คู่มือครูฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 4

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คูมือครูฝก 0920164150301 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 4 09215203 การอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คํา นํา

คูมือครูฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 4 การอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรมฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ไดพัฒนาขึ้น เพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ซึ่งได ดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเ พื่อ ใหครูฝก ได ใชเ ปน เครื่อ งมือ ในการบริ ห ารจั ด การการฝ ก อบรมใหเ ปน ไปตามหลัก สูต ร กลา วคือ เกี่ย วกับ การอา นและเขี ย น สัญ ลัก ษณไ ฟฟาในงานควบคุม มอเตอรก ารทํา งานของวงจรที่ใ ชใ นงานควบคุม มอเตอร การอานแบบแสดงการติดตั้ง อุปกรณและตูควบคุม การอานแบบไฟฟาแสงสวางในโรงงานรวมทั้งการอานและเขียนแบบวงจรที่ใชในงานควบคุมมอเตอร ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผรู ับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพจะถูกกําหนด เปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลอง กับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะสามารถ ปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้การสงมอบการฝกสามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบ การเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูได ดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอมตามความสะดวกของตน หรือ ตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝก หรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติรวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลใน ลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้นชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัด งบประมาณคาใชจายในการพัฒ นาฝมือ แรงงานใหแกกําลัง แรงงานใ น ร ะ ย ะ ย า ว จึ ง ถื อ เ ป น รู ป แ บ บ ก า ร ฝ ก ที่ มี ค ว า ม สํ า คั ญ ต อ ก า ร พั ฒ น า ฝ ม ื อ แ ร ง ง า น ทั ้ ง ใ น ป จ จุ บ ั น แ ล ะ อ น า คต ซึ่ง หากมีการนําระบบการฝก อบรมตาม ความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบ อาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวกและไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 409215203 การอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม หัวขอวิชาที่ 1 0921520301 สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร หัวขอวิชาที่ 2 0921520302 แบบวงจรไฟฟาควบคุมมอเตอร

15 32

คณะผูจัดทําโครงการ

70

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สวนการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดัง ภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผรู ับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือ ผูรับการฝก ที่พิมพจากสื่ออิเล็ก ทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรื อ เข ารั บ การฝก ในโมดูล ที่ครูฝก กําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยส ง มอบคูมือ ผูรับการฝก แกผูรับการฝก ที่ศูนยฝก อบรม และฝก ภาคปฏิบัติ ที่ ศูนย ฝ ก อบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือ กใชอุปกรณชวยฝก ได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทัก ษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรบั การฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150301

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม เพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางดานชางไฟฟาอุตสาหกรรมไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัดทางไฟฟาและเครื่องมืออุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม 1.5 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้ง และการเดินสายไฟฟา 1.6 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการตอสายไฟฟา 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี 1.8 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายภายในตูควบคุม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 78 ชั่วโมง เนื่อ งจากเปนการฝก ที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทัก ษะ ความสามารถและความพรอ มของผูรับ การฝกแตล ะคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตอง บริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือ แรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.3 ผูรับ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ นผลหรื อ ผา นการฝก ครบทุก หน วยความสามารถ จะไดรับ วุฒิบัตร วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 4 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150301 2. ชื่อโมดูลการฝก การอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม รหัสโมดูลการฝก 09215203 3. ระยะเวลาการฝก รวม 6 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน วยการฝ ก นี้ พั ฒ นาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทัก ษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณไฟฟาในงานควบคุมมอเตอรได 2. อานและเขียนสัญลักษณไฟฟาในงานควบคุมมอเตอรได 3. อธิ บ ายการทํา งานของวงจรแต ล ะแบบที่ใ ช ใ นงานควบคุ ม มอเตอรไ ด ตามแบบ ที่กําหนด 4. อานแบบแสดงการติดตั้งอุปกรณและตูควบคุมไดตามแบบที่กําหนด 5. อานแบบไฟฟาแสงสวางในโรงงานไดตามแบบที่กําหนด 6. อานและเขียนแบบวงจรที่ใชในงานควบคุมมอเตอรได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมการอานแบบ-เขียนแบบ ผูรับการฝก วงจรไฟฟาอุตสาหกรรมจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 3 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรบั การฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง: นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายการอานและ หัวขอที่ 1 : สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร 1:00 1:00 2:00 เขียนสัญลักษณไฟฟา ในงานควบคุมมอเตอรได 2. อานและเขียนสัญลักษณไฟฟา ในงานควบคุมมอเตอรได สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรมระดับ 1

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. อธิบายการทํางานของวงจร หัวขอที่ 2 : แบบวงจรไฟฟาควบคุมมอเตอร แตละแบบที่ในงานควบคุม ไดตามแบบที่กําหนด 4. อานแบบแสดงการติดตั้ง อุปกรณและตูควบคุม ไดตามแบบที่กําหนด 5. อานแบบไฟฟาแสงสวาง ในโรงงานไดตามแบบทีก่ ําหนด 6. อานและเขียนแบบวงจรที่ใชใน งานควบคุมมอเตอรได รวมทั้งสิ้น

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:00

3:00

4:00

2:00

4:00

6:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921520301 สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณไฟฟาในงานควบคุมมอเตอรได 2. อานและเขียนสัญลักษณไฟฟาในงานควบคุมมอเตอรได

2. หัวขอสําคัญ - สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline)ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online)ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส(.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส(.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูร บั การฝก - สื่อวีดิทัศน (Online)เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรบั การฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ปากกา/ดินสอ 2) ปากกาลบคําผิด/ยางลบ

จํานวน 1 แทง จํานวน 1 อัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอ ยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

7. บรรณานุกรม ธนาทรัพย สุวรรณลักษณ. สัญลักษณและวงจรในการควบคุม.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://e-learning.e-tech.ac.th/learninghtml/e-web/sara012.html ศุภชัย เกาเอี้ยน และปลวัชร เตงภู. 2557. การควบคุมมอเตอรไฟฟา. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร ในแบบงานไฟฟาโดยทั่วไปจะใชสัญลักษณแทนอุปกรณไฟฟาตาง ๆ เนื่องจากการเขียนรูปอุปกรณไฟฟาจริงในแบบงานไฟฟา จะกระทําไดยากและอาจทําใหความหมายผิดพลาดได ดังนั้นจึงตองมีการกําหนดสัญลักษณของอุปกรณไฟฟาชนิดตาง ๆ เพื่อใหเปนมาตรฐาน โดยผูปฏิบัติงานดานไฟฟาจะตองมีความรูเกี่ยวกับความหมายของสัญลักษณอยางถูกตอง 1. สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร สั ญ ลั ก ษณ ใ นงานควบคุ ม หมายถึ ง เครื่ อ งหมายที่ เ ขี ย นหรื อ กํ า หนดขึ้ น เพื่ อ ใช แ สดงแทนอุ ป กรณ ก ารควบคุ ม เปนประโยชนในการเขียนวงจรการควบคุม และใหเขาใจตรงกันระหวางผูเขียนแบบ ผูอานแบบ และผูปฏิบัติงาน ในสวนของ สถานประกอบการหรือ โรงงานอุตสาหกรรมได มีก ารนําเครื่องจักรที่ผลิตขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศมาใช ในงาน สายการผลิต เพื่อลดการใชกําลังงานและลดตนทุนการผลิต โดยเครื่องจักรจําเปนตองใชมอเตอรไฟฟาเปนเครื่อ งตนกําลัง เพื่อความปลอดภัยในการทํางาน ผูปฏิบัติงานในโรงงานจึงตองมีความรูและความเขาใจในการสั่งการหรือควบคุมเครื่องจักรนั้น ๆ ดัง นั้น ผูป ฏิบัติงานที่เกี่ยวข องกั บงานดั งกล าวจะตองมีความรู ความเขาใจดานอุ ปกรณควบคุมมอเตอรไฟฟา ตลอดจน สัญลักษณตาง ๆ ที่ใชในวงจรควบคุมมอเตอร ซึ่งผูผลิตเครื่องจักรแตละประเทศอาจใชสัญลักษณที่แตกตางกัน ในวงจร ควบคุมมอเตอรไฟฟา สวนใหญจะเปนการเขียนการออกแบบวงจรควบคุม (Control Circuit) วงจรกําลัง (Power circuit) เงื่อนไขการทํางาน การเริ่มเดิน การกลับทางหมุน การหยุดของมอเตอรไฟฟา ซึ่งประกอบดวย มอเตอรไฟฟากระแสตรง (DC motor) มอเตอรไฟฟากระแสสลับ (AC motor) ทั้งชนิด 1 เฟส (Single phase) และ 3 เฟส (Three phase) สําหรับสัญลักษณที่ใชกันทั่วไป โดยเปรียบเทียบตามมาตรฐานที่ไดรับความนิยม ดังตารางที่ 1.1 มาตรฐานดังกลาว ไดแก 1) DIN (Deutsches institute fur normung) มาตรฐานการออกแบบของประเทศเยอรมนี 2) IEC (International electrotechnical commission) มาตรฐานสากลทางไฟฟานานาชาติ 3) ANSI (American national standard institute) มาตรฐานการออกแบบของประเทศสหรัฐอเมริกา/แคนาดา ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบสัญลักษณที่ใชสําหรับการควบคุมมอเตอรกันทั่วไปตามมาตรฐาน DIN, IEC และ ANSI รายการอุปกรณ

DIN

IEC

สวิตชปุมกดปกติเปด

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ANSI


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายการอุปกรณ

DIN

IEC

สวิตชปุมกดปกติปด

สวิตชปด-เปด ธรรมดา

สวิตชลูกลอยปกติเปด

สวิตชลูกลอยปกติปด

สวิตชทํางานดวยเทาปกติเปด

สวิตชทํางานดวยเทาปกติปด

สวิตชความดันปกติเปด

สวิตชความดันปกติปด

สวิ ต ช ทํ า งานด ว ยความร อ น หรือสวิตชอุณหภูมิปกติเปด สวิ ต ช ทํ า งานด ว ยความร อ น หรือสวิตชอุณหภูมิปกติปด

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ANSI


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายการอุปกรณ

DIN

IEC

สวิ ต ช ค วบคุ ม การไหลหรื อ โฟลสวิตชปกติเปด สวิ ต ช ค วบคุ ม การไหลหรื อ โฟลสวิตชปกติปด สวิตชจํากัดระยะปกติเปด

สวิตชจํากัดระยะปกติปด

ขดลวดหรื อ คอยลข องสวิตช แมเหล็กหรือคอยลรีเลย ปลดหรือทริปดวยแมเหล็ก

โอเวอร โ หลดรี เ ลย ท ริ ป ด ว ย ความรอน หลอดสัญญาณ

ฟวส

เซอรกิตเบรกเกอร

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ANSI


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายการอุปกรณ

DIN

IEC

มอเตอรเหนี่ยวนําโรเตอรแบบ กรงกระรอก 3 เฟส

สลิป ริง มอเตอรห รือ มอเตอร เหนี่ยวนําโรเตอรแบบพันขดลวด

มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบ อนุกรม

วาลวแมเหล็กไฟฟา

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ANSI


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

1

2

3

4

5

ขอ

คําตอบ

เซอรกิตเบรคเกอร

สวิตชลูกลอยปกติปด

โอเวอรโหลดรีเลยทริปดวยความรอน

สวิตช ทํางานด วยความร อ นหรื อ สวิตชอุณหภูมิป กติเ ปด

สวิตชปด-เปด ธรรมดา

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

1 2 3 4 5

ขอ

คําตอบ

ฟวส

สวิตชความดัน (ควบคุมความดัน)

สวิตชปุมกดหนาสัมผัสคาง

หนาสั ม ผั ส ปกติ เ ป ด (Normally Open; NO)

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟสแบบกรงกระรอก

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตอนที่ 3 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

1

2

3

4

5

ขอ

คําตอบ

สวิตชจํากัดระยะปกติเปด

สวิตชความดันปกติเปด

หลอดสัญญาณ

สวิตช ทํางานด วยความร อ นหรื อ สวิตชอุณหภูมิป กติปด

ขดลวดหรือคอยลของสวิตชแมเหล็กหรือคอยลรีเลย

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ

1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 จับคู ขอ 1 2 3 4 5 ตอนที่ 3 จับคู ขอ 1 2 3 4 5

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - อานและเขียนสัญลักษณไฟฟาในงานควบคุมมอเตอรได 2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกเขียนสัญลักษณไฟฟาที่ใชในงานควบคุมมอเตอร ทีก่ ําหนดใหลงในตารางบันทึกงานใหถูกตอง ตารางบันทึกงาน ลําดับ

ชื่ออุปกรณ

1

มอเตอรเหนี่ยวนํา โรเตอรแบบ กรงกระรอก 3 เฟส

2

หลอดสัญญาณ

3

ปลดหรือทริปดวย

DIN

แมเหล็ก 4

สวิตชจํากัดระยะ ปกติปด

5

สวิตชจํากัดระยะ ปกติเปด

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

IEC

ANSI


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ลําดับ

ชื่ออุปกรณ

6

สวิตชควบคุมการไหล

DIN

หรือโฟลสวิตชปกติปด 7

สวิตชควบคุมการไหล หรือโฟลสวิตชปกติเปด

8

สวิตชทํางานดวย ความรอน หรือสวิตชอุณหภูมิ ปกติปด

9

สวิตชทํางานดวย ความรอน หรือสวิตชอุณหภูมิ ปกติเปด

10

สวิตชความดันปกติเปด

11

สวิตชทํางานดวยเทา ปกติปด

12

เซอรกิตเบรกเกอร

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

IEC

ANSI


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ปากกา/ดินสอ

จํานวน 1 แทง

2. ปากกาลบคําผิด/ยางลบ จํานวน 1 อัน หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน -

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน สัญลักษณที่ใชในงานควบคุมมอเตอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เขียนสัญลักษณ มาตรฐาน DIN

คําอธิบาย เขียนสัญลักษณไฟฟาที่ใชในงานควบคุม มอเตอร ตามมาตรฐาน DIN

2. เขียนสัญลักษณ มาตรฐาน IEC

เขียนสัญลักษณไฟฟาที่ใชในงานควบคุม มอเตอร ตามมาตรฐาน IEC

3. เขียนสัญลักษณ มาตรฐาน ANSI

เขียนสัญลักษณไฟฟาที่ใชในงานควบคุม มอเตอร ตามมาตรฐาน ANSI

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 สัญลักษณถูกตองตามมาตรฐานที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ความเรียบรอยของงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 สัญลักษณถูกตองตามมาตรฐานที่กําหนด

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

15 - เขียนสัญลักษณถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

12

ใหคะแนนขอละ 1 คะแนน - เขียนสัญลักษณไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนนขอละ 0 คะแนน 1.2 ความเรียบรอยของงาน

- ความเรียบรอยของงานถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 3 คะแนน - ความเรียบรอยของงานไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

3

ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

15

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921520302 แบบวงจรไฟฟาควบคุมมอเตอร (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.

อธิบายการทํางานของวงจรแตละแบบที่ใชในงานควบคุมมอเตอรไดตามแบบที่กําหนด อานแบบแสดงการติดตั้งอุปกรณและตูควบคุมไดตามแบบที่กําหนด อานแบบไฟฟาแสงสวางในโรงงานไดตามแบบที่กําหนด อานและเขียนแบบวงจรที่ใชในงานควบคุมมอเตอรได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

วงจรแสดงแบบงานจริง วงจรแสดงการทํางาน วงจรสายเดียว วงจรประกอบการติดตั้ง แบบแสดงการติดตัง้ อุปกรณและตูควบคุม แบบไฟฟาแสงสวางในโรงงาน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ บันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศน (Online )เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรบั การฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ - อุปกรณเขียนแบบ จํานวน 1 ชุด

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรบั การฝกศึกษาคูมือผูร ับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test)

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝก ประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอ ยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม มนตรี เงาเดช. แบบระบบไฟฟาเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://montri.rmutl.ac.th/old/tranning/p01.pdf ศุภชัย เกาเอี้ยน และปลวัชร เตงภู. 2557. การควบคุมมอเตอรไฟฟา. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 แบบวงจรไฟฟาควบคุมมอเตอร วงจรไฟฟา เปนการนําเอาสายไฟฟาหรือตัวนําไฟฟาตอถึงกัน เพื่อใหกระแสไฟฟาสามารถเดินทางจากแหลงจายไฟไปยัง อุปกรณไฟฟาไดซึ่งวงจรไฟฟามีหลายหลายรูปแบบขึ้นอยูกับ การใชงาน ทั้งนี้ เพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถเดินสายไฟฟา เขากับอุปกรณตาง ๆ ไดอยางถูกตอง จึงตองมีการออกแบบวงจรไฟฟากอนการปฏิบัติงาน สําหรับแบบวงจรไฟฟาที่ใชเพื่อ ควบคุมมอเตอรดวยคอนแทคเตอรสามารถแบงไดเปน 4 รูปแบบ 1. วงจรแสดงแบบงานจริง (Working Diagram) แบบงานจริง จะเขียนลักษณะคลายงานจริง นั่นคือ เขียนสวนประกอบของอุปกรณตาง ๆ โดยไมแยกออกจากกัน สายตาง ๆ จะเขียนตอกันที่จุดเขาสายของอุปกรณเทานั้น

ภาพที่ 2.1 ตัวอยางวงจรแสดงแบบงานจริง

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. วงจรแสดงการทํางาน แบบวงจรแสดงการทํางาน สามารถแบงตามลักษณะวงจรได 2 รูปแบบ คือ แบบแสดงวงจรกําลัง และแบบแสดงวงจรควบคุม 2.1 แบบแสดงวงจรกําลัง (Power Circuit) แบบแสดงการทํางานของวงจรกําลัง คือ การเลือกเขียนเฉพาะสวนวงจรกําลังเทานั้น โดยตัดสวนที่ไมเกี่ยวของ ในอุปกรณบางชิ้นออก เชน โอเวอรโหลดรีเลย ที่ไมเขียนสวนคอนแทคซึ่งใชสําหรับวงจรควบคุม สวนสายตาง ๆ ที่ตอถึงกัน จะแสดงจุดตอดวยสายทึบและจุดตอแตละจุดเพียงสายเดียวที่จะเขาไปตอสายของอุปกรณ 2.2 แบบแสดงวงจรควบคุม (Control Circuit) แบบแสดงการทํางานของวงจรควบคุม เปนการนําวงจรควบคุมในงานจริงยืดออกเปนเสนตรง เปนการแยกสายตาง ๆ โดยเขียนออกมาในแนวดิ่งและแนวระนาบ สําหรับสวนประกอบของอุปกรณ จะเลือกเขียนเฉพาะสวนที่นํามาใชใน วงจรควบคุมเทานั้น สําหรับคอนแทคของรีเลย หรือคอยลคอนแทคเตอรสามารถเขียนใหแยกกันอยูตามสวนตาง ๆ ของ วงจรได โดยการเขี ย นตั ว อั ก ษรและตั ว เลขกํา กั บ ไว เ พื่ อ ให รู ว า เป น ของคอนแทคเตอรตัวใด

วงจรกําลัง

วงจรควบคุม

ภาพที่ 2.2 แบบแสดงการทํางานของวงจรกําลังและวงจรควบคุม

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. วงจรสายเดียว (One Line Diagram) แบบแสดงการทํางานของวงจรกําลัง ที่เขียนแบบวงจรดวยสายเสนเดียว ซึ่งอาจจะมีตัวเลขแสดงจํานวนสายกํากับไว ทั้งนี้ สําหรับวงจรของมอเตอรไฟฟา 3 เฟสที่มีจํานวนสายแตละจุดของวงจรเทา ๆ กัน คือ 3 เสน อาจไมจําเปนตองแสดง จํานวนสายกํากับไว

ภาพที่ 2.3 ตัวอยางวงจรสายเดียว 4. วงจรประกอบการติดตั้ง (Constructional Wiring Diagram) วงจรประกอบการติ ด ตั้ ง ประกอบด ว ย แผงควบคุ ม ตู ค วบคุ ม หรื อ ตู ส วิ ต ช บ อร ด และโหลดที่ ต อ งการควบคุ ม ซึ่ง มัก จะแยกกันอยู ในที่ต างกั น โดยส ว นตา ง ๆ ดัง กลาวจะเขียนแสดงรายละเอียดดวยวงจรแสดงแบบงานจริง และ ประกอบเขาดวยกันที่แผงตอสายโดยใชวงจรสายเดียว รวมถึงเขียนรหัสกํากับสายที่ออกจากจุดตอสายแตละอันไว เชน ที่แผงตอสาย X2 จุดที่ 1 เขียนรหัสวา X3 ซึ่งในตําแหนงนี้จะมีการบอกเอาไววา สายที่จุดนี้ตอมาจากจุดที่ 1 ของแผงตอสาย X2

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 2.4 ตัวอยางวงจรประกอบการติดตั้ง

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

5. แบบแสดงการติดตั้งอุปกรณและตูควบคุม แบบแสดงการติดตั้งอุปกรณและตูควบคุมเปนแผนผังแบบวงจรแสดงการเดินสายไฟฟาทั้งวงจรควบคุมและวงจรกําลัง แบบแผนของวงจรจะแสดงการเดิ น สายระหว า งตู ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ไปยั ง มอเตอร แผงควบคุ ม และอุ ป กรณ อื่ น ๆ สายที่ ต อ เชื่ อ มโยงระหว า งตู และแผงอุ ป กรณ อื่ น ๆ แสดงโดยใช ว งจรสายเดี ย ว และมี โ ค ด ที่ กํา กั บ ว า สายจุ ด นั้น ตอเขากับจุดใดของแผงนั้น ๆ เชน แผงตอสาย (Terminal) X2 ที่จุด 5 จะเดินไปตอกับแผงตอสาย X3 จุดที่ 1 เปนตน

ภาพที่ 2.5 ตัวอยางแบบแสดงการตอสายติดตั้งอุปกรณควบคุมมอเตอร

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ภาพที่ 2.6 ตัวอยางแบบแสดงการตอสายติดตั้งอุปกรณควบคุมมอเตอร

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

6. แบบไฟฟาแสงสวางในโรงงาน แบบไฟฟาแสงสวางที่ใชในการกอสราง เปนแบบที่แสดงถึงตําแหนงของหลอดไฟแตละหลอดวาอยูตรงจุดใดของหอง หรือตรงจุดใดของโรงงาน เพื่อ ใหผูป ฏิบัติง านทราบวาควรติดตั้ง ที่จุดใด หรือ หลอดไฟที่ตอ งการจะเปลี่ยนอยูที่จุดใด ทั้ง นี้แ บบไฟฟา แสงสว า งที่ ใ ช ใ นการก อ สร า งต อ งเปน แบบมุม มองจากดา นบน (TOP VIEW) คือ แบบของโรงงาน หรือ หอ งที่มองจากดานบนลงมา เพื่อใหสามารถเขียนแสดงถึงตําแหนงตาง ๆ ของสิ่งที่อยูในหองไดชัดเจน พรอมทั้งตาราง อธิบายสัญลักษณ แบบไฟฟาแสงสวาง

ภาพที่ 2.7 ตัวอยางแบบไฟฟาแสงสวาง

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตารางสัญลักษณแบบไฟฟาแสงสวาง สัญลักษณ

ความหมาย สวิตช

หลอดไฟฟาฟลูออเรสเซนต ขนาด 36 วัตต ปลั๊กไฟ แผงควบคุมระบบไฟฟา

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

1

แบบวงจรเขียนสวนประกอบตอกันตรงจุดเขาสายอุปกรณ

2

แบบวงจรเขียนเฉพาะสวนของวงจร สวนสายตาง ๆ

3

แบบวงจรเขียนอุปกรณแสดงการทํางานของคําสั่งแบบเปนวงจรอยางงาย

4

แบบวงจรเขียนรหัสกํากับสายจากจุดตอสาย

5

แบบวงจรเขียนในแนวดิ่งและแนวระนาบ และเขียนอุปกรณเฉพาะที่ใชในวงจร

6

แบบวงจรเขียนอุปกรณที่เกี่ยวของแบบมุมมองจากดานบน

ขอ

คําตอบ

แบบวงจรประกอบการติดตั้ง

แบบไฟฟาแสงสวางในโรงงาน

แบบวงจรแสดงแบบงานจริง

แบบวงจรแสดงการทํางาน (วงจรแกนควบคุม)

แบบวงจรแสดงการทํางาน (วงจรกําลัง)

แบบวงจรสายเดียว

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 เขียนแบบวงจรแสดงแบบงานจริง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - อานและเขียนแบบวงจรที่ใชในงานควบคุมมอเตอรได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเขียนแบบวงจรแสดงแบบงานจริงจากแบบวงจรแสดงการทํางานที่กําหนดให ลงในตาราง ใบปฏิบัติงานใหถูกตอง แบบวงจรแสดงการทํางาน

วงจรกําลัง

วงจรควบคุม

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 เขียนแบบวงจรแสดงแบบงานจริง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบตั ิงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - อุปกรณเขียนแบบ จํานวน 1 ชุด หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน -

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน เขียนแบบวงจรแสดงแบบงานจริง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เขียนแบบวงจรไฟฟากระแสสลับ

เขียนแบบวงจรไฟฟากระแสสลับ ระบบ 3 เฟส 5 สาย

2. เขียนแบบวงจรกําลัง

เขี ย นวงจรกํ า ลั ง มอเตอร ไ ฟฟ า กระแสสลับ 3 เฟส

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. เขียนแบบวงจรควบคุม

เขียนแบบวงจรควบคุม มอเตอร ไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตารางใบปฏิบัติงาน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 เขียนแบบวงจรไฟฟากระแสสลับได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 เขียนแบบวงจรกําลังได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 เขียนแบบวงจรควบคุมได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบงาน ใบงานที่ 2.1 เขียนแบบวงจรแสดงแบบงานจริง คําชี้แจง : ใหผูรับการฝกเขียนแบบวงจรแสดงแบบงานจริงจากแบบวงจรแสดงการทํางานที่กําหนดให ลงในตารางใบปฏิบัติงาน ใหถูกตอง

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 เขียนแบบวงจรไฟฟากระแสสลับ

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

15 - เขียนแบบวงจรไฟฟากระแสสลับถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนแบบวงจรไฟฟากระแสสลับไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 เขียนแบบวงจรกําลัง

- เขียนแบบวงจรกําลังถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เขียนแบบวงจรกําลังไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 เขียนแบบวงจรควบคุม

- เขียนแบบวงจรควบคุมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนแบบวงจรควบคุมไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

15

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 เขียนแบบวงจรแสดงการทํางาน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - อานและเขียนแบบวงจรที่ใชในงานควบคุมมอเตอรได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเขียนแบบวงจรแสดงการทํางานจากแบบวงจรแสดงแบบงานจริงที่กําหนดให ลงในตารางใบปฏิบัติงาน ใหถูกตอง แบบวงจรแสดงแบบงานจริง

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 เขียนแบบวงจรแสดงการทํางาน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ป ฏิบัติง าน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตรายเช น สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - อุปกรณเขียนแบบ จํานวน 1 ชุด หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน -

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน เขียนแบบวงจรแสดงการทํางาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เขียนแบบวงจรกําลัง

คําอธิบาย แบบวงจรแสดงการทํางาน เริม่ จาก แบบวงจรกํ า ลั ง มอเตอร ไ ฟฟ า กระแสสลับ 3 เฟส

2. เขียนแบบวงจรควบคุม

แบบวงจรควบคุ ม มอเตอรไ ฟฟา กระแสสลับ 3 เฟส

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

3. เขียนตารางสภาวะการทํางาน

คําอธิบาย

ตารางสภาวะการทํางานของ แมคเนติก คอนแทคเตอร ในแบบ วงจรแสดงการทํางาน

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตารางใบปฏิบัติงาน

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 เขียนแบบวงจรกําลังได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 เขียนแบบวงจรควบคุมได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 เขียนตารางสภาวะการทํางานได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบงาน ใบงานที่ 2.2 เขียนแบบวงจรแสดงการทํางาน คําชี้แจง : ใหผรู ับการฝกเขียนแบบวงจรแสดงการทํางาน จากแบบวงจรแสดงแบบงานจริงที่กําหนดให ลงในตารางใบปฏิบัตงิ าน ใหถูกตอง

วงจรกําลัง

วงจรควบคุม

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 เขียนแบบวงจรกําลัง

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

15 - เขียนแบบวงจรกําลังถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนแบบวงจรกําลังไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 เขียนแบบวงจรควบคุม

- เขียนแบบวงจรควบคุมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เขียนแบบวงจรควบคุมไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 เขียนตารางสภาวะการทํางาน

- เขียนตารางสภาวะการทํางานถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนตารางสภาวะการทํางานไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

15

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบงาน ใบงานที่ 2.3 เขียนแบบวงจรประกอบการติดตั้ง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - อานและเขียนแบบวงจรที่ใชในงานควบคุมมอเตอรได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเขียนแบบวงจรประกอบการติดตั้ง จากแบบแสดงการทํางานทีก่ ําหนดให ลงในตารางใบ ปฏิบัติงานใหถูกตอง แบบวงจรแสดงการทํางาน

วงจรกําลัง

วงจรควบคุม

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.3 เขียนแบบวงจรประกอบการติดตั้ง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบตั ิงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - อุปกรณเขียนแบบ

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน -

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน เขียนแบบวงจรประกอบการติดตั้ง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. เขียนสัญลักษณเทอรมินัล

เขียนสัญลักษณไฟเขากระแสสลับ

- X1

3 เฟส 5 สาย ดังนี้ - สัญลักษณเทอรมินัล X1 - สัญลักษณเทอรมินัล X2 - สัญลักษณเทอรมินัล X3 - สัญลักษณเทอรมินัล X4

- X2

- X3

- X4

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

2. เขียนแบบวงจรกําลัง

เขียนแบบวงจรกําลัง ไฟฟา และ ตอกับเทอรมินัล X1 X2 X3 และ X4

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. เขียนแบบวงจรควบคุม

เขี ย นแบบวงจรควบคุ ม มอเตอร ไฟฟ า และต อ กั บ เทอร มิ นั ล X1 X2 และ X3

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ตารางใบปฏิบัติงาน

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 เขียนสัญลักษณเทอรมินัลได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 เขียนแบบวงจรกําลังได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 เขียนแบบวงจรควบคุมได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

เฉลยใบงาน ใบงานที่ 2.3 เขียนแบบวงจรประกอบการติดตั้ง คําชี้แจง : ใหผรู ับการฝกเขียนแบบวงจรประกอบการติดตั้ง จากแบบแสดงการทํางานที่กําหนดให ลงในตารางใบปฏิบตั งิ าน ใหถูกตอง

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 เขียนสัญลักษณเทอรมินัล

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

15 - เขียนสัญลักษณเทอรมินัลถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนสัญลักษณเทอรมินัลไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 เขียนแบบวงจรควบคุม

- เขียนแบบวงจรควบคุมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เขียนแบบวงจรควบคุมไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 เขียนแบบวงจรควบคุม

- เขียนแบบวงจรควบคุมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - เขียนแบบวงจรควบคุมไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

15

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 4

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.