คู่มือครูฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 1 โมดูล 6

Page 1

หนาปก



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

คูมือครูฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

คํา นํา

คูมือครูฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 โมดูลที่ 6 งานทอและการเชื่อม ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อ ใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝก และชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใ ชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการ การฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถบอกและเลือกใชทอ แตละขนาน และแตละชนิ ดได สามารถนําทอมาตัด ขยาย บานแฟลร ดัด รวมถึง การปรับตั้งไฟแกส เพื่อเชื่อมทอไดอยางถูกตอง และติดตามความกาวหนา ของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต องการ โดยยึ ด ความสามารถของผู รับ การฝ กเปน หลัก การฝ ก อบรมในระบบดั งกลา ว จึ ง เป น รู ป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

สารบัญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 6 09217301 งานทอและการเชื่อม หัวขอวิชาที่ 1 0921730101 ทอในเครื่องทําความเย็น

20

หัวขอวิชาที่ 2 0921730102 ชนิดของลวดเชื่อมแกส

60

หัวขอวิชาที่ 3 0921730103 ชนิดของหัวเชื่อมแกส

68

หัวขอวิชาที่ 4 0921730104 การเชื่อมแกส

85

หัวขอวิชาที่ 5 0921730105 การเชื่อมทอทองแดง

108

คณะผูจัดทําโครงการ

138

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้ อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับผิด ชอบของผูม ีสวนไดสวนเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตร ระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถแบบ ออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบีย นแบบออนไลน ใหผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบีย นผานเว็บไซต โดยกรอกประวัติ เลือก หลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบีย นแบบออฟไลน ผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบีย นที่ศูนยฝก โดยการเลือกหลักสูตร กรอก ประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวใ นระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐานของกรม พัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสือ่ สิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ข อเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผู รับ การฝก ที่ศู นยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแ กผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือกใชอุป กรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิม พ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่ม อบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170201

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกในสาขาชางเครื่องปรับอากาศในบาน และการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามสามารถและทั ศ นคติ ต ามมาตรฐานฝ มื อ แรงงานแห ง ชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูใ นการปฏิบัติงานเกี่ย วกับงานชางไฟฟา งานชางเครื่องทําความเย็น และชางเครื่องปรับอากาศ ไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ย วกับหนว ยวั ดของระบบต าง ๆ ที่ใ ชงานในเครื่ องทํา ความเย็ นและเครื่อ งปรั บอากาศ และ สามารถอานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถในการใชงานเครื่องมือวัดงานไฟฟา งานเครื่องทําความเย็น และเครื่องปรับอากาศ 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนด 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอทองแดง 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชาง เครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217301 3. ระยะเวลาการฝก รวม 14 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 3 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ 11 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน ว ย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ 1. บอกชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็นได 2. ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ ดัดทอ และนําไปใชได 3. บอกชนิดของลวดเชื่อมแกสได 4. บอกชนิดของหัวเชื่อมแกส และการเลือกใชงานได 5. เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง 6. บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG แกสออกซิเจน และนําไปใชได 7. เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได 8. บอกขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานทอไนโตรเจนได 9. เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับชนิดของทอ สามารถตัด ขยาย บานแฟลร ดัด ทอได รวมถึง ผูรับการฝก การปรับตั้งไฟแกส เพื่อเชื่อมทอไดอยางถูกตอง หรือผานการฝกอบรมที่เกี่ย วของ เบื้องตน จากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานการฝกโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แ ลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกชนิดของทอที่ใ ชใ นเครื่อง หัวขอที่ 1 : ทอในเครื่องทําความเย็น 1:15 4:00 5:15 ทําความเย็ นได สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 งานทอและการเชื่อม

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยาย ทอ บานทอ ดัดทอ และนําไปใชได 3. บอกชนิ ด ของลวดเชื่ อ มแก ส และการเลือกใชงานได 4. บอกชนิดของหัวเชื่อมแกสได 5. เลื อ กใช ง านหั ว เชื่ อ มแก ส ได ถูกตอง 6. บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส ปรับแตงแรงดัน แกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจน 7. เชื ่อ มแกส ปรับ แตง แรงดั น แ กส อะเซทิล ีน แ กส LPG และ แกสออกซิเจนได 8. บอกขั้นตอนการเชื่อมทอ ทองแดงผานทอไนโตรเจนได 9. เชื่อมทอทองแดงผานแกส ไนโตรเจนได

หัวขอที่ 2 : ชนิดของลวดเชื่อมแกส

0:30

-

0:30

หัวขอที่ 3 : ชนิดของหัวเชื่อมแกส

0:30

1:00

1:30

หัวขอที่ 4 : การเชื่อมแกส

0:30

3:00

3:30

หัวขอที่ 5 : การเชื่อมทอทองแดง

0:30

3:00

3:30

รวมทั้งสิ้น

3:15

11:00 14:15

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921730101 ทอในเครื่องทําความเย็น (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็นได 2. ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ และดัดทอได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

ชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็น การตัดทอ การปรับแตงปลายทอ การขยายทอ และการบานทอ การดัดทอ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ทอทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน 2) ทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน 3) ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน 4) ทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คัตเตอรตัดทอ จํานวน 1 อัน 2) เครื่องมือขยายทอ จํานวน 1 อัน 3) ชุดเครื่องมืองานทอ จํานวน 1 ชุด 4) ชุดเชื่อมทอ จํานวน 1 ชุด 5) ดินสอ 2B/ปากกาหมึก จํานวน 1 อัน 6) ตลับเมตร จํานวน 1 อัน 7) ตะไบสามเหลี่ยม จํานวน 1 อัน 8) ตัวจับทอ จํานวน 1 ตัว 9) รีมเมอร จํานวน 1 อัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หนวยที่ 3 งานเชื่อมแกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/3.html ภานุวัฒน หนูกิจ. 2556. งานเชื่อมและโลหะแผนเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.maceducation.com/ebook/3305806100/files/assets/common/downloads/publication.pdf สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมวัสดุ – อุปกรณและเครื่องมือที่ใชใน งานเครื่องปรับอากาศ และตรวจสอบความ พรอมใชงานของอุปกรณ 4. ตัวอยางชิ้นงานการตัดและปรับแตงทอขนาด ตาง ๆ การขยายทอและการบานทอ และการ ดัดทอ ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับทอในเครื่องทําความเย็น

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน ที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สราง ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรีย นรูใ นเรื่องทอในเครื่ องทํา ความเย็น ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝกเรื่องทอในเครื่องทํา ความ เย็น หนาที่ 14 - 50 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ เรียนรูโดยใชวิธีถาม – ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความรูใ หมพ รอมใชคูมือ ผูรั บการฝ ก หนา ที่ 17 – 31 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ชนิ ด และขนาดของท อ ที่ ใ ชใ นเครื่ องทํา ความเย็น 2.2 การตัดทอ

1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย 2. ฟง และซักถามขอสงสัย

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องทอในเครื่องทําความเย็น หนาที่ 14 - 50 ไปศึกษา 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 การปรับแตงปลายทอ (ลบคม) 2.4 การขยายและการบานทอ 2.5 การดัดทอ 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 32 - 34 โดยครูคอยสังเกต ฝก หนาที่ 32 – 34 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ ฝก หนาที่ 43 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกั น ตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.1 ทอในเครื่องทํา 5. ศึกษาใบงานที่ 1.1 ทอในเครื่องทําความเย็น จาก ความเย็น จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 35 – 50 คูมือผูรับการฝก หนาที่ 35 – 50 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 6. อธิ บ ายพรอ มสาธิ ต และถามตอบขอ ซักถาม 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เกี่ย วกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00.00 – 12.08 มี สาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 วิธีการตัดทอ 6.2 วิธีการขยายทอ 6.3 วิธีการบานทอ 6.4 วิธีการดัดทอ 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จายวัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตาม 8. รั บวั สดุ -อุ ปกรณ และเครื่ องมื อปฏิ บั ติ งานตามใบ ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 36 – 37 45 - 46 9. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะตอผูรับ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึงถึง การฝ ก นํ า ขณะปฏิ บั ติ ง านทุ ก ขั้ น ตอนอย า ง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมือ ใกลชิด ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูค อย สังเกตอยางใกลชิด 10. ตรวจเช็ควัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็บวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ทอในเครื่องทําความ เย็น ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง ทอในเครื่องทํ า ความเย็ น เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. ชนิดของทอที่ใชในเครื่องทําความเย็น 1.1 ทอทางเดินสารทําความเย็นที่ใชในระบบเครื่องทําความเย็น แบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ 1) ทอชนิดออน สวนใหญที่นิยมใช ไดแก ทอทองแดงอยางออน ทออะลูมิเนียม ทอที่ทําจากสารอัลลอยดพิ เศษ โดยมีเสนผานศูนยกลางหลายขนาด เชน ทอทองแดงชนิดออน (Soft Copper) ทออะลูมิเนียม หรือทอ ที่ทําจากอัลลอยดชนิดพิเศษ ที่นิยมใชกันทั่วไป คือ ทอทองแดงชนิดออน มีขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก (Outside Diameter หรือ OD) ตั้งแต 1/4 นิ้ว ถึง 3/4 นิ้ว มีความหนาหลายขนาด เชน ชนิดหนา (K) ชนิด ปานกลาง (M) และชนิด บาง (L) เปน ตน มีค วามยาวมวนละ 50 ฟุต (15 เมตร) เวลาใชงาน ตอ งระมัดระวังในการคลี่ออกจากมวน มิฉะนั้นอาจทําใหทอพับหรือแบนได ทอชนิดออนมักนิยมใชกับ ระบบการทําความเย็นขนาดเล็กโดยทั่วไป 2) ทอชนิดแข็งที่ใชในระบบทําความเย็น ไดแก ทอทองแดงอยางแข็ง (Hard – draw Copper) ทอสเตนเลส โดยมีการจําหนายเปนทอน ๆ มีข นาดเสนผานศูนยกลางภายนอกตั้ง แต 3/8 นิ้ว ถึง 4 นิ้ว มีค วาม หนาหลายขนาดเช น เดีย วกั บท อชนิ ด อ อ น มีความยาวประมาณท อ นละ 20 ฟุต (6 เมตร) มักใชกับ ระบบการทําความเย็นขนาดใหญ การนําทอทองแดงชนิ ดออนไปใชงานจะตองมีวิธีการในการตัดทอ การ ขยายทอ การบานทอ การเชื่อม

ภาพที่ 1.1 ทอชนิดออน

ภาพที่ 1.2 ทอชนิดแข็ง 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.2 ขนาดของทอทองแดง และทอแคปทิ้วป ทอทองแดงชนิดทอออนแบบมวน และชนิดแข็งแบบเสนมีหลายขนาด ซึ่งนํามาใชกับงานเดินทอของสารทําความเย็น ในระบบที่มีขนาดแตกตางกัน โดยมีรายละเอียดตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 ขนาดของทอทองแดงแบบมว น แบบความหนาปกติ ขนาด (นิ้ว)

ความหนา (มม.)

1/4

0.40

1/4

0.50

1/4

0.71

5/16

0.40

5/16

0.50

5/16

0.60

5/16

0.70

3/8

0.46

3/8

0.50

3/8

0.60

3/8

0.71

1/2

0.48

1/2

0.60

1/2

0.71

5/8

0.54

5/8

0.71

3/4

0.61

3/4

0.71

3/4

0.81

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.2 ขนาดของทอทองแดงแบบมว น แบบความหนาพิเศษ ขนาด (นิ้ว) 3/16 3/16 1/4 5/16 5/16 3/8 1/2 5/8 5/8 3/4 3/4

ความหนา (มม.) 0.60 0.40 1.20 1.20 1.02 1.20 1.20 1.20 1.02 1.20 1.02

ตารางที่ 1.3 ขนาดของทอทองแดงแบบเสน Type M ความยาว 6 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก (นิ้ว) 3/8 ½ 5/8 ¾ 7/8 1-1/8 1-3/8 1-5/8 2-1/8 2-5/8 3-1/8

ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน (นิ้ว) 1/4 3/8 1/2 5/8 3/4 1 1-1/4 1-1/2 2 2-1/2 3

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ความหนา (มม.) 0.55 0.64 0.71 0.76 0.81 0.89 1.07 1.27 1.52 1.78 2.03


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.4 ขนาดของทอทองแดงแบบเสน Type L ความยาว 6 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก

ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน

ความหนา

(นิ้ว)

(นิ้ว)

(มม.)

3/8

1/4

0.76

1/2

3/8

0.89

5/8

1/2

1.02

3/4

5/8

1.07

7/8

3/4

1.14

1-1/8

1

1.27

1-3/8

1-1/4

1.40

1-5/8

1-1/2

1.52

2-1/8

2

1.78

2-5/8

2-1/2

2.03

3-1/8

3

2.29

3-5/8

3-1/2

2.54

4-1/8

4

2.79

5-1/8

5

3.18

6-1/8

6

3.56

8-1/8

8

5.08

ตารางที่ 1.5 ขนาดของทอทองแดงแบบเสน Type K ความยาว 6 เมตร ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก

ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน

ความหนา

(นิ้ว)

(นิ้ว)

(มม.)

3/8

1/4

0.89

1/2

3/8

1.24

5/8

1/2

1.24

3/4

5/8

1.24

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขนาดเสนผานศูนยกลางภายนอก (นิ้ว)

ขนาดเสนผานศูนยกลางภายใน (นิ้ว)

ความหนา (มม.)

7/8

3/4

1.65

1-1/8

1

1.65

1-3/8

1-1/4

1.65

1-5/8

1-1/2

1.83

2-1/8

2

2.11

2-5/8

2-1/2

2.41

3-1/8

3

2.77

4-1/8

4

3.40

5-1/8

5

4.06

6-1/8

6

4.88

นอกจากนี้ทออีกประเภทที่เปนอุปกรณสําคัญของระบบปรับอากาศ คือ ทอแคปปลลารี่ หรือแคปทิ้วป ซึ่งมี รายละเอียดของขนาดตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.6 แสดงขนาดของทอแคปปลลารี่ ขนาดและเบอรแคปทิ้วป ขนาด (นิ้ว)

เบอร

0.026

22

0.031

21

0.036

20

0.042

19

0.050

18

0.055

17

0.059

16

0.064

15

0.070

14 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. การตัดทอ การตัดทอสารทําความเย็น มี 2 วิธี ดังนี้ 2.1 การตัดทอโดยใชคัตเตอรหรือมีดตัด คัตเตอรหรือมีดสําหรับตัดทอ มีหลายประเภท ซึ่งผูใชงานควรเลือกใชคัตเตอรใหเหมาะสมกับประเภท และขนาดของทอ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) คัตเตอรตัดทอแบบสายคลองตัว สําหรับใชตัดทอในที่แ คบ โดยตัดทอไดตั้งแตข นาดเสนผ า นศู น ยก ลาง 2-12 นิ้ว

ภาพที่ 1.3 คัตเตอรตัดทอแบบคลองตัว 2) คัตเตอรตัดทอแบบสปริง ประกอบไปดวยสวนของสปริงที่มีหนาที่ชวยใหการขยับเขาออกรวดเร็วขึ้น ทําใหประหยัดเวลาในการหมุนคัตเตอรเพื่อตัดทอ คัตเตอรตัดทอแบบสปริงมีหลายรุน ซึ่งสามารถตัดทอ ที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/4 - 6 นิ้ว

ภาพที่ 1.4 คัตเตอรตัดทอแบบสปริง 3) คัตเตอร ตั ด ท อทองแดง และทอคอนดู ด (Tubing and Conduit Cutter) สําหรับตัด ท อทองแดง ทอทองเหลือง ทออะลูมิเนีย ม และทอคอนดูดแบบบาง โดยคัตเตอรประเภทนี้ จะมีลูกบิดขนาดใหญ ซึ่งชวยประหยัดเวลาในการตัดทอ คัตเตอรประเภทนี้มีหลายขนาด สามารถตัดทอขนาดเสนผานศูนยกลาง 1/8 – 4 นิ้ว

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.5 คัตเตอรตัดทอทองแดง และทอคอนดูด 4) คัตเตอรตัดทอแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ เปนคัตเตอรที่ออกแบบมาเพื่อใชกับทอขนาดใหญ และสามารถใช รวมกับมอเตอรขันทอ โดยอุปกรณนี้สามารถรองรับทอที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต 1/8 – 2 นิ้ว

ภาพที่ 1.6 คัตเตอรตัดทอแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ 5) คัตเตอรตัด ทอแบบอัต โนมั ติ เหมาะสําหรับตัดทอ ทองแดง ทอทองเหลือง ทออะลูมิเนีย ม ทอพีวีซี ทอคอนดูดแบบบาง อุปกรณจะทําใหจับยึดทอไดแบบพอดี และสามารถตัดไดโดยหมุนอุปกรณไปรอบ ๆ เหมาะสํา หรับ การทํา งานในพื้ น ที่จํ า กัด คัต เตอรแ บบอัต โนมัติม ี 2 ขนาด คือ สํา หรับ ทอ ขนาด เสนผานศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร และ 22 มิลลิเมตร

ภาพที่ 1.7 คัตเตอรตัดทอแบบอัตโนมัติ 6) มินิคัตเตอร เปนคัตเตอรขนาดเล็ก เหมาะสําหรับการตัดทอขนาดเล็ก เสนผานศูนยกลาง 3-22 มิลลิเมตร และ พื้นที่ทํางานที่จํากัด ซึ่งมินิคัตเตอรสามารถตัดทอทองแดง ทออะลูมิเนียม และทอทองเหลือง 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.8 มีด มินิคัตเตอร ในระบบการทํา ความเย็น ขนาดเล็ก มีด ตัด ทอ จัด เปน เครื่อ งมือ ที่ใ ชใ นการตั ด ทอ มากที่สุ ด รองลงไป คือ ตะไบสามเหลี่ยม สวนเลื่อยตัดเหล็กมักใชกับงานทอของระบบการทําความเย็นขนาดใหญเทานั้น การตัดทอดวยมีดตัดทอ เปนวิธีที่นิย มใชทั่วไปเนื่องจากกระทําไดงาย และไมมีเศษผงขณะทําการตัด มีดตัดทอ เปน เครื่องมือที่ใ ชสําหรับตัดทอทองแดงชนิ ดออ น ในการปฏิบัติงานบางครั้งมี ดตั ดทอ ธรรมดาไมสามารถใชง านได เนื่อ งจากพื้น ที่คับแคบจึงตองใชมีดตัดทอ ขนาดเล็ก (Mini Cutter) มีด ตัด ทอขนาดเล็ก จะใชกับทอขนาดเล็กโดยมี เสนผานศูนยกลางไมเกิน 1/2 นิ้ว ดังภาพที่ 1.8 ขางตน การคลี่ทอทองแดงออน ทอทองแดงออนที่มีจําหนายเปนมวนเมื่อจะใชงานตองคลี่ใ หถูกตอง มิฉ ะนั้นอาจทําใหทอพับหรือแบนได และ ความยาวที่คลี่ออกมาเพื่อตัดใชงานจะตองมีความพอดี ถามีความยาวมากเกินไปเมื่อตองการมวนกลับคืนจะกระทํา ไดลําบาก ปกติจะตองใชสปริงดัดทอดัดคืนเขามวน การคลี่ทอทองแดงออนจะกระทําโดยการขับมวนทองแดงใหตั้ งฉาก กับพื้นที่เรียบ เอามือกดดานปลายทอใหชิดกับพื้น แลวคอย ๆ จับมวนทอทองแดงกลิ้งมวนไปตรงขามกั บด า นปลายทอ ที่กดไวชิดพื้น การกลิ้งมวนทอทองแดงออกไปก็จะไดความยาวทอที่ตองการใชงาน เมื่อไดความยาวที่ตองการก็จะมีการตั ดทอ ในขั้นตอนตอไป โดยที่คลี่ออกจากมวนทออาจะดูโคงงอไมสวยงาม ซึ่งสามารถตกแตงไดดวยมือ และคอนยางรวมกัน สําหรับมวนทอทองแดงเมื่อมีการตัดทอบางสวนออกไปแลว จะตองรีบปดปลายทอดวยฝาจุกปดทันที ทั้งนี้เพื่อปองกันฝุ นผง แมลงหรือสิ่งแปลกปลอมตาง ๆ รวมทั้งความชื้นที่อาจเขาไปในทอได ขัน้ ตอนการตัดทอโดยใชมีดตัด 1) ทําตําแหนงที่จะตัดไวที่ทอทองแดง 2) วางทอระหวางลูกกลิ้งกับใบมีดของมีดตัดทอ โดยใหใบมีดตรงกับตําแหนงที่ทําเครื่องหมาย 3) หมุนหัวปรับตั้งหรือปุมเรงระยะใบมีด ใหฝงลงในเนื้อทองแดงเล็กนอย 4) หมุนตัวมีดตัดทอชา ๆ รอบทอ จะทําใหใบมีดหมุนฝงเนื้อทอโดยรอบ 5) หมุนหัวปรับระยะใบมีดลงในทออีก แลวหมุนมีดตัดทอชา ๆ รอบทอ ทําซ้ํา ๆ จนทอขาด 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 6) จัดการลบคมทอดวยตัวลบคมทอ (Reamer)

ภาพที่ 1.9 ลักษณะการตัดทอดวยคัตเตอร 2.2 การตัดทอโดยใชเลื่อย เหมาะสําหรับทอแข็ง โดยตองใชตัวจับทอยึดทอไวกอนที่จะใชเลื่อยตัดเพื่อความสะดวกและแมนยํา

ภาพที่ 1.10 การใชเลื่อยตัดทอ การตัดทอแคปปลลารี่ ทอแคปปลลารี่ หรือ แคปทิ้วป เปนทอที่มีข นาดเล็กมาก ดังนั้นในการตัดแคปทิ้วปจึงใชอุปกรณเฉพาะสําหรับ ตัดแคปทิ้วปเทานั้น โดยการตัดแคปทิ้วปมีขั้นตอน ดังนี้ 1) คลี่ทอแคปทิ้วปออกจากมวน ตกแตงใหเปนเสนตรง 2) ทําตําแหนงจุดที่จะตัด 3) ใชตะไบสามเหลี่ยมถูตรงจุดตัดใหเปนรองลึก ประมาณ 1/3 ของขนาดทอ 4) ใชมือดัดงอไปมาใหทอหัก ตรงจุดตัด 5) ตกแตงปลายทอดวยตะไบใหดูสวยงาม 6) ทําความสะอาดไมใหเศษผงทองแดง หรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ เขาไปในทอ

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.11 ตะไบสามเหลี่ยม กับที่วัดขนาดทอแคปทิ้วป 3. การปรับ แตงปลายทอ (ลบคมทอ) การลบคมทอ (Reamer) เมื่อเสร็จจากการตัดทอทุกครั้ง จะตองลบคมทอใหเรียบรอยทุกครั้งดวยเครื่องมือที่เรียกวา ตัวลบคมทอ (Reamer) การลบคมทอทําไดโดยการใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ลงต่ํา กดและ หมุนตัวลบคมทอใหตัดเศษทองแดงออกไป และขณะที่กําลังลบคมทอ จะตองระมัดระวังไมใหเศษผงทองแดงตกเขาไปในท อ เพราะอาจเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการอุดตันในระบบได - ชุดใบมีดงอ เปนอุปกรณลบคมทอโลหะสําหรับใสกับกานจับขนาด 3.2 มิลลิเมตร

ภาพที่ 1.12 ชุดใบมีดงอ - อุป กรณล บคมปลายทอ สามารถลบคมไดทั้งขอบดานใน และดา นนอก โดยสว นที่จับ ทํา จากพลาสติก ชวยใหจับไดแนนกระชับ

ภาพที่ 1.13 อุปกรณลบคมปลายทอ

ภาพที่ 1.14 การใชรีมเมอรปรับแตงปลายทอ 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 4. การขยายทอและการบานทอ 4.1 การขยายทอทองแดง เปนการขยายทอใหมีข นาดใหญขึ้ นเล็ก นอย เพื่อใหส ามารถสวมต อกับท ออีกท อนหนึ่ งที่มีข นาดเทากั นได โดยใชเครื่องมือขยายทอ (Swaging Tool) ซึ่งประกอบไปดวยตัวจับทอ และเหล็กตอก ขั้นตอนการขยายทอ มีดังนี้ 1) ควานตกแตงปลายทอใหเรียบรอย 2) ใสทอเขาไปในรูของตัวจับทอ ขนาดของรูกับทอตองเทากัน วัดความสูงของปลายทอใหเทากับความหนา ของเหล็กตอก 3) ขันตัวจับใหแนน 4) ใสเหล็กตอกเขาไปในทอ แลวใชคอนคอย ๆ ตอกเหล็กตอก จนปลายทอแนบกับดามเหล็กตอก 5) คลายตัวจับทอออก

ภาพที่ 1.15 การขยายทอ 4.2 การบานทอ การบานทอ หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา การบานแฟลร มีจุดประสงคเพื่อตอทอเขาดวยกัน โดยใช วิธีการขันเกลีย ว ของแฟลรนัตที่เกลียวใน เขากับเกลีย วนอกของยูเนียน ซึ่งแบงออกเปน การบานทอชั้นเดีย ว และการบานทอสองชั้น มีระยะการบานแฟลรตามขนาดเสนผานศูนยกลาง ดังนี้

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.7 แสดงระยะ A ตอขนาดทอตาง ๆ เสนผานศูนยกลาง

ระยะ A (มม.)

1/4 นิ้ว

0.8 – 1.5

5/16 นิ้ว

0.8 – 1.2

3/8 นิ้ว

1.0 – 1.8

1/2 นิ้ว

1.0 – 2.0

ขั้นตอนการบานทอชั้นเดียว มีดังนี้ 1) ควานตกแตงปลายทอใหเรียบรอย 2) ใสทอเขาไปในรูจับ ท อ ขนาดของรู กับ ท อ ต องเทา กั น และใหปลายท อสู งกว าตัว จั บ ประมาณ 1/3 ของความสูงปากหลุม ถาเหลือปลายทอไวมากเกิน เมื่อบานทอทอจะแตกออก ถาเหลือปลายทอนอยเกิ นไป เมื่อไปสวมตอจะทําใหเกิดการรั่วไหลของสารทําความเย็นได 3) ขันตัวจับใหแนน 4) สวมตัวบานทอเขาไปในตัวจับ แลวออกแรงขันใหตัวบานทอกดทอทองแดงบานออก 5) คลายตัวจับออก

ภาพที่ 1.16 การบานทอชั้นเดียว

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการบานทอสองชั้น มีดังนี้ 1) ควานตกแตงปลายทอใหเรียบรอย 2) ใสทอเขาไปในรูจับทอ โดยใหความสูงของปลายทอเทากับความหนาของอะแดปเตอร 3) ขันตัวยึดใหแนน 4) สวมอะแดปเตอรเขาไปในทอ 5) ออกแรงขันใหตัวบานทอกดลงบนอะแดปเตอรจนแนน 6) คลายตัวบานทอและเอาอะแดปเตอรออก แลวออกแรงขันใหตัวบนทอกดลงบนปลายทออีกครั้ง 7) คลายตัวบานทอ และตัวจับทอออก 8) ถาหากทอที่บานแลวสวมกับยูเนียนไมพอดีใหทําใหม

ภาพที่ 1.17 การบานทอสองชั้น 5. การดัดทอ การดัดทอใหโคง เพื่อใหสามารถตอถึงกันได โดยการดัดทอจะใชเครื่องมือที่เรียกวา เบนเดอร (Bender) ซึ่งสามารถดัดท อได หลายชนิด เชน ทอเหล็ก ทอสเตนเลส ทอทองแดง ทออะลูมิเนียม เปนตน โดยไมควรใชกับทอที่มีผนังทอบางมาก และทอแข็ง เบนเดอร แบงออกได 3 ประเภท คือ 1) แบบกระเดื่อง (Lever Bender) เปนแบบที่นิย มใชทั่วไป สามารถใหระยะดัดไดที่ 180 องศา การใชงาน มีหลักสําคัญคือเลือกขนาดใหเหมาะกับขนาดทอที่จะดัด เลือกใชรัศมีของโคงวงกลมที่ดัดใหตรงกับขนาดของ เบนเดอร

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตารางที่ 1.8 ระยะรัศมีของโคงวงกลมของเบนเดอร ขนาดเบนเดอร

ระยะรัศมี (นิ้ว)

1/4

9/16

5/16

11/16

3/8

15/16

2) แบบสปริง (Spring Bender) เปนเครื่องมือสามารถดัดทอไดหลายรูปแบบ การใชงานมีหลักการ คือ ตองเลือก ขนาดสปริงใหเหมาะกับขนาดทอ หลัง การดัดแลวสปริงมักติดกับ ตัวทอ ใหทําการหมุน ตามเกลีย วสปริง เพื่อนําสปริงออก ไมควรดึงสปริงออกโดยตรง 3) แบบ Gear Type เปนเครื่องมือที่ไมพ บได โดยทั่วไป สวนใหญจะใชใ นงานอุ ตสาหกรรม เพื่อผลิต งาน ในปริมาณมาก ๆ ขั้นตอนการดัดทอ ดังนี้ 1) เลือกเบนเดอรใหพอดีกับขนาดของทอ 2) ยกดามหมุนขึ้น ใสทอทองแดงในชอง และตัวจับทอเพื่อปองกันไมใหทอลื่นไหล ดังภาพที่ 1.18

ภาพที่ 1.18 ระยะจับยึดทอกอนดัด 3) นําทอทองแดงสอดเขาไปในเบนเดอร ตรวจสอบตําแหนงองศาที่ 0 ใหตรงกับตําแหนงที่จะดัด ดังภาพที่ 1.19 – 1.20

ภาพที่ 1.19 ตรวจสอบตําแหนงองศาที่ 0 ใหตรงกับตําแหนงที่จะดัด

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.20 ทิศทางการดัด 4) คอย ๆ กดดามของเบนเดอรใหทอ งอโคงตามองศาที่ตองการ ดังภาพที่ 1.21

ภาพที่ 1.21 ตําแหนงการอานคาองศาในการดัด 5) ถาตองการดัดทอที่มีมุม มากกวา 90 องศา ใหหมุนดานจับทวนเข็ม นาฬิกาเขาหาตัว เพื่อใหสามารถกด ดามจับไดอีก 6) วัดความยาวจากปลายทอ และทําเครื่องหมายจุดที่ตองการดัดทอ 7) ถาดานปลายของทอที่ตองการดัดอยูดานซายของตัวจับทอ ใหขยับเครื่องหมายบนทอใหตรงกับ ขีด L บนดามจับ 8) ถาดานปลายของทอที่ตองการดั ดอยู ดา นขวาของตัว จับ ทอ ใหข ยับเครื่องหมายบนทอใหตรงกับ ขีด R บนดามจับ 9) การดัดทอดวยมุม 90 องศา จะกดดามกดลงจนกระทั่งขีด 0 บนดามจับตรงกับขีด 90 องศาบนวงลอ 10) การดัดทอดวยมุม 45 องศา จะกดดามกดลงจนกระทั่งขีด 0 บนดามจับตรงกับขีด 45 องศาบนวงลอ 11) ถอดทอออกจากเบนเดอร

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดตอไปนี้ตรงกับลักษณะของทอแคปปลลารี่ หรือ แคปทิ้วป ก. ทออะลูมิเนียมขนาดใหญ ข. ทอสเตนเลสขนาดใหญ ค. ทอทองแดงขนาดเล็ก ง. ทอสังกะสีขนาดเล็ก 2. ทอแบบใดเหมาะสําหรับระบบการทําความเย็นสําหรับแอรข นาด 12000 BTU ก. ทอทองแดงขนาดเล็ก ข. ทออะลูมิเนียมขนาดใหญ ค. ทอสเตนเลสขนาดใหญ ง. ทอสังกะสีขนาดเล็ก 3. ทอขนาดเล็ก มีเสนผานศูนยกลางไมเกิน 1/2 นิ้ว ควรใชที่ตัดแบบใด ก. มีด มินิคัตเตอร ข. คัตเตอรตัดทอแบบสปริง ค. คัตเตอรตัดทอแบบอัตโนมัติ ง. คัตเตอรตัดทอแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ 4. ขอใดเปนวิธีที่ถูกตองในการการลบคมทอ ก. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอกวาดหมุนไปมาแนวนอน ข. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ขึ้นเอียง 45 องศา ค. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ลงต่ํา ง. ใชตัวลบคมทอดานที่เปนกรวยแหลมสอดเขาไปในทอที่ชี้ขึ้น

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 5. ทอชนิดใดหากคลี่ออกไมระมัดระวังทออาจแบนหรือพับงอได ก. ทอทองแดง ข. ทอเหล็ก ค. ทอ PVC ง. ทอสเตนเลส

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตัดทอ ปรับแตงปลายทอ ขยายทอ บานทอ และดัดทอได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. จงตัดทอขนาด 1/4 นิ้ว 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว ใหมีความยาว 50 เซนติเมตร 2. จงขยายทอทองแดงแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 3. จงบานแฟลรหนึ่งชั้นทอแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 4. จงบานแฟลรสองชั้นทอแตละขนาด อยางละ 2 ชิ้น 5. จงดัดทอทํามุม 30 องศากับพื้นราบ (องศาภายใน 150 องศา) ทอแตละขนาด อยางละ 1 ชิ้น ตารางบันทึกผล ขนาดทอ

ตัด

ขยาย

บานแฟลร 1 ชั้น บานแฟลร 2 ชั้น

(แบบตอก) 1/4 นิ้ว 5/16 นิ้ว 3/8 นิ้ว

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ดัด


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.1 ทอในเครื่องทําความเย็น 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอน

จํานวน 1 อัน

2. คัตเตอรตัดทอ

จํานวน 1 อัน

3. เครื่องมือขยายทอ

จํานวน 1 อัน

4. ชุดเครื่องมืองานทอ

จํานวน 1 ชุด

5. ดินสอ 2B/ปากกาหมึก

จํานวน 1 ดาม

6. ตลับเมตร

จํานวน 1 อัน

7. ตัวจับทอ

จํานวน 1 ตัว

8. รีมเมอร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

2. ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

3. ทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว ความยาว 50 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 งานตัดทอ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. คลี่ทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ออกจากมวน

คําอธิบาย ขอควรระวัง ค ลี่ ท อ ง แ ด ง ข น า ด 1/ 4 นิ้ ว ท อ ทองแดงขนาดเล็ก และบาง บางสวนออกจากมวนอยางถูกวิธี ง า ยต อ การหั ก งอ เมื่ อ ใช เ สร็ จ แล ว ให เ ก็ บ ไว ใ นที่ ที่ เ หมาะสม เสมอ

2. กําหนดตําแหนงตัดทอที่ 50 เซนติเมตรจาก มวน

ใช ต ลั บ เมตรวั ด ความยาวใหได กํ า หนดตํ า แหน ง ตั ด ให ชั ด เจน 50 เซนติเมตรจากมวน เพือ่ ลดความผิดพลาดในการตัด แลวกําหนดตําแหนงไวเพื่อตัด

3. ตัดทอในจุดที่กําหนดตําแหนงไว แลวลบคมทอ

ใชคัตเตอรตัดทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ ว ให ไ ด ค วาม ย าว 50 เซนติเมตร จากนั้นทําการลบคม ทอ

4. คลี่ทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว จากนั้นตัดตามขั้นตอนที่ 1 - 3

คลี่ทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ ว แล ว ตั ด ท อ ทองแดงทั้ ง สองขนาด ตามลําดับขั้นขอ 1–3

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

การปรั บใบมี ดขณะการตั ด ควร ปรับทีละนอยอยาแรงมาก เพราะ จะทําใหใบมีด และทอไดรับความ เสียหาย


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. สรุปผล

คําอธิบาย สรุปผลการทดลอง

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.2 งานขยายทอ (แบบตอก) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ทีต่ ัดไวใสใน นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ตัวจับยึด จากงานตัด ใสในตัวจับยึด

2. นําตัวขยายทอตอกลงในทอที่จับยึดไว

นําตัวขยายทอตอกขยายทอตาม ขั้นตอน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง ท อ ทองแดงขนาดเล็ ก และ บาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแล ว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 3. คลายตัวจับยึดและนําทอที่ขยายมาพักไว คลายตั ว จั บ ยึ ด ถอดท อ ทองแดง ขนาด 1/4 นิ้ว ที่ขยายทอเรียบร อย แลวออกมา

4. นําทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ว ที่ตัดไวใสในตัวจับทอ ทําการขยายตาม ขั้นตอนที่ 1 - 3

นําทอทองแดงขนาด 5/16 นิ้ว และ 3/8 นิ้ ว มาขยายท อตามลํา ดับขั้น ขอ 1 - 3

5. สังเกตและบันทึกผล

สั ง เกตผลปฏิ บั ติ ง านจากชิ้ น งาน บั น ทึ ก ผลลงในตารางการทดลอง และสรุปผลการทดลอง

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว มาตัดออกแลวทํา การลบคมทอ

คําอธิบาย นํ า ท อ ทองแดงขนาด 1/4 นิ้ ว จากใบงานขยายทอ (แบบตอก) มาตัดดานที่ทําการขยายออก 3 นิ้ว แลวทําการลบคมทอ

2. นําทอใสตัวจับยึด

นําทอที่ลบคมแลวใสใ นตั ว จั บ ยึดทอ

3. สวมตัวบาน แลวทําการบานแฟลร

สวมตั ว บานท อ เข า ไปในท อ แ ล ว ทํ า ก า ร บ า น แ ฟ ล ร ท อ แบบชั้นเดียว

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จ แลวใหเก็บไวใ นที่ที่เหมาะสม เสมอ


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 4. คลายตัวจับยึด แลวนําทอที่บานแฟลรแลวออกเพื่อ คลายตั ว จั บ ท อ ถอดเอาท อ พักไว ที่บานแฟลรแลวออก

5. นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ 3/8 นิ้ว มาตั ด นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ ออกแล ว ทํ า การลบคมท อ จากนั้ น บานแฟลร ต าม 3/8 นิ้ ว จากใบงานขยายท อ ขั้นตอนที่ 1 - 4 (แบบตอก) มาตัดออก 3 นิ้ว จากนั้นนํามาบานแฟลร ชั้นเดียวตามลําดับขอ 1 - 4

6. คลายตั ว จั บ ยึด ถอดท อ ที่ บ านแล วออก จากนั้ น คลายตั ว จั บ ท อ ถอดเอาท อ ที่ สังเกตแลวบันทึกผล บานแฟลร แ ล ว ออกสั ง เกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย ขอควรระวัง 1. นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว จากใบงาน นําทอทองแดงขนาด 1/4 นิ้ว ท อ ทองแดงขนาดเล็ ก และบาง บานแฟลร ชั้ น เดี ย วมาตั ด ด า นที่ บ านแฟลร จากใบงานบานแฟลรชั้นเดียว งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว ออก แลวลบคมทอ มาตัดดานที่ บานแฟลร ออก 3 นิ้ว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ แลวทําการลบคมทอ

2. นําทอใสตัวจับยึด

นําทอที่ลบคมแลวใสในตัวจับยึดทอ

3. สวมตัวจับทอลงในปลายทอ ใชคอ นทุ บ สวมตัวจับทอขนาด 1/4 นิ้ว ลงใน ปลายทอเบา ๆ ใหงอเขาดานใน ปลายทอ จากนั้นใชคอนทุบ ปลาย ทอเบา ๆ ใหงอเขาดานใน

4. สวมตัวบานทอเขาไปในทอ แลวขันกรวย สวมตัวบานทอเขาไปในทอ แลวขัน ทอใหกดลงบนตัวจับทอ กรวยท อ ให ก ดลงบนตั ว จั บ ท อ ให สนิท

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 5. คลายตัวบานทอ เอาตัวจับทอออก ขันตัว คลายตัวบานทอ เอาตัวจับทอออก บานทออีกครั้ง แลวคลายตัวบานทอ จากนั้น ขันตัวบานทอใหก รวยกดลงปลาย ถอดเอาทอที่บานแฟลรแบบสองชั้นออก ทอจนแนบสนิทอีกครั้ ง แลวคลาย ตัวบานทอและตัวจับทอถอดเอาทอ ที่บานแฟลรแบบสองชั้นออก

6. นําทอทองแดงขนาด 5/16 และ 3/8 นิ้ว นํ า ท อ ท อ ง แ ด ง ข น า ด 5 / 1 6 มาบานแฟลรสองชั้นตามลําดับขั้นตอนที่ และ 3/8 นิ้ว มาบานแฟลรสองชั้น 1-5 ตามลําดับขอ 1 - 5

7. สังเกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง

สังเกตผล แลวบันทึกผลลงในตาราง

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2.5 งานดัดทอ (เบนเดอร) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. นําทอทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว มาตัดดานที่ บานแฟลรออกแลวทําการลบคมทอ

คําอธิบาย ขอควรระวัง นําทอทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง จากใบงานบานแฟลรสองชั้น งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว มาตัดดานที่บานแฟลรออก 3 นิ้ว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ แลวทําการลบคมทอ

2. เลือกขนาดเบนเดอรใหเหมาะกับขนาดทอ

เลือกเบนเดอรขนาด 1/2 นิ้ว ซึ่งมีระยะรัศมี 1 ½ นิ้ว

3. สังเกตจุดดัดที่ 0 องศาบนตัวเบนเดอรแลว กําหนดจุดดัดบนทอ จากนั้นสอดทอลงในเบน เดอร

สังเกตจุดดัดใหตรงกับองศาที่ 0 เสมอ (ตําแหนงนี้ตองหักลบดวย รัศมีของการดัดจากระยะดัดจริง) กําหนดตําแหนงที่จะดัดลงบนทอที่ กึ่งกลางทอ จากนั้นสอดทอลงใน เบนเดอร

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 4. กดดามจับดานที่มีคานหมุนเบนเดอร ใ ห ไ ด คอย ๆ กดดามของเบนเดอร ใหทอ ขนาดองศาดัด ตามตองการ จากนั้นถอดทอที่ งอโคงตามองศาที่ตองการ คือ 30 ดัดแลวออกจากเบนเดอรแลวตกแตงทอ องศากับพื้น ราบ จากนั้นถอดท อ ออกจากเบนเดอร แ ลว ตกแตงให เรียบรอย

5. สรุปผล

สรุปผลการทดลอง

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ทอในเครื่องทําความเย็น 1.1 งานตัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 งานดัดทอ (เบนเดอร)

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 งานตัดทอ

คะแนนเต็ม 25

- ตัดทอไดขนาดตามที่กํ าหนด ลบคมทอเรียบรอย

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร ยังมีคมทออยูเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตัดทอขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร ลบคมทอไมเรียบรอ ย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)

- ผิวเรียบ คอทอ ไมมีรอยราว แตก ระยะขยายไดขนาด

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยเล็กนอย ระยะขยายไดขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยราว แตก ระยะขยายลึก หรือตื้นเกินไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น

- ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 งานบานแฟลร 2 ชั้น

- ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 งานดัดทอ (เบนเดอร)

- กํ า หนดร ะยะตํ า แหน ง ดั ด ถู ก ต อ ง ส ามาร ถดั ด ได 30 องศา

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร สามารถดัดได ขาด/ เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร สามารถดัดได ขาด/เกินตั้งแต 3 องศา ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1 1

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921730102 ชนิดของลวดเชื่อมแกส (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกชนิดของลวดเชื่อมแกส และการเลือกใชงานได 2. หัวขอสําคัญ

- ชนิดของลวดเชื่อมแกส

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ภานุวัฒน หนูกิจ. 2556. งานเชื่อมและโลหะแผนเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.maceducation.com/ebook/3305806100/files/assets/common/downloads/publication.pdf วิทยาลัยการอาชีพเกษตรวิสัย. 2558. งานเชื่อมแกส (Gas Welding). [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.kaset.ac.th/technic/index.php/2014-12-22-08-52-36/2015-01-28-09-42-43 สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต. กรุงเทพฯ : อมรินทรพ ริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับชนิดของลวดเชื่อมแกส

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน ที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องชนิดของลวดเชื่อม 2. ฟง และซักถามขอสงสัย แกส ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องชนิดของลวดเชื่อม แกสหนาที่ 51 - 56 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความรู ใ หมพ ร อ ม ใชสื ่ อ วี ด ิ ท ั ศ น นาทีที ่ 00.00 - 03.04 และตัวอยางจริงประกอบการ สอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 ชนิ ด ของลวดเชื่ อ มแก็ ส ประกอบด ว ย ลวดเชื่อมเงิน, ลวดเชื่อมทองเหลือง, ลวด ผิวแดง 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ ฝก หนาที่ 55 - 56 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู ฝก หนาที่ 67

1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องชนิดของลวดเชื่อมแกส หนาที่ 51 - 56 ไปศึกษา 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย

3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 55 - 56 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับ กั นตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสํ าคั ญเรื่อ ง ชนิดของลวด อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน เชื่อมแกส ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง ชนิ ด ของลวด เชื่ อ มแก ส เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน

รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ชนิดของลวดเชื่อมแกส 1. ชนิดของลวดเชื่อม ในการเชื่อมแกสจําเปนตองมีลวดเชื่อมแกส เพื่อเปนตัวชวยในการประสานระหวางทอที่ทําการเชื่อม โดยลวดเชื่อมแกส จะหลอมละลายเมื่อ ไดรั บ ความร อ น และจะแทรกตัว ไปยึ ด เกาะกั บท อ เปรีย บเหมือ นดั่ง กาวที่ ชวยยึ ด ติ ด นอกจากนี้ ยังชวยไมใหเกิดรอยรั่วระหวางการเชื่อมตอของทอดวย ลวดเชื่อมแกส มีหลายชนิดซึ่งมีคุณสมบัติตางกัน ดังนี้ 1.1 ลวดเชื่อมเงิน ลวดเชื่อมเงิน เรีย กอีกอยางวา ลวดเชื่อมทองแดง มีจุดหลอมเหลวต่ํา และไมตองใชฟ ลักซในการชวยประสาน เหมาะสําหรับใชในงานเชื่อมระหวางทองแดงกับทองแดง เชน ในงานเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ

ภาพที่ 2.1 ลวดเชื่อมเงิน 1.2 ลวดเชื่อมทองเหลือง มี จุ ด หลอมเหลวสูง และต อ งใช ฟ ลัก ซ ใ นการช วยประสาน เหมาะสํ า หรั บ ใชใ นงานเครื่ อ งทํา ความเย็นและ เครื่องปรับอากาศ และการซอมแซมชิ้นงาน เชน งานเชื่อมทองเหลือง ทองแดง ทองแดงผสม และเหล็กหลอ

ภาพที่ 2.2 ลวดเชื่อมทองเหลือง 64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.3 ลวดผิวแดง ลวดผิวแดงเปนลวดที่ใ ชใ นงานเชื่อมเหล็กทั่วไป เหมาะกับงานทําทอมอเตอรไซค และเฟอรนิเจอรนอกจากนี้ยังมี ลวดเชื่อมแกสอีกหลายชนิดที่ใชไดกับงานที่ทําจากโลหะเฉพาะเจาะจงเทานั้น เชน ลวดเชื่อมเหล็ก ลวดเชื่อมเหล็กหลอ ลวดเชื่อมโลหะผสมลวดเชื่อมสเตนเลส และลวดเชื่อมอะลูมิเนียม เปนตน ตารางที่ 2.1 ตัวอยางลวดเชื่อม มาตรฐาน AWS

ชนิดของโลหะ

อุณหภูมิหลอมเหลว (องศาเซลเซียส)

ER5356

อะลูมิเนียม

2060

ER70S-6

อารกอน

-40 - 30

ER308

สเตนเลสสตีล

1400 - 1450

ERCuAl-A2

ทองแดง

1040

การเลือกใชลวดเชื่อมในงานทอของเครื่องปรับอากาศ จะใชลวดเชื่อมทองแดง หรือลวดเชื่อมเงิน ซึ่งสามารถแบงระดับได ดังนี้ ตารางที่ 2.2 ลวดเชื่อมเงินระดับตาง ๆ ชนิด

งานเชื่อมที่เหมาะสม

ไมมีสวนผสมของเงิน (0%)

งานเชื่อมทองแดงแบบประหยัด และงานที่ใชอุณหภูมิสูงได

มีสวนผสมของเงิน 2%

งานเชื่อมทองแดง และงานเชื่อมทองเหลือง แบบที่ใช อุณหภูมิสูงได

มีสวนผสมของเงิน 5%

งานเชื่อมที่ตองการความยืดหยุนกวาแบบ 0% และ 2%

มีสวนผสมของเงิน 15%

งานที่หนาสัมผัสไมเรียบ งานเครื่องทําความเย็น และงาน เครื่องปรับอากาศเคลื่อนที่

มีสวนผสมของเงิน 35%

งานที่มีโลหะพื้นฐานตางสกุล เชน เหล็กกับทองแดง

มีสวนผสมของเงิน 45%

งานที่มีโลหะพื้นฐานตางสกุล เชน สเตนเลสสตีล กับ ทองแดง หรือ ทองเหลือง

มีสวนผสมของเงิน 56%

งานเชื่อมที่ตองการคุณภาพสูงสุด เชน ในอุตสาหกรรมผลิต อาหาร 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ชนิดของลวดเชื่อมแกสมีกี่ประเภท อะไรบาง ก. 3 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเงิน ลวดเชื่อมทองเหลือง และลวดเชื่อมผิวแดง ข. 3 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเงิน ลวดเชื่อมทองเหลือง และลวดแบบตะกั่ว ค. 2 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเหล็ก ลวดเชื่อมทองแดง ง. 2 ประเภท คือ ลวดเชื่อมเหล็ก ลวดเชื่อมบุก 2. ลวดเชื่อมเงินเหมาะสําหรับใชในงานใด ก. งานทําเฟอรนิเจอร ข. งานซอมรถมอเตอรไซต ค. งานตอเติมหลังคาบาน ง. งานเชื่อมระบบทําความเย็น 3. งานทําทอมอเตอรไซค และเฟอรนิเจอรควรเลือกใชลวดชนิดใด ก. ลวดผิวแดง ข. ลวดเชื่อมเงิน ค. ลวดเชื่อมทองเหลือง ง. ลวดเงินผสมตะกั่ว

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0921730103 ชนิดของหัวเชื่อมแกส (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกชนิดของหัวเชื่อมแกสได 2. เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ

- ชนิดของหัวเชื่อมแกส

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1. ทอทองแดงขนาด 1/2 ความยาว 10 เซนติเมตร 2. ทอทองแดงขนาด 1/4 ความยาว 10 เซนติเมตร 3. ทอทองแดงขนาด 3/8 ความยาว 10 เซนติเมตร 4. ทอทองแดงขนาด 5/8 ความยาว 10 เซนติเมตร 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1. เวอรเนียรคาลิปเปอร 2. หัวเชื่อมแกสขนาดตาง ๆ

จํานวน 1 เสน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึง ทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หนวยที่ 3 งานเชื่อมแกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/3.html วิทยาลัยเทคนิคพัทยา. 2560. หนวยที่ 5 งานบัดกรีแข็ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051111115447.pdf

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรีย มวัสดุ – อุปกรณแ ละเครื่ องมื อ ที่ ใ ช ใ น งานเครื่องปรับอากาศ และตรวจความพรอม ใชงานของอุปกรณ 4. ตัวอยางชิ้นงานทอทองแดงแตละขนาดที่เชื่อม ดวยหัวเชื่อมแกสชนิดตาง ๆ ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับชนิดของหัวเชื่อมแกส

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน ที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องชนิดของหัวเชื่อม แกส

1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย 2. ฟง และซักถามขอสงสัย

ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องชนิดของหัวเชื่ อ ม 1. รับคูมือผูรับ การฝ ก เรื่องชนิดของหัว เชื่ อ มแก ส หนาที่ 57 - 70 ไปศึกษา แกสหนาที่ 57 - 70 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความรูใ หมพ รอมใชคูมือ ผูรั บการฝ ก หนา ที่ 60 - 62 และตัวอยางจริงประกอบการสอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 สวนประกอบของหัวเชื่อมแกส 71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 ชนิดของหัวเชื่อมแกส ประกอบดวย ชนิด ความดันสมดุล และชนิดหัวฉีด 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 63 - 64 โดยครูคอยสังเกต ฝก หนาที่ 63 - 64 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ ฝก หนาที่ 77 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับ กั นตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.1 ชนิดของหัว 5. ศึกษาใบงานที่ 3.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกสจากคูมือ เชื่อมแกสจากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 65 - 70 ผูรับการฝก หนาที่ 65 - 70 ซักถามขอสงสัย ดวย ความตั้งใจ 6. อธิ บ ายพรอ มสาธิ ต และถามตอบขอ ซักถาม 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เกี่ย วกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00.00 – 02.28 มี สาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 วิธีการเลือกหัวเชื่อมแกส 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จายวัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ 8. รับวัสดุ- อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 66 ขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 80 9. ควบคุม ดูแ ล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึ งถึง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้ นตอนอย า ง ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูคอย ใกลชิด สังเกตอยางใกลชิด 10. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมือ ปฏิบั ติ ง านใหมี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อ ง ชนิ ด ของหั ว เชื่อมแกส

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง ชนิดของหัวเชื่อม รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย แกสเกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะ ที่ ต อ งการบู ร ณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 ชนิดของหัวเชื่อมแกส หัวเชื่อมแกส (Welding Torch) อุปกรณสําคัญที่เปนทางผานของแกสออกซิเจนและแกสอะเซทิลีน และชวยควบคุม ทิศทางของแกส ซึ่งหัวเชื่อมแกส ประกอบไปดวย ตัวหัวเชื่อม (Torch Body) มีลักษณะเปนทอกลวงที่ติดกับทอแกสออกซิ เจน และอะเซทิลีน รวมทั้งเปนบริเวณมือจับสําหรับทํางานเชื่อม สวนปลาย เรีย กวา หัวเชื่อม (Torch Tip) ซึ่งอยูปลายสุด ของหัวเชื่อมติดกับสวนหองผสมแกส หัวเชื่อมแกสถูกนํามาใชในการเชื่อมติดชิ้นงานโลหะเขาดวยกันอยางแข็งแรง และ แนบเนียน

ภาพที่ 3.1 สวนประกอบของหัวเชื่อมแกส 1. หัวเชื่อมแกส แบงตามลักษณะของแรงดันแกสอะเซทิลีนไดเปน 2 ชนิด ไดแก 1.1 ชนิดความดันสมดุล (Equal Pressure Type) ชนิ ด ความดั น สมดุ ล ใช กั บ ถั ง แก ส อะเซทิ ลี น แบบบรรจุ ถั ง สํ า เร็ จ ที่ มี ค วามดั น สู ง กว า ถั ง แก ส ที่ เ ตรี ย มเอง ในบางครั้งจะเรียกวา Balanced Pressure เนื่องจากมักจะใชความดันของแกสออกซิเจนและอะเซทิลีนในอัตราสวนเทากัน

ภาพที่ 3.2 หัวเชื่อมแกส ชนิดความดันสมดุล 1.2 ชนิดหัวฉีด (Injection Type) ชนิดหัวฉีด หรือเรีย กวา Low Pressure Type เหมาะสําหรับใชกั บถั งแก สอะเซทิ ลี น จากถั งที่มี ค วามดั น ต่ํ า หัวฉีดประเภทนี้มีโครงสรางภายในที่แ ตกตางจากหัวฉีดแบบสมดุล เนื่องจากมีทอแกสออกซิเจนอยูตรงกลางดานใน และมีทอแกสอะเซทิลีนลอมรอบ ซึ่งโครงสรางแบบนี้ ทําใหเกิดสุญญากาศดูดแกสอะเซทิลีนเขาไปผสมกับแกสออกซิเจน 74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 3.3 หัวเชื่อมแกส ชนิดหัวฉีด นอกจากนี้ ในการเชื่อมแกสตองใหความสําคัญกับการเลือกขนาดหัวทิพ เชื่อม (Welding Tip) ซึ่งเปนทอทองแดง ผสมที่มีขนาดของรูที่หลากหลาย โดยขนาดของรูที่หัวทิพเชื่อมจะสัมพันธกับขนาดของเปลวไฟ ดังนั้น การเลือกขนาด ของหัวทิพจะตองพิจารณาจากความหนาและชนิดของโลหะที่จะเชื่อมดวย เนื่องจากการเลือกหัวทิพที่ใหญเกินไป จะทําให แนวเชื่อมมีข นาดใหญและอาจเกิดการทะลุได สวนการเลือกหัวทิพ ที่เล็กเกินไป จะทําใหปริม าณความรอนไมเพียงพอ สําหรับการหลอมละลายโลหะ ทําใหเสียเวลาในการเชื่อมนานเกินความจําเปน โดยความเหมาะสมระหวางขนาดของหั วทิพ และความหนาของชิ้นงานเปนไปตามตารางนี้ ตารางที่ 3.1 ขนาดของหัวทิพและความหนาของชิ้นงาน ขนาดเบอรหวั ทิพ

ขนาดความหนาโลหะที่ตองการเชื่อม (มิลลิเมตร)

0

0.79

1

1.58

2

2.38

3

3.17

ปลายหัวตัดแกส สามารถนํามาใชเชื่อมตอกับชุดถังแกสได เพื่อทําการตัดชิ้นงานโลหะใหมีขอบที่คมเรียบ ปลายหัวตัด จะมีลักษณะเปนรูข นาดเล็กที่พนเปลวไฟ อยูรอบ ๆ รูข องแกสออกซิเจน ซึ่งเปลวไฟนี้จะชวยเตรีย มใหชิ้นงานรอ น โดยปลายหัวตัด แบงไดเปน - ปลายหัวตัดแบบมาตรฐาน เสนผานศูนยกลางภายในของทอมีขนาดคงที่ ซึ่งปลอยแกสออกซิเจนที่ความดัน 30 – 60 psi - ปลายหัวตัดแบบความเร็วสูง ภายในทอจะมีข นาดเสนผานศูนยกลางจากแคบไปกวาง ทําใหสามารถ ปลอยแกสออกซิเจนออกมาที่ความดัน 60 – 100 psi ดวยความเร็วในการตัดที่สูงมาก หัวตัดประเภทนี้ จึงตองใชกับเครื่องตัดเทานั้น 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 3.4 หัวตัดแกส

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. หากโลหะมีความหนา 2.38 มิลลิเมตร ควรใชหัวทิพเบอรใด ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 3 2. ปลายหัวตัดแบบความเร็วสูงปลอยแกสออกซิเจนออกมาที่ความดันเทาไหร ก. 1- 60 psi ข. 60 – 100 psi ค. 100-150 psi ง. 150- 200 psi 3. หัวเชื่อมแกสชนิดหัวฉีด เหมาะสําหรับใชกับถังแกสชนิดใด ก. ถังแกสอะเซทิลีน ข. ถังแกสออกซิเจน ค. ถังแกสฮีเลียม ง. ถังแกสไนโตรเจน

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เลือกใชงานหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกวัดขนาดความหนาของทอทองแดงที่จะเชื่อมแลวเลือกขนาดหัวทิพเชื่อมใหเหมาะสม 3 ขนาด จาก 4 ขนาดที่กําหนดให ลําดับที่

ขนาดของทอ

ความหนาของทอ

1 2 3

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขนาดหัวทิพ


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 3.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เวอรเนียรคาลิปเปอร

จํานวน 1 ตัว

2. หัวเชื่อมแกสขนาดตาง ๆ

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอทองแดงขนาด 1/2 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

2. ทอทองแดงขนาด 1/4 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

3. ทอทองแดงขนาด 3/8 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

4. ทอทองแดงขนาด 5/8 ความยาว 10 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 ชนิดของหัวเชื่อมแกส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เลือกทอ 3 ขนาดจากที่ครูฝกกําหนด

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เลือกทอที่จะทําการเชื่อม

ทอทองแดงขนาดเล็กและบาง

มาอยางนอย 3 ขนาด

งายตอการหักงอ เมื่อใชเสร็จแลว ใหเก็บไวในที่ที่เหมาะสมเสมอ

2. ใชเวอรเนียวัดขนาดทอ และความหนา

ใชเวอรเนียรคาลิปเปอร วัดขนาด

ของทอ

ของทอและวัดความหนาของทอ

3. บันทึกผลที่ไดจากการวัดขนาดทอ

บันทึกขอมูลของทอที่วัดแลว

ทองแดง

ลงในตารางที่กําหนดใหในใบงาน

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. เลือกขนาดหัวทิพที่เหมาะกับขนาดทอ

คําอธิบาย เลื อ กขนาดหั ว ทิ พ ที่ เ หมาะสมกั บ ทอที่เลือก

5. บันทึกขนาดหัวทิพที่เลือกลงในตาราง

บันทึกขนาดหัวทิพที่เลือก

บันทึกผล แลวสรุปผลสงครูฝก

ลงในตารางบันทึกผลที่กําหนด แลวสรุปผลสงครูฝก

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

เลือกหัวเชื่อมที่เหมะสม 1.1 วัดขนาดทอไดถูกตองเหมาะสม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การเลือกขนาดหัวทิพ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การบันทึกผลการเลือกขนาดหัวทิพ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 วัด ขนาดทอได ถูกตองเหมาะสม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

20 - วัดขนาดทอถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- วัดขนาดทอคลาดเคลื่อนเกิน/ขาด 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - วัดขนาดทอคลาดเคลื่อนเกิ น/ขาดตั้ งแต 3 หนวย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การใชเวอรเนียรคาลิปเปอร

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง และชํานาญ ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ใชเครื่องมือไดถูกตอง แตขาดความชํานาญ ใหคะแนน 3 คะแนน - ใชเครื่องมือได โดยขอใหครูหรือเพื่อนชวย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 การเลือกขนาดหัวทิพ

- เลือกหัวเชื่อมแกสไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- เลือกหัวเชื่อมแกสไดไมถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 การบันทึกผลการเลือกขนาดหัวทิพ

- บันทึกผลไดถูกตอง ครบถ วน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- บันทึกผลไดถูกตอง แต ไมครบถวน 1 รายการ ใหคะแนน 3 คะแนน - บั น ทึ ก ผลถู ก ต อ งบางส ว นหรื อ ไม ค รบถ ว นตั้ ง แต 2 รายการ ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4

0921730104 การเชื่อมแกส (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกขั้นตอนการเชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG แกสออกซิเจนได 2. เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได

2. หัวขอสําคัญ - ขั้นตอนการเชื่อมแกส 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ทอทองแดง ขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร 2) ทอแคปทิ้วป ความยาว 5 เซนติเมตร 3) ฟลักซ 4) ลวดเชื่อมเงิน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คัตเตอรตัดทอ 2) คีมจับชิ้นงาน 3) เครื่องมือขยายทอ 4) ชุดเชื่อมกส 5) รีมเมอร

จํานวน 1 เสน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร. 2557. การเชื่อมแกส. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/00000831_1_20141106-121955.pdf วิทยาลัยเทคนิคพัทยา. 2560. หนวยที่ 5 งานบัดกรีแข็ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051111115447.pdf

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรีย มวัสดุ – อุปกรณแ ละเครื่ องมื อ ที่ ใ ช ใ น งานเครื่องปรับอากาศ และตรวจความพรอม ใชงานของอุปกรณ 4. ตัวอยางชิ้นงานทอชนิดตาง ๆ ที่เชื่อมดวยแกส ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับการเชื่อมแกส

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน ที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องการเชื่อมแกส 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ขั้นสอน 1. แจกคู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ งการเชื่ อ มแก ส 1. รับคูมือผูรับ การฝ ก เรื่องการเชื่ อมแกส หนา ที่ 71 - 90 ไปศึกษา หนาที่ 71 - 90 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความรูใ หมพ รอมใชคูมือ ผูรั บการฝ ก หนา ที่ 74 - 80 และตัวอยางจริงประกอบการสอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 เครื่องมือที่ใชในการเชื่อมแกส 2.2 การเปดเปลวไฟในการเชื่อมแกส 2.3 การปดเปลวไฟในการเชื่อมแกส 2.4 การเตรียมการเชื่อมแกส 2.5 ขั้นตอนการเชื่อมแกส 88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 81 - 82 โดยครูคอยสังเกต ฝก หนาที่ 81 - 82 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ ฝก หนาที่ 99 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับ กั นตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 4.1 การเชื่ อม 5. ศึกษาใบงานที่ 4.1 การเชื่อมแกสจากคูมื อ ผู รั บ แกสจากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 83 - 90 การฝก หนาที่ 83 - 90 ซักถามขอสงสัย ดวยความ 6. อธิ บ ายพรอ มสาธิ ต และถามตอบขอ ซักถาม ตั้งใจ เกี่ย วกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00.00 – 05.33 มี เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย สาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 วิธีการเชื่อมแกส 6.2 การตัดทอทองแดง 6.3 การขยายทอทองแดง 6.4 การทําความสะอาดจุดเชื่อม 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จายวัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตาม 8. รับวัสดุ- อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ ขั้น ตอนปฏิบัติ ง านในคูม ื อ ผู รับ การฝ ก หนา ที ่ 101 – 102 84 - 85 9. ควบคุม ดูแ ล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึ งถึง ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้ นตอนอย า ง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ใกลชิด ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูคอย สังเกตอยางใกลชิด 10. ตรวจเช็ควัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็บวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง การเชื่อมแกส

อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน 89

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมิ นผลรวมเรื่ อง การเชื่อมแก ส รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย เกี่ย วกับกิจนิสัย ในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และ ใบงาน

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ขั้นตอนการเชื่อมแกส 1. ขั้นตอนการเชื่อมแกส

ภาพที่ 4.1 ชุดเชื่อมแกส 1.1 เครื่องมือ ในการเชื่อมทอน้ํายาสารทําความเย็น จะประกอบไปดวยเครื่องมือและอุปกรณ ดังนี้ 1) ถังบรรจุแกสแอลพีจี (Liquefied Petroleum Gas : LPG Cylinder) 2) แกส แอลพีจี เปน สารประกอบประเภทไฮโดรคารบอน เมื่อรวมตัวกับออกซิเจนจะทําเกิดการสั นดาป และใหคาความรอนสูง มีคุณสมบัติ คือ ติดไฟได หนักกวาอากาศ ไมมีสี ไมมีกลิ่น และอาจเกิดการระเบิด ไดถ า มีค วามดัน หรือ อุณหภูมิสูง ถึงจุด วิก ฤต แกส แอลพีจีจะบรรลุคาความดันประมาณ 100 - 130 psig ที่อุณหภูมิ 20°C 3) ถังบรรจุแกสอะเซทิลีน (Acetylene Cylinder) 4) แกสอะเซทิลีน เปนสารประกอบประเภทไฮโดรคารบ อน เมื่อรวมตัวกับออกซิเจนจะทําเกิดการสั นดาป และใหคาความรอนสูง มีคุณสมบัติ คือ ติดไฟได เบากวาอากาศ ไมมีสี มีกลิ่นฉุน และอาจเกิดการระเบิด ไดถ า มีค วามดัน หรือ อุณ หภูม ิสูง ถึงจุด วิก ฤต แกส แอลพีจีจะบรรลุคาความดันประมาณ 250 psig ที่ อุณหภูมิ 20°C 5) ถังบรรจุแกสออกซิเจน (Oxygen Cylinder) 6) แกสออกซิเจนจัดเปนแกสชนิดทั่วไปที่มีตามธรรมชาติ มีคุณสมบัติคือชวยใหไฟติดแตไมติดไฟ ไมมีสี ไมมี กลิ่น ทอออกซิเจนจะบรรจุคาความดันประมาณ 2,000 psig ที่อุณหภูมิ 20°C 7) ชุดวาลวหัวปรับความดันพรอมเกจวัดสําหรับแกสออกซิเจน (Oxygen Regulator) เปนวาลวที่มีเกจเปน ตัวบอกคาความดันที่มีภายในถังออกซิเจนและคาความดันที่ปลอยออกไปใชงาน และมีวาลวปรับความ ดันที่เปนตัวควบคุมคาความดันที่ปลอยออกไปใชงานใหมีอัตราการไหลอยางสม่ําเสมอ โดยทั่วไปเกจที่ เป น 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ตัวบอกคาความดันที่ม ีภ ายในถัง ออกซิเ จนจะมีคาประมาณ 3,000 – 4,000 psig และเกจที่เปนตัว บอกคาความดันที่ปลอยออกไปใชงานจะมีคาประมาณ 250 – 300 psig 8) ชุดวาลวปรับความดันพรอมเกจวัดสําหรับแกสแอลพีจี (LPG Regulator) เปนวาลวที่มีเกจเปนตัวบอกคา ความดันที่มีภ ายในถังแอลพีจี และคา ความดัน ที่ปลอยออกไปใชงาน และมีวาลวปรับแรงดัน เปนตัว ควบคุม คาความดันที่ปลอยออกไปใชงานใหมีอัตราการไหลอยางสม่ําเสมอ โดยทั่วไปเกจที่เปนตัวบอกคา ความดันที่มีภ ายในถังแอลพีจี จะมีคาประมาณ 100 - 130 psig และเกจที่เปนตัว บอกคา ความดั น ที่ปลอยออกไปใชงานจะคาประมาณ 15 – 30 psig 9) ชุดวาลวปรับความดันพรอมเกจวัดสําหรับแกสอะเซทิลีน (Acetylene Regulator) เปนวาลวที่มีเกจเปน ตัวบอกคาความดันที่มีภ ายในถังอะเซทิลีน และคา ความดัน ที่ปลอ ยออกไปใชง าน และมีว าลวปรับ แรงดันเปนตัวควบคุม คาความดันที่ปลอยออกไปใชงานใหมีอัตราการไหลอยางสม่ําเสมอ โดยทั่วไปเกจที่ เปนตัวบอกคาความดันที่มีภ ายในถัง อะเซทิลีน จะมีคาประมาณ 200 - 250 psig และเกจที่เป น ตัว บอกคาความดันที่ปลอยออกไปใชงานจะคาประมาณ 15 – 30 psig 10) สายยางแอลพีจี สายยางอะเซทิลีน และสายยางออกซิเ จน (Welding House) มีลัก ษณะเปน ทอ ยาง ซึ่งอาจใชแ บบสายเดี่ย วเดิ นคูกัน หรือแบบสายคู ซึ่งมีรหัสสีที่ชัดเจน คือ ถาเปนสีแ ดงจะใชกับ แกส แอลพีจี หรือแกสอะเซทิลีน สีเขีย วหรือสีดํา จะใชกับแกสออกซิเจน ขนาดสายจะมีความยาว ประมาณ 5 – 10 เมตร 11) ขอตอ (Fitting) ไวสําหรับสวมเขากับสายเชื่อม แลวยึดดวยแคลมปรัดทอยาง 12) ทอรช เชื่อมและหัวทิพ เชื่อม (Welding Torch and Welding tip) ทอรช เชื่อม หรือ กระบอกเชื่อม เปนสวนที่แ กสออกซิเจนและแกสแอลพีจี หรือแกสอะเซทิลีนมาผสมกัน โดยสามารถควบคุม อัตราส วน ไดตามตองการ จากนั้นแกสจะไหลไปสูหัวทิพเชื่อม 13) แวน ตาเชื่อ มแกส (Welding Goggle) สวมเพื่อ ปอ งกัน สะเก็ด ไฟจากการเชื่อ ม และถนอมสายตา โดยมีทั้งแบบเลนสคูและเลนสเดี่ยว 14) อุปกรณจุดเปลวไฟ (Spark Lighter) ขณะจุดไฟควรใหปลายทิพหางประมาณ 1 นิ้ว 15) อุปกรณทําความสะอาดหัวทิพเชื่อม (Tip Cleaner) เพื่อไมใหเปลวไฟเอียงหรือแตกออก 16) วาลวปองกันแกสและไฟยอนกลับ (Reverse Floe Check Valves) 17) ประแจ (Wrench) ใชประแจเปดถังโดยเฉพาะ 18) ลวดเชื่อมแกส (Filler Rod)

92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.2 การเตรียมการเชื่อม มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1.2.1 การเปดวาลวถังแกส 1) เปดวาลวหัวทอของแกสแอลพีจี ประมาณ 1/4 รอบ จะสังเกตคาความดันภายในถังจากเกจวัดแรงดัน 2) เปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหไดความดันประมาณ 7 – 10 psig (0.5 Kg/cm2) 3) เปดวาลวหัวทอของแกสอะเซทิลีน ประมาณ 1/4 รอบ จะสังเกตคาความดันภายในถังจากเกจวัดแรงดัน 4) เปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหไดความดันประมาณ 7 – 10 psig (0.5 Kg/cm2) 5) เปดวาลวหัวทอของแกสออกซิเจน ประมาณ 1/8 รอบ จะสังเกตคาความดันภายในถังจากเกจวัดแรงดัน 6) เปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหไดความดันประมาณ 15 – 30 psig (5 Kg/cm2) 1.2.2 การปรับเปลวไฟชุดหัวเชื่อม 1) เปดวาลวหัวเชื่อมของแกสแอลพีจี หรือแกสอะเซทิลีน ประมาณ 1/4 รอบ โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา ใชมือบังที่หัวเชื่อม เมื่อรูสึกมีแ กสพุงออกมา ใหใ ชอุปกรณจุดเปลวไฟ โดยใหหางจากหัวเชื่อมประมาณ 3 เซนติเมตร 2) เปดวาลวหัวเชื่อมของแกสออกซิเจน โดยจะตองคอย ๆ เปด เพื่อใหไดเปลวไฟตามตองการ เปลวไฟจะตองไมมีควันดําหรือไมมีเสียงดัง 3) เพิ่มแกสออกซิเจนจนไดเปลวกลาง (Neutral Flame) 4) ถาตองการเปลวไฟแบบเดิม แตตองการความรอนสูงขึ้น ก็สามารถทําไดโดยการเพิม่ แกสแอลพีจี และ แกส ออกซิเ จน ในอัต ราสว นเทา กัน (ในกรณีที่เ ชื่อ มแกส แอลพีจี) หรือ แกส อะเซทิลีน และแกส ออกซิเจน ในอัตราสวนเทากัน (ในกรณีที่เชื่อมแกสอะเซทิลีน) 5) ปรับเปลวไฟใหมีลักษณะตามตองการ โดยลักษณะของเปลวไฟที่ใชในการเชื่อม มีหลายลักษณะ ดังนี้ เปลวไฟในงานเชื่อมทั่วไป สามารถปรับได 3 แบบ ขึ้นอยูกับโลหะที่ใชเชื่อม ดังนี้ - เปลวลด (Carburizing Flame) ลัก ษณะของเปลวไฟจะเปน กรวย 3 ชั้น เปลวลดเกิดจาก ปรับ หมุน วาลว ของแกส ออกซิเ จนมาผสมกับ แกส แอลพีจีใ นอัต ราสว นผสมที ่น อ ยกวา แกสแอลพีจี ดังรูป 93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 4.2 ลักษณะเปลวลด เปนคุณลักษณะของเปลวลด 3x ซึ่งมีอัตราสวนผสมของแกสแอลพีจมี ากกวาออกซิเจน 3 เทา และ สามารถปรับอัตราสวนผสมนี้ไดตามความเหมาะสมของแตละงาน เชน เปลวลด 2x ซึ่งจะใหคา ความรอนเพิ่มจากเดิม -

เปลวกลาง (Neutral Flame) ลักษณะของเปลวไฟจะเปนกรวย 2 ชั้น ชั้นในกรวยมน เกิดจาก

การปรับหมุนวาลวของแกสออกซิเจนออกมาผสมกับแกสแอลพีจใี นอัตราสวนผสมที่เ ทากั น ทํา ใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณโลหะเหล็กที่ถูกเผาดวยเปลวนี้ จะหลอมเหลวไดอยางใสสะอาด จึง ใชสําหรับการเชื่อมโลหะไดเกือบทุกชนิด การตัดโลหะและการแลนประสาน ซึ่งมีลักษณะเปลวไฟ ดังรูป

ภาพที่ 4.3 ลักษณะเปลวกลาง 94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 -

เปลวเพิ่ม (Oxidizing Flame) ลักษณะของเปลวไฟจะเปนกรวย 2 ชั้น ชั้นในเปนกรวยแหลม

เปลวนอกสั้นกวาเปลวชนิดอื่น ๆ เกิดจากการปรับหมุนวาลวของแกสออกซิเจนออกมาผสมกับ แกส แอลพี จี ใ นอัต ราสว นผสมที ่ม ากกวา แกส แอลพี จี ทํ า ใหเ กิด การเผาไหมไ ม ส มบู ร ณ มีออกซิเจนเหลื ออยูใ นเปลวเหมาะสมสํ าหรับการเชื่ อมบรอนซ การเชื่อมประสาน การอุนชิ้ น งาน เหล็ก หลอกอนเชื่อ ม แตไ มเ หมาะสํา หรับการเชื่อมเหล็ก เพราะจะทําใหแ นวเชื่อ มไมแ ข็งแรง ซึ่งมีลักษณะ ของเปลว ดังรูป

ภาพที่ 4.3 ลักษณะเปลวเพิ่ม ในสวนของเชื่อมทอในระบบเครื่องทําความเย็น ซึ่งทอสวนมากมักจะเปนทอทองแดง มักจะเลือกใช เปลวกลาง (Neutral Flame) ซึ่งสามารถใชเชื่อมไดทั้งการเชื่อมทองแดงกับทองแดง หรือทองแดงกับ เหล็กนอกจากนี้เปลวไฟเชื่อมทั้ง 3 แบบ นอกจากจะมีอัตราสวนผสมที่ไมเทากันแลว ยังใหคาความรอน และธาตุที่เหลือไมเหมือนกันดวย ตารางที่ 4.1 แสดงคุณสมบัติของเปลวไฟที่ใชในงานเชื่อม ชนิดเปลวไฟเชื่อมที่ใช เปลดลด

ความรอนที่ได

อัตราสวนผสม

ธาตุที่เหลือ

2,800°C

C2H2 > O2

คารบอน

3,200°C

C2H2 = O2

ไมเหลือธาตุ

3,400°C

C2H2 < O2

ออกซิเจน

(Carburizing Flame) เปลวกลาง (Neutral Flame) เปลวเพิ่ม (Oxidizing Flame) 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.3 ขั้นตอนการเชื่อม มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) นําทอที่จะทําการเชื่อมมาทําการขยายหรือสวมขอตอ แลวทําการทดสอบสวมกันดูใหเรียบรอย 2) ทําความสะอาดผิวนอกทอดวยกระดาษทราย 3) ทาฟลักซ (Flux) บริเวณผิวดานนอกและผิวดานในของทอ (ถาเชื่อมดวยลวดเชื่อมเงิน และเปนการเชื่อม ระหวางทองแดงกับทองแดงไมตองทาฟลักซ) 4) ปรับเปลวไฟของหัวเชื่อมใหเหมาะสมตามวิธีและขั้นตอนการปฏบัติ 5) ใชหัวเชื่อมแกสเปาใหความรอนชิ้นงานจนแดง แลวนําลวดเชื่อมไปแตะชิ้นงานสังเกตการวิ่งของลวดเชื่อม ที่หลอมละลาย คอยดึงเปลวไฟเขา - ออกใหพอดี โดยพยายามใหเนื้อลวดเชื่อมจับโดยรอบ 6) ปดชุดเชื่อมแกสตามขั้นตอน ขอสังเกต ขณะที่ปฏิบัติงานเชื่อมทอจะมีขอควรปฏิบัติหรือขอควรสังเกต ดังนี้ - ขณะทําการเชื่อมทอขนาดใหญ ควรใชคอนเคาะเบาๆ เพื่อชวยในการจับตัวของลวดเชื่อมขณะที่กําลัง หลอมละลาย - ถาตองการไมใ หเกิดออกไซดภายในทอ ขณะที่ทําการเชื่อมทอจะตองมีการผานแกส ไนโตรเจนใหไหล ภายในทอดวยความดันประมาณ 1-2 psig เสมอ - ในการเปดเปลวไฟเพื่อใชงานถาเราเปดแกสแอลพีจพี รอมกับออกซิเจนเมื่อทําการจุดเปลวไฟจะทําใหเกิด เสียงดังเสมอ (เนื่องจากการเกิดสันดาป) แตถาเราเปดเฉพาะแกสแอลพีจเี มื่อทําการจุดแกสก็มักจะเกิด เขมา และควันดําตามมา 1.4 ขั้นตอนการปดเปลวไฟ มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 1) ปดวาลวแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 2) รอจนเปลวไฟดับแลว ปดวาลวแกสออกซิเจนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 3) ปดวาลวที่หัวทอแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีน โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 4) ปดวาลวที่หัวทอแกสออกซิเจน โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 5) เปดวาลวแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา เพื่อปลอยแกสที่อยู ภายในสายออก สังเกตเข็มของเกจวัดคาความดันใชงาน และคาความดันภายในถังชี้ที่ 0 ปดวาลวปรับ ความดัน (Regulator) โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา 96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 6) ปดวาลวแกส LPG หรือแกสอะเซทิลีนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา 7) เปดวาลวแกสออกซิเจนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา เพื่อปลอยแกสที่อยูภายในสายออก สังเกตเข็มของเกจวัดคาความดันใชงาน และคาความดันภายในถังชี้ที่ 0 ปดวาลวปรับความดัน (Regulator) โดยหมุนทวนเข็มนาฬิกา 8) ปดวาลวแกสออกซิเจนที่ชุดหัวเชื่อม โดยหมุนตามเข็มนาฬิกา

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. เปลวไฟที่ใชในงานเชื่อมมีกี่ชนิด ก. 3 ชนิด ข. 2 ชนิด ค. 5 ชนิด ง. 6 ชนิด 2. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการปรับตั้งไฟเปลวลด ก. แกสออกซิเจนผสมกับแกสแอลพีจใี นอัตราสวนผสมที่เทากัน ข. แกสออกซิเจนผสมกับแกสไนโตรเจนในอัตราสวนผสมที่เทากัน ค. แกสออกซิเจนผสมกับแกสแอลพีจใี นอัตราสวนผสมที่มากกวาแกสแอลพีจี ง. แกสออกซิเจนผสมกับแกสแอลพีจใี นอัตราสวนผสมที่นอยกวาแกสแอลพีจี

3.

จากภาพ คือการปรับตั้งเปลวไฟชนิดใด ก. เปลวลด ข. เปลวกลาง ค. เปลวเพิ่ม ง. เปลวทั่วไป

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การเชื่อมแกส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เชื่อมแกส ปรับแตงแรงดันแกสอะเซทิลีน แกส LPG และแกสออกซิเจนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. จงเชื่อมทอทองแดง 2 ทอเขาดวยกัน 2. จงเชื่อมแคปทิ้วปกับทอทองแดง 3. จงทดสอบรอยรั่ว

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 4.1 การเชื่อมแกส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอ่ืน ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. แปรงลวด

จํานวน 1 อัน

2. อุปกรณจุดเปลวไฟ

จํานวน 1 อัน

3. แวนนิรภัย

จํานวน 1 อัน

4. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

5. ชุดเชื่อมแกส

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ลวดเชื่อมแกส

จํานวน 1 เสน

2. ทอทองแดง ขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การเชื่อมแกส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดทอทองแดงยาว 4 เซนติเมตรจํานวน 4 ตัดทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว ทอน

ความยาว 4 เซนติเมตร จํานวน 4 ทอน จากนั้นลบคมทอ

2. นําทอทองแดงเสนหนึ่งมาขยาย จากนั้น

นําทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว 1 เสน

นําทอทองแดงอีกเสนลองสวม เพื่อตรวจดูวา มาขยายด ว ยเครื่ อ งมื อ ขยายท อ ทอทั้งสองเสนสามารถสวมกันไดพอดีหรือไม จากนั้นลองสวมทอทองแดงอีกเสน ลงไป ทดลองขยั บ เล็ ก น อ ยเพื่ อ ดู ความเหมาะสม จากนั้ น ขยายท อ ทั้งหมด 4 ทอน

3. นําทอแคปทิ้วปมาสวมลงในทอทองแดง

นํ า ท อ แ ค ป ทิ้ ว ป ค ว า ม ย า ว 5

เสนที่ไมไดขยาย จากนั้นบีบปลายทอ

เซนติ เ มตรสวมลงในท อ ทองแดง

ทองแดง ใหทอแคปทิ้วปไมหลุด

ดานที่ไมไดข ยาย โดยบีบปลายทอ ใหทอแคปทิ้วปไมหลุด

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. ทําความสะอาดจุดเชื่อมทุกจุด

ทําความสะอาดจุดเชื่อมตอทุกจุด

5. เปดวาลวชุดเชื่อม

เปดวาลวแกสแอลพีจี แลวเปดวาลว การใชแกสควรมีครูฝกควบคุม หั ว ท อ ของแก ส ออกซิเ จน จากนั้ น อยางใกลชิด อันตรายจากถังแกส เปดวาลวหัวเชื่อมของแกสแอลพีจี ระเบิดอาจทําใหเสียชีวิตได แลวจุดแกสโดยใหอุปกรณจุดเปลว ไฟ เปดวาลวหัวเชื่อมของออกซิเ จน เปลวไฟจะตองไมมีควันดําหรือไมมี เสีย งดัง ปรับแตงใหได เปลวกลาง หรือ Neutral Flame

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ปรับเปลวไฟใหไดตามการใชงาน

คําอธิบาย ปรับตั้งไฟเพื่อทําการเชื่อมทอทองแดง และทอแคปทิ้วป เขาเปนชิ้นงาน เดียวกัน

7. เชื่อมจุดตาง ๆ ดวยลวดเชื่อมเงิน

ทํ า การเชื่ อ มจุ ด เชื่ อ มต อ ด ว ยลวด เชื่อมเงิน

8. ปดอุปกรณเชื่อม ปดวาลวใหถูกตอง

ขณะเปลวไฟยั งติ ด อยู ใ ห ป ดวาลว แกสออกซิเจนตรงหัวเชื่อม จากนั้น ป ด วาล ว หั ว เชื่ อ ม แ ก ส แ อล พี จี แลวจึงปดวาลวที่ถังแกสออกซิเจน และที่ถังแกสแอลพีจตี ามลําดับ

9. ตรวจสอบความเรียบรอยและสงชิ้นงาน

ตรวจสอบความเรีย บรอ ย และ สงชิ้นงาน

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การเชื่อมทอ 1.1 การตัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การลบคมทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การเชื่อมทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ทดสอบรอยรั่ว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การตัดทอ

1.2 การลบคมทอ

1.3 การเชื่อมทอ

1.4 ทดสอบรอยรั่ว

2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ ครบถ วน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - ตัดทอไดขนาดตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน - ตัดทอขาด หรือเกิน ที่กําหนด 1-2 หนวย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตัดทอขาด หรือเกินตั้งแต 3 หนวยขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน - ลบคมทอโดยทอไมมีคมเหลืออยู ไมมีเศษทอภายในทอ ใหคะแนน 5 คะแนน - ลบคมทอโดยทอ ไมมีค มเหลือ อยู แตมีเศษทออยู ภายในทอ เล็ ก น อ ย ใหคะแนน 3 คะแนน - ลบคมทอโดยท อไม มีค มเหลื ออยู มีเศษทออยูภายในท อจํ านวนมาก ใหคะแนน 1 คะแนน - เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอได ทอตรง แข็งแรง แตยังไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอได ทอไมตรง ไมแนบสนิท ไมแข็งแรง ใหคะแนน 1 คะแนน - รอยเชื่อมไมรั่ว ละลายเปนเนื้อเดียวกัน ผิวหนารอยเชื่อมสม่ําเสมอให คะแนน 5 คะแนน - รอยเชื่อมไมรั่ว ผิวหนารอยเชื่อมไมสม่ําเสมอ หรือรอยพอกหนา เกินความจําเปน ใหคะแนน 3 คะแนน - รอยเชื่อมรั่ว ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 20 5

คะแนนที่ได

5

5

5

5 1 1 1 1 1 25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5

0921730105 การเชื่อมทอทองแดง (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานทอไนโตรเจนได 2. เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได

2. หัวขอสําคัญ - ขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ทอทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร 2) ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร 3) ทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร 4) ฟลักซ 5) ลวดเชื่อมเงิน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คอน 2) คีมจับของรอน 3) เครื่องมือขยายทอ 4) ชุดเชื่อมแกส 5) ถังไนโตรเจน 6) ปากกาจับชิ้นงาน 7) รีมเมอร 8) วาลวหัวปรับความดันไนโตรเจน

จํานวน 1 เสน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 เสน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หนวยที่ 7 งานบัดกรีออน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/7_23.html วิทยาลัยเทคนิคพัทยา. 2560. หนวยที่ 5 งานบัดกรีแข็ง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051111115447.pdf

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรีย มวัสดุ – อุปกรณแ ละเครื่ องมื อ ที่ ใ ช ใ น งานเครื่องปรับอากาศ และตรวจความพรอม ใชงานของอุปกรณ 4. ตัวอยางชิ้นงานการเชื่อมทอทองแดงผา นแกส ไนโตรเจน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับการเชื่อมทอทองแดง

ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน ที่มีอยู

ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลั พ ธ การเรี ย นรู ใ นเรื่ องการเชื่ อ มท อ 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ทองแดง ขั้นสอน 1. แจกคู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ งการเชื่ อ มท อ 1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ งการเชื่ อ มท อ ทองแดง หนาที่ 91 - 117 ไปศึกษา ทองแดงหนาที่ 91 - 117 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความรูใ หมพ รอมใชคูมือ ผูรั บการฝ ก หนา ที่ 94 - 95 และตัวอยางจริงประกอบการสอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 วิธีเชื่อมทอทองแดงโดยใชแกสไนโตรเจน 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 96 - 97 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม ฝก หนาที่ 96 - 97 111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ ฝก หนาที่ 118 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับ กั นตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 5.1 การเชื่อมทอ 5. ศึกษาใบงานที่ 5.1 การเชื่อมทอทองแดงผา นแกส ทองแดงผานแกสไนโตรเจนจากคูมือผูรับการ ไนโตรเจนจากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 98 - 106 ฝก หนาที่ 98 - 106 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 6. อธิ บ ายพรอ มสาธิ ต และถามตอบขอ ซักถาม 6. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เกี่ย วกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00.00 – 04.28 มี สาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 วิธีการตัดทอ 6.2 วิธีการขยายทอ 6.3 วิธีการทําความสะอาดจุดเชื่อม 6.4 วิธีการเชื่อมทอโดยใชไนโตรเจน 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จายวัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตาม 8. รับวัสดุ- อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 99 120 – 121 100 9. ควบคุม ดูแ ล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึ งถึง ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้ นตอนอย า ง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ใกลชิด ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูคอย สังเกตอยางใกลชิด 10. ตรวจเช็ควัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 10. เก็บวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 11. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 11. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 12. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 5.2 งานทอ จาก 12. ศึกษาใบงานที่ 5.2 งานทอ จากคูมือผูรับการฝก คูมือผูรับการฝก หนาที่ 107 – 117 หนาที่ 107 - 117 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 13. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย 112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 13. อธิ บ ายพรอ มสาธิ ต และถามตอบขอ ซักถาม เกี่ย วกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย ใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 04.30 – 12.56 มี สาระสําคัญ ดังนี้ 13.1 วิธีการดัดทอ 14. แบงกลุมตามความสมัครใจ 13.2 วิธีการบานทอ 15. รั บวั สดุ - อุ ปกรณ และเครื่ องมื อปฏิ บั ติ งานตามใบ 13.3 วิธีการตรวจสอบรอยรั่ว ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 108 - 109 14. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 15. จายวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติ ง าน ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บัติ ง านในคู มือ ครูฝก 16. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํา นึ งถึง ความปลอดภั ย ของวั ส ดุ อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หนาที่ 128 - 129 ปฏิบัติงาน ตลอดจนตัวผูปฏิบัติงานเองโดยครูคอย 16. ควบคุม ดูแ ล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ สังเกตอยางใกลชิด ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้ นตอนอย า ง 17. เก็บวัสดุ - อุปกรณแ ละเครื่องมือปฏิบัติงานให มี ใกลชิด สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 17. ตรวจเช็ควัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ผูรับการฝกสงคืน 18. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ ปฏิบัติงานของผูรับการฝก อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ปสาระสํา คั ญ เรื่ อ ง การเชื่ อ มทอ ทองแดง รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง การเชื่ อ มท อ ทองแดงเกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน 113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 ขั้นตอนการเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน การเชื่อมทอทองแดงดวยวิธีการบัดกรีแข็ง (Brazing) ซึ่งเปนการใหความรอนแกทอทองแดง และเติมลวดเชื่อมโดยไมใ ช น้ํายาประสาน โดยระหวางที่เชื่อมตองปล อยแกสไนโตรเจนเข าสูภายในท อ เพื่อปองกันการเกิด ออกไซดข องทองแดง ซึ่งจะทําใหเกิดคราบเขมาสีดําที่ผิวดานในของทอ โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1) ปรับแตงปลายทอใหเรียบรอย 2) สวมทอทั้งสองที่ตองการเชื่อมตอกัน 3) ใชเทปปดปลายทออีกดาน แลวเจาะรูขนาดเล็ก เพื่อใหแกสไนโตรเจนไหลออกได 4) ปลอยแกสไนโตรเจนแรงดันประมาณ 1-2 psi เขาสูทอ 5) ตรวจเช็คความพรอมของอุปกรณเชื่อม และจุดไฟที่หัวเชื่อม 6) ปรับเปลวไฟใหเปนเปลวไฟนิวทรัล โดยปรับปริมาณของแกสออกซิเจนและแกสอะเซทิลีนในอัตราสวนที่เทากัน 7) ใหความรอนแกบริเวณปลายทอ โดยใหหางจากขอบประมาณ 1 นิ้ว และสายไปมาเล็กนอย หามคางอยูจุด ใดจุดหนึ่งนานเกินไป เพราะจะทําใหทอเสียหายได 8) เมื่อบริเวณที่จะเชื่อมมีอุณหภูมิสูงพอแลวใหเลื่อนเปลวไฟออก 9) ใสลวดเชื่อมพรอมฟลักซเขาไปที่รอยตอ 10) เมื่อลวดเชื่อม และฟลักซละลายดีแลว จึงดับเปลวไฟได 11) ปดแกสไนโตรเจน

ภาพที่ 5.1 ขั้นตอนการบัดกรีแข็งผานแกสไนโตรเจน

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 5.2 ทอที่ผานการบัดกรีแข็งผานแกสไนโตรเจน นอกจากนี้ แกสไนโตรเจนยังถูกนํามาใชใ นการตรวจสอบรอยรั่วของทอสารทําความเย็นได โดยตอสายจากถังไนโตรเจน เขาสูระบบทางสายตรงกลาง จากนั้นคอย ๆ อัดแกสใหมีแรงดันมากกวา 100 ปอนดตอตารางนิ้ว จากนั้นใชน้ําผสมฟองสบู ลูบตามทอ โดยเฉพาะจุดที่เปนรอยเชื่อม และขอตอ ถามีฟองอากาศผุดขึ้น แสดงวาจุดนั้นมีรอยรั่ว

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. อัตราการปลอยแกสไนโตรเจนที่เหมาะสมในการเชื่อมทอทองแดงคือ ก. 28 -30 psi ข. 45 -50 psi ค. 55 -60 psi ง. 65 -70 psi 2. การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน ตองปรับใหเปลวไฟอยูในลักษณะใด ก. เปลวลด ข. เปลวกลาง ค. เปลวเพิ่ม ง. เปลวเฉื่อย 3. การใหความรอนทอควรจอทอใหรอนหรือไม ก. ควร เพราะทอจะไดรอน ข. ควร เพราะทอจะไดไมเกิดออกไซดติดภายใน ค. ไมควร การใหความรอนควรสายไปมาเล็กนอย ง. ไมควร การใหความรอนควรใหโดยเวนวางจุดละ 5 นาที

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกเชื่อมทอทองแดง 2 ขนาด ดวยวิธีการเชื่อมทอผานแกสไนโตรเจน

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 5.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณผูรับการฝก 1 คน 1. ชุดเชื่อมแกส

จํานวน 1 ชุด

2. ถังไนโตรเจน พรอมเกจเรกูเลเตอร

จํานวน 1 ชุด

3. แปรงลวด

จํานวน 1 อัน

4. อุปกรณจุดเปลวไฟ

จํานวน 1 อัน

5. แวนนิรภัย

จํานวน 1 อัน

6. ถุงมือ

จํานวน 1 คู

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุผูรับการฝก 1 คน 1. ลวดเชื่อมเงิน

จํานวน 1 เสน

2. ฟลักซ

จํานวน 1 อัน

3. ทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

4. ทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ตัดทอทองแดงยาว 5 เซนติเมตร

ตัดทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว

จํานวน 4 เสน จากทอทั้ง 2 ขนาด

ความยาว 5 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน และทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 5 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน จากนั้นลบคมทอทั้งหมด

2. นําทอทองแดงขนาด 5/8

นําทอทองแดงขนาด 5/8 นิ้ว

เส นหนึ่ งมาขยาย จากนั้ นนํา 1 เสน มาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ ทอ ทองแดงขนาดเดียวกันอีกเสนลองสวม จากนั้ น ลองสวมท อ ทองแดงขนาด 5/8 อีกเสนลงไป ทดลองขยับเล็กนอย เพื่อดูความเหมาะสม จากนั้นขยาย ทอจํานวน 3 เสน

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. นําทอทองแดงขนาด 3/8 มาขยายเสน

นําทอทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว

หนึ่ง และนําอีกเสนหนึ่งมาสวม

1 เสนมาขยายดวยเครื่องมือขยายทอ จากนั้นลองสวมทอทองแดงขนาด 3/8 อี ก เส น ลงไป ทดลองขยั บ เล็ ก น อย เพื่ อ ดู ค วามเหมาะสมเช น เดี ย วกั น จากนั้นขยายทอจํานวน 3 เสน

4. ทําความสะอาดจุดเชื่อมทุกจุด

ทําความสะอาดจุดเชื่อมตอทุกจุด

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ใชเทปปดทอ แลวเจาะรูขางหนึ่ง

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ใช เ ทปป ด ปลายท อ ทองแดงขนาด 5/8 ด า นหนึ่ ง แล ว เจาะรู ข นาดเล็ ก เพื่ อ ให แ ก ส ไนโตรเจนไหลออกได จากนั้ น ใช เ ทปปด ปลายทอ ทองแดง ขนาด 3/8 ดานหนึ่ง แลวเจาะรูข าด เล็กเพื่อใหแกสไนโตรเจนไหลออกได

6. ปลอยแกสไนโตรเจนผานทอ

ปลอยแกสไนโตรเจนแรงดันประมาณ การใชแกสควรมีครูฝกควบคุมอยาง

1-2 ปอนดตอตารางนิ้ว

1-2 psi เขาสูทอเพื่อเตรียมการเชื่อม ใกลชิด อันตรายจากถังแกสระเบิด อาจทําใหเสียชีวิตได

7. ตั้งไฟใหเปนไฟแบบนิวทรัล

ปรั บ เปลวไฟใหเ ปน เปลวไฟนิวทรัล ตรวจเช็คความพรอมของอุป กรณ โดยปรับปริม าณของแก สออกซิ เ จน เชื่อม และจุดไฟที่หัวเชื่อม และแก ส อะเซทิ ลี น ในอั ต ราส ว นที่ เทากัน

8. ใหความรอนบริเวณปลายทอ โดยสาย

ให ค วามร อ นแก บ ริ เ วณปล าย ท อ หามคางอยูจุดใดจุดหนึ่งนานเกินไป

ไฟมาเล็กนอย

โดยใหหางจากขอบประมาณ 1 นิ้ว เพราะจะทําใหทอเสียหายได และสายไปมาเล็กนอยเมื่อบริ เ วณที่ จะเชื่อมมีอุณหภูมิสูงพอแลวใหเลื่อน เปลวไฟออก

123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

9. ใสลวดเชื่อมพรอมฟลักซเขาไปที่รอยตอ ใส ล วดเชื่ อ มพร อ มฟลั ก ซ เ ข า ไปที่ เชื่อมใหทั่วบริเวณ

รอยต อ เมื่ อลวดเชื่ อ มและฟลั ก ซ ละลายดีแลว จึงดับเปลวไฟได

10. ตรวจสอบความเรียบรอย และสง

ตรวจสอบความเรียบรอยของรอยเชื่อม

ชิ้นงาน

จากนั้นปดแกสไนโตรเจน และสงชิ้นงาน

124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การเชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจน 1.1 ขยายทอทองแดงไดอยางถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ทําความสะอาดผิวทอทองแดงกอนเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ปรับตั้งเปลวเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 รอยเชื่อม

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ตรวจการปลอยแกสไนโตรเจน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 ขยายทอทองแดงไดอย างถูกตอง

2

เกณฑการใหคะแนน

- ขยายทอแลวคอทอสมบูรณ เรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ขยายท อ แล วคอท อ มี ร อย เล็ ก น อ ยแต ไม เ สี ยหายต อ การใชง าน ให คะแนน 3 คะแนน - ขยายทอแลวคอทอมีรอยลึก หรือ ขาดรั่ว สงผลเสียตอการใชงาน ให คะแนน 1 คะแนน 1.2 ทํ าความสะอาดผิวของทอทองแดงกอนเชื่อม - ทําความสะอาดครบทุกจุดที่จะทําการเชื่อม ใหคะแนน 5 คะแนน - ไมทําความสะอาดจุดเชื่อม 1 จุด ใหคะแนน 3 คะแน - ไมทําความสะอาดจุดเชื่อม 2 จุด ใหคะแนน 1 คะแน 1.3 ปรับตั้งเปลวเชื่อม - ปรับเปลวไฟไดอัตราสวนแกสที่เหมาะสม ใหคะแนน 5 คะแนน - ปรั บเปลวไฟไม ได อั ต ราส วนแก ส ที่ เ หมาะสม แต พ อเชื่ อ มได ให คะแนน 3 คะแนน - ปรั บเปลวไฟไม ได อัต ราส วน ต อ งให ค รู หรื อเพื่ อนชวย ให ค ะแนน 1 คะแนน 1.4 รอยเชื่อม - เชื่อมทอไดแนบสนิท แข็งแรง ทอตรงสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - เชื่อมทอได ทอตรง แข็งแรง แตยังไมแนบสนิท ใหคะแนน 3 คะแนน - เชื่อมทอได ทอไมตรง ไมแนบสนิท ไมแข็งแรง ใหคะแนน 1 คะแนน 1.5 ตรวจการปลอยแกสไนโตรเจน - ผาทอแลวไมพบเขมา ใหคะแนน 5 คะแนน - ผาแลวพบเขมาภายในทอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ผาแลวพบเขมาภายในทอจํานวนมาก ใหคะแนน 1 คะแนน กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถ วน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม 25 5

คะแนนที่ได

5

5

5

5 1 1 1 1 1 30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 5.2 งานทอ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตัด ตอ ขยาย บานแฟลร และดัดทอได - เชื่อมทอทองแดงผานแกสไนโตรเจนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกปฏิบัติงานทอตามแบบที่กําหนดให

หนวย : มิลลิเมตร

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 5.2 งานทอ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใ หมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ย วของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คอน

จํานวน 1 ตัว

2. คัตเตอรตัดทอ

จํานวน 1 ตัว

3. ชุดขยายทอ

จํานวน 1 ชุด

4. ชุดบานแฟลร

จํานวน 1 ชุด

5. บรรทัดเหล็ก

จํานวน 1 อัน

6. ตะไบสามเหลี่ยม

จํานวน 1 ตัว

7. เบนเดอรดัดทอขนาด 1/2 นิ้ว

จํานวน 1 ตัว

8. รีมเมอร

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ทอแคปทิ้วป ยาว 3 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

2. ทอทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร

จํานวน 1 เสน

3. แฟลรนัต ขนาด 1/2 นิ้ว

จํานวน 1 อัน

4. ยูเนี่ยน ขนาด 1/2 นิ้ว

จํานวน 1 อัน

129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน 2.1 งานทอ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมทอความยาว 40 เซนติเมตร

คําอธิบาย เตรียมทอทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร

2. วัดความยาวทอที่ 6 เซนติเมตร แลวตัด สว น

ใชตลับเมตรวัด ความยาว และ

ปลายอีกดา นหนึ่งใหทํา การขยายทอ และลบคม

กํ า หนดจุ ด ที่ 6 เซนติ เ ม ต ร

ทอใหเรีย บร อย

จากนั้ น ใช คั ต เตอร ตั ด ท อ ตาม ความยาว โดยเผื่อความยาว เพิ่ ม ประมาณ 1 เซนติ เ มตร สํ า หรั บ สวม ท อ เข าอี ก ด า น โดยปลายด า นหนึ่ ง ให ทํ า การ ข ย า ย ท อ เ พื่ อ เ ต รี ย ม เ ชื่ อ ม จากนั้นลบคมทอใหเรียบรอย

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. วัดความยาวทอ 8 เซนติเมตรแลวกําหนดจุดดัดทอ ใชตลับเมตรวัดความยาวลงมา อีก 8 เซนติเมตร แลวกําหนดจุด เพื่อเตรียมดัดทอ 90 องศา

4. ดัดทอ 90 องศาตามที่ไดกําหนดจุดไว

ใช เ บนเดอร ดั ด ท อ ให ไ ด 90 องศา

5. วัดความยาวทอ 8 เซนติเมตร แลวกําหนดจุดเพื่อ ใชตลับเมตรวัดความยาว เตรียมดัด

8 เซนติเมตร ตามแบบ กําหนดจุด เพื่อเตรียมดัด 45 องศา

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. ดัดทอใหไดมุม 45 องศา

ใชเบนเดอรดัดทอ ทํามุม 45 องศา

7. จากจุดดัดที่ 45 องศา วัดความยาว 8 เซนติเมตร ใชตลับเมตรวัดความยาวจากจุด แลวตัดทอ และลบคมทอใหเรียบรอยจากนั้นพักไว

ที่ดัด 45 องศามาอีก 8 เซนติเมตร แลวกําหนดจุดเพื่ อตั ด จากนั้ น ตัดทอทองแดง แลวลบคมทอให เรียบรอย จากนั้นพักไว

8. นําทอที่ตัดออกในตอนแรก ใสแฟลรนัตตามแบบ

นําทอที่ตัดออกในตอนแรก มา ใส แ ฟลร นั ต ตามแบบที่ กํา หนด ในใบงาน

132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

9. จากนั้นบานแฟลร แลวนําทอทั้งสองสวนมาสวม จากนั้นใหทําการบานแฟลร ตาม เขาดวยกัน

แบบที่กําหนดในใบงาน แลวนํา ทอทั้งสองชิ้นมาสวมเขาดวยกัน

10. เชื่อมรอยตอที่ 1 ที่ไดขยายทอไว

เชื่ อ มรอย ต อ ที่ 1 ผ า นแ ก ส ไนโตรเจน

11. ตัดแคปทิ้วปสวมในทอ ใชคีม บีบแลวเชื่อมป ด ตัดแคปทิ้วปดวยตะไบสามเหลี่ยม แคปทิ้วป

ยาวประมาณ 3 เซนติ เ มตร จากนั้ น สวมแคปทิ้ ว ป ล งในทอ ประมาณ 8 มิลลิเมตร แลวใชคีม บีบทอ จากนั้นเชื่อมปดแคปทิ้ วป ใหสนิท

133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

12. ทดสอบรอยรั่ว

ทดสอบรอยรั่วผานไนโตรเจน

13. สงชิ้นงาน

สงชิ้นงาน

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

ทอในเครื่องทําความเย็น 1.1 งานตัดทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 งานดัดทอ (เบนเดอร)

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง และ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 งานตัดทอ

คะแนนเต็ม 20

- ตัดทอไดขนาดตามที่กํ าหนด ลบคมทอเรี ยบรอย ให คะแนน 5 คะแนน

5

- ตัดทอขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร ยังมีคมทออยูเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตั ด ท อ ขาด/เ กิ น ตั้ ง แต 3 มิ ล ลิ เ มตร ล บคมท อ ไม เ รี ย บร อ ย ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 งานขยายทอ (แบบตอก)

- ผิวเรียบ คอทอ ไมมีรอยราว แตก ระยะขยายไดขนาด

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยเล็กนอย ระยะขยายไดขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวเรียบ คอทอ มีรอยราว แตก ระยะขยายลึก หรือตื้นเกินไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 งานบานแฟลร 1 ชั้น

- ผิวเรียบ ระยะความบานไดตามขนาด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ผิวมีรอยเล็กนอย ระยะบานไดตามขนาด ใหคะแนน 3 คะแนน - ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ทอมีรอยแตก ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 งานดัดทอ (เบนเดอร)

- กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ถูกตอง สามารถดัดได 30 องศา

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร สามารถดัด ไดขาด/เกิน 1-2 องศา ใหคะแนน 3 คะแนน - กําหนดระยะตํ าแหนงดัด ขาด/เกินตั้งแต 3 มิลลิเมตร สามารถดัด ไดขาด/เกินตั้งแต 3 องศา ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ อย างถูกต องและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ วน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติง าน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6 หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 6

ปกหลัง

139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.