หนาปก
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คูมือครูฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 5
09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คํานํา
คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูล 5 วัสดุ เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลั กสู ต รฝ กอบรมฝ มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการ การฝกอบรมใหเ ปน ไปตามหลักสูตร กลาวคือ สามารถอธิบ ายวิธีการใชงาน และสามารถบํารุงรักษาเครื่องมือพื้น ฐาน ทางดานชางยนตได ตลอดจนติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตาม มาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิ ด การเรีย นรูดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต อ งการ โดยยึ ด ความสามารถของผู รั บ การฝ ก เป น หลั ก การฝ ก อบรมในระบบดั ง กลา ว จึ ง เป น รู ป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เรื่อง
สารบั ญ
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 5 09210202 เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต หัวขอวิชาที่ 1 0921020201 เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง
20
หัวขอวิชาที่ 2 0921020202 เครื่องมือวัดทางชางยนต
82
หัวขอวิชาที่ 3 0921020203 เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต
131
คณะผูจัดทําโครงการ
179
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมิน พื้นฐานความรู ความสามารถ แบบออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบี ย นแบบออนไลน ให ผู ท่ี ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นผ า นเว็ บ ไซต โดยกรอกประวั ติ เลือกหลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบี ย นแบบออฟไลน ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นที่ ศู น ย ฝ ก โดยการเลื อ กหลั ก สู ต ร กรอกประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐาน ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ค. ผังการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข ารั บการฝ กภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝ กในโมดูล ถัด ไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก
ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดย ใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการดาวน โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และ เขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการ ฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คู มื อ การประเมิ น รู ป แบบเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (.pdf) เพื่ อ บั น ทึ ก ผลการประเมิ น การทดสอบของ ผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ าไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920163100501
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 1.2 สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 1.4 มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 1.5 มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 1.6 มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 1.7 มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไม พร อมกัน สามารถจบกอนหรื อเกินระยะเวลาที่กําหนดไว ในหลั กสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920163100501 2. ชื่อโมดูลการฝก เครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต รหัสโมดูลการฝก 09210202 3. ระยะเวลาการฝก รวม 9 ชั่วโมง 45 นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 45 นาที ปฏิบัติ 8 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน ว ยการฝ กนี้ พั ฒ นาขึ้น ใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับ การฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน และการบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 3. อธิบายวิธีการใช และการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 4. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 5. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษาเครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได 6. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูเรื่องการปฏิบัติงานชางเบื้องตน 2. มีความรูเรื่องการชางพื้นฐาน ผูรับการฝก 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 4 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน หัวขอที่ 1 : เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง 0:45 3:30 4:15 และการบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ ทั่วไปได 2. ใช แ ละบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ ทั่วไปได สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. อธิบายวิธีการใช และ หัวขอที่ 2 : เครื่องมือวัดทางชางยนต การบํารุงรักษาเครื่องมือวัด ทางชางยนตได 4. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัด ทางชางยนตได 5. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษา หัวขอที่ 3 : เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต เครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได 6. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิด พิเศษตาง ๆ ได รวมทั้งสิ้น
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
0:30
2:30
3:00
0:30
2:00
2:30
1:45
8:00
9:45
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921020201 เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกชนิด และอธิบายวิธีการใชงาน และการบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได
2. หัวขอสําคัญ 1. เครื่ องมื อช างทั่ วไป ได แก ประแจ ไขควง ค อน คี ม ปากกาจั บงาน ตะไบ ประแจเลื่ อน สกั ด เหล็ กส ง ดอกสว าน สวาน กาน้ํามันเครื่อง ชุดอุปกรณกําเนิดลมและสงจายลม ปนลม ประแจลม หินเจียระไน เครื่องมือยกรถ แทนอัดไฮดรอลิก 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว 3. ไขควงตอก
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํามันหลอลื่นปมแบบลูกสูบ จํานวน 1 ลิตร 2) น้ํายาลางทําความสะอาด จํานวน 1 ขวด 3) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กรวยพลาสติก จํานวน 1 อัน 2) เครื่องมือชางพื้นฐาน จํานวน 1 ชุด 3) ถาดรอง จํานวน 1 ใบ 4) ปมลมแบบลูกสูบ จํานวน 1 ตัว 5) ปนเปาลม จํานวน 1 ตัว 6) แมแรงตะเฆ จํานวน 1 ตัว 7) ไมบรรทัด จํานวน 1 อัน 8) รถยนตนั่งสวนบุคคล จํานวน 1 คัน 9) ลิฟตยกรถ จํานวน 1 ตัว 10) หมอนรองลอรถกันลื่นไถล จํานวน 4 อัน
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม วิธีใชงานประแจ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.hardwaremart.net/index.php?option=com_ content&view=article&id=66:-m-m-s&catid=49:-m---m-s&Itemid=84 ยุคล จุลอุภัย. ม.ป.ป. เทคโนโลยีเครื่องมือเบื้องตนสําหรับชางเชื่อม. ม.ป.ท. : สถาบันการเชื่อมแหงประเทศไทย. ชนิดของคีมและวิธีการใชงานคีมอยางปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thaieditorial.com/ ชนิดของคีมและวิธีการใช/ เทวัญ นราธาวา. เครื่องมือประเภทคีม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://krootewan2013.wordpress.com/ เครื่องมือประเภทคีม/ โลกหุน. 2557. สารพัดชาง วิธีใชเลื่อยมือที่ถูกตอง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.lokehoon.com/ topic.php?q_id=77 2559. วิธีใช วิธีเก็บรักษา เครื่องมือชาง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://realmartonline.com/ วิธีรักษาเครื่องมือ/ Purinatth. 2551. สกัด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://engineerknowledge. blogspot.com/2008/11/blog-post_4459.html
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 14-72 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริ ง ได แก เครื่ องมื อ พื้นฐานทางดานงานชาง 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อทั่ ว ไปทางด า น ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช งานชาง ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง เครื่องมือทั่วไป 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ทางดานงานชาง ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 14-72
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง เครื่องมือทั่วไปทางดาน งานชาง หนาที่ 14-72 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาตามหัวขอของแผนการจัดการเรียนรู 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม โดยใช วิธี ถาม-ตอบกั บผู รับ การฝกโดยใชความรู เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ เดิ ม ของผู รั บ การฝ ก มาต อ ยอดเป น ความรู ใ หม เรียบรอย พร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 17-47 โดยมี สาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 เครื่องมือชางทั่วไป 2.2 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 ไขควงตอก 3. ให ผู รั บ การฝ ก หยิ บ เครื่ อ งมื อ ตามที่ ค รู ฝ ก 3. เลือกหยิบเครื่องมือใหถูกตอง กําหนด 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 48-50 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 48-50 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 59 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.1 การใชแมแรง 6. ศึกษาใบงานที่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ ตะเฆ แ ละลิ ฟ ต ย กรถ จากคู มื อผู รั บการฝ ก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 51-63 ซักถามขอสงสัย หนาที่ 51-63 ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-23-48 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 ตรวจสอบสภาพของแมแรงตะเฆ 7.2 ทดลองใชแมแรงตะเฆยกรถ 7.3 ตรวจสอบสภาพของลิฟตยกรถ 7.4 ทดลองใชลิฟตยกรถ 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 52 หนาที่ 61 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 1.2 การ 13. ศึกษาใบงานที่ 1.2 การบํารุงรัก ษาปม ลม จาก บํารุงรักษาปมลม จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ คูมือผูรับการฝก หนาที่ 64-72 ซักถามขอสงสัย 64-72 ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 24:00-28:47 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาสุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 14.1 บํารุงรักษาปมลม 14.2 วิธีใชปมลม 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รับวัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 65-66 หนาที่ 74-75 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือทั่วไป ทางดานงานชาง ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง เครื่องมือทั่วไป ทางด า นงานช า ง เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิบั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 เครื่องมือทั่วไปทางดานงานชาง เครื่องมือเปนอุปกรณที่มีความสําคัญมากในการทํางาน โดยผูปฏิบัติงานนั้นจําเปนตองเลือกใชเครื่องมือที่เหมาะสมกับ งานและถูกตอง โดยเครื่องมือแตละชนิดจะถูกนํามาใชกับงานที่แตกตางกัน เครื่องมือเปนอุปกรณที่ใชงานโดยจําเปนที่ตองใช แรงจากผูปฏิบัติงาน ซึ่งอาจใชสําหรับขัน ตอก ตัด วัด และงานเฉพาะดาน ในการใชงานเครื่องมือตาง ๆ ไมเพียงแตจะใชใน การปฏิบัติงานใหเสร็จสิ้น แตจําเปนตองปฏิบัติงานใหถูกขั้นตอน และตองคํานึงถึงความปลอดภัยในการปฏิบัติงานดวยเชนกัน 1. เครื่องมือชางทั่วไป เครื่องมือชางทั่วไปเปนเครื่องมือพื้นฐานในงานชางทุกประเภท ซึ่งมีอุปกรณหลากหลายประเภท ทั้งขนาดเล็ก กลางไป จนถึงอุปกรณที่ยึดอยูกับที่ เครื่องมือชางทั่วไปมีดังนี้ 1.1 ประแจ (Spanner) เปนเครื่องมือที่ใชแรงในการทํางานเปนสําคัญ ใชสําหรับจับ ยึด ขัน หรือคลายหัวสกรู นอต สลักเกลียว และทอ ประแจจะมีรูปราง ขนาด และความยาวแตกตางกัน ดังนี้ 1) ประแจปากตาย (Open-end Spanner) เปนประแจที่มีปากสัมผัสกับหัวนอตหรือโบลตเพียงสองด าน จึงเปนเครื่องมือที่สะดวกในการขันนอตหรือโบลตที่อยูในพื้นที่แคบ ขนาดของประแจปากตายมักเรียก ตามขนาดตาง ๆ ของโบลต ซึ่งไดแก ระบบอังกฤษ เชน ขนาดเบอร 1/2 หรือ เบอร 3/4 และระบบเมตริก เชน ขนาดเบอร 10 หรือ เบอร 12 เปนตน
ภาพที่ 1.1 ประแจปากตาย การใชงานประแจปากตาย ควรเลือกประแจปากตายที่มีขนาดเหมาะสมกับนอตหรือโบลต โดยใหปาก ของประแจขบกันพอดีกับนอตหรือโบลต เมื่อตองใชประแจปากตายขันหรือคลายโบลต ควรดึงประแจเขาหาตัว แตหากจําเปนตองขันออกจากตัว ใหใชอุงมือดันประแจเพื่อลดอันตรายจากการลื่น และหามใชเครื่องมืออื่น ตอเขากับประแจเพื่อเพิ่มแรงขัน เพราะอาจทําใหนอตหรือโบลตเสียหายได
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.2 การใชงานประแจปากตาย 2) ประแจแหวน (Box-end Spanner) เปนประแจที่สามารถจับหัวสลักและขันนอตไดดีกวาประแจ ปากตาย โดยมี มุ ม จั บ ตั้ ง แต 6 มุ ม , 8 มุ ม และ 12 มุ ม การบอกขนาดของประแจแหวนใช ร ะบบเดี ย วกั บ ประแจปากตาย คือ ใชทั้งระบบอังกฤษและระบบเมตริก
ภาพที่ 1.3 ประแจแหวน
ภาพที่ 1.4 ลักษณะของประแจแหวนขนาดตาง ๆ
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3) ประแจรวม (Combination Spanner) เปนประแจที่มีลักษณะผสมระหวางประแจปากตายกับประแจแหวน โดยปลายดานหนึ่งจะเปนปลายประแจปากตาย และอีกดานหนึ่งเปนปลายประแจแหวน มีลักษณะ การใชงานเหมือนประแจทั้งสองชนิด แตดานปากตายจะไมมีมุมเอียง และดานปากแหวนจะมีปากแบน กวาประแจแหวน จึงใชขันในพื้นที่แคบไดดีกวา
ภาพที่ 1.5 ประแจรวม 4) ประแจกระบอก (Socket Spanner) ปากของประแจกระบอกจะมี ลั กษณะเหมื อนกั บ ประแจแหวน มีมุมเหลี่ยมตั้งแต 6 มุม, 8 มุม และ 12 มุม อยูภายในของตัวประแจกระบอก
ภาพที่ 1.6 ประแจกระบอก
ภาพที่ 1.7 ลักษณะของประแจกระบอกและดามขัน 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เมื่อตองการใชควรใชรวมกับดามขัน โดยสามารถเปลี่ยนขนาดของประแจกระบอกไดตามสภาพและ ความเหมาะสม ซึ่งดามขันที่ใชรวมกับประแจกระบอกมีหลายชนิด ไดแก - ดามขันยาว (Flex Handle) ใชสําหรับขันนอตหรือโบลตที่แนนมาก มักจะใชคลายเฉพาะใน ขั้นตอนแรกและขั้นตอนสุดทาย
ภาพที่ 1.8 ดามขันยาว - ด า มขั น กรอกแกรก (Ratchet Handle) ใช สํ า หรั บ งานที่ มี พื้ น ที่ ขั น แคบ และต อ งการ ความสะดวกรวดเร็ว เพราะสามารถปรับทิศทางการขันเขา – ออกได
ภาพที่ 1.9 ดามขันกรอกแกรกและการปรับ - ด า มขั น ตั ว ที (Sliding T - Handle) ใช สํ า หรั บ งานที่ ต อ งออกแรงขั น สองข า งเท า ๆ กั น มีลักษณะคลายดามขันยาว สามารถเลื่อนปรับไปมาได
ภาพที่ 1.10 ดามขันตัวที
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- ดามขันเรง (Speed Handle) ใชสําหรับขันนอตหรือโบลตที่ตองการความรวดเร็ว เนื่องจาก ดามขันมีลักษณะคลายสวาน แตนอตหรือโบลตที่จะใชขันตองถูกคลายออกจนหลวมกอน และ จะตองมีพื้นที่ในการขันกวางพอที่ดามจะหมุนไปมาได
ภาพที่ 1.11 ดามขันเรง - ก า นต อ (Extension Bar) ใชสําหรับ เชื่อมตอประแจกับ ดามขัน เพื่อใหมีความยาวเพีย งพอ เมื่อตองการขันนอตหรือโบลตที่อยูในพื้นที่แคบหรือลึก
ภาพที่ 1.12 กานตอ - ขอตอออน (Universal Joint) มีลักษณะการใชงานเหมือนกับขอตอ แตสามารถใชขันนอตหรือ โบลตที่อยูในแนวตางระดับซึ่งไมเปนเสนตรงได
ภาพที่ 1.13 การใชงานขอตอออน
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- ขอตอเพิ่มลด (Drive Size Adaptors) ใชสําหรับปรับขนาดของดามขันและประแจกระบอกที่มี ขนาดไมเทากัน เพื่อใหสามารถใชงานรวมกันได
ภาพที่ 1.14 การใชงานขอตอเพิ่มลด 5) ประแจเลื่อน (Adjustable Spanner) คือ ประแจที่สามารถปรับขนาดเพื่อใหเหมาะสมกับขนาดของ แปนเกลียวได โดยจะปรับตรงสวนที่เปนสลักเกลียว ประแจชนิดนี้จะมีปากดานหนึ่งที่สามารถปรับเขาออกได จึงไมแข็งแรง และตองใหปากประแจดานที่ไมเคลื่อนเปนดานที่รับแรงมากกวา และปรับขนาดของปาก ใหแนบสนิทกับแปนเกลียวทุกครั้ง
ภาพที่ 1.15 ประแจเลื่อน
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.16 การใชงานประแจเลื่อน 6) ประแจวัดแรงบิด (Torque Spanner) คือ เครื่องมือที่ใชรวมกับประแจกระบอก เพื่อขันนอตหรือโบลต ที่ตองการแรงขันที่แนนอนตามคาที่กําหนด โดยตัวประแจวัดแรงบิดจะมีสเกลแสดงคาแรงขันไวที่ดามขัน
ภาพที่ 1.17 ประแจวัดแรงบิด 7) ประแจแอล (Set Screw Spanner) ใชสําหรับขันโบลตที่มีหัวกลมภายนอก สวนภายในจะมีลักษณะเปน หลุมรูปหกเหลี่ยม ประแจแอลมีหลายขนาดตามขนาดของหัวโบลต และบอกขนาดโดยใชทั้งระบบอังกฤษ และระบบเมตริก
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.18 ประแจแอล 8) ประแจจับทอ (Pipe Spanner) ใชสําหรับจับชิ้นงานที่มีลักษณะเปนทรงกระบอก เชน ทอเหล็ก หรือ เพลา เปนตน
ภาพที่ 1.19 ประแจจับทอ 9) ประแจถอดสตัด (Stud Spanner) ใชสําหรับถอดสลักเกลียวหรือสตัดที่ไมมีหัวสําหรับขันเขาหรือออก เชน สตัดยึดฝาสูบกับเสื้อสูบ เปนตน
ภาพที่ 1.20 ประแจถอดสตัด 10) ประแจถอดหัวเทียน (Spark Plug Spanner) ใชสําหรับถอดหัวเทียน มีลักษณะคลายกับประแจกระบอก แตมีความสูงมากกว า ประแจถอดหัวเที ยนบางแบบจะฝ งแม เหล็กติด อยูที่ตัว ของประแจ เมื่อคลาย หัวเทียนออกจะสามารถดึงหัวเทียนติดออกมากับประแจได
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.21 ประแจถอดหัวเทียน 11) ประแจลม (Air impact Spanner) คือ ประแจสําหรับ ขันนอตใหแนน โดยอาศัย พลังงานจากปมลม สามารถใชกับอุปกรณในหองเครื่องยนต และในงานอุตสาหกรรมทั่วไปได มี 3 รูปทรง ไดแก ทรงปน ซึ่งเหมาะกับการใชงานทั่วไป ทรงกระบอก เหมาะกับงานในไลนประกอบ และทรง 90 องศาเหมาะสําหรับ การขันนอตตามซอกมุมตาง ๆ
ภาพที่ 1.22 ประแจลม 1.1.1 วิธีการใชงานประแจประเภทตาง ๆ 1) เลือกใชประแจที่มีขนาดของปากและความยาวของดามที่เหมาะสมกับงานที่ใช ไมควรตอดาม ใหยาวกวาปกติ 2) ปากของประแจตองไมชํารุด เชน สึกหรอ ถางออก หรือราว 3) เมื่อสวมใสประแจเขากับหัวนอต หรือหัวสกรูแลว ปากของประแจตองแนนพอดีและคลุมเต็ม หัวนอตหรือสกรู 4) การจับ ประแจสําหรับ ผูถนัด มือขวา ใหใชมือขวาจับ ปลายประแจ สว นมือซายใหป ระคอง และกดปลายประแจอีกดานหนึ่งเบา ๆ รางกายตองอยูในสภาพมั่นคงและสมดุล 5) การใชประแจไมวาจะเปนการขันเขาใหแนน หรือคลายออกตองใชวิธีดึงเขาหาตัวเสมอ และ เตรียมพรอมสําหรับปากประแจหลุดขณะขันหรือคลายดวย 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
6) ตองเลือกใชประแจชนิดปากปรับไมไดกอน เชน ประแจแหวนหรือประแจปากตาย ถาประแจ เหลานี้ใชไมไดจึงคอยเลือกใชประแจชนิดปากปรับได เชน ประแจเลื่อน แทน 7) การใชประแจชนิดปากปรับได เชน ประแจเลื่อนหรือประแจจับทอ ตองใหปากดานที่เลื่อนได อยูใ กลตัวกับผูใชเสมอ 8) การใชประแจชนิดปากปรับได ตองปรับปากประแจใหแนนกับหัวนอตกอน จึงคอยออกแรงขัน 9) ปากและดามของประแจตองแหงปราศจากคราบน้ํามันหรือจาระบี 10) การขัน นอต หรือสกรูที่อยูในที่แคบ หรือลึก ใหใชป ระแจกระบอก เพราะปากของประแจ กระบอกจะยาว สามารถสอดเขาไปในรูที่คับแคบได 11) ขณะขันหรือคลาย ประแจตองอยูแนวระนาบเดียวกันกับหัวนอตหรือหัวสกรู 12) ไมควรใชประแจชนิดปากปรับไดกับหัวนอตหรือสกรูที่จะนํากลับมาใชอีกเพราะหัวนอต หรือ สกรูจะเสียรูป 1.1.2 การบํารุงรักษาประแจ 1) ใชประแจที่มีขนาดพอดีกับขนาดของนอตหรือสกรู 2) ไมใชประแจสําหรับตอกหรือตีแทนคอน 3) ทําความสะอาดหลังใชงานทุกครั้ง 4) สําหรับประแจลม ควรหยอดน้ํามันหลอลื่นสําหรับประแจลม 2-3 หยด ที่จุดเติมน้ํามันทายดาม จับทุกครั้งกอนใชงาน น้ํามันจะชวยใหประแจลมทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ และไมสงเสียงดัง 1.2 ไขควง (Screw Driver) เปนเครื่องมือสําหรับ ขันและคลาย สกรูชนิดหัวผา และหัวแฉก ขนาดและรูปทรงของไขควง ถูกออกแบบใหเปนไปตามลักษณะการใชงาน เชน ไขควงที่ใชสําหรับงานของชางอัญมณี (Jeweler's Screw Driver) จะออกแบบมาใหเป นไขควงที่ใชสําหรั บงานละเอียดเที่ย งตรงกับ ไขควงที่ ใช ในงานหนักของชางเครื่ องกลจะ ออกแบบใหกานใบเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเพื่อใหใชประแจ หรือคีมจับชวยขันเพื่อเพิ่มแรงในการบิดตัวของไขควงให มากกวาเดิมได ไขควงประกอบดวยสวนประกอบหลัก 3 สวนคือ ดามไขควง (Handle) กานไขควง (Blade or Ferule) และปากไขควง (Tip)
ภาพที่ 1.23 ดามไขควง (Handle)
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.24 กานไขควง (Blade or Ferule)
ภาพที่ 1.25 ปากไขควง (Tip) 1.2.1 โครงสรางสวนประกอบของไขควง ดามไขควง ออกแบบใหมีรูปทรงที่สามารถจับไดถนัดมือ และสามารถบิดไขควงไป - มา ไดแรงมากที่สุด ไขควงจะทําจากวัสดุตาง ๆ เชน ไม พลาสติก หรือ โลหะบางชนิดตามประเภทการใชงาน ปากไขควงจะทําจาก เหล็กกลาเกรดดี ทรงกลม หรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตีขึ้นรูปใหลาดแบน และชุบแข็งดวยความรอน ในสวนที่ไมไดตีขึ้นรูป จะเปนกานไขควง ถาเปนไขควงที่ใชสําหรับงานเบาจะเปนเหล็กกลาทรงกลม ถาเปนไขควงสําหรับใชงานหนักจะ เปนเหล็กกลาทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส เพื่อใหสามารถใชประแจหรือคีมจับเพิ่มแรงบิดงานได กานไขควงสวนที่ตอกับ ดามจะตีเปนเหลี่ยมลาด เพื่อใหสวมไดสนิทกับดาม และเพื่อใหดามจับกานไขควงไดสนิท ไมหมุนเมื่อใชงาน ในปจจุบันมีการออกแบบใหกานไขควงทะลุตลอดดามที่เปนพลาสติกหรือไฟเบอร และทําเปนแทนรับแรง สามารถใชคอนเคาะตอกเพื่อการทํางานบางประเภทได ขนาดความกวางของปากไขควงจะมีสัดสวนมาตรฐาน สัมพันธกับความยาวของขนาดทั้งหมดของไขควงซึ่ งเปน ข อสําคัญอยางยิ่งสําหรั บการเลื อกใชไขควง เพราะ แรงบิดที่กระทําตอตัวสกรูจะเปนผลสวนหนึ่งมาจากความยาวนี้ และอีกประการหนึ่ง ไขควงขนาดยาว ปากไขควง จะกวางกวาปากไขควงขนาดสั้น ความหนาของปากไขควงจะขึ้นอยูกับความกวางของปาก ปากกวางมากก็จะยิ่งมี ความหนามากขึ้น ความหนาของปากไขควงเปนผลโดยตรงกับการออกแรงบิดตัวสกรู เพราะถาขนาดของปากไขควง ไมพอดีกับรองผาของหัวสกรูจะทําใหการขันพลาด ทําใหหัวสกรูเยิน หรือตองสูญเสียแรงงานสวนหนึ่งในการประคอง 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ปากไขควง ใหอยูบนรองหัวสกรูแทนการหมุนสกรูกอน การนําไขควงไปใชงานตองตรวจสอบปากไขควงใหอยูใน สภาพพร อมที่ จ ะใช งาน คื อ ปากต องเรีย บ ไมมีร อยบิด และเมื่อพิจ ารณาดูจ ากดานลาง ตองมีรูป ทรงเป น สี่เหลี่ยมผืนผา ไขควงที่ปากชํารุดสึกหรอไมเรียบตรง หรือปากแตกราว เปนอันตรายตอการใชงานมาก เพราะ เมื่อใชงานปากไขควงจะไมสัมผัสกับรองบนหัวสกรูเต็มที่ เมื่อออกแรงบิดจะทําใหพลาดจากรอง จะทําใหหัวสกรู บิ่นหรือลื่นจากหัวสกรู
ภาพที่ 1.26 ลักษณะปากไขควงและการใชงาน 1.2.2 ชนิดของไขควง 1) ไขควงปากแบน (slotted screwdrivers) ใช ขั น หรื อ คลายสกรู หรื อ นอตที่ หั ว มี ร อ งผ า เสนผานศูนยกลางหัวสกรูหรือนอต
ภาพที่ 1.27 ไขควงปากแบน
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2) ไขควงปากแฉก (phillip screwdriver) ใชสําหรับขันหรือคลายสกรู หรือนอตที่มหี ัวเปนแฉก หรือกากบาท ซึ่งมีหลายขนาดใหเลือกใช
ภาพที่ 1.28 ไขควงปากแฉก 3) ไขควงออฟเซต (offset screwdriver) หรือไขควงแบบเยื้องศูนย เปนไขควงชนิดพิเศษที่ไขควง ธรรมดาไมสามารถใชได สําหรับไขควงชนิดนี้จะใชในที่เฉพาะ มีรูปรางแตกตางกับไขควงปกติ และมีปลายไขควงอยูในตําแหนงเยื้องศูนย มีทั้งปากแบนและปากแฉกอยูในตัวเดียวกัน
ภาพที่ 1.29 ไขควงออฟเซต 1.2.3 การบํารุงรักษาไขควง 1) เลือกไขควงใหเหมาะสมกับรองผาของสกรู 2) หามนําไขควงไปใชกับงานที่หนักเกินไป เพราะอาจทําใหไขควงคดงอได 3) หามใชไขควงแทนเหล็กสกัด 4) เช็ดทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และเก็บใสกลองเครื่องมือ 1.3 คีม (Pliers) ใชสําหรับการจับชิ้นงานเพื่อทํางานใด ๆ คือใชในงานตัดวัตถุที่ไมแข็งแรงมากนัก เชน สายไฟฟา ลวด หรือสลักล็อกขนาดเล็ก คีมมีรูป รางและขนาดแตกตางกัน ตามลักษณะการใชงาน คีมบางชนิดออกแบบมา เพื่อใชงานไดหลายหนาที่ เชน ทั้งในการจับงานและตัดชิ้นงาน คีมบางแบบมีขอตอเลื่อนที่สามารถปรับขนาดความกวาง ของปากในการจับชิ้นงานได การแบงประเภทของคีม และเรียกชื่อ จะเปนไปตามลักษณะรูปราง การใชงาน ซึ่งมีหลาย รูปแบบดวยกัน ดังนี้ 1) คีมเลื่อน (Combination Plier) ใชสําหรับจับชิ้นงานทั่วไป สามารถปรับขนาดความกวางของชิ้นงานได ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ ยังสามารถตัดชิ้นงานที่ไมหนามากนักได 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.30 คีมเลื่อน 2) คี มตั ดข าง/คี มปากจิ้ งจก (Lineman Plier) หรื อ (Combination Plier) ที่ ปากคี มมี คม ไวสําหรับ ตั ด ดานขาง และสามารถใชจับชิ้นงานได เหมาะกับการใชงานตัดและจับชิ้นงาน ปกติคีมจะชุบแข็ง ไมควรจับ ชิ้นงานที่รอน ไมควรใชคีมแทนประแจ หามใชคีมตัดลวดเหล็กสปริง หามใชขันขั้วไฟฟาแรงสูง หามใชคอน ชวยตีถาตองการตัดลวด หลังใชงานเช็ดทําความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ
ภาพที่ 1.31 คีมตัดขาง 3) คีมตัด (Diagonal cutter Plier) ปากดานขางมีลักษณะเปนคมตัดและชุบแข็ง ใชสําหรับตัดปนล็อก ลวด สายไฟ และใชปอกสายไฟขนาดเล็ก ปกติคีมจะชุบแข็ง ไมควรจับชิ้นงานที่รอน นอกจากคีมงานเชื่อม ไมควรใชคีมแทนประแจ หามใชคีมตัด ลวดเหล็กสปริง หามใชขัน ขั้ว ไฟฟาแรงสูง หามใชคอนชวยตี ถาตองการตัดลวด หลังใชงานเช็ดทําความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ
ภาพที่ 1.32 คีมตัด 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4) คีมล็อก (Locking Plier) ออกแบบเปนพิเศษใชงานเฉพาะ ปลายดามมีสกรูปรับ มีแบบธรรมดา แบบปาก แหลม แบบใชกับงานเชื่อม แบบชนิดแคลมปใชสําหรับจับหรือบีบชิ้นงานใหแนนมาก บีบทอน้ํายาแอร ปกติคีมจะชุบแข็ ง ไมควรจับชิ้นงานที่รอน ไมควรใชคีมแทนประแจ หลังใชงานตองเช็ดทํ าความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ
ภาพที่ 1.33 คีมล็อก 5) คีมถอดประกอบแหวนล็อก (Snap ring Plier) มักเรียกวา คีมถาง-คีมหุบแหวนล็อก ตรงปลายคีมจะ มีปลายแหลมคลายกับปากกาลูกลื่น สามารถใชบีบหรือถางแหวนได ใชถอดแหวนล็อกลูกสูบ หรือแหวนล็อก เพลา ปกติคีมจะชุบแข็ง หลังใชงานตองเช็ดทําความสะอาด หยอดน้ํามันจุดขอตอ
ภาพที่ 1.34 คีมถอดแหวนล็อก 1.3.1 การบํารุงรักษาคีม 1) เลือกใชคีมใหเหมาะสมกับงาน 2) ไมควรบีบคีมแรงเกินไป เพราะอาจทําใหหักได 3) ไมควรใชคีมแทนคอนหรืออุปกรณอื่น ๆ 4) ไมควรใชคีมจับโลหะที่มีผิวชุบแข็ง เพราะอาจทําใหฟนของคีมบิ่น หรือลื่น จนไมสามารถใชงานได 1.4 คอน (Hammer) เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับตอกชิ้นสวนตางๆของเครื่องจักรกล และคอนยังสามารถใชตีเพื่อขึ้นรูป หรื อสามารถตี ดัดชิ้น งานได ตามความตองการของผูใชงาน โดยคอนแตล ะประเภทนั้นจะนํามาใชงานตางกัน ดังตอไปนี้ 1) ค อนหั ว กลม (Ballpeen hammer) ลั กษณะของหั ว ค อนจะมีลักษณะกลมมน หนาคอนแบนเรีย บ คอนประเภทนี้จะนํามาใชงานหนักทั่วไป เชน ตอกตะปู ย้ําหมุด ตอกสกัด เปนตน 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.35 คอนหัวกลม 2) คอนทองเหลือง (Brass Hammer) มีลักษณะหัวคอนออนปานกลาง ผิวหนามีความโคงเล็กนอย ทํามา จากทองเหลือง ใชสําหรับตอกวัตถุที่ไมตองการใหผิวเสียหาย
ภาพที่ 1.36 คอนทองเหลือง 3) คอนพลาสติก (Plastic hammer) ใชสําหรับตอกหรือเคาะงานออนและบอบบาง หัวคอนทํามาจาก พลาสติกและขันติดอยูกับเกลียวของอะลูมิเนียมหลอ หนาตัดมีลักษณะกลมผิวหนานูนเล็กนอย
`ภาพที่ 1.37 คอนพลาสติก 4) คอนยาง (Rubber Mallets) มีลักษณะหัวคอนเปนยางมีหัวกลมหนาเรียบทั้งสองดาน คอนประเภทนี้นิยม ใชสําหรับงานที่ตองการความประณีตของงาน เพื่อไมตองการใหชิ้นงานยุบบุบหรือแตกราว
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.38 คอนยาง 1.4.1 การบํารุงรักษาคอน 1) เลือกใชคอนใหเหมาะสมกับงาน 2) ทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และทาน้ํามันปองกันสนิมที่หัวคอน 1.5 สกัด (Cold chlisel) ทําดวยโลหะมีรูปรางหลายแบบตามลักษณะของหัวสกัด สกัดเปนเครื่องมือซอมแซมที่ ใชงานรวมกับคอน โดยจะใชสกัดในงานตัดเศษโลหะสวนเกินบนผิวโลหะ ตัดนอตหรือสกัดเกลียวที่ถอดไมออก ตัดรอยเชื่อมสวนเกิน ตัดแผนโลหะ และเซาะรอง สกัดทํามาจากเหล็กเนื้อดี มีความแข็ง และเหนียวมากกวาเหล็กทั่วไป มีขนาดยาว 4 – 8 นิ้ว ลําตัวจะทําเปนรูปหกเหลี่ยม สวนหัวจะเปนรูปทรงกลมแบน สวนดานปลายซึ่งจะใชเปน คมสําหรับตัดโลหะ สกัดจะมีหลายแบบ เชน ปลายแบน ปลายแหลม ปลายมน และปลายตัด ปลายแตละแบบตาง ก็มีความเหมาะสมในการใชงานแตกตางกัน
ภาพที่ 1.39 สกัด
ภาพที่ 1.40 ลักษณะของสกัดแตละชนิด 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.5.1 การบํารุงรักษาสกัด ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และเก็บรักษาในที่สะอาดและแหง 1.6 เหล็กนําศูนย (Center Punch) ใชสําหรับตอกกอนนําชิ้นงานไปเจาะดวยสวาน และใชทําเครื่องหมายบนชิ้นสวน ที่จะตองประกอบเขาดวยกัน เพื่อใหประกอบไดถูกตอง ปากของเหล็กนําศูนยจะลับเปนมุม 90 องศา สวนปากที่มี มุม 60 องศา จะเรียกวา เหล็กตอกหมาย ใชสําหรับตอกนําครั้งแรก กอนใชเหล็กนําศูนยตอกซ้ํา เพื่อใหไดตําแหนง ที่ถูกตอง
ภาพที่ 1.41 เหล็กนําศูนย 1.7 เหล็กสง (Punch) ใชสําหรับตอกหมุดย้ํา สลักเกลียว และสลักตาง ๆ เพื่อใหขยับออกจากที่ แบงออกเปน 3 ชนิด ไดแก 1) เหล็กสงเรียว (Starting Punch) มีลักษณะเรียว ใชสงครั้งแรกเพื่อใหสลักขยับตัว 2) เหล็กสงสกัด (Pin Punch) ใชสงเพื่อใหสลักเคลื่อนตัวออกจากชิ้นสวน 3) เหล็กสงปรับรู (Aligning Punch) ใชปรับชิ้นสวนสองชิ้นใหรูตรงกัน เพื่อใหใสสลักเขาไปได
ภาพที่ 1.42 เหล็กสงชนิดตาง ๆ 1.7.1 การบํารุงรักษาเหล็กสง ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน เก็บรักษาในที่สะอาดและแหง และชโลมน้ํามันปองกันสนิม
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.8 ตะไบ (File) ทําดวยโลหะมีรูปรางหลายแบบ เชน ตะไบกลม ตะไบสามเหลี่ยม ตะไบครึ่งวงกลม ตะไบสี่เหลี่ยม และ ตะไบแบน ตะไบเปนเครื่องมือ เครื่องตัดหรือเฉือนชนิดหนึ่ง มีฟนขนาดเล็ก ๆ จํานวนมาก ฟนจะทําจากโลหะที่แข็ง มาก จึงสามารถตัดหรือเฉือนวัสดุที่ออนกวาได เศษโลหะหรือไมที่ไดจะมีขนาดเล็กมากหรือนอยขึ้นกับฟนของตะไบ มักนําตะไบไปใชในงานตกแตงผิวโลหะใหเรียบ ลบสวนที่คมหรือทําใหเปนรูปรางตาง ๆ ตามตองการ ความยาวของ ตะไบจะมีข นาดประมาณ 3 – 18 นิ้ว หลัง การใชง าน ควรใชแ ปรงลวดทําความสะอาดรองฟน เพื่อกําจัด สิ่งสกปรกที่อุดตัน ไมควรใชวิธีการเคาะ และควรเก็บใสกลองหรือเก็บในที่สําหรับแขวนตะไบโดยเฉพาะ อยาใหคม ของตะไบเสียดสีกันโดยตรง
ภาพที่ 1.43 ตะไบ 1.8.1 การบํารุงรักษาตะไบ 1) เลือกใชตะไบใหเหมาะสมกับงาน 2) ควรทําความสะอาดตะไบดวยแปรงเหล็ก เพื่อกําจัดเศษโลหะที่ตัดตามตะไบ หลังใชงาน 3) การใสดามตะไบ ไมควรจับดามตะไบกระแทกลงพื้น เพราะตะไบอาจหลุดออกมาและบาดมือได 4) จับตะไบใหถูกวิธี คือ วางตะไบบนมือขางที่ถนัด โดยใหปลายของดามตะไบอยูกึ่งกลางของ นิ้วหัวแมมือเพื่อปองกันการเสียดสีของตะไบกับฝามือ 1.9 เลื่อยตัดเหล็ก (Hacksaw) ใชสําหรับตัดงานทั่วไป โดยตองเลือกฟนของใบเลื่อยใหเหมาะกับความหนาของโลหะ ความหยาบหรือละเอียดของใบเลื่อยจะนับจากจํานวนฟนตอความยาวหนึ่งนิ้ว สําหรับโลหะหนาใชขนาด 18 ฟนนิ้ว โลหะหนาปานกลางใชขนาด 24 ฟนนิ้ว และโลหะบางใชขนาด 32 ฟนนิ้ว
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.44 เลื่อยตัดเหล็ก 1.10 ปากกาจับชิ้นงาน (Bench Vise) หรือบางคนอาจจะเรียกกันสั้น ๆ วา ปากกาจับงาน เปนเครื่องมือชางชนิดหนึ่ง ที่ใชสําหรับประกอบหรือใชสําหรับการทํางาน โดยใชจับ ยึด บีบ อัด ชิ้นงานใหแนน เพื่อสะดวกตอการปฏิบัติงานอื่น เชน ใชจับไม โลหะ พลาสติก ฯลฯ เพื่อใชในการการตัด เจาะ ตอก ขัด หรือตะไบ เปนตน ปากกาจับชิ้นงาน มีหลายชนิด เชน 1) ปากกาจับโลหะ เปนปากกาที่ยึดแนนบนโตะสําหรับใชงาน ใชสําหรับจับโลหะใหแนนเพื่อตัด ขัด เจาะ ตะไบ ลบคมหรือขัน และคลายชิ้นงานตางๆ
ภาพที่ 1.45 ปากกาจับโลหะ 2) ปากกาจับไม มีอยูหลากหลายแบบแตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับลักษณะของการใชงาน เชน - ปากกาหัวโตะ เปนปากกาที่ยึดแนน อยูกับด านขางหัวโต ะใชงาน ใชสําหรับจับไมในการตั ด การไส การเจาะรู เปนตน
ภาพที่ 1.46 ปากกาหัวโตะ 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- ซีแคลมป (C-clamp) เปนเครื่องมือรูปตัว C ทําดวยเหล็กหลอ ใชสําหรับจับงานโลหะ เพื่อการเชื่อม จับงานไมสําหรับการอัดไมแผนติดกัน มีขนาดความโตเปนนิ้ว
ภาพที่ 1.47 ซีแคลมป 1.10.1 การบํารุงรักษาปากกาจับชิ้นงาน 1) เลือกใชปากกาจับชิ้นงานใหเหมาะสมกับงาน 2) ทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และทาน้ํามันปองกันสนิม 3) หามนําไปใชเพื่อวัตถุประสงคอื่น เชนทุบเหล็กหรือตะปู 1.11 ดอกสวาน เปนอุปกรณที่ใชงานคูกับสวาน ทําหนาที่ในการกัดเจาะเนื้อวัสดุตาง ๆ โดยไมทําใหพื้นผิวของวั สดุ โดยรอบนั้นมีความเสียหาย และเกิดการแตกราวของชิ้นงาน ซึ่งดอกสวานนั้นมีหลายขนาดและหลายชนิด ซึ่งจะถูก ใชงานที่แตกตางกันออกไป ดังนี้ 1) ดอกสว า นเจาะเหล็ ก ลั ก ษณะของดอกสว า นเปน เกลี ย วตัด ตลอดดอก ปลายดอกแหลมเป น พิเ ศษ ใชสําหรับจิกชิ้นงาน ดังนั้น ดอกสวานชนิดนี้ จึงสามารถนํามาใชเจาะชิ้นงานที่เปนไมหรือโลหะทั่วไป รวมถึง พลาสติกไดอีกดวย แตหากจะใชดอกสวานเจาะเหล็กที่มีความหนามาก ๆ ควรเลือกดอกสวานแบบไฮสปด (High Speed Steel) ซึ่งผานการชุบแข็งที่ปลายดอกสวาน โดยทํางานไดอยางรวดเร็ว และมีอายุการใชงาน ยาวนานยิ่งขึ้น
ภาพที่ 1.48 ดอกสวานเจาะคอนกรีต 2) ดอกสวานเจาะปูนหรือคอนกรีต ลักษณะของดอกสวานเปนเกลียวบิด สวนปลายดอกเปนเหล็กชุบแข็งพิเศษ เพื่อชวยรองรับแรงกระแทกจากการใชงาน เหมาะสําหรับการเจาะปูน ซีเมนตบล็อก หรืออิฐมอญ ฯลฯ 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.49 ดอกสวานเจาะเหล็ก 1.11.1 การบํารุงรักษาดอกสวาน 1) เลือกใชดอกสวานใหเหมาะสมกับชิ้นงาน 2) ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน 3) เก็บรักษาในที่แหง และชโลมน้ํามันปองกันสนิม 1.12 สว า น เป น เครื่ อ งมื อ ในการใช เ จาะ โดยทั่ ว ไปจะใช ง านคู กั บ ดอกสว า น ซึ่ ง มี ส ามารถเลื อ กใช ไ ด ห ลายแบบ ตามลักษณะงาน สวนประกอบของสวานจะประกอบดวย หัวจับดอกสวาน จําปา และตัวสวาน โดยลักษณะการเจาะ ดวยสวานเปนการใชดอกสวานหมุนพรอมกับการออกแรง เพื่อเจาะลงบนวัสดุตาง ๆ โดยทั่วไปสวานสามารถแบ ง ประเภทได ดังนี้ 1) สวานมือ เปนสวานที่ใชแรงมือ เหมาะกับงานที่ไมใหญมาก ซึ่งมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ เชน สวานคันธนู สวานแบบกด สวานขอเสือ สวานมือ สวานมือแบบแนบอก เปนตน
ภาพที่ 1.50 สว า นแบบกด 2) สวานไฟฟา เปนสวานที่ใชพลังงานจากไฟฟาในการหมุน ซึ่งมีอยูดวยกันหลายรูปแบบ เชน สวานแบบมือถือ สวา นกระแทก สวา นโรตารี่ สวา นไรส าย สวา นแทน เปน ตน โดยสวา นแตล ะประเภทนั้น จะถูกใช งานที่แตกตางกันออกไป
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.51 สวานไฟฟา 1.12.1 การบํารุงรักษาสวานไฟฟา 1) หลังใชงาน ควรใชผาเช็ดทําความสะอาดในสวนที่เปนซอก ซึ่งอาจมีเศษผงจากการทํางาน เขามาติดในกลไก และอาจทําใหมอเตอรเสียหาย 2) ตรวจสอบสายไฟวาอยูในสภาพพรอมใชงาน 3) กอนใชงานตรวจสอบดอกสวานวาติดแนนอยูกับสวานหรือไม และควรถอดดอกสวานออกหลังใชงาน 4) ทาน้ํามันปองกันสนิมบนสวนประกอบที่เปนเหล็ก และเก็บรักษาในที่แหง 5) ใชผาเช็ดใหสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และเก็บรักษาในที่สะอาดและแหง 1.13 กาน้ํ า มั น เครื่ อ ง (Oil can) มี ลั ก ษณะรู ป ทรงกระบอกทํ า จากโลหะหรื อ พลาสติ ก มี น้ํ า หนั ก เบา ใช บ รรจุ น้ํ ามั น หล อลื่ น เพื่ อช ว ยให การใช งานน้ํ า มัน หลอลื่นในบริเวณที่แคบ สว นของปลายจะเปน ทอยื่น ออกมาจาก กระบอกเพื่อใชในบริเวณที่แคบ โดยกาหยอดน้ํามันนั้นมีลักษณะดังภาพ
ภาพที่ 1.52 กาหยอดน้ํามัน 1.13.1 การบํารุงรักษากาน้ํามันเครื่อง เก็บรักษากาน้ํามันเครื่องในที่ปลอดภัย ไมควรวางใกลวัตถุที่อาจกอใหเกิดประกายไฟ 1.14 ปมลม มีหนาที่ในการกําเนิดลมเพื่อใชงานในสวนตางๆ เชน การใชงานปนลม หรือประแจลม หรืออุปกรณตางๆ ที่ตองการใชลมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการใชอุปกรณตาง ๆ ปมลมนั้นมีสวนประกอบหลัก ๆ 3 สวนดวยกัน คือ 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
หัว ปมลม มอเตอรไฟฟา และถังเก็บ ลม โดยวิธีการทํางานคือ หัว ปมลมทําการอัดลมเก็บ ไวภ ายในถังเก็บลม โดยมี ม อเตอร เ ป น ตั ว ต น กํ า ลั ง ซึ่ ง ขนาดของส ว นประกอบต า ง ๆ จะต อ งเหมาะสมกั น เพื่ อ การทํ า งานที่ มี ประสิทธิภาพสูงสุดของระบบ
ภาพที่ 1.53 ปมลมหรือเครื่องอัดอากาศ การใชงานลมอัด ทอลมจะตองเปนทอเหล็ก จึงจะแข็งแรงทนทานตอความดันสูง การเดินทอลมตองมีการตอ ลาดเอียงเล็กนอย เพื่อใหน้ําที่เกิดภายในทอไหลลงต่ําและออกทางกอกระบายน้ําทอลม การเปาชิ้นงานทําความสะอาด การใชลมอัดเปาชิ้นงานนั้นไมควรใชลมเปาเสื้อผาของตนเอง หรือบุคคลอื่น เนื่องจาก แรงของลมอาจสามารถทําใหผิวหนั งอักเสบได หรืออาจสามารถนําพาสิ่งสกปรกเขาสูรางกายได 1.14.1 การบํารุงรักษาปมลม สามารถแบงตามความถี่ในการตรวจสอบไดดังนี้ 1) การตรวจสอบประจําวัน - ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่น - ตรวจสอบความดันน้ํามันหลอลื่น - ตรวจสอบการควบคุมระบบการทํางาน - ตรวจสอบการทํางานของเครื่องดักไอกลั่นตัวแบบอัตโนมัติ (Automatic Condensate trap) ของอินเตอรคูลเลอร (Intercooler) และอาฟเตอรคูลเลอร (Aftercooler) - ตรวจสอบความดันภายในอินเตอรคูลเลอร (Intercooler) 2) การตรวจสอบทุก 1 เดือน หรือ 360 ชั่วโมง - ตรวจสอบการรั่วที่แพคกิ้ง (Packing) ของกานสูบ - ตรวจสอบการรั่วของน้ํามันหลอลื่นของแหวนกวาดน้ํามัน (Oil scraper ring) - ตรวจสอบกรองอากาศทางดานขาเขา 49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- ระบายสิ่งสกปรกที่กรองน้ํามันหลอลื่น - ตรวจสอบการหลอลื่นของวาลวที่ไมมีภาระ - ตรวจสอบระบบความปลอดภัย 3) การตรวจสอบทุก 6 เดือน หรือ 3000 ชั่วโมง - การตรวจสอบสภาพวาลว - ตรวจสอบปลอก (liner) ของลูกสูบ - เปลี่ยนน้ํามันหลอลื่นของหองขอเหวี่ยง - ตรวจสอบสภาพหองขอเหวี่ยง หลังจากถายน้ํามันหลอลื่นออก - เปลี่ยนกรองน้ํามันหลอลื่น - เปลี่ยนกรองอากาศสําหรับระบบควบคุมและที่กรองของระบบควบคุม 4) การตรวจสอบทุก 1 ป หรือ 6,000 ชั่วโมง - ตรวจสอบแหวนลูกสูบ - เปลี่ยนที่กรองน้ํามันของหองขอเหวี่ยง - ขันโบลตยึดฐานใหแนน - ตรวจสอบนัทยึดกานสูบ - ตรวจสอบระบบน้ําหลอเย็น 1.15 หินเจียระไน หรือ เครื่องเจียระไนลับคมตัด เปนเครื่องมือกลพื้นฐานชนิดหนึ่งที่มีประโยชนมาก สามารถทํางาน ไดอยางกวางขวาง เชน ใชสําหรับ ลับ คมตัด ตาง ๆ ของเครื่องมือตัด ซึ่งไดแก มีด กลึง มีดไส ดอกสวาน และ ยังสามารถเจียระไนตกแตงชิ้นงานตาง ๆ ไดโดยคํานึงถึงเรื่องความปลอดภัย หินเจียระไนโดยทั่วไปมี 2 ชนิด ดังนี้
ภาพที่ 1.54 หินเจียระไน 1) เครื่องเจียระไนแบบตั้งโตะ (Bench Grinding) เครื่องเจียระไนชนิดนี้จะยึดติดอยูกับโตะ เพื่อเพิ่มความสูง และความสะดวกในการใชงาน 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2) เครื่องเจียระไนแบบตั้งพื้น (Floor Grinding) เปนเครื่องเจียระไนลับคมตัดที่มีขนาดใหญกวาแบบตั้งโตะ มี สวนที่เปนฐานเครื่องเพื่อใชยึดติดกับพื้นทําใหเครื่องเจียระไนมีความมั่นคงแข็งแรงกวาเครื่องเจียระไนแบบ ตั้งโตะ 1.15.1 วิธีการใชงานหินเจียระไน 1) ศึกษาหลักการใช วิธีการ และเตรียมเครื่องมือใหพรอมกอนปฏิบัติงาน 2) ตรวจสอบความพรอมและความเรียบรอยของเครื่องเจียระไนลับคมตัด 3) เปดสวิตชการทํางานของเครื่อง 4) ลับมีดตัดหรือชิ้นงานอยางถูกวิธี 5) เมื่อใชงานเสร็จปดสวิตชและทําความสะอาดใหเรียบรอย 1.15.2 การบํารุงรักษาหินเจียระไน เพื่อใหอายุการใชงานไดยาวนาน มีวิธีการดูแลและบํารุงรักษา ดังนี้ 1) ตรวจสอบความเรียบรอยของเครื่องใหพรอมใชงานเสมอ 2) กรณีลอหินเจียระไนมีรอยราว หรือไมมีคมใหปรับแตงหนาหินใหม 3) ตรวจสอบระยะหางของแทนรองรับงานเปนประจํา 4) หลังเลิกใชงาน ควรปดสวิตชและทําความสะอาดทุกครั้ง 1.16 แมแรง เครื่องมือยกรถ (Carlift หรือ Hoist) แมแรง คือ เครื่องมือแบบหนึ่งที่มีหนาที่ในการเพิ่มเเรงในการยกรถยนต เพื่อทําการซอมแซมบํารุงสวนตาง ๆ ของรถยนต ไมวาจะเปนลอรถยนต ชวงลางของรถยนต หรือใชในการตรวจตัวถังของรถยนต เปนวัสดุอุปกรณที่ชวยทุนแรงในการทํางาน เกี่ยวกับชวงลางของรถยนต เพื่อใหการทํางานรวดเร็วขึ้น ตามปกติตัวถังและโครงรถยนต จะตองทําการซอมแซมเนื่องดวย อุบัติเหตุ ทําใหโครงตัวถังรถเกิดการโคงงอ บิดตัว แตกหัก หรือฉีกขาด ซึ่งจะตองทําการซอมบริเวณสวนที่โคงงอ บิดตัว ใหตรงเหมือนเดิม โดยใชวัสดุอุปกรณที่ใหกําลัง (Power Tool) สําหรับดึงและดัน ซึ่งแลวแตลักษณะของงานที่จะซอมนั้น ๆ แมแรงแบงออกเปน 2 ชนิดหลัก ๆ ดวยกัน 1) แมแ รงชนิด ไฮดรอลิก มีขอ ดี คือ ชว ยใหเ บาแรง และสามารถยกน้ํา หนัก ไดม าก แมจ ะมีข นาดตัว ไมใหญ แตมีขอบกพรอง คือ บริเวณโอริงของระบบไฮดรอลิกอาจจะรั่วได หากใชยกน้ําหนักที่มากเกิน กวาความสามารถของแมแรง หรือเมื่อถูกนําไปเก็บไวในลักษณะที่น้ํามันไฮดรอลิกไหลรั่วออกมาไดงาย และมีขอจํากัดหากอยากยกระดับใหสูงมากขึ้น จะตองใชแมแรงไฮดรอลิกที่มีขนาดใหญกวาแมแรงชนิดอื่น
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.55 แมแรงชนิดไฮดรอลิก 2) แมแรงกลไก แมแรงชนิดนี้มีขอดี คือ ความแข็งแรงสามารถพกพาไดงาย พรอมทั้งดูแลรักษางาย แคเพียงหลอลื่น กลไกเท านั้ นก็ ใช งานได สะดวก สามารถยกระดั บของตั วรถได สู งตามที่ ความยาวของแกนถู กสร างเอาไว แตมีจุด บกพรอง คือ เมื่อใชงานตองออกแรงมากสําหรับการยกน้ําหนัก และสว นมากแมแรงแบบกลไก จะมีขาเดียวทําใหไมคอยแข็งแรงเกิดอันตรายงายเมื่อใชงานยกน้ําหนัก
ภาพที่ 1.56 แมแรงกลไก 1.16.1 วิธีการใชงานแมแรง วิธีการขึ้นแมแรงที่ปลอดภัย คือ หากคุณตองขึ้นแมแรงที่ลอรถหนาดานซาย ใหเขาเกียรเดินหนาหรือ เกียรหนึ่งเอาไวพรอมทั้งดึงเบรกมือดวย และใหเอาไมหนาสาม หรือหนากวางกวานั้นไปหนุนรองที่หลังของลอหลัง ดานขวา เปน การปองกัน รถไหลเมื่อแมแรงยกหนารถลอยขึ้น เชน เดีย วกันเมื่อตองการขึ้น แมแรงที่ลอหลัง ดานขวา ใหเขาเกียรถอยหลังและดึงเบรกมือเอาไว พรอมทั้งเอาหมอนไมไปหนุนที่ขางหนาของลอหนาดานซาย 1.16.2 ขอควรระวังขณะใชแมแรง สิ่งควรระวังก็คือ อุปกรณที่นํามาหนุนที่ลอปองกันรถไหล หรือนํามารองดานใตพื้นของแมแรง เพื่อปองกัน การทรุดตัวของแมแรงนั้น ไมควรเปนอุปกรณที่แข็งแตออน แตกหักงาย เชน อิฐบล็อก อิฐแดง หรือหินปูน เปนตน การใชแมแรงยกรถนั้นจะวางายก็งาย แตหากจะใชใหไดผล และมีความปลอดภัยสูง ก็ตองศึกษาเพิ่มเติมหรื อ หาวิธีการใชใหเหมาะสมปลอดภัยที่สุด
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.17 ลิฟตยกรถ ลิฟตยกรถ คืออุปกรณที่คิดคนมาเพื่อทุนแรงในการซอมชวงลางรถยนต ซึ่งอํานวยความสะดวกใหกับชางซอมบํารุง ไดมากกวาแมแรง จึงเปนที่นิยมมากในปจจุบัน ลิฟตยกรถมีอยูดวยกันหลายชนิด เชน ลิฟตยกรถแบบ 2 เสา ที่มีทั้ง แบบคานบนและแบบคานลาง ลิฟตยกรถแบบกรรไกรลิฟตสําหรับซอมชวงลาง มีขอดีที่โครงสรางแข็งแรง แตมีราคาสูง กวาลิฟตแบบ 2 เสา นอกจากนี้ ยังมีลิฟตกรรไกรตั้งศูนย ซึ่งใชสําหรับงานตั้งศูนยลอโดยเฉพาะ
ภาพที่ 1.57 ลิฟตยกรถแบบ 2 เสา 1.17.1 ขอควรระวังในการใชลิฟตยกรถ ควรระวังไมใหมีคนหรือสิ่งกีดขวาง อยูใกลกับใตทองรถหรือบริเวณใกลเคียง เมื่อตองการจะนํารถลง จากลิฟต นอกจากนี้ ขณะที่รถถูกยกขึ้นดานบน พึงระวังรถตกจากลิฟตยกรถ ซึ่งสามารถปองกันไดดวยการจอดรถ เขากับลิฟตยกรถใหถูกตําแหนง 1.18 แทนอัดไฮดรอลิก แทนอัดไฮดรอลิก เปนเครื่องมืออัดไฮดรอลิกชนิดหนึ่ง หรือจะเรียกวา เครื่องจักรกลไฮดรอลิก เปนเครื่องทุนแรงชนิดหนึ่ง ลักษณะการใชงานจะใชแรงกด แรงอัด เพื่ออัดเขาหรือดันออก ชิ้นสวนตาง ๆ เชน ลูกปน บุช สลัก ปลอก หรือจะใชบีบใหแบน ดันใหโคง ขึ้นอยูกับการนําไปประยุกตใชงาน
ภาพที่ 1.58 แทนอัดไฮดรอลิก 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
แทนอัดไฮดรอลิก ถือเปนการนําอุปกรณไฮดรอลิกมาใชแบบพื้นฐานงาย ๆ ไมมีอะไรซับซอน แคการกด การอัด อาศัยการออกแบบกระบอกอัดไฮดรอลิก มีชุดซีล มีน้ํามันไฮดรอลิก ปมอัดน้ํามันไฮดรอลิก เปนหลักการใชแรงดันน้ํามัน ดันกระบอกไฮดรอลิก ไมไดใชหลักการออกแบบ หรือการควบคุมจังหวะการทํางานอะไรที่ซับซอนมาควบคุม อาจจะมี ระบบไฟฟาเขามาเกี่ยวของดวยสําหรับแทนอัดไฮดรอลิกขนาดกําลังอัดมาก ๆ เปน 100 ตันขึ้นไป การใชแทนอัดไฮดรอลิกเปนเครื่องทุนแรงในการใชแรงคน ตี ทุบ กระแทก นอกจากทุนแรงแลวยัง สะดวก รวดเร็ว ลดการเสียหายของชิ้นงานจากการตีหรือการกระแทก ซึ่งในปจจุบันใชกันแพรหลายมากขึ้น งานที่เกี่ยวกับเครื่องยนต เครื่องกล เครื่องจักร หรืองานอุตสาหกรรม มีใชกันทุกที ใชขนาดเล็กใหญแตกตางกันไปตามการใชงาน 1.17.1 การบํารุงรักษาแทนอัดไฮดรอลิก 1) ไมควรใชแรงเกินกวาที่กําหนด โดยขณะใชงาน ควรสังเกตดูที่เกจวัดความดันเสมอ 2) ควรตรวจสอบสภาพแทนอัดไฮดรอลิก และตรวจสอบรอยรั่วของน้ํามัน 3) หมั่นลางทําความสะอาดระบบดวยน้ํามันไฮดรอลิก เพราะหลังจากมีการถอดซอมบํารุง อาจมีสี เศษโลหะ หรือเศษฝุนติดคางอยูในระบบ 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว (Screw Extractor) เครื่องมือถอดสลักเกลีย ว คือ เครื่องมือที่ใชในการถอนสกรูที่มีการติดแนน ภายในรู (Socket) ที่หัว สกรูชํารุดหรือ เกิดความเสียหายออก เชน เกิดสนิม หรือ หัวสกรูหัก เปนตน
ภาพที่ 1.59 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 2.1 วิธีการใชงาน การใชงานเครื่องมือถอดสลักเกลียว ใหตอกเครื่องมือถอดสลักเกลียวที่ขนาดเทากับรู จากนั้นใชประแจคลายออก ซึ่งระหวางการทํางานควรหยอดน้ํามันหลอลื่นเพื่อลดการเสียดสี ในกรณีที่สกรูหักคารูนั้น ใหใชสวานเจาะนํา จากนั้น ตอกเครื่องมือถอดสลักเกลียวเขาไปในรู แลวจึงใชประแจคลายออกเหมือนดังกรณีแรก 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2.2 การบํารุงรักษาเครื่องมือถอดสลักเกลียว 1) หมั่นตรวจสอบสภาพของเครื่องมือถอดสลักเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น 2) หลอลื่นดวยน้ํามันเครื่องหรือน้ํามันอเนกประสงคเสมอเมื่อถอดสลักเกลียว เพื่อรักษาสภาพของเครื่องมือ 3) หลังใชงาน ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิม 4) เก็บเครื่องมือถอดสลักเกลียวใหถูกตอง 3. ไขควงตอก (Shock Screwdriver) ไขควงตอก เปนไขควงที่นําไปใชงาน โดยนําสวนของดอกไขควงประกอบกับดามจับและใชคอนตอกลงบนดามจับ ซึ่งจะ ทําใหสวนของไขควงหมุน เพื่อใชคลายสกรูที่มีการยึดแนนออกไดงาย 3.1 วิธีการใชงานไขควงตอก 1) ใชปลายของไขควงตอกแตะไปยังหัวของสกรูที่ตองการจะนําออก 2) จากนั้นใหหมุนดามของไขควงตอกไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา 3) เมื่อหมุนไปจนสุดแลว ใหจับดามของไขควงตอกใหมั่นคง ใชคอนตีเหล็กตีไปบริเวณสวนหัวของไขควงตอก 3.2 การบํารุงรักษาไขควงตอก - เช็ดทําความสะอาดทุกครั้งหลังใชงาน และทาน้ํามันปองกันสนิม กอนเก็บใสกลองใหเรียบรอย
ภาพที่ 1.60 ไขควงตอก
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.61 วิธีใชงานไขควงตอก
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ
โจทย
ขอ
คําตอบ
ก
ประแจปากตาย
ข
ประแจเลื่อน
ค
ประแจแหวน
ง
ประแจจับทอ
จ
ประแจถอดสตัด
ฉ
ประแจแอล
ช
ประแจกระบอก
ซ
ประแจรวม
4
ฌ
ประแจลม
ญ
ประแจวัดแรงบิด
5
ฎ
ประแจถอดหัวเทียน
1 2
3
6 7
8
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 9. คีมเลื่อนถูกออกแบบมาพิเศษใหใชงานเฉพาะ ปลายดามมีสกูลปรับ 10. ไมควรใชอุปกรณที่แตกหักงาย เชน อิฐบล็อก อิฐแดง หรือหินปูน มาใชหนุนที่ลอ ปองกันรถไหล หรือนํามารองดานใตพื้นของแมแรง เพื่อปองกันการทรุดตัว 11. ประแจที่มีปากสัมผัสกับหัวนอตหรือโบลตสองดาน เหมาะสําหรับขันนอตหรือ โบลตที่อยูในพื้นที่แคบ คือ ประแจกระบอก 12. ประโยชนของขอตอออน คือ สามารถใชขันนอตหรือโบลตที่อยูในแนวต าง ระดับซึ่งไมเปนเสนตรงได 13. คีมตัดขาง/คีมปากจิ้งจก เหมาะกับการใชงานตัดและจับชิ้นงาน เชน ใชตัดลวด เหล็กสปริง 14. การตรวจสอบปมลมประจําวัน ควรตรวจสอบความดันภายในอินเตอรคูลเลอร (Intercooler) ดวย 15. การใชประแจไมวาจะเปนการขันเขาใหแนน หรือคลายออกตองใชวิธีดึงออก จากตัวเสมอ 16. สกัด คือ เครื ่อ งมือ ซอ มแซมที่ใชงานรว มกับ คอน ใชสําหรับ ตัดเศษโลหะ สวนเกินบนผิวโลหะ ตัดนอต หรือตัดสกัดเกลียวที่ไมสามารถถอดได 17. คี มตั ด คื อ มี ลั กษณะโคงมนและสามารถขยายออกหรื อปรั บลดให แคบลงได เหมาะกับการใชงานที่เกี่ยวกับเครื่องกลและงานเครื่องยนต 18. การบํารุงรักษาประแจลม ควรหยอดน้ํามันหลอลื่น 2-3 หยด ที่จุดเติมน้ํามัน ทายดามจับทุกครั้งกอนใชงาน เพราะน้ํามันจะชวยใหประแจลมทํางานไดอยางมี ประสิทธิภาพ และไมสงเสียงดัง
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
ซ
ฌ
1 2 3 4 5 6 7 8 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ญ
ฎ
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ปฏิบัติงานใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 45 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกยกรถดวยแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การใชแมแรงตะเฆและลิฟตยกรถ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตนั่งสวนบุคคล
จํานวน 1 คัน
2. แมแรงตะเฆ
จํานวน 1 ตัว
3. หมอนรองลอรถกันลื่นไถล
จํานวน 4 อัน
4. ลิฟตยกรถ 2 เสา
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 การใชแมแรงตะเฆ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตรวจสภาพของแมแรงตะเฆ
คําอธิบาย โดยจะตอ งไมมีค ราบน้ํา มัน ไฮดรอลิก รั่ว ไหล และล อ ของแมแ รงต อ งไม มี รอยฉีกขาด
2. ปดวาลวระบบไฮดรอลิก
โดยหมุนตามนาฬิกา
3. ทดลองเหยียบแทงโยกของแมแรง
เหยีย บแทง โยก แลว ดูว า จานของแม แรงลดระดั บลงหรื อไม หากจานไม ลด ระดับลง ใหเปดวาลวระบบไฮดรอลิก โดยหมุนทวนนาฬิกา
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ปดวาลวระบบไฮดรอลิกอีกครั้ง
คําอธิบาย โดยหมุนตามนาฬิกา
ขอควรระวัง ตองปดวาลวระบบ ไฮดรอลิกใหสนิท เพื่อปองกันแมแรง ลดระดับลงกะทันหัน ขณะปฏิบัติงาน
5. ทดลองโยกคันโยกของแมแรง
โยกคันโยกแลวดูวาจานของแมแรงลด ระดับ ลงหรือ ไม หากจานไมล ดระดับ ลง ใหเปดวาลวระบบไฮดรอลิก โดยหมุนทวนนาฬิกา
6. ฝกใชแมแรงยกรถ
โดยทดลองยกลอหนา ลอใดลอหนึ่งของรถ
7. จอดรถ
โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง
8. ดับเครื่องยนตและเขาเกียร
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ให เขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ ปองกันรถไหล 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
9. รองลอรถ
นําหมอนรองลอรถไปรองลอหลัง
10. สอดแมแรงตะเฆเขาที่บริเวณชายขอบของรถ
โดยใหจานของแมแรง รองรับที่ตําแหนง ถ า วางจานของแม ขึ้นแมแรงยกรถ ซึ่งอยูบริเวณชายขอบ แรงไม ถู ก ตํ า แหน ง ด า น ห น า แ ล ะ ด า น ห ลั ง ข อ ง ร ถ มี อาจทํ า ให ตั ว ถั ง รถ สัญลักษณรอยบากเปนจุดสังเกต
ไดรับความเสียหายได ตําแหนงสําหรับขึ้น แมแรงของรถยนต แตละรุนอาจแตกตาง กั น ควรตรวจสอบ จากคูมือซอมประจํา รถยนต
11. ปดวาลวระบบไฮดรอลิก
โดยหมุนตามนาฬิกา
ตองปดวาลวระบบ ไฮดรอลิกใหสนิท เพื่อปองกันแมแรง ลดระดับลงกะทันหัน ขณะปฏิบัติงาน
12. เหยียบแทงโยกของแมแรง
จนกระทั ่ ง จานของแม แ รงแตะถึ ง หามมุดเขาใตทองรถ ชายขอบรถ
เพื่อปองกันอันตราย ในกรณีที่แมแรงไม สามารถรองรับ น้ําหนักของรถได และ หามติด เครื่ องยนต
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
13. ใชมือโยกที่คันโยกของแมแรง
เพื่อชวยเพิ่มแรงในการยกรถ
ขอควรระวัง ขณะที่รถถูกยกอยู บนแมแรง
14. เปดวาลวระบบไฮดรอลิก
เพื่ อลดระดั บของแม แรงลง และนํ าแม กรณีใชงานจริง หาม แรงออกจากตัวรถ
ปฏิบัติงานขณะที่รถ ถูกยกอยูบนแมแรง ตองรองรถดวยใชขาตั้ง รองรับรถ
15. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2.2 การใชลิฟตยกรถ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ตรวจสอบสภาพของลิฟตยกรถ
ลิฟตยกรถตองอยูในสภาพพรอมใชงาน
2. เตรียมลิฟตยกรถ
ปรั บ ระดับ คานของลิ ฟต ให ใ นระดั บ ต่ํ า
ขอควรระวัง
ที่ สุ ด และเลื่ อ นแขนของลิ ฟ ต อ อกให ขนานกับเสา
3. จอดรถ
จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ
4. เลื่อนแขนของจานรองรับรถ
โดยระยะหางระหวางเสาทั้งสองขางตอง เทากัน จากนั้น ผูขับออกจากรถ เลื่ อ นแขนของจานรองรั บ รถให อ ยู ใ น หามนําจานไปรองรับ ตําแหนงเดียวกับแมแรง โดยจานรองรับ บริเวณพื้นรถ หรือ จะอยูที่ตําแหนงขึ้นแมแรง ซึ่งอยูบริเวณ บริเวณที่ไมใชจุด ชายขอบดานหนาและดานหลังของรถ มี รองรับ เพราะจะทํา สัญลักษณรอยบากเปนจุดสังเกต
66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ใหตัวถังชํารุด
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
5. ยกรถขึ้น
กดสวิตชยกรถขึ้นในตําแหนงที่ตองการ
6. นํารถลง
กดสวิตชนํารถลงสูระดับพื้นราบปกติ
7. เลื่อนแขนของจานรองรับรถ
ขอควรระวัง
ระวังอยาใหมีคนหรือ สิ่งกีดขวางใตทองรถ หรือบริเวณใกลเคียง ขณะนํารถลง
เลื่อนแขนของจานรองรับรถออก โดยให แขนของคานอยูในตําแหนงขนานกับเสา
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
8. นํารถออก
ผู ขั บ ขึ้ น รถ และขั บ รถออกจากลิ ฟ ต
9. เก็บแขนของลิฟตยกรถ
ยกรถ พับแขนของลิฟตยกรถเก็บใหเรียบรอย
10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ อ ย า ง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ถูกตองและครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติงานได ถู กต อ ง เปน ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การเปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกของ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
แมแรงตะเฆยกรถ 5
การขึ้นแมแรงตะเฆ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การใชลิฟตยกรถ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน
9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ไ ม ค รบถ ว นและไม ถู ก ต อ ง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การเปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกของแมแรงตะเฆยกรถ
เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิถูกตองครบทุกขั้นตอน
5
ใหคะแนน 5 คะแนน เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปด – ปดวาลวระบบไฮดรอลิกไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การขึ้นแมแรงตะเฆ
ขึ้ น แม แ รงตะเฆ ไ ด ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน และขึ้ น แม แ รงที่ ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
ขึ้นแมแรงตะเฆไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตขึ้นแม แรงที่ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ขึ้นแมแรงตะเฆไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน และขึ้นแมแรงที่ตําแหนงรองรับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 6
การใชลิฟตยกรถ
ใชลิฟตยกรถไดถูกตองตามขั้นตอน และวางจานรองรับใน ตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ใชลิฟตยกรถไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน แตวางจาน รองรับในตําแหนงรองรับไดถูกตอง ใหคะแนน 3 คะแนน ใช ลิ ฟ ต ย กรถไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอนมากกว า 1 ขั้ น ตอน และวางจานรองรับในตําแหนงรองรับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
33
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การบํารุงรักษาปมลม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปได 2. ปฏิบัติงานบํารุงรักษาปมลมได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง 45 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการบํารุงรักษาปมลม ตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน ผลการตรวจสอบ รายการตรวจสอบ
สามารถใชงานไดปกติ
1. ระดับน้ํามันหลอลื่นของปมลม 2. ความตึงของสายพาน และความแนนของ นอตยึดตาง ๆ 3. ตรวจสอบการระบายลมเซฟตี้วาลว (Safety Valve) 4. การรั่วซึมตามจุดตาง ๆ
73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
สภาพตองปรับปรุง (พรอมระบุสาเหตุ)
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัตงิ านที่ 1.2 การบํารุงรักษาปมลม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ปมลมแบบลูกสูบ
จํานวน 1 ตัว
2. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
3. กรวยพลาสติก
จํานวน 1 อัน
4. ถาดรอง
จํานวน 1 ใบ
5. ปนเปาลม
จํานวน 1 ตัว
6. ไมบรรทัด
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. น้ํายาลางทําความสะอาด
จํานวน 1 ขวด
3. น้ํามันหลอลื่นปมแบบลูกสูบ
จํานวน 1 ลิตร
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การบํารุงรักษาปมลม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
1. จัดเตรียมปมลม
จัดเตรียมปมลมสําหรับฝก โดยตอง
พึงระวังเรื่องระบบ
2. ตัดระบบไฟฟา
วางอยูบนพื้นที่ราบ
ไฟฟากอนเริ่ม ปฏิบัติงาน และ ไมควรนําวัตถุไวไฟ เขามาในบริเวณ สถานที่ปฏิบัติงาน
ตัดระบบไฟฟาที่ตอเขากับปมลม เพื่อ ความปลอดภัย 3. ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่นของปมลม
ตรวจสอบระดับน้ํามันหลอลื่นของ ปมลม หากอยูในระดับต่ํากวากําหนด (อยู ร ะหว าง1/2 ของช องใส) ใหเติม ดวยน้ํามันหลอลื่นปมลม
75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ตรวจสอบสายพานและนอตยึด
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ตรวจปรั บ ตั้ ง ความตึ ง ของสายพาน ตามระยะอางอิงที่คูมือประจํารถยนต กํานหนด และความแนนของนอตยึด ตาง ๆ เชน ฐานมอเตอร ฐานตัวเรือน เครื่องปมลม เปนตน
5. ทําความสะอาดไสกรองอากาศ
ทํ า ความสะอาดไส ก รองอากาศด ว ย ระวังฝุนปลิวเขาตา การใชลมเปาจากภายในออก สูภายนอก
6. ปลอยน้ําจากถังลม
ปล อ ยน้ํ า จากถั ง ลมและระบบท อ กอนระบายน้ํ า ออก ทางออกทิ้ง
จากถังเก็บ ลม ตอ ง ระบายลมออกจาก ถังเก็บลมกอน ทุกครั้ง
76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. ตรวจสอบการระบายลมที่เซฟตี้วาลว (Safety Valve)
คําอธิบาย ฟ ง เสี ย งการระบายลมที่ เ ซฟตี้ ว าล ว (Safety Valve) หากไมมีการระบาย ลมออกมา ตองตรวจสอบที่ลิ้นระบาย ลม
8. ตรวจสอบการรั่วซึม
ตรวจสอบการรั่วซึมตามจุดตางๆ เชน ฟงเสียงลมรั่ว น้ํามันหลอลื่นซึม
9. ทําความสะอาดภายนอกของปมลม
ทําความสะอาดคราบน้ํามัน และ สิ่งสกปรกภายนอกดวยน้ํายาทําความ สะอาด
77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ขอควรระวัง
ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน
2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลม
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การตรวจสอบสายพานและนอตยึด
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลม
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ หลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง
หนากากชนิดแผนกรองอากาศ แวนตานิรภัย รองเทานิรภัย
ครบทั้ง 5 ชนิด
และชุดปฏิบัตกิ ารชางอยางถูกตอง ครบถวน กอนเริ่ม ปฏิบัติงาน
ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง
3
ครบ 4 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 3 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลม
ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมไดถูกตอง และครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมถูกตอง แตไมครบถวน ใหคะแนน 3 คะแนน
79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
ทําความสะอาดสวนตาง ๆ ของปมลมไมถกู ตอง และไมครบถวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การตรวจสอบสายพานและนอตยึด
ตรวจสอบสายพานและนอตยึดไดครบถวน และถูกตองตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ตรวจสอบสายพานและนอตยึ ด ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสายพานและนอตยึดไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
การตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลม
ตรวจสอบรอยรั่วซึมของปมลมไดอยางถูกตอง ครบถวนทุกจุด
5
ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ซึมของปมไมครบ 1 จุด ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบรอยรัว่ ซึมของปมไมครบมากกวา 1 จุด ใหคะแนน 0 คะแนน 7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน
80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
9
รายการตรวจสอบ
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
33
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921020202 เครื่องมือวัดทางชางยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการใช และการบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได
2. หัวขอสําคัญ 1. การใชและบํารุงรักษาฟุตเหล็ก ฟลเลอรเกจ ฉากเหล็ก บรรทัดวัดมุม 2. การใชและบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร (วัดนอก วัดใน และวัดลึก) 3. ประแจวัดแรงบิด
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) บรรทัดเหล็ก ขนาด 1 ฟุต 2) เวอรเนียรคาลิปเปอร ความละเอียด 1 ตอ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยบรรทัดเหล็ก 2) ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 3) น้ํามันกันสนิม 4) ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 5 ชิ้น จํานวน 1 ชิ้น จํานวน 1 ขวด จํานวน 2 ผืน
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ฟสิกสราชมงคล. ฟลเลอรเกจ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/ instrument/ ฟสิกสราชมงคล. เวอรเนียร. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.atom.rmutphysics.com/charud/ instrument/ ประแจวัดแรงบิด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet7/ht8.htm
84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 73-117 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก เครื่องมือวัด ชนิดตาง ๆ 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับเครื่องมือวัดทางชางยนต
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง เครื่องมือวั ด 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ทางชางยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 73-117
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง เครื่องมือวัดทางชางยนต หนาที่ 73-117 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 76-94 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 การใช และบํ ารุ งรั กษาฟุ ตเหล็ ก ฟลเลอร เกจ ฉากเหล็ก บรรทัดวัดมุม 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 การใชและบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร (วัดนอก วัดใน และวัดลึก) 2.3 ประแจวัดแรงบิด 3. กํ า หนดชื่ อเครื่ องมื อวั ด ให ผู รั บ การฝก เลื อ ก 3. เลือกหยิบเครื่องมือวัดตามที่ครูฝกกําหนด พรอม หยิบและศึกษาสเกล ศึกษาดูสเกล 4. มอบหมายให ทําใบทดสอบจากคู มือผูรั บการ 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 95-97 โดยครู คอยสั ง เกต ฝก หนาที่ 95-97 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 110 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.1 การวัดขนาด 6. ศึกษาใบงานที่ 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัด ชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก จากคูมือผูรับการฝก เหล็ก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 98-110 ซักถาม หนาที่ 98-110 ขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-02:36. พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 ตรวจสอบสภาพเครื่องมือ อุปกรณ และ ชิ้นงาน 7.2 การใชฟุตเหล็กวัดชิ้นงานรูปแบบตาง ๆ 7.3 การบํารุงรักษาฟุตเหล็ก 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 103 หนาที่ 116 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.2 การวัดขนาด 13. ศึ ก ษาใบงานที่ 2.2 การวั ด ขนาดชิ้ น งานด ว ย ชิ้ น งานด ว ยเวอร เ นี ย ร คาลิ ป เปอร จากคูมือ เวอรเนียรคาลิปเปอร จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ ผูรับการฝก หนาที่ 111-117 111-117 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 02:43-06:55 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 ตรวจสอบสภาพเครื่องมือและชิ้นงาน 14.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอรวัดชิ้นงาน รูปแบบตาง ๆ 14.3 อานคาเวอรเนียรคาลิปเปอร 14.4 บํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 112 หนาที่ 125 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือวัดทาง ชางยนต
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง เครื่องมือวัดทาง รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย ช า งยนต เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน
88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 เครื่องมือวัดทางชางยนต เครื่องมือวัดทางดานชางยนตมีความจําเปนตอการปฏิบัติงานอยางมาก เพราะฉะนั้นเครื่อ งมือวัด ที่ดีจ ะตองเที่ย งตรง และเปนมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเกิดความแมนยําในการวิเคราะหคาความสึกหรอของชิ้นสวนหรืออุปกรณ วาอยูในพิกัดที่ ควรจะซอม หรือควรจะเปลี่ยนชิ้นสวนใหม และเครื่องมือที่ใชวัดตองมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ หนวยการวัด คือ การบอกปริมาตรที่ไดจากการวัดตองมีหนวยการวัด ซึ่งจะใชตามระบบหนวยสากล (System International of Unit) เรียกโดยยอวา หนวย SI Unit เชน กรัม กิโลกรัม มิลลิกรัม เมตร กิโลเมตร วินาที ฯลฯ การเลือกหนวยในการวัดควรใหเหมาะสมกับสิ่งที่ใชวัด เครื่องมือที่ใชในการวัด และการอานคาจากการวัด อาจทําใหคา การวัดคลาดเคลื่อนได คาที่ไดจากการวัดจึงถือเปนคาประมาณที่ใกลเคียงกับความเปนจริง การบอกคาประมาณของปริมาณของสิ่งตาง ๆ โดยไมไดวัดจริง เรียกวา การคาดคะเน หนวยรากฐานของระบบ SI Unit มี 7 หนวยที่ใชวัดปริมาณมูลฐาน (basic quantity) ไดแก เมตร
(Meter : m)
เปนหนวยใชวัดความยาว
กิโลกรัม
(Kilogram : kg)
เปนหนวยใชวัดมวล
วินาที
(Second : s)
เปนหนวยใชวัดเวลา
แอมแปร
(Ampere : A)
เปนหนวยใชวัดกระแสไฟฟา
เซลเซียส
(Celcius : C)
เปนหนวยใชวัดอุณหภูมิ
ฟาเรนไฮต (Farenheit : F)
เปนหนวยใชวัดอุณหภูมิ
เคลวิน
(Kelvin : K)
เปนหนวยใชวัดอุณหภูมิ
แคนเดลา
(Candela : cd)
เปนหนวยใชวัดความเขมของการสองสวาง
โมล
(Mole : mol)
เปนหนวยใชวัดปริมาณของสาร
ถาการวัดนั้นตองการทราบความยาวอยางคราว ๆ สามารถใชวิธีการคาดคะเนได หนวยการวัดความยาวที่นิยมใชในประเทศไทย ไดแก หนวยการวัดความยาวในระบบเมตริก ระบบอังกฤษ และมาตราไทย หนวยการวัดความยาวที่สําคัญที่ควรทราบมีดังนี้ หนวยการวัดความยาวในระบบเมตริก 10
มิลลิเมตร เทากับ
1
เซนติเมตร
100
เซนติเมตร เทากับ
1
เมตร 89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1000
เมตร
เทากับ
1
กิโลเมตร
หนวยการวัดความยาวในระบบอังกฤษ 12
นิ้ว
เทากับ
1
ฟุต
3
ฟุต
เทากับ
1
หลา
1760
หลา
เทากับ
1
ไมล
พื้นที่ใชในการบอกขนาดของเนื้อที่ จะใชหนวยการวัดพื้นที่เปน ตารางหนวยหรือ ตามหนวยการวัดความยาว หนวยการวัดพื้นที่ในระบบเมตริก 1
ตารางเซนติเมตร
เทากับ
100
ตารางมิลลิเมตร
1
ตารางเมตร
เทากับ
10000
ตารางเซนติเมตร
1
ตารางกิโลเมตร
เทากับ
1000000
ตารางเมตร
1. การใชและบํารุงรักษาฟุตเหล็ก ฟลเลอรเกจ ฉากเหล็ก บรรทัดวัดมุม 1.1 บรรทัดเหล็ก (Stainless Steel) หรือ ฟุตเหล็ก เปนเครื่องมือที่ใชในการวัดชนิดหนึ่ง มีขีดมาตราระบบอังกฤษ และระบบเมตริกในการแบงความยาว ดังภาพ
ภาพที่ 2.1 ไมบรรทัดเหล็ก การอานคาทําไดโดยการนําบรรทัดเหล็กทาบลงบนผิวของชิ้นงาน ซึ่งผิวของชิ้นงานนั้นตองเรียบ ไมขรุขระ โดยให จุดเริ่มตนของการวัดอยูที่ “0” หรือตรงขีดสเกลใดสเกลหนึ่งก็ได 1.1.1 การดูแลและบํารุงรักษา 1) ไมควรนําบรรทัดเหล็กวัดชิ้นงานที่ยังรอนอยู 2) วัดชิ้นงานในแนวระนาบเสมอ 3) ไมควรเก็บปะปนกับเครื่องมือและอุปกรณอื่นที่มีคม 4) กอนการวัดงานควรลบคมของชิ้นงานใหเรียบรอย 5) ตรวจสอบความสมบูรณของสเกลทุกครั้ง 6) ทําความสะอาดทุกครั้งกอนและหลังการใชงาน 7) เก็บบรรทัดเหล็กใสชองเก็บของใหเรียบรอย
90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.2 ฟลเลอรเกจ (Feeler Gauge) หรือเกจวัดความหนา ใชวัดชองวางระหวางชิ้นสวน 2 ชิ้น มีลักษณะเปนเหล็กบาง ๆ ที่ มี ความละเอี ยดถึ ง 1/100 มิ ลลิ เมตร หรื อ 1/1000 นิ้ ว (ระบบอั งกฤษ) ซึ่ งฟ ลเลอร เกจนั้ นมี อยู ด วยกั นหลายขนาด ในการตรวจวัดจะตองทําความสะอาดแผ น วั ด และชิ้ น งานให ส ะอาดเพราะสิ่ ง สกปรกและคราบน้ํา มั น จะทํา ให ค า ที่ วั ด ได ค ลาดเคลื่ อ นไมเที่ยงตรงกับความตองการ
ภาพที่ 2.2 ฟลเลอรเกจ 1.2.1 การใชงาน สอดแผนวัดระหวางชิ้นสวนทั้ง 2 ชิ้นที่มีระยะหางเพียงเล็กนอย ถาฟลเลอรเกจสอดเขา และ ออกไดอยางงายใหทําการเปลี่ยนใชแผนฟลเลอรเกจที่หนากวาจนรูสึกวาจะแนนพอดีกับระยะหาง หรือ มีความฝดเกิดขึ้น 1.2.2 การบํารุงรักษา 1) ทําความสะอาดฟลเลอรเกจทุกครั้งทั้งกอนและหลังใชงาน 2) วัดชิ้นงานที่มีผิวเรียบเสมอ 3) ทําความสะอาดและชโลมน้ํามันฟลเลอรเกจทั้งชุดทุกครั้งหลังใชงาน 4) เก็บใสกลองใหเรียบรอยหลังการใชงาน 1.2.3 ขอควรระวังขณะใชงาน หามวางสิ่งของทับ เพราะจะทําใหแผนวัดบิดงอ 1.3 ฉากเหล็ก (Soid square) เปนเครื่องมือที่ใชเพื่อวัดขนาดการสรางมุมฉาก หรือใชวัดขนาดความกวาง ยาว หรือลึกของ ชิ้นงาน ฉากนั้นมีสวนประกอบทั้งหมด 2 สวน คือ ใบฉาก และดามฉาก โดยทั้งสองสวนจะยึดติดกันเปนมุม 90 องศา
91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.3.1 การใชงานฉาก 1) ใชวัดขนาด ฉากเหล็กที่มีดานทั้งสองของใบ จะมีมาตราสวนเปนนิ้วและเซนติเมตรกํากับไว ฉะนั้น ในการใชฉากเหล็กวัด ขนาดความกวางความยาวของงาน ใชวิธีวัด ขนาดความกวาง ความยาวเหมือนกับการวัดดวยไมเมตร หรือตลับเมตร แตสวนใหญจะใชในการวัดแนวตั้งฉาก มากกวา เพื่อใหชิ้นงานไดมุมฉากหรือมุม 90 องศา และมุม 45 องศาทุก ๆ ดาน 2) ใชขีดเสนฉาก เพราะฉากเหล็กมีลักษณะการประกอบเปนมุมฉากอยูแลว ดังนั้น การนําดา ม ฉากไปแนบกับขอบที่เรียบชิ้นงานใด ทิศทางของใบฉากยอมทํามุมได 90 องศาเสมอ ดังนั้น ในการตัดไมตัดเหล็กหรือชิ้นงานอื่นใหไดฉากกับแนวขางลําตัวไม เมื่อนําฉากมาแนบ การขีดเสน ตามแนวของใบฉากคือเสนที่บอกใหทราบถึงแนวตัดชิ้นงานใหไดฉากเสมอ 3) ใชฉากเหล็กตรวจสอบมุม 90 องศาของชิ้นงาน เปนการตรวจสอบโดยนําฉากเหล็กไปแนบใน จุดที่ตรวจสอบ แตการตรวจสอบไดความเที่ยงตรงมากนอยแคไหนตองตรวจสอบฉากกอน
ภาพที่ 2.3 ฉากเหล็ก 1.3.2 การบํารุงรักษาฉากเหล็ก 1) วางฉากเหล็กลงบนโตะปฏิบัติงานเบา ๆ อยางระมัดระวัง เมื่อนําฉากเหล็กไปใชงานในแตละครั้ง 2) ไมควรนําฉากเหล็กไปใชงานลักษณะอื่น ที่นอกเหนือจากการวัด ขีดเสน ตรวจสอบมุม วัดขนาด ความยาวชิ้นงาน 3) หามใชฉากเหล็กในการดัน การงัด การเคาะ จะสงผลใหจุดการยึดใบฉากกับดามฉากยึดกัน ไมแนนหลวมคลอน ยกเวนการทําเพื่อดัดฉากเหล็กใหได 90 องศาเทานั้น 4) ทําความสะอาดฉากเหล็กใหปราศจากฝุน และทราย กอนเช็ดดวยน้ํามันเครื่องเพื่อปองกันสนิม 5) เก็บฉากเหล็กไวในที่เรียบ ไมวางทับซอนกับเครื่องมือชนิดอื่น ซึ่งจะมีผลเสียทําใหฉากเหล็ก บิดงอได
92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.4 บรรทัดวัดมุม เปนบรรทัดที่ออกแบบมาเพื่อใชสําหรับวัดชิ้นงานที่มีขนาดเล็ก ที่อยูระหวางศูนยกลางที่มีลักษณะ เอียงเปนมุม หรือบางชิ้นงานที่เปนรองหางเหยี่ยว รองนําเลื่อน มุมตาง ๆ ของเฟอง เปนตน โดยจะมีการอาน คาวัดมุม ซึ่งอานจากมุมองศา และมุมลิปดา ดังภาพ
ภาพที่ 2.4 บรรทัดวัดมุม 1.4.1 การใชงานบรรทัดวัดมุม 1) บรรทัดวัดมุมมีสวนประกอบสําคัญในการอานมุม 2 สวน คือ ใบบอกองศาสเกลหลัก ซึ่งมีหนวย เปนองศา และเวอรเนียรสเกล ซึ่งมีหนวยเปนลิปดา 2) ใบบอกองศาสเกลหลักจะแบงออกเปน 2 ขาง เพื่อใหสามารถอานมุมไดทั้งทิศทางตามเข็มและ ทวนเข็มนาฬิกา สเกลหลักจะแบงออกเปน 4 สวน สวนละ 90 องศา การวัดมุมที่มากกวา 90 องศา จะตองบวกเพิ่มหรือลบออกจาก 90 องศา 3) การอานมุมจากบรรทัดวัดมุม มีจุดสําคัญที่ทิศทางการวัด กลาวคือ หากตองการวัดมุมในทิศทาง ตามเข็มนาฬิกา จะตองวัดมุมเปนองศาจากใบบอกองศาสเกลหลัก โดยเริ่มอานคาที่เลข 0 และ วัดมุมเปนลิปดาจากเวอรเนียรสเกล โดยเริ่มอานคาที่เลข 0 เลื่อนไปทางขวา หากตองการวัดมุม ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา จะตองวัดมุมเปนองศาจากใบบอกองศาสเกลหลัก โดยเริ่มอานคาที่ เลข 90 เชน หากตัวเลขบนสเกลตรงกับ 40 องศา ใหหาคามุมโดยนํา 40 ไปลบออกจาก 90 องศา จะไดคามุมที่วัดไดในทิศทวนเข็มนาฬิกา และวัดมุมเปนลิปดา จากเวอรเนียรสเกล โดยเริ่มอาน คาที่เลข 0 เลื่อนไปทางซาย 1.4.2 การบํารุงรักษา 1) เช็ดทําความสะอาดกอนใชงานทุกครั้ง 2) ตรวจสอบความสมบูรณของแขนวัด และขีดบอกสเกลของใบบอกองศาและเวอรเนียรสเกล 3) ตรวจสอบการทํางานของแปนเกลียวและกลไกล็อก 93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4) ระวังความรอนจากมือขณะวัด 5) อยาล็อกแปนเกลียวใหแนนจนเกินไป 6) อยาใชบรรทัดวัดมุมกับชิ้นงานที่รอน 7) หลังใชงาน ทําความสะอาดและทาน้ํามันหลอลื่นในสวนที่สัมผัสกันเสมอ 8) เก็บเขากลองทุกครั้งหลังใชงานเสร็จ 2. การใชและบํารุงรักษาเวอรเนียรคาลิปเปอร ไมโครมิเตอร (วัดนอก วัดใน และวัดลึก) 2.1 เวอรเนียรคาลิปเปอร (Vernier Caliper) เวอรเนียรคาลิปเปอร ทําหนาที่เปนเครื่องมือวัดความยาวทั้งภายในและภายนอก และ วัดความลึกที่ไมตองการ ความละเอียดมาก เชน ความสูงของสปริงลิ้น ขนาดความโตของสลักสูบ ความลึกของรองเฟอง เปนตน ซึ่งเวอรเนียรคาลิปเปอร มีทั้งชนิด สเกลบรรทัด ดิจิตอล และหนาปดนาฬิกา
ภาพที่ 2.5 เวอรเนียรคาลิปเปอร 2.1.1 สวนประกอบของเวอรเนียรคาลิปเปอร 1) ปากวัดนอก (Outside Caliper Jaws) ใชวัดภายนอกชิ้นสวนของชิ้นงาน 2) ปากวัดใน (Inside Caliper Jaws) ใชวัดภายในของชิ้นงาน 3) สกรูล็อก (Locking Screw) ใชสําหรับล็อกตําแหนงของปากวัดใหคงที่ 4) สเกลเลื่อน (Vernier Scale) มีลักษณะเปนรองสวมทับอยูบนสเกลหลัก สามารถเลื่อนได และที่ ขอบดานลางของสเกลเลื่อนจะมีสเกลขยายคาความละเอียดอยู 5) สเกลหลัก (Main Scale) มีลักษณะคลายบรรทัดเหล็ก และมีขีดสเกลมาตรฐานอยูบนตัว 6) แกนวัดความลึก (Depth Probe) ใชสําหรับวัดขนาดความลึกของชิ้นงาน
94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 2.6 สวนประกอบตาง ๆ ของเวอรเนียรคาลิปเปอร 2.1.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอรวัดงาน 1) ทําความสะอาดชิ้นงาน และเวอรเนียรคาลิปเปอรกอนทําการวัด 2) ตรวจสอบสเกลและขีด “0” ของทั้งสองสเกลวาตรงตามตําแหนงหรือไม 3) จับชิ้นงานที่จะใชวัดใหชิดดานในของสเกลหลักมากที่สุด 4) วัดโดยจับปลายปากวัดใหตั้งฉากกับผิวชิ้นงานใหมากที่สุด 5) อานคาจากการวัดแนวตรงในจุดทีข่ ีดสเกลทั้งสองตรงกันมากที่สุด 6) ทําความสะอาดและชโลมน้ํามันหลอลื่นบาง ๆ ที่เวอรเนียรคาลิปเปอรหลังจากวัดแลว 2.1.3 การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอร 1) เลื่อนปากของเวอรเนียรคาลิปเปอรจนชิดกัน เพื่อตรวจสอบสเกลของเวอรเนียรคาลิปเปอรตรง กับสเกลหลักหรือไม ถาไมตรงใหพิจารณาความคลาดเคลื่อนศูนยที่ขีด “0” 2) เลื่อนปากเวอรเนียรคาลิปเปอรใหชิดกับชิ้นงานที่วัด 3) ล็อกสลักเวอรเนียรคาลิปเปอรใหอยูกับที่ 4) จากนั้นจึงอานคาบนสเกลโดยอานคาดังนี้
95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
การอ า นค า เวอร เ นี ย ร ค าลิ ป เปอร ค า ความละเอี ย ด 1/10 มิ ล ลิ เ มตร (0.1 มิ ล ลิ เ มตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเปน ระยะทางเทาใด
ภาพที่ 2.7 คาที่สเกลหลักอานได 20.0 มิลลิเมตร - อ า นค า วั ด ละเอี ย ดที่ ส เกลเลื่ อ น โดยพิ จ ารณาขี ด ใดของสเกลเลื่ อ น ตรงกั บ ขี ด สเกลหลั ก นั่ น คื อ ระยะที่ ส เกลเลื่ อ นเยื้ อ งกั บ ขี ด สเกลหลั ก
ภาพที่ 2.8 คาที่สเกลเลื่อนอานได 0.50 มิลลิเมตร
ภาพที่ 2.9 ผลรวมคาที่อานได รวมคาที่อานได (1)+(2) = 20.0 + 0.50 มิลลิเมตร = 20.50
96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
มิลลิเมตร
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรคาความละเอียด 1/20 มิลลิเมตร (0.05 มิลลิเมตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขี ด 0 ของสเกลเลื่ อน เลื่อนมาเปน ระยะทางเทาใด
ภาพที่ 2.10 คาวัดที่สเกลหลักอานได 12.0 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกลเลื่อน ตรงหรือใกลเคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด
ภาพที่ 2.11 คาวัดที่สเกลเลื่อนอานได 0.60 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียด 0.05 มม.ที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด ใดของสเกลเลื่อน (0.05) ตรงกับสเกลหลัก
ภาพที่ 2.12 อานคาวัดละเอียด 0.05 มิลลิเมตร 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 12.0 + 0.60 + 0.05 มิลลิเมตร = 12.65
มิลลิเมตร
การอานคาเวอรเนียรคาลิปเปอรคาความละเอียด 1/50 มิลลิเมตร (0.02 มิลลิเมตร) - อานคาวัดที่สเกลหลักเปนมิลลิเมตร โดยพิจารณาขีด 0 ของสเกลเลื่อน เลื่อนมาเปน ระยะทางเทาใด
ภาพที่ 2.13 คาวัดที่สเกลหลักอานได 9.0 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียดที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีด 0.10 , 0.20 , 0.30 , 0.40 ฯลฯ ของสเกลเลื่อน ตรงหรือใกลเคียงกับขีดใดของสเกลหลักมากที่สุด
ภาพที่ 2.14 คาวัดที่สเกลเลื่อนอานได 0.6 มิลลิเมตร - อานคาวัดละเอียด 0.02 มิลลิเมตรที่สเกลเลื่อน โดยพิจารณาขีดใดของสเกลเลื่อน (0.02 , 0.04 , 0.06 , 0.08 ) ตรงกับสเกลหลัก
98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 2.15 คาที่อานได 0.08 มิลลิเมตร รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0.60 + 0.08
มิลลิเมตร
= 9.68
มิลลิเมตร
2.1.4 การบํารุงรักษา 1) ไมควรเก็บเวอรเนียรคาลิปเปอรใหอยูในที่อุณหภูมิสูงเกินไป หรืออุณหภูมิต่ําเกินไป 2) วางเวอรเนียรคาลิปเปอรบนผา หรือแผนไม 3) ทําความสะอาดและทาน้ํามันกันสนิมทุกครั้งหลังจากเลิกใชงาน 4) ถาปากวัดนอกหรือในของเครื่องเกิดรอยบิ่น ใหทําการขัดดวยหินน้ํามันละเอียด 5) หามวางเวอรเนียรคาลิปเปอรไวบนเครื่องมือที่มีคม
99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2.2 ไมโครมิเตอร (Micrometer) ไมโครมิเตอร เปนเครื่องมือวัดที่ละเอียดที่ตรวจวัดไดเที่ยงตรง และมีความละเอียดมาก โดยไมโครมิเตอร มีหลาย ขนาดและหลายชนิด เชน ไมโครมิเตอรวัดนอก ไมโครมิเตอรวัดใน ไมโครมิเตอรวัดลึก มีทั้งแบบสเกลและแบบดิจิตอล 2.2.1 ไมโครมิเตอรวัดนอก (Outside Micrometer)
ภาพที่ 2.16 ไมโครมิเตอรวัดนอก สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดนอก 1. แกนรับ 2. แกนวัด 3. ปลอกหมุนวัด 4. เกลียว 5. ปลอกหมุนกระทบเลื่อน 6. กลไกล็อกแกนวัด 7. กานสเกล 8. ขีดสเกล 0.01 มม. 9. โครงของไมโครมิเตอร 10. ขนาดที่วัด 11. แหวนเกลียว 12. ขีดสเกล 1 มม. 13. ขีดสเกล 0.5 มม.
100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 2.17 สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดนอก 2.2.1.1 การอานคาไมโครมิเตอรวัดนอก 1) อานคาสเกลหลักแถวบน โดยแตละขีดจะมีคาเทากับ 1 มิลลิเมตร
ภาพที่ 2.18 คาวัดที่สเกลหลักแถวลางอานได 9.0 มิลลิเมตร (1) 2) อานคาที่สเกลหลักแถวลางที่ปลอกวัด หากไมถึงขีด จะไมนํามาคิดคาที่สเกลหลักแถวลาง ถาขอบปลอกหมุนเลยขีดไปบวกดวย 0.5 มิลลิเมตร
ภาพที่ 2.19 คาวัดที่สเกลหลักแถวบนอานได 0 มิลลิเมตร (2)
101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3) อานคาที่ปลอกหมุนโดยดูวาขีดใดของไมโครสเกลตรงกับเสนระดับ คูณดวย 0.01 มิลลิเมตร
ภาพที่ 2.20 คาวัดที่ไมโครสเกลอานได 0.06 มิลลิเมตร (3) 4) นําคาที่อานไดจากสเกลหลักแถวบน สเกลหลักแถวลาง และไมโครสเกลรวมกันจะ เปนคาที่วัดได รวมคาที่อานได (1)+(2)+(3) = 9.0 + 0 + 0.06
มิลลิเมตร
= 9.06
มิลลิเมตร
หมายเหตุ คาที่ปลอกหมุนขีดยอยแตละขีดมีคาเทากับ 0.01 มิลลิเมตร 2.2.1.2 การใชงานไมโครมิเตอรวัดนอก 1) ตรวจสอบขีด “0” กอนใชงานทุกครั้ง ถาไมตรงตองทําการปรับตั้งใหตรง 2) ทําความสะอาดผิวของแกนรับและแกนวัด 3) หมุนปลอกเลื่อนจนผิวสัมผัสของแกนวัดสัมผัสกับชิ้นงานที่วัด โดยตองจับที่ Ratchet shop ในการหมุนวัดงาน 4) ล็อกปุมใหอยูกับที่ เพื่อทําการอานคาที่วัดได 2.2.2 ไมโครมิเตอรวัดใน (Internal Micrometer)
ภาพที่ 2.21 ไมโครมิเตอรวัดใน
102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดใน 1) ปากวัด 2) ขีดมาตรา 3) ปลอกหมุนวัด 4) หัวหมุนกระทบเลื่อน 5) ดามจับ 2.2.2.1
การใชไมโครมิเตอรวัดใน 1) หมุนขนาดของปากวัดใหมีขนาดเล็กกวาความกวางของดานในของชิ้นงานที่ตองการ วัดเล็กนอย เเลวนําปากวัดไมโครมิเตอรใสลงไป 2) คอย ๆ หมุนที่ปลอกหมุนวัด ใหปากวัดขยายเลื่อนออกไปสัมผัสผิวชิ้นงานพอดี 3) อานคาวัดบนสเกล โดยหากสามารถอานไดก็ควรอานทันที แตหากไมสามารถอานได ควรใชปุมล็อกไมโครมิเตอรล็อกปากวัด กอนถอดออกมาอานคาตามปกติ
2.2.3 ไมโครมิเตอรวัดลึก (Depth Micrometer)
ภาพที่ 2.22 ไมโครมิเตอรวัดลึก สวนประกอบของไมโครมิเตอรวัดลึก 1) หัวหมุนกระทบเลื่อน 2) หมวกเกลียว 3) ปลอกหมุนวัด 4) สเกลปลอกหมุนวัด 5) สเกลกานปลอก 6) กานปลอก 7) แผนประกบงาน 103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
8) แกนวัดลึก 2.2.3.1 การใชไมโครมิเตอรวัดลึก 1) เลือกกานวัดที่มีความยาวใกลเคียงกับขนาดที่ตองการวัด กอนนําปากวัดใสลงไปใน รองที่ตองการวัด 2) วางไมโครมิเตอรใหสะพานยันสวนของผิวสัมผัสงาน สัมผัสพอดีกับบางาน 3) คอย ๆ หมุนปลอกวัดใหสะพานยันสวนของผิวสัมผัสงาน สัมผัสกับผิวชิ้นงานพอดี 4) อานคาที่วัดได และนํามารวมกับคาความยาวของกานวัดลึกที่เลือกใช 5) อานคาวัดบนสเกล โดยหากสามารถอานไดก็ควรอานทันที แตหากไมสามารถอานได ควรใชปุม ล็อกไมโครมิเตอรล็อกปากวัด กอนถอดออกมาอานคาตามปกติ 2.2.4 การบํารุงรักษาไมโครมิเตอร 1) ไมควรใชไมโครมิเตอรวัดชิ้นงานผิวดิบหรือหยาบเกินไป 2) หากตองการใหแกนวัดเลื่อนเขาออกอยางรวดเร็วใหเลื่อนกับฝามือ ปองกันความเสียหายที่จะ เกิดขึ้นกับไมโครมิเตอร 3) ไมควรปลอยใหไมโครมิเตอรสกปรกขาดการหลอลื่น ขาดการปรับแตงอาจทําใหหมุนวัดฝดหรือ หลวมเกินไป 4) ควรตรวจสอบผิวสัมผัสของแกนรับและแกนวัดอยูเสมอ 5) ทําความสะอาดผิวแกนรับและแกนวัดทุกครั้ง กอนและหลังการวัด 3. ประแจวัดแรงบิด (Torque wrench) หรือ ประแจปอนด ประแจวัดแรงบิด เปนประแจดามกระบอกชนิดหนึ่ง ที่ออกแบบมาเพื่อวัดแรงบิดในการขันสลักเกลียว แปนเกลียว และ สกรูหัวเหลี่ยมชนิดตาง ๆ ประแจวัดแรงบิดจะชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น คือทําใหสามารถขันสลักเกลียวเพื่อ ติดตั้งชิ้นสวนของอุปกรณตาง ๆ ดวยแรงบิดตามคาที่กําหนดไว ทําใหชิ้นสวนเหลานั้นติดตั้งอยางถาวรที่สุด ในขณะที่สลัก เกลียว หรือแปนเกลียวก็สามารถรับแรงกด – แรงดึงไดเต็มที่ โดยไมเปนอันตรายตอตัวเกลียว คําวาแรงบิด (Torque) หรือ แรงดึง (Tension) คือ เปนคาทางวิทยาศาสตรที่บัญญัติขึ้น เพื่อวัดแรงที่กระทําในการบิดใหวัตถุหมุนเคลื่อนที่ไปในทิศทาง เชิงมุมคาที่ไดจากการวัดจะแสดงบนหนาปด หรือเข็มชี้ที่ติดตั้งบนตัวประแจ จึงสามารถอานคาวัดแรงบิดไดทันที ประแจวัด แรงบิดที่ใชสําหรับงานหนักจะอานคาเปน "ฟุต - ปอนด" , "กิโลกรัม - เมตร" , " กิโลกรัม - เซนติเมตร" และ “นิวตัน – เมตร” ประแจวัดแรงบิด มีทั้งแบบเข็ม แบบดิจิตอล แบบปรับตั้งขนาด และเข็มหนาปดนาฬิกา 104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 2.23 ประแจวัดแรงบิด ขนาด 50-100 Nm แบบตั้งขนาดแรงขันและมีเสียงเตือน 3.1 การใชงานประแจวัดแรงบิด 1) ตั้งคาแรงขันที่ตองการตามคากําหนดในคูมือซอม 2) ล็อกคาแรงขันเพื่อกันความคลาดเคลื่อน 3) ตรวจสอบขนาดของนอตที่ตองการขัน 4) นําประแจวัดแรงบิดสวมใสกับนอตที่ตองการขัน และขันนอตใหไดคาแรงบิดตามคาที่คูมือซอมประจํา รถยนตกําหนด 5) เมื่อประแจวัดแรงบิดมีเสียงดังเตือน ใหหยุดขันทันที เนื่องจากไดคาแรงขันตามกําหนดแลว 6) เมื่อใชงานเสร็จสิ้น ตองทําการปรับคาแรงขันใหกลับไปที่จุดเริ่มตน 7) หากหนวยของประแจวัดแรงบิดที่มี ไมตรงกับหนวยแรงบิดที่ตองการ ใหตั้งคาแรงบิดโดยดูตามตาราง เปรียบเทียบและเปลี่ยนหนวยการใชประแจวัดแรงบิด 3.2 การบํารุงรักษาประแจวัดแรงบิด 1) แบงการขันเปน 2 จังหวะ ครั้งแรกใหขันแนนเพียงครั้งเดียว ครั้งที่ 2 จึงใชประแจวัดแรงบิดขันในขั้นตอน สุดทาย 2) ทําความสะอาดนอตและโบลตใหสะอาดกอนขันทุกครั้ง 3) กอนเก็บประแจวัดแรงบิด ใหตั้งคาทอรคใหกลับมาที่จุดต่ําสุดเพื่อคลายสปริง (หามตั้งคาต่ํากวาคาต่ําสุด) 4) หามใชประแจวัดแรงบิดในการคลายนอตและโบลต 5) หามใชประแจวัดแรงบิดในการตอก เคาะ แทนคอน 6) หามทําประแจวัดแรงบิดตก การตกครั้งหนึ่งอาจทําใหคาทอรคคลาดเคลื่อนไดทันที 7) กอนเก็บประแจวัดแรงบิดเขากลองตองเช็ดทําความสะอาดใหเรียบรอย
105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ตัวอยางการเปลี่ยนหนวยการใชประแจวัดแรงบิดโดยใชตารางเปรียบเทียบ หากผูรับการฝกตองการขันแรงบิด 20 Foot Pounds (ft. lbs) แตประแจวัดแรงบิดที่ใชมีหนวยเปน Newton Meters (Nm) ใหผูรับการฝกตั้งคาแรงบิดที่ประแจเทากับ 27.12 Nm ดังที่ปรากฏในตารางเปรียบเทียบ
106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ตารางเปรียบเทียบและเปลีย่ นหนวยการใชประแจวัดแรงบิด
107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ
โจทย
ขอ ก
1
คําตอบ ใชตรวจสอบมุมฉากของงานปรับมุม ใชวัดความยาวทั้งภายในและภายนอก และ วัดความลึกที่ไมตองการความละเอียดมาก
2
ข
เชน ความสูงของสปริงลิ้น ขนาดความโต ของสลักสูบ และความลึกของรองเฟอง
3
เปนตน ค
4
ใชวัดมุม วัดขนาด หรือตรวจสอบมุม ตาง ๆ ของชิ้นงาน ทาบลงบนผิวของชิ้นงาน ซึ่งผิวของชิ้นงาน
ง
5
ตองเรียบ ไมขรุขระ โดยใหเริ่มตนจากจุด ที่จะวัดตรงกับขอบบรรทัดเหล็ก หรือตรง ขีดสเกลหนึ่งสเกลใดก็ได ใชตรวจสอบหรื อวั ดระยะห างลิ้ น และ ระยะรุน กานสูบที่เพลาขอเหวี่ยงหรือใช
6
จ
สําหรับวัดระยะหางระหวางปากแหวน ลู ก สู บ และแหวนลู ก สู บ กั บ ร อ งแหวน
7
ลูกสูบ ฉ
ใชวัดแรงบิดในการขันสลักเกลียว แปน เกลียว และสกรูหัวเหลี่ยมชนิดตางๆ ใชวัดความโตของชิ้นงาน ถาหาก
ช
108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ตองการวัดขนาดความโตของชิ้นงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 8. ก อนเก็ บประแจวัดแรงบิด ใหตั้งคาทอรคให กลับมาที่จุดสู งสุดเพื่ อคลายสปริ ง (หามตั้งคาต่ํากวาคาต่ําสุด) 9. หากต องการให แกนวั ดเลื่ อนเข าออกอย างรวดเร็ วให เลื่ อนกั บฝ ามื อ ป องกั น ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับไมโครมิเตอร 10. ควรใช บ รรทั ด วั ด มุ ม ขณะที่ ชิ้ น งานยั ง คงร อ นอยู เพื่ อ ป อ งกั น การวั ด ค า ที่ คลาดเคลื่อน 11. หลังใชงานบรรทัดวัดมุม ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันหลอลื่นในสวนที่ สัมผัสกันเสมอ 12. ใชประแจวัดแรงบิดในการคลายนอตและโบลต 13. ถาปากวัดนอกหรือในของเครื่องเกิดรอยบิ่น ใหทําการขัดดวยหินน้ํามันละเอียด 14. ไมควรวางเวอรเนียรคาลิปเปอรบนผา หรือแผนไม 15. หามใชฉากเหล็กในการดัน การงัด การเคาะ จะสงผลใหจุดการยึดใบฉากกับ ดามฉากยึดกันไมแนนหลวมคลอน ยกเวนการทําเพื่อดัดฉากเหล็กใหได 90 องศา เทานั้น 16. ทําความสะอาดและชโลมน้ํามันฟลเลอรเกจทั้งชุดเดือนละ 1 ครั้ง 17. การตรวจสอบบรรทัดวัดมุม ควรตรวจสอบความสมบูรณของแขนวัด และขีด บอกสเกลของใบบอกองศาและเวอรเนียรสเกลเสมอ
109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
1 2 3 4 5 6 7 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ช
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ปฏิบัติงานวัดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็กได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดชิ้นงานตอไปนี้ดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นงานที่ 1
ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 1 ตําแหนง
A
B
C
D
มม. 111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
E
F
G
H
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ชิ้นงานที่ 2
ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 2 ตําแหนง
A
B
C
D
E
F
G
มม.
112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
H
I
J
K
L
M
N
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ชิ้นงานที่ 3
ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 3 ตําแหนง
A
B
C
D
E
F
มม.
113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
G
H
I
J
K
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ชิ้นงานที่ 4
ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 4 ตําแหนง
A
B
C
D
E
F
G
มม.
114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
H
I
J
K
L
M
N
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ชิ้นงานที่ 5
ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานที่ 5 ตําแหนง
A
B
C
D
E
F
G
H
มม.
115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
I
J
K
L
M
N
O
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 การวัดขนาดชิน้ งานดวยบรรทัดเหล็ก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - บรรทัดเหล็ก ขนาด 1 ฟุต
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยบรรทัดเหล็ก
จํานวน 5 ชิ้น
116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและ
ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือและ ระวังไมใหเครื่องมือวัด
ชิ้นงาน
ชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความสะอาด
และชิ้นงานตก เพราะ อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได
2. วัดขนาดของชิ้นงาน
วั ด ความยาวของชิ้ น งานชิ้ น ที่ 1 ด ว ย กอนการวัดงานควร บรรทัดเหล็กในหนวยมิลลิเมตร และอาน ลบคมของชิ้นงานให คาบนสเกล
เรียบรอย เพื่อปองกัน ชิ้นงานบาดขณะ ปฏิบัติงาน
117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. บันทึกผล
คําอธิบาย หลังจากวัดความยาวของชิ้นงานในแตละ ดานเรียบรอยแลว บันทึกผลลงในตาราง
4. ทําตามขั้นตอน 2-3 อีกครั้ง
เมื่อวัดขนาดของชิ้นงานชิ้นที่ 1 เรียบรอย แลว ใหวัดขนาดของชิ้น งานที่ 2-5 ตาม ขั้นตอนที่ 2-3
5. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย . 118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน
2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 1
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 2
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 3
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 4
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 5
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
9
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
10
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
11
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง
ครบทั้ง 3 ชนิด
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด
3
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิน้ ที่ 1
วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน
121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 2
ขอกําหนดในการใหคะแนน
วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง
คะแนน เต็ม 5
ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 6
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 3
วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน
5
วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 7
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 4
วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง
5
ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 8
การวัดขนาดชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ชิ้นที่ 5
วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน
122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
9
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไม ครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
43
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 30 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดทางชางยนตได 2. ปฏิบัติงานวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอรได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกวัดขนาดของชิ้นงานตอไปนี้ดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร
ตารางบันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงาน ตําแหนง
A
B
มม.
124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
C
D
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เวอรเนียรคาลิปเปอร ความละเอียด 1 ตอ 20 มิลลิเมตร หรือ 0.05 มิลลิเมตร จํานวน 1 ตัว หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. น้ํามันกันสนิม
จํานวน 1 ขวด
3. ชิ้นงานทดลองสําหรับวัดดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร
จํานวน 1 ชิ้น
125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ตรวจสอบและทําความสะอาดเครื่องมือและชิ้นงาน
ขอควรระวัง
ตรวจสอบความสมบูรณของเครื่องมือ
ระวังไมใหเครื่องมือ
และชิ้นงาน และใชผาเช็ดทําความ
วัดและชิ้นงานตก
สะอาด
เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได
2. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางที่จุด A ของชิ้นงาน
ใชป ากของเวอรเนีย รคาลิป เปอรห นีบ กอนการวัดงานควร ชิ้นงานบริเวณที่จะวัด
ลบคมของชิ้นงาน ใหเรียบรอย เพื่อ ปองกันชิ้นงานบาด ขณะปฏิบัติงาน
หมุนสเกลเลื่อนใหชิดชิ้นงานมากที่สุด แลวจึงหมุนสกรูล็อก 3. อานคาและบันทึกผล
อานคาบนสเกลวัด ในหนว ยมิล ลิ เ มตร และบันทึกผลลงในตาราง
126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
4. วัดคาที่จุดอื่น ๆ บนชิ้นงาน
วัดความยาวของจุดอื่น ๆ บนชิ้นงานให ครบ ตามขั้นตอนที่ 2-3
5. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน
2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ชิ้นที่ 1 5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง
ครบทั้ง 3 ชนิด
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด
3
ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การวัดขนาดชิ้นงานดวยเวอรเนียรคาลิปเปอร ชิ้นที่ 1
วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่ถูกตองทุกตําแหนง ใหคะแนน 5 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อน ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 คะแนน วัดขนาดชิ้นงานไดคาที่คลาดเคลื่อนมากกวา ± 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน
129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
23
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921020203 เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีการใช การบํารุงรักษาเครื่องมือพิเศษชนิดตาง ๆ ได 2. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได
2. หัวขอสําคัญ 1. เครื่องมือทําเกลียวนอกและเกลียวใน 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว 3. การใชและบํารุงรักษาเครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวงลาง และไฟฟารถยนต
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ชิ้นงานสําหรับถอดสลักเกลียว จํานวน 1 ชิ้น 2) ถานไฟฉาย 9 โวลต จํานวน 1 กอน 3) ถานไฟฉาย ชนิด AA จํานวน 1 กอน 4) น้ํามันอเนกประสงค จํานวน 1 กระปอง 5) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 6) ฟวสขนาดตาง ๆ จํานวน 1 ชุด 7) รีเลย ชนิด 4 ขา จํานวน 1 ตัว 8) สายไฟฟารถยนต จํานวน 1 เสน 9) สารหลอเย็นสําหรับทําเกลียว จํานวน 1 กระปอง 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คอนเหล็ก จํานวน 1 อัน 2) ฉากตาย จํานวน 1 อัน 3) ดอกถอดสลักเกลียว จํานวน 1 ชุด 4) ดอกสวาน จํานวน 1 ชุด 5) ดามดาย พรอมดอกดาย เกลียว M12 x 1.75 จํานวน 1 ชุด 6) ดามตาป จํานวน 1 อัน 7) ตะไบแบน จํานวน 1 อัน 8) แบตเตอรี่รถยนต จํานวน 1 ลูก 9) ปลั๊กพวง จํานวน 1 ตัว 10) ปากกาจับยึดชิ้นงาน จํานวน 1 ตัว 11) แปรงขนออน จํานวน 1 อัน 12) มัลติมิเตอร จํานวน 1 ตัว 13) เวอรเนียรคาลิปเปอร จํานวน 1 ตัว 14) สวานไฟฟา จํานวน 1 ตัว 15) เหล็กแทงกลม ขนาด M12 x 1.75 จํานวน 1 แทง 16) เหล็กนําศูนย จํานวน 1 อัน
132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ธีระยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : บริษัทเอช. เอ็น. กรุป จํากัด. อําพล ซื่อตรง. การแกปญหางานชางยนต. กรุงเทพฯ : ศูนยสงเสริมวิชาการ.
133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 118-160 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริง ได แก มั ลติ มิเตอร เครื่องมือทําเกลียวใน เครื่องมือทําเกลียวนอก เครื่ องมื อถอดสลักเกลียว เครื่ องมื อถอดกรอง น้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวงลางและไฟฟา รถยนต 6. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณสําหรับปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ เครื่ องมื อพิ เ ศษทางด า น ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ชางยนต ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง เครื่ อ งมื อ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น พิเศษทางดานชางยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 118-160
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง เครื่องมือพิเศษทางดาน ชางยนต หนาที่ 118-160 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝ ก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 120-132 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.1 เครื่องมือทําเกลียวนอกและเกลียวใน 2.2 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 2.3 การใช แ ละบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ ถอด กรองน้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวง ลาง และไฟฟารถยนต 3. ใหผูรับการฝกศึกษาสื่อของจริง 3. ศึกษาสื่อของจริง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 133-135 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 133-135 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 154 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.1 การถอดสลัก 6. ศึกษาใบงานที่ 3.1 การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัว เกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย จากคูมือ ถอดเกลียวซาย จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 136-143 ผูรับการฝก หนาที่ 136-143 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-03:37 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 วิธีการถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอด เกลียวซาย 7.2 การลดความรอนดวยน้ําหลอเย็น 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จา ยวัส ดุ- อุป กรณแ ละเครื่อ งมือ ปฏิบัติง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้น ตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก ใบขั้ นตอนปฏิ บั ติ งานในคู มื อผู รั บการฝ ก หน าที่ หนาที่ 156-157 137-138 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 3.2 การทํ า 13. ศึกษาใบงานที่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ จาก เกลี ย วนอกด ว ยมื อ จากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก คูมือผูรับการฝก หนาที่ 144-152 ซักถามขอสงสัย หนาที่ 144-152 ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 03:42:08:14 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 วิธีการทําเกลียวนอก 14.2 การลดความรอนดวยน้ําหลอเย็น 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ นตอนการปฏิ บั ติ งานในคู มื อครู ฝ ก ใบขั้ นตอนปฏิ บั ติ งานในคู มื อผู รั บการฝ ก หน าที่ หนาที่ 164-165 145-146 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 20. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.3 การใช 20. ศึกษาใบงานที่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณ มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด อุ ป กรณ ไ ฟฟ า จากคู มื อ ผู รั บ ไฟฟ า จากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 153-160 การฝก หนาที่ 153-160 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 21. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 08:20-14:31 พรอม 21. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 21.1 การปรับมัลติมิเตอร 21.2 การวัดคาความตานทานของฟวส 136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 21.3 การวัดคาความตานทานของรีเลย 21.4 การวัดคาความตานทานของสายไฟฟา รถยนต 21.5 วั ด ค า แรงดั น ไฟฟ า กระแสตรงของ แบตเตอรี่รถยนต 21.6 วั ด ค า แรงดั น ไฟฟ า กระแสตรงของ ถานไฟฉายขนาด 2 A 21.7 วั ด ค า แรงดั น ไฟฟ า กระแสตรงของ ถานไฟฉายขนาด 9 โวลต 21.8 วัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ 220 โวลต 21.9 การอานคาจากมัลติมิเตอร 22. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 22. แบงกลุมตามความสมัครใจ 23. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม 23. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 173 ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 154 24. ควบคุ ม ดู แ ลและให คํ า แนะนํ า ผู รั บ การฝ ก ขณะ 24. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 25. ตรวจเช็ ค วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หลั ง จาก 25. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 26. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 26. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง เครื่องมือพิเศษ ทางดานชางยนต ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง เครื่องมือพิเศษ ทางด า นช า งยนต เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ยในการปฏิบัติงาน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 เครื่องมือพิเศษทางดานชางยนต 1. เครื่องมือทําเกลียวนอกและเกลียวใน การทําเกลียว หมายถึง การตัดเกลียวชิ้นงานรูปทรงกระบอก ทําใหเกิดรองลาดเอียงมีความลึกสม่ําเสมอพันไปตามรอบ แทงทรงกระบอก ซึ่งเรียกวา เกลียว รองที่อยูภายนอกทรงกระบอกเรีย กวา “เกลียวนอก” สวนรองเกลียวที่อยูภายใน แทงทรงกระบอกเรียกวา “เกลียวใน” เกลียวมีรูปรางและมีมาตรฐานที่แตกตางกัน ดังนี้ 1) เกลียวเมตริก เปนเกลียวที่นิยมใชทั่วโลก พื้นที่หนาตัดจะเปนรูปสามเหลี่ยม ระหวางรองเกลียวจะทํามุม 60 องศา บางครั้งเรียกวา เกลียวสามเหลี่ยม 2) เกลียววิตเวอรต (Whitworth Thread) เปนเกลียวที่ทํามุมระหว างเกลี ยว 55 องศา บริเวณยอดเกลี ย ว มีลักษณะโคงมน 3) เกลียวรูปตัววี มีลักษณะคลายกับเกลียวแบบเมตริก แตบริเวณยอดเกลียวมีลักษณะแหลม 4) เกลี ย วสี่ เ หลี่ ย มคางหมู เป น เกลี ย วขนาดใหญ นิ ย มใช ใ นการส ง กํ า ลั ง ของเครื่ อ งจั ก ร หรื อ ใช ค วบคุ ม การเคลื่อนไหวของชิ้นงาน เชน เกลียวของปากกาจับงาน เกลียวเพลานําของเครื่องกลึง เปนตน 5) เกลียวสี่เหลี่ยม เปนเกลียวขนาดใหญ รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส นิยมใชในการสงกําลังเครื่องจักรที่รับแรงมาก ๆ เชน เกลียวของแมแรง เปนตน 6) เกลียวฟนเลื่อย เปนเกลียวที่ภาพตัดจะมีลักษณะคลายฟนเลื่อย จะมีดานชันและดานที่ทํามุม 45 องศา ใชสําหรับแรงกดอัดเพียงดานเดียว เชน เกลียวของปากกาชางไม เปนตน 7) เกลี ย วกลม เป น เกลี ย วที่ ใ ช ง านเฉพาะอย า ง ซึ่ ง ต อ งการใช ง านให ห มุ น เข า หรื อ หมุ น ออกได โ ดยง า ย เชน เกลียวของขวดน้ําอัดลม เกลียวของหลอดไฟ เปนตน
138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
อุปกรณในการทําเกลียว อุปกรณในการทําเกลียวมี 2 ชนิด คือ ชนิดใชทําเกลียวในและชนิดใชทําเกลียวนอก 1) ตาป (Tap) สําหรับทําเกลียวใน
ภาพที่ 3.1 ตาป 2) ดาย (Die) สําหรับทําเกลียวนอก
ภาพที่ 3.2 ดาย 1.1 ขั้นตอนการทําเกลียวใน เตรียมขนาดของรูเจาะใหเหมาะสมกับขนาดของเกลียวที่ตองการ ใสดอกตาปดอกแรก (Taper Tap) เขากับดาม (Tap Wrench) (ดอกตาป 1 ชุด จะมี 2 - 3 ดอก) แลวนําดอกตาปใสลงในรูเจาะที่เตรียมไว กดดามจับพรอมกับหมุนเข า (ตามเข็มนาฬิกา) จนกระทั่งดอกตาปกินงานจนแนน ใชฉากเหล็กจับและปรับดอกจนไดฉากกับชิ้นงาน หมุนเขาตอไปอยางชา ๆ โดยหมุนเขาครั้งละ 1/4 รอบ แลวหมุนออกสลับกันไป ในระหวางนั้นควรใชน้ํายาทําเกลียวหยอดเพื่อลดความฝด และ ปดเศษโลหะออกจากชิ้นงานดวย หมุนดอกตาปแรกเขาพอประมาณ แลวเอาออกใสดอกตาปดอกที่สอง (Intermediate Tap) 139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เขาตอ หมุนเขา - ออกทําเหมือนดอกตาปที่หนึ่ง หมุนดอกตาปตัวที่สอง เขาพอประมาณ แลวเอาออกใสดอกตาปดอกที่สาม (plug) เขาตอ หมุนเขา - ออกทําเหมือนดอกตาปที่หนึ่งและสอง หมุนดอกตาปดอกที่สามเขา - ออกจนสุดเกลียว และ หมุนซ้ํา ๆ เพื่อทําใหเกลียวคลองตัวดี จะไดเกลียวตามตองการ 1.2 ขั้นตอนการทําเกลียวนอก เตรี ย มขนาดของแท ง ชิ้ น งานให เ หมาะสมตามขนาดของเกลี ย วที ่ ต อ งการ ใส ตั ว ดาย (Die) เขา กับ ดาม (Die Holder) โดยปรับใหตัวดาย ถางออกมากที่สุด เริ่มตนทําเกลียวพรอมกับใชฉากเหล็กจับและปรับดอกดาย จนไดฉาก กับชิ้นงาน หมุนเขาตอไปอยางชา ๆ โดยหมุนเขาครั้งละ 1/4 รอบ แลวหมุนออกสลับกันไป ในระหวางนั้นควรใชน้ํายา ทาเกลียว หยอดเพื่อลดความฝด และปดเศษโลหะออกจากชิ้นงานดวย หมุนเขา – ออกจนสุดเกลียว จากนั้นนําดอกดาย ออกมาปรับใหดอกดายแคบลงเล็กนอย เพื่อที่จะตัดเกลียวรอบใหม (ดาย 1 ชุด จะมีดอกเดียว) หมุนเขา – ออกจน สุดเกลียว จากนั้นนําดอกดายออกมาปรับใหแคบลงอีกเล็กนอย เพื่อที่จะตัดเกลียวรอบตอไปอีกทําซ้ํา จนไดเกลียวขนาด ที่ตองการ 1.3 การบํารุงรักษาเครื่องมือทําเกลียว 1) หมั่นตรวจสอบสภาพของชุดทําเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น 2) ขณะทําเกลียวควรหมุนเขาครั้งละ ไมเกิน 1/4 รอบอยางชา ๆ 3) ใชน้ํายาทาเกลียวเสมอขณะทําเกลียว เพื่อรักษาคมของตาป (Tap) และดาย (Die) 4) อยาทําตาป (Tap) และดาย (Die) ตก หรือหลน เพราะจะทําใหคมหัก หรือบิ่น หรือดาย (Die) แตกได 5) ทําความสะอาดและทาน้ํามันบาง ๆ ทั้งดอกตาป (Tap) และดาย (Die) เพื่อปองกันสนิม 6) เก็บตาป (Tap) และดาย (Die) ในกลองบรรจุใหเรียบรอย 2. เครื่องมือถอดสลักเกลียว (Screw Extractor) เครื่องมือถอดสลักเกลียว หรือที่เรียกวา ตัวถอดเกลียวซาย เปนเครื่องมือที่ใชในการถอนสกรูที่มีการติดแนนภายในรู (Socket) ที่หัวสกรูชํารุด หรือเกิดความเสียหาย เชน เกิดสนิม หรือหัวสกรูหัก เปนตน โดยจะมีลักษณะคลายดอกสวาน และ มีเกลียวที่มีทิศทางทวนเข็มนาฬิกา การเลือกตัวถอดเกลียว จะตองเลือกใหมีขนาดใกลเคียงกับขนาดของดอกสวานที่ใชเจาะรู 1
สลักเกลียว คือ มีขนาดเล็กกวาสลักเกลียวที่ขาดประมาณ ของเสนผานศูนยกลางสลักเกลียว เมื่อตองถอดสลักเกลียวที่ขาด 2
นําตัวถอดเกลียวซายตอกเขาในรู แลวหมุนทวนเข็มนาฬิกาเพื่อดึงสลักเกลียวที่ขาดออกจากรู
140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 3.3 เครื่องมือถอดสลักเกลียว 2.1 การบํารุงรักษาเครื่องมือถอดสลักเกลียว 1) หมั่นตรวจสอบสภาพของเครื่องมือถอดสลักเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น 2) หลอลื่นดวยน้ํามันเครื่องหรือน้ํามันอเนกประสงคเสมอเมื่อถอดสลักเกลียว เพื่อรักษาสภาพของเครื่องมือ 3) หลังใชงาน ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิม 4) เก็บเครื่องมือถอดสลักเกลียวใหถูกตอง 3. การใชและบํารุงรักษาเครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง เครื่องมือบริการชวงลาง และไฟฟารถยนต 3.1 เครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง ในงานการบริการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง ไมเพียงแตเปลี่ยนน้ํามันเครื่องเพียงอยางเดียว แตรวมไปถึงการเปลี่ยน กรองน้ํามันเครื่องดวย กรองน้ํามันเครื่องแตละประเภทมีขนาดไมเทากัน จึงจําเปนที่จะตองใชเครื่องมือเฉพาะดาน ซึ่งมีดวยกันหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนโซถอดกรองน้ํามันเครื่ อง ถวยถอดกรองน้ํามั นเครื่อง หรือประแจถอดกรอง น้ํามันเครื่อง ซึ่งมีลักษณะที่พิเศษดังภาพที่ 3.4 ในการใชงานประแจถอดกรองน้ํามันเครื่ อง.ใหนํ าประแจถอดกรอง น้ํามันเครื่องครอบไปยังกรองน้ํามันเครื่อง และบิดทวนเข็มนาฬิกา เพื่อคลายกรองน้ํามันเครื่องออก ขณะที่เปลี่ยนกรอง น้ํามันเครื่อง ไมควรถอดกรองออกขณะที่เครื่องยังมีน้ํามันเครื่องอยูในระบบ
ภาพที่ 3.4 ประแจถอดกรองน้ํามันเครื่อง 141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
โดยทั ่ว ไป เครื ่อ งมือ พิเ ศษที ่มีค วามเกี่ย วขอ ง และถูก ใชง านเฉพาะงานชา งยนตนั ้น มีห ลายชนิด ดว ยกัน ซึ่งเครื่องมือพิเศษแตละชนิดจะไมสามารถนําเครื่องมือชนิดอื่นมาใชแทนได เพราะอาจเกิดความเสียหายเมื่อนําเครื่องมือ ตางชนิดมาใชงานแทน การบํารุงรักษาเครื่องมือถอดกรองน้ํามันเครื่อง ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิมทุกครั้งหลังใชงาน กอนเก็บเครื่องมือใหเรียบรอย 3.2 เครื่องมือพิเศษ 3.2.1 ปลอกรัดแหวนลูกสูบ ปลอกรัดแหวนลูกสูบเปนแผนเหล็กสปริงลานผิวเรียบ พรอมดามหมุนเปนเหล็ก 4 เหลี่ยมงอ 90 องศา ภายนอกเปนสลักเดือย ล็อกหมุนรัดแนนเขา เดือยล็อกเองโดยอัตโนมัติ เวลาคลายตองบีบประคองไว อยาให สปริงคลายตัวแรงและเร็ว
ภาพที่ 3.5 ปลอกรัดแหวนลูกสูบ การบํารุงรักษาปลอกรัดแหวนลูกสูบ ควรเลือกใชใหเหมาะสมกับขนาดของลูกสูบ หลังใชงาน ควรทําความสะอาดและทาน้ํามันปองกันสนิม ทุกครั้ง กอนเก็บเครื่องมือใหเรียบรอย 3.2.2 ซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น
ภาพที่ 3.6 ซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น 142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1) วิธีการใชงาน - เลือกขนาดของเครื่องมือกดสปริงใหเหมาะสมกับงาน - ปรับระยะหางของฝากดแหวนรองสปริงลิ้นใหตรงกับจุดศูนยกลางของแหวนรอง สปริงลิ้นดวยสกรู ปรับแปนกดลิ้น - กดดามล็อกเครื่องกดสปริงลิ้นใหสุดตําแหนง สปริงลิ้นจะตองหยุดตัวเต็มที่ - ถอดประกับล็อกลิ้นออก (เกือกมา) และปลดดามกดล็อกออก สปริงลิ้นจะยืดกลับ และถอนสปริงลิ้นออก - เมื่อตองการประกอบสปริงลิ้นใหปฏิบัติเชนเดียวกับการถอด 2) การบํารุงรักษา ซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น - อยาใชแรงอัดตอนจับยึดชิ้นงานมากเกินไป เพราะอาจทําใหเครื่องมือหักได - หามนําไปใชเพื่อวัตถุประสงคอื่น เชน ทุบเหล็ก หรือ ตะปู - ดูแลสวนที่จะตองสัมผัสกับชิ้นงานใหเรียบอยูเสมอ - หลังใชงาน ควรทําความสะอาด และหยอดน้ํามันปองกันสนิมเสมอ 3.2.3 คีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับถอดและประกอบแหวนลูกสูบ โดยในการถอดแหวนลูกสูบแตละครั้ง อาจถอด เพื่อเปลี่ยนแหวนลูกสูบใหม หรืออาจถอดเพื่อเซาะรองแหวนลูกสูบ ซึ่งแหวนลูกสูบเปนชิ้นสวนที่เปราะบาง จึงควรใชคีมถอดประกอบแหวนลูกสูบดวยความระมัดระวัง มิฉะนั้นแหวนลูกสูบอาจหักไดงาย
ภาพที่ 3.7 คีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ การบํารุงรักษาคีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ ควรใชดวยความระมัดระวัง หลังจากเลิกใชงานควรเช็ดทําความสะอาดดวยผาแหง แลวชโลมน้ํามันไว กอนเก็บไวในหองเครื่องมือเรียบรอย 143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3.2.4 เกจวัดกําลังอัดเครื่องยนต เปนเครื่องทดสอบกําลังอัดกระบอกสูบของรถยนต เพื่อตรวจสอบวาสภาพเครื่องยนตยังสมบูร ณดี อยู หรือไม โดยการวัดคาความดัน แลวนําไปเปรียบเทียบกับคาความดันที่ระบุไวในคูมือรถยนตแตละรุน หากความ ดันที่วัดไดมีคาใกลเคียงกับคาที่กําหนดไวในคูมือ แสดงวาเครื่องยนตยังอยูในสภาพดี
ภาพที่ 3.8 เกจวัดกําลังอัดเครื่องยนต การทดสอบกําลังอัดกระบอกสูบของเครื่องยนต มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) ถอดหัวเทียนของกระบอกสูบที่ตองการตรวจสอบออก และถอดสายหัวเทียนทุกเสนออกจาก หัวเทียน 2) ขันเกลียวขอตอของเกจวัดกําลังอัดเครื่องยนตเขาไปแทน 3) ทดลองสตารทเครื่องยนต เครื่องยนตจะหมุนแตไมติด แลวอานคาความดันบนเครื่องวัด 4) เปรียบเทียบคาความดันที่วัดได กับคาความดันที่ระบุไวในคูมือรถยนต ตารางที่ 1.1 เครื่องมือพิเศษ ประแจกระบอกถอด – ประกอบหัวเทียน
เกจวัดกําลังอัดเครื่องยนต
144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
แคลมปกดสปริงวาลว
เครื่องมือทําความสะอาดรองแหวนลูกสูบ
คีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ
ปลอกรัดแหวนลูกสูบ
ประแจสําหรับขันปลอกรัดแหวนลูกสูบ
ประแจและปลอกรัดแหวนลูกสูบ
3.3 เครื่องมือบริการชวงลาง ในสวนงานบริการชวงลาง จะมีเครื่องมือหลัก คือ แมแรง โดยแมแรงหรือแมแรงยกรถ เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับ การยกรถ ในงานซอมบริการรถยนต ซึ่งการเลือกแมแรง ควรเลือกแมแรงที่สามารถรับ น้ําหนั กรถไดมากกวาตัว รถ เพื่อความปลอดภัยในการซอมบริการ การใชงานแมแรงทุกครั้ง ควรใชขอนหนุนลอเสมอ เพื่อปองกันการลื่นไหลของ 145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รถยนต และควรใชแมแรงยกรถในบริเ วณที่เ ปน สว นรับน้ําหนักของตัว รถที่ใกลที่สุด กอนจะขึ้น หรือลงแมแรงตอง ตรวจสอบวาไมมีคน หรือสิ่งของอยูภายใตรถ หากตองการขึ้นแมแรงคางไวเปนเวลานาน ใหใชขาตั้งเขามาชวยรองรับ น้ําหนักของตัวรถยนต
ภาพที่ 3.9 แมแรงยกรถแบบกลไก การบํารุงรักษาเครื่องมือบริการชวงลาง ควรเก็บรักษาในที่แหง ระวังไมใหเปยก เพราะอาจทําใหเครื่องมือซึ่งทําจากโลหะเปนสนิมได ทาน้ํามันหลอลื่นหรือ จาระบีตามสวนตาง ๆ หากเปนเครื่องมือที่ทํางานดวยระบบไฮดรอลิก ใหตรวจเช็กน้ํามันไฮดรอลิกให อยูในระดั บ ที่เหมาะสมอยูเสมอ 3.4 ไฟฟารถยนต 3.4.1 มัลติมิเตอรเบื้องตน มัลติมิเตอรถือวาเปนเครื่องมือวัดที่จําเปนสําหรับงานดานอิเล็กทรอนิกส เพราะวาเปนเครื่องวัดที่ใชคา พื้น ฐานทางไฟฟา คือ แรงดัน ไฟฟา กระแสไฟฟา และความตานทานไฟฟา ไมวาจะเปน การทดสอบ หรือ การตรวจซอมวงจรตาง ๆ ก็จําเปนตองวัดคาเหลานั้นทั้งสิ้น มัลติมิเตอรเปนการรวม Voltmeter Ammeter และ Ohmmeter ไว ใ นตั ว เดี ย วกั น และใช มู ฟ เมนต (Movement) ตั ว เดี ย วจึ ง เรี ย ก “VOM” (Volt-OhmMilliammeter) ปจจุบันมัลติมิเตอรมีดวยกัน 2 แบบ คือ 1) แบบเข็ม (Analog multimeter) 2) แบบตัวเลข (Digital multimeter) - มัลติมิเตอรแบบเข็ม VOM แบบแอนะล็อกสวนมากเปนแบบขดลวดเคลื่อนที่ (Moving coil) เนื่องจากแบบขดลวดเคลื่อนทีจ่ ะมีสเกลเปนเชิงเสน (Linear) ขนาดเล็ก น้ําหนักเบา ราคา ไมแพง และมีความไว (Sensitivity) 146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
สวนประกอบภายนอกของมัลติมิเตอร -
สกรูปรับเข็มชี้ใหตรงศูนย
-
ยานการวัดตาง ๆ
- ขั้วตอขั้วบวก (+) ใชตอสายวัดสีแดง - ขั้วตอขั้วลบ (-) ใชตอสายวัดสีดํา - ขั้วตอเอาตพุต เพื่อวัดความดัง (db) -
ปุมปรับ 0 โอหม
-
สวิตชตัวเลือกยานการวัด
-
เข็มชี้
ภาพที่ 3.10 สวนประกอบของมัลติมิเตอร 147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3.4.1.1 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง ปรั บ มั ล ติ มิ เ ตอร ใ ห เ ป น โวลต มิ เ ตอร โดยหมุ น สวิ ต ช บ นตั ว มิ เ ตอร ไปที่ ตํา แหน ง ย า นการวั ด ความตางศักยไฟฟากระแสตรง (DCV) ซึ่งมี 7 ยานการวัดคือ 0-0.1V, 0-0.5V, 0.2.5V, 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V 3.4.1.2 วิธีการวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง 1) เลื อ กตํ า แหน ง ที่ ต อ งการวั ด ความต า งศั ก ย และตรวจสอบทิ ศ ทางการไหลของ กระแสไฟฟา 2) เสียบสายวัดมิเตอรสีดําที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เขากับมัลติมิเตอร 3) ตั้งยานการวัดใหสูงกวาความตางศักยของบริเวณนั้น โดยหมุนสวิตชบนตัวมิเตอร ไปที่ตําแหนงยานการวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง (DCV) 4) นําสายวัดมิเตอรไปตอขนาน หรือตอครอมวงจร โดยใชหัววัดแตะกับจุดที่ตองการวัด และตองใหกระแสไฟฟาไหลเขาทางขั้วบวก (+) ของมัลติมิเตอรเสมอ ถาวัดสลับขั้ว เข็มวัดจะตีกลับตองรีบเอาสายวัดมิเตอรออกจากวงจรทันที จากนั้นทําการสลับหัว สายวัดใหถูกตอง
ภาพที่ 3.11 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสตรง 5) การอานคาความตางศักยไฟฟา ใหอานสเกลสีดําที่อยูใตแถบเงิน ซึ่งมีคาระบุอยู 3 สเกล คือ 0-10, 0-50 และ 0-250 คาที่อานไดตองสัมพันธกับยานการวัดที่ตั้งไว
148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3.4.1.3 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสสลับ การวัดความตางศักยไฟฟากระแสสลับ ไมจําเปนตองใหกระแสไฟฟาไหลผานทางขั้วบวก เหมือนไฟฟากระแสตรง เพราะไฟฟากระแสสลับไมมีขั้วตายตัว ขั้วแรงดันจะสลับไปสลับมาตลอดเวลา กลาวคือสามารถตอโดยใหสายวัดเสนใดอยูขางใดก็ได แตวิธีวัดคายังใชหลักการเดียวกันกับโวลตมิเตอร กระแสตรงกอ นที ่จ ะนํา มั ล ติ มิ เ ตอร ไ ปวั ด ค า ต อ งทํ า การปรั บ มั ล ติ มิ เ ตอร ใ ห เ ป น โวลต มิ เ ตอร กระแสสลับกอน จากนั้นเลือกยานการวัดใหเหมาะสม โดยหมุนสวิตชบนตัวมิเตอร ไปที่ตําแหนงชวงการวั ด ความตางศักยไฟฟากระแสตรง (ACV) ซึ่งมี 4 ยานการวัดคือ 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V
ภาพที่ 3.12 การวัดความตางศักยไฟฟากระแสสลับ 3.4.1.4 วิธีการวัดกระแสไฟฟากระแสสลับ 1) เลื อ กตํ า แหน ง ที่ ต อ งการวั ด กระแสไฟฟ า และตรวจสอบทิ ศ ทางการไหลของ กระแสไฟฟา 2) เสียบสายวัดมิเตอรสีดําที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เขากับมัลติมิเตอร 3) ตั้งยานการวัดที่เหมาะสม ในกรณีที่ทราบคากระแสในวงจร ควรตั้งยานการวัดใหสูงกวา คากระแสที่ทราบ แตในกรณีที่ไมทราบคากระแสในวงจร ควรตั้งยานการวัดที่คาสูง ๆ (0-0.25A) ไวกอน แลวคอยปรับลดยานการวัดใหม กอนปรับยานการวัดใหมตองเอา สายวัดออกจากวงจรทุกครั้ง และตองแนใจวาคาที่จะวัดไดนั้นมีคาไมเกินยานการวัดที่ ปรับตั้งใหม
149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 3.13 การวัดกระแสไฟฟากระแสตรง 4) นําสายวัดมิเตอรไปตอแทรกหรือตอแบบอนุกรม โดยใชหัววัดแตะบริเวณที่ตองการวัด และตองให กระแสไฟฟาไหลเขาทางขั้วบวกของมัลติมิเตอร หากเข็มวัดตีเกินสเกลตองรีบ เอาสายวัดมิเตอรออกจากวงจรทันที แลวเลือกยานการวัดที่สูงขึ้นจากนั้นทําการวัดคาใหม 5) อานคากระแสไฟฟาที่ไหลในวงจร ซึ่งการอานคาตองสัมพันธกับยานที่ตั้งไว 3.4.1.5 การบํารุงรักษามัลติมิเตอร 1) ศึกษาคูมือการใชมัลติมิเตอรใหเขาใจ ทั้งวิธีการใช และการอานสเกล ใหถูกตองกอนใชงาน 2) ตรวจสอบบริเวณยานวัด (Range) ใหถูกตองกอนทําการวัดเสมอ 3) หามใหมัลติมิเตอรตกหลนหรือกระแทกอยางรุนแรง 4) หากไมไดใชมัลติมิเตอรเปนระยะเวลานาน ๆ ใหถอดแบตเตอรี่ออกกอน 5) เมื่อใชงานเสร็จใหปรับสวิตชไปที่ตําแหนง OFF หรือปรับไมที่ตําแหนง ACV สูงสุด
150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ตัวอักษร
เครื่องมือวัด
ตัวอักษร
1
ก
2
ข ค
3
ง 4 จ
5
6
ฉ
7 ช
151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
การใชงานเครื่องมือวัด เปนแผนเหล็กสปริงลานผิวเรียบ พรอม ดามหมุนเปนเหล็ก 4 เหลี่ยมงอ 90 องศา ภายนอกเปนสลักเดือย เวลาคายตองบีบ ประคองไวอยาใหสปริงคายตัวแรงและเร็ว ใชกดอัดสปริงลิ้น เพื่อถอดและประกอบ ชุดสปริงลิ้นไอดีลิ้นไอเสีย ใชสําหรับหมุนยกรถ โดยการวางใน ตําแหนงที่ตองการยก แลวออกแรงหมุน ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ใช วั ด ค า พื ้น ฐ า น ท า ง ไ ฟ ฟ า ไดแ ก แรงดัน ไฟฟ า กระแสไฟฟ า และความ ตานทานไฟฟา เพื่อตรวจซอมวงจร ใช ถ อนสกรู ที่ มี ก ารติ ด แน น ภายในรู (Socket) ที่ หั ว สกรู ชํารุด โดยการตอก เครื่องมือชนิ ด นี้ ล งในรู แล ว ใช ป ระแจ คลายออก ซึ่งระหวางการทํางานนั้นควร หยอดน้ํามันหลอลื่นเพื่อลดการเสียดสี ใชสําหรับถอดและประกอบแหวนลูกสูบ โดยในการถอดแหวนลูกสู บ แตล ะครั้ ง อาจถอดเพื่ อ เปลี่ ย นแหวนลู ก สู บ ใหม หรืออาจถอดเพื่อเซาะรองแหวนลูกสูบ ใชเปลี่ยนกรองน้ํามันเครื่อง โดยนํา เครื่องมือชนิดนี้ครอบที่กรองน้ํามันเครื่อง และบิดทวนเข็มนาฬิกา เพื่อคลายกรอง น้ํามันเครื่อง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 8. เมื่อใชงานมัลติมิเตอรเสร็จใหปรับสวิตชไปที่ตําแหนง OFF หรือที่ตําแหนง ACV สูงสุด 9. การใชซีแคลมปกดอัดสปริงลิ้น ไมควรปรับระยะหางของฝากดแหวนรองสปริงลิ้นให ตรงกับจุดศูนยกลางของแหวนรองสปริงลิ้น 10. การใชซีแคลมปกดอัดสปริ งลิ้น หามใชแรงอัดตอนจับยึดชิ้น งานมากเกิ น ไป เพราะอาจทําใหเครื่องมือหักได 11. ไมควรทาน้ํามันกันสนิมที่เครื่องมือถอดสลักเกลียว เพราะจะทําใหเครื่องมือลื่น และถอดสลักเกลียวไดไมมีประสิทธิภาพ 12. ขณะทําเกลียวดวยเครื่องมือทําเกลียว ควรหมุนเขาครั้งละ ไมเกิน 1/4 รอบอยางชา ๆ 13. หลังจากเลิกใชงานคีมถอดประกอบแหวนลูกสูบ ควรเช็ดทําความสะอาดดวย ผาแหง แลวชโลมน้ํามันไว 14. ขณะใชเครื่องมือทําเกลียว ไมควรทาน้ํามันหลอลื่น เพราะจะทําใหคมของตาป (Tap) และดาย (Die) ถูกลบหายไป 15. หามนําเครื่องมือพิเศษไปใชเพื่อวัตถุประสงคอื่น เชน ทุบเหล็ก หรือ ตะปู 16. หากไมไดใชมัลติมิเตอรเปนระยะเวลานาน ๆ ไมควรถอดแบตเตอรี่ออก 17. หมั่นตรวจสอบสภาพของชุดทําเกลียวไมใหแตกหัก หรือบิ่น
152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
1 2 3 4 5 6 7 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ช
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซายได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 40 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย ตัวอยาง การเลือกขนาดรูเจาะ (ดอกสวาน) ใหเหมาะสมกับสลักเกลียวที่ตองการถอดออก - ขนาดรูเจาะที่จะใชตัวถอดเกลียวซาย 5/32 นิ้ว (3.96 มม.) - ขนาดสลักเกลียวที่ขาด 5/16 – 7/16 นิ้ว (7.93 – 11.11 มม.)
154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. สวานไฟฟา
จํานวน 1 ตัว
2. ดอกสวาน
จํานวน 1 ชุด
3. ดอกถอดสลักเกลียว
จํานวน 1 ชุด
4. ตะไบแบน
จํานวน 1 อัน
5. เหล็กนําศูนย
จํานวน 1 อัน
6. คอนเหล็ก
จํานวน 1 อัน
7. แปรงขนออน
จํานวน 1 อัน
8. ปากกาจับยึดชิ้นงาน
จํานวน 1 ตัว
9. ดามตาป
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. น้ํามันอเนกประสงค
จํานวน 1 กระปอง
3. ชิ้นงานสําหรับถอดสลักเกลียว
จํานวน 1 ชิ้น
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การถอดสลักเกลียวที่ขาดดวยตัวถอดเกลียวซาย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
1. เตรียมชิ้นงานและอุปกรณ
เตรียมสลักเกลียวที่ขาดและตัวถอด
ระวังไมใหเครื่องมือ
2. ปรับแตงปลายสลักเกลียวใหเรียบ
เกลียวซาย
และชิ้นงานตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได
กรณีสลักเกลียวที่ขาดสูงกวาผิวชิ้นงาน ให ใ ช ต ะไบแบนปรั บ แต ง ปลายสลั ก เกลียวใหเรียบ
3. ใชเหล็กนําศูนยตอกนํา
ใชเหล็กนําศูนยตอกนําตรงจุด ศูนยกลางของสลักเกลียวที่ขาด
156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. เลือกดอกสวาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เลือกดอกสวานใหมีขนาดเล็กกวา สลักเกลียวที่ขาดประมาณ 12 ของ
เสนผานศูนยกลางสลักเกลียว
5. เจาะรูสลักเกลียวที่ขาด
ใชส วานไฟฟาเจาะรูสลักเกลียวที่ขาด ควรตรวจสอบให ดวยความระมัดระวังใหลึกพอประมาณ แนใจวาสวานไฟฟา อยูในสภาพที่ใชงาน ได และขณะใช สวานไฟฟาเจาะรู สลักเกลียว ควรออก แรงใหสัมพันธกับ การหมุนของดอก สวาน เพื่อความ ปลอดภัย
6. ทําความสะอาดเศษโลหะ
ทําความสะอาดเศษโลหะที่เจาะออกให เรียบรอย
157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
7. เลือกขนาดตัวถอดเกลียวซาย
เลื อ กขนาดตั ว ถอดเกลี ย วซ า ย ให เหมาะสมกับสลักเกลียวที่ขาดคางอยูในรู
8. หลอลื่นบริเวณสลักเกลียวที่ขาด
หล อ ลื่ น ด ว ยน้ํ า มั น เครื่ อ งหรื อ น้ํ า มั น อเนกประสงคบริเวณสลักเกลียวที่ขาด
9. ถอดสลักเกลียว
นําตัวดูดเกลียวหรือตัวถอดเกลียวซาย ใสในรูที่เจาะและใชดามจับตัวดูดเกลียว หมุนคลายออก โดยตองหมุนทวนเข็ม นาฬิกา เมื่อสลักเกลียวคลายออกจนสุดแลวให ทําความสะอาดรูสลักเกลียวใหสะอาด
10. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิบัติงาน และจัดเก็บ เครื่อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน
2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การเลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
ความสมบูรณของชิ้นงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ หลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การเลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวาน
เลือกใชตัวถอดเกลียวซายและดอกสวานที่มีขนาดเหมาะสม
5
ใหคะแนน 5 คะแนน เลื อ กใช ตัว ถอดเกลี ย วซ า ย หรื อ ดอกสว า น ที่ มี ข นาด ไมเหมาะสม อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลื อ กใช ตัว ถอดเกลี ย วซ า ยและดอกสว า น ที่ มี ข นาด ไมเหมาะสม ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ความสมบูรณของชิ้นงาน
ชิ้นงานมีสภาพสมบูรณ ไมแตกหัก และสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน
160 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก หรือ ไมสะอาดเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก และ ไมสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
3
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
161 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานทําเกลียวนอกดวยมือได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการปฏิบัติงาน รวม 40 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการทําเกลียวนอกดวยมือ
162 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การทําเกลียวนอกดวยมือ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1 เหล็กแทงกลม ขนาด M12 x 1.75
จํานวน 1 แทง
2 ปากกาจับยึดชิ้นงาน
จํานวน 1 ตัว
3 ดามดาย พรอมดอกดาย เกลียว M12 x 1.75
จํานวน 1 ชุด
4 แปรงขนออน
จํานวน 1 อัน
5 ฉากตาย
จํานวน 1 อัน
6 ตะไบแบน
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
163 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. สารหลอเย็นขณะทําเกลียว
จํานวน 1 กระปอง
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทําเกลียวนอกดวยมือ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมชิ้นงานและอุปกรณ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เตรียมชิ้นงานและเครื่องมือทําเกลียวให
ระวังไมใหเครื่องมือ
พรอม โดยเลือกขนาดแทงเหล็กใหมี
และชิ้นงานตก เพราะ
ขนาด M 12
อาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได
2. ลบมุมรอบแทงเหล็ก
จับแทงเหล็กดวยปากกาจับงาน แลวใช ตะไบแตงลบมุมประมาณ 20 องศารอบ แทงเหล็ก และใหลึกประมาณ 2 มิลลิเมตร
164 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ใชฉากตายวัดชิ้นงานใหตรง
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
จับ ชิ้น งานที่จ ะทําเกลีย วดวยปากกาจับ งานในแนวดิ่งให แน น ไมเอียงไปด านใด ดานหนึ่ง โดยใชฉากตายวัดทุก ๆ ดาน
4. เลือกดอกดาย (Die)
เลือกดอกดาย เกลียวตามขนาดที่ตองการ ตองใชดอกดาย (Die)
5. สวมดาย (Die) ลงในดามจับใหถูกทิศทาง
พรอมดามจับ (Strock) ใหเหมาะสม
ที่ใหมและมีความคม
โดยในที่นี้ จะใชดอกดายขนาด
อยูเสมอ
M 12 x 1.75 สวมดายลงในดามจับใหถูกทิศทาง โดย ตรวจสอบดาย (Die) ประกอบดายด า นที่ มี ฟ น เฟ อ งหลาย ๆ และดามจับยึด ฟ น เอาไว ด า นนอก เพื่ อ เริ่ ม ตั ด เกลี ย ว (Stock) เพราะหากตัว ชิ้ น งาน และต อ งให ร อ งบ า รั บ ดายอยู ทําเกลียวและดามจับ ดานบนขณะทําเกลียว จากนั้นขันยึ ดสกรู ยึดหลุดออกจากกัน ในรองของ ดายใหแนน
ระหวางทําเกลียว จะ ทําใหไดรับอันตรายได
165 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
6. สวมดาย (Die) ลงบนปลายชิ้ น งานเพื่ อ เริ่ ม ทํ า สวมดายลงบนปลายชิ้ น งานเพื่ อ เริ่ มทํ า กอนเริ่มทําเกลียว เกลียว
เกลียว โดยตองใหชิ้นงานและดายตั้งฉาก ตองตั้งดามดาย (Die) กันเสมอ
สําหรับขันเกลียวให ตรง และหมุนดาย ตามขั้นตอนอยางชา ๆ
7. ทําเกลียวนอก
เริ่มหมุนดายอยางชา ๆ โดยมือทั้ง 2 ขาง
เศษเกลียวที่เกิดจาก
ตองจับใกล ๆ กับตัวดายและเมื่อหมุนทํา
การทําเกลียวจะคม
เกลียวไปไดประมาณ ¼ รอบ ใชหมุนดาย มาก จึงควรใชแปรง ทวนเข็มนาฬิกา เพื่อคายเศษโลหะออก ปดออกเทานั้น ไมควร แลวจึงคอยหมุนเขาทําเกลียวใหมตอไป ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ อยางชา ๆ จนกวาจะ ไดความยาวเกลียวตามตองการ 8 ระบายความรอนขณะทําเกลียว
ขณะทํ า เกลี ย วต อ งใช ส ารหล อ เย็ น ช ว ย ระบายความรอน โดยหยอดสารหลอเย็น ลงบนปลายดานบนของชิ้นงานทีละน อย จนกวาจะทําเกลียวเสร็จตามตองการ
166 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ใชมือปดเศษโลหะออก
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
9. ตรวจสอบวาดาย (Die) ตั้งฉากกับชิ้นงานหรือไม
หลังจากทําเกลียวไปไดประมาณ 2 – 3 ฟน ใหหยุดตรวจดูวาตัวดายกับชิ้นงานยังตั้ง ฉากกันหรือไมถาไมตั้งฉากกันใหรีบแกไข ทันที
10. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
167 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน
2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การประกอบดาย (Die) เขากับดามจับ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
ความสมบูรณของชิ้นงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ หลังปฏิบัติงาน ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
168 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การประกอบดาย (Die) เขากับดามจับ
เลือกดอกดาย (Die) ตามขนาดที่เหมาะสม และประกอบ
5
เขากับดามจับอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน เลือกดอกดาย (Die) ที่มีขนาดไมเหมาะสม หรือ ประกอบ เขากับดามจับไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน เลือกดอกดาย (Die) ที่มีขนาดไมเหมาะสม และประกอบ เขากับดามจับไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ความสมบูรณของชิ้นงาน
ชิ้นงานมีสภาพสมบูรณ ไมแตกหัก และสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน
169 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก หรือ ไมสะอาดเรียบรอย อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ชิ้นงานมีสภาพไมสมบูรณ แตกหัก และ ไมสะอาดเรียบรอย ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
170 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบงาน ใบงานที่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ใชและบํารุงรักษาเครื่องมือชนิดพิเศษตาง ๆ ได 2. ปฏิบัติงานใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟาได 3. คํานึงถึงความปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน
2. ระยะเวลาการทดสอบ - ระยะเวลาการทดสอบ รวม 40 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟาตามที่กําหนดใหถูกตอง ลําดับการตรวจวัด
คามาตรฐาน
คาที่วัดได
วัดคาความตานทาน - ฟวสรถยนต - รีเลย ชนิด 4 ขั้ว - สายไฟฟารถยนต วัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง - แบตเตอรี่รถยนต
12 โวลต
- แบตเตอรี่ขนาด AA
1.5 โวลต
- แบตเตอรี่ขนาด 9 โวลต
9 โวลต
วัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ - กระแสไฟฟาจากปลั๊กพวง
220 โวลต
หมายเหตุ ในหัวขอนี้ใหครูฝกเปนผูกําหนดคามาตรฐานขึ้นเองตามความเหมาะสม เนื่องจากในแตละพื้นที่อาจใชวัสดุอุปกรณ แตกตางกัน
171 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.3 การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัส ดุอัน ตรายเชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. มัลติมิเตอร
จํานวน 1 ตัว
2. แบตเตอรี่รถยนต
จํานวน 1 ลูก
3. ปลั๊กพวง
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ฟวสขนาดตาง ๆ
จํานวน 1 ชุด
2. รีเลย ชนิด 4 ขา
จํานวน 1 ตัว
3. สายไฟฟารถยนต
จํานวน 1 เสน
4. ถานไฟฉาย 9 โวลต
จํานวน 1 กอน
5. ถานไฟฉาย ชนิด AA
จํานวน 1 กอน
6. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน 172 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การใชมัลติมิเตอรวัดอุปกรณไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เตรียมมัลติมิเตอรและอุปกรณไฟฟาที่จะ ระวังไมใหเครื่องมือ นํามาวัด
และอุปกรณไฟฟาตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได
2. ตอสายมัลติมิเตอร
ตอสายสีแดงเขากับขั้วบวก และตอสาย
3. ตรวจสอบมัลติมิเตอร
สีดําเขากับขั้วลบของมัลติมิเตอร นํ า เข็ ม ของมั ล ติ มิ เ ตอร ม าแตะกั น แล ว ตรวจสอบวาเข็มของมัลติมิเตอรชี้ที่เลข 0 หรือไม
4. วัดคาความตานทาน
ปรั บ ตั้ ง ย า นการวั ด ไปที่ ห น ว ยโอห ม การวัดปริมาณไฟฟาที่ (Ohms) โดยตั้งยานใหมีคาเหมาะสมกับ ไมทราบคา ควรตั้งคา อุปกรณไฟฟาที่จะวัด
ยานวัดไวที่สูงสุดกอน
นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ หลังจากวัดคาไดแลว อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึก จึงคอย ๆ ปรับลดคา ยานวัดใหต่ําลง ถูกตอง
ผล
กับปริมาณไฟฟาที่ ตองการวัด และตอขั้ว วัด บวก (+) และ ลบ (-) ใหถูกตอง 173 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. วัดแรงดันไฟฟากระแสตรง
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ปรับตั้งยานการวัดไปที่ DCV โดยตั้งยาน ไมควรตั้งยานไฟฟา ใหมีคาเหมาะสมกับอุปกรณไฟฟาที่จะวัด ชนิดหนึ่ง แลวนําไปใช วัดไฟฟาอีกชนิดหนึ่ง เพราะจะสงผลให มัลติมิเตอรชํารุด เสียหายได เชน ตั้งยาน สําหรับวัดกระแสไฟฟา ไว แตนําไปใชวัดความ ดันไฟฟา เปนตน นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึก ผล
6. วัดแรงดันไฟฟากระแสสลับ
ปรับตั้งยานการวัดไปที่ ACV โดยตั้งยาน
การวัดกระแสไฟฟา
ใหมีคาเหมาะสมกับอุปกรณไฟฟาที่จะวัด กระแส (ACV) หามให สวนหนึ่งสวนใดของ รางกายสัมผัสกับโลหะ ตัวนําไฟฟาโดย เด็ดขาด นํ า เข็ ม ของสายวั ด มั ล ติ มิ เ ตอร แ ตะที่ อุปกรณไฟฟา จากนั้นอานคาและบันทึก ผล
174 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
175 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือผา
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง
รองเทานิรภัย และชุดปฏิบัติการชางอยางถูกตอง
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตอง 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดถูกตองนอยกวา 2 ชนิด หรือไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทาน
ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค า ความต านทานได ถูก ต องตามขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค าความต านทานไม ถู กต องตามขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานไมถูกตองตามขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน
176 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรง
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไดถูกตองตาม
คะแนน เต็ม 5
ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไมถูกตองตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสตรงไมถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
การใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับ
ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไดถูกตอ งตาม
5
ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไมถูกตอ งตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาแรงดันไฟฟากระแสสลับไมถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน
177 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตองและไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
33
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
178 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 179 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 5
180 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน