหรับอานคากระแสไฟตรง เมื่อตั้งยาน วัดกระแสไฟตรง (DCmA) และใชสําหรับอานคาแรงดันไฟสลับ เมื่อตั้งยานวัดแรงดันไฟสลับ (ACV) หมายเลข 3 สเกลแรงดันไฟสลับเฉพาะยาน 10 โวลต (AC 10 V) ใชสําหรับอานคาแรงดันไฟ สลับเมื่อตั้งยานวัดที่ 10 ACV หมายเลข 4 สเกลคาอัตราขยายกระแสไฟตรงของตัวทรานซิสเตอร (hFE) ใชสําหรับอานคา อัตราขยายกระแสไฟตรงของตัวทรานซิสเตอรเมื่อตั้งยานวัดโอหม (Ω) ที่ตําแหนง x10 (hFE) หมายเลข 5 สเกลคากระแสรั่วไหล (Leakage Current) ของตัวทรานซิสเตอร (ICEO) ใชสําหรับ อานคากระแสรั่วไหลของตัวทรานซิสเตอรที่ขาคอลเลกเตอร (C) และขาอิมิตเตอร (E) เมื่อขาเบส (B) เปดลอย ขณะตั้งยานวัดโอหม (Ω) ที่ x1 (150 mA), x10 (15 mA), x100 (1.5 mA)และ x1k (150 µA) นอกจากนั้นยังใชแสดงคากระแสภาระ (Load Current) ในการวัดไดโอด (LI) ใชสําหรับอาน กระแสภาระที่ไหลผานไดโอด เมื่อวัดดวยยานวัดโอหม (Ω) หมายเลข 6 สเกลคาแรงดันภาระ (Load Voltage) ในการวัดไดโอด (LV) ใชสําหรับอานแรงดัน ภาระที่ตกครอมไดโอด เมื่อวัดดวยยานวัดโอหม (Ω) เปนการวัดคาในเวลาเดียวกับการวัด LI หมายเลข 7 สเกลค า ความดั งของสั ญญาณเสีย ง บอกค า การวั ด ออกมาเปน เดซิเ บล (dB) ใชสําหรับอานคาความดังของสัญญาณเสียง เมื่อตั้งยานวัดที่แรงดันไฟสลับ (ACV) 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 หมายเลข 8 กระจกเงา ใชสะทอนเข็ม ชี้ เพื่อชวยใหการอานปริมาณไฟฟาคาตาง ๆ มีความ ถูกตองที่สุด โดยขณะอานคาตองใหตําแหนงเข็มชี้จริงและเข็มชี้ในกระจกเงาซอนทับกันพอดี 1.4 แคลมปออนมิเตอร

ภาพที่ 1.12 แคลมปออนมิเตอร แคลมปออนมิเตอร เปนเครื่องมือตรวจวัดคากระแสไฟฟาที่ไหลในวงจรไดอยางรวดเร็วและแมนยํา โดยไมตอง ดับไฟหรือหยุดการทํางานของอุปกรณไฟฟาในขณะที่ทําการวัด รูปรางของแคลมปมิเตอรโดยทั่ว ๆ ไปถูกออกแบบ ให เ หมาะสมพอดี กั บ การใช มื อ จั บ ขณะการวั ด มี ห ลั ก การทํ า งาน คื อ ในขณะที่ ก ระแสไฟฟ า ไหลผ า นสายไฟฟา อยูนั้นรอบ ๆ สายไฟฟาจะเกิดสนามแมเหล็กไฟฟาขึ้น ถาหากนําเอากามปูของแคลมปมิเตอรไปคลองกับสายไฟฟาแลว จะทําใหตรวจจับ (Sensor) คากระแสไฟฟาภายในสายที่กามปูคลองอยูแลว สงคาที่ไดไปแสดงผลที่ภาคแสดงผลของ แคลมปมิเตอรตอไป วิธีการใช 1) นําสวนแคลมปไปเกี่ยวคลองสายไฟบริเวณที่จะวัดคา โดยไมตองตัดวงจรออก 2) ถาวัดกระแสไฟฟาที่มีคาสนามไฟฟาต่ําเกิ นจนไมสามารถอานคาได ใหพันสายไฟเขากับบริเวณแคลมป โดยคาที่อานไดตองนํามาหารดวยจํานวนรอบของสายไฟ

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.13 การใชแคลมปออนมิเตอร สํ า หรั บ ระบบทํ า ความเย็น แคลมปอ อนมิ เ ตอร ถื อ เป น เครื่ อ งมื อ ที่ มีค วามสํ า คั ญ เปน อย า งมากประเภทหนึ่ง ซึ่ ง จะถู ก ใช ต รวจวัด คา กระแสไฟฟา ในการเติม สารทํ า ความเย็น และตรวจซอ มปญ หาในการทํ า ความเย็น สํ า หรับ คา กระแสไฟฟา ในการเริ่ ม ต น สตาร ท มอเตอร ห รื อ ค า LRA (Locked Rotor Amperage) เป น ค า กระแส ที่ จ า ยใหั กั บ มอเตอร ข ณะเกิ ด ภาระสู ง สุ ด คื อ ขณะเริ่ ม สตาร ท ซึ่ ง ค า กระแส LRA จะเกิ ด ขึ้ น ในช ว งเริ่ ม ต น ทํ า งาน ใน 2-3 วิ น าที แ รกเท า นั้ น หลั ง จากนั้ น มอเตอร จ ะต อ งการกระแสน อ ยลงเป น กระแสขณะทํ า งานปกติ ค า กระแส ในขณะมอเตอร ทํ า งานปกติ ห รื อ ค า FLA (Full Load Amperage) หรื อ ค า RLA (Rated Load Amperage หรื อ Run Load Amperage) ซึง่ มีความหมายเชนเดียวกัน คือเปนคากระแสสูงสุดที่มอเตอรใชในขณะทํางานปกติ ในการเติม สารทําความเย็นใชคา FLA เปนสวนประกอบการพิจารณา โดยเมื่อเติม สารทําความเย็นเต็มระบบ กระแสที่ใ ชจะตอง ไมเกินคา FLA ถากระแสมากจนถึงคา FLA ถึงแมวาสารทําความเย็นยังไมเต็ม ระบบก็หามเติมสารทําความเย็นตอไป จะตองหยุดเพื่อหาสาเหตุและแกไขปญหากอน เพราะถาเติมสารทําความเย็นเต็ม ระบบแตกระแสเกินคา FLA มอเตอร จะตองทํางานเกินกําลัง อุปกรณปองกันกระแสเกิน (Overload Protector) จะตัดวงจรหรืออาจทําใหมอเตอรไหมเสียหายได 1.5 เครื่องวัดคาความตานทานของฉนวน (Mega-Ohm Meter)

ภาพที่ 1.14 เครื่องมือวัดคาความตานทานของฉนวน 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 เมกะโอหมมิเตอร เปนโอหมมิเตอรอีกชนิดหนึ่งที่ใชวัดคาความตานทานของอุปกรณตาง ๆ ที่มีคาความตา นทาน สูงมากเปนเมกะโอหม ขึ้นไป หรือไวสําหรับวัดความเปนฉนวนของฉนวนไฟฟาที่นํามาใชงาน นิย มเรีย กวา เมกเกอร (Megger) หรือเครื่องทดสอบความเปนฉนวน (Insulation Testers) โดยเมกะโอหมมิเตอรมีสเกลหนาปดบอกคาสเกลไว เปนเมกะโอหม (M Ω) โครงสรางของเมกะโอหมมิเตอรประกอบดวยเครื่องกําเนิดไฟตรงแรงดันไฟสูงคงที่ (มีคาอยูระหวาง 100 V และ 500 V) เข็ ม ชี้ บ า ยเบนโดยระบบเครื่ อ งวั ด ขดลวด 2 ชุ ด แม เ หล็ ก ถาวร ส ว นประกอบและวงจรของเมกะโอหม มิเ ตอร สํา หรับ การทํางานของเครื่อ งมือ วัดเมกะโอหม มิเตอร ขณะยังไมตอความตานทานที่จ ะวัด เมื่อหมุนอารเมเจอรโดย มื อ หมุ น ของเครื่ องกํา เนิ ด ให ตั ด กับ เครื่ องกํา เนิ ด แม เหล็ กถาวรจะทํา ใหเ กิ ดแรงดั น ไฟฟา ขึ้น และมีก ระแสไหลผาน ขดลวดควบคุ ม (Control Coil) ที่ มี R1 ต อ อนุ ก รมอยู (ไม มี ก ระแสไหลผ า นขดลวดบ ายเบนที่ ต อ อนุ ก รมกั บ R2) อํานาจแมเหล็กของขดลวดควบคุม จะผลักกับอํานาจแมเหล็กของแมเหล็กถาวรทําใหเข็ม ชี้บายเบนไปอยูที่ตําแหนง “อินฟนิตี้โอหม” บนสเกล

ภาพที่ 1.15 โครงสรางของเมกะโอหมมิเตอร วิธีการใช 1) นําสายวัดสีดําเชื่อมตอกับสายกราวด และสายสีแดงเชื่อมตอกับสายที่ตองการวัด 2) กดปุม Measure และหมุนปุมในทิศทางตามเข็มนาฬิกา 3) รอจนกระทั่งคานิ่ง และอานคา

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 1.16 การตอเมกะโอหมเพื่อวัดคา การบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางไฟฟา 1) จัดเก็บเครื่องมือตามประเภทใหเปนระเบียบ 2) จัดเก็บคูมือการใชใหงายตอการคนหา 3) ตรวจสภาพภายนอกของอุปกรณใหพรอมใชงานตลอดเวลา 4) จัดเก็บไวในตูที่มีความสะอาด ปกปองจากฝุนละออง ความรอน แสงแดด และความชื้น 5) ควรปรับแตงเครื่องมือที่ใชงานมานาน เพื่อความเที่ยงตรงของคาที่วัด 6) เครื่องที่ไมไดใชงานนานควรถอดแบตเตอรี่ออก 7) ระวังอยาใหเครื่องกระทบกระเทือน 8) ตั้งคาใหเหมาะสมกับการใชงาน ขอควรระวัง/การบํารุงรักษา 1) ตั้งยานวัดใหถูกตอง 2) หมุนสวิตชเลือกยานวัดเบา ๆ เสมอ 3) ตรวจสอบสายวัดใหขั้วตอแข็งแรง 4) ระวังอยาใหตกจากที่สูง 5) ตรวจสอบแบตเตอรี่ใหพรอมใชงาน

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 2. เครื่องมือวัดงานเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับ อากาศ 2.1 แมนิโฟลดเกจ 2.1.1 แมนิโฟลดเกจแบบธรรมดา แมนิ โ ฟลด เ กจเป น เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช สํ า หรั บ วั ด ความดั น ของสารทํ า ความเย็ น ในระบบปรั บ อากาศ เพื่ อ ตรวจวิ เ คราะห ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยแมนิ โ ฟลด เ กจมี เ กจ 2 ด า น ได แ ก เกจวั ด ความดั น ต่ํ า และ เกจวัดความดันสูง น้ํายาเครื่องปรับอากาศเบอร R - 22 - เกจวัดความดันต่ํา (ดานสีน้ําเงิน) ใชวัดคาความดันต่ําไดตั้งแต 0 – 120 Psi หรือ ปอนด/ตารางนิ้ว และอานคาสุญญากาศไดตั้งแต 0 – 30 นิ้วปรอท - เกจวัดความดันสูง (ดานสีแดง) ใชวัดคาความดันตั้งแต 0 – 500 Psi หรือ ปอนด/ตารางนิ้ว

ภาพที่ 1.17 แมนิโฟลดเกจที่ใชวัดน้ํายาเครื่องปรับอากาศเบอร R - 22 น้ํายาเครื่องปรับอากาศเบอร R – 32 - เกจวัดความดันต่ํา (ดานสีน้ําเงิน) ใชวัดคาความดันต่ําไดตั้งแต 0 – 350 Psi หรือปอนด/ตารางนิ้ว และอานคาสุญญากาศไดตั้งแต 0 – 30 นิ้วปรอท - เกจวัดความดันสูง (ดานสีแดง) ใชวัดคาความดันตั้งแต 0 – 800 Psi หรือ ปอนด/ตารางนิ้ว

ภาพที่ 1.18 แมนิโฟลดเกจที่ใชวัดน้ํายาเครื่องปรับอากาศเบอร R - 32 วิธีการใช 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 1) หาตําแหนงของวาลวบริการในระบบ 2) คลายฝาครอบสําหรับตอเขาเกจที่วาลวบริการอยางชา ๆ 3) ปดวาลวของแมนิโฟลดเกจทั้งคู 4) ตอสายเกจเขากับวาลวบริการ 5) ถาเปนระบบวาลวที่ปรับดวยมือ ใหหมุนวาลวตามเข็มนาฬิกา 4 รอบ 6) คลายสายที่แมนิโฟลดเกจเล็กนอย ปลอยสารทําความเย็นออกสัก 3 วินาที เพื่อไลอากาศในสาย 7) อานคาความดันต่ําไดที่เกจขางซายที่มีสีน้ําเงิน และอานคาความดันสูงไดที่เกจขางขวาที่มีสีแดง 2.1.2 แมนิโฟลดเกจแบบดิจิตอล แมนิโฟลดเ กจแบบดิจิ ต อล ใชวัดความดั น ของสารทํ า ความเย็ น เช น เดีย วกั บแมนิ โฟลด เ กจจแบบ ธรรมดาอีกทั้งยั งสามารถอา นคาไดสะดวก และสามารถอานคาหนวยของความดั นของสารทําความเย็ น ได หลากหลายยิ่งขึ้น

ภาพที่ 1.19 แมนิโฟลดเกจแบบดิจิตอล วิธีการใช 1) กดปุม On/Off เพื่อเริ่มการทํางาน จากนั้นกดปุม Set Zero เพื่อใหหนาจอกอนทําการวั ดมีคา เปน 0 สามารถกดปุม Unit เพื่อเลือกหนวยวัดที่ผูปฏิบัติงานตองการ ตอมากดปุม R+ เพื่อทํา การเลือกชนิดของน้ํายาที่จะทําการวัด ขึ้นกับผูผลิตแมนิโฟลดเกจวาจะมีใหเลือกชนิดใดบาง 2) หาตําแหนงของวาลวบริการในระบบ 3) คลายฝาครอบสําหรับตอเขาเกจที่วาลวบริการอยางชา ๆ 4) ปดวาลวของแมนิโฟลดเกจทั้งคู 5) ตอสายเกจเขากับวาลวบริการ 6) คลายสายที่แมนิโฟลดเกจเล็กนอย ปลอยสารทําความเย็นออกสัก 3 วินาที เพื่อไลอากาศในสาย 7) อานคาความดันต่ําและคาความดันสูงไดที่หนาจอดิจิตอล 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 วิธีบํารุงรักษา 1) เลือกใชวัดคาความดันใหเหมาะกับยานวัด 2) ระวังฝาครอบแตกขณะถอดเพื่อปรับความเที่ยงตรง 3) หมั่นบํารุงรักษาสายเกจใหพรอมใชงาน โดยเฉพาะลูกศรและลูกยางทั้ง 2 ดาน 4) ปด-เปด วาลวดวยมือ หามใชประแจหรือคีม 5) ขณะใชงานหลีกเลี่ยงไมใหสิ่งสกปรกเขาไปในสายเกจ 2.2 เทอรโมมิเตอร

ภาพที่ 1.20 เทอรโมมิเตอร 2.2.1 เทอรโมมิเตอรแ บบปรอท เทอรโมมิเตอรแ บบปรอทเป น อุปกรณสําหรับวัด อุณหภูมิข องสิ่ง ตาง ๆ มีทั้งแบบหลอดแกวที่บ รรจุ ของเหลวไวภ ายใน และแบบดิจิต อล สเกลของเทอรโ มมิเ ตอรม ีห ลายหนว ย ไดแ ก องศาเซลเซีย ส (°C) องศาฟาเรนไฮต (°F) และเคลวิน (K) โดยหนวยที่นิย มใชใ นประเทศไทย คือ องศาเซลเซียส วิธีการใช 1) วัดอุณหภูมิของของเหลว ใหจุมเทอรโมมิเตอรลงไปในของเหลวนั้น รอจนคาอุณหภูมิคงที่แ ละ อานคา 2) วัดอุณหภูมิของวัตถุ ใหแตะเทอรโมมิเตอรที่วัตถุนั้น ๆ รอจนคาอุณหภูมิคงที่และอานคา 3) วัดอุณหภูมิลมจากเครื่องปรับอากาศ ใหเสียบเทอรโมมิเตอรบริเวณชองลมออก ระวังอยาใหเขาไป ลึกเกิน รอจนคาอุณหภูมิคงที่และอานคาการบํารุงรักษา หลังใชงานใหเช็ดทําความสะอาด และ เก็บใสกลองใหเรียบรอย 2.2.2 เทอรโมมิเตอรแบบดิจิตอล 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 เทอรโ มมิเ ตอรแ บบดิจิต อล ใชวัด อุณ หภูม ิไดเชน เดีย วกับเทอรโมมิเตอรแ บบปรอท และสามารถ อานคาไดสะดวกกวาเทอรโมมิเตอรแบบปรอท

ภาพที่ 1.21 เทอรโมมิเตอรแบบดิจิตอล วิธีการใชงาน 1) กดที่ปุม Power เพื่อเริ่มใชงาน และขยับปลายโพรบใหอยูในตําแหนงที่ตองการวัดอุณหภูมิ 2) สามารถกดปุม Hold ใหคาที่ปรากฏบนจอไมเคลื่อน 3) กดปุม 0.1/1 เพื่อใหเครื่องแสดงอุณหภูมิแบบมีจุดทศนิยม หรือไมมีจุดทศนิยม 2.2.3 วิธีในการเปลี่ยนหนวยใหกดปุม oC จะเปลี่ยนหนวยเปนองศาเซลเซียส หรือ oF เปลี่ยนหนวยเปนฟาเรน ไฮต 2.2.4 เทอรโมมิเตอรแบบอินฟราเรด เทอรโมมิเตอรแบบอินฟราเรดเปนเครื่องมือที่ใชตรวจวัดอุณหภูมิข องพื้นผิวในระยะไกล ซึ่งตรวจวัดได จากการแผรังสีของสเปกตรัม เหมาะสมกับการวัดอุณหภูมิของวัตถุที่เคลื่อนที่ได หรือพื้นผิวที่ไมสามารถสัมผัสได

ภาพที่ 1.22 เครื่องวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส วิธีการใชงาน 1) ถือเครื่องและใหหนาอินฟราเรดเทอรโมมิเตอร ชี้ไปยังตําแหนงของวัตถุที่ตองการวัด

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 2) กดปุมกดวัดคางไว เพื่อเปดเริ่มทําการวัด หนาจอจะแสดงคาสูงสุด, ไอคอน SCAN คา Emissivity และ คาที่วัดไดบนหนาจอ 3) ปลอยปุมกดวัดคา และ อานคาผลที่หนาจอ โดยผลการวัดจะถูกล็อกไวที่หนาจอ ประมาณ 7 วินาที หลังจากนั้นเครื่องอินฟราเรดเทอรโมมิเตอร จะปดอัตโนมัติ วิธบี ํารุงรักษา 1) ทําความสะอาดกอนใช และหลังใชงาน 2) เก็บใสกลองใหเรียบรอยเพื่อปองกันการกระแทก ความรอน และความชื้น 2.3 เครื่องวัดความเร็วลม หรือ Vane Anemometer

ภาพที่ 1.23 เครื่องวัดความเร็วลม เครื่องวัดความเร็วลมเปนเครื่องมือสําหรับใชวัดความเร็วลมที่พัดผาน ซึ่งถูกนํามาใชในการวัดความเร็วของลมจาก เครื่องปรับอากาศ โดยหนวยของความเร็วลมที่วัดได คือ เมตร/วินาที (m/s) วิธีการใช หันใบพัดเขาหาทิศทางของลม และอานคาที่วัดไดบนหนาจอ การบํารุงรักษา 1) ทําความสะอาดกอนใชและหลังใชงาน 2) เก็บใสกลองใหเรียบรอย เพื่อปองกันการกระแทก ความรอน และความชื้น 3) ปรับคาความเที่ยงตรงตามเวลาที่กําหนด 4) ถอดแบตเตอรี่ออกเมื่อไมไดใชงานเปนเวลานาน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1.มั ล ติ มิ เ ตอร เป น เครื่ อ งมื อ วัด ทางไฟฟา ที่ส ามารถวัด ปริม าณไฟฟา ไดหลาย ปริมาณ 2.การใชสายเกจ ควรปลอยสารทําความเย็นออก 10 นาที เพื่อไลอากาศในสาย 3.เทอรโมมิเตอรเปนเครื่องมือวัดงานทางดานเครื่องทําความเย็น 4.แคลมปออนมิเตอร เปนเครื่องมือตรวจวัดคาความดันน้ํายาสารทําความเย็น 5.โอหม มิเตอร เปนมาตรวัดไฟฟ ากระแสตรงที่ส รา งขึ้ น เพื่ อใช วัด หาค า ความ ตานทาน

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 เครื่องมือวัดงานไฟฟาและทดสอบงานไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกใชเครื่องมือวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น ดังนี้ 1. วัดคาความตานทานของโหลดแตละตัว 2. วัดคาแรงดันตกครอมที่โหลดแตละตัว 3. วัดคากระแสไฟฟาที่โหลดแตละตัว 4. บันทึกผลการตรวจสอบ

รูปที่ 1

รูปที่ 2

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ตารางบันทึกผล ตารางที่ 1 หลอด (W)

คาความตานทานที่วัดได (Ω)

120 W 60 W 40 W ตารางที่ 2 แรงดันไฟฟาที่อานได (V)

กระแสไฟฟาที่อานได (A)

สถานะของหลอดไฟ

แรงดันไฟฟาที่อานได (V)

กระแสไฟฟาที่อานได (A)

สถานะของหลอดไฟ

สวิตช (OFF) 120 W 60 W 40 W ตารางที่ 3 สวิตช (ON) 120 W 60 W 40 W

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.1 เครื่องมือวัดงานไฟฟาและทดสอบงานไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แคลมปออนมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

2. ชุดฝกวงจรไฟฟาระบบแสงสวาง

จํานวน 1 ชุด

3. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ใบบันทึกขอมูล

จํานวน 1 ใบ

2. หลอดไสขนาด 120 W

จํานวน 1 หลอด

3. หลอดไสขนาด 40 W

จํานวน 1 หลอด

4. หลอดไสขนาด 60 W

จํานวน 1 หลอด

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 เครื่องมือวัดงานไฟฟาและทดสอบงานไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. วัดคาความตานทานของหลอดไฟ

วัดคาความตานทานของหลอดแตละ

แตละหลอด

ขนาดแลวบันทึกผลลงในตารางที่ 1

2. ตอวงจรตามแบบที่กําหนดให

ตอวงจรตามรูปที่ 1 ในใบงาน

3. วัดคาแรงดันที่สวิตชและหลอดไฟ

วัดคาแรงดันไฟฟาทีส่ วิตช และหลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผลลงในตารางที่ 2

4. วัดคากระแสไฟฟาที่สวิตชและหลอดไฟ

วัดคากระแสไฟฟาสวิตช และหลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผลลงในตารางที่ 2

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. กดเปดสวิตช

คําอธิบาย

กดสวิตชใหอยูในตําแหนง On ตาม ระวังอันตราย! อยาใหรางกายถู ก รูปที่ 2

6. วัดคาแรงดันที่สวิตชและหลอดไฟ

ตัวนําไฟฟา ทานอาจเสียชีวิตได

วัดคาแรงดันไฟฟาสวิตชและที่ หลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผล ลงในตารางที่ 3

7. วัดคากระแสไฟฟาที่สวิตชและหลอดไฟ

วัดคากระแสไฟฟาที่สวิตชและ หลอดไฟแตละหลอด แลวบันทึกผล ลงในตารางที่ 3

8. สรุปผลการปฏิบัติงาน

ขอควรระวัง

สรุปผลการทดลอง และสงใบงานให ครูฝกประเมินการปฏิบัติงาน

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การใชเครื่องมือวัดและทดสอบไฟฟา 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 อานคามัลติมิเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ใชแคลมปออนมิเตอรไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 อานคาจากแคลมปออนติมิเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

20 - ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 อานค ามัลติมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 ใชแคลมปออนมิเตอรไดถูกตอง

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 อานคาจากแคลมปออนติมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝกขอ เขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดและทดสอบงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็นดังนี้ 1. วัดคาแรงดันไฟฟาที่คอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ 2. วัดคากระแสไฟฟาที่คอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ 3. วัดคาแรงดันน้ํายาที่คอยลรอนของเครื่องปรับอากาศ 4. วัดคาอุณหภูมิลมเขา และลมออกทั้งคอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ตารางบันทึกผลการวัดคาแรงดันและกระแสไฟฟาของเครื่องปรับ อากาศ ตําแหนงที่วัด

แรงดันไฟฟาที่อานได (V)

กระแสไฟฟาที่อานได (A)

สถานการณทํางาน ของเครื่อง

คอยลเย็น คอยลรอน ตารางบันทึกผลการวัดคาความดันน้ํายาดาน LOW และ HI ตําแหนงที่วัด

ความดันที่อานได (PSI) คอยลรอนทํางาน

คอยลรอนไมทํางาน

ทอซัคชั่น ทอลิควิด ตารางบันทึกผล การวัดอุณหภูมิที่คอยลรอนและคอยลเย็นของเครื่องปรับอากาศ ตําแหนงที่วัด

อุณหภูมิที่อานได

ลมดูดที่คอยลรอน ลมเปาที่คอยลรอน ลมกลับที่คอยลเย็น ลมจายออกที่คอยลเย็น

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.2 การวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 ตัว

2. ไขควงแบน

จํานวน 1 ตัว

3. เครื่องปรับอากาศ

จํานวน 1 เครื่อง

4. แคลมปออนมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

5. เทอรโมมิเตอร

จํานวน 1 ตัว

6. ประแจเลื่อน

จํานวน 1 ตัว

7. มัลติมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

8. แมนิโฟลดเกจ

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ใบบันทึกขอมูล

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การวัดงานไฟฟาและเครื่องทําความเย็น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เปดเครื่องปรับอากาศ

ทดลองเปดใชงานเครื่องปรับอากาศ

2. แกะฝาคอยลเย็น

แกะฝาครอบโครงคอยล เ ย็ น ของ

ขอควรระวัง

เครื่องปรับอากาศ

3. ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟาและ

ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟา

ระวังอันตราย! อยาใหรางกายถูก

กระแสไฟฟา แลวบันทึกผล

และกระแสไฟฟาที่ตัวคอยลเย็น

ตัวนําไฟฟา ทานอาจเสียชีวิตได

แลวบันทึกผล

4. ประกอบปดโครงใหเรียบรอย

ประกอบโครงคอยลเย็นใหเรียบรอย

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. แกะฝาโครงคอยลรอน

คําอธิบาย แกะฝาครอบโครงคอยล ร อ นของ เครื่องปรับอากาศ

6. ใชแ คลมปออนมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟา ใชแคลมปออนมิเตอรวัดคา และกระแสไฟฟาแลวบันทึกผล

แรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟา ที่ตัวคอยลรอนแลวบันทึกผล

7. ประกอบปดโครงใหเรียบรอย

ประกอบโครงคอยลรอนใหเรียบรอย

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. ปดเครื่องปรับอากาศ 5 นาที จากนั้น

ป ด เครื่ อ งปรั บ อากาศ แล ว ทิ้ ง ไว

ตอแมนิโฟลดเกจเพื่อวัดความดันดานทอดูด

5 นาที จากนั้ น นํ า แมนิ โ ฟลด เ กจ

และทอลิควิด

สายสีน้ําเงินตอเขาทอดูด และ สายสีแ ดงตอที่ทอลิควิด (วาลวของ เกจจะตองอยูตําแหนงปด)

9. บันทึกผลดาน Low และ Hi

บันทึกผลการวัดความดันดาน LOW และ HI ขณะปดเครื่องปรับอากาศ หรือขณะที่คอยลรอนไมทํางาน

10. เปดเครื่องปรับอากาศแลวปรับอุ ณหภูมิ เปดเครื่องปรับอากาศ แลว ที่ 25 องศา 10 นาทีแลวอานคาความดันเกจ ปรับอุณหภูมิที่ 25 °C จากนั้น รอจนกระทั่งคอยลรอนทํางาน ทิ้งไวประมาณ 10 นาทีแลวจึงอาน คาความดันของเกจ

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 11. บันทึกผลดาน Low และ Hi

คําอธิบาย บันทึกผลการวัดความดันดาน Low และ HI ขณะที่คอยลรอนทํางาน แลวบันทึกผล

12. นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่คอยล

นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่ชอง

เย็นชองลมจาย แลวบันทึกผล

ลมจายที่คอยลเย็นแลวบันทึกผล

13. นําเทอรโมมิเ ตอร วัดอุณหภูมิที่ ค อยล นําเทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิที่ชอง เย็นชองลมกลับ แลวบันทึกผล

ลมกลับที่คอยลเย็นแลวบันทึกผล

14. นําเทอรโมมิเ ตอร วัดอุณหภูมิที่ ค อยล นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิ รอนชองลมเปา แลวบันทึกผล

ที่ลมเปาที่คอยลรอนแลวบันทึกผล

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

15. นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิที่ค อยล นําเทอรโมมิเตอร วัดอุณหภูมิ รอนชองลมดูด แลวบันทึกผล

ที่ลมดูดที่คอยลรอนแลวบันทึกผล

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การใชเครื่องมือวัดและทดสอบไฟฟา 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 อานคามัลติมิเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ใชแมนิโฟลดเกจไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 อานสเกลจากแมนิโฟลดเกจได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ใชเทอรโมมิเตอรไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 อานคาจากเทอรโมมิเตอรได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 ใชมัลติมิเตอรไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 30

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.2 อานค ามัลติมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 1.3 ใชแมนิโฟลดเกจไดถูกตอง

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 อานสเกลจากแมนิโฟลดเกจได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 1.5 ใชเทอรโมมิเตอรไดถูกตอง

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง คลองแคลว ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความคลองแคลว ใหคะแนน 3 คะแนน - ใช เ ครื่ อ งมื อ ได ไม ถูก ต อ งและขาดความคล อ งแคล ว ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.6 อานคาจากเทอรโมมิเตอรได

- อานคาจากเครื่องมือวัดไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- อานคาจากเครื่องมือวัดคลาดเคลื่อน 1 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - อ านค าจากเครื่ อ งมื อ วั ด คลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 2 หน วยให ค ะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 35

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921720402 เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการใชเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได 2. ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได

2. หัวขอสําคัญ 1. เครื่องมือวัดทางกล 2. เครือ่ งมือสวนบุคคล

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1. แผงยึดคอยลเย็น (Plate) จํานวน 1 ชุด 2. สกรูยึดแผงยึดคอยลเย็น จํานวน 1 ชุด 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1. ไขควงแฉก จํานวน 1 ตัว 2. ไขควงแบน จํานวน 1 ตัว 3. คอนเดนซิ่งยูนิต จํานวน 1 ชุด 4. ตลับเมตร จํานวน 1 อัน 5. แฟนคอยลยูนิต จํานวน 1 ชุด

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส. นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย.

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรีย มวัสดุ – อุปกรณแ ละเครื่องมือที่ ใ ช ใ น งานเครื่องปรับอากาศ และตรวจสอบความ พรอมใชงานของอุปกรณ ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ย วกับเครื่องมือวัดทางกล และ ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน เครื่องมือสวนบุคคล ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องเครื่องมือวัดทาง 2. ฟง และซักถามขอสงสัย กล และเครื่องมือสวนบุคคล ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องเครื่องมือวัดทางกล 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องเครื่องมือวัดทางกล และ เครื่องมือสวนบุคคล หนา 56 - 85 ไปศึกษา และเครื่องมือสวนบุคคล หนาที่ 56 - 85 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความรูใ หมพ รอมใชคูมือ ผรั บการฝ ก หนา ที่ 59 - 74 และตัวอยางจริงประกอบการสอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 เครื่องวัดทางกล ประกอบดวย ไมบรรทัด ฟุตเหล็ก ตลับเมตร เวอรเนียรคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 เครื่องมือสวนบุคคล ประกอบดวย ไขควง คีม ระดับน้ํา โครงเลื่อยเหล็ก คัตเตอรตัด ท อ ทองแดง รี ม เมอร ล บคมทอ ทองแดง เบนเดอร ดั ด ท อ ทองแดง สว า นไฟฟ า เลื่อยรู 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 75 - 77 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม ฝก หนาที่ 75 - 77 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับ กั นตรวจกั บ ฝก หนาที่ 90 เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.1 การวัดโดย 5. ศึกษาใบงานที่ 2.1 การวัดโดยใชเครื่องมือทางกล ใชเครื่องมือทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล และเครื่ อ งมื อ ส ว นบุ ค คลจากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 78 - 85 หนาที่ 78 - 85 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 6. อธิบายพรอมสาธิตและถามตอบขอ ซั ก ถาม 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติแ ละขอควรระวัง โดย เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00.00 - 04.00 มี สาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 วัดความกวาง ความยาว ความลึก ของ คอนเด็นซิ่งยูนิต 6.2 วัดความกวาง ความยาว ความลึก ของ แฟนคอยลยูนิต 6.3 วัดจุดกึ่งกลางของแผงยึดคอยลเย็น หรือ แมแบบติดตั้ง (Plate) 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณแ ละเครื่ อ งมือ ปฏิบั ติ งาน 8. รับวัสดุ- อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้นตอนการปฏิบั ติง านในคูมือ ครู ฝ ก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 79 หนาที่ 92 9. ควบคุม ดูแ ล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึ งถึง ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยา ง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ใกลชิด 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูคอย สังเกตอยางใกลชิด 10. ตรวจเช็ควัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็บวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือวัดทาง กล และเครื่องมือสวนบุคคล ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิน ผลรวมเครื่ อ งมื อวั ดทางกล และเครื่ อ งมื อ ส ว นบุ ค คล เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการ ปฏิ บั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการ คุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 เครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล 1. เครื่องมือวัดทางกล 1.1 ฟุตเหล็ก ใชสําหรับทาบเพื่อขีดเสนตรงและแสดงคาการวัด ซึ่งทําจากสแตนเลส จึงมีความทนทาน และไมเปนสนิม

ภาพที่ 2.1 ฟุตเหล็ก การอานสเกล

ภาพที่ 2.2 แสดงสเกลของฟุตเหล็ก ในการอานคาสามารถอานได 2 ระบบ คือ ระบบเมตริก และระบบอังกฤษ สําหรับระบบเมตริกที่อานบนฟุตเหล็ก จะมีหนวยวัดเปน เซนติเมตร (CM) -

สวนระบบอังกฤษ จะมีหนวยวัดเปน นิ้ว (inch) โดย หนวยการวัดความยาวระบบเมตริกที่ใชกันมากในปจจุบัน คือ 10 มิลลิเมตร เทากับ 1 เซนติเมตร 100 เซนติเมตร เทากับ 1 เมตร 1,000 เมตร เทากับ 1 กิโลเมตร 1 นิ้ว เทากับ 2.54 เซนติเมตร

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ตัวอยางการอานคาจากฟุตเหล็ก

ภาพที่ 2.3 การวัดขนาดความกวางของทอดวยฟุตเหล็ก จากภาพที่ 2.3 ทําการวัดความกวางของปากทอเหล็ก อานคาจากฟุตเหล็กมีคาเทากับ 4 นิ้ว การบํารุงรักษา 1) ทําความสะอาดชิ้นงาน โดยขจัดสิ่งสกปรก เศษผงออกใหหมดกอนวัดงาน 2) รักษาเครื่องมือวัด ใหสะอาด และควรมีน้ํามันกันสนิมเคลือบบาง ๆ กอนเก็บเขากลอง 3) ปองกันเครื่องมือวัดไมใ หเกิดสนิม การกระแทก การกดทับ การตกจากที่สูง หรือสิ่งใด ๆ ที่จะทําใหเกิดความเสียหาย 1.2 ตลับเมตร

ภาพที่ 2.4 ตลับเมตร ใชสําหรับวัดความยาวหรือระยะในการติดตั้งอุปกรณตาง ๆ วิธีการใช - ดึงแถบเทปออกมา และดันปุมล็อกแถบเทปไว ทําการวัดความยาวและอานคาบนแถบเทป การบํารุงรักษา - เมื่อใชงานเสร็จกดคลายที่ล็อกออก แถบเทปจะมวนกลับอัตโนมัติ จากนั้นเก็บใหเรียบรอย

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การอานสเกล

ภาพที่ 2.5 สเกลของตลับเมตร ตัวอยางการอานคาจากตลับเมตร

ภาพที่ 2.6 การวัดความกวางของขอบหนาตางดวยตลับเมตร จากภาพที่ 2.6 ทํ า การวั ด ความกว างของขอบหน า ต า งโดยใช ต ลับ เมตร อ า นค า จากตลั บ เมตรได เทากับ 110 เซนติเมตร หรือเทากับ 43.30 นิ้ว 1.3 เวอรเนียรคาลิปเปอร หรือ เวอรเนียร เปนเครื่องมือที่มีความแมนยําในการวัดความยาว หรือวัดขนาดของชิ้นงาน เพราะภายในเวอรเนียรสามารถวั ดได ทั้งความยาว ความกวาง หรือ ความลึกของชิ้นงาน เชน ใชวัดความหนาของเเผนเหล็ก วัดความกวางของนอตสกรู วัดความ ลึกของรู เปนตน เวอรเนียรคาลิปเปอร มีการออกแบบตามหลักการทํางาน เเละการนําไปใชงาน ซึ่งแบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ 1.3.1 เวอรเนียรคาลิปเปอรแบบแอนาล็อก จะอานคาตามสเกลที่ปรากฏบนตัวเครื่อง ซึ่งการอานคอนขางยาก และจะตองใชทักษะในการอาน

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 2.7 เวอรเนียรคาลิปเปอรแบบแอนาล็อก การอานคาของเวอรเนีย รคาลิปเปอรจะอานได 2 ระบบคือ ระบบเมตริก และ ระบบอังกฤษ แตใ น หัวขอวิชาที่ 2 จะกลาวเฉพาะระบบเมตริก เนื่องจากเปนระบบที่นิยมอานกันโดยทั่วไป ระบบเมตริก การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรคาความละเอียด 1/10 มิลลิเมตร (0.1 มิลลิเมตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเปนระยะทางเทาใด

ภาพที่ 2.8 คาที่สเกลหลักอานได 20.0 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอีย ดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีดใดของสเกลเลื่อน ตรงกับขีดสเกลหลัก นั่นคือ ระยะที่สเกลเลื่อนเยื้องกับขีดสเกลหลัก

ภาพที่ 2.9 คาที่สเกลเลื่อนอานได 0.50 มิลลิเมตร

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 2.10 ผลรวมคาที่อานได รวมคาที่อานได (1)+(2) = 20.0 + 0.50

มิลลิเมตร

= 20.50

มิลลิเมตร

การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรคาความละเอียด 1/20 มิลลิเมตร (0.05 มิลลิเมตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเปนระยะทาง เทาใด

ภาพที่ 2.11 คาวัดที่สเกลหลักอานได 12.0 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกลเลื่อน ตรงหรือใกลเคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด

ภาพที่ 2.12 คาวัดที่สเกลเลื่อนอานได 0.60 มิลลิเมตร

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 - อานคาวัดละเอียด 0.05 มม.ที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด ใดของสเกลเลื่อน (0.05 ) ตรงกับ สเกลหลัก

ภาพที่ 2.13 อานคาวัดละอียด 0.05 มิลลิเมตร รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 12.0 + 0.60 + 0.05

มิลลิเมตร

= 12.65

มิลลิเมตร

การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรคาความละเอียด 1/50 มิลลิเมตร (0.02 มิลลิเมตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเปนระยะทางเทาใด

ภาพที่ 2.14 คาวัดที่สเกลหลักอานได 9.0 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอีย ดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกล เลื่อน ตรงหรือใกลเคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด

ภาพที่ 2.15 คาวัดที่สเกลเลื่อนอานได 0.6 มิลลิเมตร 77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 - อ า นค า วั ด ละเอี ย ด 0.02 มิ ล ลิ เ มตรที่ ส เกลเลื่ อ น โดยพิ จ ารณาขี ด ใดของสเกลเลื่ อ น (0.02 , 0.04 , 0.06 , 0.08 ) ตรงกับสเกลหลัก

ภาพที่ 2.16 คาที่อานได 0.08 มิลลิเมตร รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0.60 + 0.08

มิลลิเมตร

= 9.68

มิลลิเมตร

1.3.2 เวอรเนียรคาลิปเปอรแบบดิจิตอล ถูกออกเเบบมาใหมีการอานคาไดงายขึ้น โดยผานหนาจอเเสดงผลแบบ ดิจิตอลบนตัวเครื่อง

ภาพที่ 2.17 เวอรเนียรคาลิปเปอรแบบดิจิตอล วิธีการใช - การอานคาเวอรเนีย ร สมมติใหตําแหนงของเลข 0 บนสเกลเลื่อนอยูระหวาง 20 กับ 21 และ บนสเกลเลื่อนกับสเกลหลักตรงกันที่ตําแหนง 50 จะอานได 20.50 มิลลิเมตร การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรแบบดิจิตอล

ภาพที่ 2.18 แสดงแถบหนาจอบนเวอรเนียรคาลิปเปอรแบบดิจิตอล 78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 1) กดปุม On บนหนาจอ LCD จากนั้นหมุนปุม ปรับเลื่อนในทิ ศทางตามเข็ม นาฬิกาจนปากวั ด ขนาดภายนอกแนบชิดกัน และกดปุม Set Zero คาที่ปรากฏบนหนาจอ LCD จะขึ้นเลข “0” 2) เมื่อทําการวัดขนาดชิ้นงาน หมุนปุม ปรับเลื่อนในทิศทวนเข็มนาฬิกาใหปากวัดขนาดภายนอก มีขนาดใหญกวาชิ้นงานเล็กนอย 3) คอย ๆ หมุนปุม ปรับเลื่อนในทิศตามเข็ม นาฬิกาจนแนบสนิทกับชิ้ นงาน อานคาบนจอ LCD สามารถปรับเปลี่ยนหนวยไดโดยการกดปุม inch/mm และยึดชิ้นงานใหอยูกับที่ไดโดยการหมุน สกรูล็อกในทิศตามเข็มนาฬิกา การบํารุงรักษา 1) ไมควรเก็บเวอรเนียรคาลิปเปอรใหอยูในที่อุณหภูมิสูงเกินไป หรืออุณหภูมิต่ําเกินไป 2) วางเวอรเนียรคาลิปเปอรบนผา หรือแผนไม 3) ทําความสะอาดและทาน้ํามันกันสนิมทุกครั้งหลังจากเลิกใชงาน 4) ถาปากวัดนอกหรือในของเครื่องเกิดรอยบิ่น ใหทําการขัดดวยหินน้ํามันละเอียด 5) หามวางเวอรเนียรคาลิปเปอรไวบนเครื่องมือที่มีคม 1.4 ไมโครมิเตอร

ภาพที่ 2.19 ไมโครมิเตอร เปนเครื่องมือที่วัดความยาวไดละเอียดกวาเวอรเนียรคาลิปเปอร โดยใชหลักการเคลื่อนที่ของเกลียว ในการวัดระยะ เมื่อหมุนไมโครมิเตอร 1 รอบ จะไดระยะเคลื่อนที่เทากับระยะพิช (Pitch) ของเกลียว วิธีการใช 1) หมุนปลอกอานคาไมโครมิเตอร โดยใหแกนวัดถอยหางจากหนาสัมผัสรับงาน เพื่อใหปากวัดเปดกวางกวา ขนาดชิ้นงาน 2) จับชิ้นงานทาบผิวหนา 3) หมุนปลอกโดยใหแกนวัดไปสัมผัสผิวหนาชิ้นงาน 4) หมุนปลอกตอจนเฟองหมุนฟรีทํางาน 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 5) อานคาจํานวนเต็มของมิลลิเมตรบนปลอกวัด 6) อานคาทศนิยมบนปลอกอานคาไมโครมิเตอร การอานคาไมโครมิเตอร 1) อานคาสเกลหลักแถวบน โดยแตละขีดจะมีคาเทากับ 1 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.20 คาวัดที่สเกลหลักแถวลางอานได 9.0 มิลลิเมตร (1) 2) อา นคา ที่ส เกลหลักแถวลา งที่ป ลอกวัด หากไมถึงขีด จะไมนํา มาคิด คาที่สเกลหลักแถวลา ง ถาขอบ ปลอกหมุนเลยขีดไปบวกดวย 0.5 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.21 คาวัดที่สเกลหลักแถวบนอานได 0 มิลลิเมตร (2) 3) อานคาที่ปลอกหมุนโดยดูวาขีดใดของไมโครสเกลตรงกับเสนระดับ คูณดวย 0.01 มิลลิเมตร

ภาพที่ 2.22 คาวัดที่ไมโครสเกลอานได 0.06 มิลลิเมตร (3) 4) นําคาที่อานไดจากสเกลหลักแถวบน สเกลหลักแถวลางและไมโครสเกลรวมกันจะเปนคาที่วัดได รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0 + 0.06 มิลลิเมตร = 9.06

มิลลิเมตร

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การบํารุงรักษา 1) ไมใหเกิดการกระแทก หรือมีของหนักมากดทับ และระวังไมใหหลนจากที่สูง 2) ผิวหนามีสเกลแบงขีด ไมควรนําเครื่องมือตัดประเภท ตะไบ สกัด มีดกลึงมาวางรวมกัน เพราะจะทําใหขีดชํารุด และสงผลเสียในการอานคาวัดผิดพลาดได 3) เครื่องมือวัดควรมีกลองเก็บไวเฉพาะ และเมื่อนํามาใชงานควรมีวัสดุรองที่ออ นนุม เชน ผาสักหลาด 4) ควรเก็บไวในอากาศที่แหง ไมมีความชื้นสูง 2. เครื่องมือสวนบุคคล 2.1 ไขควง เปนเครื่องมือที่ใชขันสกรูใหแนนหรือคลายสกรูออก สวนใหญจะทําจากโลหะ โดยมีสวนปลายที่แตกตางกัน เหมาะ สําหรับใชงานแตละชนิด ดังนี้ - ไขควงแบน ปลายไขควงจะมีลักษณะแบนลาดเอียง ใชสําหรับขันหรือคายสกรูหรือตะปูควงชนิดตาง ๆ

ภาพที่ 2.23 ไขควงปากแบน - ไขควงแฉก ปลายไขควงเปนสี่แฉก สําหรับใชขันสกรูที่มีหัว 4 แฉก

ภาพที่ 2.24 ไขควงแฉก

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การบํารุงรักษา - เมื่อใชงานเสร็ จแลว ควรทําความสะอาด ดวยการทาน้ํามั น กั น สนิม และเช็ดใหแ หง จากนั้น นําไป เก็บเขาที่ใหเรียบรอย หากปลายไขควงเกิดความชํารุดเสียหายควรนําไปซอม โดยการเจียแตงใหม 2.2 คีม เปนเครื่องมือที่ใ ชสําหรับการจับยึด พับ ดัด ตัด วัสดุชิ้นงาน โดยคีม จะมีรูปรางและลักษณะแตกตางกันไปตาม การใชงาน ดังนี้ 1) คีม ตัด เปนคีม ที่ไดรับการออกแบบใหปากมีลักษณะคมและแข็ง เพื่อใชสําหรับตัดลวดสายไฟ ทั้งแบบที่มีฉนวนหุมและไมมีฉนวนหุม

ภาพที่ 2.25 คีมตัด 2) คีม ปอกสายไฟ เปนคีม ที่ใ ชปอกฉนวนของสายไฟ มีทั้งแบบที่ใ ชกับสายหุม ฉนวนทั้งชนิ ดสายเคลือบ น้ํายา และสายไฟฟา

ภาพที่ 2.26 คีมปอกสายไฟ 3) คีมย้ําหางปลา ใชสําหรับย้ําขั้วหางปลา ซึ่งมีหลายขนาด ไดแก ขนาดเล็กใชย้ําหางปลาขนาดเล็กจนถึง 10 ตารางมิลลิเมตร ขนาดกลางใชย้ําหางปลาขนาด 6 – 80 ตารางมิลลิเมตร ขนาดใหญใ ชย้ําหางปลา ขนาด 70 – 500 ตารางมิลลิเมตร

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 2.27 คีมย้ําหางปลา วิธีการใช 1) เลือกใชคีมใหเหมาะสมกับงาน 2) ฟนและปากของคีมตองอยูในสภาพพรอมใชงาน 3) การจับคีมควรใหดามคีมอยูระหวางปลายนิ้วทั้ง 4 และใชอุงมือกับนิ้วหัวแมมือกดดามคีม อีกดาน เพื่อใหมีกําลังในการจับหรือตัด 4) ไมควรใชคีมตัดโลหะหรือชิ้นงานที่มีขนาดใหญหรือแข็งเกินไป 5) ไมควรใชคีมขันหรือคลายหัวนอตกับสกรู เพราะอาจทําใหเกิดความเสียหายได การบํารุงรักษา - หลังจากใชงานคีม ทุ ก ครั้ง ควรเช็ดทําความสะอาด และเก็บเขาที่ใ หเรีย บร อย หากไมไดใ ชคี ม เป น เวลานานควรหยอดน้ํามันอยางสม่ําเสมอ 2.3 ระดับน้ํา

ภาพที่ 2.28 ระดับน้ํา เปนเครื่องมือที่ใชวัดระดับความเอียงของระนาบ โดยอาศัยการเคลื่อนที่ของฟองอากาศในของเหลว วิธกี ารใช - วางระดับน้ําบนพื้นที่ตองการตรวจเช็ค ขยับใหฟ องอากาศอยูตรงกลาง หมายถึง พื้นผิวนั้นอยูใ นแนว ระดับแลว การบํารุงรักษา - ควรทําความสะอาดหลังใชงาน และเก็บใสกลองใหเรียบรอย 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 2.4 โครงเลื่อยตัดเหล็ก

ภาพที่ 2.29 เลื่อยตัดเหล็ก เปนเครื่องมือใชสําหรับตัดโลหะ เรียกอีกชื่อวา เลื่อยเหล็ก วิธีการใช 1) ใสใบเลื่อยใหถูกดาน 2) ปรับเลื่อยใหตึงกอนใชงาน 3) ระมัดระวังนิ้วมือขณะทํางาน การบํารุงรักษา 1) หลังใชงานตองเช็ดทําความสะอาด และทาดวยน้ํามันกันสนิมบาง ๆ 2) ไมวางสิ่งของอื่น ๆ ทับบนเลื่อย เนื่องจากอาจทําใหใบเลื่อยเสียหายได 3) เก็บโดยแขวนใหเรียบรอย 2.5 คัตเตอรตัดทอทองแดง

ภาพที่ 2.30 คัตเตอรตัดทอทองแดง เปนอุปกรณสําหรับตัดทอทองแดงดวยความแมนยําและเรียบรอย วิธีการใช 1) ใสทอในรองลูกกลิ้ง แลวหมุนหัวปรับ เพื่อปรับความตึงใหพอหมุนคัตเตอรได 2) หมุนคัตเตอรไปรอบทอ พรอมกับหมุนหัวปรับทีละนิด 3) ทําตอเนื่องจนกระทั่งทอขาดออกจากกัน 84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 การบํารุงรักษา - หลังใชใหทําความสะอาดเศษทอ และเก็บใหเรียบรอย 2.6 รีมเมอรลบคมทอทองแดง

ภาพที่ 2.31 รีมเมอร เปนเครื่องมือชวยลบคมทอทองแดงที่เพิ่งผานการตัด เพื่อควานใหข อบกวางเทาเดิมและเรียบเสมอกันวิธีการใช เสียบรีมเมอรเขาไปในปลายทอ และหมุนจนกระทั่งปลายทอเรีย บและกวางเทาปกติการบํารุงรักษา หลังใชงานควรเช็ด ทําความสะอาดและเก็บใสกลองใหเรียบรอย 2.7 เบนเดอรดัดทอทองแดง

ภาพที่ 2.32 เบนเดอรดัดทอทองแดง เปนเครื่องมือที่ชวยดัดทอทองแดงใหมีความโคงงอไดมุมในขนาดที่ตองการ วิธีการใช 1) วัดตําแหนงที่ตองการดัดทอ 2) ใสทอเขาไปในเบนเดอรใหทออยูในตัวล็อกทอ 3) เลื่อนทอใหจุดที่ตองการดัดตรงกับสัญลักษณ L หมายถึง ดัดทอจากซายไปขวา และ R หมายถึง ดัดทอ จากขวาไปซาย 4) ดึงกานโยกใหเลขศูนยของกานมาถึงขีดแสดงขนาดมุมที่ตองการ 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 5) ปลดทอออกจากเครื่องมือดัดทอ 2.8 สวานไฟฟา

ภาพที่ 2.33 สวานไฟฟา ดอกสว าน คือ เครื่องมื อที่ ใช ใ นการเจาะ ตัวดอกสว านจะแบ งออกเป น 2 สวน ไดแก สวนหัวและส วนเกลี ย ว ดอกสวานมีอยูดวยกันหลายชนิด เชน ดอกสวานคมตัดเลื้อย ลักษณะคมตัดของดอกสวานจะเอียงทํามุมกับแนวแกนของ ดอกสวาน ซึ่งดอกสวานชนิดนี้ นิย มใชกั นอยางมากในงานโลหะ และดอกสวานรองตรงลัก ษณะของคมตัด ตรงตาม แนวแกนของดอกสวาน เหมาะสําหรับใชกับงานเจาะรูชิ้นงานที่ทําจากทองเหลือง ทองแดง และโลหะออน

ภาพที่ 2.34 ดอกสวานคมตัดเลื้อย

ภาพที่ 2.35 ดอกสวานรองตรง

การบํารุงรักษาดอกสวาน - หลังใชงานดอกสวานทุกครั้ง ควรเช็ดทําความสะอาด ทาน้ํามันบาง ๆ บนสวนที่เปนโลหะ และเก็บเขาที่ ใหเรียบรอย สวานไฟฟา เปนสวานแบบเครื่องจักร ใชกําลังการเจาะจากมอเตอรไฟฟา เหมาะสําหรับใชในการเจาะงานไมห รือ งานโลหะ วิธีการใช 1) การเจาะทุกครั้งตองตรวจเช็คใหดอกสวานอยูในตําแหนงที่ถูกตอง 2) จับสวานใหกระชับมือ มั่นคง และอยูตรงตําแหนงที่ตองการเจาะ 3) ในขณะที่ทําการเจาะควรออกแรงกดใหสัมพันธกับการหมุนของดอกสวาน 4) หากตองการเจาะชิ้นงานใหทะลุ ตองมีวัสดุมารองรับชิ้นงานเสมอ 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 5) ควรเลือกใชดอกสวานใหเหมาะสมกับชิ้นงาน การบํารุงรักษาสวานไฟฟา - หลังการใชงานสวานทุกครั้ง ควรเช็ดทําความสะอาด ทาน้ํามันเครื่องใส และนําไปเก็บใหเรียบรอย 2.9 เลื่อยรู เลื่อยรูหรือเลื่อยโฮลซอ มีลักษณะเปนถวยโลหะที่มีฟนแหลมรอบ ๆ ปากถวย ศูนยกลางของถวยมีดอกสว า นรูป หกเหลี่ย ม ใชใ นการเจาะรู กลมที่ผ นัง หรื อพื้ น สําหรับใสทอประปา ทอไฟฟา หรือเจาะรูใ สลู กบิ ด โดยเลื่อยรูจะมี ประเภทที่เฉพาะกับงาน เชน เลื่อยสําหรับเจาะเหล็ก เจาะแสตนเลส เจาะปูนคอนกรีต และเจาะฝาเพดาน เปนตน นอกจากนี้ยังมีหลายขนาด

ภาพที่ 2.36 เลื่อยรู วิธีการใช 1) เลือกเลื่อยรูใหมีขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับรูที่ตองการเจาะ 2) ทําเครื่องหมายที่จุดศูนยกลางของรูที่ตองการเจาะ 3) ใสกานเลื่อยรูลงในสวานไฟฟาใหแนน 4) เจาะเลื่อยรูลงในพื้นผิว เรงความเร็วในการเจาะทีละนิดตามลําดับ เพื่อไมใหผนังพังเสียหาย 5) เมื่อเจาะลึกขึ้นเรื่อย ๆ ใหยกสวานออก เพื่อเคาะเศษวัสดุออก การบํารุงรักษา - หลังใชงานใหถอดเลื่อยรูออกจากสวานไฟฟา ทําความสะอาดเศษวัสดุที่ติดคาง และเก็บใสกลองใหเรียบร อย

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดเปนเครื่องมือวัดทางกล ก. คีมย้ําหางปลา ข. เลื่อยตัดเหล็ก ค. ไขควงแฉก ง. ฟุตเหล็ก 2. ขอใดไมใชวิธีการบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร ก. ใชหินน้ํามันละเอียดขัดเมื่อเกิดรอยบิ่น ข. ใชหินภูเขาขัดเมื่อเกิดรอยบิ่น ค. เก็บในที่อุณหภูมิปกติ ง. ทาน้ํามันกันสนิม

3. จากภาพเปนการวัดเสนผานศูนยกลางภายนอกทอพีวีซีโดยใชเวอรเนียรคาลิปเปอร คาที่วัดไดมีคากี่มิลลิเมตร ก. 33.30 มิลลิเมตร ข. 40.30 มิลลิเมตร ค. 30.30 มิลลิเมตร ง. 33.00 มิลลิเมตร

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

4. จากภาพเปนการวัดเสนผานศูนยกลางภายนอกของทอเหล็กโดยใชเวอรเนียรคาลิปเปอร คาที่วัดไดมีคากี่มิลลิเมตร ก. 35.25 มิลลิเมตร ข. 39.25 มิลลิเมตร ค. 40.20 มิลลิเมตร ง. 39.20 มิลลิเมตร

5. จากภาพเปนการวัดความยาวของทอนไมโดยใชตลับเมตร คาที่วัดไดมีคาเทาไรในหนวยเซนติเมตร และหนวยนิ้ว ก. 120 เซนติเมตร และ 39.15 นิ้ว ข. 110 เซนติเมตร และ 39.20 นิ้ว ค. 100 เซนติเมตร และ 39.37 นิ้ว ง. 120 เซนติเมตร และ 39.60 นิ้ว

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การวัดโดยใชเครื่องมือทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล เพื่อหาจุดติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใช บํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางกล และเครื่องมือสวนบุคคลได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดขนาดมิติตาง ๆ ของชุดเครื่องปรับอากาศ 1. วัดความกวาง ความยาว ความลึก ของคอนเด็นซิ่งยูนิต 2. วัดความกวาง ความยาว ความลึก ของแฟนคอยลยูนิต 3. วัดจุดกึ่งกลางของแผงยึดคอยลเย็น หรือแมแบบติดตั้ง (Plate)

สรุปผลการตรวจสอบ ชุด

ความกวาง

ความยาว

เครื่องปรับอากาศ คอนเด็นซิ่งยูนิต แฟนคอยลยูนิต Plate 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ความลึก


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 2.1 การวัดโดยใชเครื่องมือทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล เพื่อหาจุดติดตั้งเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงานไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟาวาง กีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 ตัว

2. ไขควงแบน

จํานวน 1 ตัว

3. คอนเดนซิ่งยูนิต

จํานวน 1 ชุด

4. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

5. แฟนคอยลยูนิต

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แผงยึดคอยลเย็น (Plate)

จํานวน 1 ชุด

2. สกรูยึดแผงยึดคอยลเย็น

จํานวน 1 ชุด 92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การวัดโดยใชเครื่องมือทางกล และเครื่องมือสวนบุคคล เพื่อหาจุดติดตั้งเครื่องปรับ อากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. วั ด ขนาดแ ผงฝ ก หรื อ ห อ งปฏิ บั ติ ก าร เตรียมหอง หรือแผงฝกเพื่อวัดหา แลวอานแบบที่กําหนดให

ขนาดความกวาง ความยาว ความสูง หาจุดกึ่งกลางหอง เพื่อทําการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ตามแบบที่กําหนด

2. วัดความกวาง ยาว สูง ของคอนเดนซิ่งยูนิต

จากนั้น วัดความกวาง ความยาว

แลวบันทึกผล

และความสูงของชุดคอนเดนซิ่ง ยูนิต แลวบันทึกผล

3. วัดความกวาง ยาว สูง ของชุด

วัดความกวาง ความยาว ความสูง

แฟนคอยลยูนิต แลวบันทึกผล

ของชุดแฟนคอยลยูนิต แลวบันทึกผล

93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. วัดความกวาง ยาว เพื่อหาจุดกึ่งกลาง ของ

วัดความกวาง ความยาว

แผงยึดคอยลเย็น แลวบันทึกผล

ของแผงยึดคอยลเย็น จากนั้น หาจุดกึ่งกลางแลวบันทึกผล

5. วางตําแหนงแผงยึดคอยลเย็นใหไดตําแหนง

วางตําแหนงแผงยึดคอยลเย็น

กลางหอง จากนั้นติดชุด

แลวทดลองติดชุดแฟนคอยลยูนิต

แฟนคอยลเย็น โดยใชจุดกึ่งกลางรวมกัน

แลวทดลองติดชุดแฟนคอยลยูนิต โดยใชจุดกึ่งกลางจุดเดียวกัน กับแผงฝกหรือหองฝกปฏิบัติการ

6. วางตําแหนงคอยลรอนและทดลองวางชุด

จากนั้ น วางตํ า แหน ง คอยล ร อ น

คอนเดนซิ่งยูนิต โดยใหไดระยะตามแบบ

และทดลองวางชุดคอนเดนซิ่งยู นิ ต โดยใหไดระยะตามแบบ

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

7. ตรวจวัดระยะการติดตั้งตองตรงตามแบบที่

ตรวจวัดระยะชุดคอนเดนซิ่ ง ยู นิ ต

กําหนด

และแฟนคอยลยูนิต

8. บันทึกผล

บันทึกผลการติดตั้ง

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การวัด และการทดลองติดตั้งเครืองปรับอากาศ 1.1 วัดความกวาง ความยาว ความสูง ของแผงฝกปฏิบัติการ หรือ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หองปฏิบัติการ ไดถูกตอง 1.2 วัดความกวาง ความยาว ความสูง ของคอนเดนซิ่งยูนิตได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ถูกตอง 1.3 วัดความกวาง ความยาว ความสูง ของแฟนคอยลยูนิตได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ถูกตอง 1.4 ติดตั้งแผงยึด และแฟนคอยลยูนิต บนแผงฝกปฏิบัติการ หรือ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

หองปฏิบัติการไดถูกตอง 1.5 ติดตั้งคอนเดนซิ่งยูนิต ตามแบบที่กําหนดใหไดถูกตอง 2

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม 25

การปฏิบัติงาน 1.1 วัดความกว าง ความยาว ความสูง ของแผง

- วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

ฝกปฏิบัติการ หรือหองปฏิบัติก าร แลวทํ า

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน

เครื่องหมายกึ่งกลาง ไดถูกตอง

3 คะแนน

5

- วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน 1.2 วัดความกว าง ความยาว ความสูง ของคอน - วัดมิติไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน เดนซิ่งยูนิตไดถูกตอง

5

- วัดมิติคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - วัดมิติคลาดเคลื่อนตั้งแต 3 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน

1.3 วัดความกว าง ความยาว ความสูง แลวทํา

- วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

เครื่องหมายกึ่งกลาง สําหรับแฟนคอยลยูนิตได

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน

ถูกตอง

3 คะแนน

5

- วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน 1.4 ติดตั้งแผงยึด และแฟนคอยลยูนิต บนแผงฝก - วัดมิติไดถูกตอง กําหนดจุดกึ่งกลางไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน ปฏิบัติการ หรือหองปฏิ บัติการไดถูกตอง

5

- วัดมิติหรือกําหนดจุดกึ่งกลางคลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - วั ด มิ ติ หรื อ กํ าหนดจุ ด กึ่ ง กลางคลาดเคลื่ อ นตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ให คะแนน 1 คะแนน

1.5 ติดตัง้ คอนเดนซิ่งยูนิต ตามแบบที่กําหนดให - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไดถูกตอง และติดตั้งตรงตามแบบที่กําหนด ให ไดถูกตอง

5

คะแนน 5 คะแนน - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไมถูกตอง หรือติดตั้งไมตรงตามแบบที่กํ าหนด คลาดเคลื่อน 1-2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ใชเครื่องมือสวนบุคคลไมถูกตอง หรือติดตั้งไมตรงตามแบบที่กํ าหนด คลาดเคลื่อนตั้งแต 3 มิลลิเมตรขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน

2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรี ยมเครื่ องมื อและอุ ปกรณ อย างถู ก ต อ ง - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

และครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไม ถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอั นตรายส วนบุ ค คล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไม ถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไม ถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1 30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 4

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.