คู่มือครูฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 6

Page 1

9ง



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือครูฝก 0920164150301 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09215205 การตอสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํานํา

คูมือครูฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 6 การตอสายไฟฟา เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงาน ตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับ ชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ซึ่งไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝ กและ ชุดการฝ กตามความสามารถเพื่ อการพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ดว ยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการ การฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ เกี่ยวกับการตอสายไฟฟาแบบเดี่ยว แบบตีเกลียว การใชอุปกรณเขาขั้วสาย การบัดกรีและพันฉนวน การตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอร เพื่อติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดาน ความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สารบั ญ

เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 609215205 การตอสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 หัวขอวิชาที่ 2 หัวขอวิชาที่ 3 หัวขอวิชาที่ 4

0921520501 การตอสายไฟฟา 0921520502 การใชอุปกรณตอสายและอุปกรณไฟฟา 0921520503 การบัดกรีและการพันฉนวน 0921520504 การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร

คณะผูจัดทําโครงการ

15 37 65 88 102

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150301

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม เพื่อใหมี ความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางดานชางไฟฟาอุตสาหกรรมไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัดทางไฟฟาและเครื่องมืออุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม 1.5 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้งและ การเดินสายไฟฟา 1.6 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการตอสายไฟฟา 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี 1.8 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายภายในตูควบคุม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝ กในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานหรื อสํานั กงานพัฒนาฝ มื อ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 78 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝก จึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือ แรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล 11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150301 2. ชื่อโมดูลการฝก การตอสายไฟฟา รหัสโมดูลการฝก 09215205 3. ระยะเวลาการฝก รวม 11 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ 1. บอกการตอสายไฟฟาแบบเดี่ยวและสายตีเกลียวได 2. ตอสายไฟฟาแบบเดี่ยวและสายตีเกลียวได 3. บอกการใชอุปกรณเขาขั้วสายดวยหางปลาและอุปกรณไฟฟาได 4. ใชอุปกรณเขาขั้วสายดวยหางปลาและอุปกรณไฟฟาไดอยางถูกวิธี 5. บอกการบัดกรีและพันฉนวนได 6. บัดกรีและพันฉนวนได 7. บอกการตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอรได 8. ตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอรได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับการตอสายไฟฟาจาก ผูรับการฝก หนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและ ใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกการตอสายไฟฟาแบบเดี่ยว หัวขอที่ 1 : การตอสายไฟฟา 0:30 3:00 3:30 และสายตีเกลียวได 2. ตอสายไฟฟาแบบเดี่ยวและสาย ตีเกลียวได สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. บอกการใชอุปกรณเขาขั้วสายดวย หัวขอที่ 2 : การใชอุปกรณตอสายและอุปกรณไฟฟา หางปลาและอุปกรณไฟฟาได 4. ใชอุปกรณเขาขั้วสายดวยหางปลา และอุปกรณไฟฟาไดอยางถูกวิธี 5. บอกการบัดกรีและพันฉนวนได หัวขอที่ 3 : การบัดกรีและการพันฉนวน 6.บัดกรีและพันฉนวนได 7. บอกการตรวจสอบและกํ าหนด หัวขอที่ 4 : การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร ขั้วมอเตอรได 8.ตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอรได รวมทั้งสิ้น

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

2:00

2:30

0:30

2:00

2:30

0:30

2:00

2:30

2:00

9:00

11:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921520501 การตอสายไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกการตอสายไฟฟาแบบเดี่ยวและสายตีเกลียวได 2. ตอสายไฟฟาแบบเดี่ยวและสายตีเกลียวได

2. หัวขอสําคัญ 1. การตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว 2. การตอสายไฟฟาแบบสายตีเกลียว

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) สายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร 2) สายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 20 เซนติเมตร 3) สายไฟ THW ขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร 4) สายไฟ VSF ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร 2.2 เครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1) คัตเตอร/มีดปอกสาย 2) คีมชางไฟฟา 3) คีมตัด 4) คีมปากแหลม

จํานวน 2 เสน จํานวน 8 เสน จํานวน 4 เสน จํานวน 2 เสน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงานพรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดใน เอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม คารม สินธูระหัฐ และภาสกร พิมานพรหม. 2553. มอเตอรไฟฟากระแสสลับ. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หั ว ข อ วิ ช าที่ 1 การต อ สายไฟฟ า การตอสายไฟฟามีจุดประสงคเพื่อเพิ่มความยาวของสาย แยกสายเพิ่มวงจร หรือรวมสายเพื่อเชื่อมตออุปกรณในตําแหนงเดียวกัน ซึ่งจุดต อของสายไฟฟ า ต องสั มผัส กั นอย า งแนน หนา มีความแข็งแรง ไมห ลวม และสามารถรับ แรงดึงไดดี ผูป ฏิบัติงาน จึงจําเปนตองรูและเขาใจวิธีการตอสายไฟฟาแบบตาง ๆ เพื่อใหสามารถนําไปใชไดอยางถูกตอง 1. การตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว 1.1 การตอสายตอตรงแบบเดี่ยว การตอสายตอตรงแบบเดี่ยว เปนการตอสายแบบรับแรงดึง ใชในสายชนิด THW (60227 IEC 01) วิธีการตอ คือ ใหปอกปลายสายเสนที่ 1 และเสนที่ 2 ใหมีความยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จากนั้นใชคีมบิดสายเสนที่ 1 พันรอบสายเสนที่ 2 แลวใชคีมบิดสายเสนที่ 2 พันรอบสายเสนที่ 1 ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ดานละประมาณ 5 - 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว

ภาพที่ 1.1 การตอสายตอตรงแบบเดี่ยว 1.2 การตอสายตอตรงแบบคู การตอสายตอตรงแบบคู เปนการตอสายแบบรับแรงดึงใชในสายชนิด VAF วิธีการตอคือ ปอกฉนวนชั้นนอกใหยาว 15 เซนติเมตร จากนั้นตัดสายสีน้ําตาลและสีฟาใหมีความยาว 6 เซนติเมตร และ 9 เซนติเมตร ตามลําดับ แลวปอก ฉนวนใหมีความยาว 5 เซนติเมตร ใชคีมบิดสายสีน้ําตาลเสนที่ 1 พันรอบสายสีน้ําตาลเสนที่ 2 แลวใชคีมบิดสายสีน้ําตาล เสนที่ 2 พันรอบสายสีน้ําตาลเสนที่ 1 สวนสายสีฟาก็ทําเชนเดียวกับสีน้ําตาลใหทําเชนนี้ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.2 การตอสายตอตรงแบบคู 1.3 การตอสายไฟฟาแบบหางเปย การตอสายไฟฟาแบบหางเปย เปนการตอสายไฟฟาแบบไมรับแรงดึง ใชในสายชนิด THW (60227 IEC 01) วิธีการตอ คือ ปอกปลายสายไฟฟาทั้งสองเสนใหมีความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร แลวนําปลายสายมาไขวกันโดยใชมือหรือคีม บิ ด ตี เ กลี ย วให แน น และมี ร ะยะเกลี ย วเสมอกัน ตลอดเพื่อความสวยงามแข็งแรง ซึ่งการตอแบบหางเปย นิย มใชตอ ในกลองตอสายทั่วไป

ภาพที่ 1.3 การตอสายไฟฟาแบบหางเปย 1.4 การตอสายไฟฟาแบบแยกทางเดียว หรือแบบตัวที (T – Tap) การตอสายไฟฟา แบบแยกทางเดี ย ว หรือแบบตัว ที (T – Tap) เปน การตอสายไฟฟาแบบไมรับ แรงดึ ง ใชใน การตอสายแยกออกจากสายเมน วิธีการตอคือ ปอกสายเมนที่บริเวณกึ่งกลางใหยาวประมาณ 2 เซนติเมตร สวนสายที่จะ นํามาตอแยกใหปอกปลายสายยาวประมาณ 4 เซนติเมตร นําคีมบิดสายแยกพันรอบสายเมนตีเกลียวใหแนน เพื่อไมให สายคลายตัว

ภาพที่ 1.4 การตอสายไฟฟาแบบแยกทางเดียว หรือแบบตัวที (T – Tap)

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การตอสายไฟฟาแบบแยก 2 ทาง การตอสายไฟฟาแบบแยก 2 ทาง เปนการตอสายไฟฟาตั้งแต 2 เสนขึ้นไปเพื่อแยกออกจากสายเมน ซึ่งเปนแบบ ไมรับ แรงดึง วิธีการตอคือ ปอกสายเมนที่บริเวณกึ่งกลางใหย าวประมาณ 3 เซนติเมตร สว นสายที่จะนํามาตอแยก แตละเสนใหปอกปลายสายยาวประมาณ 4 เซนติเมตร จากนั้นนําคีมบิดสายแยกพันรอบสายเมนทีละเสนตีเกลียวใหแนน เพื่อไมใหสายคลายตัว

ภาพที่ 1.5 การตอสายไฟฟาแบบแยก 2 ทาง 1.6 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง การตอสายไฟฟ าอ อนเข ากับสายไฟฟ าแข็ง เปนการตอสายไฟฟาแบบไมรับแรงดึง ซึ่งใชในการตอสายอ อน เชน สายรหัสชนิด 60227 IEC 02 กับสายแข็ง เชน สายรหัสชนิด 60227 IEC 01 วิธีการตอคือ ปอกสายทั้ง 2 ชนิดใหมีความยาว ประมาณ 4 เซนติเมตร แลวนําสายออนพันรอบสายแข็งประมาณ 5 – 8 รอบ แลวจึงพับสายแข็งวกกลับใหทับเกลียว

ภาพที่ 1.6 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง 2. การตอสายไฟฟาแบบสายตีเกลียว 2.1 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบตรง การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบตรง ใชในการตอสายขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร (มม.2) ขึ้นไป ซึ่งเปนการตอสายไฟฟา แบบรับแรงดึง โดยวิธีการตอคือ ปอกปลายสายเสนที่ 1 และเสนที่ 2 ใหยาวประมาณ 10 เซนติเมตร แยกสายตีเกลียว แตล ะเสน ออก แลว นํามาประสานกัน โดยใชคีมบิด สายที่แยกออกของเสน ที่ 1 พัน รอบสายที่แยกออกของเสน ที่ 2 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แลวนําสายที่แยกออกของเสนที่ 2 พันรอบสายที่แยกออกของเสนที่ 1 ทําเชนนี้ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ ไลไปทีละเสน จนครบทั้งหมด

ภาพที่ 1.7 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบตรง 2.2 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยก การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบแยก ใชในการตอสายขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร (มม.2) ขึ้นไป เปนการตอสายไฟฟา แบบไมรับแรงดึง ซึ่งสามารถทําได 3 แบบ ดังนี้ 2.2.1 Ordinary Tap Splice วิธีการตอแบบ Ordinary Tap Splice คือ ปอกสายเมนบริเวณกึ่งกลางใหยาวประมาณ 3 เซนติเมตร สว นสายที่จะนํามาตอแยก ใหป อกปลายสายยาวประมาณ 7 เซนติเมตร จากนั้น แยกสายตีเกลีย วของสาย แยกเปน 2 สวนเทา ๆ กัน แลวนําไปสวมเขาที่กึ่งกลางของสายเมน พันสายแยกสวนที่ 1 เขากับสายเมน จากนั้น พันสวนที่ 2 ใหมีทิศทางตรงขามกันจนครบทั้งดานซายและขวา

ภาพที่ 1.8 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบ Ordinary Tap Splice 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.2.2 Y Splice วิ ธี การต อแบบ Y Splice คื อ ปอกสายเมนบริเวณกึ่งกลางให ย าวประมาณ 3 เซนติเมตร สว นสาย ที่จะนํามาตอแยก ใหปอกปลายสายยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จากนั้นจึงพันสายแยกตีเกลียวสายเมนทั้งหมด

ภาพที่ 1.9 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบ Y Splice 2.2.3 Split Tap Splice วิธีก ารตอ แบบ Split Tap Splice คือ ปอกสายเมนบริเวณกึ่งกลางใหย าวประมาณ 3 เซนติเมตร สวนสายที่จะนํามาตอแยก ใหปอกปลายสายยาวประมาณ 10 เซนติเมตร จากนั้นแยกสายตีเกลียวของสายแยก เปน 2 สวนเทา ๆ กัน แลวนําไปสวมเขาที่กึ่งกลางของสายเมน พันสายแยกทีละเสนเขากับสายเมนจนครบ ทั้งดานซายและขวา

ภาพที่ 1.10 การตอสายไฟฟาตีเกลียวแบบ Split Tap Splice

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดคือขั้นตอนแรกของการตอสายไฟฟาแบบสายเดี่ยว ก. ใชบัดกรีจี้ไปที่สายไฟ ข. นําสายออนพันรอบสายแข็ง ค. ออกแรงดึงเพื่อทนสอบแรงดึง ง. บิดสายเสนที่ 1 พันรอบสายเสนที่ 2 2. การตอสายไฟโดยการตอตรงแบบคู แตกตางกับการตอสายไฟโดยการตอตรงแบบเดี่ยวอยางไร ก. แบบคูไมรับแรงดึง แบบเดี่ยวรับแรงดึง ข. แบบคูใชกับสาย VAF แบบเดี่ยวใชกับสาย THW ค. แบบคูใชตอสายออนเขากับสายแข็ง แบบเดี่ยวใชตอสายออนกับสายออน ง. แบบคูใ ชตอสายแยกออกจากสายเมน แบบเดี่ยวใชตอในกลองตอสายทั่วไป 3. การนําปลายสายไฟฟาที่ปอกเอาฉนวนออกแลวมาตอไขวกัน โดยใชมือหรือคีมบิดตีเกลียวใหแนน เปนการตอสายแบบใด ก. แบบตัวที ข. แบบหางเปย ค. แบบสายตีเกลียว ง. ตอตรงแบบเดี่ยว

4.

จากภาพขอใด คือจุดประสงคในการตอสายไฟฟา ก. ตอสายในกลองตอสาย ข. ตอสายออนเขากับสายแข็ง ค. ตอสายแยกออกจากสายเมน ง. ตอสายไฟฟาตั้งแต 2 เสนขึ้นไป เพื่อแยกออกจากสายเมน 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การตอสายไฟฟาแบบแยก 2 ทาง ตองปอกฉนวนของสายเมนตรงบริเวณใด ก. สวนปลายของสาย ข. จุดกึ่งกลางของสาย ค. หางจากปลายสาย 3 - 5 เซนติเมตร ง. หางจากจุดกึ่งกลางของสาย ไมเกิน 3 เซนติเมตร

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตอสายไฟฟาแบบตาง ๆ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตอสายไฟฟาแบบเดี่ยวและสายตีเกลียวได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาตามแบบที่กําหนดใหตอไปนี้ 1. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปย 2. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบเดี่ยว 3. จงตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง 4. จงตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียว

ภาพที่ 1 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปย

ภาพที่ 2 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบเดี่ยว

ภาพที่ 3 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง

ภาพที่ 4 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียว 26

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตอสายไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คัตเตอร/มีดปอกสาย

จํานวน 1 อัน

2. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน 2. สายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน 3. สายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 4 เสน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. สายไฟ THW ขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

5. สายไฟ VSF ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 2 เสน

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟฟา THW 2.5 ตารางมิลลิเมตร

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตัดสายไฟฟา THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวนยาว 5 เซนติเมตร

ปอกฉนวนของสายไฟฟาออก โดยใหมี ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า ความยาวของฉนวน 5 เซนติเมตร

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง

ทั้งสองเสน

มากเกิ น ไป ตั ว นํ า ไฟฟ า อาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. วางฉนวนทั้ง 2 เสนทับกัน

นํ า สายฉนวนทั้ ง 2 เส น ทั บ กั น โดยการทํามุม 60 องศา

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. ใช คี ม จั บ สายฉนวนทั้ ง สองเส น บิ ด เป น ใช คี ม บิ ด ลวดตั ว นํ า ทั้ ง สองเส น เกลียวตามเข็มนาฬิกา

ใหเปนเกลียวตามเข็มนาฬิกา

5. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น และตรวจสอบ ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น โดย ความเรียบรอยกอนสงงาน

ปฏิบัติงานตามขอ 1 ถึง ขอ 4 และ ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

2.2 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบเดี่ยว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟฟายาว 20 เซนติเมตร

คําอธิบาย ตัดสายไฟฟา THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

2. ปอกฉนวนของสายไฟฟายาว 10 เซนติเมตร จากนั้ น ปอกฉนวนของสายไฟฟ า ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า เส น ที่ 1 และเส น ที่ 2 ออก โดยมี ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง ค ว า ม ย า ว ข อ ง ฉ น ว น เ ส น ล ะ มากเกินไป ตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่ง 10 เซนติเมตร

จะส ง ผลต อ การใช ง าน โดยทํ า ให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. ใชคีมบิดสายไฟเสนที่ 1 และ 2 เขาดวยกัน ใช คี ม บิ ด สายไฟเส น ที่ 1 พั น รอบ สายไฟเสนที่ 2 แลวใชคีมบิดสายไฟ เสนที่ 2 พันรอบสายไฟเสนที่ 1

4. บิดสายไปเรื่อย ๆ ประมาณ 5 - 8 รอบ

ทําเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหส ายคลายตัว แลวใชคีมบีบใหแนน

5. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น และตรวจสอบ ต อ สายไฟฟ า เพิ่ ม อี ก 1 ชิ้ น โดย ความเรียบรอยกอนสงงาน

ปฏิบัติงานตามขอ 1 ถึง ขอ 4 และ ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2.3 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟฟา THW และ VSF

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตัดสายไฟฟา THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน และสาย VSF ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 1 เสน

2. ปอกฉนวนของสายไฟฟ า ทั้ ง 2 เส น ปอกฉนวนของสายไฟฟา THW และ ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า VSF ออกโดยมีความยาวของฉนวน ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง เสนละ 5 เซนติเมตร

มากเกิน ไปตัว นํ า ไฟฟา อาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. พันสายออนรอบสายแข็ง

พั น สายอ อ น (VSF) รอบสายแข็ ง (THW)

4. พันสายออนรอบสายแข็ง 5 - 8 รอบ

พันลวดตัวนําสายออนรอบลวดตัวนํา สายแข็งไปเรื่อย ๆ ใหได 5 – 8 รอบ

5. พับลวดตัวนําสายแข็ง

พับลวดตัวนําสายแข็งเพื่อกดลวด ตัวนําสายออนไว 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

6. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น และตรวจสอบ ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น ความเรียบรอยกอนสงงาน

โดยปฏิบัติงานตามขอ 1 ถึง ขอ 5 และตรวจสอบความเรียบรอยกอนสง งาน

2.4 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟฟา THW

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ตัดสายไฟฟา THW ขนาด 6 ตารางมิลลิเมตร ยาว 25 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวนของสายไฟฟาปลายสาย

ปอกฉนวนของสายไฟฟาทั้ง 2 เสนออก ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า โดยใหมีความยาวของฉนวน

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง

15 เซนติเมตร

มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาดซึ่ง จะส ง ผลต อ การใช ง าน โดยทํ า ให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

3. แยกเสนลวดตัวนําใหบานออกทั้ง 2 เสน

คลี่เกลียวออก จากนั้นดึงสายเสนเล็ก ๆ ออกใหตรง แลวแยกใหบานออกทั้ง 2 เสน ประมาณ 12 เซนติเมตร

4. รวบเสนลวดตัวนํา

รวบเสนลวดตัวนําทั้งหมดเขาดวยกัน

5. พันลวดตัวนําเปนเกลียวทีละเสน

พันลวดตัวนําเปนเกลียวทีละเสน ใหหมดทีละดาน

6. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น และตรวจสอบ ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น ความเรียบรอยกอนสงงาน

โดยปฏิบัติงานตามขอ 1 ถึง ขอ 5 และตรวจสอบความเรียบรอยกอนสง งาน

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การตอสายไฟ 1.1 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบเดี่ยว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียว

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปย

คะแนนเต็ม 20

- ตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปยไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดง

5

เรียงตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปยไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดง เรียงตัวไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟฟาตอตรงแบบหางเปยไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดง ไมเรียงตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบเดี่ยว

- ตอสายไฟฟาตอตรงแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดงเรียง

5

ตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ต อ สายไฟฟาต อตรงแบบเดี่ ยวได ถูก ตองตามหลั กวิธี เส น ทองแดง เรียงตัวไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ต อ สายไฟฟาต อตรงแบบเดี่ ยวได ถูก ตองตามหลั กวิธี เส นทองแดง ไมเรียงตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 การตอสายไฟฟาออนเขากับสายไฟฟาแข็ง

- ต อ สายไฟฟ า อ อ นเข า กั บ สายไฟฟ า แข็ ง ได ถู ก ต อ งตามหลั ก วิ ธี

5

เสนทองแดงเรียงตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ต อ สายไฟฟ า อ อ นเข า กั บ สายไฟฟ า แข็ ง ได ถู ก ต อ งตามหลั ก วิ ธี เสนทองแดงเรียงตัวไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ต อ สายไฟฟ า อ อ นเข า กั บ สายไฟฟ า แข็ ง ได ถู ก ต อ งตามหลั ก วิ ธี เสนทองแดงไมเรียงตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.4 การตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียว

- ตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียวไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดง

5

เรียงตัวสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียวไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดง เรียงตัวไมสม่ําเสมอเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟฟาตอตรงแบบตีเกลียวไดถูกตองตามหลักวิธี เสนทองแดง ไมเรียงตัว ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6 ลําดับที่

รายการประเมิน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921520502การใชอุปกรณตอสายและอุปกรณไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกการใชอุปกรณเขาขั้วสายดวยหางปลาและอุปกรณไฟฟาได 2. ใชอุปกรณเขาขั้วสายดวยหางปลาและอุปกรณไฟฟาไดอยางถูกวิธี

2. หัวขอสําคัญ 1. การตอและการย้ําสายดวยหางปลา 2. การตอสายดวยไวรนัท 3. การตอสายดวยคอนเนคเตอร

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ไวรนัท ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร 2) ไวรนัท ขนาด 4 ตารางมิลลิเมตร 3) สาย THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร 4) สายไฟ VSF / THW (f) ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร 5) หางปลาแบบกลมหุมฉนวน ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร 6) หางปลาแบบแฉกหุมฉนวน ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร 2.2 เครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1) ไขควงแฉก 2) ไขควงปากแบน 3) คัตเตอร 4) คีมชางไฟฟา 5) คีมตัด 6) คีมปากแหลม 7) คีมย้ําหางปลา

จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 5 เสน จํานวน 4 เสน จํานวน 2 ชิ้น จํานวน 2 ชิ้น จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม คารม สินธูระหัฐ และภาสกร พิมานพรหม. 2553. มอเตอรไฟฟากระแสสลับ. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การใชอุปกรณตอสายและอุปกรณไฟฟา ในการตอสายไฟฟา นอกจากผูปฏิบัติงานตองเลือกวิธีการตอสายไฟฟาอยางเหมาะสมแลว ยังตองสามารถใชอุปกรณ ในการตอสายไดอยางถูกตองเพราะอุปกรณแตละชนิดมีคุณสมบัติและวิธีใชงานที่แตกตางกัน โดยสวนนี้จะกลาวถึงการตอสาย และการย้ําสายดวยหางปลา การตอสายดวยไวรนัท และการตอสายดวยคอนเนคเตอร 1. การตอและย้ําสายดวยหางปลา วิธ ีนี ้เ ปน การต อ สายเพื ่ อ ยึ ด ปลายสายเข า กับ อุป กรณ เชน การตอ สายเข า กับ จุด ต อ สาย การตอ สายเข า กั บ เมนเบรกเกอร เปนตน เพราะการตอสายลักษณะดังกลาว ไมควรยึดสายเขากับจุดตอสายโดยตรง เพราะถาสายบริเวณจุดตอ ไมแนนพอที่จะนํากระแสไฟฟาไดสะดวก อาจทําใหเกิดความรอนและไฟไหมได โดยมีวิธีการตอสายไฟฟาเขาหางปลา ดังนี้ 1) ปอกสายไฟใหไดความยาวของทองแดงเทากับความยาวของปลอกและบวกเพิ่มอีก 10% ของความยาวปลอก 2) หลังจากปอกสายแลว ตองทําความสะอาดตัวนําดวยผาหรือแปรงใหสะอาดกอนทําการย้ําหางปลา 3) นําหางปลาสวมทับกับปลายสายโดยดันเขาไปจนสุดตําแหนงที่จะบีบ 4) ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน 5) ในกรณี ที่หางปลามี สกรู ให คลายสกรูที่จะตอกับหางปลาออกกอน แลวเสียบหางปลาเขาไปจนสุด จากนั้น จึงขันสกรูใหแนน แตถาหางปลาปลายเจาะรู (ไมใชชนิดเปด) จะตองคลายสกรูออกมาทั้งตัวกอนจึงจะใสสายได 6) ทดสอบแรงดึง โดยหางปลาตองทนแรงดึงใหไดที่ 60 นิวตันตอตารางมิลลิเมตร.

ภาพที่ 2.1 ขั้วตอสายแบบหางปลา

ภาพที่ 2.2 การตอขั้วสายแบบหางปลา

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. การตอสายดวยไวรนัท วิธีนี้เปนการตอสายที่ไมตองรับแรงดึง ซึ่งปกติจะใชตอในกลองตอสาย การตอสายดวยไวรนัทมีขอดีที่สะดวกและไมตอง พันฉนวนทับอีกครั้งหนึ่ง วิธีการตอสายไฟฟาดวยไวรนัท ดังนี้ 1) ปอกสาย THW ดานใดดานหนึ่งใหมีความยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร

ภาพที่ 2.3 ปอกฉนวนสายไฟประมาณ 2.5 เซนติเมตร 2) ใชคีมบิดสายไฟเสนที่ 1 และ 2 เปนเกลียวแบบหางหมู

ภาพที่ 2.4 บิดสายไฟเปนเกลียว 3) นําไวรนัทหมุนใสตรงปลายหางเปย แลวบิดตามเข็มนาฬิกาใหสุด โดยปดทองแดงใหหมดเพื่อปองกันอันตราย

ภาพที่ 2.5 นําไวรนัทมาสวม 3. การตอสายดวยคอนเนคเตอร ในปจจุบันมีหลากหลายวิธีที่สามารถนําไปใชในการตอปลายสายไฟเขาดวยกัน หนึ่งในนั่นคือการใชขั้วตอสายไฟ และ เทอรมินอลซึ่งสะดวกรวดเร็วและประหยัดเวลามากขึ้น โดยในปจจุบันมีการพัฒนาหลายหลายรูปแบบ ดังนี้ 3.1 ตัวตอสายสปลิตโบลต ใช สํ า หรั บ จั บ ยึ ด รวมสายเคเบิ ล ใหญ ๆ โดยวางสายต อ รู ป ตั ว ยู บ นสายไฟที่ ไ ม ตั ด สาย แล ว จึ ง วางด ว ย แผนโลหะทองแดงประสมคั่น จากนั้นนําสายตัวนําที่จะตออีกสายลงไปในรอง และขันนอตใหแนน 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 2.6 ตัวตอสายสปลิตโบลต 3.2 ขั้วตอสายแบบกดรัดสาย ใชสําหรับตอปลายสายไฟที่ดานหลังสวิตชหรือปลั๊กไฟตัวเมีย โดยงอลวดทองแดงของสายไฟใหรอบสกรูตามเข็มนาฬิกา แลวหมุนสกรูไปทางขวามือเพื่อทําใหสกรูดึงสายไฟใหตึงและไมหลุดจากที่ตอสายไว

ภาพที่ 2.7 ขั้วตอสายแบบกดรัดสาย 3.3 ขั้วตอสายแบบลูกเตา เปนพลาสติกรูปสี่เหลี่ยมตอกันเปนแถว ซึ่งในการใชงานจะตัดออกใหเหลือเพียงที่ใชจริงเทานั้นเหมาะสําหรับ การตอสายจํานวนสองเสนเพื่อเพิ่มความยาว หรือใชตอกับสายขนาดเล็ก เมื่อเสียบสายไฟไปที่ชองรูเสียบขั้วจะถูกยึดดวยแรง สปริ ง หรื อ แรงกดของสกรู เมื่ อ ไม ใ ช ง านให ใ ช ไ ขควงหรื อ ลวดแข็ ง ๆ ดั น ลวดสปริ ง ให อ า ออกจากช อ งรู เ สี ย บ แลวจึงดึงปลายสายไฟนั้นออกมา แมวาลูกเตาจะเปนแถวยาวติดตอกันแตวาลูกเตาแตละลูกไมตอถึงกันในทางไฟฟา

ภาพที่ 2.8 ขั้วตอสายแบบลูกเตา

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3.4 ขั้วตอสายแบบเชอรแมน ใชตอสายไฟโดยนําสกรูขันยึดสายไฟ แลวใชเทปพันรอบที่ตอ

ภาพที่ 2.9 ขั้วตอสายแบบเชอรแมน 3.5 ขั้วตอสายแบบสกอตโชลก ใชตอสายไฟโดยวิธีการตอเหมือนไวรนัท โดยใชสปริงจับยึดสายเชนเดียวกัน

ภาพที่ 2.10 ขั้วตอสายแบบสกอตโชลก 3.6 ขั้วตอสายอะลูมิเนียม ใชตอสายไฟฟาตัวนําอะลูมิเนียมเขาดวยกันแลวพันเทปภายหลัง

ภาพที่ 2.11 ขั้วตอสายอะลูมิเนียม 3.7 ขั้วตอสายแบบแยกสาย ใชในการตอสายไฟฟาเขากับสายเมน แลวตอแยกสายเมนลงมา โดยใชนอตขันเขากับตัวแยกสายเพื่อจับยึดสายไวใหแนน แข็งแรงทนทานดี 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 2.12 ขั้วตอสายแบบแยกสาย 3.8 การตอสายไฟฟาผานเทอรมินอล วิธีการตอสายตามลักษณะของเทอรมีมินอล 3 ประเภท ดังนี้ 3.8.1 การเขาสายแบบ Screw ใชหลักการยึดสายดวยสกรูบีบอัดล็อก ซึ่งใหการยึดแนนที่ดีเปนวิธีแรกเริ่มและ ไดรับความนิยมเปนอยางมาก

ภาพที่ 2.13 การเขาสายแบบ Screw 3.8.2 การเขาสายแบบ Tension Spring ใชหลักการสปริงเปนตัวกดล็อกสาย มีขอดีคือ ที่ไมตองซอมบํ ารุง เขาสายไดงาย ประหยัดเวลา สามารถใชไขควงทั่วไปในการเขาสาย มีความแข็งแรง สามารถเขาสายไดทั้ง การใชสายปกติและการใช Ferrule การเขาสายทําไดรวดเร็ว

ภาพที่ 2.14 การเขาสายแบบ Tension Spring 3.8.3 การเขาสายผานระบบ Push In เปนวิธีการเขาสาย โดยใสเขาโดยตรงไมตองใชเครื่องมือแตอยางใด แตใชเทคโนโลยีของการใชที่มีประสิทธิภาพสูง เปนรูปแบบที่มีความรวดเร็วในการเขาสายมาก เหมาะสําหรับ

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ผูสรางเครื่องจักรและงานอาคาร เนื่องจากสามารถเขาสายที่มีขนาดถึง 10 ตารางมิลลิเมตร กระแส 57 แอมแปร และแรงดันถึง 1,000 โวลต

ภาพที่ 2.15 การตอสายตรงแบบ Push In

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. การตอสายไฟฟาเขาหางปลา ตองปอกสายใหมีความยาวของลวดทองแดงเทาไร ก. เทากับความยาวของปลอก ข. 50% ของความยาวปลอก ค. เทากับ 3 ใน 4 ของความยาวปลอก ง. เทากับความยาวของปลอก +10% ของความยาวปลอก 2. เมื่อตอสายไฟฟาเขาหางปลาแลว หางปลาตองทนแรงดึงไดเทาไร ก. 45 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ข. 50 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ค. 60 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร ง. 65 นิวตัน/ตารางมิลลิเมตร 3. ขอใดไมใชวิธีการตอสายไฟฟาดวยไวรนัท ก. ปอกฉนวนสายไฟใหมีความยาว 2.5 เซนติเมตร ข. บิดสายไฟเสนที่ 1 และ 2 เปนเกลียวแบบหางหมู ค. ใสไวรนัทตรงปลายหางเปย แลวบิดตามเข็มนาฬิกา ง. พันฉนวนทับจุดตอระหวางสายไฟกับไวรนัท 4. ขอใด คือ รูปแบบการตอสายเพื่อจับยึดรวมสายเคเบิลใหญ ๆ ก. การตอสายดวยขั้วตอสายแบบลูกเตา ข. การตอสายดวยตัวตอสายสปลิตโบลต ค. การตอสายดวยขั้วตอสายแบบกดรัดสาย ง. การตอสายดวยขั้วตอสายแบบเชอรแมน

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. อุปกรณในขอใด มีวิธีการตอสายเชนเดียวกับไวรนัท ก. ขั้วตอสายอะลูมิเนียม ข. ขั้วตอสายแบบแยกสาย ค. ขั้วตอสายแบบเชอรแมน ง. ขั้วตอสายแบบสกอตโชลก

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การตอสายไฟฟาดวยหางปลา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใชอุปกรณเขาขั้วสายดวยหางปลาและอุปกรณไฟฟาไดอยางถูกวิธี

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาดวยหางปลา 2 ชนิด ดังนี้ 1. ตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน

2. ตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 ตอสายไฟฟาดวยหางปลา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงแฉก

จํานวน 1 อัน

2. ไขควงปากแบน

จํานวน 1 อัน

3. คัตเตอร

จํานวน 1 ตัว

4. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

5. คีมย้ําหางปลา

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สายไฟ VSF/ THW (f) ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

2. หางปลาแบบกลมหุมฉนวน ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ชิ้น

3. หางปลาแบบแฉกหุมฉนวน ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 2 ชิ้น

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 การตอสายไฟ โดยใชหางปลาแบบกลมหุมฉนวน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟ VSF/ THW (f)

คําอธิบาย ตัดสายไฟ VSF/ THW (f)

ขอควรระวัง

ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร 2. ปอกปลายสายไฟฟา

วั ด ค ว า ม ย า ว ป ล า ย ส า ย ไ ฟ ฟ า หากเลื อ กใช ข นาดร อ งตั ด ที่ คี ม ย้ํ า ให เ ท า กั บ ปลอกของหางปลาและ หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ เวนพื้นที่เพิ่มอีก 10% สําหรับพื้นที่ ลวดตัว นําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ ปลอกที่ จ ะขยายขึ้ น เมื่ อ ทํ า การย้ํ า ส ง ผลต อ การใช ง าน โดยทํ า ให ห า ง ป ล า จ า ก นั้ น ใ ช คั ต เ ต อ ร กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร ปอกฉนวนปลายสายไฟ

3. สวมหางปลาเขากับปลายสายฉนวน

นําหางปลาขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สวมทั บ กั บ ปลายสายฉนวนของ สายไฟฟ า โดยดั น เข า ไปจนสุ ด ตําแหนงที่จะบีบ

4. ใชคีมบีบหางปลา

ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

5. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

ต อ สายไฟฟ า เพิ่ ม อี ก 1 ชิ้ น โดย ปฏิ บั ติ งานตามข อ 1 ถึ ง ข อ 4 และ ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

6. ครูฝกทดสอบแรงดึง

ค รู ฝ ก ท ด ส อ บ แ ร ง ดึ ง โ ด ย ใ ช Tension Gage ซึ่งหางปลาตองทน แรงดึ ง ให ไ ด ที่ 60 นิ ว ตั น /ตาราง มิลลิเมตร

2.2 การตอสายไฟ โดยใชหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟ VSF/ THW (f)

คําอธิบาย ตัดสายไฟ VSF/ THW (f)

ขอควรระวัง

ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน 2. ปอกปลายสายไฟฟา

วัดความยาวปลายสายไฟใหเทากับ หากเลื อ กใช ข นาดร อ งตั ด ที่ คี ม ย้ํ า ปลอกของหางปลาและเวนพื้นที่เพิ่ม หางปลาไมเหมาะกับขนาดสายไฟ อีก 10% สําหรับพื้นที่ปลอกที่จะขยาย ลวดตัว นําไฟฟาอาจขาดได ซึ่งจะ ขึ้ นเมื่ อ ทํ า การย้ํ า หางปลา จากนั้ น ส ง ผลต อ การใช ง าน โดยทํ า ให ใชคัตเตอรปอกฉนวนปลายสายไฟ 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจร


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. สวมหางปลาเขากับปลายสายฉนวน

คําอธิบาย นําหางปลาขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร สวมทับกับปลายสายโดยดันเขาไป จนสุดตําแหนงที่จะบีบ

4. ใชคีมบีบใหแนน

ใชคีมบีบที่หางปลาจนแนน

5. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น

ต อ สายไฟฟ า เพิ่ ม อี ก 1 ชิ้ น โดย ปฏิบัติงานตามขอ 1 ถึง ขอ 4 และ ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

6. ครูฝกทดสอบแรงดึง

ค รู ฝ ก ท ด ส อ บ แ ร ง ดึ ง โ ด ย ใ ช Tension Gage ซึ่งหางปลาตองทน แรงดึ ง ให ไ ด ที่ 60 นิ ว ตั น /ตาราง มิลลิเมตร

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การตอสายไฟ 1.1 การตอสายไฟฟาดวยหางปลากลมหุมฉนวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

30

1.1 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบกลมหุมฉนวน

15

- ขั้นตอนการปอกฉนวนของสายไฟฟาถูกตอง

- ปอกฉนวนของสายไฟฟาถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกฉนวนของสายไฟฟาเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกฉนวนของสายไฟฟาเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกฉนวนของสายไฟฟาเกินหรือขาดมากกวา 3 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 - 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1 - 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือไมมีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือมีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย

5

ใหคะแนน 4 - 3 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมามากเกินไป ใหคะแนน 1 - 2 คะแนนตามความเหมาะสม 1.2 การตอสายไฟฟาดวยหางปลาแบบแฉกหุมฉนวน - ขั้นตอนการปอกฉนวนของสายไฟฟาถูกตอง

15 - ปอกฉนวนของสายไฟฟาถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ปอกฉนวนของสายไฟฟาเกินหรือขาด 1 มิลลิเมตร ใหคะแนน 4 คะแนน - ปอกฉนวนของสายไฟฟาเกินหรือขาด 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกฉนวนของสายไฟฟาเกินหรือขาดมากกวา 3 มิลลิเมตร ใหคะแนน 1 - 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ขั้นตอนการตอสายไฟฟาถูกตอง

- ตอสายไฟถูกตองตามหลักวิธี ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟไมถูกตองตามหลักวิธีเล็กนอย ใหคะแนน 3 – 4 คะแนน

5

- ตอสายไฟไมถูกตอง ชิ้นงานไมสมบูรณ ใหคะแนน 1 - 2 คะแนน ตามความเหมาะสม - ความเรียบรอยของผลงาน

- ชิ้นงานเรียบรอย หรือไมมีฉนวนเกินออกมา ใหคะแนน 5 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือมีฉนวนเกินออกมาเล็กนอย ใหคะแนน 4 - 3 คะแนน - ชิ้นงานไมเรียบรอย หรือ มีฉนวนเกินออกมามากเกินไป

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

5

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

ใหคะแนน 1 - 2 คะแนนตามความเหมาะสม 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยาง - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และ

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 35

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การตอสายไฟฟาดวยไวรนัท 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ใชอุปกรณเขาขั้วสายดวยหางปลาและอุปกรณไฟฟาไดอยางถูกวิธี

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตอสายไฟฟาดวยไวรนัท ของสายไฟฟา 2 ขนาด ดังนี้ 1. ตอสายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร จํานวน 2 เสน ดวยไวรนัท ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร

2. ตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร จํานวน 2 เสน ดวยไวรนัท ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การตอสายไฟฟาดวยไวรนัท 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

2. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สาย THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 5 เสน

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ไวรนัท ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 1 ตัว

3. ไวรนัท ขนาด 4 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 1 ตัว

2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร จํานวน 2 เสนโดยใชไวรนัทขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟ ยาว 15 เซนติเมตร

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5

ขอควรระวัง

ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน 2. ปอกฉนวนของสายไฟฟายาว 5 เซนติเมตร

ปอกฉนวนของสายไฟฟ า ด า นใด ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า ดานหนึ่งใหมีความยาวประมาณ

ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง

2.5 เซนติเมตร

มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด ซึ่ง จะส ง ผลต อ การใช ง าน โดยทํ า ให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. ตอสายไฟฟาแบบหางเปย

ตอลวดตัวนําของสายไฟ ทั้ง 2 เสน เขาดวยกันแบบหางเปย

4. ตอไวรนัทเขาปลายหางเปย

นําไวรนัท ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ตอเขาปลายหางเปย จากนั้นหมุน ไวรนัทตามเข็มนาฬิกาใหแนนสนิท

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ตรวจสอบความเรียบรอย

คําอธิบาย ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

ขอควรระวัง

2.2 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร จํานวน 3 เสน โดยใชไวรนัทขนาด 4 ตารางมิลลิเมตร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟ ยาว 15 เซนติเมตร

คําอธิบาย ตัดสายไฟ THW ขนาด 2.5

ขอควรระวัง

ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร จํานวน 3 เสน

2. ปอกฉนวนของสายไฟฟายาว 5 เซนติเมตร

ปอกฉนวนของสายไฟฟ า ด า นใด ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า ด า นหนึ่ ง โดยให มี ค วามยาวของ ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง ฉนวนประมาณ 2.5 เซนติเมตร

มากเกิ น ไปตั ว นํ า ไฟฟ า อาจขาด ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทําให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. ตอสายไฟฟาแบบหางเปย

ตอลวดตัวนําของสายไฟ ทั้ง 3 เสน เขาดวยกันแบบหางเปย

4. นําตอไวรนัทเขาปลายหางเปย

นําไวรนัท ขนาด 4 ตารางมิลลิเมตร ต อเขาปลายหางเปย จากนั้น หมุน ไวรนัทตามเข็มนาฬิกาใหแนนสนิท 60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

5. ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

คําอธิบาย

ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การตอสายไฟโดยใชไวรนัท 1.1 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร 2 เสน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ดวยไวรนัท 1.2 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร 3 เสน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

ดวยไวรนัท 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน

คะแนนเต็ม 20

1.1 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 ตาราง

- ต อ สายไฟแบบหางเป ย ถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ย วสายไฟเป น

มิลลิเมตร 2 เสน ดวยไวรนัท

ระเบียบเรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเปยถูกตอง และบิดเกลียวสายไฟได

5

ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเปยได แตบิดเกลียวไดไมเปนระเบียบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน - สวมวายนัทได แตบิดเกลียวไมแนน หรือไมบิดเกลียว ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 การตอสายไฟ THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร - ต อ สายไฟแบบหางเป ย ถู ก ต อ ง และบิ ด เกลี ย วสายไฟเป น 3 เสน ดวยไวรนัท

5

ระเบียบเรียบรอย ใหคะแนน 5 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเปยถูกตอง และบิดเกลียวสายไฟได ใหคะแนน 3 คะแนน - ตอสายไฟแบบหางเปยได แตบิดเกลียวไดไมเปนระเบียบ ใหคะแนน 1 คะแนน - สวมวายนัทถูกตอง บิดเกลียวแนนสนิท ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- สวมวายนัทถูกตอง แตบิดเกลียวไมแนน ใหคะแนน 3 คะแนน - สวมวายนัทได แตบิดเกลียวไมแนน หรือไมบิดเกลียว ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถวน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921520503 การบัดกรีและการพันฉนวน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกการบัดกรีและพันฉนวนได 2. บัดกรีและพันฉนวนได

2. หัวขอสําคัญ 1. การบัดกรี 2. การพันฉนวน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1คน 2.1 วัสดุ 1) ตะกั่วบัดกรี 2) เทปพันสายไฟ 3) น้ํายาประสาน 4) สาย THW ขนาด 2.5 มิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คัตเตอร 2) คีมชางไฟฟา 3) คีมตัด 4) คีมปากแหลม 5) ปลั๊กพวง 6) หัวแรง

จํานวน 1 มวน จํานวน 1 มวน จํานวน 1 กระปุก จํานวน 8 เสน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม คารม สินธูระหัฐ และภาสกร พิมานพรหม. 2553. มอเตอรไฟฟากระแสสลับ. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การบัดกรี และการพันฉนวน ในการเดินสายไฟฟาและติดตั้งระบบไฟฟาโดยทั่วไปจะตองมีการตอสายไฟฟาใหยาวขึ้นหากความยาวของสายไฟฟา ไมเพียงพอ ซึ่งการตอสายไฟฟาจะตองคํานึงถึงความแข็งแรงของรอยตอ รวมถึงความตอเนื่องทางไฟฟา เนื่องจากตองทําให ตัวนําไฟฟาสัมผัสกันมากที่สุดเพื่อใหกระแสไฟฟาไหลผานกันไดอยางสะดวก ดังนั้น จึงตองใชการบัดกรีเพื่อเชื่อมสายไฟฟา เขาด ว ยกั น และทํ า ให ร อยต อระหว า งสายมั่ นคง นอกจากนี้ ยังตองทําใหร อยตอเปน ฉนวนไฟฟา โดยการนําวัส ดุที่เปน ฉนวนไฟฟามาพันปดไว เพื่อปองกันอันตรายจากกระแสไฟฟาที่อาจรั่วผานออกมาได 1. การบัดกรี การบัดกรี คือ การเชื่อมตอโลหะเขาดวยกัน โดยใชวัสดุตัวกลางซึ่งเปนโลหะผสมของดีบุกและตะกั่วเปนตัวเชื่อมประสาน จุดประสงคเพื่อใหมีการเชื่อมตอกันทางไฟฟาได และสะดวกตอการถอดถอนในภายหลัง 1.1 อุ ป กรณ ที่ ใ ช ใ นการการบั ด กรี การบัดกรีจะตองมีอุปกรณหลัก 2 อยาง คือ 1.1.1 หั ว แร ง บั ด กรี หัวแรงบัดกรีใชในงานบัดกรีดานอิเล็กทรอนิกสสวนใหญมักจะเปนหัวแรงที่สรางความรอนจากพลังงานไฟฟา เพื่อความสะดวกในการใชงานซึ่งเรียกวา หัวแรงบัดกรีไฟฟา (Electric Soldering Iron) โดยทั่วไปจะมี 2 ชนิด ดังนี้ - หั ว แร ง ป น (Electric Soldering Gun) เปนหัวแรงประเภทที่ใชความรอนสูงและรวดเร็ว โดยการทํางานของหัวแรงชนิดนี้จะใชหลักการ ของหมอแปลงไฟฟา คือ แปลงแรงดันไฟบานใหเปนไฟฟาแรงดันต่ํา แตจายกระแสไดสูง โดยภายใน ตัวหัวแรงจะมีลักษณะเปนหมอแปลงไฟฟา ซึ่งมีขดลวด 3 ชุด พันอยูบนแกนเหล็ก โดยชุดปฐมภูมิ จะพันดวยลวดเสนเล็กจํานวนรอบมาก ๆ นําไปตอเขากับปลั๊กไฟบาน 220 โวลต สวนทางดานชุดทุติย ภูมิจะมี 2 ขด คือ ขดเสนลวดเล็ก พันใหไดแรงดันไฟฟาประมาณ 2.2 โวลต นําไปใชเปนจุดหลอดไฟ ขนาดเล็กเพื่อแสดงการทํางาน และอีกขดจะพันดวยลวดเสนใหญโดยพัน 5 - 6 รอบ เพื่อใหได กระแสสูงมากและตอเขากับชุดปลายหัวแรง เพื่อสรางความรอนในการบัดกรี การปด – เปดการ ทํางานจะใชสวิตชทมี่ ีลักษณะคลายไกปนสําหรับเปด-ปดการใหความรอนในขณะใชงาน หัวแรงชนิด นี้จะใหความรอนสูงเหมาะสําหรับงานบัดกรีที่ตองการความรอนมาก ๆ เชน การบัดกรีสายไฟกับ หลั ก ต อ สาย การบั ด กรี อุ ป กรณ ที่ มี ข นาดใหญ และการบั ด กรี ร อยต อ เพื่ อ ถอดเปลี่ ย นอุ ป กรณ อิ เ ล็ กทรอนิ กส เป น ต น แตจ ะมีขอเสียคือ ไมเหมาะกับการบัดกรี อุปกรณอิ เล็กทรอนิ กส เพราะ 68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสบางชนิดมีความไวตอความรอน ถาใชความรอนสูงเกินไป อาจทําใหอุปกรณ เสื่อมสภาพหรือเสียหายได นอกจากนี้ยังมีการแพรของสนามแมเหล็ก จึงไมควรบัดกรีอุปกรณที่ทํางาน ดวยระบบแมเหล็ก เชน หัวเทป แมเหล็ก เปนตน

ภาพที่ 3.1 หัวแรงปน - หัวแรงแช (Electric Soldering) หัวแรงชนิดนี้ เมื่อตองการใชงานจะตองเสียบปลั๊กทิ้งไวใหรอนตลอดเวลา เพราะไมมีสวิตชปด - เปด แบบหัวแรงปน โดยมากเสียบเขากับปลั๊กไฟฟาตลอดจนกวางานจะเสร็จ เนื่องจากเมื่อเสียบใหม ตองใชเวลานานพอควรเพื่อใหหัวแรงรอนถึงระดับที่ตองการใชงาน โครงสรางภายในจะเปน เสน ลวดความรอน พันอยูบนฉนวนที่หอหุมดวยไมกา และมีขอตอสําหรับเชื่อมตอกับปลายหัวแรง โดย ความรอนที่เกิดขึ้นจะเกิดจากกระแสที่ไหลผานขดลวดความรอนบริเวณปลายหัวแรง และถายเทไป ยังสวนปลายหัวแรงที่ใชสําหรับบัดกรี หัวแรงชนิดนี้มักนิยมใชในงานประกอบวงจรเพราะใหความรอนคงที่ เลือกขนาดไดมากและ มีปลายหัวแรงใหเลือกใชหลายแบบ โดยมีตั้งแตขนาด 6 - 250 วัตต แตที่ใชในงานอิเล็กทรอนิกสจะ ใชขนาด 15 - 30 วัตต ซึ่งใหความรอนไมสูงมากนัก เหมาะกับการบัดกรีอุปกรณบนแผนวงจรพิมพ นอกจากนี้ในบางรุนจะมีสวิตชกดเพิ่มระดับความรอนใหสูงไดดวย สําหรับปลายบัดกรีของหัวแรงแช จะมีทั้งชนิดที่ใชแลวสึกกรอนหมดไปและชนิดเปลี่ยนปลายได

ภาพที่ 3.2 หัวแรงแช 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.1.2 ตะกั่ ว บั ด กรี ตะกั่วบัดกรีนิยมใชโลหะผสมระหวางดีบุกกับตะกั่ว เพื่อใหหลอมเหลวไดที่อุณหภูมิต่ํา ๆ โดยจะระบุ สวนผสมเปน ดีบุก/ตะกั่ว เชน ตะกั่วบัดกรีชนิ ด 60/40 จะมีสวนผสมของดีบุก 60% และตะกั่ว 40% เปนต น นอกจากนี้แลวในตัวตะกั่วบัดกรีจะมีการแทรกฟลักซ (Flux) ไวภายในเพื่อดูดกลืนโลหะออกไซด ซึ่งเกิดจากการเขารวม ทําปฏิกริยาของออกซิเจนในอากาศออกไป ทําใหรอยตอระหวางตะกั่วกับโลหะติดแนนยิ่งขึ้น ซึ่งบางชนิดมีถึง 5 แกน เรียกตามผูผลิตวา ตะกั่วมัลติคอร (Multi-Core)

ภาพที่ 3.3 ตะกั่วบัดกรี และการแทรกฟลักซภายในเสนตะกั่ว 1.2 วิธีการบัดกรีชิ้นงาน 1) เลือกใชหัวแรงใหเหมาะสมกับงาน ทั้งในสวนของความรอนและปลายหัวแรง 2) ทําความสะอาดปลายหัวแรงดวยผานุม หรือฟองน้ําทนไฟ และในกรณีใชหัวแรงครั้งแรกควรเสียบหัวแรงทิ้งไว ใหรอนเต็มที่ แลวใชตะกั่วไลที่ปลายหัวแรงเพื่อใหตะกั่วติดปลายหัวแรง เมื่อใชงานในครั้งตอไปตะกั่วจะไดติด ปลายหัวแรง 3) ทําความสะอาดชิ้นงานทุกครั้งกอนทําการบัดกรี 4) ใชมือประคองหัวแรงโดยไมตองออกแรงกด แลวใหความรอนกับชิ้นงานทั้งสองกอนจายตะกั่วบัดกรีระหวาง ตัวชิ้นงาน 5) จายตะกั่วใหกับชิ้นงาน 6) เมื่อตะกั่วหลอมละลาย จึงถอนตะกั่วออก 7) จากนั้นถอนหัวแรงออกจากชิ้นงานตามลําดับ

ภาพที่ 3.4 การบัดกรีชิ้นงานโดยนําหัวแรงจี้ที่ลวดตัวนํา 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

หมายเหตุ ไมควรใชวิธีนําหัวแรงไปละลายตะกั่วแลวนํามาพอกที่ชิ้นงาน เพราะตะกั่วจะไมเกาะชิ้นงาน ทําใหชิ้นงานที่บัดกรีมีปญหา 2. การพันฉนวน เมื่อตอสายไฟฟาแลวตองหุมจุดตอสายดวยฉนวนเพื่อปองกันไฟรั่วหรือไฟดูด ซึ่งนิยมใชเทปพีวีซีในการพันฉนวนใน การหุมฉนวนสายไฟ ใหดึงเทปพีวีซีตึงพอสมควร แลวเริ่มพันบนฉนวนเหนือทองแดงประมาณ 0.5 - 1 เซนติเมตร โดยพันให เสนเทปซอนกันประมาณ 1 ใน 4 ของความกวางแผนเทป ทําเชนนี้ประมาณ 2 - 3 รอบ เพื่อความแนนหนา ดังภาพที่ 3.5

ภาพที่ 3.5 การพันฉนวน

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง : ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก

ผิด

ขอความ 1. การใชหัวแรงบัดกรีครั้งแรก ตองใชตะกั่วไลปลายหัวแรงที่รอนเต็มที่ เพื่อใหตะกั่ว ติดปลายหัวแรงในการใชงานครั้งตอไป 2. ในการบั ดกรีชิ้น งาน ตองใหความรอนกับ ชิ้น งานทั้งสองกอนการจายตะกั่ว บัดกรีระหวางตัวชิ้นงาน 3. ขั้นตอนสุดทายในการบัดกรีชิ้นงาน คือ การถอนหัวแรงออกจากชิ้นงานกอนที่ จะถอนตะกั่วบัดกรีออก 4. การพั น ฉนวนด ว ยเทปพี วี ซี ต อ งพั น บนฉนวนเหนื อ ทองแดงประมาณ 0.5 - 1 เซนติเมตร 5. การพันฉนวนสายไฟ ใหพันเสนเทปซอนกันประมาณ 1 ใน 3 ของความกวาง แผนเทป ประมาณ 2 - 3 รอบ

72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การบัดกรีสายไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บอกวิธีการบัดกรีและการพันฉนวนได 2. บัดกรีและพันฉนวนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบัดกรีสายไฟฟาใหถูกตอง

74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การบัดกรีสายไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

2. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

5. หัวแรง

จํานวน 1 ตัว

6. ปลั๊กพวง

จํานวน 1 ตัว

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สาย THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

2. ตะกั่วบัดกรี

จํานวน 1 มวน

3. น้ํายาประสาน

จํานวน 1 กระปุก

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การบัดกรีสายไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟฟายาว 15 เซนติเมตร

คําอธิบาย ตัดสายไฟฟา THW ขนาด 2.5

จํานวน 2 เสน

ตารางมิลลิเมตร ยาว 15 เซนติเมตร

ขอควรระวัง

จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวนของสายไฟฟา 10 เซนติเมตร

จากนั้ น ปอกฉนวนของสายไฟฟ า ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า เสนที่ 1 และเสนที่ 2 ออกโดยใหมี ควรทําอยางระมัดระวัง หากใชแรง ค ว า ม ย า ว ข อ ง ฉ น ว น เ ส น ล ะ มากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาดซึ่ ง 10 เซนติเมตร

จะส ง ผลต อ การใช ง าน โดยทํ า ให กระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. บิดสายเสนที่ 1 และ 2 เขาดวยกัน 5 - 8 รอบ

ใช คีมบิดสายเสน ที่ 1 พั น รอบสาย เสนที่ 2 แลวใชคีมบิดสายเสน ที่ 2 พันรอบสายเสนที่ 1 โดยทําเชนนี้ไป เรื่อย ๆ ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว และใชคีมบีบ ใหแนน

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. นําตะกั่วมาจุมน้ํายาประสาน

นําตะกั่วบัดกรีมาจุมกับน้ํายาประสาน

5. บัดกรีรอยตอสายไฟฟา

นํ า หั ว แร ง ไปจี้ บ นล ว ดตั ว นํ า ที่ อยานําตะกั่วไปจี้กับหัวแรงโดยตรง ตอสายแบบตอตรงไวแลวในขางตน เพราะตะกั่วจะไมยึดเกาะชิ้นงาน เพื่ อ ให ล วดตั ว นํ า ร อ น จากนั้ น นํ า ตะกั่วไปจี้บนลวดตัวนํา และบัดกรี รอบบริเวณรอยตอ

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน คําอธิบาย 6. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น และตรวจสอบ ต อ สายไฟฟ า เพิ่ ม อี ก 1 ชิ้ น โดย ความเรียบรอยกอนสงงาน

ปฏิบัติงานตามขอ 1 ถึง ขอ 5 และ ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การบัดกรี 1.1 ตรวจชิ้นงานและทําความสะอาดกอนบัดกรี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 บัดกรีชิ้นงานไดอยางถูกตอง แข็งแรง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 ทดสอบแรงดึง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

15

1.1 ตรวจชิ้นงานและทําความสะอาดกอนบัดกรี - ตรวจชิ้นงานและทําความสะอาดชิ้นงานกอนบัดกรี

5

คะแนนที่ได

ใหคะแนน 5 คะแนน - ตรวจชิ้นงานและทําความสะอาดชิ้นงานไมเพียงพอกอนบัดกรี ใหคะแนน 3 คะแนน - ตรวจชิ้นงานแตไมไดทําความสะอาดชิ้นงาน ใหคะแนน 1 คะแนน 1.2 บัดกรีชิ้นงานไดอยางถูกตอง แข็งแรง

- บั ด กรี ชิ้ น งานได ถู ก ต อ ง ชิ้ น งานยึ ด เกาะกั น ได ดี เนื้ อ ตะกั่ ว ผสาน ครอบคลุมสวยงาม ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- บัดกรีชิ้นงานไดถูกตอง ชิ้นงานยึดเกาะกันไดดี เนื้อตะกั่วผสานบาง หรือหนาเกินไป ใหคะแนน 3 คะแนน - บัดกรีชิ้นงานได แตชิ้นงานยึดเกาะกันไดไมดี เนื้อตะกั่วผสานบางหรือ หนาเกินไป ใหคะแนน 1 คะแนน 1.3 ทดสอบแรงดึง

- ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟไมหลุดจากกัน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟหลุดจากกันเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน -ทดสอบแรงดึงแลวสายไฟหลุดออกจากกัน ใหคะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน ครบถวน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การพันฉนวนสายไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. บอกวิธีการบัดกรีและการพันฉนวนได 2. บัดกรีและพันฉนวนได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพันฉนวนสายไฟฟาใหถูกตอง

81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การพันฉนวนสายไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

2. คีมปากแหลม

จํานวน 1 ตัว

3. คีมตัด

จํานวน 1 ตัว

4. คัตเตอร

จํานวน 1 อัน

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. สาย THW ขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร ความยาว 15 เซนติเมตร

จํานวน 4 เสน

2. เทปพันสายไฟ

จํานวน 1 มวน

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การพันฉนวนสายไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดสายไฟฟายาว 20 เซนติเมตร 2 เสน

คําอธิบาย ตัดสายไฟฟา THW ขนาด 2.5

ขอควรระวัง

ตารางมิลลิเมตร ยาว 20 เซนติเมตร จํานวน 2 เสน

2. ปอกฉนวน 10 เซนติเมตร

จากนั้ น ปอกฉนวนของสายไฟฟ า ในการปอกฉนวนของสายไฟฟ า เสนที่ 1 และเสนที่ 2 ออก โดยใหมี ควรทํ า อย า งระมั ด ระวั ง หากใช ค ว า ม ย า ว ข อ ง ฉ น ว น เ ส น ล ะ แรงมากเกินไปตัวนําไฟฟาอาจขาด 10 เซนติเมตร

ซึ่งจะสงผลตอการใชงาน โดยทํา ใหกระแสไฟฟาเกิดการลัดวงจรได

3. บิดสายเสนที่ 1 และ 2 เขาดวยกัน 5 - 8 รอบ ใชคีมบิดสายเสนที่ 1 พันรอบสาย เสนที่ 2 แลวใชคีมบิดสายเสนที่ 2 พันรอบสายเสนที่ 1 โดยทําเชน นี้ ไปเรื่อย ๆ ดานละประมาณ 5 – 8 รอบ เพื่อไมใหสายคลายตัว และใช คีมบีบใหแนน

4. พันสายไฟฟา

นําเทปพันสายไฟมาพันตรงจุดที่ตอ สายต อ ตรงแบบเดี่ ย ว โดยพั น ใน แนวเดี ย วกั บ สายไฟ ให เ ส น เทป ซอนกันประมาณ 1 ใน 4 ของความ กวางแผนเทป และพันเทปสายไฟ จนถึงปลายรอยตอ 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. พันกลับมาที่จุดเริ่มตน

คําอธิบาย พันกลับมาที่จุดเริ่มตนแลวทําเชนนี้ อีกประมาณ 2 - 3 รอบ

6. ตอสายไฟฟาเพิ่มอีก 1 ชิ้น และตรวจสอบ ความเรียบรอยกอนสงงาน

ต อ สายไฟฟ า เพิ่ ม อี ก 1 ชิ้ น โดย ปฏิบัติงานตามขอ 1 ถึง ขอ 5 และ ตรวจสอบความเรียบรอยกอนสงงาน

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การพันฉนวน 1.1 ปอกฉนวนของสายไฟถูกตอง สายไฟไมเสียหาย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตอง รับแรงดึงไดดี

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 พันฉนวนของสายไฟฟาแนนหนา ไมเกิดชองวาง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตองและ

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

การปฏิบัติงาน

15

1.1 ปอกฉนวนของสายไฟฟ า ถู ก ต อ ง สายไฟ - ปอกฉนวนสายไฟไดตามกําหนด สายไฟไมเสียหาย

5

ไมเสียหาย

ใหคะแนน 5 คะแนน - ปอกฉนวนสายไฟไดตามกําหนด พื้นผิวทองแดงเสียหายเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ปอกฉนวนสายไฟขาดหรื อ เกิ น มากกว า 2 มิ ล ลิ เ มตร หรื อ พื้นผิวทองแดงเสียหายมาก ใหคะแนน 1 คะแนน

1.2 ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตอง รับแรงดึงไดดี - ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงไดดี ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ตอสายไฟแบบเดี่ยวไดถูกตองตามหลักวิธี รับแรงดึงแลวขยับเล็กนอย ใหคะแนน 3 คะแนน - ต อ ส า ย ไ ฟ แ บ บ เ ดี่ ย ว ไ ด ถู ก ต อ ง ต า ม ห ลั ก วิ ธี รั บ แ ร ง ดึ ง แลวขยับคอนขางมาก หลวม ใหคะแนน 1 คะแนน 1 . 3 พั น ฉ น ว น ข อ ง ส า ย ไ ฟ ฟ า แ น น ห น า - พันฉนวนแนนหนา เรียบรอยไมเกิดชองวาง ไมเกิดชองวาง

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - พั น ฉนวนแน นหนา ค อ นข า งเรี ย บร อ ย หรื อ มี ช อ งว า งเห็ นทองแดง ไมเกิน 2 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน - พั น ฉนวนแน นหนา ค อ นข า งเรี ย บร อ ย หรื อ มี ช อ งว า งเห็ นทองแดง มากกวา 3 มิลลิเมตรขึ้นไป ใหคะแนน 1 คะแนน

2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและ - ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ครบถวน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน ถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1 20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921520504 การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกการตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอรได 2. ตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอรได

2. หัวขอสําคัญ - การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1. มอเตอร 3 เฟส 2. โอหมมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 1 เครื่อง

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. บรรณานุกรม คารม สินธูระหัฐ และภาสกร พิมานพรหม. 2553. มอเตอรไฟฟากระแสสลับ. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร มอเตอร ที่ ใ ช ใ นงานด า นอุ ต สาหกรรมมี ม ากมายหลายชนิ ด ทั้ ง แบบมอเตอร ไ ฟฟ า กระแสตรงและมอเตอร ไ ฟฟ า กระแสสลับ สําหรับการใชงานในการควบคุม จะมีทั้งมอเตอร 1 เฟส และมอเตอร 3 เฟส 1. การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร 1.1 มอเตอร 1 เฟส 1.1.1 การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร มีขั้นตอนดังนี้ 1) วัดขั้วของชุดขดลวดมอเตอรไฟฟาเพื่อตรวจสอบการตอดึงกัน จะไดคาความตานทาน

ภาพที่ 4.1 วัดขั้วชุดแรกขดลวดมอเตอร 2) วัดขั้วหาชุดขดลวดชุดที่สองของมอเตอรไฟฟาเพื่อตรวจสอบการตอดึงกัน จะไดคาความตานทาน

ภาพที่ 4.2 วัดขั้วชุดที่สองขดลวดมอเตอร

91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.1.2 การกําหนดขั้วมอเตอร แบงออกเปน 2 กรณี ดังนี้ 1) ถ า ชุ ด ขดลวดใดมี ค า ความต า นทานน อ ยกว า แสดงว า เป น ขดลวดชุ ด รั น จะกํ า หนด ขั้วเปน U1และ U2 2) ถ า ชุ ด ขดลวดชุ ด ใดมี ค า ความต า นทานมาก แสดงว า เป น ขดลวดชุ ด สตาร ท จะกํ า หนด ขั้วเปน Z1 และ Z2

ภาพที่ 4.3 การกําหนดขั้วมอเตอร 1.2 มอเตอร 3 เฟส มอเตอร 3 เฟสแบบเหนี่ยวนํากรงกระรอก (Squarel Induction Motor) ทํางานโดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนําของ สนามแมเหล็กหมุนของสเตเตอรไปยังโรเตอร ซึ่งเปนซี่ทองแดง (Copper Bar) ทําใหเกิดสนามแมเหล็กเหนี่ยวนําบน โรเตอร โดยสนามแมเหล็กทั้ งในสเตเตอรและโรเตอรจ ะทําใหเ กิ ดแรงบิดสงผลใหโรเตอรหมุนได 1.2.1 การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอรไฟฟา 3 เฟส มีขั้นตอนดังนี้ 1) วัดขดลวดชุดที่หนึ่งของมอเตอรไฟฟาถามีคาความตาน ใหกําหนดขั้วเปน U1 และ U2

ภาพที่ 4.4 วัดขดลวดชุดที่หนึ่ง 92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2) วัดขดลวดชุดที่สอง ถามีคาความตานทานใหกําหนดขั้วเปน V1 และ V2

ภาพที่ 4.5 วัดขดลวดชุดที่สอง 3) วัดขดลวดชุดที่สาม ถามีคาความตานทาน ใหกําหนดขั้วเปน W1 และ W2

ภาพที่ 4.6 วัดขดลวดชุดที่สาม เมื่อเรากําหนดขั้วของขดลวดทั้งสามจุดแลวจะไดขั้วมอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส

ภาพที่ 4.7 กําหนดขั้วของขดลวดทั้งสามจุด 93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ในกรณีที่ชุดขดลวดมีคาความตานทานนอยกวา ขดลวดชุดรันกําหนดเปนขั้วใด ก. U1 และ U2 ข. Z1 และ Z2 ค. V1 และ V2 ง. W1 และ W2 2. ในกรณีที่ชุดขดลวดมีคาความตานทานมาก ขดลวดชุดสตารทกําหนดเปนขั้วใด ก. U1 และ U2 ข. Z1 และ Z2 ค. V1 และ V2 ง. W1 และ W2 3. ขอใด เปนการเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร 1 เฟส ก. วัดขั้วของชุดขดลวดมอเตอรไฟฟาเพื่อตรวจสอบการชิดกันจะไดคาความตานทาน ข. วัดขั้วของชุดขดลวดมอเตอรไฟฟาเพื่อตรวจสอบการชนกันจะไดคาความตานทาน ค. วัดขั้วของชุดขดลวดมอเตอรไฟฟาเพื่อตรวจสอบการผลักกันจะไดคาความตานทาน ง. วัดขั้วของชุดขดลวดมอเตอรไฟฟาเพื่อตรวจสอบการตอดึงกันจะไดคาความตานทาน

94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3

95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอรได

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบและกําหนดขั้วมอเตอร 3 เฟสใหถูกตอง

96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. โอหมมิเตอร

จํานวน 1 เครื่อง

2. มอเตอร 3 เฟส

จํานวน 1 เครื่อง

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน -

97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเช็คและกําหนดขั้วมอเตอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. วัดขดลวดชุดที่หนึ่ง

คําอธิบาย ปรั บ ย า นวั ด ของมั ล ติ มิ เ ตอร ใ ห เหมาะสม แล ว ทํ า การวั ด ขดลวด ชุดที่หนึ่งเพื่อหาคาความตานทาน โดยสุมวัดขดลวดจนตรวจพบขั้วที่ มีคาความต านทานปรากฎขึ้ น บน หนาปด

2. กําหนดขั้วขดลวดชุดที่หนึ่ง

กํ า หนดขั้ ว ขดลวดชุ ด ที่ ห นึ่ ง เป น U1 และ U2

3. วัดขดลวดชุดทีส่ อง

ปรั บ ย า นวั ด ของมั ล ติ มิ เ ตอร ใ ห เหมาะสม แล ว ทํ า การวั ด ขดลวด ชุดที่สองเพื่อหาคาความตานทาน โดยสุมวัดขดลวดจนตรวจพบขั้วที่ มีคาความต านทานปรากฎขึ้ น บน หนาปด

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. กําหนดขั้วขดลวดชุดที่สอง

คําอธิบาย กําหนดขั้วขดลวดชุดที่สองเปน V1 และ V2

5. วัดขดลวดชุดทีส่ าม

ปรั บ ย า นวั ด ของมั ล ติ มิ เ ตอร ใ ห เหมาะสม แล ว ทํ า การวั ด ขดลวด ชุดที่สามเพื่อหาคาความตานทาน โดยสุมวัดขดลวดจนตรวจพบขั้วที่ มีคาความต านทานปรากฎขึ้ น บน หนาปด

6. กําหนดขั้วขดลวดชุดที่สาม

กํ า หนดขั้ ว ขดลวดชุ ด ที่ ส ามเป น W1 และ W2

99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 วัดขดลวดหาคาความตานทานได

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 กําหนดขั้วขดลวดไดถูกตอง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 วัดขดลวดหาคาความตานทานได

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

10 - วัดขดลวดหาคาความตานทานถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - วัดขดลวดหาคาความตานทานไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 กําหนดขั้วขดลวดไดถูกตอง

- กําหนดขั้วขดลวดถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- กําหนดขั้วขดลวดไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

1

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํา

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

15

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.