ด
หนาปก
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
คูมือครูฝก 0920163100501 สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 6 09210203 สวนประกอบของรถยนต
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
คํานํา
คูมือครูฝก สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โมดูลที่ 6 สวนประกอบของรถยนต เปนสวนหนึ่งของหลักสูตร ฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบ การจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พัฒ นาระบบฝก และชุด การฝก ตามความสามารถเพื ่อ การพัฒ นาฝมือ แรงงาน ดว ยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่อ ใหค รูฝ ก ไดใ ชเ ปน เครื่อ งมือ ในการบริห ารจัดการการฝก อบรมใหเ ปน ไปตามหลัก สูต ร กลา วคือ สามารถอธิบ ายและปฏิบัติง านเกี่ย วกับ สว นประกอบของรถยนต และระบบตา ง ๆ ภายในรถยนตไ ด ตลอดจนติด ตามความกา วหนา ของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแก ผูรับ การฝ กอบรม และต องการให ผู รั บ การฝ ก อบรมเกิด การเรี ย นรู ดว ยตนเอง การฝกปฏิบัติจ ะดํ าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต อ งการ โดยยึ ด ความสามารถของผู รั บ การฝ ก เป น หลั ก การฝ ก อบรมในระบบดั งกล าว จึ ง เป น รู ป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ด งบประมาณค า ใช จ า ยในการพั ฒ นาฝ มือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปน รูป แบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
สารบั ญ
เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 6 09210203 สวนประกอบของรถยนต หัวขอวิชาที่ 1 0921020301 สวนประกอบของเครื่องยนต
21
หัวขอวิชาที่ 2 0921020302 หลักการทํางานของเครื่องยนต
64
หัวขอวิชาที่ 3 0921020303 ระบบสงกําลัง
82
หัวขอวิชาที่ 4 0921020304 ระบบรองรับน้ําหนัก
130
หัวขอวิชาที่ 5 0921020305 ระบบบังคับเลี้ยว
178
หัวขอวิชาที่ 6 0921020306 ระบบเบรก
217
หัวขอวิชาที่ 7 0921020307 ระบบไฟฟาในรถยนต
253
หัวขอวิชาที่ 8 0921020308 ระบบตัวถังรถยนต
306
หัวขอวิชาที่ 9 0921020309 ระบบอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย
343
คณะผูจัดทําโครงการ
378
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝ กฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข อวิ ชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมิน พื้นฐานความรู ความสามารถ แบบออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบี ย นแบบออนไลน ให ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นผ า นเว็ บ ไซต โดยกรอกประวั ติ เลือกหลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบี ย นแบบออฟไลน ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นที่ ศู น ย ฝ ก โดยการเลื อ กหลั ก สู ต ร กรอกประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐาน ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ค. ผังการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข ารั บการฝ กภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝ กในโมดูล ถัด ไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก
ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดย ใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการดาวน โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และ เขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการ ฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝก ปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคู มือการประเมิ น ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คู มื อ การประเมิ น รู ป แบบเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (.pdf) เพื่ อ บั น ทึ ก ผลการประเมิ น การทดสอบของ ผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถ า ไม ครบ จะไม จ บหลั กสู ตรแต ได รับ การรับ รองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จ เทานั้น ซึ่งสามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920163100501
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางบํารุงรักษารถยนตเพื่อให มีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 ดังนี้ 1. มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 2. สามารถบวก ลบ คูณ หาร จํานวนเต็ม เศษสวน และทศนิยม 3. มีความรูเกี่ยวกับสมบัติของของเหลว หนวยการวัด ความรอน อุณหภูมิ หลักการนําความรอน การพาความรอน การแผรังสีความรอน เคมีเบื้องตน หลักการของของเหลว มวล น้ําหนัก ความถวงจําเพาะ ความหนาแนน ปริมาตร ความดัน และแรง 4. มีความรูเกี่ยวกับวัสดุและสมบัติของวัสดุที่ใชในการปฏิบัติงาน เชน น้ํามันเชื้อเพลิง สารหลอลื่น (น้ํามันหลอลื่นเครื่องยนต) สารระบายความรอน สารกันสนิม และทอที่ใชในงานรถยนต 5. มีความรูเกี่ยวกับเครื่องมือพื้นฐานทางดานชางยนต 6. มีความรูเกี่ยวกับหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบรถยนต 7. มีความรูและสามารถปฏิบัติงานการบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 85 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหาร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก
5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผูรับการฝก
รหัสหลักสูตร 0920163100501 สวนประกอบของรถยนต รหัสโมดูลการฝก 09210203 รวม 30 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 5 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 25 ชั่วโมง หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนตได 3. อธิบายหลักการทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีน ดีเซล และระบบระบายความรอนได 4. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบสงกําลังได 5. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 6. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 7. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 8. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 9. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 10. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบเบรกได 11. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบเบรกได 12. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 13. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 14. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 15. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 16. บอกชื่อ หนาที่ และหลักการทํางานของระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได 17. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. มีความรูเรื่องความรูพื้นฐานในการปฏิบัติงานชางยนต 2. มีความรูเรื่องกลศาสตรเบื้องตน 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 5 มาแลว สาขาชางบํารุงรักษารถยนต ระดับ 1
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายหนาที่และโครงสราง หัวขอที่ 1 : สวนประกอบของเครื่องยนต 0:45 3:00 3:45 ของสวนประกอบของ เครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ สวนประกอบของเครื่องยนตได 3. อธิบายหลักการทํางานของ หัวขอที่ 2 : หลักการทํางานของเครื่องยนต 0:45 0:45 เครื่องยนตแกสโซลีน ดีเซล และระบบระบายความรอนได 4. อธิบายหนาที่และโครงสราง หัวขอที่ 3 : ระบบสงกําลัง 0:45 5:00 5:45 ของระบบสงกําลังได 5. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสราง ของระบบสงกําลังได 6. อธิบายหนาที่และโครงสราง หัวขอที่ 4 : ระบบรองรับน้ําหนัก 0:45 3:00 3:45 ของระบบรองรับน้ําหนักได 7. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสราง ของระบบรองรับน้ําหนักได 8. อธิบายหนาที่และโครงสราง หัวขอที่ 5 : ระบบบังคับเลี้ยว 0:30 2:30 3:00 ของระบบบังคับเลี้ยวได 9. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสราง ของระบบบังคับเลี้ยวได 10. อธิบายหนาที่และโครงสราง หัวขอที่ 6 : ระบบเบรก 0:30 3:00 3:30 ของระบบเบรกได 11. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสราง ของระบบเบรกได
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
12. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบไฟฟาในรถยนตได 13. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสราง ของระบบไฟฟาในรถยนตได 14. อธิบายหนาที่และโครงสราง ของระบบตัวถังรถยนตได 15. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสราง ของระบบตัวถังรถยนตได 16. บอกชื่อ หนาที่ และ หลักการทํางานของ ระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัย ของตัวรถยนตได 17. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับ ระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัย ของตัวรถยนตได
หัวขอที่ 7 : ระบบไฟฟาในรถยนต
0:30
3:00
3:30
หัวขอที่ 8 : ระบบตัวถังรถยนต
0:30
2:30
3:00
หัวขอที่ 9 : ระบบอํานวยความสะดวก และ ความปลอดภัย
0:30
3:00
3:30
รวมทั้งสิ้น
5:30
25:00 30:30
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921020301 สวนประกอบของเครื่องยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของสวนประกอบของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนตได
2. หัวขอสําคัญ 1. เสื้อสูบ (Cylinder Block) 2. ปลอกสูบ (Cylinder Liner) 3. ฝาสูบ (Cylinder Head) 4. เพลาขอเหวี่ยง (Crank Shaft) 5. พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft Pulley) 6. แบริ่งเพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft Bearings) 7. ลอชวยแรง (Fly Wheel) 8. ลูกสูบ (Piston) 9. แหวนลูกสูบ (Piston Ring) 10. กานสูบ (Connecting Rod) 11. เพลาลูกเบี้ยว (Camshaft) 12. วาลว (Valve) 13. ฝาครอบวาลว (Valve Cover) 14. ปะเก็นฝาสูบเครื่องยนต (Gasket) 15. อางน้ํามันหลอลื่น (Oil Pan) 16. ปมน้ํามันหลอลื่น (Oil Pump) 17. หัวดูดน้ํามันหลอลื่น (Oil Pickup) 18. กรองน้ํามันหลอลื่น (Oil Filter) 19. ชุดกลไกขับเพลาลูกเบี้ยวแบบสายพานและเฟอง (Timing Chain & Timing gear) 20. หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Injection Nozzle) และปม 21. หัวเทียน (Spark Plug) 22. หัวฉีดอิเล็กทรอนิกส (Electronic Fuel Injection = EFI) และปม 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
23. ทอรวมไอดี (Intake Manifold) 24. ทอรวมไอเสีย (Exhaust Manifold) 25. ปมน้ําหลอเย็น (Water pump) 26. วาลวน้ํา (Thermostat)
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ - ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 1 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กรองน้ํามันหลอลื่น จํานวน 1 ตัว 2) ชุดกลไกขับเพลาลูกเบี้ยวแบบสายพาน จํานวน 1 ชุด 3) โตะปฏิบัติการ จํานวน 1 ตัว 4) ทอรวมไอดี จํานวน 1 ทอ 5) ทอรวมไอเสีย จํานวน 1 ทอ 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6) แบริ่ง 7) ปลอกสูบ 8) ปะเก็นฝาสูบ 9) ปมน้ํามันหลอลื่น 10) ฝาครอบวาลว 11) ฝาสูบ 12) เพลาขอเหวี่ยง 13) เพลาลูกเบี้ยว 14) ลอชวยแรง 15) ลูกสูบ 16) วาลว 17) เสื้อสูบ 18) หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง 19) หัวดูดน้ํามันหลอลื่น 20) หัวเทียน 21) แหวนลูกสูบ 22) อางน้ํามันหลอลื่น
จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ปม จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ลอ จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 หัว จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อาง
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ฟสิกสราชมงคล. ชิ้นสวนสําคัญของเครื่องยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.rmutphysics.com/ charud/howstuffwork/howstuff1/engine/enginethai8.htm สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา. หนวยที่ 4 เรื่อง คุณลักษณะชิ้นสวนเครื่องยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/ -watcharapohg06279. 2557. ชิ้นสวน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://watcharapohg06279.wordpress.co
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 15-47 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก สวนประกอบ ตาง ๆ ของเครื่องยนต 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบตั ิงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนต
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใชความรู พื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง สวนประกอบ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ของเครื่องยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 15-47
1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง ส ว นประกอบของ เครื่องยนต หนาที่ 15-47 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรียนรูโดยใชวิธีถาม-ตอบกับผูรับการฝกโดย เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ ใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอดเปน เรียบรอย ความรูใหมพร อมใช คูมือผู รับ การฝ ก หนาที่ 18-34 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 เสื้อสูบ (Cylinder Block) 2.2 ปลอกสูบ (Cylinder Liner) 2.3 ฝาสูบ (Cylinder Head) 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.4 เพลาขอเหวี่ยง (Crank Shaft) 2.5 พู ล เลย เ พลาข อ เหวี่ ย ง (Crankshaft Pulley) 2.6 แบริ่ ง เพล าข อ เหวี่ ย ง (Crankshaft Bearings) 2.7 ลอชวยแรง (Fly Wheel) 2.8 ลูกสูบ (Piston) 2.9 แหวนลูกสูบ (Piston Ring) 2.10 กานสูบ (Connecting Rod) 2.11 เพลาลูกเบี้ยว (Camshaft) 2.12 วาลว (Valve) 2.13 ฝาครอบวาลว (Valve Cover) 2.14 ปะเก็นฝาสูบเครื่องยนต (Gasket) 2.15 อานน้ํามันหลอลื่น (Oil Pan) 2.16 ปมน้ํามันหลอลื่น (Oil Pump) 2.17 หัวดูดน้ํามันหลอลื่น (Oil Pickup) 2.18 กรองน้ํามันหลอลื่น (Oil Filter) 2.19 ชุ ด ก ล ไ ก ขั บ เ พ ล า ลู ก เ บี้ ย ว แ บ บ สายพานและเฟ อ งสะพาน (Timing Chain & Timing gear) 2.20 หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Injection Nozzle) และปม 2.21 หัวเทียน (Spark Plug) 2.22 หั ว ฉี ด อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (Electronic Fuel Injection = EFI) และปม 2.23 ทอรวมไอดี (Intake Manifold) 2.24 ทอรวมไอเสีย (Exhaust Manifold) 2.25 ปมน้ําหลอเย็น (Water pump) 2.26 วาลวน้ํา (Thermostat) 3. ใหชื่อสวนประกอบของเครื่องยนต 3. บอกชื่อสวนประกอบของเครื่องยนต 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 35-38 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 35-38 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 49 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.1 การสํารวจ 6. ศึ กษาใบงานที่ 1.1 การสํ ารวจส วนประกอบของ ส ว นประกอบของเครื่ อ งยนต จากคู มื อ เครื่ องยนต จากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 39-47 ผูรับการฝก หนาที่ 39-47 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-06:58 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 7.1 แสดงสวนประกอบของเครื่องยนตและ สังเกตวาเปนชิ้นสว นประเภทเคลื่ อ นที่ หรืออยูกับที่ 7.2 บอกหนาที่สวนประกอบของเครื่องยนต 7.3 บอกตําแหนงที่ของชิ้นสวนรถยนต โดย บันทึกลงในตารางบันทึกผล 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้น ตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับ การฝก หนาที่ หนาที่ 52-53 41-42 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุป สาระสําคั ญเรื่ อง สวนประกอบของ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน เครื่องยนต ขั้นประเมินผลหลังการฝก รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย - สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง สวนประกอบของ เครื่องยนตเกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และ คุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 สวนประกอบของเครื่องยนต เครื่องยนต หมายถึง เครื่องจักรกลที่สามารถเปลี่ยนพลังงานความรอนเปนพลังงานกล ซึ่งพลังงานความรอนที่ได มาจาก การสันดาปหรือการเผาไหมของเชื้อเพลิงที่อยูในกระบอกสูบ ทําใหเกิดพลังงานจากการระเบิดและเกิดพลังงานสงไปยังสวน ขับเคลื่อนตาง ๆ ภายในเครื่องยนต เครื่องยนตในปจจุบันไมวาจะเปนเครื่องยนตเบนซินหรือดีเซล จะมีสวนประกอบหลัก ๆ ที่ คลายกัน ซึ่งแตกตางจากในอดีตที่เครื่องยนตเบนซินและดีเซลมีความแตกตางกันคอนขางมาก ทั้งนี้ มาจากวิวัฒนาการทาง เทคโนโลยีในปจจุบันที่คอมพิวเตอรมีการพัฒนาไปอยางรวดเร็ว และเขามามีบทบาทในการควบคุมการทํางานของเครื่องยนตได อยางละเอียด และสามารถใชเชื้อเพลิงไดอยางเต็มประสิทธิภาพ 1. เสื้อสูบ (Cylinder Block) เสื้อสูบ เปนชิ้นสวนที่มีขนาดใหญที่สุดของเครื่องยนต เนื่องจากเสื้อสูบคือโครงสรางหลักของเครื่องยนต ใชสําหรับ ประกอบชิ้นสวนตาง ๆ ภายในเครื่องยนต เชน เพลาขอเหวี่ยง (Crank Shaft) ลูกสูบ (Piston) กานสูบ (Connecting Rod) เปนตน เสื้อสูบมักจะผลิตจากโลหะ โดยสวนมากทํามาจากเหล็กหลอเทา เพราะแข็งแรงและมีตนทุนต่ํา บางครั้งอาจทํามาจากโลหะผสม เนื่องจากการออกแบบที่ตองการน้ําหนักเบาและสามารถระบายความรอนไดดี แตเสื้อสูบที่ทํามาจากโลหะผสมมีตนทุนใน การผลิตสูงจึงพบเห็นไดนอย ลักษณะเสื้อสูบที่พบเห็นไดในปจจุบันจะเปนแบบแถวเรียงและแบบตัววี
ภาพที่ 1.1 เสื้อสูบ (Cylinder Block) 2. ปลอกสูบ (Cylinder Liner) ปลอกสู บ เป น ชิ้ น ส ว นที่ ถูกยึ ด อยู กั บ ที่ ประกอบอยูภ ายในเสื้ อสูบ ทําหนาที่ล ดการสึ กหรอของเสื้ อสูบ มีอยูทั้ ง ใน เครื่องยนตเบนซินและเครื่องยนตดีเซล โดยปลอกสูบสามารถแบงออกได 2 แบบ คือ
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2.1 ปลอกสูบแบบเปยก (Wet Type Liners) มีลักษณะเปนทอโลหะกลมกลวง ผิวดานในเกลี้ยง และมันวาวเคลือบดวย โครเมียม ผานการชุบแข็ง เพื่อลดการสึกหรอ ผิวภายนอกจะถูกอัดลงในเสื้อสูบ ซึ่งจะผานการหลอเย็นโดยรอบ 2.2 ปลอกสูบแบบแหง (Dry Type Liners) มีลักษณะเปนทอโลหะทรงกระบอก กลมกลวงเหมือนกับปลอกสูบ แบบเปยก ผิวดานในและดานนอกจะมีผิวเรียบ ปลอกสูบแบบแหงจะถูกนํามาอัดอยูภายในกระบอกสูบ ดานนอก ปลอกสูบจะไมโดนน้ําหลอเย็นโดยตรง
ภาพที่ 1.2 ปลอกสูบ (Cylinder Liner) 3. ฝาสูบ (Cylinder Head) ฝาสูบ เปนชิ้นสวนที่ปดอยูสวนบนของเสื้อสูบ และเปนที่ติดตั้งกลไกวาลวและเพลาลูกเบี้ยว รวมทั้งเปนสวนประกอบของ หองเผาไหม นอกจากนี้ ฝาสูบยังมีอุปกรณอื่น ๆ ประกอบอีก เชน ชุดกลไกวาลวไอดี วาลวไอเสีย เพลาลูกเบี้ยว หัวเทียน หัวฉีด เปนตน ฝาสูบจะถูกติดตั้งไวบริเวณสวนบนสุดของเสื้อสูบ และขันยึดนอตติดกับเสื้อสูบ โดยมีปะเก็นฝาสูบวางคั่นอยู ระหวางกลาง เพื่อปองกันแกสจากหองเผาไหมไหลวนเขามาภายในเครื่องยนต โดยทั่ว ไปฝาสูบ จะทํา จากเหล็ก หลอ หรือ โลหะผสมอะลูมิเนียม แตในปจจุบันจะนิยมใชอะลูมิเนียมมากขึ้นเนื่องจากมีน้ําหนักเบาและสามารถระบายความรอนไดดี
ภาพที่ 1.3 ฝาสูบ (Cylinder Head)
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4. เพลาขอเหวี่ยง (Crank Shaft) เพลาขอเหวี่ยง ทําหนาที่รับแรงกระทําที่สงมาจากกานสูบ (Connecting Rod) และรับแรงระเบิดที่เกิดการจุดระเบิด เหนือลูกสูบ อีกทั้ง ยังทําใหเกิดแรงในแนวดิ่งเพื่อมาเปนกําลังในแกนหมุน โดยเพลาขอเหวี่ยงนั้นจะมีแกนที่ยื่นออกไปยังนอก เสื้ อสู บทั้ งสองด าน ด านหนึ่ งจะยึ ด ติ ด กั บล อช ว ยแรง (Fly Wheel) ส วนอี กด านหนึ่ งจะยึ ดติ ด กั บ พู ล เลย เ พลาข อเหวี่ ย ง (Crankshaft Pulley)
ภาพที่ 1.4 เพลาขอเหวี่ยง (Crank Shaft) 5. พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft Pulley) พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง ทําหนาที่เปนสวนขับเคลื่อนใหกับอุปกรณตาง ๆ เชน ปมน้ํา พัดลมหมอน้ํา ปมพวงมาลัยเพาเวอร เป น ต น พู ล เลย เ พลาข อ เหวี่ ย งจะยึ ด ติ ด อยู กั บ แกนเพลาข อ เหวี่ ย ง (Crank Shaft) ซึ่ ง ติ ด ตั้ ง อยู ต รงข า มกั บ ล อ ช ว ยแรง เมือ่ เพลาขอเหวี่ยงหมุน ตัวพูลเลยก็จะหมุนตามไปดวย โดยที่รองของพูลเลยจะคลองกับสายพาน เพื่อสงแรงหมุนใหกับอุปกรณ
ภาพที่ 1.5 พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft Pulley) 6. แบริ่งเพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft Bearings) แบริ่ง คือ หนึ่งในชิ้นสวนประเภทอยูกับที่ ทําจากโลหะหลายชนิด เชน ทองแดง ดีบุก ตะกั่ว หรืออะลูมิเนียม มีหนาที่ รับน้ําหนัก และถายทอดแรงที่เกิดขึ้นจากเพลาลงไปสูอุปกรณตาง ๆ แบริ่งแบงออกไดเปน 2 ชุด คือแบริ่งหลัก ซึ่งยึดเพลาขอเหวี่ยง ในหองเพลาข อเหวี่ ยง และแบริ่ งก า นสู บ ซึ่ งประกอบอยูร ะหวางกานสูบและขอเหวี่ย ง ทั้งแบริ่งหลักและแบริ่งกานสูบ จะมีลักษณะแยกเปน 2 สวน ประกอบอยูในเบาที่รองรับ สําหรับแบริ่งหลัก ครึ่งสวนบนจะประกอบอยูในเบาของเสื้อสูบใน 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
หองเพลาขอเหวี่ยง และอีกครึ่งหนึ่งจะประกบอยูกับฝาประกับแบริ่ง สําหรับแบริ่งกานสูบ ครึ่งสวนบนจะประกอบอยูกับ ตัวกานสูบดานใหญ และอีกครึ่งหนึ่งจะประกอบอยูกับฝาประกับแบริ่ง
1-3. แหวนลูกสูบ
4. ลูกสูบ
5. สลักลูกสูบ
6. แหวนล็อกสลักลูกสูบ
7.. บุช
8. แบริ่ง
9. กานสูบ
10. ลอชวยแรง
11. ประกับซีลน้ํามันดานหลัง
12. แบริ่ง
13. นอตพูลเลย
14. พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง
15. เฟอง
16. เพลาขอเหวี่ยง
17. แบริง่ กันรุน
18. แบริ่งหลัก
19. ฝาครอบแบริ่งหลัก
20. ซีลน้ํามันขางหลัง
ภาพที่ 1.6 สวนประกอบของเพลาขอเหวี่ยงเครื่องยนตดีเซล 4 สูบ 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
7. ลอชวยแรง (Fly Wheel) ลอชวยแรง ติดตั้งโดยยึดอยูกับชุดคลัตช ทําหนาที่หมุนไปพรอมกับเพลาขอเหวี่ยง และชวยสงแรงที่ไดจากจังหวะอัดลงสูลอ รถยนต ลอชวยแรงติดตั้งอยูสวนปลายของเพลาขอเหวี่ยง ซึ่งอยูดานนอกของเครื่องยนต เนื่องจากลอชวยแรงทําจากโลหะ จึงมีขนาดใหญและมีน้ําหนักมาก
ภาพที่ 1.7 ลอชวยแรง (Fly Wheel) 8. ลูกสูบ (Piston) ลูกสูบ มีบทบาทสําคัญอยางมากในการทํางานของเครื่องยนต ทําหนาที่อัดไอดีในจังหวะอัด ขับไลแกสไอเสียออกจาก กระบอกสูบในจังหวะคาย สงแรงจากการระเบิดผานกานสูบไปยังเพลาขอเหวี่ยงในจังหวะระเบิด ทําใหเกิดสุญญากาศในกระบอกสูบ และทําใหแรงดันบรรยากาศภายนอกผลักดันไอดีเขาสูกระบอกสูบในจังหวะดูด โดยลูกสูบของเครื่องยนตสวนมากจะทําจาก โลหะผสมที่ มี ค วามเหนี ย วสู ง มี น้ํ า หนั ก เบา ทนทานต อ ความร อ น รองรั บ แรงดั น จากการเผาไหม แ ละการเสีย ดสีข อง ผนังกระบอกสูบ การเคลื่อนที่ของลูกสูบในแตละครั้ง เกิดจากการทํางานประสานกันของกานสูบ เพลาขอเหวี่ยง กลไกการเปด-ปด ของวาลวอยางเปนจังหวะ ซึ่งจะสงผลใหเกิดการจุดระเบิด ที่ลูกสูบยังมีแหวนลูกสูบประกอบอยูดวยกัน 2 ชนิด คือ แหวนอัด และแหวนกวาดน้ํามัน
ภาพที่ 1.8 ลูกสูบ (Piston)
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
9. แหวนลูกสูบ (Piston Ring) แหวนลูกสูบ จะยึดติดอยูกับลูกสูบ ทําหนาที่ผนึกกําลังอัดไมใหเกิดการรั่วไหลในจังหวะอัด ปองกันแกสที่เกิดจากการเผาไหม รั่วผานแหวนลูกสูบเขาไปในหองเพลาขอเหวี่ยง และกวาดน้ํามันหลอลื่นตามผนังลูกสูบในจังหวะที่ลูกสูบเลื่อนกลับลงไปสู อางน้ํามันหลอลื่น เพื่อปองกันน้ํามันหลอลื่นผานลูกสูบเขาไปในหองเผาไหม เพราะน้ํามันหลอลื่นที่เขาไปในหองเผาไหมจะทิ้ง เศษเขมาคารบอนเกาะติดตามหัวเทียน ลิ้น หัวลูกสูบและแหวนลูกสูบ
ภาพที่ 1.9 แหวนลูกสูบ (Piston Ring) 10. กานสูบ (Connecting Rod) กา นสูบ ทํา หนาที่ถายทอดพลังงานจากลูกสูบ ที่ถูกกระแทกดว ยแรงระเบิด ทํา ใหเกิดการเคลื่อนที่ล งอยางรุน แรง โดยกานสูบจะเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ลักษณะของกานสูบมีดานหนึ่งยึดติดกับลูกสูบ และดานตรงขามยึดติดกับเพลาขอเหวี่ยง
ภาพที่ 1.10 กานสูบ (Connecting Rod) 11. เพลาลูกเบี้ยว (Camshaft) เพลาลูกเบี้ยว เปนชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ของเครื่ องยนต 4 จังหวะ ทําหนาที่ควบคุมการเปด-ปดวาลวไอดีและวาลวไอเสี ย เพื่อใหเกิดการไหลของอากาศดีและไอเสีย เขา-ออกกระบอกสูบอยางสม่ําเสมอ โดยจะหมุนดวยความเร็วเพียงครึ่งหนึ่ งของ เพลาขอเหวี่ยง เพลาลูกเบี้ยวทําจากเหล็กกลาขึ้นรูปหรือเหล็กหลอชุบผิวแข็ง ติดตั้งอยูที่ตอนลางของลูกสูบ ซึ่งการติดตั้งแบบนี้ จะนิยมใชกับเครื่องยนตทั่วไป แตสําหรับรถยนตรุนใหม จะนิยมติดตั้งเพลาลูกเบี้ยวอยูบนฝาสูบ และจัดวางวาลวอยูบนฝาสูบดวย 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.11 เพลาลูกเบี้ยว (Camshaft) 12. วาลว (Valve) วาลว มีลักษณะเปนโลหะ มีกานเปนรูปทรงกระบอกขนาดเล็ก สวนปลายของวาลวมีลักษณะเปนแปนวงกลม สวมใส อยูภายในปลอกนําวาลว โดยปลอกนําวาลวจะถูกเจาะอยูบริเวณฝาสูบ ดานปลายจะยึดติดอยูกับกระเดื่องวาลว และมีการควบคุม การเปด-ปดจากเพลาลูกเบี้ยว ทําหนาที่เปดรูไอดีและไอเสียระหวางการบรรจุไอดีและคายไอเสีย ปดรูไอดีและไอเสียใหสนิท เพื่อปองกันอากาศรั่วในจังหวะอัดและจังหวะระเบิด รวมทั้งถายเทความรอนที่ไดรับออกไปยังเบาะลิ้นและปลอกกานลิ้นเร็วที่สุด
ภาพที่ 1.12 วาลว (Valve) 13. ฝาครอบวาลว (Valve Cover) ฝาครอบวาลว ทําหนาที่ปองกันการรั่วของน้ํามันเครื่องที่ใชในการหลอลื่น และระบายความรอนของกระเดื่องวาลว รวมทั้งชิ้นสวนกลไกการเคลื่อนที่ของอุปกรณที่ติดตั้งบนฝาสูบดวย โดยฝาครอบวาลวจะครอบอยูบริเวณดานบนของฝาสูบ มีปะเก็นฝาครอบวาลวประกบแทรกอยูระหวางชิ้นสวน ฝาครอบวาลวสวนใหญทํามาจากอะลูมิเนียม
ภาพที่ 1.13 ฝาครอบวาลว (Valve Cover) 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
14. ปะเก็นฝาสูบเครื่องยนต (Gasket) ปะเก็น ฝาสูบ เครื่องยนต ทํา หนาที่อุด ไมใ หของเหลวไหลออกมาได และเปน สว นที่ชว ยใหห นาสัม ผัส ของฝาสูบกับ เสื้อสูบทั้งสองสวนแนบชิดกัน ปะเก็นนั้นมีอยูหลายประเภท และการใชงานของแตละประเภทก็แตกตางกันออกไป
ภาพที่ 1.14 ปะเก็นฝาสูบเครื่องยนต (Gasket) 15. อางน้ํามันหลอลื่น (Oil Pan) อา งน้ํา มัน หลอ ลื่น ทํา หนา ที่กัก เก็บ น้ํา มัน หลอ ลื่น และรัก ษาระดับ ของน้ํา มัน หลอ ลื่น ที่ดา นลา งของอา งน้ํา มัน ไว ในขณะที่รถยนตไมไดระดับ โดยจะติดตั้งอยูดานลางสุดของเสื้อสูบ มีปะเก็นขั้นกลางระหวางอางน้ํามันหลอลื่นกับเสื้อสูบ บริเวณกนอางจะมีฝกบัวปมน้ํามันหลอลื่นติดตั้งอยู เมื่อเครื่องยนตทํางานปมน้ํามันหลอลื่นจะดูดน้ํามันหลอลื่นไปใชงาน
ภาพที่ 1.15 อางน้ํามันหลอลื่น (Oil Pan) 16. ปมน้ํามันหลอลื่น (Oil Pump) ปมน้ํามันหลอลื่น ทําหนาที่ดูดน้ํามันเครื่องจากถัง แลวดันน้ํามันเครื่องใหไหลไปหลอลื่นสวนตาง ๆ ของเครื่องยนต ติดตั้งอยู บริเวณเสื้อสูบ และทํางานโดยรับแรงหมุนที่สงมาจากเฟองเพลาลูกเบี้ยว เมื่อเครื่องยนตทํางาน
ภาพที่ 1.16 ปมน้ํามันหลอลื่น (Oil Pump) 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
17. หัวดูดน้ํามันหลอลื่น (Oil Pickup) หัวดูดน้ํามันหลอลื่น มีลักษณะคลายกับฝกบัว ติดตั้งไวบริเวณกนอางน้ํามันหลอลื่น และมีทอตอไปยังปมน้ํามันหลอลื่น
ภาพที่ 1.17 หัวดูดน้ํามันหลอลื่น (Oil Pickup) 18. กรองน้ํามันหลอลื่น (Oil Filter) กรองน้ํามันหลอลื่น ทําหนาที่กรองสิ่งแปลกปลอมที่มากับน้ํามันหลอลื่น เชน ฝุน เขมา เศษโลหะ เปนตน โดยใชวิธีการ ใหน้ํามั น หล อลื่น ซึมผานกระดาษกรองเขาไปสู แกนกลางของตัวกรอง จากนั้นจึงสงน้ํามันหล อลื่นไปยังสวนต าง ๆ ภายใน เครื่องยนต ภายในวงจรระบบหลอลื่นจะมีบายพาสวาลวหรือเซฟตี้วาลว ทําหนาที่ปลอยผานน้ํามันหลอลื่นไปยังสวนตาง ๆ ของ เครื่องยนตโดยไมจําเปนตองผานกรองน้ํามันหลอลื่นในกรณีที่เกิดการอุดตันของกระดาษกรอง เพื่อปองกันไมใหเกิดความ เสียหายแกเครื่องยนต
ภาพที่ 1.18 กรองน้ํามันหลอลื่น (Oil Filter) 19. ชุดกลไกขับเพลาลูกเบี้ยวแบบสายพานและเฟอง (Timing Chain & Timing Gear) 19.1 ชุดกลไกเพลาราวลิ้นแบบสายพาน เปนเพลาราวลิ้นแบบเฟองไทมมิ่ง โดยมีกลไกลิ้นอยูบนฝาสูบ ดังภาพที่ 1.19 19.2 ชุดกลไกขับเพลาลูกเบี้ยวแบบเฟอง จะมีเพลาลูกเบี้ยวอยูในเสื้อสูบดานขาง และมีกลไกลิ้นอยูบนฝาสูบ โดยมี กานกระทุงเปนตัวเชื่อมตอสงกําลังใหกลไกวาลวทํางาน ดังภาพที่ 1.20
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.19 ตัวอยางกลไกแบบเฟองไทมมิ่งแบบมีเฟองราวลิ้นอยูเหนือฝาสูบ
ภาพที่ 1.20 ตัวอยางกลไกแบบเฟองไทมมิ่งแบบมีเพลาลูกเบี้ยวอยูในเสื้อสูบ 19.3 กลไกแบบโซราวลิ้น เปนกลไกแบบโซไทมมิ่ง ใชในเครื่องยนตที่มีเพลาลูกเบี้ยวอยูเหนือฝาสูบ เพลาลูกเบี้ยวจะถูกขับ โดยโซไทมมิ่ง และถูกหลอลื่นดวยน้ํามันหลอลื่น สวนความตึงของโซนั้นจะถูกปรับดวยตัวตั้งโซและตัวดันโซ เพื่อลด การสั่นสะเทือนของโซ
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 1.21 ตัวอยางกลไกแบบโซราวลิ้น
20. หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Injection Nozzle) หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ทําหนาที่ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงเขาสูหองเผาไหม เพื่อใหมีการกระจายเปนฝอยอยางทั่วถึงทั้งหองเผาไหม และทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงผสมกับอากาศ เกิดการจุดระเบิดไดดียิ่งขึ้น โดยทั่วไปหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงมีอยูดวยกัน 2 ประเภท คือ Pintle Type และ Hole Type
ภาพที่ 1.22 หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง (Fuel Injection Nozzle) 21. หัวเทียน (Spark Plug) หัวเทียน ทําหนาที่สรางประกายไฟซึ่งจะรับไฟแรงสูงมาจากคอยลจุดระเบิด เพื่อใชในการจุดระเบิดภายในหองเผาไหม โดยมีลักษณะภายนอกเปนโลหะและมีกระเบื้องเซรามิกเปนฉนวน แกนกลางของหัวเทียนจะไดรับไฟแรงสูงจากสายหัวเทียน เพื่อใชในการจุดระเบิดในแตละรอบการทํางานของเครื่องยนต ซึ่งจะถูกควบคุมดวยจานจาย ในการติดตั้งของหัวเทียน
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
จะสวมเขาไปกับเกลียวของฝาสูบ และสวนปลายของหัว เทีย นจะยื่น เขาไปยังหองเผาไหม หัวเทียนที่ ใชงานกั บ รถยนต มีอยูดวยกัน 3 ชนิด คือ 21.1 หั ว เที ย นร อ น เป น หั ว เที ย นที่ ส ามารถระบายความร อ นที่ บ ริ เ วณปลายหั ว เที ย นลงยั ง แท น เครื่ อ งได น อ ย เมื่อเปรียบเทียบกับหัวเทียนเย็นและหัวเทียนมาตรฐานแลว ชองวางมีความลึกมากและมีระยะหางชองวางของ ฉนวนหุมแกนระบายความรอนที่ยาวที่สุด ความรอนจากปลายจะระบายมาที่เปลือกชาทําใหเกิดความรอนสูง โดยรหัสหัวเทียนที่นิยมใช จะเปนเลขที่มีคานอย เชน NGK BP 4ES เปนตน หัวเทียนชนิดนี้เหมาะสําหรับรถที่มี ชวงการใชงานสั้น ๆ และรอบเครื่องยนตไมสูงมาก ทําใหไมคอยมีเขมามาจับทําใหหัวเทียนสะอาด
ภาพที่ 1.23 หัวเทียนรอน 21.2 หัวเทียนเย็น เปนหัวเทียนที่สามารถระบายความรอนไดเร็วเพราะชองวางมีขนาดสั้น เมื่อเปรียบเทียบกับหัวเทียน รอนและหัวเทียนมาตรฐานแลว จะมีแกนระบายความรอนที่สั้นที่สุด สามารถระบายความรอนจากปลายหัวเทียน มายังเปลือกและระบายลงแทนไดเร็ว โดยรหัสหัวเทียนที่นิยมใช จะเปนเลขที่มีคามาก เชน NGK BP 9ES เปนตน หัวเทียนชนิดนี้เหมาะสําหรับรถที่ใชงานหนักและวิ่งระยะทางไกลบอย ๆ เพราะเมื่อวิ่งเปนเวลานานจะทําใหความรอน สะสมมีมากพอที่จะเผาไหมใหคราบเขมาไหม และไมทําใหเกิดอาการหัวเทียนบอด
ภาพที่ 1.24 หัวเทียนเย็น
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
21.3 หัว เทีย นมาตรฐาน เปน หัว เทีย นที่มีช อ งวา งลึ ก ไม ม ากหรือ น อ ยเกิ น ไป เมื่อ เปรีย บเทีย บกับ หัว เที ย นร อ น แกนระบายความรอนจะสั้นกวา หากเทียบกับหัวเทียนเย็นแกนระบายความรอนจะยาวกวา โดยรหัสหัวเทียนที่ นิยมใช จะเปนเลขที่มีคากลาง ๆ เชน NGK BP 5ES หรือ NGK BP 7ES เปนตน หัวเทียนชนิดนี้เหมาะสําหรับรถ ที่ใชงานทั่วไป
ภาพที่ 1.25 หัวเทียนมาตรฐาน ดังนั้น เวลาเลือกซื้อหัวเทียนควรเลือกใชชนิดที่เหมาะสมกับสภาพการใชงานของเครื่องยนต นอกจากหัวเทียน จะมีความแตกตางที่ขนาดอุณหภูมิการใชงานแลว ยังมีความแตกตางประการอื่น เชน ความยาวของเกลียว ความยาว ของแกนกลาง และฉนวนที่หุมแกนยื่นออกมาไมเทากัน ในการใชงานนั้น หัวเทียนที่มีแกนยาวจะมีคุณสมบัติในการสราง ประกายไฟที่มีคุณภาพดีกวาแกนสั้น และยังชวยใหมีการเผาไหมที่สมบูรณกวา แตตองคํานึงถึงลักษณะของเครื่องยนตดวย
T = ฉนวนหุมแกนระบายความรอน ภาพที่ 1.26 หัวเทียน (Spark Plug)
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
22. ระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส (Electronic Fuel Injection = EFI) ระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส เปนระบบจายน้ํามันเชื้อเพลิงใหกับเครื่องยนตโดยใชการควบคุมการทํางานดวยระบบ อิเล็กทรอนิกส น้ํามันเชื้อเพลิงจะถูกดูดจากถังน้ํามันโดยปมน้ํามันเชื้อเพลิงไฟฟา แลวสงผานกรองน้ํามันเชื้อเพลิงไปยังหัวฉีด ในแตละกระบอกสูบ เมื่อมีสัญญาณไฟฟาจาก ECU ปอนคําสั่งใหหัวฉีดมีการทํางาน หัวฉีดจะฉีดน้ํามันเขาผสมกับอากาศที่ ผานทางทอรวมไอดีเพื่อทําการจุดระเบิดของเครื่องยนตตามรอบการทํางาน
1. รีเลยการเปดวงจร
11. มอเตอรสตารท
2. รีเลยหลักอีเอฟไอ
12. จานจาย
3. ตัวตรวจจับความเร็วรถยนต
13. กลองคอมพิวเตอร
4. สวิตชสตารทเกียรวาง
14. ตัวตรวจจับสุญญากาศ
5. แบตเตอรี่
15. ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6. ขั้วตรวจสอบ
16. ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
7. หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต
17. ลิ้นอากาศ
8. ระบบปรับอากาศรถยนต
18. หัวฉีด
9. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง
19. ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํา
10. ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
20. ตัวตรวจจับปริมาณออกซิเจน
ภาพที่ 1.27 การทํางานของระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกสแบบ D (D-Jetronic)
1. ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
13 ตัวตรวจจับอุณหภูมิอากาศ
2. สวิตชจุดระเบิด
14. หัวฉีด
3. หลอดไฟตรวจสอบเครื่องยนต
15. ตัวควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง
4. ระบบปรับอากาศรถยนต
16. ลิ้นอากาศ
5. ขั้วตรวจสอบ
17. ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง
6. กรองน้ํามันเชื้อเพลิง
18. สวิตชควบคุมเวลาหัวฉีดสตารทเย็น
7. แบตเตอรี่
19.ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํา 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
8. กลองคอมพิวเตอร
20. ตัวตรวจจับการน็อก
9. ตัวตรวจจับความเร็วรถยนต
21. ลิ้นสุญญากาศระบบหมุนเวียนไอเสีย
10. จานจาย
22. ลิ้นหมุนเวียนไอเสีย
11. คอยลจุดระเบิด
23. มาตรวัดการไหลของอากาศ
12. ลิ้นสุญญากาศควบคุมความดันน้ํามันเชื้อเพลิง 24. ตัวตรวจจับปริมาตรออกซิเจน ภาพที่ 1.28 การทํางานของระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกสแบบ L (L-Jetronic) 23. ทอรวมไอดี (Intake Manifold) ทอไอดีจะติดตั้งอยูบริเวณดานขางของฝาสูบของเครื่องยนต ทําหนาที่เปนทางผานใหอากาศไหลผานไปยังหองเผาไหม เพื่อผสมกับน้ํามันที่มาจากหัวฉีด โดยทอรวมไอดีนั้นจะมีจํานวนของทอไอดีเทากับจํานวนสูบของเครื่องยนตนั้น ๆ
ภาพที่ 1.29 ทอรวมไอดี (Intake Manifold) 24. ทอรวมไอเสีย (Exhaust Manifold) ทอไอเสีย มีหนาที่เปนทางเดินของแกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหมภายในกระบอกสูบ โดยจะถูกขับออกทางทอรวมไอเสีย และระบายสูบ รรยากาศผานทางระบบไอเสียของรถยนต
ภาพที่ 1.30 ทอรวมไอเสีย (Exhaust Manifold)
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
25. ปมน้ําหลอเย็น (Water Pump) ปมน้ําหลอเย็น มีหนาที่ในการทําใหน้ําหมุนเวียนจากเครื่องยนตไปยังหมอน้ํา และเกิดการไหลกลับไปเขาเครื่องยนต เพื่อทําการระบายความรอนอยางตอเนื่อง โดยปมน้ําจะอาศัยการทํางานของสายพานจากเครื่องยนต เพื่อหมุนปมในการหมุนเวียน น้ําหลอเย็น
ภาพที่ 1.31 ปมน้ําหลอเย็น (Water Pump) 26. วาลวน้ํา (Thermostat) วาลวน้ํา ทําหนาที่ควบคุมอุณหภูมิของน้ําหลอเย็นเครื่องยนตใหเหมาะสม โดยการเปด-ปดวาลวเพื่อใหน้ําหลอเย็น มาระบายความร อนที่ห มอน้ํา เพราะโดยปกติน้ําหล อเย็นจะมี อุณหภูมิที่เ หมาะสมต อการหล อเย็นใหเ ครื่องยนตทํางาน มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ 80 – 90 องศาเซลเซี ย ส ดั ง นั้ น เมื่ อ เริ่ ม ติ ด เครื่ อ งยนต อุ ณ หภู มิ น้ํา หล อ เย็ น จะมี อุ ณ หภู มิ ต่ํา พัด ลมระบายความรอนที่ห มอน้ําจะยังไมทํางาน เพื่อระบายความรอนน้ําหลอเย็น ในขณะที่ว าลว น้ําก็จ ะปด เพื่อไมให น้ําหลอเย็นมาระบายความรอนที่หมอน้ํา แตใหหมุนเวียนในเครื่องยนตจนมีอุณหภูมิสูงขึ้นตามที่กําหนด วาลวน้ําก็จะเปด ใหน้ําหลอเย็นมาระบายความรอนที่หมอน้ํา
ภาพที่ 1.32 วาลวน้ํา
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ชิ้นสวนใดของเครื่องยนตที่มีขนาดใหญที่สุด ใชสําหรับประกอบชิ้นสวนตาง ๆ ภายในเครื่องยนต ก. ฝาสูบ ข. หองขอเหวี่ยง ค. เสื้อสูบ ง. กระบอกสูบ 2. ปลอกสูบ ทําหนาที่อะไร ก. อัดไอดีในจังหวะอัด ข. ลดการสึกหรอของเสื้อสูบ ค. ถายทอดพลังงานจากลูกสูบ ง. ลดอุณหภูมิ 3. เครื่องมือชนิดใด มีลักษณะคลายกับฝกบัว ติดตั้งไวบริเวณกนอางน้ํามันหลอลื่น ก. ปมน้ํามันหลอลื่น ข. กรองน้ํามันหลอลื่น ค. หัวดูดน้ํามันหลอลื่น ง. วาลวน้ํามันหลอลื่น 4. ชิ้นสวนใด มีหนาที่ควบคุมอุณหภูมิของน้ําหลอเย็นเครื่องยนตใหเหมาะสม ก. ปมน้ําหลอเย็น ข. กรองน้ํามันหลอลื่น ค. หัวเทียนเย็น ง. วาลวน้ํา
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับหัวเทียนเย็น ก. เหมาะสําหรับรถวิ่งระยะทางไกลบอย ๆ ข. มีระยะหางชองวางของฉนวนหุมแกนระบายความรอนยาวที่สุด ค. เหมาะสําหรับรถที่มีชวงการใชงานสั้น ๆ และรอบเครื่องยนตไมสูงมาก ง. ระบายความรอนจากปลายหัวเทียนไดชา 6. อุปกรณใดตอไปนี้ เปนทางผานใหอากาศไหลผานไปยังหองเผาไหมเพื่อผสมกับน้ํามันที่มาจากหัวฉีด ก. ทอรวมไอดี ข. วาลว ค. เพลาลูกเบี้ยว ง. ลูกสูบ 7. ขอใด ไมใช หนาที่ของวาลว ก. เปดรูไอดีและไอเสียระหวางการบรรจุไอดีและคายไอเสีย ข. ปดรูไอดีและไอเสียใหสนิทที่สุด ปองกันอากาศรั่วในจังหวะอัดและจังหวะระเบิด ค. ความรอนที่ไดรับออกไปยังปลอกกานลิ้นใหเร็วที่สุด ง. ทําใหน้ําหมุนเวียนจากเครื่องยนตไปยังหมอน้ํา 8. ชิ้นสวนใดของเครื่องยนตที่ปองกันแกสและน้ําหลอเย็นรั่ว ก. ลูกสูบ ข. เสื้อสูบ ค. ปะเก็นฝาสูบ ง. วาลว
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
9. ขอใด คือชิ้นสวนที่ไมเคลื่อนที่ เมื่อนํามาประกอบเขากับเสื้อสูบ ก. ลูกสูบ ข. ฝาสูบ ค. วาลว ง. กานสูบ 10. ขอใด คือชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ เมื่อนํามาประกอบเขากับเสื้อสูบ ก. กระบอกสูบ ข. ปลอกสูบ ค. อางน้ํามันเครื่อง ง. ลูกสูบ
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบอกสวนประกอบของชิ้นสวนเครื่องยนตลงในตาราง ตัวอยางตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต
ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่
ตําแหนงบนเครื่องยนต
เคลื่อนที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
หนาที่
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต
ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่
ตําแหนงบนเครื่องยนต
เคลื่อนที่
13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
หนาที่
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. โตะปฏิบัติการ
จํานวน 1 ตัว
2. เสื้อสูบ
จํานวน 1 เครื่อง
3. ปลอกสูบ
จํานวน 1 ตัว
4. ฝาสูบ
จํานวน 1 ตัว
5. เพลาขอเหวี่ยง
จํานวน 1 ตัว
6. ลอชวยแรง
จํานวน 1 ลอ
7. แหวนลูกสูบ
จํานวน 1 ชุด
8. ลูกสูบ
จํานวน 1 ลูก
9. กานสูบ
จํานวน 1 ตัว
10. เพลาลูกเบี้ยว
จํานวน 1 ชุด
11. วาลว
จํานวน 1 ชุด 52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
12. ฝาครอบวาลว
จํานวน 1 ชุด
13. ปะเก็นฝาสูบ
จํานวน 1 ชุด
14. อางน้ํามันหลอลื่น
จํานวน 1 อาง
15. ปมน้ํามันหลอลื่น
จํานวน 1 ปม
16. หัวดูดน้ํามันหลอลื่น
จํานวน 1 หัว
17. กรองน้ํามันหลอลื่น
จํานวน 1 ตัว
18. ชุดกลไกขับเพลาลูกเบี้ยวแบบสายพาน
จํานวน 1 ชุด
19. หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
จํานวน 1 ชุด
20. หัวเทียน
จํานวน 1 ตัว
21. ทอรวมไอดี
จํานวน 1 ทอ
22. ทอรวมไอเสีย
จํานวน 1 ทอ
23. แบริ่ง
จํานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ
คําอธิบาย ครูฝก จัด เตรีย มเครื่อ งยนตที่ถ อดชิ้น ส ว น ออกแลว และชิ้นสวนเครื่องยนตชนิดตาง ๆ
2. เลือกหยิบชิ้นสวนเครื่ องยนต
ผูรับการฝกเลือกหยิ บชิ้นสว นเครื่ องยนต ที่ ครูฝกจัดเตรียมไว ครั้งละ 1 ชิ้น
3. สังเกตและบันทึกผล
สังเกตวาชิ้น สว นเครื่องยนตที่เลือกมาเปน ชิ้นสวนประเภทอยูกับที่ หรือ เคลื่อนที่ และ สังเกตตําแหนงของชิ้นสวน วาอยูที่สวนใด ของเครื่องยนต จากนั้น บัน ทึกขอมูล ลงใน ตารางบันทึกผล
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ทําตามขั้นตอนที่ 2 – 3 อีกครั้ง
คําอธิบาย ผูรับ การฝกเลือกศึกษาชิ้น สว นเครื่อ งยนต อื่น ๆ และบันทึกขอมูลลงในตารางบันทึกผล จนกระทั่งครบทุกชิ้น
5. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิบัติงาน และจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหเรียบรอย
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ความถูกตองตามวิธีการใชงาน ครบถวน
2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
หลังปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 1.1 การสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสวนประกอบของเครื่องยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจสวนประกอบของเครื่องยนตได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบอกสวนประกอบของชิ้นสวนเครื่องยนตลงในตาราง ตัวอยางเฉลยใบงาน ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 1 เสื้อสูบ
ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่
ตําแหนงบนเครื่องยนต
หนาที่
เคลื่อนที่ เปนโครงสรางหลักของ
ใชเปนโครง เพื่อประกอบ
เครื่องยนต
ชิ้นสวนภายในเครื่องยนต เชน เพลาขอเหวี่ยง ลูกสูบ กานสูบ กรองน้ํามัน และอาง น้ํามันเครื่องเขาดวยกัน
2. ปลอกสูบ
ประกอบอยูภายในเสื้อสูบ
ลดการสึกหรอของเสื้อสูบ มี อยูทั้งในเครื่องยนตเบนซิน และเครื่องยนตดีเซล
3. ฝาสูบ
ฝาสูบจะถูกติดตั้งไวบริเวณ
เปนที่ติดตั้งกลไกวาลวและ
สวนบนสุดของเสื้อสูบ และขัน เพลาลูกเบี้ยว รวมทั้งเปน ยึดนอตติดกับเสื้อสูบ
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
สวนประกอบของหองเผาไหม
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 4. เพลาขอเหวี่ยง
ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่
ตําแหนงบนเครื่องยนต
หนาที่
เคลื่อนที่
เพลาขอเหวี่ยงมีแกนที่ยื่น
รับแรงกระทําที่สงมาจากกาน
ออกไปนอกเสื้อสูบทั้งสองดาน สูบ (Connecting Rod) โดย ดานหนึ่งยึดติดกับลอชวยแรง รับแรงระเบิดที่เกิดการจุด สวนอีกดานหนึ่งจะยึดติดกับ
ระเบิดเหนือลูกสูบ
พูลเลยเพลาขอเหวี่ยง 5. ลอชวงแรง
ยึ ดติ ดกั บเพลาข อเหวี่ ย งด าน ห มุ น ไ ป พ ร อ ม กั บ เ พ ล า ทาย
ขอเหวี่ยง และชวยสงแรงที่ได จากจังหวะอัดลงสูลอรถยนต
6. แหวนลูกสูบ
ประกอบอยูในรองแหวนของ
ผนึ ก กํ า ลั ง อั ด ไม ใ ห เ กิ ด การ
ลูกสูบ
รั่ว ไหลในจังหวะอัด ปองกัน แกสที่เกิดจากการเผาไหมรั่ว ผ า นแหวนลู ก สู บ เข า ไปใน ห อ งเพลาข อ เหวี่ ย ง และ กวาดน้ํามันหลอลื่นตามผนัง ลูกสูบในจังหวะที่ลูกสูบเลื่อน กลับลงไปสูอางน้ํามันหลอลื่น
7. ลูกสูบ
ประกอบอยูภายในกระบอกสูบ อั ด ไอดี ใ นจั ง หวะอั ด ขั บ ไล โดยมีกานสูบตอกับสลักลูกสูบ แก ส ไอเสี ย ออกจากกระบอก เปลี่ยนการเคลื่อนที่ไปยังเพลา สู บในจั งหวะคาย ส งแรงจาก ขอเหวี่ยง
การระเบิ ดผ านก านสู บไปยั ง เพลาขอเหวี่ยงในจังหวะระเบิด ทํ า ใ ห เ กิ ด สุ ญ ญ า ก า ศ ใ น ก ร ะ บ อ ก สู บ แ ล ะ ทํ า ใ ห แรงดัน บรรยากาศภายนอก
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต
ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่
ตําแหนงบนเครื่องยนต
หนาที่
เคลื่อนที่ ผลักดันไอดีเขาสูกระบอกสูบ ในจังหวะดูด
8. กานสูบ
ดานบนประกอบกับสลัก
ถายทอดพลังงานจากลูกสูบที่
ลูกสูบ อีกด านหนึ่ง ประกอบ
ถูกกระแทกดวยแรงระเบิด
ติดกับ เพลาข อเหวี่ย ง
9. เพลาลูกเบี้ยว
รถยนตรุนเกาจะอยูขางเสื้อสูบ ควบคุมการเปด-ปดวาลวไอดี แตรถยนตรุนใหมจะติดตั้งไว
และวาลวไอเสีย เพื่อใหเกิด
บนฝาลูกสูบ และจัดวางวาลว
การไหลของอากาศดีและไอ
อยูบนฝาสูบดวย
เสีย เขา-ออกกระบอกสูบ อยางสม่ําเสมอ
10. วาลว
สวมใสอยูภายในปลอกนํา
เปดรูไอดีและไอเสียระหวาง
วาลวที่ฝาสูบ
การบรรจุไอดีและคายไอเสีย ปดรูไอดีและไอเสียใหสนิท เพื่อปองกันอากาศรั่วใน จังหวะอัดและจังหวะระเบิด
11. ฝาครอบวาลว
ครอบอยูบริเวณดานบนของ
ปองกันการรั่วของ
ฝาสูบ
น้ํามันเครื่องที่ใชในการหลอลื่น และระบายความรอนของ กระเดื่องวาลว
12. ปะเก็นฝาสูบ
ระหวางฝาสูบกับเสื้อสูบ
อุดไมใหของเหลวไหลออกมา ได และเป น ส ว นที่ ช ว ยให หนาสัมผัสของฝาสูบกับ เสื้อสูบทั้งสองสวนแนบชิดกัน
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 13. อางน้ํามันหลอลื่น
ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่
ตําแหนงบนเครื่องยนต
หนาที่
เคลื่อนที่
ติดตั้งอยูดานลางสุดของเสื้อสูบ กักเก็บน้ํามันหลอลื่น และ รักษาระดับของ น้ํามันหลอลื่นที่ดานลางของ อางน้ํามันไว ในขณะที่ รถยนตไมไดระดับ
14. ปมน้ํามันหลอลื่น
ติดตั้งอยูบริเวณเสื้อสูบ
ดูดน้ํามันเครื่องจากถัง แลว ดันน้ํามันเครื่องใหไหลไป หลอลื่นสวนตาง ๆ ของ เครื่องยนต
15. หัวดูดน้ํามันหลอลื่น
ติดตั้งไวบริเวณกนอาง
ดูดน้ํามันหลอลื่นจากอาง
น้ํามันหลอลื่น และมีทอตอไป น้ํามันเครื่องผานปมดูดไป ยังปมน้ํามันหลอลื่น
ตามชิ้นสวนตาง ๆ ของ เครื่องยนต
16. กรองน้ํามันหลอลื่น
ดานขางเครื่องยนต
กรองสิ่งแปลกปลอมที่มากับ น้ํามันหลอลื่น
17. ชุดกลไกขับเพลา ลูกเบี้ยวแบบโซราวลิ้น
คลองระหวางเฟองเพลาลูก
ทําใหเครื่องยนตทํางานตาม
เบี้ยวกับเฟองราวลิ้น
จังหวะดูด อัด ระเบิด คาย โดยใชกลไกวาลว
18. หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
อยูดานบนฝาสูบ
ฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงเขาสูหอง เผาไหม
19. หัวเทียน
หัวเทียนจะสวมเขาไปกับ
สรางประกายไฟซึ่งจะรับไฟ
เกลียวของฝาสูบ และสวน
แรงสูงมาจากคอยลจุดระเบิด
ปลายของหัวเทียนจะยื่นเขา
เพื่อใชในการจุดระเบิด
ไปยังหองเผาไหม
ภายในหองเผาไหม
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ชื่อสวนประกอบ เครือ่ งยนต 20. ทอรวมไอดี 21. ทอรวมไอเสีย
ประเภทของสวนประกอบ เครือ่ งยนต อยูกับที่
ตําแหนงบนเครื่องยนต
หนาที่
เคลื่อนที่ ติดตั้งอยูบริเวณดานขางของ
เปนทางผานใหอากาศไหล
ฝาสูบของเครื่องยนต
ผานไปยังหองเผาไหม
อยูดานบนของฝาสูบ
เปนทางเดินของแกสไอเสียที่ เกิดจากการเผาไหมภายใน กระบอกสูบ
22. แบริ่ง
แบริ่งหลักยึดเพลาขอเหวี่ยง
รับน้ําหนัก และถายทอดแรง
ในหองเพลาขอเหวี่ยง และ
ที่เกิดขึ้นจากเพลาลงไปสู
แบริ่งกานสูบประกอบอยู
อุปกรณตาง ๆ
ระหวางกานสูบและขอเหวี่ยง
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวนทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวน หรือ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่
สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับทีไ่ ดถูกตอง
5
และครบถวนทุกชิ้นสวน ใหคะแนน 5 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 3 ชิ้นสวน ใหคะแนน 3 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 1 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทอยูกับทีไ่ มถกู ตอง หรือ ไมครบถวนเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่
สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไดถูกตอง และครบถวนทุกชิ้นสวน ใหคะแนน 5 คะแนน
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 3 ชิ้นสวน ใหคะแนน 3 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน ไมเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 1 คะแนน สํารวจสวนประกอบเครื่องยนตประเภทเคลื่อนที่ไมถูกตอง หรือ ไมครบถวนเกิน 5 ชิ้นสวน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถูกตอง และไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0921020302 หลักการทํางานของเครื่องยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายหลักการทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีน ดีเซล และระบบระบายความรอนได
2. หัวขอสําคัญ 1. หลักการทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีน 2. หลักการทํางานของเครื่องยนตดีเซล 3. หลักการทํางานของระบบระบายความรอน
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม ฟสิกสราชมงคล. เครื่องยนต 4 จังหวะ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.rmutphysics.com/charud/ howstuffwork/howstuff1/engine/enginethai4.htm สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา. หนวยที่ 4 เรื่อง หลักการทํางานของเครื่องยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088485246_15061316160529.pdf ฟสิกสราชมงคล. จังหวะของลูกสูบ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.rmutphysics.com/charud/ invention/invention2/diesel/diesel3.htm ระบบตัวถังและคัสซี. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.sceniccityweb.com/auto-body.html
65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 48-63 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก เทอรโมสตรัท ปมน้ํา หมอน้ํา 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้ น ความรู เ กี่ ย วกั บ หลั ก การทํ า งานของ ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช เครื่องยนต ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง หลั ก การ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ทํางานของเครื่องยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 48-63
1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง หลั ก การทํ า งานของ เครื่องยนต หนาที่ 48-63 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00:00-03:36 และคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 50-60 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หลักการทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีน 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.2 หลักการทํางานของเครื่องยนตดีเซล 2.3 หลักการทํางานของระบบระบายความรอน 3. ใหผูรับการฝกบอกการทํางานของเทอรโมสตรัท 3. บอกการทํ า งานของเทอร โ มสตรั ท ป ม น้ํ า และ ปมน้ํา และหมอน้ํา หมอน้ํา 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 61-63 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 61-63 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 81 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง หลักการทํางาน อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ของเครื่องยนต ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง หลักการทํางาน ของเครื่องยนตเกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และ คุ ณลั กษณะที่ ตองการบู ร ณาการคุ ณธรรม จริ ยธรรม และใบทดสอบ
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 หลักการทํางานของเครื่องยนต หลักการทํางานของเครื่องยนต โดยทั่วไปแลวจะสามารถจําแนกออกได 3 ลักษณะ คือ จําแนกตามจังหวะการทํางาน ของเครื่องยนต จําแนกตามชนิดของเชื้อเพลิง และจําแนกตามลักษณะของลูกสูบที่ใช 1. การทํางานของเครือ่ งยนตแกสโซลีน 4 จังหวะ การทํางานของเครือ่ งยนต 4 จังหวะเปนเครื่องยนตที่ใชรอบการทํางาน 4 รอบตอการจุดระเบิด 1 ครั้ง โดยเครื่องยนต 4 จังหวะ จะถูกนํามาใชกับทั้งเครื่องยนตเบนซินและดีเซล
ภาพที่ 2.1 การทํางานของเครื่องยนตแกสโซลีน 4 จังหวะ 1.1 จังหวะในการทํางานของเครื่องยนต 1) ในจัง หวะที่ 1 เริ่ม ตน ดว ยจัง หวะดูด ลูก สูบ จะเคลื่อ นที่ล งจากศูน ยต ายบนไปยัง ศูนยตายลาง เมื่อ ลูกสูบเริ่มเคลื่อนที่ วาลวไอดีจะเริ่มเปด ซึ่งในขณะนั้น หัวฉีดจะจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาผสมกับอากาศ (ไอดี) ในทอรวมไอดีและถูกดูดไหลเขามาในกระบอกสูบ
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 2.2 จังหวะดูด 2) จังหวะที่ 2 จังหวะอัด ลูกสูบเคลื่อนที่จากศูนยตายลางขึ้นสูศูนยตายบน วาลวไอดีและวาลวไอเสียจะปด จากนั้นลูกสูบจะอัดสวนผสมไอดีที่อยูภายในกระบอกสูบ
ภาพที่ 2.3 จังหวะอัด 3) จังหวะที่ 3 จังหวะระเบิด หัวเทียนจะจุดประกายไฟ ทําใหเกิดการเผาไหมอยางรุนแรงภายในกระบอกสูบ และทําใหเกิดการขยายตัวของแกสภายในหองเผาไหม และผลักลูกสูบลงไปยังศูนยตายลาง 69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 2.4 จังหวะระเบิด 4) จังหวะที่ 4 จังหวะคาย ลูกสูบเคลื่อนที่จากศูนยตายลางขึ้นสูศูนยตายบน วาลวไอเสียจะถูกเปดออก ลูกสูบเคลื่อนที่ไลแกสไอเสียที่เกิดจากการเผาไหมออกจากกระบอกสูบ และเริ่มจังหวะดูดอีกครั้ง
ภาพที่ 2.5 จังหวะคาย
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ตารางที่ 1.1 แสดงการจุดระเบิด จํานวนสูบ
ลําดับการจุดระเบิด
4 สูบแถวเรียง
1, 3, 4, 2
5 สูบแถวเรียง
1, 2, 4, 5, 3
6 สูบแถวเรียง
1, 5, 3, 6, 2, 4
6 สูบวางรูปตัว V
1, 2, 3, 4, 5, 6
1.2 เชื้อเพลิงที่ใชกับเครื่องยนตแกสโซลีน เครื่องยนตแกสโซลีน (Gasoline Engine หรือ Petrol Engine) เปนเครื่องยนตสันดาปภายใน (Internal Combustion Engine หรือ ICE) ซึ่งมีการทํางานตามกลวัตร (Otto Cycle) เปนเครื่องยนตจุดระเบิดดวยประกายไฟ (Spark-Ignition Engine) โดยการสันดาปหรือการเผาไหม สามารถใชเชื้อเพลิงเหลวไดหลายชนิด เชน น้ํามันเบนซิน แกสโซฮอล เอทานอล เปน ตน นอกจากนี้ยังสามารถใชเ ชื้อเพลิงแกส กลุม LPG และ CNG (NGV) ไดอีกดว ย เครื่องยนตแกส โซลีน ทั่ว ไป จะมี อัต ราส ว นการอั ด (Compression Ratio หรื อ CR) ประมาณ 9 - 11.5 : 1 ลูกสูบ เลื่อนไปอยูในตําแหนงสูง สุ ด เชื้อเพลิงจะถูกฉีดผานหัวฉีด และเริ่มเกิดการจุดระเบิดของเครื่องยนต เกิดแรงดันลูกสูบลงทําใหเกิดกําลังของเครื่องยนต 2. การทํางานของเครื่องยนตดีเซล เครื่องยนตดีเซล (Diesel Engine) เปนเครื่องยนตสันดาปภายใน (Internal Combustion Engine หรือ ICE) ชนิดหนึ่ง ถูกพัฒนาโดยรูดอลฟ ดีเซล (Rudolf Diesel) ชาวเยอรมันในป ค.ศ. 1893 เครื่องยนตดีเซลมีอัตราสวนการอัด 16 – 22 : 1 ซึ่งมีอัตราสวนอัดมากกวาเครื่องยนตเบนซิน และทําใหอุณหภูมิอากาศที่อัดตัวเปน 700 – 900 องศาเซลเซียส เมื่อเชื้อเพลิงดีเซลถูก ฉีด ดว ยความดันสูงเขาไปในหองเผาไหมจะเกิดการจุด ระเบิด โดยไมตองใชประกายไฟเหมือนกับ เครื่องยนตแกสโซลีน จึงถูกจัดอยูในประเภทของเครื่องยนตจุดระเบิดดวยการอัดตัว (Compression Ignition Engine) หลักการทํางานของเครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ คือ 1 กลวัตร (Cycle) ของแตละสูบ เพลาขอเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ ตอการจุดระเบิด ให พลังงาน 1 ครั้ง หมายถึง ลูกสูบจะเคลื่อนที่ ขึ้น–ลง 4 ครั้ง คือ เพลาขอเหวี่ยงหมุนรอบที่ 1 ลูกสูบ เคลื่ อ นที่ ล งในจั ง หวะดู ด (Intake Stroke) ต อ มาลู ก สู บ เคลื่ อ นที่ ในจัง หวะอั ด (Compression Stroke) เพลาข อ เหวี่ ย ง หมุนรอบที่ 2 ลูกสูบเคลื่อนที่ลงในจังหวะกําลังหรือจังหวะระเบิด (Power Stroke or Expansion Stroke) สุดทายลูกสูบ เคลื่อนที่ขึ้นในจังหวะคาย (Exhaust Stroke) ถาเครื่องยนตมีหลายสูบแตละสูบจะทํางานเวียนตามลําดับการจุดระเบิด
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2.1 หลักการทํางานของเครื่องยนต 4 จังหวะ 1) จั งหวะดู ด (Intake Stroke) ลิ้น ไอดีจ ะเปดกอนที่ลูกสูบ จะเคลื่ อนที่ถึ งจุดศูน ย ตายบน (Top Dead Center) เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ลงจากศูนยตายบน อากาศจะถูกดูดเขามาภายในกระบอกสูบ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ เลยจากศูนยตายลาง (Bottom Dead Center) อากาศจะยังคงไหลเขามาภายในกระบอกสูบดวยแรงเฉื่อย จนกวาลิ้นไอดีจะปด
ภาพที่ 2.6 จังหวะดูด 2) จังหวะอัด (Compression Stroke) เมื่อลิ้นไอดีปดจะเขาสูขั้นตอนของจังหวะอัด ลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นไป ที่ศูนยตายบน อากาศที่ถูกดูดเขามาภายในกระบอกสูบในจังหวะดูดจะถูกอัดใหมีปริมาตรนอยลง สงผล ใหอากาศมีความดันและอุณหภูมิสูงขึ้นพรอมสําหรับการสันดาป โดยชวงทายของจังหวะอัด กอนที่ ลูกสูบจะเคลื่อนที่ถึงศูนยตายบน หัวฉีดจะเริ่มฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 2.7 จังหวะอัด 3) จังหวะกําลัง (Power Stroke) หรือจังหวะระเบิด (Expansion Stroke) จะเริ่มเมื่อหัวฉีดฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง เขามาภายในกระบอกสูบ ทําใหเกิดการเผาไหมหรือการสันดาป (Combustion) ภายในหองเผาไหม โดย แกสที่เกิดจากการเผาไหมจะขยายตัวดันใหลูกสูบเคลื่อนที่ลงมาใหเพลาขอเหวี่ยงหมุนกลายเปนกําลัง ขับเคลื่อนเครื่องยนต โดยจังหวะจะสิ้นสุดลงเมื่อลิ้นไอเสียเปด
ภาพที่ 2.8 จังหวะกําลัง 73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4) จังหวะคาย (Exhaust Stroke) เกิดขึ้นเมื่อลิ้นไอเสียเริ่มเปด กอนที่ลูกสูบจะเคลื่อนที่ถึงศูนยตายลาง ซึ่งแกสไอเสียจะยังคงมีแรงดันจากการขยายตัวอยู จะระบายออกทางลิ้นไอเสีย เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่จาก ศูนยตายลางจะผลักใหไลไอเสียไหลออกไปจากกระบอกสูบ
ภาพที่ 2.9 จังหวะคาย 3. การทํางานของระบบระบายความรอน พลังงานที่เกิดจากการจุดระเบิดและการเผาไหมภายในกระบอกสูบมีอุณหภูมิสูงมาก หากชิ้นสวนตาง ๆ ที่ทํางานตาม กลวัตรระบายความรอนไดไมดี อาจสงผลใหเครื่องยนตไดรับความเสียหาย และอาจเกิดอันตรายตอผูใชงาน เพราะหาก ระบายความรอ นออกไดนอ ยกวา ความรอ นที่ถูก สรา งขึ้น จากการจุด ระเบิด จะสง ผลใหเ ครื่อ งยนตมีความรอนสะสม มากขึ้น ชิ้นสวนตาง ๆ อาจเกิดความเสียหาย และอาจเกิดอาการเครื่องน็อกได การระบายความรอนนั้นสามารถแบงออกไดเปน 2 ระบบ คือ ระบบระบายความรอนดวยอากาศ และระบบระบายความรอน ดวยของเหลว 3.1 ระบบระบายความรอนดวยอากาศ (Air Cooling System) ระบบระบายความรอนดวยอากาศสวนใหญจะใชกับเครื่องยนตขนาดเล็ก มีหลักการการถายเทความรอนจาก กระบอกสูบและสวนตาง ๆ ของเครื่องยนต โดยการใชอากาศที่ผานเครื่องยนตเปนตัวรับความรอนที่ระบายจากเครื่องยนต ซึ่งการออกแบบเสื้อสูบในระบบระบายความรอนดวยอากาศ จะมีลักษณะเปนครีบเพื่อเพิ่มเนื้อที่การระบายความรอน ใหกับอากาศ หรืออาจมีการออกแบบสวนตาง ๆ ของรถยนตเพื่อบังคับทิศทางลมในการระบายความรอน 74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 2.10 ตัวอยางเสื้อสูบในระบบระบายความรอนดวยอากาศ 3.2 ระบบระบายความรอนดวยของเหลว (Liquid Cooling System) ระบบระบายความรอนดวยของเหลวสวนใหญจะอาศัยน้ําในการรับความรอนของเครื่องยนต และใชอากาศในการรับ ความรอนจากน้ํา เพื่อทําใหน้ําเย็นลงและใหน้ําที่ผานการดูดความรอนดวยอากาศเรียบรอยแลวเขาไปทําการระบาย ความรอนที่เกิดจากเครื่องยนตใหม ซึ่งระบบระบายความรอนดวยน้ํานั้นสามารถระบายความรอนไดดีกวาการระบาย ความรอนดวยอากาศ
ภาพที่ 2.11 ตัวอยางระบบระบายความรอนดวยของเหลว 3.3 ชิ้นสวนของระบบระบายความรอนดวยของเหลว 1) ปมน้ํา (Water Pump) มีหนาที่ทําใหเกิดการหมุนเวียนของน้ํา โดยจะหมุนเวียนจากหมอน้ําและไหล เขาไปสูเครื่องยนต การทํางานของปมจะอาศัยสายพานจากเครื่องยนต 75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 2.12 ตัวอยางปมน้ํา 2) หมอน้ําหรือรังผึ้ง (Radiator) มีหนาที่ระบายความรอนของน้ําที่เดินทางมาจากเครื่องยนต โดยที่หมอน้ํา จะมีทอทางเดินน้ํา แลวปดดวยครีบรังผึ้งเพื่อระบายความรอนมาที่ครีบ เมื่อลมพัดผานทอทางเดินน้ําจะเกิด การถายเทความรอนไปกับลม ทําใหน้ําเย็นตัวลง
ภาพที่ 2.13 ตัวอยางหมอน้ํา 3) ลิ ้น ควบคุม อุณ หภูม ิข องน้ํ า (Thermostat) มีห นา ที ่ป ด กั ้น ทางเดิน น้ํ า ไมใ หไ หลเขา สู ภ ายใน เครื่องยนตในขณะที่เครื่องยนตเย็น เพื่อทําใหเครื่องยนตรอนเร็วขึ้นจนถึงอุณหภูมิทํางานไดอยางรวดเร็ว หลังจากเครื่อ งยนตรอ นขึ้น ลิ้น ควบคุม อุณ หภูมิของน้ําจะทําหนาที่ควบคุมอุณหภูมิก ารทํา งานของ เครื่อ งยนตใหเหมาะสมตลอดเวลา และเมื่ออุณหภูมิภายนอกสูง อุณหภูมิเครื่องยนตจะสูงขึ้นตามไปดวย ลิ้น ควบคุมอุณหภูมิของน้ําจะเปดกวาง เพื่อใหน้ําหลอเย็นสามารถไหลเขามาภายในเครื่องยนตไดอยางเต็มที่ แตหากอุณหภูมิภายนอกต่ํา ลิ้นควบคุมอุณหภูมิของน้ําจะเปดเพียงเล็กนอย เพื่อจํากัดการไหลเวียนของ น้ําหลอเย็น ทั้งนี้ ลิ้นควบคุมอุณหภูมิน้ําไดรับการออกแบบมาใหมีอุณหภูมิจําเพาะ โดยมีตัวเลขแสดงพิกัด (Rating) กํากับอยู เชน 82 c เปนตน ซึ่งหมายถึง ลิ้นควบคุมอุณหภูมิของน้ําจะเริ่มเปดเมื่ออุณหภูมิสูงถึง 82 c
76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 2.14 ตัวอยางลิ้นควบคุมอุณหภูมิของน้ํา (Thermostat) 4) พัดลม (Fan) ทําหนาที่หมุนและดูดลมผานหมอน้ําเพื่อดูดเอาความรอนของน้ําที่ถายเทในหมอน้ําออกไป ในปจจุบันพัดลมนั้นจะมีการทํางานดวยกัน 2 แบบ คือ พัดลมที่ขับดวยสายพาน และพัดลมที่ขับดวยไฟฟา ซึ่ง พัด ลมที่ขับ ดว ยไฟฟา นั้น มักจะนํามาใชกับ เครื่อ งยนตแกส โซลีน โดยพัด ลมไฟฟา นั้น จะทํางาน เมื่ออุณหภูมิของเครื่องยนตสูงกวาที่กําหนด และจะหยุดหมุนเมื่ออุณหภูมิของเครื่องยนตลดลงต่ํากวา อุณหภูมิดังกลาว
ภาพที่ 2.15 ตัวอยางพัดลมหมอน้ํา 5) ถั ง พั ก น้ํ า ขณะที่ เ ครื่ อ งยนต ร อ น น้ํ า ในหม อ น้ํ า จะขยายตั ว และไหลผ า นท อ น้ํ า ล น เข า มาในถั ง พั ก เมื่อเครื่องยนตเย็น น้ําในระบบจะหดตัว เกิดสุญญากาศในระบบ ทําใหมีการดูดน้ําจากถังพักกลับเขาสูหมอน้ํา นอกจากถังพักจะเปนตัวชวยในการกักเก็บน้ําหลอเย็นแลว ถังพักยังทําหนาที่ชวยในการระบายความร อน โดยถังพักจะเปนตัวที่แยกฟองอากาศออกจากน้ําหลอเย็น ทําใหการระบายความรอนในระบบเปน ไป อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งหากเราเติมน้ําในถังพักจนเต็ม เมื่อเครื่องยนตรอนจนน้ําในหมอน้ําขยายตั ว น้ําหลอเย็นจะไหลจากหมอน้ํามาที่ถังพัก ซึ่งก็มีน้ําเต็มไปหมด น้ําหลอเย็นจะไหลลนออกจากถังพักตรง ชองระบาย และเมื่อมีการเติมน้ําชดเชยในถังพักตลอดเวลา ก็จะทําใหสูญเสียน้ําหลอเย็นไปเรื่อย ๆ จน ประสิทธิภาพของน้ํา หล อ เย็ น หมดไป ชิ้ น ส ว นภายในที่เ ป น โลหะเกิ ด การผุ ก ร อ นเป น สนิ ม หากน้ํา ในระบบมี ฟองมาก การระบายความรอนก็จะต่ําลง
77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 2.16 ตัวอยางถังพักน้ํา
78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด ไมใช เกณฑที่ใชจําแนกหลักการทํางานของเครื่องยนต ก. ชนิดของเชื้อเพลิง ข. ลักษณะของลูกสูบ ค. จังหวะการทํางานของเครื่องยนต ง. ประเภทของชิ้นสวนเครื่องยนต 2. สําหรับเครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ 1 กลวัตรของแตละสูบ เพลาขอเหวี่ยงจะหมุนไปกี่รอบ ก. 1 รอบ ข. 2 รอบ ค. 3 รอบ ง. 4 รอบ 3. จังหวะใดในการทํางานของเครื่องยนต 4 จังหวะ ที่ลูกสูบจะเคลื่อนที่ลงจากตําแหนงศูนยตายบนไปยังศูนยตายลาง และ วาลวไอดีถูกเปดออก ก. จังหวะดูด ข. จังหวะอัด ค. จังหวะระเบิด ง. จังหวะคาย 4. จังหวะที่วาลวไอดีและวาลวไอเสียจะปด ลูกสูบจะเริ่มเคลื่อนที่กลับสูศูนยตายบน และหัวฉีดจะจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาผสม กับอากาศในกระบอกสูบ คือจังหวะใด ก. จังหวะดูด ข. จังหวะกําลัง ค. จังหวะอัด ง. จังหวะคาย 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5. ชิ้นสวนใดของระบบระบายความรอนดวยของเหลว ทําหนาที่ปดกั้นทางเดินน้ํา ไมใหไหลเขาสูเครื่องยนตขณะที่ เครื่องยนตเย็น ก. หมอน้ํา ข. ลิ้นควบคุมอุณหภูมิของน้ํา ค. ปมน้ํา ง. ถังพักน้ํา ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 6. หมอน้ําหรือรังผึ้ง ทําใหเกิดการหมุนเวียนของน้ํา 7. จังหวะอัดในเครื่องยนตแกสโซลีน วาลวไอดีและวาลวไอเสียจะปด ลูกสูบเริ่ม เคลื่อนที่กลับสูศูนยตายบน ในขณะนั้น หัวฉีดจะจายน้ํามันเชื้อเพลิงมาผสมกั บ อากาศในกระบอกสูบ และอัดตัวจนควบแนน 8. การทํางานของเครื่องยนต 4 จังหวะเปนเครื่องยนตที่ใชรอบการทํางาน 4 รอบตอ การจุดระเบิด 1 ครั้ง โดยเครื่องยนต 4 จังหวะจะถูกนํามาใชเฉพาะกับทั้งเครื่องยนต เบนซิน 9. เครื่องยนตแกสโซลีนเปนเครื่องยนตสันดาปภายใน 10. ในระบบระบายความรอนดวยของเหลว พัดลมไฟฟาจะทํางานเมื่ออุณหภูมิ ของเครื่องยนตสูงกวาที่กําหนด และจะหยุดหมุนเมื่ออุณหภูมิของเครื่องยนตลดลง
80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ
ก
ข
ค
ง
1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
6 7 8 9 10
81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3 0921020303 ระบบสงกําลัง (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
หนาที่ของระบบสงกําลัง ประเภทของการขับเคลื่อนรถยนต คลัตช (Clutch) กระปุกเกียร (Transmission) เพลากลาง (Propeller Shaft) เฟองทาย (Differential) เพลาทายหรือเพลาขับลอ (Rear Axle Shaft)
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํามันเกียร จํานวน 1 แกลลอน 2) น้ํามันคลัตช จํานวน 1 กระปอง 3) น้ํามันเบนซิน จํานวน 2 ลิตร 4) น้ํามันเฟองทาย จํานวน 1 แกลลอน 5) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 3 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คลัตชแบบไฮดรอลิก จํานวน 1 ตัว 2) เครื่องมือชางพื้นฐาน จํานวน 1 ชุด 3) ตลับเมตร จํานวน 1 อัน 4) ถังรองเปลี่ยนถายน้ํามัน จํานวน 1 ใบ 5) ประแจวัดแรงบิด จํานวน 1 อัน 6) ผาคลุมรถสําหรับซอม จํานวน 1 ชุด 7) รถยนตนั่งสวนบุคคลขับเคลื่อนลอหลัง จํานวน 1 คัน 8) รถยนตนั่งสวนบุคคลเกียรธรรมดา จํานวน 1 คัน 9) ลิฟตยกรถ จํานวน 1 ตัว 10) แหวนรองนอตถายน้ํามันเกียร จํานวน 1 อัน 11) แหวนรองนอตถายน้ํามันเฟองทาย จํานวน 1 อัน
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4. 5. 6. 7.
การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ระบบการสงกําลัง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/09021213134814_ 11052712121553.pdf pa nattapol insuk. 2556. ความรูเรื่อง ระบบสงกําลังรถยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://panattapol.blogspot.com/ Virat Sritheeraroj. 2555. ชุดคลัทช. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ motorvehicles/wiki/3c3d2/index.html เรื่องขอตอและเพลากลาง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/09021213134814_ 16012510103134.pdf เฟองทาย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/09021213134814_ 16012510104537.pdf เพลาทาย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/09021213134814_ 16012511110604.pdf
84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 64-108 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก ชุดคลัตช ชุดเกียร เพลากลาง เฟองทาย และเพลาทาย ในสถานที่ปฏิบัติงาน 6. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณสําหรับปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบสงกําลัง
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ระบบสงกําลัง 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 64-108
1. รับ คูมือผูรับ การฝก เรื่อง ระบบสงกําลัง หน าที่ 64-108 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 67-76 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หนาที่ของระบบสงกําลัง 2.2 ประเภทของการขับเคลื่อนรถยนต 2.3 คลัตช (Clutch) 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.4 กระปุกเกียร (Transmission) 2.5 เพลากลาง (Propeller Shaft) 2.6 เฟองทาย (Differential) 2.7 เพลาท า ยหรื อเพลาขั บ ล อ (Rear Axle Shaft) 3. พาผูรับการฝกมาที่สถานที่ปฏิบัติ เพื่อศึกษา 3. ศึกษาและบอกชื่อชิ้นสวนของระบบสงกําลัง ชิ้นสวนของระบบสงกําลังจากของจริง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 77-79 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 77-79 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 101 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 3.1 การ 6. ศึ กษาใบงานที่ 3.1 การตรวจสอบและปรั บ ตั้ ง ตรวจสอบและปรั บ ตั้ ง แป น เหยี ย บคลั ต ช แปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก จากคูมือ แบบไฮดรอลิ ก จากคู มือผู รั บการฝ ก หน า ที่ ผูรับการฝก หนาที่ 80-86 ซักถามขอสงสัย 80-86 ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-02:05 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 ขั้ น ตอนการปรั บ ตั้ ง แป น เหยี ย บคลั ต ช แบบไฮดรอลิก 7.2 การปรับตั้งคลัชตโดยวิธีการวัดระยะ 7.3 ระยะฟรีของแผนเหยียบคลัตช 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รับ วัส ดุ- อุป กรณแ ละเครื่อ งมือ ปฏิบัติง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 81 หนาที่ 103 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.2 การเปลี่ยน 13. ศึกษาใบงานที่ 3.2 การเปลี่ย นถายน้ํามัน เฟ อ ง ถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง ทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง จากคูมือผูรับการฝก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 87-97 หนาที่ 85-95 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 02:08-06:46 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 ขั้นตอนการเปลีย่ นถายน้ํามันเฟองทาย 14.2 การทําความสะอาดนอตถายและนอต เติมน้ํามันเฟองทาย 14.3 การขันนอตดวยประแจวัดแรงบิด 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 88หนาที่ 110-111 89 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 20. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.3 การเปลี่ยน 20. ศึ กษาใบงานที่ 3.3 การเปลี่ย นถายน้ํา มัน เกี ย ร ถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร แ บบธรรมดา จากคู มื อ แบบธรรมดา จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 98-108 ผูรับการฝก หนาที่ 98-108 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 21. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 06:48-10:54 พรอม 21. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย 87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 21.1 ขั้ น ตอนการเปลี่ ย นถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร แบบธรรมดา 21.2 การทําความสะอาดนอตถายและนอต เติมน้ํามันเฟองทาย 21.3 การขันนอตดวยประแจวัดแรงบิด 22. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 22. แบงกลุมตามความสมัครใจ 23. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 23. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้น ตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับ การฝก หนาที่ หนาที่ 121-122 99-100 24. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 24. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 25. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 25. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 26. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 26. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ระบบสงกําลัง
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อง ระบบสงกําลัง เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และ ใบงาน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 ระบบสงกําลัง (Powertrain System หรือ Transmission System) หนาที่ของระบบสงกําลัง (Powertrain System) คือ การถายทอดการหมุนของเครื่องยนตไปยังลอ เพื่อใหเกิดการเคลื่อนที่ ในระหวา งทางการสง กํา ลัง จากเครื่อ งยนตไปยัง ลอ จะผา นสว นประกอบหรือ อุป กรณห ลายสว นดว ยกัน คือ ชุดคลัตช (Clutch) ชุดเกียร (Transmission) เพลาขับ (Drive Shaft) ชุดเฟองทาย (Differential) เพลา (Axle) และลอ (Wheel) 1. การทํางานของระบบสงกําลัง การทํางานของระบบสงกําลัง เริ่มตนที่ตัวเครื่องยนตหมุน เพลาขอเหวี่ยงจะหมุนตาม โดยแกนที่ยื่นออกมาของเพลาขอเหวี่ยง จะติด กับ ลอชวยแรง (Fly Wheel) ดังนั้น ลอชวยแรงจึงหมุน ตามไปดวย ชุดคลัต ช (Clutch) ที่ติด ตั้งอยูในระบบ จะมา ชวยรับแรงหมุนนี้ สงผานไปตามเพลาคลัตช (Clutch Shaft) เขาไปสูหองเกียร (Transmission) ภายในหองเกียรจะมีฟนเฟอง โลหะหลายขนาดแตกตางกันไปตามความเร็วที่ตองการใช
ภาพที่ 3.1 ชุดสงกําลัง 2. ประเภทของการขับเคลื่อนรถยนต สิ่งที่เปนตัวแปรที่สําคัญในการเลือกใชงานรถยนต คือ ระบบการขับเคลื่อน ซึ่งในการควบคุมรถยนตในแตละประเภท จะมีขอดีและขอเสียที่แตกตางกันออกไป ดังตอไปนี้ 2.1 ขับเคลื่อนลอหนา - FWD (Front-wheel-drive) รถยนตขับเคลื่อนลอหนา สวนใหญจะติดตั้งเครื่องยนตไวบริเวณดานหนาของตัวรถ ซึ่งทําใหการสงกําลังเปนไปโดยงาย ไมมีความซับซอน น้ําหนักสวนใหญจะตกลงบนเพลาของลอคูหนาซึ่งเปนลอขับเคลื่อน สงผลใหลอหนาสามารถสร าง แรงยึ ดเกาะหรื อที่ เรี ยกว า “แทร็ คชั่ น” (Traction) ไดอยางเต็ มที่ และระบบขั บเคลื่ อนล อหน าส ว นใหญ จ ะต อเข ากั บ
89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เครื่องยนตโ ดยตรงและกระจายแรงบิด ผา นเพลาขับ ซา ย-ขวา ทํา ใหร ะบบขับ เคลื่อ นแบบนี้มีข นาดกะทัด รัด และ มีน้ําหนักเบา เปนผลดีตออัตราเรงและไมสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง
ภาพที่ 3.2 รถยนตขับเคลื่อนลอหนา 2.2 ขับเคลื่อนลอหลัง – RWD (Rear-wheel-drive) รถยนตขับเคลื่อนดวยลอหลัง สวนใหญจะวางตําแหนงของเครื่องยนตตามแนวแกนของตัวรถ ดังนั้นจึงสามารถวาง เครื่องยนตที่มีขนาดความจุสูงได ซึ่งสามารถใหกําลังไดมากกวาประเภทขับเคลื่อนดวยลอหนา โดยรถยนตประเภท ขับเคลื่อนดวยลอหลังนั้น จะสามารถแบงยอยเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1) รถยนตเครื่องยนตอยูหนาขับหลัง (FR = Front Engine Rear Wheel Drive) เปนรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง และวางเครื่องยนตในตําแหนงดานหนาของรถ โดยจะมีเพลากลางตอออกจาก หองเกียร ไปสูชุดเฟองทายที่ติดตั้งไวดานหลังรถ แลวตอเพลาขับ ซาย-ขวา ออกจากชุดเฟองทาย ในปจจุบัน นิยมใชในรถกระบะ เชน Toyota Vigo, ISUZU D-MAX เปนตน
ภาพที่ 3.3 รถยนตเครื่องยนตอยูหนาขับหลัง
90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2) รถยนตเครื่องยนตอยูกลางรถขับหลัง (FMR = Front-mid-engine RWD) เปนรถยนตที่มีการจัดใหน้ําหนักสวนใหญอยูระหวางลอหนาและลอหลัง เพื่อใหจุดศูนยถวงอยูตรงกลางรถ ขอเสีย คือมีเนื้อที่ใชประโยชนนอยและเสียงรบกวนจากเครื่องยนตมีมาก เชน Ferrari 355, 360, 430, 458, 488, F40, Lamborghini Gallardo, Aventador เปนตน
ภาพที่ 3.4 รถยนตเครื่องยนตอยูกลางรถขับหลัง 3) รถยนตเครื่องยนตอยูหลังขับหลัง (RR = Rear Engine Rear Wheel Drive) เปนรถยนตขับเคลื่อนลอหลังและวางเครื่องยนตชวงหลังรถ ซึ่งไมจําเปนตองมีเพลากลาง รถประเภท เครื่องอยูดานหลังและขับเคลื่ อนอยูดานหลั งนั้ นนิยมใช กันนอยมาก ตัวอยางรถที่ มีการวางเครื่ องยนต อยู ดานหลัง เชน Porsche 911, Chevrolet Corvair เปนตน
ภาพที่ 3.5 รถยนตเครื่องอยูหลังขับหลัง 4) รถยนตขับเคลื่อน 4 ลอ (4 WD = Four Wheel Drive) รถยนตประเภทขับเคลื่อน 4 ลอ เปนรถยนตที่มีแรงฉุดในการขับเคลื่อนและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ไมลื่นไถล โดยเฉพาะการใชงานบนถนนที่ไมเรียบ ขรุขระ เปนหลุมเปนบอ ทางปนปาย หลมโคลนทางโคง และถนนลื่น 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
จะได ป ระโยชน จากการขั บเคลื่อน 4 ลอดีที่สุด ตัว อยางรถยนตที่มีการขับเคลื่อน 4 ลอ เชน Misubishi Lancer Evolution, Subaru Impreza, Subaru Legacy, Audi Quattro เปนตน 3. คลัตช (Clutch) คลัตช มีหนาที่เชื่อมตอระหวางเครื่องยนตกับชุดเฟองเกียร เพื่อชวยในการขับเคลื่อนรถยนต ซึ่งในชุดเฟองเกียรของรถยนต จะมีแผนที่เรียกวา แผนคลัตช อยูดวย เมื่อผูขับขี่รถยนตเหยียบแปนเหยียบคลัตชจะเรียกวา การตัดกําลัง และเมื่อปลอยคลัตช เรียกวา การตอกําลัง
1. ลอชวยแรง
6. กามปูกดคลัตช
2. ลูกปนปลายเพลาคลัตช
7. ปลอกลูกปนกดคลัตช
3. แผนคลัตช
8. ลูกปนเพลาคลัตช
4. ชุดกดแผนคลัตช
9. เพลาคลัตช
5. ลูกปนกดคลัตช ภาพที่ 3.6 สวนประกอบของคลัตซ
92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 3.7 ชุดคลัตซ 3.1 กลไกการทํางานของคลัตช กลไกการทํางานของคลัตชจะแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ แบบเคเบิล และแบบไฮดรอลิก ดังนี้ 1) แบบเคเบิล ประกอบดวยเคเบิลสวนในและสวนนอกซึ่งออนตัวได เคเบิลสวนนอกจะยึดอยูระหวางผนัง ตัวถังกับเสื้อคลัตช เคเบิลสวนในตอระหวางแปนคลัตชกับกามปูกดคลัตช การปรับเคเบิลสวนในทําได โดยหมุนแปนเกลียวที่สวนปลายของเคเบิล 2) แบบไฮดรอลิก ประกอบดวยแปนคลัตชและกานตอ ซึ่งสงแรงกระทําตอแมปมคลัตช ทอเหล็กกลาและ ทอออนตอจากแมปมคลัตชไปยังลูกปม กานตอของลูกปมสงแรงกระทําตอไปยังกามปูกดคลัตช 3.2 การตรวจสอบแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก 1) ตรวจความสูงของแปนเหยียบคลัตชใหถูกตอง โดยใชตลับเมตรวัดระยะจากพื้นถึงแปนเหยียบคลัตช 2) ตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตชโดยการคลายนอตและหมุนโบลตปรับตั้งใหไดความสูง 145 – 155 มิลลิเมตร แลวล็อกนอตใหแนน 3) ทดสอบกดแปนเหยียบคลัตชจนมีแรงตานของแผนคลัตช เพื่อตรวจสอบระยะฟรีของแผนคลัตช 4. กระปุกเกียร (Transmission) เกียรรถยนต เปนสวนประกอบหนึ่งของระบบสงกําลัง และเปนอุปกรณในการเปลี่ยนอัตราทด โดยมีสวนประกอบ คือ ชุดเฟองตาง ๆ ที่เชื่อมตอกัน เพื่อใหรถยนตสามารถสงกําลังขับเคลื่อนไดมากขึ้น และสามารถเคลื่อนที่ไปดานหนาหรือ ถอยหลั งได ในป จ จุ บั น มี เ กี ย ร ส องชนิ ด ได แก เกี ย รธ รรมดา และเกีย รอัตโนมัติ ซึ่งเกีย รแตล ะประเภทจะมีการทํางาน ที่แตกตางกันออกไป ดังนี้
93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4.1 เกียรธรรมดา เป็นอุปกรณที่เพิ่มและลดความเร็วของเครื่องยนตโดยเฟองเกียรและเปลี่ยนความเร็วนั้นเปนแรงบิด ที่เหมาะสมเพื่อสงไปยังลอ ซึ่งเกียรธรรมดานั้นมีกลไกที่ไมซับซอนและมีการสึกหรอนอย 4.2 เกีย รอัต โนมัต ิ เปน อุป กรณส ง ถา ยกํ า ลัง ใหกับ รถยนตที่มีก ารขับ เคลื ่อ นทั ้ง เดิน หนา และถอยหลัง รวมทั ้ง สามารถตัดกําลังงาน และเพิ่มหรือลดทอรกไดโดยไมตองเปลี่ยนคันบังคับตําแหนงเกียร มีอุปกรณที่สําคัญคือ ทอร กคอนเวอร เตอร ซึ่ งมี การติ ดตั้ งอยู ระหว างเครื่ องยนต กั บห องเครื่ องเกี ยร อั ตโนมั ติ ทอร กคอนเวอร เ ตอร เปนตัวสงถายกําลังของไหลในการถายทอดกําลังระหวางเครื่องยนตกับเกียร 4.2.1 ขอดีและขอเสียของเกียรอัตโนมัติ 1) ผูขับขี่สามารถเปลี่ยนเกียรไดโดยไมตองเหยียบคลัตช เพราะเกียรอัตโนมัติสามารถเปลี่ยนเกียร ไดเองตามรอบเครื่องยนต 2) ควบคุมรถงาย ในขณะขับขีร่ ถในสภาพการจราจรคับคั่ง 3) สิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงมากกวาเกียรธรรมดาเล็กนอย 4) ราคาเกียรอัตโนมัติแพงกวาเกียรธรรมดา
ภาพที่ 3.8 กระปุกเกียร 5. เพลากลาง (Propeller Shaft) เพลากลางรถยนต ทําหนาที่ถายทอดกําลังจากกระปุกเกียรไปยังเฟองทาย โดยเฉพาะรถยนตเครื่องยนตอยูหนาขับหลั ง (FR) โดยจะมีลักษณะเปนขอตอเลื่อนและขอตอออนตอกัน เพื่อใหถายทอดกําลังไดอยางราบรื่น แมวามุมของเพลากลาง จะเปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจากการเคลื่อนตัวในแนวตั้งของเฟองทาย
94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1. ขอตอเลื่อน
5. ตุกตาเพลากลาง
2. เพลากลาง
6. เพลากลาง
3. ขอตอออน
7. เฟองทาย
4. กระปุกเกียร ภาพที่ 3.9 สวนประกอบของเพลากลาง
ภาพที่ 3.10 เพลากลาง 5.1 ขอตอออน (Universal Joint) ขอตอออน เปนหนึ่งในสวนประกอบที่สําคัญของเพลากลาง ทําหนาที่เปลี่ยนแปลงความเร็วเชิงมุมของเพลากลาง ขณะที่เพลากลางถายทอดกําลังงานจากกระปุกเกียรไปยังเฟองทาย เนื่องจากเพลากลางจะตองปรับเปลี่ยนมุมไปตาม สภาพของพื้นผิวถนนขณะลอเคลื่อนที่ ขอตอออน แบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ - ขอตอออนแบบกากบาท ทําหนาที่สงถายกําลัง โดยมีลูกปนเข็มบรรจุอยูในถวยลูกปน เพื่อลดแรงเสียดทาน ระหวางถวยลูกปนเข็มกับขอตอออนขณะที่เพลากลางหมุน ขอตอออนชนิดนี้นิยมใชกับรถกระบะ และจะ ติดตั้งในตําแหนงตาง ๆ ตามประเภทของเพลากลาง เชน ในเพลากลางแบบทอนเดียว จะติดตั้งในตําแหนง 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
หัวและทาย หรือ ในเพลากลางแบบ 2 ทอน 3 ขอตอ จะติดตั้งในตําแหนงหัว กลาง และทายของเพลากลาง เปนตน
ภาพที่ 3.11 ข อ ต อ อ อ นแบบกากบาท - ขอตอออนแบบยางหรือผาใบ ทําหนาที่สงถายกําลัง โดยใหเพลากลางทํามุมเอียงไมเกิน 10 องศา นิยม ใชกับรถยนตขนาดเล็ก ประกอบดวย หนาแปลนชนิด 3 ขา 2 อัน หรือ 2 ขา 2 อัน ยึดติดกับผาใบผสม ยาง อยางไรก็ตาม ขอตอออนชนิดนี้ไมคอยคงทน แตทํางานเงียบ และไมตองใชน้ํามันหลอลื่น
ภาพที่ 3.12 ข อ ต อ อ อ นแบบยางหรือผาใบ - ขอตอออนแบบความเร็วคงที่ หรือขอตอออนแบบลูกปน ทําหนาที่สงถายแรงบิดซึ่งคงที่กวาขอตอออน ชนิดอื่น ขอตอออนชนิดนี้ไมนิยมใชกับเพลากลาง เนื่องจากราคาแพงและออกแบบยาก แตจะนิยมใชกับ รถยนตขับเคลื่อนลอหนาหรือลอหลัง ที่ใชระบบรองรับแบบอิสระเทานั้น
96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 3.13 ข อ ต อ อ อ นแบบความเร็วคงที่ 5.2 ขอตอเลื่อน (Sliding Joint) ทําหนาที่ปรับระยะความยาวหรือความสั้นของเพลากลาง ขณะที่ลอหลังรถยนต เคลื่อนที่ขึ้นลงตามสภาพพื้นถนน โดยจะปรับใหเพลากลางยืดหรือหดตามขอตอเลื่อน ขอตอเลื่อนประกอบดวย เพลาขอตอเลื่อนและปลอกขอตอเลื่อน ซึ่งทั้งสองชิ้นสวนจะหมุนไปพรอมกัน และปรับระยะความยาวของเพลากลาง ตามสภาพพื้นถนน
ภาพที่ 3.14 ขอตอเลื่อน 6. เฟองทาย (Differential) เฟองทาย หรือ Final Gear คือ อุปกรณสงตอแรงหมุนจากเพลาขับ (Axle) ไปยังดุมลอ (Hub) และในขณะเดียวกันเฟองทาย จะมีอัตราสวนการทดรอบ แตจะไมสามารถเปลี่ยนอัตราสวนการทดรอบเปนหลายระดับไดเหมือนเกียร เนื่องจากเปนการสงถายแรง ในขั้นตอนสุดทายกอนไปยังลอ เฟองทายโดยทั่วไปจะประกอบดวยลอและเฟองพีเนียน เพื่อตองการใหพื้นที่หองโดยสาร แบนราบมากที่สุด จึงตองติดตั้งใหเพลาขับอยูต่ําที่สุดเทาที่จะทําได โดยเฟองพีเนียนจะขบกับลอเฟองใตเสนแนวศูนยกลาง ของลอเฟอง ชุดเฟองแบบนี้เรียกวา เฟองไฮปอยด เฟองทายมีหนาที่ 2 อยาง คือ เปลี่ยนทิศทางการหมุนของเพลากลางไป 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เปนมุม 90 องศา เพื่อขับเพลาทายและใหอัตราทดเฟองคงที่ ในสวนของรถยนตขับเคลื่อนดวยลอหนา เฟองทายจะอยูภายใน ชุดเพลารวม เฟองทายบางแบบในชุดเพลารวมอัตโนมัตินําระบบเฟองบริวารเขามาแทนที่เฟองแบบธรรมดา
ภาพที่ 3.15 เฟองทาย 7. เพลาทายหรือเพลาขับลอ เพลาทาย เปนสวนสงถายแรงบิดจากเฟองทายไปขับเคลื่อนลอรถใหเกิดการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองใชวัสดุที่มี ความทนทานตอแรงบิดจากการสงถายกําลัง โดยเพลาทายมีการนํามาใชทั้งรถยนตขับเคลื่อนลอหนาและลอหลัง ทั้งนี้ขึ้นอยู กับการออกแบบใหมีความเหมาะสมกับการเคลื่อนที่ เพลาทายนั้นเปนสวนประกอบของรถที่สําคัญเนื่องจากเปนที่ติ ดตั้ ง สวนประกอบชวงลางของรถยนต เชน ช็อคอัพ แหนบ เปนตน
ภาพที่ 3.16 เพลาทายหรือเพลาขับลอ
98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ชิ้นสวนตอไปนี้ ทําหนาที่อะไร
ก. เปลี่ยนอัตราทด ทําใหรถยนตเคลื่อนที่ไปขางหนาหรือถอยหลัง ข. ถายทอดกําลังจากกระปุกเกียรไปยังเฟองทาย ค. สงตอแรงหมุนจากเพลาขับไปยังดุมลอ ง. ถายทอดแรงบิดจากเครื่องยนตไปยังกระปุกเกียร 2. ชิ้นสวนตอไปนี้ ทําหนาที่อะไร
ก. เปลี่ยนทิศทางการหมุนของเพลากลาง ข. เพิ่มและลดความเร็วของเครื่องยนตโดยเฟองเกียร ค. สงถายแรงบิดจากเฟองทายไปขับเคลื่อนลอรถใหเกิดการเคลื่อนที่ ง. ตัดตอการทํางานของเครื่องยนตและกระปุกเกียร 3. อุปกรณชนิดใด คือ ตัวสงถายกําลังของไหลในการถายทอดกําลังระหวางเครื่องยนตกับเกียร ก. เฟองทาย ข. ทอรกคอนเวอรเตอร ค. คลัตช ง. เฟองไฮปอยด 99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4. ขอใด คือ ตัวอยางรถยนตที่มีเครื่องยนตอยูหลังขับหลัง ก. Subaru Impreza ข. Toyota Vigo ค. Ferrari 355 ง. Porsche 911 5. ขอตอออนชนิดใด สงถายแรงบิดไดคงที่กวาขอตอออนชนิดอื่น ก. ขอตอออนแบบกากบาท ข. ขอตอออนแบบผาใบ ค. ขอตอออนแบบความเร็วคงที่ ง. ขอตอออนแบบถวยลูกปนเข็ม ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 6. รถยนตขับเคลื่อนลอหลังและวางเครื่องยนตชวงหลังรถ จําเปนตองมีเพลากลาง 7. เมื่อผูขับขี่รถยนตเหยียบแปนเหยียบคลัตชจะเรียกวา การตัดกําลัง และเมื่อปลอย คลัตชเรียกวา การตอกําลัง 8. ในรถยนตที่ใชเกียรอัตโนมัติ ผูขับขี่สามารถเปลี่ยนเกียรไดโดยไมตองเหยียบคลัตช 9. ขอตอเลื่อน ทําหนาที่ปรับระยะความยาวหรือความสั้นของเพลาทาย ขณะที่ลอหลัง รถยนตเคลื่อนที่ขึ้นลงตามสภาพพื้นถนน 10. ขอตอออนแบบยางหรือผาใบ แมจะไมคอยคงทน แตทํางานเงียบ และไมตองใช น้ํามันหลอลื่น
100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ
ก
ข
ค
ง
1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
6 7 8 9 10
101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การตรวจสอบและปรับตั้งแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัตงิ านตรวจสอบแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบและปรับตั้งแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก
102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การตรวจสอบและปรับตั้งแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
3. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
4. ตลับเมตร
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบและปรับตั้งแปนเหยียบคลัตชแบบไฮดรอลิก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ
คําอธิบาย โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขา เกียรในตําแหนง P ถาเปนเกียร ธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
3. คลุมผาสําหรับซอม
ใชผาคลุมสําหรับซอมภายในตัวรถ บริเวณเบาะ พวงมาลัย หัวเกียร
4. ตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตช
ใช ต ลั บ เมตรวั ด ระยะจากพื้ น ถึ ง แปนเหยียบคลัตช ซึ่งจะตองวัดได 145 – 155 มิลลิเมตร หรือตามที่ คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด
104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตช
คําอธิบาย คลายนอตและหมุ น โบลต ป รับ ตั้ง
ขอควรระวัง
ความสูงของแปน เหยีย บคลัตชให ไดระยะ
กดแปนเหยียบคลัตชจนมีแรงตาน ควรย้ําแปน
6. ทดสอบแปนเหยียบคลัตช
ของแผนคลัตช ซึ่งจะตองมีระยะฟรี เหยียบคลัตช ของแผนคลัตช
หลาย ๆ ครั้ง กอนตรวจสอบ ระยะฟรี
7. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตช
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตช
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตช
ตรวจสอบความสู ง ของแป น เหยี ย บคลั ต ช ไ ด ถู ก ต อ ง
5
ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบความสูงของแปนเหยียบคลัตชคลาดเคลื่อนไมเกิน 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบความสู ง ของแป น เหยี ย บคลั ต ช ค ลาดเคลื่ อ น เกินกวา 5 มิลลิเมตร ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตช
ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตชไดถูกตองตามขั้นตอน และคาความสูงไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน
107 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน หรือคาความสูงคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ปรับตั้งความสูงของแปนเหยียบคลัตชไมถูกตองตามขั้นตอน และคาความสูงคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลังได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง
109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตขับเคลื่อนลอหลัง
จํานวน 1 คัน
2. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
3. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
4. ประแจวัดแรงบิด
จํานวน 1 อัน
5. แหวนรองนอตถายน้ํามันเฟองทาย
จํานวน 1 อัน
6. ถังรองเปลี่ยนถายน้ํามัน
จํานวน 1 ใบ
7. ลิฟตยกรถ
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเฟองทาย
จํานวน 1 แกลลอน
2. น้ํามันเบนซิน
จํานวน 1 ลิตร
3. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทายรถยนตขับเคลื่อนลอหลัง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
3. ยกรถขึ้น
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ยกรถขึ้ น จากพื้ น ด ว ยลิ ฟ ต ย กรถ เพื่ อ ระวังอยาให มี คนหรื อ เปลี่ยนถายน้ํามันเฟองทาย
สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถขึ้น และระวัง รถตกจากลิฟตยกรถ
4. วางถังรองน้ํามันเฟองทาย
วางถั ง รองน้ํ า มั น เฟ อ งท า ย ให ต รงกั บ ตําแหนงนอตถายน้ํามันเฟองทาย
5. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย (กอนถอดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย)
ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตเติมน้ํามัน เฟองทาย
112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ถอดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใช ป ระแจถอดนอตเติ ม น้ํ า มั น เฟ อ งท า ย ออก
7. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเฟองทาย (กอนถอดนอตถายน้ํามันเฟองทาย)
8. ถอดนอตถายน้ํามันเฟองทาย
ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตถ ายน้ํา มัน เฟองทาย
ถอดนอตถ า ยน้ํ า มั น เฟ อ งท า ยออก ด ว ย ระวังน้ํามันกระเด็นใส ประแจ และรอจนกระทั่งน้ํามันเฟองทาย ตาและรางกาย ไหลออกหมด
9. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย (หลังถอดนอตเติมน้ํามันเฟองทาย) 10. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเฟองทาย (หลังถอดนอตถายน้ํามันเฟองทาย)
ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเฟองท าย ลางเศษโลหะที่ติดอยู ดวยน้ํามันเบนซิน
บนนอตเติมและนอต
ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเฟองทาย ถายน้ํามันเฟองทาย ออกใหหมด ปองกัน ดวยน้ํามันเบนซิน เศษโลหะปะปนกับ น้ํามันที่เปลี่ยนใหม
113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
11. เปลี่ยนแหวนรองใหม
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ประกอบแหวนรองนอตถ ายน้ํ า มั น เฟ อ ง ห า มใช แ หวนรองผิ ด ทายตัวใหมเขาไปแทน
ขนาด เพราะอาจทําให น้ํามันรั่วซึม
12. ขันนอตถายน้ํามันเฟองทาย
ประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทาย และขัน ตามคาแรงขัน ที่คูมือซอมประจํารถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด
13. เติมน้ํามันเฟองทายใหม
เติ ม น้ํ า มั น เฟ อ งท า ยใหม ให ไ ด ร ะดั บ ขณะเติ ม น้ํ า มั น เฟ อ ง เดียวกันกับรูเติมลาง โดยเติมจนน้ํามันเริ่ม ท า ย ต อ ง มี ถั ง ร อ ง ไหลออกมาจากรูเติม หรือตามปริมาณที่ เปลี่ย นถายน้ํามัน รอง คูมือซอมประจํารถกําหนด
อยูดานลางเสมอ เพื่อ ปองกันน้ํามันหกลงบน พื้น
114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 14. ขันนอตเติมน้ํามันเฟองทาย
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทาย และขัน ตามคาแรงขัน ที่คูมือซอมประจํารถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด
15. นํารถลงพื้น
ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ
16. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ระดับปกติ
สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ
อุปกรณ
หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การประกอบนอตถา ยน้ํา มันเฟองทายโดยใช ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ประแจวัดแรงบิด
5
การประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใช
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ประแจวัดแรงบิด 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง 2
ใหคะแนน 0 คะแนน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัด
ประกอบนอตถายน้าํ มันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิดได
แรงบิด
ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบนอตถายน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน
117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
การประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัด แรงบิด
ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิดได ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน
คะแนน เต็ม 5
ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบนอตเติมน้ํามันเฟองทายโดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 3.3 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสงกําลังได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดาได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา
120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.3 การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตเกียรธรรมดา
จํานวน 1 คัน
2. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
3. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
4. ประแจวัดแรงบิด
จํานวน 1 อัน
5. แหวนรองนอตถายน้ํามันเกียร
จํานวน 1 อัน
6. ถังรองเปลี่ยนถายน้ํามัน
จํานวน 1 ใบ
7. ลิฟตยกรถ
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. น้ํามันเกียร
จํานวน 1 แกลลอน
2. น้ํามันเบนซิน
จํานวน 1 ลิตร
3. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียรแบบธรรมดา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียรที่ตําแหนง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
3. ยกรถขึ้น
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ยกรถขึ้นจากพื้นดวยลิฟตยกรถ เพื่อ
ระวังอยาให มี คนหรื อ
เปลี่ยนถายน้ํามันเกียร
สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟตยก รถ
4. วางถังรองน้ํามันเกียร
วางถังรองน้ํามันเกียร ใหตรงกับตําแหนง นอตถายน้ํามันเกียร
5. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเกียร (กอนถอดนอตเติมน้ํามันเกียร)
ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตเติมน้ํามัน เกียร
123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
6. ถอดนอตเติมน้ํามันเกียร
ใชประแจถอดนอตเติมน้ํามันเกียรออก
7. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียร
ใชผาเช็ดทําความสะอาดนอตถ ายน้ํา มัน
(กอนถอดนอตถายน้ํามันเกียร)
8. ถอดนอตถายน้ํามันเกียร
ขอควรระวัง
เกียร
ถอดนอตถายน้ํามันเกียรออก ดวยประแจ ระวังน้ํามันกระเด็นใส และรอจนกระทั่งน้ํามันเกียรไหลออกหมด ตาและรางกาย
9. ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเกียร (หลังถอดนอตเติมน้ํามันเกียร) 10. ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียร (หลังถอดนอตถายน้ํามันเกียร)
ทําความสะอาดนอตเติมน้ํามันเกีย ร ดว ย ลางเศษโลหะที่ ติ ด อยู น้ํามันเบนซิน
บนนอตเติ ม และนอต
ทําความสะอาดนอตถายน้ํามันเกียร ด ว ย ถายน้ํามันเกียรออกให หมด เพื่อปองกัน เศษ น้ํามันเบนซิน โลหะปะปนกับน้ํามันที่ เปลี่ยนใหม
124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
11. เปลี่ยนแหวนรองใหม
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ประกอบแหวนรองนอตถ ายน้ํ ามั น เกี ย ร ห า มใช แ หวนรองผิ ด ตัวใหมเขาไปแทน
ขนาด เพราะอาจทําให น้ํามันรั่วซึม
12. ขันนอตถายน้ํามันเกียร
ประกอบนอตถายน้ํามันเกียรและขันตาม ค า แรงขั น ที่ คู มื อ ซ อ มประจํ า รถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด
13. เติมน้ํามันเกียรใหม
เติมน้ํามันเกียรใหม ใหไดระดับเดียวกันกับ ขณะเติ ม น้ํ า มั น เกี ย ร รูเติมลาง โดยเติมจนน้ํามันเริ่มไหลออกมา ต อ งมี ถั ง รองเปลี่ ย น จากรู เ ติ ม หรื อ ตามปริ ม าณที่ คู มื อ ซ อ ม ถ า ย น้ํ า มั น ร อ ง อ ยู ประจํารถยนตกําหนด
ด า นล า งเสมอ เพื่ อ ปองกันน้ํามันหกลงบน พื้น
14. ขันนอตเติมน้ํามันเกียร
ประกอบนอตเติมน้ํามันเกียรและขั นตาม ค า แรงขั น ที่ คู มื อ ซ อ มประจํ า รถยนต กําหนดดวยประแจวัดแรงบิด 125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
15. นํารถลงพื้น
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ
16. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ระดับปกติ
สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ
อุปกรณ
หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การประกอบนอตถายน้ํามันเกียรโดยใชประแจ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน วัดแรงบิด
5
การประกอบนอตเติมน้ํามันเกียรโดยใชประแจ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน วัดแรงบิด
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน
3
ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การประกอบนอตถายน้ํามันเกียรโดยใชประแจวัดแรงบิด ประกอบนอตถ า ยน้ํ า มั นเกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ดแรงบิ ด ได ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน
5
ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบนอตถ า ยน้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การประกอบนอตเติมน้ํามันเกียรโดยใชประแจวัดแรงบิด ประกอบนอตเติม น้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ดแรงบิ ด ได ถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน
128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ใหคะแนน 5 คะแนน ประกอบนอตเติ ม น้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน หรื อ ได ค า แรงขั น คลาดเคลื่ อ น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ประกอบนอตเติ ม น้ํ า มั น เกี ย ร โ ดยใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4 0921020304 ระบบรองรับน้ําหนัก (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.
หนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก การสั่นสะเทือนของตัวถังรถยนตและสปริง การรองรับน้ําหนักที่ลอหนา การรองรับน้ําหนักที่ลอหลัง การถอดและประกอบระบบรองรับน้ําหนัก
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ - ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ขาตั้งรองรับรถ จํานวน 4 ตัว 2) เครื่องมือชางพื้นฐาน จํานวน 1 ชุด 3) ประแจกระบอก จํานวน 1 อัน 4) ประแจวัดแรงบิด จํานวน 1 อัน 5) ผาคลุมรถสําหรับซอม จํานวน 1 ชุด 6) แมแรงตะเฆ จํานวน 1 ตัว 7) รถยนตนั่งสวนบุคคล จํานวน 1 คัน 8) ลิฟตยกรถ จํานวน 1 ตัว 9) หมอนรองลอรถกันลื่นไถล จํานวน 4 อัน 10) เหล็กงัดลูกหมาก จํานวน 1 อัน
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก 131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ธีระยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางรถยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอช.เอ็น. กรุป จํากัด ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2540. ทฤษฎีและปฏิบัติเครื่องลางรถยนต. กรุงเทพฯ.: เอช.เอ็น. กรุป จํากัด
132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 109-153 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริ ง เช น สปริ งรถแบบ แหนบ สปริ งรถแบบขด สปริ งรถแบบบิ ดหรือ ทอร ชั นบาร สปริ งลม ไฮโดรนิ วแมติ กสปริ ง ระบบรองรั บแบบแม็ กเฟอร สั น สตรั ต ระบบ รองรั บ แบบป ก นกคู เป น ต น ในสถานที่ ปฏิบัติงาน 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบรองรับน้ําหนัก
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ระบบรองรับ 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น น้ําหนัก ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 109-153
1. รับ คูมือผูรับ การฝ ก เรื่อง ระบบรองรั บ น้ํ า หนั ก หนาที่ 109-153 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย 133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 112-132 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก 2.2 การสั่ น สะเทื อ นของตั ว ถั ง รถยนต และ สปริง 2.3 การรองรับน้ําหนักที่ลอหนา 2.4 การรองรับน้ําหนักที่ลอหลัง 2.5 การถอดและประกอบระบบรองรั บ น้ําหนัก 3. พาผู รั บ การฝ ก มาที่ ส ถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ 3. ศึกษาและบอกชื่อชิ้นสวนของระบบสงกําลัง ศึ กษาชิ้ น ส ว นของระบบรองรั บ น้ํ า หนักจาก ของจริง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 133-135 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 133-135 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 160 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 4.1 การ 6. ศึกษาใบงานที่ 4.1 การตรวจสอบลูกหมากปกนก ตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของ และความหนืดของลูกหมาก จากคูมือผูรับการฝก ลู กหมาก จากคู มือผู รั บการฝ ก หน า ที่ 136หนาที่ 136-144 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 144 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-03:54 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 7.1 วิธีการตรวจสอบลูกหมากปกนก 7.2 วิ ธี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ค ว า ม ห นื ด ข อ ง ลูกหมาก 7.3 ขอควรระวังในการยกรถ 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บวั สดุ -อุ ปกรณ และเครื่ องมื อปฏิ บั ติ งานตามใบ ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 137หนาที่ 162-163 138 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบตั ิงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 4.2 การ 13. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 4.2 การตรวจสอบช็อคอัพ ค้ํ า ร อ ง รั บ ร ถ ห รื อ ร ะ บ บ ร อ ง รั บ ร ถ แ บ บ ตรวจสอบช็ อ คอั พ ค้ํ า รองรั บ รถ หรื อ ระบบ MacPherson Strut จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ รองรับรถแบบ MacPherson Strut จากคูมือ 145-153 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ ผูรับการฝก หนาที่ 145-153 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 03:56-09:08 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 วิธีการตรวจสอบช็อคอัพดวยสายตา 14.2 วิธีการตรวจสอบช็อคอัพดวยการกดดู อาการเตนขึ้นลงของรถ 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 146 ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก หนาที่ 170 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ความปลอดภัย ปฏิบัติงานอยางใกลชิด 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อง ระบบรองรั บ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน น้ําหนัก ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง ระบบรองรั บ น้ํ า หนั ก เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 ระบบรองรับน้ําหนัก (Suspension System) ระบบกันสะเทือน หรือระบบรองรับน้ําหนัก หมายถึง "ชวงลาง" ซึ่งแปลมาจากคําวา Suspensions ในภาษาอังกฤษ การรองรับน้ําหนัก หมายถึง การใชสปริงคั่นกลางระหวางโครงรถ (Frame) ตัวถัง (Body) เครื่องยนต ชุดสงกําลัง กับลอ ซึ่งเปนสวนที่รับภาระจากการสัมผัสโดยตรงกับพื้นถนน น้ําหนักของอุปกรณดังกลาว ตลอดจนน้ําหนักบรรทุกที่อยูดานบน ของสปริง เราเรียกวา น้ําหนักเหนือสปริง (Sprung Weight) สวนน้ําหนักใตสปริ ง ซึ่งไดแก ลอ ยาง ชุดเพลาทาย (ในรถที่ใช แบบคานแข็ง) และเบรกจะเปนน้ําหนักที่สปริงไมไดรองรับ ถูกเรียกวา น้ําหนักใตสปริง (Unsprung Weight) 1. หนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก ระบบรองรับน้ําหนัก ติดตั้งอยูระหวางโครงรถและลอ ออกแบบมาเพื่อใหรองรับการสั่นสะเทือนจากผิวถนน พรอมทั้ง ปรับปรุงการขับขี่ใหสะดวกสบาย ระบบรองรับน้ําหนักมีหนาที่หลักดังตอไปนี้ 1) ลดการสั่นสะเทือนอันเกิดจากการกลิ้งของลอรถยนต และลดการแกวงตัวขณะขับขี่อันเนื่องมาจากผิวถนน ทําให การบังคับเลี้ยวมั่นคง 2) ชวยใหรถยนตทรงตัวไดดี ในขณะออกตัว เรงเครื่อง และชะลอความเร็ว และหยุดรถ 3) รองรับตัวถังซึ่งตั้งอยูบนเพลาขับ และรักษาความสัมพันธเชิงมุมเราขาคณิตระหวางตัวถังและลอรถยนต
ภาพที่ 4.1 ระบบรองรับน้ําหนักแบบอิสระ 2. การสั่นสะเทือนของตัวถังรถยนตและสปริง การสั่นสะเทือนของรถยนต มักเกิดขึ้นขณะรถยนตเคลื่อนที่อยูบนถนน ซึ่งปจจัยในการสั่นสะเทือนของสปริงและตัวถังมี อยูดวยกัน 2 สาเหตุหลัก ไดแก การสั่นสะเทือนของน้ําหนักเหนือสปริง และการสั่นสะเทือนของน้ําหนักใตสปริง
137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2.1 การสั่นสะเทือนอันเกิดจากน้ําหนักเหนือสปริง (Sprung Weight) การสั่นอันเกิดจากน้ําหนักเหนือสปริงจะทําใหมีอาการผิดปกติตาง ๆ เชน การโคลงตัว (Rolling) การเตน (Bouncing) การสาย (Yawing) และการกระดอน (Upspring) เปนตน โดยอาการเหลานี้จะเกิดขึ้นขณะรถเคลื่อนที่บนถนน ดังจะ อธิบายตอไปนี้ 1) การโคลงตัว (Rolling) เปนอาการที่เกิดจากการยืดและยุบตัวของสปริงทั้งสองขางไมเทากัน คือ ขางหนึ่งยืด และอีกขางหนึ่งยุบ 2) การเตน (Bouncing) เปนอาการเคลื่อนตัวของตัวถังรถยนต การเตนของตัวถังรถเกิดจากการที่รถวิ่งดวย ความเร็วสูงบนถนนทีเ่ ปนคลื่น 3) การสาย (Yawing) เปนอาการเคลื่อนตัวของตัวถังรถยนตในลักษณะขึ้นลงไปทางดานซายและขวา มักจะ เกิดขึ้นพรอมกับการกระดอนของตัวถังรถ 4) การกระดอน (Upspring) เปนอาการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นในลักษณะขึ้นลงดานหนาและดานหลังของตัวถัง รถยนต 2.2 การสั่นสะเทือนอันเกิดจากน้ําหนักใตสปริง (Unsprung Weight) การสั่นสะเทือนอันเกิดจากน้ําหนักใตสปริง เกิดขึ้นจากสวนประกอบที่อยูดานลางของสปริง เชน แหนบ ลอ เปนตน ซึ่งพบอาการดังตอไปนี้ 1) การมว นตัว ของแหนบ (Wind Up) เปน อาการสั ่น สะเทือ นที ่เ กิด จากแหนบของระบบรองรับ ที่ พยายามจะมวนตัวเองไปรอบ ๆ เพลา ในขณะขับเคลื่อน 2) การกระดอน (Traming) เปนอาการสั่นสะเทือนของลอรถทั้งดานซายและดานขวา อาการกระดอนของ ลอมักจะเกิดขึ้นไดงายกับรถยนตที่ใชระบบรองรับคานแข็ง 3) การกระโดด (Hopping) เป น อาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากลอรถเดงขึ้ นลง ซึ่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อรถวิ่ง บนถนนทีม่ พี ื้นผิวถนนเปนลูกคลื่นและขับขี่ผานดวยความเร็วสูง 2.3 คุณสมบัติของสปริง โครงรถทําหนาที่รองรับน้ําหนักของเครื่องยนต ตัว ถัง ชุด สงกําลัง และน้ําหนักบรรทุก สว นสปริงจะทําหนาที่ รับน้ําหนักตาง ๆ เหลานี้อีกตอหนึ่ง สปริงจะยุบหรือยืดตัวเมื่อลอวิ่งผานพื้นผิวถนนขรุขระ การที่ลอเคลื่อนที่ขึ้นลงได เกือบอิสระจากโครงรถ ทําใหสามารถรับหรือลดแรงดันของลอไดเปนอยางดี สปริงที่นํามาใชในระบบรองรับน้ําหนั ก จะตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2.3.1 การยื ด หยุ น (Elasticity) วั ส ดุ ที่ ทํ า จากยางเมื่ อ มี แ รงมากระทํ า เกิ ด ความเค น ขึ้ น ทํ า ให รู ป ร า งยาง เปลี่ยนแปลงไป แตเมื่อเอาแรงที่มากระทํานั้นออกไป ความเคนก็จะหมดไป ทําใหยางคืนสภาพดังเดิม เรียกคุณสมบัตินี้วา “การยืดหยุน” 2.3.2 อัตราสปริง (Spring Rate) คือ คาตัวเลขน้ําหนักรองรับที่กดบนสปริง และทําใหสปริงยุบตัว 1 นิ้ว อัตรา สปริง มีหนวยเปนปอนด/นิ้ว หรือกิโลกรัม/เซนติเมตร อัตราสปริงที่ใชกับรถยนตจะมีคาเกือบคงที่ตลอด ชวงการทํางาน 2.3.3 การเตนของสปริง (Spring Throb) ขณะที่รถวิ่ง หากลอรถปะทะหรือชนกับสิ่งกีดขวาง สปริงของรถจะ ถูกอัดตัวอยางรวดเร็ว และพยายามที่จะกลับคืนสูสภาพปกติ เปนเหตุใหตัวถังรถถูกดันใหยกตัวลอยขึ้น ขณะที่ ส ปริ งถูก อัด ตัว จะดูด ซับ พลัง งานเอาไว และเมื ่อ คายพลัง งานที ่ส ะสมออกไป จึง ทํ า ใหเ กิด การกระเดงขึ้น และจากการเคลื่อนตัวของรถจึงทําใหสปริงยืดตัว เราจะเรียกวา การเตนของสปริง และ จะเกิดขึ้นซ้ํากั นหลาย ๆ ครั้ง แตอาการเตนครั้งต อ ๆ มาจะเกิดแรงน อยกว าครั้ งแรก ๆ จนกระทั่ ง หยุดเตนในที่สุด สปริงจึงมีความสําคัญตอระบบรองรับของรถ 2.3.4 ชนิดของสปริง สปริงที่ใชสําหรับรองรับน้ําหนักรถยนต โดยทั่วไปจะเปนแบบแหนบ (Leaf Spring) สปริ ง ขด (Coil Spring) สปริ ง ลม (Air Spring) สปริ ง ยาง (Rubber Spring) สปริ ง ไฮโดรลาสติ ก (Hydrolastic Spring) หรื อ ไฮโดรนิ ว แมติ ก (Hydro-Pneumatic) ซึ่ ง แต ล ะแบบมี คุ ณ สมบั ติ แ ละ ความเหมาะสมกับการใชงานแตกตางกัน สปริงที่ใชกันอยูโดยทั่วไป ไดแก 1) แหนบ (Leaf Spring) แหนบจะรับน้ําหนักและแรงสั่นสะเทือนโดยแผนแหนบจะโคงหรืองอตัว (Bending) มี 2 แบบ คือ - แหนบหลายแผน (Multileaf Spring) เปนแหนบที่ทําดวยเหล็กกลา สําหรับสปริงแหนบ จะมีลักษณะเปนแผนวางซอนกันเปนชั้น ๆ โดยมีความยาวของแตละแผนไมเทากัน แผนบนสุดจะยาวที่สุด ตรงปลายมีสวนที่โคงงอ เรียกวา แหนบหู - แหนบแผ น เดี ย ว (Single-Leaf Spring) เรี ย กได อี ก อย า งหนึ่ ง ว า แหนบแผ น เรี ย ว โดยตรงกลางของแผนแหนบจะหนาและคอย ๆ เรียวไปยังปลายแหนบทั้งสองขาง แหนบชนิด นี้จ ะใชกับ ลอ หลัง รถยนต และการติดตั้งเขากับโครงรถจะมีลั ก ษณะ เหมือนแหนบแบบหลายแผน
139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.2 สปริงรถแบบแหนบ 2) สปริงขด (Coil Springs) สปริงขดจะรับน้ําหนักโดยการหดหรือยุบตัว (Compressing) ของสปริงขดนิยมใชกับรถยนต ทั่วไป โดยเฉพาะรถที่ใชระบบการรองรับแบบอิสระ สปริงขดทําจากแทงเหล็กกลาผสม การขดเปน สปริงจะตองนําแทงเหล็กกลานี้ไปเผาไฟจนกระทั่งมีอุณหภูมิสูงตามที่กําหนด แลวขดใหเปนรูปราง ตามขนาดที่ตองการ นําไปทําตามกรรมวิธีทางความรอนหรือการชุบ เพื่อใหสปริงมีความยืดหยุนสูง อัตรารับน้ําหนักของสปริงขด ขึ้นอยูกับเสนผานศูนยกลางและความยาวของแทงเหล็กกลาที่ใชทํา สปริง ถา แทง เหล็ก กลา ยาวและเสน ผ า นศูน ยก ลางเล็ก ความยืด หยุน จะยิ่ง มากขึ้น ความยาว ของสปริ ง ขดมี ค วามยืนหยุนไดมากกวา สปริงขดเปนชิ้นเดียว จึงไมมีความฝดเหมือนกับแหนบ ซึ่งเกิดขึ้นไดระหวางแผนแหนบซึ่งทําหนาที่รับแรงตาง ๆ และยืดใหเพลาไดศูนยตลอดเวลา การติดตั้งสปริงขดทําไดงาย แขนรองรับอยางเชนปกนกจะมีฐานนั่งของสปริงทําเปนรูปรางที่ พอเหมาะกับปลายทั้งสองของสปริงขด ซึ่งจะมีถวยสวมอยูเพื่ อความสะดวกในการติ ดตั้ง ระบบ การรองรับน้ํา หนัก แบบอิส ระ ถว ยทางดา นบนมัก จะประกอบอยูภ ายในโครงรถ และถว ยทาง ดานลางยึดติดแนนกับแขนรอง
140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.3 สปริงขด 3) แหนบบิดหรือทอรชันบาร (Torsion Bar) บางครั้งอาจเรีย กวาสปริงแบบเหล็กบิด ซึ่งจะรับ แรงสั่น สะเทือนจากการบิดตัว ของเพลา แหนบบิด หรือแหนบทอรชัน บารทําดวยเหล็กกลา สปริงรถยนตบ างแบบไดนําเอาทอรชันบาร มาใชแทนแหนบหรือสปริงขด การทํางานของทอรชันบารจะอาศัยการบิดตัวและการคืนตัว กลับ เมื่อลอรถเคลื่อนที่ขึ้นหรือลง จะทําใหทอรชันบารบิดตัวไปจากตําแหนงเดิม การติดตั้งทอรชันบารสวนมากจะใชกับลอหนา มีบางบริษัทที่ใชทอรชันบารทั้งลอหนาและลอหลัง เชน รถโฟลคสวาเกน โดยมีทอรชันบารขางละทอนติดตั้งตามยาวของโครงรถ และที่ปลายดานหนาจะ ยึดติดกับปกนกลางที่จุดหมุนดานใน สวนปลายดานหลังจะยึดกับจุดยึด หรือเชื่อมติดกับดานหลัง โครงรถรองรับอีกทีหนึ่ง การปรับความตึงของทอรชันบารจะใชสลักปรับแตงทางปลายดานหลัง ทอรชันบารมีทั้งลักษณะแบนและกลม โดยปลายทั้งสองดานจะเซาะรองไว และสามารถติด ตั้ง ตามยาวหรือตามขวางกับตัวรถได
ภาพที่ 4.4 แหนบบิดหรือทอรชันบาร 141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4) สปริงลม (Air Spring) เปนสปริงที่ใชการอัดตัวของลม (Compression of Air) ในถุงลม (Air Bag) ซึ่งจะติดตั้งแทนที่ แหนบหรือสปริงทั้ง 4 ลอ สปริงลมถูกนํามาใชเปนระบบรองรับในรถยนต เนื่องจากสปริงลมเปน สปริงที่ทํางานอยางตอเนื่อง เมื่อรถปะทะสิ่งกีดขวางหรือหลุมบอบนถนน อากาศจะถูกอัดตัวและลดการ สะเทือน ทําใหเกิดความนิ่ มนวล ระบบรองรับ คา คงที ่ข องสปริง จะเพิ ่ม ขึ ้น ตามน้ํา หนัก บรรทุก ไมวาน้ําหนักจะเปลี่ยนแปลงไปมากนอยเพียงใด เปนผลใหการขับขี่เปนไปดวยความนิ่มนวล และยัง รักษาระดับความสูงของรถใหคงที่ ดวยเหตุนี้ สปริงลมจึงจําเปนตองมีเครื่องอัดอากาศหรือปมลม เพื่อ ปอ นอากาศเขา ระบบ ซึ่ง มีความยุงยาก มักใชกับรถบรรทุกและรถโดยสาร ในปจจุบันไดมี การนํ า มาใช กั บ รถยนต นั่ ง บางแบบ โดยการเอาระบบรองรั บ ด ว ยอากาศและควบคุ ม ด ว ย อิเล็กทรอนิกสมาใช เพื่อเพิ่มความนิ่มนวลในการขับขี่
ภาพที่ 4.5 สปริงลม 5) ไฮโดรนิวแมติกสปริง (Hydro-Pneumatic Spring) สปริงแบบนี้เปนการทํางานรวมกันระหวางระบบไฮดรอลิกกับแกสไนโตรเจน แกสไนโตรเจนจะทํา หนาที่แทนสปริงหรือแหนบบนระบบรองรับ สวนที่เปนตุมสปริงจะมีลักษณะเปนโลหะรูปทรงกลม และขั นเกลี ยวติ ดกับ กระบอกสู บ ไฮดรอลิ ก ภายในลูก ตุ ม จะแบง ออกเปน 2 สว น คั่น ดว ย แผน ไดอะแฟรม ดา นบนบรรจุแกสไนโตรเจนซึ่งมีแรงดันสูง ดานลางเปนน้ํามันจากระบบไฮดรอลิก มีแรงดันที่ตางกันประมาณ 100 และ 200 บาร ตามลําดับ เมื่อรถมีการเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวาง น้ํามัน จะดันแผนไดอะแฟรมใหยืดตัว การยืดและอัดตัวของแผนไดอะแฟรมนี้จะดูดซับแรงสั่นสะเทือน ทําใหมีการขับขี่ทนี่ ิ่มนวลมากขึ้น
142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.6 ไฮโดรนิวแมติกสปริง 3. การรองรับน้ําหนักที่ลอหนา การรองรับน้ําหนักที่ลอหนามีการออกแบบที่ซับซอนมากกวาระบบรองรับน้ําหนักที่ลอหลัง เนื่องจากการรองรับน้ําหนัก ที่ลอหนาถูกออกแบบมาเพื่อใชในการบังคับเลี้ยวและการรองรับการสั่นสะเทือนของรถยนต โดยแรงสัน่ สะเทือนนั้น มาพรอม กับการบังคับเลี้ยวซึ่งมาจากพวงมาลัย ทําใหองศาของมุมลอเปลี่ยนแปลง ดังนั้น ระบบรองรับน้ําหนักของรถยนตสวนใหญจึง นิยมใชเปนแบบอิสระ ยกเวนรถบรรทุกและรถโดยสารที่ใชคานแข็ง การรองรับน้ําหนักอิสระที่ลอหนานิยมนํามาใชกับรถยนต นั่งสวนบุคคลและรถบรรทุกขนาดเล็ก มีอยูดวยกัน 5 แบบ ไดแก 3.1 แบบแม็กเฟอรสันสตรัต (Mac Pherson Strut Type) เปนระบบรองรับแบบอิสระที่ไดรับการปรับปรุงแบบมาจากปกนกคู โครงสรางของระบบมีชิ้นสวนนอย ลดน้ําหนัก ที่ไมถูกรองรับดวยสปริง และเพิ่มพื้นที่ภายในหองเครื่องยนต จึงมีผลกระทบตอมุมของศูนยลอหนา เนื่องจากเผื่อคา ความผิดพลาดที่ตั้ง จึงไมจําเปนที่จะตองปรับตั้งลอหนายกเวนมุมโท รถยนตที่ใชรองรับน้ําหนักหนาแบบนี้ มีสวนประกอบ ที่สําคัญ ดังนี้ 1) ปกนกตัวลาง (Lower Arm) 2) เหล็กกานยันหรือเหล็กหนวดกุง (Strut Rod) 3) เหล็กกันโคลง (Stabiliser) 4) คอยลสปริง (Coil Spring) 143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.7 แบบแม็กเฟอรสันสตรัต 3.2 แบบแม็กเฟอรสันสตรัตที่มีปกนกลางรูปตัวแอล (L-Type Lower Arm MacPherson Strut) ระบบรองรับแบบแม็กเฟอรสันสตรัตนี้ ปกนกลางมีลักษณะคลายกับรูปตัวแอล โดยจะยึดติดอยูกับตัวถังพรอม บุชยางสองจุด และยึดติดกับแกนบังคับเลี้ยวดวยลูกหมาก ทําใหสามารถตานทานไดทั้งตามทิศทางแนวยาวกับตัวถังและ แรงดานขาง 3.3 แบบปกนกคู (Double Wishbone Type) เปนระบบรองรับน้ําหนักแบบอิสระ การสั่นสะเทือนที่ลอหนึ่งไดรับจะไมสงผลไปยังอีกลอหนึ่งโดยตรง ระบบรองรับ แบบนี้ประกอบดวยปกนกตัวบนและปกนกตัวลาง มีลักษณะรูปรางคลายตัววี มีสปริงเปนตัวรองรับน้ําหนักและมีช็อคอัพ ประกอบอยูดวย มีสมรรถนะในการเกาะถนนดี และเปนระบบที่นิยมใชในปจจุบัน
ภาพที่ 4.8 แบบปกนกคู 3.4 แบบปกนกคูทํางานรวมกับทอรชันบาร (Double Wishbone with Torsion Bar) เปน ระบบรองรับ น้ํา หนัก แบบอิส ระที่นํา เอาทอรชัน บารม าใชแ ทนคอยลส ปริง ทํา หนาที่บิดตัว เหมือ นสปริง ตลอดระยะเวลาการทํางาน ทอรชันบารจะติดตั้งอยูกับปกนกตัวบน สวนปกนกตัวลางที่เปนรูปตัววีจะยึดติดกับคาน รองรับดวยบุชยาง และดานหลังจะติดตั้งอยูภายในแขนรับ ซึ่งจะติดตั้งอยูกับคานขวางดวยโบลต ปรับตั้งระดับความสูง ของทอรชันบาร โดยแตละอันตองมีเครื่องหมายกํากับเอาไว เพื่อปองกันการผิดพลาดในการประกอบ 144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.9 แบบปกนกคูทํางานรวมกับทอรชันบาร 3.5 แบบแหนบคูขนาน (Parallel Leaf Spring Type) เปน ระบบรองรับ น้ําหนักแบบคานแข็งที่นิย มใชกัน อยางแพรห ลาย โดยเฉพาะระบบรองรับ น้ําหนักหนาของ รถโดยสาร รถบรรทุก โครงสรางของระบบรองรับเปนแบบงาย ๆ แข็งแรง สะดวกตอการบํารุงรักษา สปริงทําหนาที่ เปนกานตอยึดตําแหนงของเพลา จึงไมจําเปนตองตอแยกจากโครงสรางของระบบ แกนลอบังคับเลี้ยวของระบบรองรับแบบคานแข็ง แบงออกไดเปน 3 แบบ คือ 1) แบบเอลเลียต (Elliott) 2) แบบรีเวิรสเอลเลียต (Reverse Elliott) 3) แบบลามวน (Lemoine) 4. การรองรับน้ําหนักที่ลอหลัง การรองรับ น้ําหลักที่ลอหลังที่ใชกับ รถยนตสว นใหญจ ะถูกออกแบบใหร องรับ น้ําหนักของผูโ ดยสาร สัมภาระ และ น้ําหนักบรรทุกไดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดปญหา เพราะหากใชสปริงรับน้ําหนักที่แข็งจะรับโหลด บรรทุกไดมาก แตความแข็งแรงที่มากเกินไปก็ทําใหรถขาดความนิ่มนวล ถารถนั้นใชสปริงที่ออนเกินไป ทําใหเกิดภาระการรั บ โหลดบรรทุกทําใหช็อคอัพตองทํางานหนัก โดยไมมีผลกระทบกับการบังคับเลี้ยวของลอหนา ซึ่งก็มีอยูหลายแบบดวยกัน ดังนี้ 4.1 แบบแหนบคูขนาน (Parallel Leaf Spring Type) เปนระบบรองรับน้ําหนักแบบคานแข็ง นิยมใชกับระบบรองรับน้ําหนักหลังของรถบรรทุก สปริงแบบแหนบคูขนานนี้ จะรองรับชุดเพลาหลังทั้งหมดรวมถึงชุดเฟองทายและเพลาขางดุมลอรวมไวในหนวยเดียวกัน ชุดเพลานี้จะตอกับเพลากลาง และยึดติดกับโครงรถ โดยจะสงผานอาการเคลื่อนที่ขึ้นลงน้ําหนักบรรทุก และแรงขับจะถูกสงผานแหนบสปริง
145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.10 แบบแหนบคูขนาน 4.2 แบบ 4 แขนตอ (4 Link Type) ระบบรองรับน้ําหนักแบบ 4 แขนตอ เปน ระบบรองรับน้ําหนักแบบคานแข็ง แขนตอประกอบดวยแขนควบคุม ตัวลางและตัวบน 2 ชุด แขนควบคุมตัวบนและลางทําหนาที่ตานแรงกระทําที่เกิดจากการขับเคลื่อนของรถ และการเบรก ปลายแขนควบคุมแตละขางจะยึดติดกับ ตัวถังรถและเสื้อเพลาทายดวยบุชยาง แขนควบคุมขวางทําหนาที่รับแรงและ ดูดซับอาการสั่นสะเทือนในแนวขวาง โดยมีจุดยึดที่บริเวณเพลาขับเคลื่อน
ภาพที่ 4.11 แบบ 4 แขนตอ 4.3 แบบสตรัตปกนกคู (Double Wishbone with Strut) ระบบรองรับน้ําหนักหลัง นํามาใชกับรถยนตที่ใชเครื่องยนตไวดานหนาและขับเคลื่อนลอหนา โดยปกนกคูลาง ทําหนาที่รองรับลอรถเอาไว ซึ่งจะติดตั้งในทิศทางใกลกับเสนตั้งฉากกับเสนผานศูนยกลาง ตามความยาวของตัวรถ กานยัน หรือเหล็กหนวดกุงจะถูกติดตั้งในทิศทางที่ขนานกับเสนผานศูนยกลางของตัวถังรถ
146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.12 แบบสตรัตปกนกคู 4.4 แบบแขนลากพรอมคานบิด (Trailing Arm Type with Twist Beam) เปนระบบรองรับน้ําหนักแบบคานแข็งอีกแบบหนึ่ง ประกอบดวยแขนลางสองชุดที่ดานปลายทั้งสองเชื่อมติด กับ คานเพลา โดยที่ป ลายของเหล็ก กัน โคลงที่ส วมอยูภ ายในเรือ นเพลาจะเชื่อ มติด อยูกับ คานเพลา เมื่อ รถมีแ รงมา กระทําตอยางรถ แรงก็จะถูกกําจัดไปโดยการกระจายแรงไปตามทิศทางของสวนตาง ๆ ถาแรงกระทําในทิศทางแนวตั้ง แรงก็จะถูกสงผานไปตามคอยลสปริง ช็อคอัพและยางกันกระแทก
ภาพที่ 4.13 แบบแขนลากพรอมคานบิด 4.5 แบบกึ่งแขนลาก (Semi-Trailing Arm Type) ระบบรองรับน้ําหนักแบบนี้ เปน ระบบรองรับ น้ําหนักอิสระที่ถูกออกแบบใหมีการเปลี่ยนแปลงของศูนยลอได อันเปนผลมาจากการเตนขึ้นลงของลอ ระบบแบบนี้รวมเอาขอดีของระบบรองรับน้ําหนักแบบแขนลากและแบบสปริงแอกเซิล เขาดวยกัน
147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.14 แบบกึ่งแขนลาก 5. การถอดและประกอบระบบรองรับน้ําหนัก 5.1 การถอดประกอบระบบรองรับน้ําหนักแบบปกนกคู
ภาพที่ 4.15 สวนประกอบระบบรองรับน้ําหนักแบบปกนกคู 148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
การตรวจสอบลูกหมากปกนก การตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัดแรงบิดตรวจสอบคาความหนืด ในขณะเริ่มหมุน และหมุนอยางตอเนื่อง คาแรงบิดมาตรฐานจะอยูที่ประมาณ 20-40 กิโลกรัม/เซนติเมตร
ภาพที่ 4.16 ขั้นตอนการตรวจสอบลูกหมากปกนก การถอดลู กหมากป กนก เมื่ อตรวจสอบสภาพการใช งานของลู กหมากป กนกเสร็ จแล ววั ดระยะค าความหลวม ถามากกวาคาเกินกําหนดไวใหเปลี่ยนใหม ดังนี้ 1) ถอดลูกหมากปกนกตัวบน และปกนกตัวลางออกจากแกนบังคับเลี้ยว 2) ใชประแจคลายโบลตเพื่อถอดปกนกตัวลาง 3) คลายโบลตยืดลูกหมากกับปกนกตัวบน การประกอบลูกหมากปกนก ภายหลังจากการถอดลูกหมากชุดเดิมออกแลว ถาจําเปนก็ตองเปลี่ยน ลูกหมากตัวใหม มีลําดับขั้นตอน ดังนี้ 1) ประกอบลูกหมากปกนกตัวบนใหยึดติดกับปกนกตัวบนกอน 2) ประกอบลูกหมากปกนกตัวลางใหยึดติดกับปกนกตัวลาง 3) ประกอบแกนบังคับเลี้ยวเขาดวยกัน และขันนอตยึดติดกับลูกหมาก โดยวัดใหไดคาตามที่กําหนด การถอดทอรชันบาร มีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ 1) ใชแมแรงยกรถใหลอพนพื้นและใชขาตั้งรองรับโครงรถไวดวย 2) จัดทําเครื่องหมายไวทเี่ กลียวโบลต ปรับตั้งความสูงรถกับปลอกยึดเกลียว 3) เมื่อจับทอรชันบารแลวเพื่อความสะดวกใหทําเครื่องหมายไวที่ทอรชันบารกับแขนรับแรงบิด 4) ตรวจสอบสภาพการชํารุด ความหลวมของทอรชันบารและปลอกแขนยึด 5) ปรับแตงทอรชันบารใหคงสภาพกับการใชงาน
149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
การประกอบทอร ชั น บาร ปฏิ บั ติ ต ามลํ า ดั บ ย อ นกลั บ ขั้ น ตอนการถอดด ว ยความระมั ด ระวั ง เพื่ อ ป อ งกั น ความผิดพลาด มีขั้นตอน ดังนี้ 1) การประกอบแขนรองรับแรงบิดของทอรชันบาร 2) จัด เครื่อ งหมายที่ทํา ไวใ หต รงกัน ระหวา งทอรชัน บาร และปลอกแขนรับ แรงบิด การประกอบใหดู เครื่องหมายที่ปลายของทอรชันบารทั้งดานซายและดานขวา 3) ประกอบแขนยึดปลายทอรชันบาร ประกอบโบลตปรับตั้งความสูงและขันเขาจนเครื่องหมายที่ทําไวตรงกัน 4) ตรวจระยะความสูงทั้งดานซายและดานขวาของตัวถังวามีระดับความสูงตามที่กําหนดไวหรือไม การถอดปกนกตัวลางและช็อคอัพ ภายหลังจากที่ไดทําการถอดทอรชันบารออกแลวการถอดปกนกตัวลาง และช็อคอัพ มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ถอดลูกหมากคันสงออกดวยการถอดปนล็อก และนอตกอน 2) ถอดนอตยึดช็อคอัพ และถอดเหล็กกันโคลงออกจากปกนกตัวลาง 3) คลายนอตยึดเหล็กหนวดกุง และถอดเหล็กหนวดกุงออกจากปกนกตัวลาง 4) คลายโบลตยึดลูกหมาก และถอดลูกหมากปกนกตัวลางออกจากแกนบังคับเลี้ยว 5) คลายนอตเพลาปกนกตัวลาง และถอดปกนกตัวลางออกเพื่อทําการเปลี่ยน
150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.17 ขั้นตอนการถอดปกนกตัวลางและช็อคอัพ การประกอบปกนกตัวลางและช็อคอัพ ใหปฏิบัติยอนกลับ มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ยึดแขนรับแรงบิดเขากับปกนกตัวลางไวชั่วคราว 2) สอดเพลาเพื่อปรับปกนกตัวลางเขาไปในตําแหนงเดิม 3) ประกอบลูกหมากเขากับปกนกตัวลาง ประกอบเหล็กหนวดกุง และเหล็กกันโคลงเขากับปกนก ตัวลาง 4) ยึดช็อคอัพเขากับปกนกตัวลาง และเบาติดตั้งช็อคอัพดานบน 5) ประกอบลูกหมากเขากับแกนบังคับเลี้ยว และขันนอตใหแนน 6) ประกอบทอรชันบารและปลดขาตั้งออก ขยมรถขึ้น-ลงเพื่อใหระบบรองรับเขาที่ แลวขันนอตอีกครั้ง การถอดปกนกตัวบน ถอดแยกออกไดเมื่อตองการที่จะเปลี่ยนบุชยางของปกนก มีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ 1) ใชแมแรงรองรับปกนกตัวลาง และคลายโบลตยึดลูกหมากปกนก 2) ถอดปกนกออก คลายโบลตยึดแกนปกนก และปลดแผนชิมปรับตั้งมุมแคมเบอร ถอดปกนกตัวบนออก บันทึกจํานวนของแผนชิมในแตละตําแหนง เพื่อความสะดวกในการประกอบกลับคืน
ภาพที่ 4.18 แผนชิม (Shim) การเปลี่ยนบุชยางปกนกตัวบน ภายหลังจากถอดปกนกตัวบนแลว คลายโบลตยึดบุช และแหวนรอง โดยใชเครื่องมือดูดบุชตัวเกาออก ใชเครื่องมือ อัดบุชตัวใหมเขา และประกอบแหวนรองขันโบลตดวยมืออยาใหแนนมากนัก ขันอีกครั้งเมื่อประกอบปกนกเขาที่แลว การประกอบปกนกตัวบน ภายหลังจากการถอดเปลี่ยนชิ้นสวนตาง ๆ และขั้นตอนการประกอบมี ดังนี้ 151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1) ประกอบปก นกตัว บนพรอ มกับ ชิม ตั้ง มุม แคมเบอร มุม คาสเตอรโ ดยจะตอ งประกอบแผน ชิม ใหได จํานวนเทาเดิม 2) ประกอบลูกหมากปกนกเขากับปกนกตําแหนงเดิม ขันโบลตปกนกตัวบน 3) ประกอบลอรถและปลดขาตั้งออก แลวจึงทําการขยมตัวถังรถขึ้น-ลง เพื่อใหระบบรองรับเขาที่ ขันโบลต ยึดเพลาปกนกซ้ําอีกครั้ง
ภาพที่ 4.19 การประกอบปกนก การถอดเหล็กหนวดกุง มีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ 1) ใหทําเครื่องหมายไวระหวางเหล็กหนวดกุง และนอตกอนที่จะคลายนอตล็อก 2) คลายนอตตัวหนา และโบลตยึดเหล็กหนวดกุงที่ติดกับปกนกตัวลางออก การประกอบเหล็กหนวดกุง ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนยอนกลับ คือ 1) ประกอบนอตตัวหนา โดยจัดเครื่องหมายที่ทําไวบนเหล็กหนวดกุงใหตรงกัน 2) ประกอบเหล็กหนวดกุงเขากับปกนกตัวลางขันนอตตัวหนาใหแนน และปลดขาตั้งออกขยมตัว รถขึ้น-ลง เพื่อใหเขาที่ การถอดและประกอบเหล็กกันโคลง มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ถอดนอตและยางยึดเหล็กกันโคลงทั้งสองดานออกจากปกนกตัวลาง 2) ถอดบุชและแผนยึดเหล็กกันโคลงออกเพื่อตรวจสภาพการคดงอ แตกราว และชํารุดของเหล็กกันโคลงแลวทํา การเปลี่ยนใหมหากชํารุด 3) ประกอบเหล็กกันโคลงใหเขาที่ และติดตั้งบุชเหล็กกันโคลงทั้งสองดานเขากับโครงรถ ประกอบแผนยึด เหล็กกันโคลงใหชิดกับดานหนา
152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5.2 การถอดและการประกอบระบบรองรับน้ําหนักหนาแบบแม็กเฟอรสันสตรัต การถอดช็อคอัพหนาแบบแม็กเฟอรสันสตรัต มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ใชแมแรงยกรถใหพนจากพื้น และใชขาตั้งรองรับตัวถังรถ 2) ถอดทอยางเบรกออกจากคาลิปเปอรเบรกดวยการคลายโบลตขอตอ และถอดปะเก็น 3) ถอดแผนยึดทอยางเบรก และดึงทอยางเบรกออกจากขายึด คลายนอตยึดช็อคอัพ 3 ตัวดานบนออก 4) ใชปากกาจับงานยึดช็อคอัพ และใชเครื่องมือบีบคอยลสปริง 5) ถอดเบาช็อคอัพ บารองสปริง ยางกันฝุน สปริงยางกันกระแทก และยางรองออก
ภาพที่ 4.20 การประกอบช็อคอัพ การประกอบช็อคอัพหนาแบบแม็กเฟอรสันสตรัต มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ใชเครื่องมือบีบคอยลสปริง และประกอบเขากับช็อคอัพ พรอมกับยางกันกระแทก และยางรองรับสปริงตัวลาง 2) ประกอบยางรองสปริงตัวบน และยางกันฝุน โดยจัดใหเครื่องหมาย “OUT” ของบารองสปริง ไปทางดาน นอกของตัวถังรถ 153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3) ประกอบนอตยึดเบาช็อคอัพ และขันนอตที่ยึดเบาช็อคอัพทั้ง 3 ตัวติดกับตัวถังรถใหแนน 4) ประกอบทอยางเบรกดวยแผนล็อกยึดกับขายึด ตอทอยางเบรกเขากับคาลิปเปอรเบรกดวยโบลตขอตอ และเปลี่ยนปะเก็นตัวใหมขณะประกอบ การถอดประกอบระบบรองรับน้ําหนักหลังแบบแม็กเฟอรสันสตรัต จะมีขั้น ตอนในการปฏิ บัติ ไ ดเชน เดี ย วกัน กับ ระบบรองรับ น้ําหนัก หนาแบบแม็กเฟอรสัน สตรัต มีขอแตกตาง กันคือ กอนที่จะทําการถอดแยกชิ้นสวนประกอบออกนั้น ควรจะตองทําเครื่องหมายลงบนลูกเบี้ยว และตั้งมุมลอหลังกับ ตัวถังรถเสียกอน เพื่อความถูกตองในการประกอบกลับคืนใหไดศูนย 5.3 การถอดและประกอบระบบรองรับน้ําหนักหลังแบบแหนบคูขนาน
ภาพที่ 4.21 สวนประกอบระบบรองรับน้ําหนักแบบแหนบคูขนาน การถอดแหนบและช็อคอัพมีขั้นตอนดังนี้ 1) ใชแมแรงยกรถขึ้น และใชขาตั้งรองรับโครงรถ และลดแมแรงใหเสื้อเพลาต่ําลงจนกระทั่งแหนบอยูใน ตําแหนงอิสระ 2) คลายนอตถอดช็อคอัพออก คลายนอตยึดโบลตตัวยู และถอดเบารองแหนบ 3) คลายนอตยึดสลักหูแหนบ และนอตสลักโตงเตงออก
154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 4.22 การถอดแหนบและช็อคอัพ การเปลี่ยนแหนบ เมื่อถอดแหนบออก ตรวจสภาพบุชและการออนลาของแหนบ ถาชํารุดเสียหายใหเปลี่ยน มีขั้นตอนดังนี้ 1) ใชเครื่องอัดไฮดรอลิกเปลี่ยนบุชหูแหนบออก 2) ใชสกัดตอกงัดปลอกรัดแหนบออก ยึดแหนบดวยปากกาจับงาน และถอดโบลตยึดแหนบออก 3) ถาจะตองเปลี่ยนปลอกรัดแหนบก็ใหใชสวานเจาะหัวหมุดย้ําและตอกออก (เมื่อประกอบหมุดย้ํา ตัวใหม ใหอัดหัวหมุดดวยไฮดรอลิก) 4) จัดรูของแหนบแตละแผนใหตรงกัน และยึดดวยปากกาจับงานและบีบใหแนน รอยโบลตยึด แหนบที่ ตําแหนงกึ่งกลาง 5) จัดตําแหนงปลอกรัดแหนบ และใชคอนตอกพับรัดแหนบใหอยูในตําแหนงที่ถูกตอง
ภาพที่ 4.23 การเปลี่ยนแหนบ 155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
การประกอบแหนบ หลังจากตรวจสอบสภาพการบริการกับการเปลี่ยนบุชและแหนบที่ชํารุด การประกอบแหนบมีขั้นตอนยอนกลับ ดังนี้ 1) สวมปลายดานหนาของแหนบเขากับหูยึดแหนบดานหนา และประกอบสลักยึดหูแหนบ โดยการขันนอตยึด หูแหนบ 2) สวมปลายดานหลังของแหนบพรอมนอตโตงเตงเขากับเบารองแหนบ และขันนอตยึด 3) ประกอบโบลตตัวยูใหเขากับเสื้อเพลายึดเขากับเบารองแหนบ และขันนอตยึดแหนบเขากับเสื้อเพลา 4) ประกอบช็อคอัพเขากับโครงรถ และเบารองรับแหนบดวยโบลต ปลดขาตั้งลง และทดลองขยมรถขึ้น-ลงใหระบบรองรับเขาที่ แลวกวดขันนอตทุกจุดซ้ําอีกครั้ง
156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด ไมใช หนาที่ของระบบรองรับน้ําหนัก ก. ลดการสั่นสะเทือนเนื่องจากการกลิ้งของลอ ข. หนวงอัตราเร็วรถยนต ค. รองรับตัวถัง ง. ทําใหเกิดการทรงตัวที่ดีในทุกสภาวะ 2. สปริงที่ใชในระบบรองรับน้ําหนัก ไมควรมีคุณสมบัติอยางไร ก. มีความยืดหยุน ข. มีการเตนของสปริง ค. อัตราสปริงเปลี่ยนแปลงตลอดการทํางาน ง. รับน้ําหนักและแรงสั่นสะเทือนไดดี 3. สปริงแบบใด ที่มีตุมสปริงเปนโลหะรูปทรงกลม ภายในบรรจุแกสไนโตรเจนแรงดันสูง ก. ไฮโดรนิวแมติกสปริง ข. สปริงลม ค. สปริงขด ง. สปริงแบบเหล็กบิด 4. อัตรารับน้ําหนักของสปริงขด ขึ้นอยูกับอะไร ก. รัศมีของแทงเหล็กที่ใชทําสปริง ข. ความกวางและรัศมีของแขนรองรับ ค. ขนาดของถวยที่สวมอยูที่ปลายของสปริงขด ง. เสนผานศูนยกลางและความยาวของแทงเหล็กที่ใชทําสปริง 158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5. ระบบรองรับน้ําหนักแบบใด พัฒนามาจากระบบรองรับน้ําหนักแบบปกนกคู ก. แหนบคูขนาน ข. แม็กเฟอรสันสตรัต ค. 4 แขนตอ ง. แขนลากพรอมคานบิด 6. การตรวจสอบลูกหมากปกนก คาแรงบิดมาตรฐานจะอยูที่ประมาณเทาใด ก. 20-40 กิโลกรัม/เซนติเมตร ข. 15-60 กิโลกรัม/เซนติเมตร ค. 100-150 กิโลกรัม/เซนติเมตร ง. 50-75 กิโลกรัม/เซนติเมตร ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 7. ระบบรองรับน้ําหนักแบบปกนกคูทํางานรวมกับทอรชันบาร ทอรชันบารจะ ติดตั้งอยูกับปกนกตัวบน สวนปกนกตัวลางที่เปนรูปตัววีจะยึดติดกับคานรองรับ ดวยบุชยาง 8. สปริ ง ลมถู ก นํ า มาใช เ ป น ระบบรองรั บ ในรถยนต เนื่ อ งจากสปริ ง ลมจะมี ระยะเวลาหยุดทํางาน เชน เมื่อรถปะทะสิ่งกีดขวางหรือหลุมบอบนถนน เปนตน 9. โครงสร างของระบบรองรับ น้ําหนักแบบแม็กเฟอรสัน สตรัตมี ชิ้ น สว นนอย ลดน้ําหนักที่ไมถูกรองรับดวยสปริง และเพิ่มพื้นที่ภายในหองเครื่องยนต 10. ระบบรองรับน้ําหนักอิสระที่ถูกออกแบบใหมีการเปลี่ยนแปลงของศูนยลอได อันเปนผลมาจากการเต นขึ้นลงของล อ คือ ระบบรองรั บ น้ําหนักแบบแขนลาก พรอมคานบิด 11. การประกอบลูกหมากปกนก เริ่มจากประกอบลูกหมากปกนกตัวบนใหยึดติด กับปกนกตัวบนกอน แลวจึงประกอบลูกหมากปกนกตัวลาง 159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ
ก
ข
ค
ง
1 2 3 4 5 6 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
7 8 9 10 11
160 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 4.1 การตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมาก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมากได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําการตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมากได
161 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.1 การตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมาก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4
การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
3. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
4. ประแจวัดแรงบิด
จํานวน 1 อัน
5. เหล็กงัดลูกหมาก
จํานวน 1 อัน
6. แมแรงตะเฆ
จํานวน 1 ตัว
7. ขาตั้งรองรับรถ
จํานวน 4 ตัว
8. หมอนรองลอรถกันลื่นไถล
จํานวน 4 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
162 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบลูกหมากปกนกและความหนืดของลูกหมาก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
จอดรถใหตรง
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
163 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ขึ้นแมแรงยกรถ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ยกรถขึ้นดวยแมแรง และรองรับดวยขาตั้ง หามมุดเขาใตทองรถ รองรับรถ
เพื่อปองกันอันตรายใน กรณีที่แมแรงไม สามารถรองรับน้ําหนัก ของรถได
4. โยกปกนกตัวลางขึ้นลง
ซึ่งปกนกตัวลางจะตองไมหลวมคลอน
5. ตรวจสอบลูกหมากปกนกตัวลาง
ใชเหล็กงัดลูกหมาก งัดใตลูกหมากตัวลาง
6.ตรวจสอบลูกหมากปกนกตัวบน
ใชเหล็กงัดลูกหมากงัดลอใหขยับขึ้นลง
7. ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก
ใช ป ระแจวั ด แรงบิ ด ตรวจสอบค า ความ ยางหุ ม ลู ก หมากต อ ง หนื ด ในขณะเริ่ ม หมุ น และหมุ น อย า ง อยูในสภาพดี ไมฉีกขาด หากยางหุ ม ลู ก หมาก 164 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ต อ เนื่ อ ง โดยค า แรงบิ ด เป น ไปตาม เสียหาย ใหเปลี่ยนกอน มาตรฐานคูมือซอมรถยนต
ตรวจสอบความหนืด
8. นํารถลงพื้น
ขึ้นแมแรง เพื่อนําขาตั้งออก และนํารถลง ระวังอยาให มี คนหรื อ
9. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
สูพื้น
สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
165 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมาก ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ปกนกตัวบนและลูกหมากปกนกตัวลาง
5
การตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใช
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ประแจวัดแรงบิด 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
166 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัว
ตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัวบนและ
บนและลูกหมากปกนกตัวลาง
ลูกหมากปกนกตัวลาง ไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัวบน หรือ ลูกหมากปกนกตัวลาง ไมถกู ตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสภาพความหลวมของลูกหมากปกนกตัวบน และ ลูกหมากปกนกตัวลาง ไมถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัด
ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัดแรงบิด
แรงบิด
ไดถูกตองตามขั้นตอน และคาแรงขันไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน
167 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน หรือ ไดคาแรงขันคลาดเคลื่อน อยางใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบความหนืดของลูกหมาก โดยใชประแจวัดแรงบิด ไมถูกตองตามขั้นตอน และ ไดแรงขันคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 168 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 4.2 การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ หรือระบบรองรับรถแบบ MacPherson Strut 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบรองรับน้ําหนักได 2. ปฏิบัติงานบอกสวนประกอบและตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกบอกสวนประกอบและตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถได
169 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 4.2 การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ หรือระบบรองรับรถแบบ MacPherson Strut 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. ลิฟตยกรถ
จํานวน 1 ตัว
3. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
4. ประแจกระบอก
จํานวน 1 ชุด
5. ประแจวัดแรงบิด
จํานวน 1 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน -
ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
170 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ หรือระบบรองรับรถแบบ MacPherson Strut ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียร ที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
171 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใชประแจคลายนอตลอหนาทั้งสองลอออก ทีละตัวตามลําดับ แคพอนอตหลวม
4. ยกรถขึ้น
ยกรถขึ้นดวยลิฟตยกรถแบบ 2 เสา โดยให ระวั งรถตกจากลิฟต ยก รถอยูสูงขึ้นจากพื้นเล็กนอย
รถ โดยคานยกจะตอง อยูในระดับเดียวกันทั้ง ซายและขวา
5. ถอดนอตลอหนาขางซายดวยประแจขันนอตลอ
ใชป ระแจถอดนอตล อหนา ขา งซา ยออก
6. ถอดนอตลอหนาขางขวาดวยประแจขันนอตลอ
ทีละตัวตามลําดับ และนําลอออก ใช ป ระแจถอดนอตล อ หน าข า งขวาออก ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ทีละตัวตามลําดับ และนําลอออก
หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย
7. ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบน
ตรวจสอบยางรองสปริ ง ตั ว บนส ว นที่ หากยางคลุมระบบ คลุมลงมาที่ช็อคอัพสวนบน ซึ่งจะตองไมมี ช็อคอัพฉีกขาด หรือมี รอยฉีกขาด
น้ํามันรั่วไหล ตอง เปลี่ยนยางคลุมหรือ เปลี่ยนช็อคอัพ
172 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 8. ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ํามันช็อคอัพ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ตรวจสอบการรั่ ว ซึ ม ของน้ํ า มั น ช็ อ คอั พ ที่กระบอกช็อคอัพ
9. นํารถลงพื้น
ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระดับปกติ
10. คลุมผาสําหรับซอม
ใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่สวนหนารถ และบังโคลนซาย-ขวา
11. กดแกมรถสวนบน
ผูป ฏิบัติงานยืน อยูบ ริเวณแกมรถดานใด ควรลองกดแก มรถซ้ํ า ด า นหนึ่ ง ใช มื อ ทั้ ง สองข า งกดแก ม รถ หลาย ๆ ครั้ ง เพื่ อ ให สวนบนดวยน้ําหนักพอประมาณ
สปริ ง เข า ที่ ก อ นการ กดเพื่อทดสอบช็อคอัพ
รี บ ปล อ ยมื อ ขึ้ น รถจะต อ งยกตั ว กลั บ สู ระดับปกติ หากรถยุบตัวขึ้นลงหลายครั้ง แสดงวาช็อคอัพทํางานผิดปกติ และตรวจสอบแกมรถอีกดานดวยวิธีการเดิม
173 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
12. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
174 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบช็อคอัพค้ํารองรับรถ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลัง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงาน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
175 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบช็อคอัพรองรับรถ
ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบนของช็อคอัพ และการรั่วซึม ของน้ํามันช็อคอัพไดถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบนของช็อคอัพ หรือ การรั่วซึม ของน้ํามันช็อคอัพไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบยางรองสปริงตัวบนของช็อคอัพ และ การรั่วซึม ของน้ํามันช็อคอัพไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
176 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
23
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
177 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 5 0921020305 ระบบบังคับเลี้ยว (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.
หนาที่ของระบบบังคับเลี้ยว ระบบบังคับเลีย้ ว สวนประกอบของกานตอบังคับเลี้ยว โครงสรางของกระปุกพวงมาลัย แบบของกระปุกพวงมาลัย
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสือ่ สิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
178 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) น้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร จํานวน 1 ขวด 2) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ผาคลุมสําหรับซอม จํานวน 1 ชุด 2) รถยนตนั่งสวนบุคคล จํานวน 1 คัน 3) ลิฟตยกรถ จํานวน 1 ตัว
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได
179 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม คามีล. 2557. งานเครื่องลางรถยนต. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://khamin1.blogspot.com/2014/07/4steering-system-4.htm อาจารยแผนกชางยนต สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตนนทบุรี การใชและการบํารุงรักษารถยนต เจริญธรรม กทม 10200
180 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 154-188 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก กระปุก พวงมาลัยแบบตาง ๆ 6. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณสําหรับปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบบังคับเลี้ยว
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใชความรู พื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ระบบบังคับเลี้ยว 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 154-188
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง ระบบบังคับเลี้ยว หนาที่ 154-188 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 157-170 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หนาที่ของระบบบังคับเลี้ยว 2.2 ระบบบังคับเลีย้ ว - ระบบจุดหมุนจุดเดียว (Single Pivot System) 181 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก - ระบบอัคเคอร มันนห รื อจุ ดหมุน สอง จุ ด (Ackermann or Double Pivot System) 2.3 สวนประกอบของกานตอบังคับเลี้ยว 2.4 โครงสรางของกระปุกพวงมาลัย - แบบธรรมดา - แบบเพาเวอร 2.5 แบบของกระปุกพวงมาลัย 3. ให ผู รั บ การฝ กศึ กษาชิ้ น ส ว นและบอกความ 3. ศึกษาและบอกความแตกตางของชิ้นสวนตาง ๆ ของระบบบังคับเลี้ยว แตกตางของระบบบังคับเลี้ยว 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 171-173 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม หนาที่ 171-173 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ หนาที่ 201 เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 5.1 การ 6. ศึกษาใบงานที่ 5.1 การตรวจสอบลูกหมากบังคับ เลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) จาก ตรวจสอบลู ก หมากบั ง คั บ เลี้ ย วแบบเฟ อ ง คูมือผูรับการฝก หนาที่ 174-180 ซักถามขอสงสัย สะพาน (Rack and Pinion) จากคูมือผูรับการฝก ดวยความตั้งใจ หนาที่ 174-180 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-02:47 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เรียบรอย จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 วิ ธี ก ารตรวจสอบลู ก หมากบั ง คั บ เลี้ ย ว แบบเฟองสะพาน 7.2 การตรวจสอบสภาพยางหุ ม ลู ก หมาก บังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพานดวยสายตา 8. แบงกลุม ตามความสมัครใจ 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 182 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 175 หนาที่ 203 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ความปลอดภัย ปฏิบัติงานอยางใกลชิด 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 5.2 การ 13. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 5.2 การตรวจสอบการไลลม วงจรน้ํ าเพาเวอร ของระบบบั งคั บเลี้ ยว จากคู มื อ ตรวจสอบการไล ล มวงจรน้ํ า เพาเวอร ข อง ผูรับการฝก หนาที่ 181-188 ซักถามขอสงสัย ดวย ระบบบังคับเลี้ยว จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ ความตั้งใจ 181-188 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 02:51-05:44 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา ดวยวาจาสุภาพเรียบรอย อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 14.1 วิ ธี ก ารตรวจสอบการไล ล มวงจรน้ํ า เพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว 14.2 วิธีการตรวจสอบระดับน้ํามันเพาเวอร 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 182 ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานในคูมือครูฝก หนาที่ 210 17. ควบคุ ม ดู แ ลและให คํ า แนะนํ า ผู รั บ การฝ ก ขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ความปลอดภัย ปฏิบัติงานอยางใกลชิด 18. ตรวจเช็ ค วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ หลั ง จาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มีสภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ผูรับการฝกสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 183 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ระบบบังคับเลี้ยว อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง ระบบบังคับเลี้ยว เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และ ใบงาน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
184 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 5 ระบบบังคับเลี้ยว (Steering System) 1. หนาที่ของระบบบังคับเลี้ยว ระบบบังคับเลี้ยว (Steering System) เปนระบบกลไกที่ทําหนาที่ควบคุมทิศทางการบังคับของรถยนต ซึ่งสัมพันธกับ ระบบตาง ๆ เชน ระบบรองรับการสั่นสะเทือน ระบบการสงกําลัง และระบบเบรก เปนตน ระบบบังคับเลี้ยวที่ดีจะมีความคลองตัว ทั้งในที่แคบและที่คดเคี้ยว โดยจะตองควบคุมทิศทางการบังคับลอไดอยางแมนยําและเหมาะสม ตลอดจนมีการคืนกลับของ ลอ หลัง จากการเลี ้ย ว ซึ่ งทั้ งหมดต องทํ า ได อย า งคลองตัวและสม่ําเสมอ ทั้งความเร็ว ต่ําและความเร็วสูง เพื่อใหสูญเสีย การควบคุมและการสงกําลังของพวงมาลัยนอยที่สุด กระปุกพวงมาลัยที่นิยมใชมีดวยกัน 2 แบบ คือ กระปุกพวงมาลัยแบบใช เฟองขับและเฟองสะพาน และกระปุกพวงมาลัยแบบเฟองตัวหนอนกับลูกปนหมุนวน กระปุกพวงมาลัยแบบใชเฟองขับและเฟองสะพาน นิยมใชกับรถสปอรต รถแขง หรือรถยนตสัญชาติยุโรป มีความเร็วใน การทํางานมาก เฟองสะพานเปนสวนหนึ่งของระบบคันสงซึ่งตอกับลอหนา แกนพวงมาลัยติดอยูกับเฟองขับ และขบอยูกับ เฟองสะพานซึ่งตออยูกับกานตอตาง ๆ
ภาพที่ 5.1 กระปุกพวงมาลัยแบบใชเฟองขับและเฟองสะพาน กระปุกพวงมาลัยแบบเฟองตัวหนอนกับลูกปนหมุนวน เปนกระปุกพวงมาลัยแบบธรรมดาที่นิยมใชมากที่สุดในปจจุบัน ประกอบดวยนอต ซึ่งมีรองสวมอยูบนเฟองตัวหนอน โดยมีลูกปนรองรับ ดังนั้นเมื่อหมุนพวงมาลัย ลูกปนจะกลิ้งตัวภายในรอง และสงกําลังผานขาไกไปดึงคันสง ทําใหเกิดการหักเลี้ยวของลอหนา
185 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 5.2 กระปุกพวงมาลัยแบบเฟองตัวหนอนกับลูกปนหมุนวน 2. ระบบบังคับเลี้ยว ระบบบังคับเลี้ยวแบงออกไดเปน 2 ระบบ คือ ระบบจุดหมุนเดียว และระบบอัคเคอรมันนหรือจุดหมุนสองจุด โดยมี รายละเอียดดังนี้ 2.1 ระบบจุดหมุนจุดเดียว (Single Pivot System) โดยปกติรถยนตจะมีลอเพียง 4 ลอ ซึ่งจุดหมุนของลอมีแผนเหล็กกลมขนาดใหญรองอยูจึงเรียกวา “ลอที่ 5” ในบริเวณกึ่งกลางเพลาลอหนาจะมีสลักใหญเปนจุดหมุนสําหรับการควบคุมเลี้ยว โดยมีแผนเหล็กกลมขนาดใหญรอง เพื่อลดความฝด ขอเสียของวิธีบังคับเลี้ยวแบบนี้คือ ลอและเพลาเคลื่อนที่ไปไดดวยกันทําใหมีน้ําหนักมาก
ภาพที่ 5.3 ระบบจุดหมุนจุดเดียว 2.2 ระบบอัคเคอรมันนหรือจุดหมุนสองจุด (Ackermann or Double Pivot System) การทํางานของระบบอัคเคอรมันน หรือจุดหมุนสองจุด โดยปกติจะนํามาใชกับระบบรองรับน้ําหนักแบบคานแข็ง ซึ่งบริเวณปลายทั้งสองของคานหนาจะมีจุดหมุนทั้งหมด 2 จุด โดยหมุนรอบสลักลอหนา ชุดแกนลอหนาดานในจะเจาะรู สําหรับสวมสลักลอหนาเขากับคานหนา และดานปลายของชุดแกนลอหนาจะเปนเพลาเพื่อใชใสลอรถ ลอรถจะหมุนรอบ ปลายแกนเพลา ซึ่งเปนสวนปลายของชุดแกนลอ 186 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 5.4 ระบบจุดหมุนสองจุด 3. สวนประกอบของกานตอบังคับเลี้ยว (Steering Linkages) 1) ขาไก (Pitman Arm) ทําหนาที่สงถายแรงเคลื่อนจากกระปุกเกียรพวงมาลัยไปยังคันชัก ขาไกจะมีลักษณะ ของปลายดานใหญเปนเทเปอร และที่ปลายของเทเปอรจะถูกเจาะเปนรองใหมีขนาดเทากับเพลาของกระปุก เกียรพวงมาลัย ขาไกจะถูกยึดดวยนอตประกอบเขากับเพลา สวนปลายดานเล็กของขาไกจะยึดอยูกับคันชัก และกานดึงลูกหมากเพลาของกระปุกเกียรพวงมาลัย 2) แขนบังคับเลี้ยว (Knuckle Arm) แขนบังคับเลี้ยวเปนแขนที่ยึดติดกับขอบังคับเลี้ยว จะทําหนาที่สงถาย การเคลื่อนที่ของคันสงไปยังลอหนา โดยผานทางแกนบังคับเลี้ยว 3) แกนบังคับเลี้ยว (Steering Knuckle) เปนตัวรองรับภาระงานที่มากระทํากับลอหนา และถายแรงหมุนไป ยั งเพลาล อ ซึ่ งจะถู กบั งคั บ ให ห มุ น เคลื่ อ นที่ ไปมาได ดว ยลู กหมาก หรือสลักยึดระหวางคานล อหน า กั บ แขนบังคับเลี้ยว 4) กานตอคันสงลอหนา (Drag Link) คือ แขนตอระหวางกระปุกพวงมาลัยกับแขนบังคับเลี้ยว รถที่ใชระบบ รองรับน้ําหนักแบบคานแข็งมักจะใชคันชักทําเปนทอตอนปลายมีสลักกลมและใสสปริงกันสะเทือน สลักกลม จะทําหนาที่เปนลูกหมากตอเขากับขาไกพวงมาลัย ซึ่งจะสงตอแรงจากการเคลื่อนที่จากขาไกไปยังคันสง 5) คันสง (Tie Rod) คันสงอาจจะอยูดานหลังหรือดานหนาของเพลา หนาคันสงทําดวยเหล็กกลวง โดยที่ปลาย ทั้งสองทําเปนเกลียว ซึ่งมักจะทําเป นเกลียวซายขางหนึ่งและเกลี ยวขวาข างหนึ่ง เกลียวนี้เปนที่ส วมใส ลูกหมากและมีเหล็กยึด (Clamp) กันคลาย หรืออาจทําเปนนอตล็อก มีแหวนพับล็อกเกลียวของปลายคันสง และเกลียวลูกหมากเปนเกลียวซายและเกลียวขวา จึงทําใหสามารถปรับมุมโทอินได 6) ลู ก หมาก (Tie-Rod End or Ball Socket Joint) ที่ ส ว นปลายของคั น ส ง จะมี ลู ก หมากเป น ตั ว ต อ กั บ แขนบังคับเลี้ยว และกานตออื่น เชน กานตอกลาง ซึ่งจะตองหมุนและเตนได จุดหมุนจึงทําเปนรูปทรงกลม 187 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
โดยมีสลักยึดกับชิ้นสวนอื่น ลูกหมากจะมี Ball Stud และเบาประกอบ (Ball Socket) สวนใหญเบาลูกหมาก จะประกอบดวยชิ้นสวนที่เปนเหล็ก จึงตองอัดจาระบีชนิดทนน้ําตามระยะเวลา และมีสปริงดันเบาเขากระชับ กับ Ball Stud ปจจุบันมีลูกหมากหลายแบบที่ใชสารไนลอนเปนเบา จึงไมจําเปนตองอัดจาระบี ลูกหมาก ชนิดนี้จึงไมมีหัวอัดจาระบี 7) แขนประคอง (Idler Arm) หรือแขนพา เปนตัวบังคับใหการเคลื่อนที่ของบังคับเลี้ยวเปนรูปสี่เหลี่ยม ดานขนาน ใชในระบบบังคับแบบสี่เหลี่ยมดานขนานซึ่งเปนแบบที่ใชกันมากที่สุด มีหลายแบบดังนี้ - แบบบุชเกลียว (Threadee Bushing) แบบบุชเกลียวนี้ ดานโคนมีสลักเกลียวสวมอยูกับตัวยึดเกลียว ของแขนกับตัวยึด มีลักษณะเปนเกลียวสี่เหลียม ซึ่งมีระยะฟรีมากกวาเกลียวปกติ จึงทําใหหมุนสาย ไปมาได ดานปลายทําเปนเหล็กกลมสวมเขากับกานตอกลาง ซึ่งทําเปนทอมีเบาและสปริงบีบให ติดกัน ปลายทอทําเปนเกลียวมีสกรูปรับใหกระชับกับเหล็กกลมไดตามตองการ - แบบชิ้นเดียว (One Piece) แบบนี้แขนประคอง และตัวยึดจะไดรับการออกแบบใหเปนชิ้นเดียวกัน ซึ่งถาบุชชํารุดตองเปลี่ยนใหม - แบบบุ ช ยาง (Rubber Bushing) แบบนี ้แ ขนประคองดา นโคนที ่ต ิด อยู ก ับ ตัว ยึด (Bracket) บุชยางสามารถเปลี่ยนได 8) ช็อคอัพกันสะเทือนพวงมาลัย (Steering Damper) ช็อคอัพจะถูกติดตั้งไวระหวางกานตอบังคับเลี้ยว และโครงรถ ช็ อ คอั พ พวงมาลั ย จะทํ า หน า ที่ ล ดอาการสั่น สะเทื อ นที่ เ กิ ด จากล อ สง ถ า ยมายัง พวงมาลั ย เนื่องจากสภาพพื้นผิวถนนขรุขระหรือไมราบเรียบ มีใชในรถยนตที่ยกระดับตัวถังสูงเพื่อใสลอขนาดใหญ
ภาพที่ 5.5 ช็อคอัพกันสะเทือนพวงมาลัย 3.1 หนาที่ของกานตอบังคับเลี้ยว กานตอบังคับเลี้ยวนั้น เปน ชิ้นสวนตาง ๆ ที่ทําหนาที่ถายทอดการเคลื่อนที่ในระบบบังคับเลี้ยว ประกอบดวย กานตอและแขนบังคับเลี้ยว โดยไดรับการสงถายกําลังจากกระปุกพวงมาลัย การเคลื่อนที่ไปยังลอหนาทั้งดานซายและ ดานขวา กานตอบังคับเลี้ยวมีอยูหลายแบบที่นิยมใชกัน แบงออกไดดังนี้ 188 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1) กานตอบังคับเลี้ยวระบบรองรับลอหนาอิสระ ก า นต อบั งคั บ เลี้ ย วที่ ใช กับ ระบบรองรับ แบบนี้จ ะมี จุดต อหลายจุ ด เพื่อใหลอรถแตล ะดา นสามารถ เคลื่ อนที่ ขึ้น ลงได อย า งอิ ส ระ ระยะหางระหวางแขนที่บังคับ เลี้ย วจะเปลี่ย นไป คัน สงจึงถูกนํามาใชเปน จุดตอเชื่อมระหวางลอทั้งสองดาน ถาใชคันสงเพียงจุดเดียว มุมโทอินจะเปลี่ยนแปลงไปในขณะที่ลอเกิดการเตน ขึ้นลง ดังนั้นจึงตองใชคันสงถึงสองชุด และเชื่อมตอการสงถายแรงดวยคันสง สวนปลอกสปริงมุมโทอินจะถูก ติดตั้งอยูระหวางลูกหมากและคันสง กรณีรถยนตที่ใชกระปุกเกียรพวงมาลัยแบบเฟองสะพานนั้น เฟองสะพานจะ ทําหนาที่แทนคันชักสงถายแรงไปยังลูกหมากและลอ 2) กานตอบังคับเลี้ยวระบบรองรับแบบคานแข็ง กานตอแบบนี้จะประกอบดวย ขาไก คันชัก แขนบังคับเลี้ยว คันสง และลูกหมากคันสง กานตอบังคับ เลี้ยวชนิดนี้จะเคลื่อนที่ในลักษณะขึ้นลงในแนวดิ่งตามทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวถังรถ จึงไมจําเปนจะตองมี ปลอกสําหรับปรับที่ตัว คันสงซึ่งตอไปยังแขนบังคับเลี้ยวทั้งดานซาย และดานขวาเนื่องจากใชคันสงตัวเดียว ลูกหมากที่ปลายคันสงจะทําหนาที่ยอมใหสปริงแหนบเคลื่อนตัวขึ้นลงได 3.2 การถอดกานตอบังคับเลี้ยว ภายหลังจากการตรวจสอบกานตอบังคับเลี้ยวแลว ถาเกิดการหลวมหรือสึกหรอ ใหปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ 1) การถอดขาไก คันชัก และคันสง 2) คลายนอตยึดขาไก และดูดขาไกออกดวยเครื่องมือพิเศษ 3) กอนถอดขาไกออกจากกระปุกเกียรพวงมาลัย ควรทําเครื่องหมายเพื่อปองกันการประกอบกลับคืน ผิดพลาด 4) ถอดขาไกออกจากคันชักดวยเครื่องมือดูด อยาทําใหลูกยางกันฝุนลูกหมากชํารุด จากนั้นใชเครื่องมือ ดูดลูกหมากคันสงออกจากคันชัก 5) ถอดลูกหมากคันสงและคันสงออกจากแขนบังคับเลี้ยว แลวจึงใชเครื่องมือดูดลูกหมากคันชักออก จากแขนประคอง
189 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 5.6 การถอดเปลี่ยนคันชักคันสง 3.3 การประกอบกานตอบังคับเลี้ยว ใหปฏิบัติยอนกลับตามลําดับขั้นตอนการถอด ดังนี้ 1) ประกอบคั น ส ง ทั้ ง ด า นซ า ยและด า นขวาเข า กั บ ปลายยึ ด โดยการหมุ น ลู ก หมากคั น ส ง ทั้ ง สองด า น เพื่อใหไดชวงระยะความยาวที่เทากัน 2) กอนการประกอบจะตองล็อกลูกหมากคันสง ปรับทิศทางแกนลูกหมากใหทํามุมกันตามที่กําหนด 3.4 การถอดแขนประคอง กระทําไดตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ 1) ใชคอนและไขควงถอดฝาครอบตัวเรือนแขนประคองออก 2) คลายนอต และดึงเพลาแขนประคองออกจากตัวเรือน 3) ใชไขควงงัดซีลน้ํามันออกจากตัวเรือน 3.5 การประกอบแขนประคอง กอนการประกอบจะตองทําความสะอาดชิ้นสวนตาง ๆ กอน จากนั้นใหปฏิบัติยอนกลับ ตามลําดับ ดังนี้ 1) ประกอบซีลน้ํามันตัว ใหม และอัดจาระบีเข าตัว เรื อนแลวจึงประกอบเพลาแขนประคองเข าตัว เรื อน และกวดขันนอตดวยแรงบิดประมาณ 800 กิโลกรัม/เซนติเมตร 2) ใชประแจขันแรงบิดตรวจสอบการหมุนเคลื่อนตัวของแขนประคองหลาย ๆ ครั้ง ตามคาแรงบิดที่กําหนด 3.6 การตรวจการคลอนของคันสงและกานตอบังคับเลี้ยว การตรวจสอบการคลอนของคันสงและกานตอบังคับเลี้ยว ทําไดโดยการใชแมแรงยกดานหนาของรถใหลอหนา ทั้งสองพนจากพื้น จากนั้นใหผลัก และดึงลอทั้งซายและขวาเขาออกพรอม ๆ กัน ถามีระยะการคลอนมากเกินไป แสดงวามี การสึกหรอของอุปกรณบังคับเลี้ยว ซึ่งมีการตรวจสอบดังนี้ ในระบบบังคับเลี้ยวนั้นประกอบดวยจุดเชื่อมตอหลายจุด 190 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
การคลอนตัวอาจมีผลมาจากการคลายตัวของชิ้นสวนบังคับเลี้ยว การสึกหรอของขั้วตอตาง ๆ เปนตนเหตุใหรถยนตถูก ดึงไปดานใดดานหนึ่ง และเกิดการสั่นหรือการสึกหรอของยางที่ผิดปกติ 3.6.1 ขั้นตอนในการตรวจสอบ 1) ตรวจสอบแกนบังคับเลี้ยว หากแกนบังคับเลี้ยวไมมีอาการผิดปกติใหตรวจสอบระยะฟรี ของ พวงมาลัย โดยตรวจสอบแกนพวงมาลัย ขอตอ กานตอ เสื้อกระปุกพวงมาลัย และระยะคลอน เฟองกระปุกพวงมาลัย ตามลําดับ 2) ตรวจสอบชุดบุชพวงมาลัย หากไมพบอาการผิดปกติใหตรวจสอบจุดหมุนเลี้ยวของพวงมาลัย เปนลําดับสุดทาย 4. โครงสรางของกระปุกพวงมาลัย กระปุกพวงมาลัย ทําหนาที่บังคับทิศทางการเลี้ยว และทดรอบของเฟองเพื่อทดแรงการหมุนของพวงมาลัย โครงสราง ของกระปุกพวงมาลัยแบงออกเปน 2 แบบ ไดแก กระปุกพวงมาลัยแบบธรรมดา และกระปุกพวงมัยแบบเพาเวอร ดังนี้ 4.1 โครงสรางของกระปุกพวงมาลัยแบบธรรมดา สวนประกอบของกระปุกพวงมาลัยแบบธรรมดานั้น ประกอบไปดวยสวนประกอบดังนี้ 1) เรือนกระปุกพวงมาลัย (Gear Housing) ทําดวยเหล็กหลอยึดติดอยูกับโครงรถทําหนาที่บรรจุไกเฟองทดรอบ ซึ่งจะมีลักษณะที่แตกตางกัน เชน เฟองตัวหนอน ลูกเบี้ยวเฟองเซกเตอร กระเดื่อง เปนตน 2) แกนพวงมาลัย (Steering Column) หรือเพลาพวงมาลัย ทําจากเหล็กกลากลมยาว ปลายดานหนึ่ ง ยึ ดติ ดอยู กับ พวงมาลั ย (Steering Wheel) สว นปลายอีกดานหนึ่งเป น เฟ องตัว หนอน หรือลูกเบี้ ย ว ซึ่งเปนสวนที่อยูในกระปุกพวงมาลัย 3) เพลาขวาง (Cross Shaft) ปลายขางหนึ่งเปนสวนที่รับอาการเคลื่อนไหวจากเฟองตัวหนอนหรือลูกเบี้ยว เพลานี้มีบุชทําหนาที่เปนศูนยและจุดหมุน ขณะที่หมุนพวงมาลัยนั้นเพลาขวางจะบิดไปมา สวนปลายอีก ขางหนึ่งซึ่งอยูดานนอกของเพลาขวางยึดติดกับขาไก 4) ขาไก (Pitman Arm) ขาไกทําจากเหล็กเหนียวเปนสวนที่ยื่นออกมาจากตัวเรือนกระปุกพวงมาลัย โดย จะสวมยึดติดกับเพลาขวาง
191 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 5.7 สวนประกอบของกระปุกพวงมาลัยแบบธรรมดา กระปุกพวงมาลัย (Steering Box) นั้นมีการออกแบบไวหลายชนิด เพื่อใหเหมาะสมกับชนิดของรถ โดยกระปุกพวงมาลัย จะมีการทํางานรวมกับกลไกกานตอตาง ๆ ซึ่งสามารถแบงหนาที่ของกระปุกพวงมาลัยไดดังนี้ 1) ลดรอบการหมุนของพวงมาลัย แกนพวงมาลัยจะสงถายการหมุนทําใหเฟองที่บรรจุอยูภายในกระปุก พวงมาลัย ทําหนาที่ลดรอบการหมุนของพวงมาลัย 2) เปลี่ยนแปลงอาการหมุน (Rotary Motion) ของพวงมาลัย ใหลอหนาทั้งดานซายและดานขวาเคลื่อนที่ หันไปหันมา ทิศทางการหมุนของพวงมาลัยจะตองสอดคลองกับทิศทางการเลี้ยวของลอ 3) ชวยผอนแรงในการบังคับเลี้ยว โดยการเพิ่มแรงบิดใหมากขึ้น อัตราสวนที่ลดลง เรียกวาอัตราทดของ การบังคับเลี้ยว คาจะอยูระหวาง 10-20 ตอ 1 อัตราทดของกระปุกพวงมาลัยยิ่งมีมากยิ่งทําใหการหมุน พวงมาลัยเบาขณะที่เลี้ยวเขาโคง 4) ลดการสะเทือนขณะที่รถวิ่งผานถนนที่ขรุขระ จะทําใหลอหนาบิดตัวไปมา ลอที่บิดตัวอยางรวดเร็วนี้จะ สงแรงผานไปยังพวงมาลัย ถาพวงมาลัยไมทดรอบไว อาการสั่นสะเทือนจะสงไปยังผูขับขี่ การทดรอบยิ่งมาก จะทํ าให กระปุ กพวงมาลั ยลดอาการสั่ นสะเทื อนมากขึ้ น แต การบั งคั บรถได ไม ค อยดี นั ก เพราะจะต อง หมุน พวงมาลัยมากขึ้นจึงจะทําใหรถเลี้ยวไดเทาเดิม ทําใหการเลี้ยวชาลง และอาจเกิดอันตรายในขณะที่ เลี้ยวดวยความเร็วสูง
192 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4.2 โครงสรางของกระปุกพวงมาลัยแบบเพาเวอร พวงมาลัยเพาเวอร เปนระบบชวยทดกําลังการหมุนพวงมาลัยไปในทิศทางต าง ๆ โดยลดการใชกําลังลง เพื่อ ประโยชนขณะกําลังเลี้ยวในพื้นที่แคบ อีกทั้งยังสะดวกสบายในการขับขี่ ในปจจุบันแบงพวงมาลัยเพาเวอรออกเปน 2 แบบ ดังนี้ 1) ระบบพวงมาลัยเพาเวอรแบบไฮดรอลิก (Hydraulic Power Steering) ระบบนี้ใชปมไฮดรอลิกในการสราง กําลังดันสงไปยังกระปุกพวงมาลัย กลาวคือ เมื่อหมุนพวงมาลัย วงจรน้ํามันจะเปดลิ้นควบคุม สงผลให แรงดันน้ํามันด ันลูกสูบภายในกระบอกสูบของกระปุกพวงมาลัย เพื่อชวยผอนแรงผูขับขณะเลี้ยว
ภาพที่ 5.8 พวงมาลัยเพาเวอรไฮดรอลิก 2) ระบบพวงมาลั ย เพาเวอร แ บบไฟฟ า EPS (Electric Power Steering) ระบบนี้ใชมอเตอร ไ ฟฟ า เป น ตัวสรางกําลังชวยผอนแรง เมื่อผูขับขี่หมุนพวงมาลัยจะมีตัวรับสัญญาณ (Sensor) สงไปใหกลองควบคุม ระบบพวงมาลัยเพาเวอร เพื่อใหกลองควบคุมสั่งการใหมอเตอรไฟฟาทํางาน
193 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 5.9 พวงมาลัยเพาเวอรแบบไฟฟา 4.3 การตรวจและเปลี่ยนชิ้นสวนของกระปุกพวงมาลัยแบบลูกปนหมุนเวียน เมื่อตรวจพบการชํารุดเสียหาย ควรจะ เปลี่ยนโดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ตรวจการสึกหรอและชํารุดเสียหายของเฟองตัวหนอนและลูกปน 2) ตรวจการหมุ น คล องตั ว โดยการใหกระปุกพวงมาลัย เลื่อนลงดว ยน้ําหนักของกระปุกพวงมาลัย เอง ระหวางเฟองตัวหนอนกับลูกปน ขอควรระวัง คือ อยาใหตัวเรือนของเฟองสะพานกระแทกกับปลายแกน เฟองตัวหนอน 3) ตรวจการสึกหรอของลูกปนรองรับแกนเฟองตัวหนอนและซีลน้ํามัน ถาชํารุดใหเปลี่ยนออกดวยการใช เครื่องมือและไขควง 4) วัดระยะรุน (ระยะฟรี) เพลาดวยฟลเลอรเกจ ตามปกติจะมีระยะสูงสุด 0.05 มิลลิเมตร 4.4 การประกอบกระปุกพวงมาลัยแบบลูกปนหมุนเวียน ปฏิบัติไดตามลําดับขั้นตอนยอนกลับ ดังนี้ 1) ประกอบสกรูปรับตั้งลูกปนดวยเครื่องมือ จนกระทั่งสกรูปรับตั้งหมุนเขาที่ 2) วัดคาพรีโหลดของลูกปน โดยใชประแจแรงบิดขันและปรับตั้งสกรูจนไดคาพรีโหลด (Prelode) ตามที่กําหนด 3) ประกอบเพลาขวางเขากระปุกพวงมาลัย โดยจัดใหตําแหนงของเฟองเรือนลูกปนอยูกึ่งกลางและสอด ฟนกลางของเฟองขวางขบกับเฟองตัวหนอน 4) ใชไขควงคลายสกรูปรับตั้งใหมีความยาวจนสุด และประกอบฝาครอบพรอมกับปะเก็นใหม 5) จัดใหเพลาของเฟองตัวหนอนอยูในตําแหนงกึ่งกลาง โดยใชไขควงปรับสกรูปรับตั้งพรีโหลด (Prelode) รวมกับการใชประแจวัดแรงบิด คาพรีโหลด (Prelode) ลูกปนตามที่กําหนด 194 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6) ขันนอตล็อกสกรูปรับตั้ง และไดอัลเกจตรวจวัดระยะหางของฟนเฟองเพลาขวาง 7) เติมน้ํามันในกระปุกพวงมาลัย 4.5 การถอดประกอบกระปุกพวงมาลัยแบบเฟองสะพานและเฟองขับ กอนการถอดและประกอบจําเปนตองศึกษาโครงสรางใหเขาใจ เพื่อที่จะปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง ดังนี้ 1) การถอดแยกประปุกพวงมาลัยแบบเฟองสะพานและเฟองขับ ยึดตัวเรือนกระปุกพวงมาลัยดวยปากกาจับชิ้นงาน เนื่องจากกระปุกพวงมาลัยทําจากอะลูมิเนียมอัลลอย อาจจะทําใหเกิดความเสียหายขึ้นได จึงตองทําความสะอาดชิ้นสวนกอนการแยกชิ้นสวน - คลายนอตล็อก และถอดลูกหมากคันสงออก กอนถอดลูกหมากคันสงออกจะตองทําเครื่องเอาไว - ปลดคลิปล็อก และถอดยางกันฝุนเฟองสะพานทั้งซายและขวาอยางระมัดระวัง อยาใหฉีกขาด - ใชคอนและไขควง หรือสกัดตอกปลดล็อกแหวนล็อกคันสง โดยไมทําใหเฟองสะพานเสียหาย และทําเครื่องหมายไวที่คันสงทั้งดานซายและดานขวา - ใชประแจถอดคันสงและแหวนล็อกออก คลายนอตล็อกโบลตปรับสปริงนํารองเฟองสะพาน - ถอดโบลตปรับสปริงนํารอง สปริงดัน และนํารองเฟองสะพาน - ถอดนอตล็อกสกรู ปรับลูกปนเฟองขับ และถอดสกรูปรับเฟองขับ - ดึงเฟองขับพรอมลูกปนตัวบนออก และดึงเฟองสะพานออกจากตัวเรือนกระปุกพวงมาลัย 2) การตรวจและเปลี่ยนชิ้นสวนตาง ๆ ของกระปุกพวงมาลัย การตรวจชิ้นสวนตาง ๆ เปนการหาสาเหตุการ ชํารุด การตรวจสอบจะตองทําความสะอาดเสียกอน เพื่อความถูกตองแมนยําสามารถปฏิบัติไดดังนี้ - ตรวจการคดและการสึกหรอของเฟองสะพานดวยไดอัลเกจ ถาชํารุดใหเปลี่ยนทันทีและเปลี่ยน ตลับลูกปนเฟองขับ - ใหความรอนกับตัวเรือนกระปุกพวงมาลัยที่อุณหภูมิไมนอยกวา 80 องศาเซลเซียส และใชคอน พลาสติกเคาะลูกปนตัวลางเลื่อนขึ้น - เปลี่ยนตลับลูกปนลางโดยใชคาอุณหภูมิที่ตัวเรือนกระปุกเกียรเชนเดียวกับการถอด - ใชไขควงงัดเฟองสะพาน และใชไขควงสอดเขาตามรูระบายแรงดันที่กระบอกพวงมาลัยปองกัน การอุดตัน - เปลี่ ย นบุ ช เฟ อ งสะพาน และเมื่ อ ประกอบให จั ด รู ทั้ ง สามที่ บุ ช ให ต รงกั บ รู ร ะบายแรงดั น ที่ กระบอก พวงมาลั ย เปลี่ ย นซี ล น้ํ า มั น เฟ อ งขั บ และเมื่ อ เปลี่ ย นซี ล ใหม จ ะต อ งต่ํา กว าขอบ ประมาณ 0.5 มิลลิเมตร 195 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3) การประกอบกระปุ ก พวงมาลั ย แบบเฟ อ งสะพานและเฟ อ งขั บ ภายหลั ง จากถอดแยกชิ้ น ส ว นและ ตรวจสอบแลว ลําดับขั้นตอนการประกอบกระทํายอนกลับได ดังนี้ - ทาจาระบีหลอลื่นชิ้นสวนตาง ๆ ของกระปุกพวงมาลัย - ประกอบเฟ องสะพานเข ากับตัว เรื อนกระปุกพวงมาลัย ทางดานเฟ องขับ และปรับรอยบาก ใหตรงกับตําแหนงเฟองขับ - ประกอบเฟองขับเขากับตัวเรือนกระปุก โดยที่ตอนปลายของเฟองขับสวมเขากับลูกปนตัวลาง ไดอยางพอดี - ประกอบสกรู ป รั บ ตั้ งลูกปน เฟองขับ ปรับ คาพรีโ หลด (Prelode) เฟองขับ โดยการขัน สกรู ปรับตั้งลูกปนเฟองขับเขา จนกระทั่งความตึงของลูกปนวัดไดประมาณ 3.7 กิโลกรัม/เซนติเมตร - คลายสกรูปรับตั้งลู กปนเฟองขับ ใหความตึงของลูกปนวั ด ไดป ระมาณ 2.3 - 3.3 กิโลกรั ม/ เซนติเมตร - ขันนอตล็อกสกรูปรับตั้งลูกปนเฟองขับ และขันนอตโบลตปรับสปริงนํารอง - ขันนอตโบลตปรับสปริงนํารองเฟองสะพานเพื่อปรับวัดคาพรีโหลด (Prelode) รวม - คลายโบลตปรับสปริงนํารองเฟองสะพาน และวัดการหมุนของเฟองขับ คาพรีโหลด (Prelode) รวมอยูที่ประมาณ 10 ถึง 13 กิโลกรัม/เซนติเมตร - ขันนอตโบลตปรับสปริงนํารองเฟองสะพาน และจัดตําแหนงของแหวนล็อกใหตรงกับรองที่ ปลายเฟองสะพาน และขันลูกหมากเขาดวยแรงบิด 730 กิโลกรัม/เซนติเมตร - พับแหวนล็อกประกอบยางกันฝุนเฟองสะพาน ประกอบแคลมปล็อกและคลิปล็อก โดยดานที่ ตอกับคันสง ใหใชคลิปล็อกเพื่อปองกันการชํารุด - ขั น นอตล็ อกกั บ ลู กหมากเขากับ เฟองสะพานจนเครื่องหมายที่ทําไวตรงกัน นอตจะล็อกได ตอเมื่อปรับมุมโทอินแลวเทานั้น - ปรับความยาวของลูกหมากทั้งดานซายและดานขวาใหมีความยาวที่เทากันตามคาที่กําหนด 5. แบบของกระปุกพวงมาลัย แบงออกไดดังนี้ 1) แบบเฟองตัวหนอนและลูกกลิ้ง (Worm and Roller) กระปุกพวงมาลัยแบบนี้เฟองตัวหนอนและลูกกลิ้งเปน ตั ว ทดกํ า ลั ง เฟ อ งตั ว หนอนทํ า สั น ฟ น เช น เดี ย วกั บ เฟ อ งมี ร ะยะพิ ต ช แ ละทํ า เป น โค ง ตั ว ลู ก กลิ้ ง นี้ จ ะมี ฟนเดียวหรือหลายฟน ฟนของลูกกลิ้งจะมีลักษณะเหมือนฟนเฟ องขบฟนของเฟองตัวหนอน ตัวลูกกลิ้ง 196 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
หมุนรอบสลักซึ่งเปนสวนหนึ่งของเพลาขวาง ซึ่งขณะที่หมุนพวงมาลัยฟนของเฟองตัวหนอนจะบังคับให ลูกกลิ้งเคลื่อนที่ไปตามสันเฟอง โดยมีลูกปนรองรับอยู ลูกกลิ้งจึงเคลื่อนที่ตาม และหมุนรอบตัวเองดวย
ภาพที่ 5.10 แบบเฟองตัวหนอนและลูกกลิ้ง 2) แบบเฟองตัวหนอนและเซกเตอร (Worm and Sector) เซกเตอร หรือเรียกวา เฟองเสี้ยว คือ เฟองที่มีฟน เพียงบางสวน โดยเวลาหมุนพวงมาลัยจะใช ฟน เฟ องสวนเดียว การทํางานของกระปุ กพวงมาลัย แบบนี้ มีลักษณะเชนเดียวกันกับแบบเฟองตัวหนอนและลูกกลิ้ง กระปุกพวงมาลัยแบบนี้เปนตนแบบของเฟ อ ง ตัวหนอนและลูกกลิ้ง ฟนเฟองที่ทําเปนลูกกลิ้งชวยลดความฝดลง กระปุกพวงมาลัยแบบเฟองเสี้ยวนี้มีใชใน รถยนตนอย
ภาพที่ 5.11 แบบเฟองตัวหนอนและเซกเตอร 3) แบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) เปนกระปุกพวงมาลัยที่เหมาะสําหรับใชกับรถยนตขนาดเล็กและ รถแขง เปนชุดพวงมาลัยแบบงายทํางานโดยตรงถึงลอรถ มีความไวและคลองตัวในการทํางานมาก จึงมัก นิยมใชกับรถยนตขนาดเล็กทั่วไป กระปุกพวงมาลัยแบบเฟองสะพานมีขอเสีย คื อ มีอัต ราทดต่ํา ซึ่งจะ ทําใหพวงมาลัยหนัก ถาตองการอัตราทดสูงตองทําใหเฟอ งพิ เนีย น (Pinion) ตัว เล็กลง แตจ ะทํา ให
197 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ความแข็งแรงลดลง กลไกบังคับเลี้ยวของชุดพวงมาลัยแบบนี้มีชิ้นสวนนอยชิ้น และใชเฟองตอเฟองขบกัน ระยะฟรีจึงมีนอยมาก
ภาพที่ 5.12 แบบเฟองสะพาน 4) แบบลูกปนหมุ นเวี ยน (Recirculating Ball or Worm and Nut) กระปุกพวงมาลัย แบบนี้จ ะมี ลู ก ป น หมุนเวียนอยูขางใน โดยมีหลักการเชนเดียวกับการหมุนสกรูและนอต ถาตองการใหหมุนไดค ลอ งก็ใ ช ลู ก ป น กลมเป น สั น เกลี ย วแทน จะชว ยลดความฝด และทํา ใหห มุน ไดค ลอ งขึ้น แขนบังคับเลี้ยวที่ใช รวมกับกระปุกพวงมาลัยชนิดนี้ จะรับกําลังมาจากขาไก แกนพวงมาลัยจะทําเปนรองแบบเกลียวทําเปน รองกลมเรียกวา Wormhshaft ตัวบอลนอต (Ball Nut) ขางในกลึงเปนรองเกลียวลักษณะเปนรองกลม เชนเดียวกับที่ตัวแกนพวงมาลัยระหวางรองเกลียวของแกนพวงมาลัย บอลนอตใสลูกปนจนเต็ม และมีทอ ลูกปนกับดานลางของบอลนอตทําเปนฟนแบบเฟองสะพานเปนเฟองซี่ตรงขบอยูกับเฟองเสี้ยว ซึ่งเปน สวนหนึ่งของเพลาขวาง
ภาพที่ 5.13 แบบลูกปนหมุนเวียน
198 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ หนาที่ของระบบบังคับเลี้ยว ก. ลดแรงกระแทกที่จะไปยังลอรถยนต ข. ทําใหพวงมาลัยหมุนคืนกลับเมื่อรถยนตวิ่งทางตรง ค. ควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของรถยนต ง. ชวยใหรถยนตขับเคลื่อนอยางนุมนวลทุกสภาพถนน 2. เมื่อหมุนพวงมาลัย วงจรน้ํามันจะเปดลิ้นควบคุมเพื่อสงแรงดันน้ํามันไปยังสวนใด ก. ปมน้ํามัน ข. กระบอกสูบกําลัง ค. ทอแรงดันน้ํามัน ง. กระปุกพวงมาลัย 3. แขนบังคับเลี้ยวตาง ๆ ที่ใชรวมกับกระปุกพวงมาลัยชนิดลูกปนหมุนวน รับกําลังมาจากชิ้นสวนใด ก. เพลาตัวหนอน ข. ขาไก ค. เพลาขับ ง. เพลาตาม 4. ขอใด คือ หนาที่ของกระปุกพวงมาลัย ก. ชวยผอนแรงในการบังคับเลี้ยว ข. ควบคุมใหการหมุนของพวงมาลัยคงที่ ค. ลดแรงบิดใหนอยลง ง. เพิ่มรอบการหมุนของพวงมาลัย 199 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5. สวนประกอบของกานตอบังคับเลี้ยวในขอใด ทําหนาที่สงถายการเคลื่อนที่ของคันสงไปยังลอหนา ผานทางแกนบังคับเลี้ยว ก. ขาไก ข. คันสง ค. แขนบังคับเลี้ยว ง. แขนประคอง 6. ขอใด คือ ขอดีของกระปุกพวงมาลัยแบบเฟองสะพาน ก. มีกลไกบังคับเลี้ยวจํานวนหลายชิ้น ข. ชองวางรวมของกลไกบังคับเลี้ยวมีมาก ค. ดูดซับแรงกระแทกจากลอที่สงมายังพวงมาลัยไดดี ง. เล็กกะทัดรัด บังคับรถไดดี เมื่อขับรถดวยความเร็วสูง ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 7. ช็อคอัพพวงมาลัยจะทําหนาที่ลดอาการสั่นสะเทือนที่เกิดจากลอสงถายมายัง พวงมาลัย เนื่องจากสภาพพื้นผิวถนนขรุขระหรือไมราบเรียบ 8. กระปุกพวงมาลัยแบบเฟองตัวหนอนกับลูกปนหมุนวน นิยมใชกับรถสปอรต รถแขง หรือรถยนตสัญชาติยุโรป 9. ปลายข า งหนึ่งของเพลาขวางเปน สว นที่รับ อาการเคลื่อนไหวจากเฟองตัว หนอนหรือลูกเบี้ยว โดยที่เพลานี้มีบุชทําหนาที่เปนศูนยและจุดหมุน 10. อัตราทดของการบังคับเลี้ยว คาจะอยูระหวาง 20-30 ตอ 1 อัตราทดของ กระปุกพวงมาลัยยิ่งมีมาก ยิ่งทําใหการหมุนพวงมาลัยหนักขณะที่เลี้ยวเขาโคง 11. กลไกบั ง คับ เลี้ย วของชุด พวงมาลัย แบบเฟอ งสะพาน มีชิ้น สว นนอยชิ้น และใชเฟองตอเฟองขบกัน ระยะฟรีจึงมีนอยมาก
200 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ
ก
ข
ค
ง
1 2 3 4 5 6 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
7 8 9 10 11
201 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 5.1 การตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion)ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion)
202 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.1 การตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. ลิฟตยกรถ
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
203 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบลูกหมากบังคับเลี้ยวแบบเฟองสะพาน (Rack and Pinion) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ
คําอธิบาย จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
204 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ยกรถขึ้น
คําอธิบาย ขอควรระวัง ยกรถขึ้ น จากพื้ น ด ว ยลิ ฟ ต ย กรถ เพื่ อ ให ระวังอยาให มี คนหรื อ สปริ ง และแขนป ก นกที่ ทํ า หน า ที่ ร องรั บ สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ น้ําหนักรถยนตเปนอิสระ
หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํ า รถขึ้ น และ ระวังรถตกจากลิฟตยก รถ
4. ตรวจสอบยางหุมลูกหมากและจาระบีที่ลูกหมาก ยางหุมลูกหมาก จะตองไมมีรองรอยฉีก ขาด
5. ตรวจสอบลูกหมากที่ลอหนาทั้ง 2 ลอ
ใชมือทั้ง 2 ขาง จับ ลอในแนวระดับและ โยกเขาออก จากนั้น จับลอในแนวดิ่ง และ โยกเข า ออกอี ก ครั้ ง เพื่ อ ดู ค วามหลวม คลอนของลูกหมาก หากลอไมขยับ แสดง วาลูกหมากปกติ
205 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. นํารถลงพื้น
คําอธิบาย ลดระดับลิฟตยกรถจนกระทั่งรถอยูใน
ขอควรระวัง ระวังอยาให มี คนหรื อ
7. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ระดับปกติ
สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ
อุปกรณ
หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบลูกหมาก
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน
7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
206 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบลูกหมากที่ลอหนา
ตรวจสอบความหลวมคลอนของลูกหมากไดถูกตอง ทั้งใน
5
แนวระดับและแนวดิ่ง ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบความหลวมคลอนของลูกหมากในแนวระดับ หรือ แนวดิ่งไดถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบความหลวมคลอนของลูกหมากในแนวระดับ และ แนวดิ่งไมได ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง
207 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
23
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
208 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 5.2 การตรวจสอบการไลลมวงจรน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบการไลลมวงจรน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยวได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกปฏิบัติการตรวจสอบการไลลมวงจรน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว
209 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 5.2 การตรวจสอบการไลลมวงจรน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. น้ํามันพวงมาลัยเพาเวอร
จํานวน 1 ขวด
210 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบการไลลมน้ํามันเพาเวอรของระบบบังคับเลี้ยว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
โดยพื้นที่จอดรถตองมั่นคงและแข็งแรง
2. ดับเครื่องยนต
ดั บ เครื่ อ งยนต แ ละเข า เกี ย ร ที่ ตํ า แหน ง เกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
211 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
3. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม เป ด ฝากระโปรงรถพร อ มล็ อ กไม ค้ํ า ยั น ล็อกไมค้ํายันฝา และใชผาคลุมสําหรับ ซอมคลุมที่บ ริเวณ กระโปรงหนารถทุก สวนหนารถและบังโคลนซาย-ขวา
ครั้ง เพื่อปองกันไมให ฝากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน
4. ตรวจสอบระดับน้ํามันเพาเวอร
ระดั บ น้ํ า มั น เพาเวอร ที่ เ หมาะสมจะอยู ระหวางขีด MIN และ MAX
5. เติมน้ํามันเพาเวอร
หากพบว า น้ํ า มั น เพาเวอร ต่ํ า กว า ระดั บ เติมจนกวาจะไดระดับที่เหมาะสม
212 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
6. ติดเครื่องยนต
ติดเครื่องยนต โดยใหเครื่องยนตเดินเบา
7. สังเกตฟองอากาศที่กระปุกน้ํามันเพาเวอร
(1,000 รอบ/นาที)
8. ตรวจสอบน้ํามันเพาเวอรขณะหมุนพวงมาลัย
ติดเครื่องยนต พรอมกับหมุนพวงมาลัยจน สุดไปทางซายและทางขวา 3 – 4 ครั้ง ครั้งละประมาณ 2 – 3 วินาที จากนั้น สังเกตกระปุกน้ํามันเพาเวอร ซึ่ง จะตองไมมีฟองอากาศ ขณะหมุนพวงมาลัย น้ํามันเพาเวอร จะตองไมมีสีขุน
213 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
9. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับ
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
ที่ 1
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน
2
สวมใส อุ ป กรณ ป อ งกั น อั น ตรายส ว นบุ ค คล ความถูกตองตามวิธีการใชงาน อยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิ บั ติ ง านได ถู ก ต อ ง เป น ไปตามลํ า ดั บ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ขั้นตอน
4
การตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอร
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การหมุ น พวงมาลั ย และสั ง เกตฟองอากาศที่ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน กระปุกน้ํามันเพาเวอร
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน หลังปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
214 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน
ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอร
ตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอรและเติมน้ํามันเพาเวอร ไดถูกตองตามขั้นตอน ให 5 คะแนน ตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอรและเติมน้ํามันเพาเวอร บกพรอง 1 ขั้นตอน ให 3 คะแนน ตรวจสอบระดับของน้ํามันเพาเวอรและเติมน้ํามันเพาเวอร บกพรองมากวา 1 ขั้นตอน ให 0 คะแนน
215 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
การหมุนพวงมาลัยและสังเกตฟองอากาศที่กระปุกน้ํามัน หมุ น พวงมาลั ย และสั ง เกตฟองอากาศในน้ํ า มั น เพาเวอร เพาเวอร ไดถกู ตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
5
หมุ น พวงมาลั ย หรื อ สั ง เกตฟองอากาศไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน หมุ น พวงมาลั ย และ สั ง เกตฟองอากาศไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 216 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 6 0921020306 ระบบเบรก (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบเบรกได
2. หัวขอสําคัญ 1. หนาที่ของระบบเบรก 2. ชนิดของเบรก 3. ระบบชวยผอนแรงการเหยียบเบรก (Power break)
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 217 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) เชือกไนลอน จํานวน 1 เสน 2) ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 3) ผาดิสกเบรก จํานวน 1 ชุด 4) จาระบี จํานวน 1 กระปอง 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) เครื่องมือชางพื้นฐาน จํานวน 1 ชุด 2) ประแจถอดนอตลอ จํานวน 1 ตัว 3) ประแจวัดแรงบิด จํานวน 1 ตัว 4) ปมลม จํานวน 1 ตัว 5) ปนเปาลม จํานวน 1 ตัว 6) ผาคลุมรถสําหรับซอม จํานวน 1 ชุด 7) รถยนตนั่งสวนบุคคล จํานวน 1 คัน 8) ลิฟตยกรถ จํานวน 1 ตัว
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
218 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม รองศาสตราจารย อําพล ซื่อตรง ค.อ.บ. (เครื่องกล) ค.อ.ม , Meister(Kfz) การแกปญหางานชางยนต ศูนยสงเสริมวิชาการ กทม. 10600
219 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 189-221 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก ชุดดรัมเบรก ชุดดิสกเบรก หมอลมเบรก แมปมเบรก และปม เบรกที่ลอ 6. เตรียมเครื่องมือและอุปกรณสําหรับ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบเบรก
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ระบบเบรก 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 189-221
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง ระบบเบรก หนาที่ 189221 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 192-198 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หนาที่ของระบบเบรก 2.2 ชนิดของเบรก 220 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 ระบบช ว ยผ อ นแรงการเหยี ย บเบรก (Power break) 3. ใหผูรับการฝกศึกษาดูความแตกตางของเบรก 3. ศึกษาดูความแตกตางของเบรกดรัมเบรกและดิสก ดรัมเบรกและดิสกเบรก เบรก 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 199-201 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 199-201 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 232 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 6.1 การเปลี่ยน 6. ศึกษาใบงานที่ 6.1 การเปลี่ยนผาดิสกเบรก จาก ผาดิสกเบรก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 202คูมือผูรับการฝก หนาที่ 202-213 ซักถามขอสงสัย 213 ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-06:42- พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้ อ หา แสดงความคิ ด เห็ น ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 7.1 วิธีการเปลี่ยนผาดิสกเบรก 7.2 วิ ธี การตรวจสอบการทํ า งานของเบรก ขณะยกรถยนต 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บวั สดุ -อุ ปกรณ และเครื่ องมื อปฏิ บั ติ งานตามใบ ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 203หนาที่ 234-235 204 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 221 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 13. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 6.2 การ 13. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 6.2 การตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบการทํ างานของหม อลมเบรก จาก ของหม อไล ลมเบรก จากคู มื อผู รั บการฝ ก หน าที่ คูมือผูรับการฝก หนาที่ 214-221 212-221 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 06:45-.09:38 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้ อ หา แสดงความคิ ด เห็ น ด ว ยวาจาสุ ภ าพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 14.1 วิธีการตรวจสอบการทํางานของหมอ ลมเบรก 14.2 การสังเกตการทํางานของหมอลมเบรก ที่ปกติและผิดปกติ 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 215 หนาที่ 246 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ระบบเบรก
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง ระบบเบรก เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และ ใบงาน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
222 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 6 ระบบเบรก (Brake System) 1. หน า ที่ ข องระบบเบรก เบรก (Brake) ทําหนาที่ชะลอความเร็วของรถ หรือทําใหรถหยุดตามความตองการของผูขับขี่ รถยนตสวนใหญในปจจุบัน ใชการถ ายทอดแรงเหยี ย บที่ แป น เบรกไปถึ ง ตั ว อุ ป กรณห ยุดล อ ดว ยระบบไฮดรอลิก (Hydraulic) กล าวคื อ ในขณะที่ เราเหยียบเบรกลงที่แปนเบรก แรงเหยียบนี้จะถูกสงไปที่แมปมน้ํามันเบรก (Master Cylinder) เพื่อทําหนาที่อัดแรงดั น น้ํามันเบรกออกไปตามทอน้ํามันเบรกผานวาลวแยกสวนน้ํามันเบรกไปจนถึงตัวเบรก ซึ่งติดตั้งอยูบริเวณดุมลอ และที่ตัวเบรก ก็จะมีลูกปมน้ํามันเบรก เมื่อไดรับแรงดันมา ลูกปมน้ํามันเบรกจะดันใหผาเบรกไปเสียดทานกับชุดจานเบรกที่อยูใกลกับ จานดิสกเบรกหรือดรัมเบรก เมื่อเกิดความฝดขึ้นลอก็เริ่มหมุนชาลง เมื่อเพิ่มน้ําหนักเหยียบเบรกเขาไปอีก แรงดันน้ํามันเบรก เพิ่มมากขึ้นก็ยิ่งมีความฝดที่ลอเพิ่มขึ้น รถก็จะชะลอความเร็วลง จนรถหยุดในที่สุด โดยปกติเครื่องยนตจะทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานความรอนใหเปนพลังงานการเคลื่อนที่ เพื่อไปขับเคลื่อนรถยนต และ ในทางตรงกันขามระบบเบรกจะทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานเคลื่อนที่กลับไปเปนพลังงานความรอน เพื่อหยุดรถยนต ระบบเบรกรถยนตจะมีวงจรน้ํามันเบรก 2 วงจรแยกน้ํามันเบรกออกจากกัน ซึ่งเมื่อน้ํามันเบรกรั่วซึมที่วงจรใดวงจรหนึ่ง ระบบเบรกของอีกวงจรก็ยังสามารถทํางานเพื่อหามลอได โดยระบบเบรกรถยนตประกอบดวยอุปกรณดังตอไปนี้ 1) แปนเหยียบเบรก 2) หมอลมเบรก (Brake booster หรือ Power booster) ภายในจะเปนสุญญากาศชวยเพิ่มแรงกดที่รับมาจาก แปนเหยียบเบรกมากขึ้น 3) แมปมเบรก (Master cylinder) ทําหนาที่เปลี่ยนแรงที่รับมาจากหมอลมเบรกใหเปนแรงดันน้ํามันไฮดรอลิกหรือ แรงดันน้ํามันเบรก เพื่อที่จะสงผานทอน้ํามันเบรกไปยังชุดหามลอตอไป ซึ่งชุดหามลอมีอยูดวยกัน 2 ชนิด ไดแก - ชุดหามลอแบบดิสกเบรก (Disc brake) เมื่อไดรับแรงดันน้ํามันเบรก คาลิปเปอร (Caliper) ซึ่งมี ผาเบรก (Disc brake pad) ติดอยูจะหนีบผาเบรกเขากับจานเบรก - ชุดหามลอแบบดรัมเบรก (Drum brake) เมื่อไดรับแรงดันน้ํามันเบรกฝกเบรก (Brake shoe) ซึ่งมี ผาเบรก (Drum brake pad) ติดอยูจะดันผาเบรกเขากับจานเบรก
223 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ชนิดของเบรก 2.1 ดรัมเบรก (Drum Brake) ในชุดเบรกแบบดรัม ประกอบดวยตัวดรัม (Drum) เปนโลหะวงกลมยึดติดกับดุมลอหมุนไปพรอมลอและชุดฝกเบรก ซึ่งประกอบดวยผาเบรก กลไกปรับตั้งเบรก สปริงดึงกลับ และลูกสูบปมเบรก ซึ่งสายน้ํามันเบรก ก็จะมาเชื่อมตอกับ ตัวลูกสูบในการดันผาเบรกใหไปเสียดทานกับดรัมเพื่อใหเกิดความฝด
ภาพที่ 6.1 โครงสรางดรัมเบรก ดรัมเบรก เปนอุปกรณเบรกมาตรฐานสําหรับรถยนตรุนเกา ซึ่งตอมาเมื่อมีการใชดิสกเบรกกันมากขึ้นก็จะพบวา มีการใชระบบดิสกเบรกสําหรับลอคูหนา และดรัมเบรกสําหรับลอคูหลัง และในปจจุบันก็สามารถเห็น รถยนตที่ติด ตั้ง ดิส กเ บรกมาทั้ง 4 ลอ แตอ ยา งไรก็ต าม การใชร ะบบเบรกแบบดิส กห รือ ดรัมนั้น ขึ้น อยูกับ การออกแบบระบบของ บริษัทผูผลิตรถยนตแตละรุน เพื่อประสิทธิภาพการทํางานที่ดี การปลอยใหประสิทธิภาพของระบบเบรกหลังดอยลงไป เพราะขาดความเขาใจถึงความสําคัญของการทํางาน ประสานกันระหวางเบรกหนาและเบรกหลังนั้นเปนอันตรายอยางยิ่ง อยาเพียงแตเชื่อวา ผาเบรกหนาที่มีคุณภาพดี ๆ ยอมเพียงพอแลว เพราะหากเบรกหลังทํางานไมประสาน หรือชวยแบงเบาภาระของเบรกหนาอยางพอเพียงแลว ความรอน ที่สะสมอยูในผาเบรกหนาอยูเปนเวลานาน ๆ จะทําใหผาเบรกหมดเร็วและสิ้นเปลืองโดยใชเหตุ 224 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
การทํางานของระบบเบรกหนา-หลัง ควรจะประสานการทํางานอยางเหมาะสม ไมทําใหสูญเสียการควบคุมรถ ขณะเดียวกัน ประสิทธิภาพของเบรกหลัง ก็ยังตองแบงเบาภาระของเบรกหนาอยางไดจังหวะ เพื่อลดโอกาสความเสี่ยง ของการเกิดอาการเบรกดาน (Brake Fade) ที่มักเกิดขึ้นไดโดยงาย หากใชความเร็วสูงหรือขับขี่โดยตองใชเบรกบอย ๆ ในระบบเบรกดรัม ซึ่งใชกามเบรกแทนการใชผาดิสกเบรกในการเสียดสีใหเกิดความฝด ผาเบรกเนื้อพิเศษที่เหมาะกับ การใชงานกับรถบรรทุก เกรด DB 757 และผาเบรกที่เหมาะกับการใชงานในระบบดรัมเบรกที่ใชในลอหลังของรถยนตน่ัง และรถยนตกระบะ เกรด DB 777 ใหเนื้อผาเบรกมีความนุม พองตัวนอย ทํางานเขากับระบบดรัมเบรก ซึ่งมีแรงดันต่ํากวา ระบบดิสกเบรกไดเปนอยางดี โดยออกแบบใหเนื้อผาใหความฝดที่สม่ําเสมอ ทนความรอนไดสูง ไมกอใหเกิดอาการลอล็อก ไดโดยงาย เบรกแบบนี้ ฝกเบรกพรอมผาเบรกปลายดานหนึ่งสวมอยูกับสลัก ปลายอีกดานหนึ่งจะติดอยูกับเพลาลูกเบี้ยว เมื่อดึงสายเบรกลูกเบี้ยวจะบิดตัวทําใหฝกเบรกถางตัวออก ผาเบรกจึงแนบสนิทกับดรัมซึ่งจะหมุนไปพรอมกับดุ มล อ ความเร็วลอลดลงเนื่องจากความฝด และฝกเบรกจะกลับคืนสูตําแหนงเดิมเนื่องจากการดึงกลับของสปริง เนื่องจาก แตละดรัมจะมีฝกเบรกอยูสองตัว การทํางานของฝกเบรกแตละตัวจึงอาจจะมีบางตัวทํางานกอน บางตัวทํางานทีหลัง หรืออาจจะทํางานพรอมกันทั้งสองตัว ฝกเบรกตัวที่ทํางานกอนจะเรียกวา ฝกเบรกตาม ขอดี มีความสามารถในการหยุดรถไดเร็ว เพราะกามเบรกและดรัมเบรกถูกยึดติดกับดุมลอ เมื่อเหยียบเบรกคนขับ ใชแรงกดดันเบรกนอย รถบางรุนไมจําเปนตองใชหมอลมเบรกชวยในการเบรก ขอเสีย ความรอนที่เกิดจากการเสียดสีระหวางผาเบรกในดรัมเบรกนั้น ไมสามารถถายเทความรอนไดดี บางครั้ง ทําใหผาเบรกมีอุณหภูมิสูงมากมีผลทําใหประสิทธิภาพการเบรกลดลง 2.2 ดิสกเบรก (Disc Brake)
ภาพที่ 6.2 โครงสรางระบบดิสกเบรก
225 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ชุดดิสกเบรก ประกอบดวย แผนจานดิสก ติดตั้งลงบนแกนเพลาลอเมื่อรถเคลื่อนที่แผนจานดิสกจะหมุนไปพรอม ลอ จากนั้นจะมีอุปกรณที่เราเรียกวา คาลิปเปอร (Caliper) ที่เรียกกันทั่วไปวา “กามปูเบรก” สําหรับคาลิปเปอรจะติดตั้ง โดยครอบลงไปบนจานดิสก (ไมหมุนไปพรอมลอ) ภายในคาลิปเปอรมีการติดตั้งผาเบรกประกอบอยูทางดานซายและขวา ของจานดิสก และจะมีลูกปมน้ํามันเบรกติดตั้งอยูดวย ซึ่งทอน้ํามันเบรกก็จะติดตั้งเชื่อมตอกับลูกปมเบรกนี้ เมื่อใดที่มี การเหยียบเบรก ลูกปมเบรกก็จะดันใหผาเบรกเลื่อนเขาไปเสียดทานกับแผนจานดิสก เพื่อใหเกิดความฝด
ภาพที่ 6.3 โครงสรางดิสกเบรก 2.2.1 แบบของดิสกเบรกนั้นถูกแบงตามโครงสรางไดเปน 2 แบบคือ 1) แบบลูกสูบตรงกันขาม แบบนี้มีลูกสูบ 2 ลูกอยูตรงกันขาม แผนผาเบรกทั้งคูถูกกดดวยลูกสูบ ตามลําดับ 2) แบบลูกสูบลูกเดียว แบบนี้มีลูกสูบลูกเดียว เมื่อแผนผาเบรกดานลูกสูบถูกกดใหสัมผัสกับจานเบรก แผนผาเบรกอีกดานหนึ่งก็จะเคลื่อนตัวมาสัมผัสกับจานเบรกดวยแรงปฏิกิริยา ดังนั้นจานเบรก จึงถูกบีบโดยผาเบรกทั้งคู ดิสกเบรกแบบนี้เรียกอีกอยางหนึ่งวาแบบลอย
ภาพที่ 6.4 แบบลูกสูบลูกเดียว 226 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขอดี ลดอาการเฟด (เบรกหาย) เนื่องจากอากาศสามารถถายเทความรอนไดดีกวาดรัมเบรก นอกจากนี้เมื่อเบรก เปยกน้ําผาเบรกจะสลัดน้ําออกจากระบบไดดี ในขณะที่ดรัมเบรกน้ําจะขังอยูภายในและใชเวลาในการถายเทคอนขางชา ขอเสีย ไมมีระบบ Servo action หรือ multiplying action เหมือนกับดรัมเบรก ผูขับตองออกแรงมากกวาจึง ตองใชระบบเพิ่มกําลัง เพื่อเปนการผอนแรงขณะเหยียบเบรก ทําใหระบบดิสกเบรกมีราคาคอนขางแพงกวาดรัมเบรก 2.2.2 ดิสกเบรก มีทั้ง 3 ชนิดดังนี้ 1) ดิสกเบรกแบบกามปูยึดติดอยูกับที่ (Fixed position disc brake) ดิสกเบรกจะมีผาเบรกอยู 2 แผนติดอยูภายในกามปู (คาลิปเปอร) วางประกบกับจานเบรก เพื่อที่จะ บีบจานเบรกตัวกามปูนั้น เปนเพียงที่ยึดของลูกปมเทานั้น จะไมเคลื่อนที่ขณะเบรกทํางาน ดิสกเบรก แบบนี้มีชองทางเดินน้ํามันเบรกอยูภายในตัวกามปู หรืออาจมีทอเชื่อมตอระหวางลูกปม ทั้งนี้ขึ้นอยู กับรถยนตแตละชนิด
ภาพที่ 6.5 ดิสกเบรกแบบกามปูยึดติดอยูกับที่ 2) ดิสกเบรกแบบกามปูแกวงได (Swinging caliper disc brake) พบมากในรถยนตทั่วไป หลักการทํางานแตกตางจากกามปูยึดอยูกับที่ เบรกแบบนี้จะมีลูกปม หนึ่งตัวคอยดันผาเบรกแผนหนึ่ง สวนผาเบรกอีกแผนจะติดอยูกับตัวกามปูเอง ซึ่งตัวกามปูนี้สามารถ เคลื่อนไปมาได เมื่อเหยียบเบรกน้ํามันเบรกจะดันลูกปมออกไป ผาเบรกแผนที่ติดอยูกับลูกปมจะ เขาไปประกบกับจานเบรก ในขณะเดียวกันน้ํามันเบรกก็จะดันตัวกามปูทั้งตัวใหเคลื่อนที่สวนทางกับ ลูกปม ผาเบรกตัวที่ติดกับกามปูก็จะเขาประกบกับจานเบรกอีกดานหนึ่งพรอมกับผาเบรกแผนแรก
227 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 6.6 ดิสกเบรกแบบกามปูแกวงได 3) ดิสกเบรกแบบเคลื่อนที่ไปมาได (Sliding Caliper disc brake) หลักการแบบเดียวกับดิสกเบรกแบบแผน แตใชลูกปมสองตัว ตัวแรกเปนตัวดันผาเบรกโดยตรง สวนอีกตัวจะดันกามปู ซึ่งมีผาเบรกติดอยูใหไปในทิศทางตรงกันขามกับลูกปมตัวแรก แผนผาเบรก ทั้งสองจะเขาประกบกับจานเบรกทั้งสองดานพรอม ๆ กัน
ภาพที่ 6.7 ดิสกเบรกแบบเคลื่อนที่ไปมาได 2.3 เบรกแบบกลไก (Mechanical Brake) เบรกแบบกลไก ปจจุบันถูกนํามาใชงานในรูปแบบของเบรกมือ เพื่อทําหนาที่หามลอในขณะจอดรถยนตบริเวณ ที่ลาดชัน ลักษณะของโครงสรางคันเบรกมีอยูดวยกันหลายชนิด ไดแก ชนิดคันเบรกตรงกลาง ชนิดเทาเหยียบ และชนิดกานดึง 3. ระบบชวยผอนแรงการเหยียบเบรก อุ ป กรณ ช ว ยผ อนแรงในการเหยี ย บเบรก คื อ หมอลมเบรก (Brake Booster) ซึ่งทํางานดว ยสุญญากาศ (Vacuum) ภายในหมอลมเบรกจะมีแผนไดอะแฟรมอยู และที่ตัวหมอลมเบรกนี้เองจะมีทอตอออกไปเชื่อมตอกับทอไอดี เมื่อเครื่องยนต ทํางานก็จะดูดเอาอากาศที่ทอไอดีเขาไปเผาไหม ดวยเหตุนี้ จึงทําใหหมอลมเบรกถูกดูดอากาศไปใชงานดวย ความดันอากาศ ในหมอลมเบรกจึงต่ําลงเขาใกลระดับสุญญากาศ 228 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 6.8 หมอลมเบรก เมื่อตองการชะลอความเร็วหรือหยุดรถ ใหเหยียบลงบนแปนเบรก แกนเหล็กที่ติดตั้งอยูบนแกนแปนเบรกจะเคลื่อนที่ ไปดันใหวาลวอากาศของหมอลมเบรกเปดออก ทําใหอากาศภายนอกไหลเขาสูหมอลมเบรกอยางเร็ว ไปดันแผนไดอะแฟรม ที่ยึดติดกับแกนกดแมปมเบรกใหเคลื่อนที่ไปดันลูกสูบในแมปมเบรกพรอม ๆ กับแรงเหยียบเบรกของผูขับรถดวย ดวยเหตุนี้จึง ทําใหผูขับรูสึกวา เยียบเบรกดวยความนุมนวล ซึ่งเมื่อผูขับคืนเทาออกจากแปนเบรกอีกครั้ง แปนเบรกก็จะกลับสูตําแหนงเดิม พรอมดวยวาลวอากาศของหมอลมเบรกก็ปดลง อากาศที่หมอลมเบรกก็ยังคงถูกดูดออกไปใชงานอยางสม่ําเสมอจนกวา เครื่องยนตจะดับ ในกรณีที่เครื่องยนตดับ ภายในหมอลมเบรกก็ยังคงมีสภาพเปนสุญญากาศอยู ดังนั้น หลังจากที่เครื่องยนตไมทํางาน เราจะยังเหยียบเบรกไดอยางนุมนวล อีกเพียงแค 2-3 ครั้ง เพราะอากาศดานนอกหมอลมเบรกก็จะเขาไปอยูในหมอลมเบรก ในขณะที่ ไม มี การดู ด เอาอากาศภายในหม อลมเบรกไปใช งาน (เพราะเครื่อ งยนตไ มทํ างาน ไมมีการดูดไอดี ไปใช ง าน) เมื่ออากาศเขาไปบรรจุอยูในหมอลมเบรกจนเต็ม ก็จะไมมีแรงจากหมอลมเบรกมาชวยดันลูกสูบในแมปมเบรก ทําใหผูขับ จะตองออกแรงเหยียบเบรกมากขึ้นไปดวย
229 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับหนาที่ของระบบเบรก ก. สรางความฝด ข. เปลี่ยนพลังงานการเคลื่อนที่เปนพลังงานความรอน ค. ลดความเร็วและหยุดการเคลื่อนที่ ง. เปลี่ยนพลังงานความรอนเปนพลังงานกล 2. ขอใด ไมใช สวนประกอบของดิสกเบรกแบบกามปูยึดติดอยูกับที่ ก. ผาเบรก ข. สปริงดึงกลับ ค. ลูกสูบคาลิปเปอร ง. จานดิสกเบรก 3. อุปกรณใดตอไปนี้ ทําหนาที่เปลี่ยนแรงที่รับมาจากหมอลมเบรกใหเปนแรงดันน้ํามันไฮดรอลิก ก. ผาเบรก ข. แปนเหยียบเบรก ค. แมปมเบรก ง. จานดิสกเบรก 4. เหยียบเบรกแลวมีอาการหนักหรือแข็งกระดาง เพราะเหตุใด ก. หมอลมเบรกรั่ว มีลมเขาไปได ข. มีอากาศในระบบเบรก ค. น้ํามันเบรกหมด ง. ลูกยางแมปมเบรกชํารุด 230 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5. อุปกรณใดตอไปนี้ ชวยผอนแรงในการเหยียบเบรก ก. คาลิปเปอร ข. แมปมเบรก ค. ผาเบรก ง. หมอลมเบรก ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 6. ดิสกเบรกแบบกามปูแกวงได พบมากในรถยนตทั่วไป โดยจะมีลูกปมหนึ่งตัว คอยดันผาเบรกแผนหนึ่ง สวนผาเบรกอีกแผนจะติดอยูกับตัวกามปู 7. ชุดหามลอแบบดรัมเบรก เมื่อไดรับแรงดันน้ํามันเบรก คาลิปเปอรซึ่งมีผาเบรก ติดอยู จะหนีบผาเบรกเขากับจานเบรก 8. ระบบดรัมเบรก จะใชกามเบรกแทนการใชผาดิสกเบรกในการเสียดสีใหเ กิด ความฝด 9. ขอดีของระบบดรัมเบรก คือสามารถถายเทความรอนที่เกิดจากการเสียดสี ระหวางผาเบรกในดรัมเบรกไดดี 10. หลังจากที่เครื่องยนตไมทํางาน เราจะยังเหยียบเบรกไดอยางนุมนวล อีก เพียงแค 2-3 ครั้ง เพราะอากาศดานนอกหมอลมเบรกก็จะเขาไปอยูในหม อลม เบรก
231 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ
ก
ข
ค
ง
1 2 3 4 5 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
6 7 8 9 10
232 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 6.1 การเปลี่ยนผาดิสกเบรก 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนผาดิสกเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2 ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 2 ชั่วโมง 3 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนผาดิสกเบรก
233 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.1 การเปลี่ยนผาดิสกเบรก 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - หนากากชนิดแผนกรองอากาศ - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. ลิฟตยกรถ
จํานวน 1 ตัว
3. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
4. ประแจถอดนอตลอ
จํานวน 1 ตัว
5. ประแจวัดแรงบิด
จํานวน 1 ตัว
6. ปมลม
จํานวน 1 ตัว
7. ปนเปาลม
จํานวน 1 ตัว
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ
234 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. เชือกไนลอน
จํานวน 1 เสน
3. ผาดิสกเบรก
จํานวน 1 ชุด
4. จาระบี
จํานวน 1 กระปอง
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนผาดิสกเบรก ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
จอดรถใหตรงกับตําแหนงของลิฟตยกรถ
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียรใน ตําแหนง N ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
235 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
3. คลายนอตลอดวยประแจขันนอตลอ
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ใชประแจคลายนอตลอออกทีละตัว ตามลําดับ แคพอนอตหลวม
4. ยกรถขึ้น
ยกรถขึ้นดวยลิฟตยกรถแบบ 2 เสา ใหลอ ระวังรถตกจากลิฟตยก ลอยขึ้นจากพื้น
รถ โดยคานยกจะต อง อยูในระดับเดียวกันทั้ง ซายและขวา
5. ถอดนอตลอดวยประแจขันนอตลอ
ใชประแจถอดนอตลอออกทีละตัว
6. ถอดลอออกจากดุมลอ
ตามลําดับ ถอดลอออกจากดุมลอ และวางลอรถยนต ระวั ง ล อ หล น ทั บ เท า ใหถูกตอง
หรื อ ส ว นอื่ น ๆ ของ รางกาย
236 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
7. ถอดโบลตและนอตยึดคาลิปเปอร
ถอดโบลตและนอตยึดคาลิปเปอรออก
8. ถอดผาดิสกเบรก
ถอดผาดิสกเบรกเกาออกจากคาลิปเปอร และใชเชือกผูกยึดคาลิปเปอรเบรกไว เพื่อ ปองกันทอเบรกชํารุด
237 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
9. ทําความสะอาดชุดคาลิปเปอรและจานดิสกเบรก หมุ น ดุ ม ล อ และใช ป น ลม เป า ทํ า ความ สะอาดชุดคาลิปเปอรและจานดิสกเบรก
10. ประกอบแผนกันเสียง
ประกอบแผนกันเสียงเขากับผาดิสกเบรก ใหมดวยการทาจาระบี
11. ประกอบผาดิสกเบรก
ประกอบผาดิสกเบรกเขากับคาลิปเปอร
238 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 12.ประกอบชุดคาลิปเปอรเขากับจานดิสกเบรก
คําอธิบาย ใช มื อ ดั น ลู ก สู บ ของคาลิ ป เปอร ใ ห ยุบ ตัว จนสามารถประกอบชุดคาลิปเปอรเขากับ จานดิสกเบรกได ขันนอตยึดชุดคาลิปเปอรเขากับดุมลอให แนนตามคาแรงขันที่กําหนด
13. ทดสอบการทํางานของดิสกเบรก (1)
ติดเครื่องยนต และเหยียบเบรก ขณะเหยียบเบรก ใชมือหมุนดุมลอ ซึ่งดุม ลอจะตองไมหมุน
14. ทดสอบการทํางานของดิสกเบรก (2)
ปลอยเบรก และใชมือหมุน ดุมล อ ซึ่งดุม ลอจะตองหมุน
239 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
15. ประกอบลอเขากับดุมลอ
ประกอบล อ เข า กั บ ดุ ม ล อ ด ว ยคว าม
16. ใชมือขันนอตลอ
ระมัดระวัง
ขอควรระวัง
ขั น นอตล อ ที ล ะตั ว ตามลํ า ดั บ โดยใช มื อ หมุนนอตลอใหแนนแบบพอตึงมือ
17. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจขันนอตลอ
ใชป ระแจขัน นอตลอ ขัน นอตซ้ําใหแ น น พอตึงมือ
18. นํารถลงพื้น
ลดระดั บ ลิ ฟ ต ย กรถจนกระทั่ ง รถอยู ใ น ระวังอยาให มี คนหรื อ
19. ขันนอตลอซ้ําดวยประแจวัดแรงบิด
ระดับปกติ
สิ่ ง กี ด ขวางใต ท อ งรถ หรื อ บริ เ วณใกล เ คี ย ง ขณะนํารถลง
ใชประแจวัดแรงบิดขันนอตลอซ้ําอีกครั้ง ตั ้ง คา แรงบิด ใหต รง ตามลําดับ โดยตั้งคาแรงบิดใหตรงตามที่ ตามที่คูมือซอมประจํา คูมือซอมประจํารถยนตกําหนด
รถยนตกําหนด เพราะ หากขัน นอตลอ แนน ไมเ พีย งพอ นอตอาจ หลุดขณะเคลื่อนที่จ น เกิดอุบัติเหตุ
240 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
20. ทํ า ความสะอาดและจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริ เ วณสถานที่ อุปกรณ
ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การถอดนอตลอ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การวางลอรถยนต
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
การถอดผาดิสกเบรก
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
การเปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรก
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
การขันนอตลอหลังประกอบลอ
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
9
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
10
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
11
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
241 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง
3
รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง หนากากชนิดแผนกรอง ครบทั้ง 4 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน อากาศ ไดอยางถูกตองและครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 3 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 1 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน 3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การถอดนอตลอ
ถอดนอตลอถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขัน้ ตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถอดนอตลอไมเปนไปตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน หรือ ถอดนอตลอไมออก ใหคะแนน 0 คะแนน
242 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
การวางลอรถยนต
ขอกําหนดในการใหคะแนน
วางลอรถยนตในตําแหนงที่ถูกตอง และวางฝงที่กระทะลอ
คะแนน เต็ม 3
เวาลงกับพื้น ใหคะแนน 3 คะแนน วางลอรถยนตในตําแหนงที่ไมถูกตอง หรือวางฝงที่กระทะ ลอนูนลงกับพื้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน วางลอรถยนตในตําแหนงที่ไมถูกตอง และวางฝงที่กระทะ ลอนูนลงกับพื้น ใหคะแนน 0 คะแนน 6
การถอดผาดิสกเบรก
ถอดผาดิสกเบรกถูกตองทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน
5
ถอดผาดิสกเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน ถอดผาดิสกเบรกไมถูกตองตามขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอดผาดิสกเบรกไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 7
การเปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรก
เปลี่ ย นผ า ดิ ส ก เ บรกและประกอบชุ ด ดิ ส ก เ บรกถู ก ต อ ง
5
ทุกขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน เปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรกไมถูกตองตาม ขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 4 คะแนน เปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรกไมถูกตองตาม ขั้นตอน 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน เปลี่ยนผาดิสกเบรกและประกอบชุดดิสกเบรกไมถูกตองตาม ขั้นตอนมากกวา 2 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 8
การขันนอตลอหลังประกอบลอ
ขันนอตลอถูกตองตามขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ขันนอตลอไมถูกตองตามขั้นตอนมากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 9
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
243 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 10
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 11
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
37
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 26 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
244 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 6.2 การตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบเบรกได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต
245 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 6.2 การตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝกจํานวน 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
246 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบการทํางานของหมอลมเบรกรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. จอดรถ
คําอธิบาย โ ดยพื้ น ที่ จ อดรถต อ งมั่ น คงแล ะ แข็งแรง
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณี ที่ เ ป น รถยนต อั ต โนมั ติ ให เ ข า เกี ย ร ใ นตํ า แหน ง P ถ า เป น เกี ย ร ธรรมดา ใหเขาเกียร ที่ตํ าแหน งเกี ย ร วาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
3. คลุมผาสําหรับซอม
คลุมผาสําหรับซอมบริเวณพวงมาลัย หัวเกียร และเบาะนั่ง
247 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. เหยียบแปนเบรก
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
ให ผู รั บ การฝ ก ทดลองเหยี ย บแป น ระดั บ น้ํ า มั น เบรก เบรกใหจมลง 2-3 ครั้ง เพื่อตรวจสอบ จะตองอยูระหวาง การทํางาน ซึ่งแปนเบรกจะใหแรงกด ขีด MAX กับ MIN มากกวาปกติ
5. สังเกตการทํางานของเบรก ครั้งที่ 1
ติ ด เครื่ อ งยนต ค า งไว สั ก ครู และดั บ เครื่องยนต จากนั้น ทดลองเหยียบแปนเบรกด ว ย กํา ลัง ปกติ 2 -3 ครั้ง ถาแปนเหยียบ เบรกสูงขึ้นตามลําดับแสดงวา หมอลม เบรกทํางานปกติ
6. สังเกตการทํางานของเบรก ครั้งที่ 2
ติดเครื่องยนตอีกครั้ง และเหยียบแปน เบรก จากนั้น ดับเครื่องยนต โดยยังคง เหยี ย บแป น เหยี ย บเบรกค า งไว ประมาณ 30 วินาที
248 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
7. สังเกตความสูงแปนเหยียบเบรก
ใหผูรับการฝกสังเกตความสูงของแปน เหยียบเบรก หากไมมีการเปลี่ยนแปลง แสดงวาหมอลมเบรกทํางานปกติ
8. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
249 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การตรวจสอบหมอลมเบรกขั้นที่หนึ่ง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การตรวจสอบหมอลมเบรกขั้นที่สอง
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
250 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง 2
ใหคะแนน 0 คะแนน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบหมอลมเบรกครั้งที่ 1
ตรวจสอบหมอลมเบรกไดถกู ตองตามขัน้ ตอน และสามารถ สังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบหม อลมเบรกไม ถูกต องตามขั้นตอน 1 ขั้ นตอน หรื อ ไม สามารถสั งเกตอาการผิ ดปกติ ได (ถ า มี ) อย า งใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบหม อ ลมเบรกไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอนมากกว า 1 ขั้นตอน และ ไมสามารถสังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 0 คะแนน
251 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
การตรวจสอบหมอลมเบรกครั้งที่ 2
ตรวจสอบหมอลมเบรกไดถกู ตองตามขัน้ ตอน และสามารถ สังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 5 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
5
ตรวจสอบหม อลมเบรกไม ถูกต องตามขั้นตอน 1 ขั้ นตอน หรื อ ไม สามารถสั งเกตอาการผิ ดปกติ ได (ถ า มี ) อย า งใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบหมอลมเบรกไมถกู ตองตามขัน้ ตอนมากกวา 1 ขั้นตอน และ ไมสามารถสังเกตอาการผิดปกติได (ถามี) ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 252 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 7 0921020307 ระบบไฟฟาในรถยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.
ระบบชารจไฟ (Charging System) ระบบไฟสตารท (Staring System) ระบบจุดระเบิด (Ignition System) ระบบไฟฟาสองสวาง ระบบไฟสัญญาณ
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 253 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
- คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ - ผาเช็ดทําความสะอาด จํานวน 2 ผืน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) คอยลระบบจุดระเบิดแบบธรรมดา จํานวน 1 ลูก 2) เครื่องมือชางพื้นฐาน จํานวน 1 ชุด 3) มัลติมิเตอร จํานวน 1 ตัว 4) รถยนตนั่งสวนบุคคล จํานวน 1 คัน 5) หลอดไฟเลี้ยว จํานวน 1 ชุด
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 254 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ธีระยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางรถยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอช.เอ็น. กรุป จํากัด ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2540. ทฤษฎีและปฏิบัติเครื่องลางรถยนต. กรุงเทพฯ.: เอช.เอ็น. กรุป จํากัด
255 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 222-271 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก อัลเตอรเนเตอร เร็กกูเรเตอร มอเตอรสตราท คอยลจุดระเบิ ด มัลติมิเตอร หลอดไฟแบบตาง ๆ 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟาในรถยนต
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ระบบไฟฟาใน 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น รถยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 222-271
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่อง ระบบไฟฟาในรถยนต หนาที่ 222-271 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงคิดดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช คู มื อ ผู รั บ การฝ ก หนาที่ 225-248 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ระบบชารจไฟ (Charging System) 2.2 ระบบไฟสตารท (Staring System) 256 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 ระบบจุดระเบิด (Ignition System) 2.4 ระบบไฟฟาสองสวาง 2.5 ระบบไฟสัญญาณ 3. ใหผูรับการฝกศึกษาชิ้นสวนของระบบไฟฟา 3. ศึกษาชิ้นสวนของระบบไฟฟารถยนตและบอกชื่อ รถยนตและบอกชื่อชิ้นสวนตาง ๆ ชิ้นสวนตาง ๆ 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 249-251 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 249-251 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 285 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 7.1 การ 6. ศึกษาใบงานที่ 7.1 การตรวจสอบคอยลจุดระเบิด ตรวจสอบคอยลจุดระเบิด จากคูมือผูรับการฝก จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ 252-262 ซักถามขอ หนาที่ 252-262 สงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-03:15 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้ อ หา พร อ มแสดงความคิ ด เห็ น ด ว ยวาจาที่ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ สุภาพเรียบรอย ดังนี้ 7.1 วิธีตรวจสอบคอลยจุดระเบิด 7.2 การอานคามัลติมิเตอร 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 253 หนาที่ 287 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 257 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 13. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 7.2 การเปลี่ยน 13. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 7.2 การเปลี่ยนหลอดไฟเลีย้ ว หลอดไฟเลี้ ย ว จากคู มือผู รั บ การฝ ก หนาที่ จากคูมือผูรับการฝ ก หนาที่ 263-271 ซั กถามข อ 263-271 สงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 03:18-07:21 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาสุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 14.1 วิธีการเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหนา 14.2 วิธีการเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวหลัง 14.3 การตรวจสอบการทํางานของไฟเลี้ยว 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 264 หนาที่ 298 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ระบบไฟฟาใน รถยนต ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ นผลรวมเรื่อง ระบบไฟฟ าใน รถยนต เ กี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
258 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 7 ระบบไฟฟา (Electrical System) ระบบไฟฟาในรถยนตเปนอุปกรณพื้นฐานที่รถยนตทุกคันตองมี ซึ่งหนาที่ของแตละระบบไฟฟาในรถยนตจะแตกตางกัน ออกไป และแตละระบบจะใชอุปกรณพื้นฐานในระบบที่แตกตางกัน โดยอุปกรณพื้นฐานของระบบไฟฟาในรถยนตที่สําคัญ อยางยิ่งคือ แบตเตอรี่ ซึ่งเปนสวนจายพลังงานใหกับระบบไฟฟาทุกระบบ 1. ระบบชารจไฟ (Charging System) ระบบชารจไฟในรถยนตจะใชแบตเตอรี่เป นตนกํ าเนิด พลังงานไฟฟ าที่นําไปจายไฟให กับ อุปกรณไฟฟาและอุ ป กรณ อํานวยความสะดวกตาง ๆ ในรถยนต ซึ่งการนําพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่ไปใชกับอุป กรณไฟฟาและอุปกรณ อํานวย ความสะดวกในรถยนต อาจทําใหแบตเตอรี่หมดพลังงานไปได ดังนั้น จึงจําเปนตองนําแบตเตอรี่รถยนตไปทําการประจุไฟใหม ทุกครั้ง ซึ่งทําใหเกิดความยุงยาก และการแกไขปญหาเบื้องตนก็จะตองนําเอาแบตเตอรี่ไปชารจไฟอยูบอย ๆ จึงมีการคิดค น เครื่องกําเนิดไฟฟาเพื่อผลิตกระแสไฟฟาสําหรับจายใหกับอุปกรณตาง ๆ ในรถยนตขณะที่เครื่องยนตทํางาน และในเวลา เดียวกันก็จะประจุไฟเขาไปไวในแบตเตอรี่ เพื่อใหมีพลังงานสํารองเพียงพอที่จะใชงานเมื่อไมไดสตารทเครื่องยนตดวย ในที่นี้ เราเรียกวา ระบบไฟชารจ (Charging system) การผลิตพลังงานไฟฟาของเครื่องกําเนิดไฟฟาตางกับการผลิตพลังงานไฟฟา ของแบตเตอรี่รถยนต โดยที่เครื่องกําเนิดไฟฟาในรถยนตสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดไมสิ้นสุดตราบเทาที่เครื่องยนตยังทํางาน อยูอยางตอเนื่อง 1.1 การชารจไฟแบตเตอรี่รถยนต ระบบไฟชาร จ รถยนต ห รื อ ระบบประจุ ไ ฟในรถยนต ได นํ า เครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ า กระแสสลับ เข า มาใช เรี ย กว า อัลเตอเนเตอร (Alternator) ซึ่งปจจุบันมีอยูดวยกัน 2 ชนิด แบงตามลักษณะของตัวควบคุม ไดแก ระบบไฟชารจรถยนต ที่ใชรีเลยเร็กกูเรเตอร ควบคุ มภายนอกอัลเตอเนเตอร และระบบไฟชาร จรถยนตที่ใชไอซี เร็กกูเรเตอร ควบคุมอยูภายใน อัลเตอเนเตอร
ภาพที่ 7.1 อัลเตอเนเตอรชนิดรีเลยเร็กกูเรเตอร
259 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.2 อัลเตอเนเตอรชนิด ไอซี เร็กกูเรเตอร อัลเตอเนเตอร หรือเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ เรียกทับศัพทวา อัลเตอเนเตอร เปนอุปกรณที่สําคัญของระบบชารจ โดยจุดมุงหมายของระบบชารจคือจายกระแสไฟฟาใหแกอุปกรณไฟฟาทั้งหมด และทําใหแบตเตอรี่อยูในสภาพที่มีประจุเต็ม ในปจจุบัน รถยนตจําเปน จะต องใช กระแสไฟฟามากกวาเมื่อกอน นอกจากนี้ ยังตองใชเวลาในการขับรถยนต ดว ย ความเร็ ว รอบต่ํ ามากขึ้ น เนื่ องจากสภาพการติดขัดของการจราจร จากตัว ประกอบทั้งสองนี้ทําใหมีความตองการ เยนเนอเรเตอรท่ีสามารถทําใหเกิดอัตราการประจุสูงขึ้น ทั้งในขณะความเร็วต่ําและเครื่องยนตเดินเบา ซึ่งทําไดโดยใช เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ขอดีของอัลเตอเนเตอร มีขนาดกะทัดรัดกวา ดี.ซี เยนเนอเรเตอร น้ําหนักนอยกวา และไมตองการการบริการมากนัก อัลเตอเนเตอรจะสงกระแส 6-10 แอมแปร ในขณะที่เครื่องยนตเดินเบา แต ดี.ซี เยนเนอเรเตอรที่ความเร็วรอบเทากัน อาจไมสามารถสรางกระแสใหไหลไปไดมากพอที่จะทําใหหนาคอนแท็คของคัทเอาทรีเลยตอกันได
ภาพที่ 7.3 ตําแหนงของอัลเตอเนเตอร 1.2 การตรวจสอบอัลเตอเนเตอรบนรถยนตกอนถอดออกมาตรวจซอม เมื่อเกิดปญหาขึ้นกับระบบไฟชารจ ควรตรวจสอบอัลเตอเนเตอรบนรถยนตกอน ใหแนใจวาเกิดเหตุบกพรอง จากอัลเตอเนเตอร แลวจึงทําการถอดอัลเตอเนเตอรออกตรวจซอม สวนประกอบตาง ๆ ของอัลเตอเนเตอร แสดงดังภาพที่ 7.4 ถึง ภาพที่ 7.7 260 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.4 สวนประกอบของอัลเตอเนเตอร (ฮิตาชิ)
ภาพที่ 7.5 สวนประกอบของอัลเตอเนเตอรที่มีปมสุญญากาศติดอยูดานหลัง
261 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.6 สวนประกอบของอัลเตอเนเตอรที่มีไดโอดแบบธรรมดาและแบบรวมชุด
ภาพที่ 7.7 สวนประกอบของอัลเตอเนเตอร(มิตซูบิชิ) 1.3 การตรวจวัดคาความตานทานระหวางขั้ว F และ E การตรวจวัดคาความตานทานระหวางขั้ว F และ E เปนการตรวจวัดเพื่อหาวาขดลวดโรเตอรขาดหรือไม แปรงถาน หมดหรือไม และวงแหวนสลิป ริงสกปรกหรือไม โดยการใชโอหมมิเตอรวัดระหวางขั้ว F และ E ถาเข็มขึ้นแสดงว า ขดลวดโรเตอรไมขาด แปรงถานไมหมด และคาความตานทานประมาณ 4 โอหม แสดงวาวงแหวนสลิปริงไมสกปรก แต 262 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ถาคาความตานทานมากกวา 4 โอหม ก็แสดงวาวงแหวนสลิปริงสกปรก หากการวัดไมเปนไปตามนี้ ใหถอดอัลเตอเนเตอร ออกตรวจซอม ดังภาพที่ 7.8
ภาพที่ 7.8 แสดงการวัดคาความตานทานระหวางขั้ว F และ E 1.4 การตรวจวัดการลัดวงจรของไดโอดบวก ตรวจวัดดวยโอหมมิเตอรโดยใหสายบวกตอเขาที่ขั้ว N และสายลบตอเขาที่ขั้ว B ของอัลเตอเนเตอร ถาไดโอดบวก ปกติเข็มจะไมกระดิกขึ้น แตถาหากเข็มกระดิกขึ้นแสดงวาไดโอดบวกลัดวงจร และเมื่อสลับสายของโอหมมิเตอร เข็มจะ กระดิกขึ้นแสดงวาไดโอดบวกเปนปกติ หากการวัดไมเปนไปตามนี้ ใหถอดอัลเตอเนเตอรออกตรวจซอม ดังภาพที่ 7.9
ภาพที่ 7.9 การวัดการลัดวงจรของไดโอดบวก
263 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.5 การตรวจวัดการลัดวงจรของไดโอดลบ ตรวจวั ด ดวยโอห มมิเ ตอรโดยให สายลบตอเขาที่ขั้ว N และสายบวกตอเขาที่ขั้ว E ของอัล เตอเนเตอร เข็มจะ ไมกระดิกขึ้น แตถาเข็มกระดิกขึ้นแสดงวาไดโอดลบลัดวงจร และเมื่อสลับสายของโอหมมิเตอร เข็มจะกระดิกขึ้นแสดงวา ไดโอดลบเปนปกติ หากการวัดไมเปนไปตามนี้ ใหถอดอัลเตอเนเตอรออกตรวจซอม ดังภาพที่ 7.10
ภาพที่ 7.10 การวัดการลัดวงจรของไดโอดลบ 1.6 วงจรระบบไฟชารจรถยนต การออกแบบวงจรระบบไฟชารจในรถยนต มีการออกแบบวงจรที่แตกตางกันออกไปตามลักษณะของอุปกรณที่ใช ควบคุม โดยจะออกแบบตามลักษณะของเครื่องยนตแตละรุนการตอวงจรไฟชารจนั้น ผูปฏิบัติงานจะตองปฏิบัติตามคูมือ ของรถยนตแตละรุน แตโดยทั่วไปจะมีลักษณะการทํางานที่คลายคลึงกัน และมีการตอวงจรอยู 2 แบบ ตามชนิดของตัวควบคุม 1) วงจรชารจไฟชนิดรีเลยเร็กกูเรเตอรควบคุม มีหลักการทํางาน ดังนี้ เมื่ อ เป ด สวิ ต ซ จุ ด ระเบิ ด ไปที่ ตํ า แหน ง ON กระแสไฟฟ า จากแบตเตอรี่ น้ั น จะผ า นขั้ ว Ig ของสวิ ต ซ จุดระเบิดผานฟวสไฟชารจเขาขั้วของ Ig ของเร็กกูเรเตอร ผานคอนแทก V1 และ V0 ซึ่งตอกันผานไปยังขั้ว F ของเร็กกูเรเตอร เขาขั้ว F ของอัลเตอเนเตอรผานขดลวดโรเตอร ลงกราวขั้ว E ครบวงจร ทําใหเกิดอํานาจ แมเหล็ก ขณะเดี ย วกัน กระแสไฟฟาอีกสวนหนึ่งที่ผานขั้ว Ig ของสวิตชจุด ระเบิ ด จะผานเข าขั้ว L ของ เร็กกูเ รเตอร ผานคอนแทก L0 และ L1 ตอตามลําดับ ลงกราวดที่ขั้ว E ของเร็กกูเรเตอร ทําใหหลอดเตือน ไฟชารจติด
264 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.11 วงจรชารจไฟชนิดรีเลยเร็กกูเรเตอรควบคุม เมื่อเครื่องยนตทํางานที่ความเร็วรอบต่ํา ชุดโรเตอรจะหมุนดวยความเร็วรอบต่ํา สนามแมเหล็กที่เกิดขึ้น ที่โรเตอรจะหมุนตัดกับขดลวดสเตเตอร ทําใหขดลวดสเตเตอรสามารถผลิตไฟฟาสงออกมาโดยผานชุดไดโอด เพื่อเรียงกระแสไฟฟาออกมาที่ขั้ว B ของอัลเตอเนเตอร และมีกระแสไฟฟาสวนหนึ่งออกมาที่ขั้ว N ของอัลเตอเนเตอร ซึ่งจะไดแรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้ว N เปนครึ่งหนึ่งของขั้ว B กระแสไฟฟาที่สงออกมาที่ขั้ว N ของ อัลเตอเนเตอร จะผานไปยังขั้ว N ของเร็กกูเรเตอร ผานเขาขดลวดชุดควบคุมหลอดไฟเตือนไฟชารจ ลงกราวดครบวงจร ทําใหแกนเหล็กออนของขดลวด ชุดควบคุมหลอดไฟเตือนไฟชารจ เกิดอํานาจแมเหล็กสูงพอที่จะเอาชนะ แรงสปริงดูดใหคอนแทก L0 แยกออกจาก L1 ลงมาตอกับคอนแทก L2 ทําใหกระแสไฟฟาที่ผานหลอดไฟ เตือนไฟชารจไมสามารถผานคอนแทก L1 ไปลงกราวดได เปนผลใหหลอดไฟเตือนไฟชารจดับ จั ง หวะลดปริ ม าณการผลิ ต ไฟฟ า เมื ่ อ เครื ่ อ งยนต ม ี ค วามเร็ ว รอบสู ง ขึ ้ น หรื อ ระบบไฟฟ า มี ความต อ งการใช ไ ฟน อยลง ในจังหวะนี้ กระแสไฟฟ า ที่ ส ง ออกที่ ขั้ว B ของอัล เตอเนเตอร ที่ จ ะไปเลี้ ย ง อุปกรณไฟฟาต าง ๆ ในรถยนตและชารจ ไฟใหแกแบตเตอรี่นอยลง กระแสไฟฟาที่ผลิตไดจ ะเขา ที ่ขั้ว B (หรือ ขั ้ว A) ของเร็ก กูเ รเตอรม ากขึ ้น ผา นคอนแทก L2 ไปคอนแทก L0 เขา ขดลวดของชุ ด ควบคุ ม แรงเคลื่ อนไฟฟ า ลงกราวดครบวงจร ทําใหแกนเหล็กของชุดควบคุมแรงเคลื่อนไฟฟามีอํา นาจแมเ หล็ก เมื่อแรงเคลื่อนไฟฟา ที่ อัล เตอเนเตอรผ ลิต ไดสูง ขึ้น ถึง พิกั ด ที่ตั้งไวป ระมาณ 14.5 โวลต คอนแทก V0 จะ ถูกดึงใหแยกออกจาก คอนแทก V1 แตยังไมตอกับคอนแทก V2 ซึ่งในชวงนี้จะทําใหกระแสไฟฟาที่ไปเลี้ยง ขดลวดโรเตอร ไม ส ามารถผ า นคอนแทก V1 ไดโ ดยตรง กระแสไฟฟา ที ่ไ ปเลี้ย งขดลวดโรเตอรตอ งผาน 265 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ตัวตานทาน (R) ทําใหมีกระแสไฟฟาไปเลี้ยงขดลวดโรเตอรนอยลง ซึ่งจะทําใหความเขมของสนามแมเหล็กที่ โรเตอรลดลงดวย เปนผลใหอัลเตอเนเตอรผลิตไฟฟาลดลง 2) วงจรไฟชารจชนิด ไอ ซี เร็กกูเรเตอรควบคุม ระบบไฟชารจชนิดนี้จะใชอัลเตอเนเตอรที่ใชตัวควบคุมไฟชารจเปนแบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งมีวงจรขนาดเล็ก รวมกันอยูภายใน โดยมีหลักการทํางานดังนี้ เมื่อเปดสวิตชจุดระเบิดในตําแหนง ON แรงดันไฟจากแบตเตอรี่จะไหลไปยังขั้ว Ig ของไอซีเร็กกูเรเตอร เพื่อเปนสัญญาณเริ่มการทํางาน เมื่อ MIC ตรวจจับพบสัญญาณ Ig จะสั่งให Tr1 ทํางาน ทําใหกระแสไฟ ที่ไหลจากแบตเตอรี่ผานขั้ว B ผานขดลวดโรเตอรสามารถลงกราวดที่ Tr1 ไดครบวงจร ในขณะที่เครื่องยนต ยังไมหมุน เพื่อที่จะลดการจายไฟของแบตเตอรี่ และเพื่อไมใหมีภาระมากเนื่องจากความฝดของอัลเตอเนเตอร ในขณะสตารทเครื่องยนต ดังนั้น MIC ควบคุมกระแสไฟที่จะไปขดลวดโรเตอรใหอยูในคาที่นอยประมาณ 0.2 A โดยการตัดและตอการทํางานของ Tr1 เปนจังหวะ และเมื่อเครื่องยนตยังไมหมุน แรงดันไฟที่ขั้ว P เปน 0 V MIC จะสั่งให Tr2 ไมทํางานแต Tr3 ทํางาน จึงทําใหหลอดเตือนไฟชารจติด
ภาพที่ 7.12 วงจรชารจไฟชนิด ไอ ซี เร็กกูเรเตอรควบคุม
266 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เมื่อเครื่องยนตทํางาน อัลเตอเนเตอรเริ่มผลิตกระแสไฟฟาจะมีแรงดันไฟฟาจายออกมาที่ขั้ว P สูงขึ้น MIC ตรวจจับพบสัญญาณไฟจากขั้ว P จะควบคุมให Tr1 เปลี่ยนการทํางานจากจังหวะเปด - ปด เปนการตอวงจร อยางตอเนื่อง ทําใหกระแสไฟฟาจากขั้ว B ไหลเขาขดลวดโรเตอรและผาน Tr1 ลงกราวดไดมากขึ้น ทําใหโรเตอร เปนสนามแมเหล็กมากขึ้น และขณะเดียวกันเมื่อ MIC ตรวจจับวามีแรงดันไฟที่ขั้ว P ก็จะสั่งให Tr3 หยุดทํางาน และให Tr2 ทํางาน ดังนั้น แรงดันไฟจึงไมมีความแตกตางกันระหวางขั้วทั้งสองของหลอดไฟเตือน จึงเปน ผลทําใหหลอดไฟเตือนไฟชารจดับ การทํางานตําแหนงควบคุมการจายไฟตามคาที่กําหนด เมื่อ Tr1 ยังคงทํางานและแรงดันไฟที่ขั้ว S สูงถึง คาที่กําหนด (14.5 V) เมื่อ MIC ตรวจจับไดคาที่สูงถึงคาที่กําหนดก็จะสั่งให Tr1 หยุดการทํางาน และหาก ค า แรงดั น ที่ ขั้ ว S ลดต่ํ า ลงกว า ค า ที่ กํ า หนด Tr1 ก็ จ ะทํ า งานอี ก ครั้ ง โดยจะทํ า งานซ้ํ า ๆ ในลั ก ษณะนี้ อย างต อเนื่ อง แรงดั น ไฟที่ ขั้ว S จึ งถูกรักษาใหอยูในคาที่กําหนดตลอดเวลาถึงแม Tr1 จะหยุ ดทํางานก็ เปนเพียงชวงเวลาสั้น ๆ ดังนั้น ที่ขั้ว P ก็ยังคงมีแรงดันไฟอยูจึงทําให Tr3 ยังคงไมทํางานและ Tr2 ทํางานเชนเดิม ไฟเตือนไฟชารจจึงยังคงดับตลอดเวลาที่เครื่องทํางาน 2. ระบบไฟสตารท (Start System) ระบบสตารท ทําใหเกิดการเริ่มตนการหมุนของเพลาขอเหวี่ยง เพื่อใหเกิดวัฏจักรการทํางานของเครื่องยนตคือ ดูด อัด ระเบิด และคาย จากนั้นเครื่องยนตก็จะทําการหมุนตอเนื่อง ดวยการทํางานตามรอบการทํางานของเครื่องยนต ในระบบไฟสตารท จะมีอุปกรณเฉพาะวงจรคือ มอเตอรสตารท 2.1. มอเตอรสตารท มอเตอรสตารทมีหนาที่เปลี่ยนพลังงานกลเพื่อสงกําลังใหเครื่องยนตเริ่มตนในการหมุน โดยที่มอเตอรสตารทจะถูก ติดตั้งอยูกับตัวเครื่องยนต มอเตอรสตารทนั้นจะมีแกนชุดฟนเฟองขับกับเฟองของลอชวยแรง และลอชวยแรงจะพาให เพลาข อเหวี่ ยงหมุน ไปดวย จึ งเป น การเริ่มต นในการทํางานของเครื่องยนต โดยทั่ว ไปจะมีสวนประกอบอยูดวยกัน 2 สวน คือ มอเตอรและโซลินอย สวนประกอบตาง ๆ ของมอเตอรสตารตนั้นจะมีทั้งหมด ดังภาพที่ 7.6
267 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1. สกรูยึดฟลดคอยล
15. เรือนมอเตอรสตารทชุดหนา
2. เรือนมอเตอรสตารท
16. กามปู
3. ขั้วแมเหล็ก
17. แหวนล็อก
4. ขดลวดฟลดคอยล
18. นอตล็อกเฟองขับ
5. แปรงถาน
19. ชุดโอเวอรรันนิ่งคลัตช
6. สปริงแปรงถาน
20. ซองแปรงถาน
7. ฝาครอบคอมมิวเทเทอร
21. ทุนอารเมเจอร
8. บุชอารเมเจอร
22. ยางกันสายไฟ
9. ปะเก็น
23. สลักเกลียวยึดเรือนมอเตอรสตารท
10. เบรกสปริง
24. ชุดกามปู
11. แผนล็อก
25. แผนกั้นสวิตชแมเหล็ก
12. ฝาครอบ
26. ยางรองฉนวน
13. แหวนรอง
27. สวิตชแมเหล็ก
14. บุช ภาพที่ 7.13 สวนประกอบของมอเตอรสตารท
268 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2.2. หนาที่ของมอเตอรสตารทและอุปกรณในมอเตอรสตารท - โครงมอเตอรสตารท ทําหนาที่ยึดจับอุปกรณตาง ๆ ของมอเตอรสตารท - ฟลดคอยล ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานแมเหล็ก - อารเมเจอร ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานแมเหล็กไฟฟา ซึ่งประกอบดวยแกนเหล็กที่มี เพลาสวมอยูระหวางแกน - สปริงแปรงถาน ทําหนาที่กดใหแปรงถานแนบติดกับคอมมิวเทเทอรตลอดเวลา - แปรงถาน ทําหนาที่นําไฟฟาจากจุดที่อยูกับที่ไปยังจุดเคลื่อนที่ - พลันเจอร ทําหนาที่เคลื่อนที่ไปมาเมื่อเกิดอํานาจแมเหล็กจากโซลินอย เปนสวนที่ทําใหสะพานโซลินอย ตัดหรือตอขั้วหลัก - โซลินอย ทําหนาที่สรางแมเหล็กไฟฟา ซึ่งประกอบดวยขดลวดชุดดึง และขดลวดชุดยึด - คลัตชสตารท ทําหนาที่เปนคลัตชทางเดียวใหมอเตอรสตารท - เฟองขับ ทําหนาที่รับแรงจากเพลามอเตอรสตารทไปขับเฟองลอชวยแรงใหหมุน จํานวนฟนเฟ องขับ มอเตอรสตารทจะนอยกวาจํานวนฟนเฟองลอชวยแรง จึงทําใหมีกําลังที่สูงขึ้น - เฟองสะพาน ทําหนาที่เปลี่ยนทิศทางการหมุนของเฟองขับและทดรอบของเฟอง 3. ระบบจุดระเบิด (Ignition System) ในเครื่องยนตแกสโซลีนสวนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศ (ไอดี) ที่ถูกอัดตัวในกระบอกสูบของเครื่องยนตจะเกิดการลุกไหมได ตองอาศัยระบบจุดระเบิด ซึ่งทําใหเกิดประกายไฟแรงสูงกระโดดขามที่เขี้ยวหัวเทียนในกระบอกสูบตามจังหวะที่เหมาะสม ประกายไฟแรงสูงที่เกิดขึ้นจะมีแรงเคลื่อนไฟฟาสูงประมาณ 20,000 โวลต (18,000 - 25,000 โวลต) 3.1 ระบบจุดระเบิดจะทํางานไดสมบูรณ ตองมีองคประกอบดังนี้ 1) ความแรงของประกายไฟที่กระโดดขามที่เขี้ยวหัวเทียน เมื่อไอดีถูกอัดตัวในกระบอกสูบจะทําใหประกายไฟ ที่กระโดดขามที่เขี้ยวหัวเทียนกระโดดขามไดยาก ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟาที่ผลิตจะตองสูงพอที่จะทําให เกิดประกายไฟกระโดดขามที่เขี้ยวหัวเทียนได 2) จังหวะจุดระเบิดที่เหมาะสมกับการที่จะใหไอดีเผาไหมไดอยางสมบูรณ หัวเทียนจะตองจุดประกายไฟใน ตําแหนงหรือจังหวะที่เหมาะสมกับความเร็วรอบและภาระของเครื่องยนต 3) อายุการใชงานของอุปกรณที่ยืนนานเครื่องยนตแกสโซลีนจะทํางานได ตองอาศัยการจุดประกายไฟ จากหัวเทียนในระบบจุดระเบิด ดังนั้น อุปกรณตาง ๆ ในระบบจุดระเบิดจะตองมีความทนทานมีอายุการใชงาน ที่ยืนนานจึงจะทําใหเครื่องยนตพรอมที่จะทํางานไดอยางเต็มประสิทธิภาพตลอดเวลา 269 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3.2 ระบบจุดระเบิดแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ระบบจุดระเบิดแบบธรรมดา และระบบจุดระเบิดแบบอิเล็กทรอนิกส 3.2.1 ระบบจุ ด ระเบิ ด แบบธรรมดา หมายถึ ง ระบบจุ ด ระเบิ ด ที่ ใ ช จ านจ า ยแบบหน า ทองขาวและ ใชคอยลจุดระเบิดแบบธรรมดา ระบบจุดระเบิดแบบธรรมดาประกอบดวยสวนประกอบที่สําคัญคือ แบตเตอรี่ สวิตชกุญแจคอยลจุดระเบิด หนาทองขาว คอนเดนเซอร จานจาย และหัวเทียน ในวงจรของ ระบบจุดระเบิดสามารถแบงออกเปน 2 วงจรยอยคือ 1) วงจรไฟแรงต่ํา (Low-tension circuit) จะเริ่มตนตั้งแต แบตเตอรี่จายกระแสไฟฟาผานสวิตช กุญแจ ผานเขาคอยลจุดระเบิดดานขดลวดปฐมภูมิ (Primary winding) ออกไปเขาจานจาย ผานหนาทองขาวที่ตอกันลงกราวดครบวงจร 2) วงจรไฟแรงสูง (High-tension circuit) จะเริ่มตนจากขั้วบวกของคอยลจุดระเบิด ผานขดลวด ทุ ติย ภู มิ (Secondary winding) ผานไปฝาครอบจานจาย ผานหัว โรเตอรไปยังหัว เทีย นลง กราวดครบวงจร
ภาพที่ 7.14 วงจรจุดระเบิดแบบธรรมดา การทํางาน เมื่อเปดสวิตชกุญแจในตําแหนง ON กระแสไฟฟาจากแบตเตอรี่จะไหลผานขั้ว B ของสวิตชกุญแจ ผาน ขั้ ว Ig เข า ขั้ ว บวกของคอยล จุ ด ระเบิ ด ผ า นขดลวดปฐมภู มิ อ อกขั้ ว ลบของคอยล จุ ด ระเบิ ด เข า จานจ า ย ถาหนาทองขาวตอกัน กระแสไฟฟาจะผานหนาทองขาวที่ตอกันลงกราวดครบวงจร ทําใหขดลวดปฐมภูมิเกิด อํานาจแมเหล็ก เมื่ อ สตาร ท เครื่ อ งยนต ใ นขณะที่ เ ครื่ อ งยนต ห มุ น เพลาลู ก เบี้ ย วจานจ า ยจะหมุ น ไปด ว ยจนกระทั่ ง ลูกเบี้ยวจานจายหมุนเปดหนาทองขาว ทําใหกระแสไฟฟาที่ไหลในขดลวดปฐมภูมิของคอยลจุดระเบิดถูกตัดวงจร 270 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เปนผลใหเสนแรงแมเหล็กที่เกิดรอบขดลวดปฐมภูมิยุบตัวอยางทันทีทันใด ตัดกับขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิ ในคอยลจุดระเบิดเหนี่ยวนําใหเกิดไฟแรงสูงประมาณ 20,000 โวลต ที่ขดลวดทุติยภูมิจายไปยังหัวเทียนตาม จั งหวะการจุ ด ระเบิ ด และยั งเหนี่ ย วนํ าให ขดลวดปฐมภู มิ เองเกิ ดแรงเคลื่ อนไฟฟ าประมาณ 500 โวลต ซึ่ ง กระแสไฟฟ า นี้ พยายามที่ จ ะกระโดดขามที่หนาทองขาว จึงตองมีคอนเดนเซอรตอขนานกับ หนาทองขาวไว เพื่อทําหนาที่เก็บประจุไฟฟาที่เกิดขึ้นไมใหกระโดดขามหนาทองขาว และเมื่อหนาทองขาวตอกันคอนเดนเซอรซึ่ง เก็บประจุไฟฟาอยูเต็มจะคายประจุไฟฟากลับเขาสูวงจร จนกระทั่งคอนเดนเซอรคายประจุหมด กระแสไฟฟาจาก แบตเตอรี่จึงเริ่มตนไหลเขาขดลวดปฐมภูมิเปนการเริ่มตนการทํางานของระบบจุดระเบิดอีกครั้งหนึ่ง 3.2.2 ระบบจุดระเบิดแบบอิเล็กทรอนิกส เปนระบบจุดระเบิดที่ใชอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เชน รีซิสเตอร และ ทรานซิสเตอร มาควบคุมการตัดและตอกระแสไฟฟาที่ไหลในขดลวดปฐมภูมิแทนหนาทองขาว ซึ่งระบบ จุดระบบแบบอิเล็กทรอนิกสมีอายุการใชงานนาน ลดการบํารุงรักษา และจุดระเบิดเครื่องยนตอยางมี ประสิทธิภาพ โดยแบงระบบจุดระเบิดดวยอิเล็กทรอนิกสออกเปน 5 ระบบ ดังนี้ 1) ระบบจุดระเบิดแบบกึ่งทรานซิสเตอร เนื่องจากระบบจุดระเบิดแบบหนาทองขาวมีอายุการใชงานสั้น เพราะมีกระแสไฟไหลผานจํานวนมากและเปนเวลานาน หนาทองขาวจึงร อนและสงผลให หน า สั ม ผั ส ของทองขาวเกิ ด รอยไหม ซึ่ ง เกิ ด จากการเสื่ อ มสภาพของคอนเดนเซอร ทํ า ให ประสิทธิภาพการจุดระเบิดลดลง จึงคิดคนระบบจุดระเบิดแบบกึ่งทรานซิสเตอรขึ้น ซึ่งระบบนี้ คอยลจุดระเบิดจะเปนคอยลแบบมีความตานทานภายนอก และมีตัวชวยจุดระเบิดอยูดานขาง ของคอยล ภายในตัวชวยจุดระเบิดประกอบดวย ทรานซิสเตอร 2 ตัว และรีซิสเตอร 2 ตัว 2) ระบบจุด ระเบิด แบบทรานซิส เตอร ระบบจุด ระเบิด นี ้จ ะใชช ุด กํา เนิด สัญ ญาณจั ง หวะ การจุ ด ระเบิ ด เป น ตั ว ส ง สั ญ ญาณไปยั ง ตั ว ช ว ยจุ ด ระเบิ ด เพื่ อ ตั ด และต อ กระแสไฟที่ ไหลผา นขดลวดปฐมภูมิแ ทนชุด หนา ทองขาว เนื่อ งจากชุด กํา เนิด สัญ ญาณการจุด ระเบิด และตั ว ช ว ยจุ ด ระเบิ ด ประกอบด ว ยขดลวด แม เ หล็ ก ถาวร และอุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ซี่ ง ไม มี ชิ้ น ส ว นที่ เ ป น โลหะมาสั ม ผั ส กั น ทํา ให ไ ม เ กิ ด การสึ ก หรอ และทําใหมีอายุการใช งานที่ยาวนาน นอกจากนี้การทํางานของอุปกรณอิเ ล็ก ทรอนิก สยัง ฉับ ไวและทนทาน ทํา ให กระแสไฟฟา แรงเคลื่อ นสูง ที่ข ดลวดทุติย ภูมิไ ม ล ดลง แม ค วามเร็ ว ของเครื่ อ งยนต จ ะ สู ง ขึ้ น ก็ ต าม 3) ระบบจุดระเบิดแบบ IIA หมายถึง ระบบจุดระเบิดแบบอุปกรณรวม คือ การนําคอยลจุดระเบิ ด ตัวชวยจุดระเบิด และชุดกําเนิดสัญญาณการจุดระเบิดมารวมไวภายในจานจาย มีขอดี คือ ทําใหมีขนาดเล็กกะทัดรัด น้ําหนักเบา ไมเปลื อ งเนื้ อ ที่ ก ารติ ด ตั้ ง ระบบจุดระเบิดประเภทนี้ 271 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
จะไมมีสายไฟแรงสูงจากคอยลจุดระเบิดไปยังจานจาย และสายไฟจากตัวชวยจุดระเบิดที่ตอไป ยังขดลวดกําเนิดสัญญาณรวมอยูภายในเรือนจานจาย จึงชวยลดปญหาเกี่ยวกับขั้วตอสายไฟ แตกหักหรือสายไฟขาดวงจรได ทั้งยังชวยปองกันน้ําและความชื้นดวย โดยระบบจุดระเบิด ประเภทนี้ มีใช อยู ในระบบจุดระเบิดแบบทรานซิสเตอรและระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส ควบคุมดวยคอมพิวเตอร 4) ระบบจุดระเบิดแบบควบคุมดวยคอมพิวเตอร ประกอบดวย เซ็นเซอรตรวจจับการทํางานตาง ๆ ของเครื่องยนต เชน ตัวจับมุมเพลาขอเหวี่ยงและความเร็วรอบเครื่องยนต ตัวตรวจจับอุณหภูมิน้ํา ตัวตรวจจับตําแหนงลิ้นเรง ตัวตรวจจับการน็อก ตัวตรวจจับแรงดันอากาศ สั ญ ญาณจากสวิ ต ช การจุ ด ระเบิ ด เป น ต น นอกจากนี้ ยั ง ประกอบด ว ยอุ ป กรณ ห ลั ก ของระบบจุ ด ระเบิ ด อีกดวย เชน คอยลจุดระเบิด ตัวชวยจุดระเบิด คอมพิวเตอร เปนตน ซึ่งระบบจุดระเบิดประเภทนี้ จ ะ ใชคอมพิว เตอร ควบคุมการทํางาน ทําใหสามารถปรับองศาการจุดระเบิดลวงหนาไดถูกตองและ แมนยําตามสภาพการทํางานจริงของเครื่ อ งยนต 5) ระบบจุดระเบิดแบบไมใชจานจาย เปนระบบจุดระเบิดที่ควบคุมดวยคอมพิวเตอร กระแสไฟแรง เคลื่ อนสู งที่ ส งไปยั งหั ว เทีย นมาจากคอลยจุ ดระเบิดโดยตรง เพราะไมมีจ านจาย ซึ่งคอยล จุดระเบิด 1 ลูก จะสงกระแสไฟเคลื่อนแรงสูงไปจุดระเบิดไดพรอมกัน 2 ลูก หรือเครื่องยนต บางรุนใชคอยลจุดระเบิด 1 ลูก ตอเครื่องยนต 1 สูบ
272 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
4. ระบบไฟฟาสองสวาง (Light System) ระบบไฟสองสวางนั้น เปนระบบที่ทําใหผูขับขี่สามารถมองเห็นทัศนวิสัยที่ชัดเจนในเวลากลางคืนหรือในสถานที่ที่มี แสงสวางไมเพียงพอ ระบบไฟสองสวางนั้นมีทั้งระบบแสงสวางภายในตัวรถและภายนอกตัวรถ ซึ่งในระบบไฟสองสวางยังมี สวนเกี่ยวของกับระบบไฟเตือนอีกดวย เชน ไฟถอยหลัง ไฟเบรก ไฟขอทาง เปนตน 4.1 ระบบไฟสองสวางภายนอกตัวรถ ระบบไฟสองสวางภายนอกตัวรถนั้น ทําหนาที่ในการสองสวางพื้นถนน บอกขนาดความกวาง และความยาวของตัวรถ อุปกรณของระบบไฟสองสวางภายนอกตัวรถนั้นประกอบดวย - ไฟหน า รถยนต เป น ไฟที่ ให แสงสวางขณะขับ ขี่ในเวลากลางคืน หรือในเวลาที่ทัศนะวิสัย ในการขับ ขี่ ไมชัดเจน ไฟหนารถยนตนั้นมีสองลักษณะดวยกันคือ ไฟสูง และไฟต่ํา - ไฟหรี่ เปนไฟโคมเล็ก มีแสงสีขาว มีหนาที่ในการบอกความกวางของตัวรถยนตดานหนา และชวยให แสงสวางรวมกับไฟหนา - ไฟทาย เปนไฟสีแดง มีหนาที่ในการบอกตําแหนงและความกวางดานหลังรถยนต ประกอบดวย โคมไฟสีแดง 2 ดวง ไฟทายนั้นมักใชรวมกับไฟเบรก ซึ่งไฟทายจะใหความสวางที่นอยกวาไฟเบรก - ไฟสองปายทะเบียน เปนไฟสีขาว มีหนาที่ในการสองปายทะเบียน สวนใหญนิยมสองจากดานบนของ ปายทะเบียน 4.2 ระบบไฟสองสวางภายในตัวรถ ระบบไฟสองสวางภายในตัวรถนั้นมีหนาที่ชวยใหผูขับขี่ หรือผูโดยสารสามารถมองเห็นภายในรถยนต โดยทั่วไปจะ มีสองสวนใหญ ๆ ดวยกัน คือ ไฟสองสวางหองโดยสารและไฟสองสวางหนาปด - ไฟสองสวางหองโดยสาร เปนไฟที่ชวยใหผูขับขี่หรือผูโดยสารสามารถมองเห็นภายในรถยนต โดยทั่วไป จะติดอยูเพดานของหองโดยสาร - ไฟสองสวางหนาปดรถยนต เปนไฟที่ใชเพื่อใหผูขับขี่สามารถมองเห็นเกจวัดตาง ๆ บนหนาปดไดอยาง ชัดเจน โดยจะติดตั้งอยูภายในตัวหนาปดตามตําแหนงเกจวัดตาง ๆ 4.3 หลักการทํางานของไฟสองสวาง 4.3.1 หลักการทํางานของวงจรไฟหนา เมื่อเปดสวิตชไฟควบคุมตําแหนงเปดไฟหนา (HEAD) ทําใหขั้ว T, H และ EL ตอถึงกัน กระแสไฟจาก แบตเตอรี่ ไหลผ า นขดลวดของรี เ ลย ไฟหนามาลงกราวดครบวงจรที่ขั้ว EL ของสวิตชทําใหรีเลยทํางาน ตอ กระแสไฟจากแบตเตอรี่ที่มารออยูกอนแลว ปอนผานฟวส 15 A ปอนเขาหลอดไฟต่ํ าและไฟสู งของไฟหน า 273 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กระแสไฟจากไสหลอดไฟต่ําไปรอลงกราวดที่ขั้ว HL สวนกระแสไฟจากไสหลอดไฟสูงไปรอลงกราวดที่ขั้ว HU ซึ่ง ลงกราวดที่ขั้ว ED ของสวิตชไฟสูง-ต่ํา เมื่อสวิตชไฟไปอยูในตําแหนงไฟต่ํา ทําใหขั้ว HL ตอกับขั้ว ED กระแสไฟจากไสหลอดไฟต่ําสามารถ ไฟลลงกราวดไ ดค รบวงจร สง ผลใหห ลอดไฟต่ํา ติด สวา ง สว นไฟสัญ ญาณเตือ นหลอดไฟสูง ซึ ่ง ตอ อยูกับ ไส ห ลอดไฟต่ํ า จะไม ติดสว า ง เพราะกระแสไฟจากไส ห ลอดไฟต่ํา ไปลงกราวด ที่ส วิ ตช ไ ฟสูง-ต่ํา ทําให ไ ม มี กระแสไฟไหลผานหลอดเตือนไฟสูง
ภาพที่ 7.15 วงจรตําแหนงไฟต่ํา เมื่อเปดสวิตชไฟไปอยูในตําแหนงไฟสูง ทําใหขั้ว HU ตอกับขั้ว ED กระแสไฟจากไสหลอดไฟสูงสามารถ ไหลลงกราวดครบวงจรได ทําใหหลอดไฟสูงติดสวาง และในขณะเดียวกัน กระแสไฟจากไสหลอดไฟต่ําไหลผาน ไฟสัญญาณเตือนไฟสูง ไปลงกราวดครบวงจร ทําใหหลอดไฟติดสวางขึ้นเชนกัน
274 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.16 วงจรตําแหนงไฟสูง เมื่อเปดสวิตชไฟสูง-ต่ํา ไปอยูในตําแหนงไฟขอทาง ทําใหขั้ว HF, HU และขั้ว ED ตอถึงกัน กระแสไฟ จากขดลวดของรีเลยไฟหนาไหลมาลงกราวดครบวงจรได ทําใหรีเลยไฟหนาทํางานตอกระแสไฟจากแบตเตอรี่ ที่มารออยูกอนแลว ปอนเขาไสไฟหนา และในขณะเดียวกันหนาสัมผัสของสวิตชตอกระแสไฟจากหลอดไฟสูง มาลงกราวดครบวงจรที่ขั้ว ED ทําใหหลอดไฟสูงติดสวางขึ้น และเมื่อปลอยมือออกจากการบังคับสวิตช สวิตชคืน ตัวกลับอัตโนมัติ มาอยูในตําแหนงไฟต่ํา ทําใหขั้ว HF ไมตอกับขั้ว ED เปนเหตุใหรีเลยไฟหนาหยุดทํางาน เพราะ กระแสไฟจากขดลวดไมสามารถลงกราวดไดครบวงจร หลอดไฟขอทางสามารถทํางานไดโดยไมตองเปดสวิตชไฟหนา เพราะกระแสไฟจากขดลวดรีเลย ถูก ควบคุมโดยสวิตชไฟสูง-ต่ํา ไดอีกทางหนึ่ง ผานทางขั้ว HF
275 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.17 วงจรตําแหนงไฟขอทาง 4.3.2 หลักการทํางานของไฟสองสวางภายในหองเกง เมื่อสวิตชอยูในตําแหนงเปด DOOR หลอดไฟภายในเกงที่ถูกควบคุมโดยสวิตชไฟประตู กระแสไฟฟา จากแบตเตอรี่ไหลผานฟวส 15 A เขาผานหลอดไฟไปรอลงกราวดอยูที่สวิตชไฟประตู ในตําแหนงที่ประตูเปด ทําใหหนาสัมผัสของสวิตชไฟประตูแยกจากกัน กระแสไฟไมสามารถไหลลงกราวดไดครบวงจร ทําใหไฟไมติด แตเมื่อเปดประตูบานใดบานหนึ่ง ทําใหหนาสัมผัสของสวิตชไฟประตูตอถึงกันไฟจะติดสวาง เมื่ อ สวิ ต ช อ ยู ใ นตํ า แหน ง OFF สวิ ต ช จ ะไม มี ก ารต อ กั บ วงจรใด ๆ กระแสไฟไม ส ามารถไหลผ า น ไปลงกราวดไดครบวงจร ทําใหไฟไมติดสวาง เมื่อเปดสวิตชอยูในตําแหนง ON กระแสไฟจากหลอดไฟแสงสวางภายในหองเกงตอลงกราวดโดยตรง ทําใหหลอดไฟติดสวาง
276 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.18 ตําแหนงวงจรไฟฟา 4.3.3 หลักการทํางานของวงจรไฟทาย ไฟหรี่ ไฟหนาปด และไฟสองปายทะเบียน เมื่อเปดสวิตชไฟควบคุมไปที่ตําแหนง TAIL ทําใหขั้ว T และ EL ของสวิตชตอถึงกัน กระแสไฟฟาจาก แบตเตอรี่ไหลผานขดลวดรีเลยไฟหรี่มาลงกราวดครบวงจรที่ EL ทําใหรีเลยทํางานตอกระแสไฟฟาจากแบตเตอรี่ ที่มารออยูกอนแลวปอนผานฟวสขนาด 10 A เขาหลอดไฟหรี่ ไฟทาย ไฟสองแผนปายทะเบียน และไฟหนาปดลง กราดวครบวงจร ทําใหไฟติดสวาง 5. ระบบไฟสั ญ ญาณ การขับ ขี่ย านพาหนะบนทองถนนนั้น ความปลอดภัย เปน ที่สําคัญที่สุด เพื่อใหเ กิดความปลอดภัย กับ ผูใชร ถใชถนน จึงจําเปนตองมีกติการวมกัน มีสื่อหรือสัญญาลักษณรวมกัน และตองมีความเขาใจที่ตรงกัน ฉะนั้น สัญลักษณตาง ๆ จึงเปน สิ่งที่สําคัญในการใชรถใชถนน โดยทั่วไปนั้นรถยนตจะมีไฟสัญญาลักษณเพื่อเตือนหรือบอกเหตุการณตาง ๆ ที่กําลังจะทําตอไป ดังนี้ ระบบไฟแตรรถยนต ระบบไฟเบรกรถยนต ระบบไฟถอยหลังรถยนต ระบบไฟเลี้ยว และไฟฉุกเฉิน
277 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5.1 ระบบไฟแตรรถยนต ระบบไฟแตรรถยนตนั้น เปนอุปกรณที่เปลี่ยนจากพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานเสียง โดยอาศัยการสั่นสะเทือนของ แผนไดอะแฟรม มีหนาที่เปนสัญญาณใหผูใชรถใชถนนทราบ เพื่อปองกันอุบัติเหตุหรือบางครั้งอาจใชเปนการขอทาง ซึ่งในการใชแตรนั้นควรใชเฉพาะเหตุการณที่จําเปนเทานั้น เสียงของแตรที่ดังเกินไปนั้นจะทําใหผูอื่นเกิดความรําคาญ หรืออาจถูกมองวาไมมีมารยาทในการใชถนนได 5.1.1 วงจรแตร มี 2 แบบ คือ วงจรแตรแบบธรรมดา และวงจรแตรแบบใชรีเลย 1) วงจรแตรแบบธรรมดา กระแสไฟฟาจากแบตเตอรี่ไหลผานฟวส ผานตัวแตรไปยังสวิตชแตร เมื่อกดสวิตชแตรทําใหสะพานไฟตอกัน กระแสไฟสามารถไหลผานลงกราวดได ทําใหครบวงจร แตรเกิดเสียงดัง
ภาพที่ 7.19 วงจรแตรแบบธรรมดา 2) วงจรแตรแบบใชรีเลย กระแสไฟฟาจากแบตเตอรี่ไฟผานฟวสเขามายังขั้ว B ที่รีเลยแตรผาน ขดลวดสนามแมเหล็ก ผานขั้ว S รีเลยแตรมารอที่สวิตชแตร เมื่อกดสวิตชแตร ใหสะพานไฟตอกัน กระแสไฟสามารถไหลผานลงกราวดได ทําใหครบวงจรเกิดสนามแมเหล็กที่ขดลวดเปนผลใหดึง ขั้ว H ตอกับขั้ว B ทําใหกระแสไฟจากขั้ว B ไหลผานไปยั งขั้ว H ผานตัวแตรลงกราวดครบ วงจรแตรจึงเกิดเสียงดัง
278 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.20 วงจรแตรแบบใชรีเลย 5.2 ระบบไฟเบรกรถยนต ระบบไฟเบรกรถยนต สามารถแบงไดเปนไฟเตือน 2 ประเภท 5.2.1 ไฟเตือนเบรกมือ มีหนาที่ เตือนวาเบรกมือคางอยู แสดงไฟเตือนที่หนาปดตอนเปดสวิตชกุญแจ ON และ เตือนน้ํามันเบรกในระบบเบรกต่ํา โดยไฟเตือนที่หนาปดจะสวางคาง หลักการทํางาน เมื่อเปดสวิตชกุญแจตําแหนง ON กระแสไฟจากแบตเตอรี่ผานสวิตชกุญแจผานขั้ว IG ผานฟวส ผานเขา ขั้วบวกหลอดไฟโชวที่หนาปด ออกขั้วลบเขาที่สวิตชเบรกมือ เมื่อดึงเบรกมือ ทําใหสวิตชตอวงจรกระแสไฟไหล ผานลงกราวดไดครบวงจร สงผลใหหลอดไฟโชวเบรกมือที่หนาปดติด เมื่อปลดเบรกมือลง ทําใหสวิตชตัดวงจรสะพานไฟแยกกัน จึงทําใหหลอดไฟโชวเบรกที่หนาปดดับ และ เมื่อน้ํามันเบรกต่ํา สวิตชระดับน้ํามันเบรกในกระปุกน้ํามันเบรกตอกันทําใหไฟจากขั้ว IG สวิตชกุญแจไหลผานฟวส ผานเขาขั้วบวกหลอดไฟเบรก ผานขั้วลบ ผานสวิตชระดับน้ํามันเบรกลงกราวดครบวงจร ไฟโชวไฟเบรกที่หนาปดติด หลังจากเติมน้ํามันเบรกเพิ่มใหไดตามที่มาตรฐานกําหนด สะพานไฟจะถูกแยกออกจากกัน ไฟโชวไฟเบรกจะดับ
279 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 7.21 วงจรเบรกมือ 5.2.2 ไฟเตือนในการเบรกรถยนต มีหนาที่ สองสวาง เพื่อเตือนใหรถที่ตามมาขางหลังทราบวา กําลังชะลอหรือ หยุดรถ เพื่อปองกันการชนทาย หลักการทํางาน เมื่อเหยียบเบรก สวิตชไฟเบรกจะตอวงจรทําใหกระแสไฟฟาจะแบตเตอรี่ไหลผานฟวส ผานสวิตชไฟเบรก ผานหลอดไฟเบรกลงกราวดครบวงจร ไฟเบรกติดสวาง
ภาพที่ 7.22 วงจรไฟเบรกหลัง
280 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5.3 ระบบไฟถอยหลั ง ระบบไฟถอยหลังนั้น เปนอุปกรณแสดงการสองสวางในเวลากลางคืนเพื่อแสดงการถอยหลัง และเปนสัญญาณ เตือนใหผูที่อยูดานหลังไดใชความระมัดระวัง ไฟถอยหลังจะมีหลอดสีขาวติดตั้งอยูดานทายรถยนต โดยไฟถอยหลังนั้นจะ แสดงเมื่อผูขับไดทําการเขาเกียรถอยหลัง 5.4 ระบบไฟเลี้ ย วและไฟฉุ ก เฉิ น ระบบไฟเลี้ยวและไฟฉุกเฉินนั้น มีหนาที่ในการแสดงสัญญาณใหผูขับขี่รถยนตที่ใชถนนรวมกันทราบวารถที่ขับอยู นั้นมีความตองการแบบใด เชน จะทําการเลี้ยวซาย หรือเลี้ยวขวา เปลี่ยนชองเดินรถ หรือจอดรถ เปนตน โดยการใช ไฟเลี้ ย วนั้ น จะมี การใช งานผ า นชุ ดสวิ ตช คอพวงมาลัย ในสว นของไฟฉุกเฉิน จะมีส วิ ตชแยกออกมาเปน สวิตช เ ดี ย ว ไมรวมอยูกับสวิตชไฟเลี้ยว
ภาพที่ 7.23 วงจรไฟเลี้ยว 281 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5.4.1 หลักการทํางาน ในขณะเปดสวิตชกุญแจตําแหนง ON ทําใหกระแสไฟไหลผานฟวสขนาด 10 A เขาขั้ว B1 ที่สวิตชไฟ เลี้ยวไหลเขาขั้ว F ไหลเขาแฟลชเชอรที่ขั้ว B ออกขั้ว L ของแฟลชเชอรเขาที่ขั้ว TB สวิตชไฟเลี้ยว เมื่อเปดสวิตช ไฟเลี้ยวตําแหนงขวา ขั้ว TB ตอเขาขั้ว TR ทําใหกระแสไฟไหลจากขั้ว TR เขาหลอดไฟเลี้ยวขวาลงกราวดครบ วงจร หลอดไฟเลี้ ย วขวาติ ด กะพริ บ เมื่ อ เป ด สวิ ต ช ไ ปตํ า แหน ง เลี้ ย วซ า ย ขั้ ว TB ต อ เข า กั บ ขั้ ว TL ทํ า ให กระแสไฟฟาไหลจากขั้ว TL เขาหลอดไฟเลี้ยวซาย ลงกราวดครบวงจร หลอดไฟเลี้ยวซายติดกะพริบ
282 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด ไมใชหนาที่ของระบบไฟสองสวาง ก. เพื่ออํานวยความสะดวกในตอนกลางคืน ข. เพื่อปองกันอุบัติเหตุ ค. เพื่อความปลอดภัยในการขับขี่ ง. จายไฟใหกับอุปกรณไฟฟาในรถยนต 2. ขอใด ไมใช สวนประกอบของระบบไฟสองสวางภายนอกตัวรถ ก. ไฟเกง ข. ไฟเบรก ค. ไฟหรี่ ง. ไฟหนา 3. ขอใด คือ หนาที่ของไฟหรี่ ก. ใหสัญญาณการเบรก ข. ขอทาง ค. บอกสัญญาณการจอด ง. บอกความกวางตัวรถ 4. ไฟเกง มีหนาที่อยางไร ก. ใหความสวางในหองโดยสาร ข. บอกสัญญาณฉุกเฉิน ค. สองสวางหนาปดเกจวัด ง. สองสวางหมายเลขทะเบียน
283 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
5. ขอใด คือ หนาที่ของวงจรแตร ก. สรางความปลอดภัยในการขับขี่ ข. อํานวยความสะดวกในการขับขี่ ค. ผลิตสัญญาณเสียง ง. ปองกันการเกิดอุบัติเหตุในชวงกลางคืน 6. ขอใด ไมใช หนาที่ของไฟเบรกมือ ก. เตือนเบรกมือคาง ข. เตือนการหยุดรถกะทันหัน ค. เตือนน้ํามันในระบบเบรกลดลง ง. สรางสัญญาณเตือนเบรกมือทํางานที่หนาปด ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 7. การตรวจวั ด ค า ความต า นทานระหว า งขั้ ว F และ E เป น การตรวจสอบ ขดลวดโรเตอร แปรงถาน และวงแหวนสลิปริง 8. ดี.ซี เยนเนอเรเตอรจะสงกระแส 6-10 แอมแปร ในขณะที่เครื่องยนตเดินเบา แตอัลเตอเนเตอรที่ความเร็วรอบเทากัน อาจไมสามารถสรางกระแสใหไหลไป ไดมากพอที่จะทําใหหนาคอนแท็คของคัทเอาทรีเลยตอกันได 9. การตรวจวัดการลัดวงจรของไดโอดบวก เมื่อสลับสายของโอหมมิเตอรแลว เข็มไมกระดิกขึ้น แสดงวาไดโอดบวกเปนปกติ 10. ระบบสตารท ทําใหเกิดการเริ่มตน การหมุน ของเพลาขอเหวี่ ย ง เพื่ อให เกิดวัฏจักรการทํางานของเครื่องยนตคือ ดูด อัด ระเบิด และคาย 11. เฟองสะพาน ในมอเตอรสตารท ทําหนาที่รับแรงจากเพลามอเตอรสตารท ไปขับเฟองลอชวยแรงใหหมุน จํานวนฟนเฟองขับมอเตอรสตารทจะนอยกวา จํานวนฟนเฟองลอชวยแรง จึงทําใหมีกําลังที่สูงขึ้น 284 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ
ก
ข
ค
ง
1 2 3 4 5 6 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ
ถูก
ผิด
7 8 9 10 11
285 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 7.1 การตรวจสอบคอยลจุดระเบิด 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานตรวจสอบคอยลจุดระเบิดได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกตรวจสอบคอยลจุดระเบิด ตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน วัด
คาที่วัดได (Ω)
วัดคาความตานทานภายใน วัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ การวัดคาความตานขดลวดทุติยภูมิ
286 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 7.1 การตรวจสอบคอยลจุดระเบิด 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. มัลติมิเตอร
จํานวน 1 ตัว
2. คอยลระบบจุดระเบิดแบบธรรมดา
จํานวน 1 ลูก
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ปากกา
จํานวน 1 ดาม
287 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน 2.1 วัดความตานทานภายใน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.เตรียมเครื่องมือสําหรับวัดความตานทาน
คําอธิบาย ขอควรระวัง เตรียมมัลติมิเตอรและอุปกรณไฟฟาที่ ระวังไมใหเครื่องมือ จะนํามาวัด
และอุปกรณไฟฟาตก เพราะอาจทําใหบิ่น หรือเสียหายได
2. ตอสายมัลติมิเตอร
ตอสายสีแดงเขากับขั้วบวก และตอสาย สีดําเขากับขั้วลบของมัลติมิเตอร
288 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ตรวจสอบมัลติมิเตอร
คําอธิบาย ขอควรระวัง นําเข็มของมัลติมิเตอรมาแตะกัน แลว ควรตรวจสอบและ ตรวจสอบวาเข็มของมัลติมิเตอรชี้ที่เลข ปรับตั้งเข็มของ 0 หรือไม
มัลติมิเตอรใหชี้ที่เลข 0 ทุกครัง้ กอนวัด ชิ้นงานใหม เพื่อ ปองกันคา คลาดเคลื่อน
4. ปรับตั้งยานการวัด
ปรับตั้งยานการวัดไปที่ R x 1
5. วัดคาความตานทาน
นําเข็มสีแดงของมัลติมิเตอรแตะที่ ขั้วบวกของตัวความตานทาน นําเข็มสีดําของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วลบ ของตัวความตานทาน
289 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. สังเกตและบันทึกผล
คําอธิบาย เข็มบนหนาปดจะตองขยับ ขึ้นตามคา
ขอควรระวัง
ความตานทานที่กําหนด หากเข็มไมขยับ แสดงวาขดลวดความ ตานทานขาด
2.2 วัดความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ปรับตั้งยานการวัด
ปรับตั้งยานการวัดไปที่ R x 1
2. วัดคาความตานทาน
นําเข็มสีแดงของมัลติมิเตอรแตะที่ ขั้วบวกของคอยลจุดระเบิด นําเข็มสีดําของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วลบ ของคอยลจุดระเบิด
290 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. สังเกตและบันทึกผล
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เข็มบนหนาปดจะตองขยับ ขึ้น ตามค า ความตานทานที่กําหนด หากเข็มไมขยับ แสดงวาขดลวดความ ตานทานขาด
2.3 วัดความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ปรับตั้งยานการวัด
ปรับตั้งยานการวัดไปที่ R x 1
2. วัดคาความตานทาน
นําเข็มสีแดงของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วไฟ แรงสูงออกของคอยลจุดระเบิด นําเข็มสีดําของมัลติมิเตอรแตะที่ขั้วลบ ของคอยลจุดระเบิด
291 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. สังเกตและบันทึกผล
คําอธิบาย เข็ ม บนหน า ป ดจะต อ งขยั บ ขึ้ น ตามค า ความตานทานที่กําหนด หากเข็มไม ขยับ แสดงวาขดลวดความ ตานทานขาด
4. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
292 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายใน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวด
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
ปฐมภูมิ 6
การใช มั ล ติ มิ เ ตอร วั ด ค า ความต า นทานขดลวด ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทุติยภูมิ
7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
9
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
293 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
ครบถวน
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายใน
ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายในไดถูกตองตาม ขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใช มั ลติ มิ เตอร วั ดค า ความต า นทานภายในไม ถู ก ต อ งตาม ขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานภายในไมถูกตองตาม ขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน
294 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ไดถูกตอง
คะแนน เต็ม 5
ตามขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดปฐมภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
การใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ
ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ไดถูกตอง
5
ตามขั้นตอน และวัดคาไดถูกตอง ไมคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 5 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน หรือ วัดคาคลาดเคลื่อน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ใชมัลติมิเตอรวัดคาความตานทานขดลวดทุติยภูมิ ไมถูกตอง ตามขั้นตอน และ วัดคาคลาดเคลื่อน ใหคะแนน 0 คะแนน 7
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง
ใหคะแนน 2 คะแนน
จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน
295 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
3
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
9
รายการตรวจสอบ
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
33
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
296 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 7.2 การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. แกไขขอขัดของ ความเสียหายเบื้องตนของระบบไฟฟาในรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยวได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว
297 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 7.2 การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนต
จํานวน 1 คัน
2. เครื่องมือชางพื้นฐาน
จํานวน 1 ชุด
3. ผาคลุมรถสําหรับซอม
จํานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. หลอดไฟเลี้ยว
จํานวน 1 ชุด
298 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนหลอดไฟเลี้ยว ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง
2. ตรวจสอบไฟเลี้ยว
ตรวจสอบไฟเลี้ยวหนาและไฟเลี้ยวทาย วาติดเปนปกติหรื อไม กอนดําเนิน การ เปลี่ยนชุดหลอดไฟเลี้ยว
3. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขาเกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
299 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
4. เปดฝากระโปรงหนารถ และคลุมผาสําหรับซอม
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
เป ดฝากระโปรงรถพรอมล็อกไมค้ํายัน ล็ อ ก ไ ม ค้ํ า ยั น ฝ า และใชผาคลุมสําหรับซอมคลุมที่บริเวณ กระโปรงหนารถ สวนหนารถและบังโคลนซาย-ขวา
ทุ ก ครั้ ง เพื่ อ ป อ งกั น ไมใหฝ ากระโปรงปด ระหวางปฏิบัติงาน
5. ถอดชุดหลอดไฟเลี้ยวหนา
ถอดชุ ด หลอดไฟเลี้ ย วหน า ดึง ปลั ๊ก ที่ เสีย บอยู ก ับ หลอดไฟเลี ้ย ว และถอด หลอดไฟเลี้ยวดวงเดิมออกจากขั้ว โดย หมุนทวนเข็มนาฬิกา
300 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ใสหลอดไฟเลี้ยวหนาดวงใหม
คําอธิบาย
ขอควรระวัง
นํ า หลอดไฟเลี้ ย วดวงใหม ใ ส เ ข า ไปที่ ตําแหนงเดิม และหมุนตามเข็มนาฬิกา ใหแนน
7. ประกอบชุดหลอดไฟเลี้ยวหนา
เสีย บปลั ๊ก และใสช ุด หลอดไฟเลี ้ย ว หนารถกลับเขาที่ตําแหนงเดิม
8. ถอดชุดหลอดไฟเลี้ยวทาย
คลายสกรูฝาครอบไฟเลี้ยวทาย และนํา หลอดไฟเลี้ยวทายออก
9. ใสหลอดไฟเลี้ยวทายดวงใหม
ใส ห ลอดไฟเลี้ ย วท า ยดวงใหม เ ข า ที่ ห า มใช มื อ จั บ ที่ ตั ว ตําแหนงเดิม
301 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
หลอดไฟโดยตรง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
10. ประกอบชุดหลอดไฟเลี้ยวทาย
ใสส กรูฝ าครอบไฟเลี้ย วทายกลับ เขาที่ ตําแหนงเดิม และขันใหแนน
11. ทดสอบการทํางาน
ติ ด เครื่ อ งยนต ทดลองเป ด ไฟเลี้ ย วทั้ ง ข า งซ า ยแล ะข า งขว า แล ว สั ง เกต สัญลักษณไฟเลี้ยวบนหนาปด
12. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
302 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การถอดไฟเลี้ยวออก
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
การประกอบไฟเลี้ยว
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
303 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง 2
ใหคะแนน 0 คะแนน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การถอดและประกอบไฟเลี้ยวหนา
ถอดและประกอบไฟเลี้ยวหนาไดถูกตองตามขั้นตอน
5
ใหคะแนน 5 คะแนน ถอด หรื อ ประกอบไฟเลี้ ย วหน า ไม ถู ก ต อ งตามขั้ น ตอน 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอด และ ประกอบไฟเลี้ยวหนาไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การถอดและประกอบไฟเลี้ยวทาย
ถอดและประกอบไฟเลี้ยวทายไดถูกตองตามขั้นตอน ใหคะแนน 5 คะแนน ถอด หรือ ประกอบไฟเลี้ยวทายไมถูกตองตามขั้นตอน
304 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
1 ขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน ถอด และ ประกอบไฟเลี้ยวทายไมถูกตองตามขั้นตอน มากกวา 1 ขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
305 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 8 0921020308 ระบบตัวถังรถยนต (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหนาที่และโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได
2. หัวขอสําคัญ 1. หนาที่และโครงสรางของถังรถยนต 2. ประเภทของโครงสรางถังรถยนต 3. ชิ้นสวนตาง ๆ ของตัวถังรถยนต
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 306 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 เครื่องมือและอุปกรณ 1) โครงสรางรถยนตตัวถังแบบซีดาน 2) รถยนตนั่งสวนบุคคล 2.2 วัสดุ -
จํานวน 1 คัน จํานวน 1 คัน
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
307 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
7. บรรณานุกรม ธีระยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางรถยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอช.เอ็น. กรุป จํากัด ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2540. ทฤษฎีและปฏิบัติเครื่องลางรถยนต. กรุงเทพฯ.: เอช.เอ็น. กรุป จํากัด
308 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 272-301 5. เตรียมสื่อการสอนของจริง ไดแก รถยนตและ โครงสรางตัวถังรถยนต ในพื้นที่ปฏิบัติงาน 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบตัวถังรถยนต
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช ความรูพื้นฐานที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พธ การเรี ย นรู ในเรื่ อง ระบบตัว ถั ง 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น รถยนต ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 272-301
1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง ระบบตั ว ถั ง รถยนต หนาที่ 272-301 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรีย นรู โ ดยใชว ิธ ีถ าม-ตอบกับ ผู ร ับ การฝก เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ โดยใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เรียบรอย เป น ความรู ใ หม พ ร อ มใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ และคูมือผูรับการฝก หนาที่ 274-285 โดยมี สาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หนาที่และโครงสรางของถังรถยนต 2.2 ประเภทของโครงสรางถังรถยนต 309 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.3 ชิ้นสวนตาง ๆ ของตัวถังรถยนต 3. ใหผูรับการฝกศึกษาสวนประกอบของรถยนต 3. ศึ ก ษาส ว นประกอบของรถยนต แ ละโครงสร า ง และโครงสร า งตั ว ถั งรถยนต พร อ มบอกชื่ อ ตัวถังรถยนต พรอมบอกชื่อสวนประกอบ สวนประกอบ 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 286-288 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 286-288 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 326 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 8.1 การสํารวจ 6. ศึกษาใบงานที่ 8.1 การสํ ารวจสวนประกอบของ สวนประกอบของรถยนต จากคูมือผูรับการฝก รถยนต จากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก หน า ที่ 289-294 หนาที่ 289-294 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-05:00 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 7.1 บอกชื่ อ และหน า ที่ ส ว นประกอบของ รถยนต 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 290 หนาที่ 328 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก
310 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 13. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 8.2 การสํารวจ 13. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 8.2 การสํ ารวจโครงสราง โครงสรางรถยนต จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ รถยนต จากคู มื อผู รั บ การฝ ก หน าที่ 295-301 295-301 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 05:00-07:00 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาสุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 14.1 บอกชื่ อและหน า ที่ ส ว นประกอบของ ตัวถังรถยนต 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 297 หนาที่ 337 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให ผูรับการฝกสงคืน มีสภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อ ง ระบบตั ว ถั ง รถยนต ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง ระบบตั ว ถั ง รถยนต เ กี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
311 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 8 ระบบตัวถังรถยนต ตัวถังและคัสซี (chassis) ถือไดวาเปนชิ้นสวนหลักของรถยนตที่มีขนาดใหญที่สุด โดยสวนประกอบนี้จะทําหนาที่ปกคลุม และยึดชิ้นสวนอุปกรณอื่น ๆ ของรถยนตใหรวมเปนรถยนตหนึ่งคัน ซึ่งตัวถังของรถยนตจะมีลักษณะที่แตกตางกันออกไปตาม ยี่หอและรุนของรถยนต โครงสรางตัวถังรถยนตในปจจุบัน ไมวาจะเปนรถยนตที่นั่งสวนบุคคลหรือรถยนตบรรทุก สามารถ แบงลักษณะโครงสรางของรถยนตไดเปน 2 ประเภท คือ โครงรถและตัวถัง (The Auto body and Frame) และโครงรถกับ ตัวถังเปนชิ้นเดียวกัน (Unitized body) 1. หนาที่และโครงสรางของถังรถยนต มีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้ 1.1 โครงรถและตัวถัง (The Auto body and Frame) 1) โครงรถ (Frame) หมายถึง โครงรถยนตที่เปนรากฐานในการสรางรถยนตนั่งหรือรถยนตบรรทุก มีไวเพื่อ รองรับตัวถังซึ่งมีเครื่องยนต กระปุกเกียร เพลาขับ สปริง เพลา ลอ ยาง ยึดติดกับโครงรถ และโครงรถจะตอง ไดศูนยตลอดเวลา ถาโครงรถไมไดศูนย อาจเกิ ดจากการชนจะทํ าใหชิ้นสวนอื่ น ๆ และประตูร ถไม ไ ด ศูน ย เปนผลใหตัวถังเกิดความเครียด (strain) และชํารุดเร็วขึ้น 2) ลักษณะทั่วไปของโครงรถ โดยปกติทําขึ้นจากเหล็กรางตัวยู (U channels) สองอันเชื่อมประกอบกันใหเกิด โครงสรางเปนรูปกลอง (box Construction) หรืออาจใชหมุดย้ําก็ได และจะมีเหล็กขวาง (Cross member) ซึ่งใชวัสดุอยางเดียวกันเชื่อมติด หรือยึดใหโครงรถแข็งแรงมากขึ้น และสวนขางของโครงรถจะมีแผนเหล็ก (Bracket) ยื่นออกมาเพื่อใชเปนตัวยึดติดกับชิ้นสวนตัวถัง โครงรถทั้งหมดดานหนาจะแคบกวาดานหลังเสมอ การสรางดานหนาแคบเพื่อใหเกิดการหันเลี้ยวไดงาย สวนดานหลังกวางเพื่อรองรับตัวถังรถไดดีขึ้น
ภาพที่ 8.1 โครงรถแบบตาง ๆ 312 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.2 โครงรถกับตัวถังเปนชิ้นเดียวกัน (Unitized body) ลักษณะโครงสรางยานยนตแบบนี้ไมสามารถแยกเปนสวนยอยได ซึ่งจะชวยเพิ่มความแข็งแรงใหตัวโครงสรางของ รถยนต เนื่องจากทุกองคประกอบเชื่อมติดกันทั้งหมด และยังสามารถกระจายแรงจากการชนไดดีกวาโครงสรางแบบโครงรถ และตัวถัง ในปจจุบัน โครงสรางประเภทนี้จึงมีแนวโนมที่จะนํามาใชในรถยนตมากขึ้น เพราะชวยปองกันผูขับขี่และ ผูโดยสารใหปลอดภัย
ภาพที่ 8.2 โครงรถกับตัวถังเปนชิ้นเดียวกัน 2. ประเภทของโครงสรางตัวถังรถยนต ในปจจุบัน มีการออกแบบรถยนตหลายประเภท ตามแตประโยชนใชสอยและความสวยงาม ซึ่งสามารถแยกประเภทของ รถยนตจากโครงสรางของตัวถังไดดังนี้ 1) รถซีดาน เปนรถยนตนั่งโดยสาร ซึ่งเนนความสะดวกสบายใหกับผูโดยสารและผูขับขี่
ภาพที่ 8.3 รถซีดาน
313 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2) รถคูเป เปนรถยนตที่ออกแบบโดยเนนในรูปรางและสมรรถนะของเครื่องยนตเพื่อใชในความเร็วที่สูง
ภาพที่ 8.4 รถคูเป 3) รถลิ ฟต แบ็ ค โดยพื้ น ฐานของรถจะคลายกัน กับ รถประเภทคูเป โดยจะแตกตางกัน เฉพาะบริ เวณพื้ น ที่ หองโดยสารและพื้นที่วางสัมภาระ
ภาพที่ 8.5 รถลิฟตแบ็ค 4) รถฮารดท็อป เปนรถซีดานที่ไมมีโครงหนาตาง หรือเสากลาง
ภาพที่ 8.6 รถฮารดท็อป 5) รถเปดประทุน เปนรถชนิดเดียวกับรถซีดานหรือคูเป ซึ่งสามารถเปดหรือปดหลังคาขณะขับขี่ได
ภาพที่ 8.7 รถเปดประทุน 314 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
6) รถปคอัพ ซึ่งเครื่องยนตไดถูกติดตั้งไวบริเวณตอนหนาของคนขับ
ภาพที่ 8.8 รถปคอัพ 7) รถตู รถชนิดนี้จะรวมพื้นที่โดยสารและพื้นที่สัมภาระเขาไวดวยกัน ซึ่งรถชนิดนี้สามารถบรรทุกผูโดยสารหรือ สัมภาระไดครั้งละมาก ๆ
ภาพที่ 8.9 รถตู 8) รถเกงตรวจการ เปนรถเกงที่หลังคาถูกออกแบบใหยาวตรงไปยังหลังรถทําใหมีเนื้อที่กวางสําหรับเก็บของ เพิ่มขึ้น เหมาะสําหรับเดินทางไกล
ภาพที่ 8.10 รถเกงตรวจการ 315 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
9) รถจี๊ฟ เปนรถแบบในภาพที่ 8.11 พื้นตัวถังสูง มีเกียรพิเศษ และขับไดทั้ง 4 ลอ นิยมใชบุกปา เขา ลุยสถานที่ ทุรกันดาร
ภาพที่ 8.11 รถจี๊ฟ 3. ชิ้นสวนตาง ๆ ของตัวถังรถยนต ตัวถังของรถยนตมีหนาที่ยึดติดอุปกรณตาง ๆ เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูขับขี่ และสรางความปลอดภัยใหกับผูขับขี่ และผูโดยสาร ซึ่งอุปกรณตาง ๆ ก็จะมีหนาที่แตกตางกันออกไป เชน ประตู กระจก เบาะนั่ง เปนตน 3.1 ประตูรถ ประตูรถเปนสวนประกอบของชิ้นสวนโลหะที่ออกแบบขึ้นโดยการเชื่อม มีความแข็งแรงคงทนทาน ซึ่งจะมี 2 ประตู หรือ 4 ประตูก็ได ขึ้นอยูกับบริษัทผูผลิต ถาเปนรถคูเป นิยมสราง 2 ประตู สวนรถนั่งแบบครอบครัวนิยมสรางแบบ 4 ประตู ภายในจะมีกลไกต าง ๆ เชน กลไกติดกับ ปุมกลอน กลไกตอจากกุญแจไปยังกลอนดานขาง และจะมีแผน กระจกที่ สามารถเลื่อนขึ้นลงไดโดยใชมือหมุนหรือมอเตอรไฟฟา ดานในประตูรถจะมีแผนหนังติดไวเพื่อความสวยงาม และมี อุปกรณประกอบ เชน มือหมุน (Window Handle) ที่ล็อกประตู (Door Lock) ที่เปดประตู (Door Handle) และมือจับ (Arm Rest) เปนตน ดานนอกของประตู รถยนตประกอบดวยมือเป ดประตู ซึ่งรถยนตบางรุนมีชองสําหรับไขกุ ญ แจ เพื่ อ ปลดล็ อ กและบางรุ น ใช รี โ หมดปลดล็ อ กได มื อ เป ด ประตู ทํ า จากโลหะชุ บ โครเมี่ ย ม ส ว นมื อ จั บ ทํ า จาก โพลียูเรเทน
ภาพที่ 8.12 ประตูรถดานในและมือเปดประตูรถดานนอก 316 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3.2 เบาะนั่งรถยนต เบาะนั่งรถยนต เปนเฟอรนิเจอรที่สําคัญอยางหนึ่งที่จะขาดมิได เบาะนั่งไดถูกออกแบบไวใหเหมาะสมกับสภาพ ของรถยนตแตละคันโดยเฉพาะ เพื่อใหเกิดความนิ่มนวล นั่งสบายถูกสุขลักษณะ และยังไดดัดแปลงเปนเฟอรนิเ จอร ภายในรถเกิดความสวยงามอีกดวย เบาะนั่งรถยนตประกอบดวยโฟม หรือฟองน้ําชนิดออนตัว (Flexible Foam) ซึ่งทํา จากยูเรเทนหรือโปลียูเรเทน สปริง หนังแทหรือหนังเทียม เพื่อหอหุมเบาะนั่ง โดยจะทําแบบนั่งคนเดียวหรือทําเปนเบาะนั่งยาว
ภาพที่ 8.13 เบาะนั่งรถยนต 3.3 กระจกรถยนต กระจกรถยนตไดถูกออกแบบมาเปนพิเศษสําหรับติดรถยนตโดยเฉพาะ สามารถมองเห็นวัตถุภายนอกชัดเจน มีลักษณะเทาของจริงและมีความคงทน กระจกรถยนตทนตอแรงกระแทกของวัตถุ และทนตอแรงปะทะของลม แบงออกได 3 ประเภทหลัก ๆ ไดแก กระจกบังลมหนา กระจกมองหลัง และกระจกมองขาง 3.3.1 กระจกบังลมหนา กระจกบังลมหนาแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) กระจก Tempered หรือ กระจกชั้นเดียว คือ กระจกที่มีความหนาตามมาตรฐานกระทรวง อุตสาหกรรม เปนกระจกชั้นเดียวที่ผานความรอนสูงประมาณ 600 องศาเซลเซียส และถูกทําให เย็นลงอยางกระทันหัน ทําใหมีคุณสมบัติที่แข็งมากกวากระจกทั่วไป 4 เทา และเมื่อกระจกแตกแลว จะกระจายเปนเกล็ดเล็ก ๆ คลายเม็ดขาวโพด 2) กระจก Laminate หรื อ กระจก 2 ชั้ น คื อ กระจกที่ มี ค วามหนาตามมาตรฐานกระทรวง อุตสาหกรรม 2 มิลลิเมตร 2 แผนประกบกัน โดยมีแผน PVB Film ความหนา 0.75 มิลลิเมตร คั่นอยูตรงกลางทําหนาที่ยึดกระจก 2 แผนใหอยูติดกัน เมื่อกระจกบังลมหนารถถูกสะเก็ดหิน หรือวัตถุอยางแรง จะทําใหกระจกแตกออกเปนเสน ซึ่งคุณสมบัตินี้จะทําใหกระจกไมแตกออก จากกัน ยังคงยึดติดเปนแผนอยู จึงชวยลดอันตรายระหวางการขับขี่ ไมทําใหวัตถุกระเด็นเขามา โดนผูโดยสาร 317 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 8.14 กระจกบังลมหนา 3.3.2 กระจกมองหลัง กระจกมองหลังที่ติดตั้งในรถยนตโดยมากเปนแบบกระจกแบนและมีตําแหนงกรองแสง ในกรณีที่ขับรถ ตอนกลางคืน แสงไฟจากรถยนตคันหลังอาจทําใหรูสึกเคืองตา ผูขับขี่สามารถลดความเขมของแสงไฟได โดยใช ตําแหนงกรองแสงของกระจกมองหลัง และปรับกลับตําแหนงเดิมในภายหลัง กระจกมองหลังเปรียบเสมือนตาที่สาม ของผูขับขี่ เพราะชวยใหทราบเหตุการณตาง ๆ บริเวณดานหลังตลอดเวลาที่ขับขี่และความเร็วของรถที่ตามมา ทําใหผูขับขี่ใหตัดสินใจไดอยางถูกตองและปลอดภัย
ภาพที่ 8.15 กระจกมองหลัง 3.3.3 กระจกมองขาง กระจกมองขางที่ติดตั้งในรถยนตโดยมากเปนแบบกระจกนูน ซึ่งระยะภาพที่เห็นในกระจกจะมีขนาดเล็ก กวาความจริง รถยนตสวนมากมีกระจกมองขางทั้งสองดาน เพราะกระจกมองหลังไมสามารถมองเห็นไดทั่วถึง กระจกมองขางเปรียบเสมือนตาที่สามของผูขับขี่เชนเดียวกับกระจกมองหลัง เพราะชวยใหทราบเหตุการณตางๆ ตลอดเวลาที่ขับขี่ อยางไรก็ตาม ผูขับขี่ควรทําความคุนเคยกับการมองภาพในกระจกมองขาง และใชกระจกมองขาง ใหสัมพันธกับทิศทางการขับขี่ คือใชกระจกมองขางดานซายเมื่อตองการเคลื่อนรถไปทางซาย และใชกระจกมองขาง ดานขวาเมื่อตองการจะเคลื่อนรถไปทางขวา
318 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 8.16 กระจกมองขาง 3.4 กันชน กันชน เปนอุปกรณเสริมเพื่อการปกปองรถใหไดรับความเสียหายนอยที่สุดเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ไมวาจะเปนกันชนหนา หรือกันชนทาย ซึ่งโดยทั่วไปแลว กันชนของรถประเภทตาง ๆ จะมีลักษณะแตกตางกันไป เชน กันชนของรถเกง มักจะ เปนกันชนไฟเบอรที่กลมกลืนกับขนาดและรูปรางของรถ ในขณะที่รถกระบะหรือรถเอนกประสงคมักจะเพิ่มการปกปอง มากขึ้น ดวยการเพิ่มอุปกรณที่เปนเหล็กหรืออะลูมิเนียม
ภาพที่ 8.17 กันชนหนา 3.5 ไฟรถยนต ไฟรถยนตเปนอุปกรณสําคัญที่ใหทั้งแสงสวางและสงสัญญาณสําคัญตาง ๆ ไฟรถยนตประกอบไปดวยไฟ 5 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ 3.5.1 ไฟใหญหนารถยนต ไฟใหญหนาเปนไฟที่ใหแสงสวางหลักในการขับขี่ยามค่ําคืน ซึ่งเราสามารถปรับระดับไฟหนาไดตามระยะ ของการมองเห็น ไดแก การใชไฟสูง ในกรณีที่ตองขับขี่ในระยะทางไกลและใชความเร็วสูง การปรับไฟเปนไฟสูง จะชวยใหผูขับขี่เห็นระยะทางลวงหนา และปรับลดความเร็วไดตามความเหมาะสม และการใชไฟต่ํา ในกรณีที่ ตองขับรถในเมืองและมีรถคันอื่นแลนสวนตลอดเวลา เพื่อไมใหความสวางของไฟหนารบกวนการขับขี่ของรถคันอื่น
319 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3.5.2 ไฟตัดหมอก ไฟตัดหมอกใชเมื่อผูขับขี่เริ่มมองไมเห็นพื้นผิวของถนนอันเนื่องมาจากสภาพอากาศ เชน เริ่มมีหมอกบน พื้นถนนหรือฝนตกหนัก ซึ่งไฟตัดหมอกจะชวยใหมองเห็นทางขางหนาระยะใกลไดดีขึ้น อยางไรก็ตาม ในรถบางรุน นอกจากจะมีไฟตัดหมอกหนาแลว ยังมีไฟตัดหมอกหลังเพื่อเปนสัญญาณใหรถที่ขับตามมาทราบวา สภาพพื้นผิวถนน บริเวณนั้นเปนอยางไรอีกดวย
ภาพที่ 8.18 ไฟหนารถยนต 3.5.3 ไฟถอยหลัง ไฟถอยหลังคือไฟทายรถที่จะสวางขึ้นเปนแสงสีขาวเมื่อผูขับขี่เขาเกียรถอยหลัง เพื่อสงสัญญาณใหรถคันหลัง หรือคนที่ยืนอยูดานหลังรถทราบ และหลีกทางให 3.5.4 ไฟเลี้ยว ไฟเลี้ยวหรือไฟฉุกเฉินที่อยูดานหนาของรถ มีไวเพื่อบงบอกวาผูขับขี่ตองการเปลี่ยนทิศทางไปทางใด หรือการเปดไฟกะพริบเพื่อใหสัญญาณฉุกเฉิน ในขณะที่ไฟเลี้ยวที่อยูดานหลังชวยบอกทิศทางใหรถคันที่ขับ ตามมารูวารถคันหนาตองการจะไปทางใด รวมทั้งใชเพื่อบอกสถานการณฉุกเฉินตาง ๆ ดวย อยางไรก็ตาม ไมควร เปดสัญญาณไฟเลี้ยวทายระหวางขับรถฝาฝนตก เพราะอาจทําใหรถคันที่ขับตามมาจะเขาใจวารถคันหนากําลัง อยูในสถานการณฉุกเฉิน แตควรใชไฟสูงเพื่อใหมองเห็นทางขางหนารวมกับไฟตัดหมอกหนาและหลัง เพื่อสงสัญญาณ ใหรถที่ขับตามมาระมัดระวังอันตรายจากสภาพพื้นผิวถนน 3.5.5 ไฟเบรก ไฟเบรกคือไฟทายรถที่จะสวางขึ้นเปนแสงสีแดงเมื่อผูขับขี่เหยียบเบรก เพื่อสงสัญญาณใหรถคั นหลัง ทราบวารถคันที่เหยียบเบรกกําลังลดความเร็ว เพื่อปองกันการเกิดอุบัติเหตุ 320 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 8.19 ไฟหลังรถยนต 3.6 ลอรถยนต ล อรถยนต คื อส ว นเดี ย วของรถที่ สั มผั ส กับ พื้น ถนน ทําหนาที่รับ น้ําหนักจากตัว รถและถายทอดลงสูพื้ น ถนน ตลอดจนถายทอดแรงผิดและแรงเบรกไปสูพื้น เพื่อขับเคลื่อนหรือหยุดรถตามตองการ ลอรถยนตมีสวนประกอบหลัก 2 สวน คือ ยางรถยนต และกระทะลอรถยนต 3.6.1 ยางรถยนต ยางรถยนตมีหนาที่สําคัญ คือ ชวยใหรถยนตเคลื่อนที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ชวยระงับ การสั่นสะเทือนขั้นแรก และชวยรองรับน้ําหนักของรถยนต ยางรถยนตประกอบไปดวยโครงสรางที่สําคัญ 4 สวน ไดแก ขอบยางหรือขอบลวด โครงยาง ดอกยาง และแกมยาง 1) ขอบยางหรื อ ขอบลวด (Beads) ประกอบด ว ยขดเส น ลวดที่ มี แรงดึ งสู ง เพื่อช ว ยให ย างรถ สามารถยึดแนนกับกระทะลอ (Rim) ได ซึ่งแรงดันของลมที่อัดอยูขางใน จะบังคับใหขอบลวด กระชับกับขอบวงลอ ทําใหยางรถยนตไมหลุดออกขณะที่รถวิ่งดวยความเร็วสูง 2) โครงยาง (Cord Body) ประกอบดวยเนื้อผ าหรื อวัสดุ อื่น ๆ ที่วางซอนไวเปนชั้น แลวยึดให ติดกันกับขอบลวดทั้งสองดาน โครงยางนี้จะเปนตัวรับน้ําหนักบรรทุกและน้ําหนักของรถ 3) ดอกยาง (Tread) เป น สว นหนาของยางที่สั ม ผัส กับ พื้ น ถนน ทําหนาที่ยึดเกาะถนนขณะที่ รถขับเคลื่อน และระบายความรอน โดยการออกแบบดอกยางจะขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน ของรถแตละประเภท 4) แกมยาง (Sidewall) เปนสวนนอกสุดที่อยูดานขางของยางรถยนต ระหวางดอกยางกับขอบยาง มีลักษณะเปนเนื้อยางบาง ๆ เคลือบชั้นผาใบ ทําหนาที่ระบายความรอน
321 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3.6.2 กระทะลอรถยนต กระทะลอ เปนสวนที่ยึดยางรถยนตกับดุมลอ ประกอบดวย 2 สวน คือ ขอบกระทะลอ และจานกระทะลอ โดยขอบกระทะลอ เปนสวนที่ยึดยางรถยนตกับจานกระทะลอ และทําหนาที่รักษารูปทรงของยางใหเปนไปตาม รูปทรงของยางรถยนต จานกระทะลอ ทําหนาที่ในการยึดของกระทะลอ ใหติดกับดุมลอ
ภาพที่ 8.20 สวนประกอบของลอรถยนต 3.7 บันไดขางรถ เปนอุปกรณเสริมสําหรับรถขับเคลื่อนสี่ลอขนาดใหญบางประเภท เชน รถกระบะหรือรถปคอัพ มีหนาที่เพิ่มความสะดวก ในการขึ้นหรือลงจากรถ และปกปองรถจากการกระแทกดานขาง บันไดขางรถสามารถจําแนกตามวัส ดุที่ใช ได เ ป น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ บันไดขางที่ทําจากอะลูมิเนียม และบันไดขางที่ทําจากเหล็ก 3.7.1 บันไดขางที่ทําจากอะลูมิเนียม โดยทั่วไปมี 2 แบบ คือแบบอะลูมิเนียมพับขึ้นรูป ซึ่งจะนําอะลูมิเนียมมา พับใหเกิดสันขอบเพื่อความคงทนแข็งแรง และแบบอะลูมิเนียมทอกลม บันไดขางที่ทําจากวัสดุชนิดนี้มี ขอเสียคือซอมแซมยาก หากไดรับการกระแทกอยางรุนแรงจากภายนอก เชน ถูกรถคันอื่นชน เปนตน 3.7.2 บันไดขางที่ทําจากเหล็ก แบงออกเปนแบบพับขึ้นรูปและแบบทอกลมเชนเดียวกับบันไดขางอะลูมิเนียม ซึ่งแมจะแข็งแรงและมีน้ําหนักมากกวา แตก็มีขั้นตอนการดูแลรักษาที่ซับซอนกวา เนื่องจากวัสดุที่เปน เหล็กเสี่ยงตอการเกิดสนิม นอกจากนี้ ควรมีวัสดุกันลื่นติดตั้งไวที่บันได เพื่อปองกันอุบัติเหตุเ มื่ อต อง เหยียบที่บันไดขณะฝนตก หรือขับรถไปในที่ที่มีฝุนโคลนมาก
322 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 8.21 บันไดขางรถยนต
323 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ 1
โจทย
2
3
4
5
6
7
324 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขอ
คําตอบ
ก
ตัวถังแบบคูเป
ข
ตัวถังแบบลิฟตแบ็ค
ค
ตัวถังแบบซีดานD
ง
ตัวถังแบบคูเป
จ
ตัวถังแบบตู/ ตรวจการณ
ฉ
ตัวถังแบบเปดประทุน
ช
ตัวถังแบบปคอัพ
ซ
ตัวถังแบบฮารดท็อป
ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 8. รถยนตตัว ถังแบบซีดาน คือ รถยนตที่ออกแบบโดยเนนในรูป รางและ สมรรถนะของเครื่องยนตเพื่อใชในความเร็วที่สูง 9. ไมควรเปดสัญญาณไฟเลี้ยวทายระหวางขับรถฝาฝนตก เพราะอาจทําให รถคันที่ขับตามมาจะเขาใจวารถคันหนากําลังอยูในสถานการณฉุกเฉิน 10. กระจก Laminate คือ กระจกที่มีความหนาตามมาตรฐานกระทรวง อุตสาหกรรม เปนกระจกชั้นเดียวที่ผานความรอนสูงประมาณ 600 องศาเซลเซียส 11. ควรเปดไฟสูงเมื่อตองขับรถในเมืองและมีรถคันอื่นแลนสวนตลอดเวลา 12. สวนนอกสุดที่อยูดานขางของยางรถยนต ระหวางดอกยางกับขอบยาง เรียกวา แกมยาง
325 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
ช
1 2 3 4 5 6 7 ตอนที่ 2 ถูกผิด ขอ 8 9 10 11 12
ถูก
ผิด
326 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ซ
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 8.1 การสํารวจสวนประกอบของรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจสวนประกอบของรถยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจสวนประกอบของรถยนต และบันทึกลงในตาราง ตัวอยางตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน ลําดับ
ชื่อสวนประกอบของรถยนต
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
327 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
หนาที่
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 8.1 การสํารวจสวนประกอบของรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ป ฏิบั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตรายเช น สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - รถยนต
จํานวน 1 คัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ปากกา
จํานวน 1 ดาม
328 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสํารวจสวนประกอบของรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. จอดรถ
โดยพื้นที่ตองมั่นคงและแข็งแรง
2. ดับเครื่องยนต
ดับเครื่องยนตและเขาเกียร กรณีที่เปนรถยนตอัตโนมัติ ใหเขาเกียร ในตําแหนง P ถาเปนเกียรธรรมดา ใหเขา เกียรที่ตําแหนงเกียรวาง ดึงเบรกมือ เพื่อปองกันรถไหล
3. สํารวจสวนประกอบของรถยนต
สํา รวจสว นประกอบของรถยนต และ บันทึกผลลงในตาราง
329 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
4. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ขอควรระวัง
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณสถานที่ ปฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ อุปกรณใหเรียบรอย
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การตรวจสอบสวนประกอบของรถยนต
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
330 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 8.1 การสํารวจสวนประกอบของรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัตงิ านสํารวจสวนประกอบของรถยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจสวนประกอบของรถยนต และบันทึกลงในตาราง ตัวอยางเฉลยใบงาน ลําดับ 1
ชื่อสวนประกอบของรถยนต
หนาที่
กันชนหนา
ปกป อ งรถให ไ ด รั บ ความเสี ย หายน อ ยที่ สุด เมื่ อ เกิด อุบัติเหตุจากดานหนา
2
ยางรถยนต
ชว ยใหร ถยนตเคลื่อนที่ไดอยางมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัย ชวยระงับการสั่นสะเทือนขั้นแรกและชวย รองรับน้ําหนักของรถยนต
3
กระทะลอ
ทําหนาที่ขับเคลื่อนใหรถยนตเคลื่อนที่ รักษารูปทรง ของยาง และชวยยึดยางใหติดกับดุมลอ
4
กันชนหลัง
อุปกรณชวยปกปองรถใหไดรับความเสียหายนอยลง เมื่อเกิดอุบัติเหตุจากดานหลัง
5
กระจกมองขาง
ทําหนาที่เปนตัวกลางใหผูขับขี่มองเห็นรถที่จะมาจาก ดานขางได
6
กระจกบังลมหนา
ทํ า หน า ที่ ป อ งกั น ลม เศษหิ น เศษดิ น หรื อ วั ต ถุ แปลกปลอมเขามาภายในรถ
331 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับ 7
ชื่อสวนประกอบของรถยนต
หนาที่
ไฟตัดหมอก
ทําหนาที่สองสวางเมื่อมีฝนตก หรือหมอกลงจัด เพื่อ ชวยใหผูขับขี่มองเห็นทัศนวิสัยไดชัดเจนขึ้น
8
ไฟใหญหนา
ทําหนาที่สองสวาง ใหผูขับขี่สามารถมองเห็นทัศนวิสัย ไดในยามค่ําคืน
9
ไฟเลี้ยว
ทํ า หน า ที่ ส ง สั ญ ญาณ ให ร ถคั น อื่ น ทราบว า ผู ขั บ ขี่ กําลังจะเลี้ยวรถ
10
มือเปดประตูรถดานนอก
เปนอุปกรณที่ใชเปดประตูรถจากดานนอก
332 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว นและ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบสวนประกอบของรถยนต
ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไดถกู ตอง และครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 1 สวนประกอบ ใหคะแนน 4 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 2 สวนประกอบ ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 2 คะแนน
333 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ตรวจสอบสวนประกอบของรถยนตไมถูกตอง และ ไมครบถวน มากกวา 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไม ค รบถ ว น หรื อ ไม จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
23
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
334 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 8.2 การสํารวจโครงสรางของรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจโครงสรางของรถยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจสวนประกอบของโครงสรางรถยนต และบันทึกลงในตาราง
335 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ตัวอยางตารางบันทึกผลการปฏิบัติงาน ลําดับ
สวนประกอบของโครงสรางรถยนตตัวถังแบบซีดาน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
336 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 8.2 การสํารวจโครงสรางของรถยนต 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก : - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้ น ที่ป ฏิบั ติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตรายเช น สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - โครงสรางรถยนตตัวถังแบบซีดาน
จํานวน 1 คัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
2. ปากกา
จํานวน 1 ดาม
337 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การสํารวจโครงสรางของรถยนต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมโครงรถ
คําอธิบาย ครูฝกจัดเตรียมโครงรถ บนพื้นที่มั่นคง และแข็งแรง
2. สํารวจโครงสรางของรถยนต
สํารวจโครงสรางของรถยนต แบบ ซีดานจากนั้น บันทึกผลลงในตาราง
338 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
คําอธิบาย ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ
ขอควรระวัง
ส ถ า น ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น แ ล ะ จั ด เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การตรวจสอบสวนประกอบของโครงสรางรถยนต ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ตัวถังแบบซีดาน
5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
339 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบงาน ใบงานที่ 8.2 การสํารวจโครงสรางของรถยนต 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับโครงสรางของระบบตัวถังรถยนตได 2. ปฏิบัติงานสํารวจโครงสรางของรถยนต 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 15 นาที 3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกสํารวจสวนประกอบของโครงสรางรถยนต และบันทึกลงในตาราง ตัวอยางเฉลยใบงาน ลําดับ
สวนประกอบของโครงสรางรถยนตตัวถังแบบซีดาน
1
โครงหลังคา มีหนาที่เปนโครงสรางสําหรับประกอบหลังคารถยนต
2
คานรับแรงกระแทกหนา มีหนาที่รับแรงกระแทกหากเกิดอุบัติเหตุจากดานหนา
3
คานรับแรงกระแทกหลัง มีหนาที่รับแรงกระแทกหากเกิดอุบัติเหตุจากดานหลัง
4
เสา A คือ เสาบริเวณสวนหนาของรถยนต ทั้งซายและขวา ทําหนาที่เปนโครงสรางของ หองโดยสารรถยนต
5
เสา B คือ เสาบริเวณสวนกลางของรถยนต ทั้งซายและขวา ทําหนาที่เปนโครงสราง ของหองโดยสารรถยนต
6
เสา C คือเสาบริเวณสวนหลังของรถยนต ทั้งซายและขวา ทําหนาที่เปนโครงสรางของ หองโดยสารรถยนต
7
โครงสรางพื้น ทําหนาที่เปนโครงสรางสําหรับติดตั้งอุปกรณภายใน เชน เบาะนั่ง หรือ พรมปูพื้น เปนตน
340 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง 2
ใหคะแนน 0 คะแนน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การตรวจสอบสวนประกอบของโครงสรางรถยนต ตัวถัง ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไดถูกตอง แบบซีดาน
และครบถวน ใหคะแนน 5 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 1 สวนประกอบ ใหคะแนน 4 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 2 สวนประกอบ ใหคะแนน 3 คะแนน ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง หรือ ไมครบถวน 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 2 คะแนน
341 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ตรวจสอบสวนประกอบของของโครงสรางรถยนตไมถูกตอง และ ไมครบถวน มากกวา 3 สวนประกอบ ใหคะแนน 0 คะแนน 5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย
3
และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
23
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
342 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 9 0921020309 ระบบอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกชื่อ หนาที่ และหลักการทํางานของระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได 2. ปฏิบัตงิ านเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.
ถุงลมนิรภัย ระบบปองกันลอหมุนฟรีและควบคุมการลื่นไหล ระบบปรับอากาศ ระบบเตือนการชน ระบบจุดบอดหรือจุดอับสายตา (Blind Spot)
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
343 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 เครื่องมือและอุปกรณ 1) กรวยจราจร จํานวน 2 อัน 2) รถยนตนั่งสวนบุคคลที่มีระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ (Cruise Control) จํานวน 1 คัน 3) รถยนตนั่งสวนบุคคลที่มีระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) จํานวน 1 คัน 4) รถยนตนั่งสวนบุคคลที่ไมมีระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) จํานวน 1 คัน 2.2 วัสดุ -
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 344 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝก ประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได
7. บรรณานุกรม ธีระยุทธ สุวรรณประทีป. 2544. ชางรถยนตมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : เอช.เอ็น. กรุป จํากัด ประสานพงษ หาเรือนชีพ. 2540. ทฤษฎีและปฏิบัติเครื่องลางรถยนต. กรุงเทพฯ.: เอช.เอ็น. กรุป จํากัด
345 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมคูมือครูฝก 4. เตรียมคูมือผูรับการฝก หนาที่ 302-333 5. เตรี ยมสื่ อการสอนของจริ ง ได แก รถยนต ที่ มี ระบบควบคุ มความเร็ ว รถอั ตโนมั ติ (Cruise Control) และระบบเบรกป อ งกั น ล อ ล็ อ ก (ABS) และรถยนต ที่ ไ ม มี ร ะบบควบคุ ม ความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) และ ระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) ในสถานที่ ฝกปฏิบัติงาน 6. เ ต รี ย ม เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ สํ า ห รั บ ปฏิบัติงาน ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจและสุจริตใจ โดยใช และความปลอดภัย ความรูพื้นฐานที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่ อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ระบบอํานวย 2. ฟง ซักถามขอสงสัย และแสดงความคิดเห็น ความสะดวกและความปลอดภัย ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก หนาที่ 302-333
1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง ระบบอํ า นวยความ สะดวกและความปลอดภัย หน า ที่ 302-333 ไป ศึกษา 346
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เรียนรูโดยใชวิธีถาม-ตอบกับผูรับการฝกโดย เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ ใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอดเปน เรียบรอย ความรูใหมพร อมใช คูมือผู รับ การฝ ก หนาที่ 305-310 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ถุงลมนิรภัย 2.2 ระบบป อ งกั น ล อ หมุ น ฟรี แ ละควบคุ ม การลื่นไหล 2.3 ระบบปรับอากาศ 2.4 ระบบเตือนการชน 2.5 ระบบจุดบอดหรือจุดอับสายตา (Blind Spot) 3. ให ผู รั บ การศึ ก ษารถยนต ที่ มี ร ะบบควบคุ ม 3. ศึกษาความแตกตางของรถยนตที่มีระบบควบคุม ความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) และ ความเร็ ว รถอั ต โนมั ติ (Cruise Control) และ ระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)และรถยนต ระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)และรถยนตที่ไม ที่ ไ ม มี ร ะบบควบคุ ม ความเร็ ว รถอั ต โนมั ติ มี ร ะบบควบคุ ม ความเร็ ว รถอั ต โนมั ติ (Cruise (Cruise Control) และระบบเบรกป อ งกั น Control) และระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) ลอล็อก (ABS) เพื่อดูความแตกตาง 4. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการฝก 4. ทําใบทดสอบ หนาที่ 311-313 โดยครูคอยสังเกต หนาที่ 311-313 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 5. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครูฝก 5. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ หนาที่ 358 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกัน ตรวจกับ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 6. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 9.1 การทดลอง 6. ศึกษาใบงานที่ 9.1 การทดลองระบบควบคุมความเร็ว ระบบควบคุ มความเร็ ว รถอั ตโนมั ติ (Cruise รถอัตโนมัติ (Cruise Control) จากคูมือผูรับการฝ ก Control) จากคู มือผู รั บการฝ ก หน า ที่ 314หนาที่ 314-323ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 323 7. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00:00-04:03 พรอม 7. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาที่สุภาพ อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เรียบรอย 347 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 7.1 วิธีการทดลองระบบควบคุมความเร็วรถ อัตโนมัติ 7.2 ขั้ น ตอนการทํ า ต อ งเป น ไปตามที่ คู มื อ ของรถแตละรุนกําหนด 8. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4- 5 คน 8. แบงกลุมตามความสมัครใจ 9. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 9. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 315 หนาที่ 360 10. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 10. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 11. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 11. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให ผูรับการฝกสงคืน มีสภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 12. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 13. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 9.2 การทดลอง 13. ศึกษาใบงานที่ ใบงานที่ 9.2 การทดลองระบบเบรก ระบบเบรกป องกั น ล อล็ อก (ABS) จากคู มือ ปองกันลอล็อก (ABS) จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ ผูรับการฝก หนาที่ 324-332 324-332 ซักถามขอสงสัย ดวยความตั้งใจ 14. ศึกษาสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 04:05-07:14 พรอม 14. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยตรงตาม อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ เนื้อหา พรอมแสดงความคิดเห็นดวยวาจาสุภาพ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยมีสาระสําคัญ เรียบรอย ดังนี้ 14.1 การทดสอบรถยนต ที่ มี ร ะบบเบรก ป อ งกั น ล อ ล็ อ กและไม มี ร ะบบเบรก ปองกันลอล็อก 14.2 เปรียบเทียบระเบรกและหลบหลีกสิ่ง กี ด ขวาดของรถยนต ที่ มี ร ะบบเบรก ป อ งกั น ล อ ล็ อ กและไม มี ร ะบบเบรก ปองกันลอล็อก 348 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 15. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4-5 คน 15. แบงกลุมตามความสมัครใจ 16. จ า ยวั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง าน 16. รั บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านตาม ตามใบขั้ น ตอนการปฏิ บั ติงานในคู มื อ ครู ฝ ก ใบขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 325 หนาที่ 370 17. ควบคุมดูแลและใหคําแนะนําผูรับการฝกขณะ 17. ปฏิบัติงานตามใบงานดวยความตั้งใจและคํานึงถึง ปฏิบัติงานอยางใกลชิด ความปลอดภัย 18. ตรวจเช็ควัสดุ-อุปกรณและเครื่องมือหลังจาก 18. เก็ บ วั ส ดุ - อุ ป กรณ แ ละเครื่ อ งมื อ ปฏิ บั ติ ง านให มี ผูรับการฝกสงคืน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ 19. รวมกันทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อง ระบบอํานวย ความสะดวกและความปลอดภัย ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง ระบบอํ า นวย ความสะดวกและความปลอดภั ย เกี่ ย วกั บ กิ จ นิสัย ใน การปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ต องการบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และใบงาน
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
349 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 9 ระบบอํานวยความสะดวกและความปลอดภัย ความปลอดภัยและสิ่งอํานวยความสะดวกที่ติดตั้งมาในรถยนตเปนพื้นฐานของรถยนต ซึ่งในแตละอุปกรณนั้นจะมีหนาที่ และระบบการใชงานที่แตกตางกันออกไป ในปจจุบันเทคโนโลยีกาวหนาไปไกล ระบบรักษาความปลอดภัยใหม ๆ ไดมีการพัฒนา ใหมีความสามารถที่ดียิ่งขึ้น และอํานวยความสะดวกไดดียิ่งขึ้น 1. ถุงลมนิรภัย (Air bag) ถุงลมนิรภัย คือ ถุงบรรจุแกสที่จะพองตัวขึ้นอยางรวดเร็วจากตรงกลางของพวงมาลัย ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุพุงชนจาก ดานหนา เพื่อปกปองผูขับขี่จากแรงปะทะในกรณีชนประสานงา ถุงลมนิรภัยถูกออกแบบมาเพื่อลดอาการบาดเจ็บ ดวยการปองกัน ไมใหศีรษะและหนาอกของผูขับขี่ชนกับพวงมาลัย แดชบอรด หรือดานบนของกระจกหนารถ ถุงลมจะพองตัวเฉพาะในกรณี ที่ชนดานหนาอยางแรง เมื่อผูขับขี่ที่คาดเข็มขัดนิรภัยตองการปกปองรางกายสวนบนเป นพิเ ศษ ถุงลมนิรภัยทํางานโดย เซ็นเซอรที่ติดตั้งอยูในตัวถังของรถ ซึ่งจะตอบสนองตอแรงปะทะที่แนนอนบางชนิด และกระตุนการทํางานของถุงลมนิรภัย เครื่องอัดลมจะสงแกสไนโตรเจนรอนจํานวนมากมาที่ตัวถุงลมนิรภัย ทําใหถุงลมนิรภัยพองตัวภายในเวลาแคเสี้ยววินาที มานจาก ถุงลมนิรภัยจะทําใหศีรษะและรางกายสวนบนของผูขับขี่หยุดเคลื่อนไหว และอีกไมกี่วินาทีตอมา แกสจะระเหยไปอยางรวดเร็ว ผานรูขนาดเล็กมากในถุงลมนิรภัย เพื่อทําใหถุงลมนิรภัยยุบตัวลง หากตองการใหถุงลมนิรภัยทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูขับขี่ตองคาดเข็มขัดนิรภัยเสมอ เพราะถุงลมนิรภัยถูกออกแบบขึ้นมาใหทํางานรวมกับเข็มขัดนิรภัย ไมใชนํามาใชแทน เข็มขัดนิรภัย ตั้งแตอดีตจนปจจุบันถุงลมนิรภัยจะใชสารสรางแกสที่เปนสวนผสมของโซเดียมเอไซด (Sodium Azide) ซึ่งเปนสารเคมี ที่เปนพิษจึงไดมีการวิจัย และพัฒนาเทคนิคทางดานวัตถุระเบิด โดยมุงเนนไปยังสารสรางแกสชนิดใหมที่มีอันตรายนอยกวา
ภาพที่ 9.1 ระบบถุงลมนิรภัย
350 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ระบบเบรกปองกันลอล็อก ระบบเบรก ABS (Anti-Lock Brake System) หรือระบบปองกันการเบรกจนลอตายมาจากการแกไขปญหาเบรกรถแลว ลื่นไถล ระบบ ABS ประกอบดวยฟนเฟองวงแหวนที่ ติดตั้ งอยูกับเพลาหมุน และจะมีเซ็นเซอรติดตั้ งอยูใกล กับ ฟน เฟ อ ง เมื่อลอรถเริ่มหมุน ฟนเฟองจะหมุนตาม เซ็นเซอรก็จะตรวจจับอัตราการหมุนของฟนเฟอง แลวรายงานอัตราความเร็ว ดังกลาวไปใหระบบ ABS โดยทั่วไปทุกลอจะมีเซ็นเซอรเพื่อตรวจสอบความเร็วติดอยู ซึ่ง ABS จะสั่งการผานเซ็นเซอรตัวนี้ เพื่อใหชุดปมเบรกทํางาน โดยจะมีการจับและปลอยระหวางจานเบรกกับผาเบรกที่ 16-50 ครั้ง/วินาที เพราะการที่จับกันเร็วอยางนี้ จะทําใหผูขับสามารถควบคุมทิศทางของรถไดในขณะที่เหยียบเบรกกระทันหันเพื่อหลบสิ่งกีดขวาง หรืออุบัติเหตุ หรือเบรก ในระยะที่สั้นกวาปกติ
ภาพที่ 9.2 ระบบเบรก ABS ABS จะทํางานก็ตอเมื่อผูขับเหยียบเบรกเร็วและแรงกวาปกติ หรือประมาณ 80% ซึ่งระบบจะเริ่มทํางานเองโดยอัตโนมัติ เราจะรูสึกวาระบบเริ่มทํางานเมื่อเกิดเสียงดังครืดในหองผูโดยสาร เนื่องจากการควบคุมแรงดันน้ํามันของระบบ ABS ซึ่งอาจ ทําใหผูขับขี่ตกใจได แตหามถอนน้ําหนักจากเบรก ใหผูขับขี่เหยียบเบรกคางไวแลวหักหลบจากสิ่งกีดขวาง จากนั้นจึงถอนแรง เหยียบจากเบรก อีกขอที่หามทําคือการย้ําเบรก เพราะจะไปทําใหแรงดันน้ํามันจะลดลง และสงผลใหระบบ ABS ไมทํางาน
351 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 9.3 การเปรียบเทียบการทํางานของ ABS กับเบรกธรรมดา 3. ระบบปรับอากาศ (Air condition system) โดยทั่วไประบบปรับอากาศของรถยนตเปนกระบวนการถายเทความรอนออกจากบริเวณที่ตองการทําความเย็น ซึ่งจะ ชวยระบายความรอนจากอากาศ ทําใหอุณหภูมิในบริเวณดังกลาวลดลง วงจรการทําความเย็นนั้นเปนวงจรเครื่องทําความเย็น ระบบคอมเพรสเซอรอัดไอ ประกอบดวยอุปกรณหลักที่สําคัญ ดังนี้ 3.1 คอมเพรสเซอร (Compressor) ทําหนาที่ดูดและอัดสารทําความเย็นในสถานะที่เปนแกส โดยดูดแกสที่มีอุณหภูมิและความดันต่ําจากคอยล เ ย็ น และอัดใหมีความดันและอุณหภูมิสูงจนถึงจุดที่แกสพรอมจะควบแนนเปนของเหลว เมื่อมีการถายเทความรอนออกจาก สารทําความเย็น
ภาพที่ 9.4 คอมเพรสเซอร (Compressor) 352 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3.2 คอยลรอน (Condenser) ทําใหสารทําความเย็นในสถานะที่เปนแกสกลั่นตัวเปนของเหลว ดวยการระบายความรอนออกจากสารทําความเย็นนั้น กลาวคือสารทําความเย็นในสถานะที่เปนแกสที่มีอุณหภูมิและความดันสูงซึ่งถูกอัดสงมาจากคอมเพรสเซอร เมื่อถู ก ระบายความรอนจะเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว แตยังคงมีความดันและอุณหภูมิสูงอยู 3.3 ทอพักสารความเย็น (Receiver Dryer) สารทําความเย็นเหลวที่มีความดันสูงและอุณหภูมิสูงซึ่งกลั่น ตัวมาจากคอยลร อน จะถูกสงเขามาพักในท อ พั ก สารทําความเย็นนี้ กอนที่จะถูกสงไปยังวาลวลดความดัน 3.4 วาลวลดความดัน (Expansion Valve) ทําหนาที่ควบคุมการไหลของสารทําความเย็นที่ผานเขาไปยังคอยลเย็น และลดความดันของสารทําความเย็นใหมี ความดันที่ต่ําลง จนสามารถระเหยเปนไอไดในที่อุณหภูมิต่ํา ๆ ในคอยลเย็น 3.5 คอยลเย็น (Evaporator) ทําหนาที่ดูดรับปริมาณความรอนจากบริเวณเนื้อที่ที่ตองการทําความเย็น ขณะที่สารทําความเย็นภายในระบบ ตรงบริเวณนี้ระเหยเปนแกส โดยจะดูดรับปริมาณความรอนผานผิวทอทางเดินสารทําความเย็นเขาไปยังสารทําความเย็ น ภายในระบบ ทําใหอุณหภูมิโดยรอบคอยล เ ย็ น ลดลง 4. ระบบเตือนการชน (Forward Collision Mitigation System – Low Speed Range) ระบบเตือนการชนนั้นเปนระบบปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้น ไมวาจะเปนการชนกันของรถยนตดวยกันเอง หรื อ การเฉี่ยวชนคน หรือสิ่งปลูกสรางบริเวณดานหนาของรถยนต ซึ่งระบบเตือนการชนนั้นออกแบบมาอํานวยความสะดวกตอผูใชงาน รถยนต โดยการลดความเสี่ยงที่จะเกิดความสูญเสีย ในปจจุบันระบบปองกันการชนดานหนา FCM-LS (Forward Collision Mitigation System – Low Speed Range) ได ถูกนํามาติด ตั้ง ในรถยนตข นาดเล็ก โดยระบบดังกลาวนั้น ถูก พั ฒ นาขึ้ น เพื่อหลีกเลี่ยงการชนเมื่อผูขับขี่ใชความเร็วต่ํา มีหนาที่เตือนและชวยชะลอความเร็ว หากผูขับขี่ขับรถโดยประมาทจนเสี่ยง ตอการชนรถยนตคันหนาที่อยูในชองทางเดียวกัน การทํางานที่เปนไปตามเงื่อนของแตละระบบ สวนใหญระบบลักษณะนี้จะ ทํางานที่ความเร็วไมเกิน 30 ก.ม./ช.ม. และยังสามารถปองกันการชนอยางไดผลดวยการสั่งระบบเบรกทํางาน และที่ความเร็วต่ํา ระบบเบรกสามารถหยุดไดสนิท
353 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ภาพที่ 9.5 การทํางานของระบบ FCM-LS 5. ระบบจุดบอดหรือจุดอับสายตา (Blind Spot) ระบบ Blind Spot เปนระบบเตือนภัยผูขับขี่วามียานพาหนะอยูในจุดบอดของผูขับขี่หรือไม ซึ่งระบบดังกลาวจะอาศัย การทํางานรวมกันระหวางกลองมองหลังและเรดาร เพื่อตรวจจับยานพาหนะที่อยูในจุดบอดนั้น ๆ และแจงเตือนโดยแสดง เครื่องหมายไปยังกระจกมองขาง และมีระบบแจงเตือนแบบเสียงดวย เพื่อแจงผูขับขี่ในกรณีที่ตองการจะเขาโคงหรือเปลี่ยนเลน อยางกะทันหันไปในทิศทางที่มียานพาหนะคันดังกลาวอยู
ภาพที่ 9.6 ระบบจุดบอด (Blind Spot) 6. ระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) ระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ เปนระบบอํานวยความสะดวกที่ชวยใหผูขับขี่สามารถขับรถไดดวยความเร็วคงที่ โดยไมตองเหยียบแปนคันเรง เหมาะสําหรับการเดินทางไกลบนถนนที่สภาพการจราจรไมติดขัด ซึ่งผูขับขี่ตองเหยียบคันเรง เปนระยะเวลานาน เมื่อตองการใชงาน กดปุม Cruise บนพวงมาลัย เพื่อเปดใชงานระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ และกดปุม SET เมื่อตองการปรับตั้งความเร็ว ณ ขณะนั้น ใหเปนความเร็วคงที่ ซึ่งทันทีที่ปลอยมือออกจากปุม SET ระบบควบคุมความเร็วรถ อัตโนมัติจะเริ่มทํางาน และไฟแสดง CRUISE CONTROL จะสวางขึ้น อยางไรก็ตาม ระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติจะ หยุดทํางาน หากผูขับขี่เหยียบแปนคันเรง เหยียบแปนเบรก หรือกดปุม CANCEL เมื่อระบบหยุดการทํางานแลว ความเร็วรถ จะถูกปรับใหเปนความเร็วจริง ณ ขณะนั้น กลาวคือ ความเร็วจะลดต่ําลงเล็กนอยเมื่อเหยีย บแปนเบรก และเพิ่มสูงขึ้ น 354 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เล็กนอยเมื่อเหยียบคันเรง หากผูขับขี่ตองการปรับตั้งความเร็วใหมีคาตามที่ตั้งไวครั้งแรก สามารถทําไดโดยการกดปุม RES ซึ่งยอมาจากคําวา RESET นอกจากปุม SET และ RES จะมีหนาที่ปรับตั้งและคืนคาความเร็วดังที่กลาวมาแลว ยังใชสําหรับการเพิ่มและลดความเร็ว ขณะเปดใชงานระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติอีกดวย โดยกดปุม RES เพื่อเพิ่มความเร็ว และกดปุม RES เพื่อลดความเร็ว ทั้งนี้ ระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ จะสามารถใชงานไดที่ความเร็วขั้นต่ํา 40 – 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง และเขาเกียรใน ตําแหนง D หรือ S เทานั้น ไมสามารถใชงานไดหากความเร็วนอยกวา 40 กิโลเมตร/ชั่วโมง หรือเขาเกียรในตําแหนงอื่น และ ไมสามารถใชงานไดขณะขับรถขึ้นและลงทางลาดชัน
355 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ
โจทย
1
ถุงบรรจุแกสที่จะพองตัวขึ้นอยางรวดเร็วจากตรงกลางของพวงมาลัย ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุพุงชนดานหนา เพื่อปกปองผูขับขี่จากแรงปะทะในกรณีชนประสานงา
2
ผูขับขี่สามารถควบคุมทิศทางของรถไดในขณะที่เหยียบเบรกกะทันหันเพื่อหลบสิ่งกีดขวาง อุบัติเหตุ หรือ เบรกในระยะที่สั้นกวาปกติ
3
กระบวนการถา ยเทความร อ นจากบริเ วณที่ตอ งการทํา ใหเ ย็น โดยระบายความร อนบริเวณนั้ น ๆ ออกไป และทําใหอุณหภูมิลดลง
4
ทําใหสารทําความเย็นในสถานะแกสกลั่นตัวเปนของเหลวดวยการระบายความรอนออกจากสารทําความเย็น
5
ดูดและอัดสารทําความเย็นในสถานะแกส โดยดูดแกสที่มีอุณหภูมิและความดันต่ําและอัดใหสูง จนถึงจุด ที่แกสจะควบแนนเปนของเหลวเมื่อระบายความรอนออก
6
ควบคุมการไหลของสารทําความเย็นที่ผานเขาไปยังคอยลเย็น และลดความดันใหต่ําลง จนสามารถระเหย เปนไอไดในที่อุณหภูมิต่ํา
7
สารความเย็นเหลวที่มีความดันและอุณหภูมิสูง ซึ่งกลั่นตัวมาจากคอยลรอนพักที่บริเวณนี้
8
ดูดรับปริมาณความรอนผานผิวทอทางเดินสารความเย็นเขาไปยังสารความทํ าเย็นภายในระบบ ทําให อุณหภูมิโดยรอบลดลง
9
ระบบปอ งกัน ความเสีย ที ่อ าจเกิด ขึ ้น กับ รถยนต โดยมีห นา ที ่เ ตือ นและชว ยในการชะลอความเร็ว เพื่อหลีกเลี่ยงการชนเมื่อผูขับขี่นั้นขับขี่ดวยความเร็วต่ํา
10
ระบบเตือนภัยผูขับขี่วามียานพาหนะอยูในจุดที่มองไมเห็น อาศัยการทํางานรวมกันของกลองมองหลัง และเรดาร เพื่อแจงผูขับขี่ในกรณีที่ตองการเขาโคงหรือเปลี่ยนเลนกะทันหัน
356 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขอ
คําตอบ
ก
ระบบปรับอากาศ
ข
คอยลเย็น
ค
วาลวลดความดัน
ง
ระบบเตือนการชน
จ
ถุงลมนิรภัย
ฉ
ระบบจุดบอดหรือจุดอับสายตา
ช
คอยลรอน
ซ
ทอพักสารความเย็น
ฌ
คอมเพรสเซอร
ญ
ระบบเบรก ABS
ฎ
ระบบความปลอดภัย
357 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 จับคู ขอ
ก
ข
ค
ง
จ
ฉ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
358 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ช
ซ
ฌ
ญ
ฎ
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 9.1 การทดลองระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองใชระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control)
359 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 9.1 การทดลองระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - รถยนตที่มีระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ (Cruise Control)
จํานวน 1 คัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
360 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ (Cruise Control) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ติดเครื่องยนต
ขอควรระวัง
ติ ด เครื่ อ งยนต โ ดยกดปุ ม สตาร ท คาดเข็มขัดนิรภัย รถยนต
เพื่อความ ปลอดภัย
2. เรงเครื่องยนตไปที่ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง
เหยีย บคัน เรงจนความเร็ว อยูที่ 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง
3. เปดใชงานระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ
ก ด ปุ ม CRUISE เ พื ่อ เป ด ใช ง าน ระบบควบคุ มความเร็ วรถอัตโนมัติ และสั ง เกตบนหน า ป ด จะต อ งมี สั ญ ลั ก ษณ CRUISE MAIN ปรากฏ ขึ้น
361 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย กดปุ ม SET เพื ่อ ตั ้ง ให ค วามเร็ ว
4. ปรับตั้งความเร็ว
คงที่ ณ ขณะนั้น
5. ลดความเร็ว
กดปุม DECEL เพื่อลดความเร็ ว ให เหลือแค 50 กิโลเมตร/ชั่วโมง
6. เพิ่มความเร็ว
กดปุม ACCEL เพื่อ เพิ่ม ความเร็ ว เปน 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง
362 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
7. หยุดการทํางานของระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ
ก ด ปุ ม CANCEL แ ล ะ ส ัง เ ก ต ความเร็ว ณ ขณะนั้น
8. คืนคาความเร็ว
กดปุ ม RES เพื ่อ คืน คา ความเร็ ว และสัง เกตความเร็ว ที่ ห น า ปด ซึ่ง จะตองมีคาเทากับ ความเร็ว ที่ตั้ ง ไว ครั้งแรก
9. หยุดการทํางานของระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ
คอ ย ๆ เหยีย บที ่แ ปน เบรก และ สังเกตความเร็ว ณ ขณะนั้น
363 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
10. คืนคาความเร็ว
กดปุ ม RES เพื ่อ คืน คา ความเร็ ว และสัง เกตความเร็ว ที่ ห น า ปด ซึ่ง จะตองมีคาเทากับ ความเร็ว ที่ตั้ ง ไว ครั้งแรก
11. หยุดการทํางานของระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ
คอ ย ๆ เหยีย บคัน เรง และสัง เกต ความเร็ว ณ ขณะนั้น
12. คืนคาความเร็ว
กดปุ ม RES เพื ่อ คืน คา ความเร็ ว และสัง เกตความเร็ว ที่ ห น า ปด ซึ่ง จะตองมีคาเทากับ ความเร็ว ที่ตั้ ง ไว ครั้งแรก
364 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
13. ปดใชงานระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ
ก ด ปุ ม CRUISE เ พื ่อ ป ด ใช ง าน ระบบควบคุมความเร็วรถอัตโนมัติ และสั ง เกตบนหน า ป ด สั ญ ลั ก ษณ CRUISE MAIN จะดับลง
14. จอดรถ
จอดรถ ดับเครื่องยนต และเขาเกียร ที่ ตํ าแหน ง P และดึ งเบรกมื อ เพื่ อ ปองกันรถไหล
15. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใช ผ า เช็ ด ทํ า ความสะอาดบริ เ วณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เครื่องมือและอุปกรณใหเรียบรอย
365 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ขอควรระวัง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การปรั บ ตั้ ง ความเร็ ว เมื่ อ ใช ง านระบบควบคุ ม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความเร็วอัตโนมัติ
5
การเพิ่มและลดความเร็ว เมื่อใชงานระบบควบคุม ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ความเร็วอัตโนมัติ
6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
366 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง 2
ใหคะแนน 0 คะแนน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การเปดใชงานระบบควบคุมความเร็ว และปรับตั้ง
กดปุ ม เป ด ใช ง านระบบ และปรั บ ตั้ ง ค า ความเร็ ว คงที่
ความเร็วคงที่ได
ไดถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน กดปุ ม เป ด ใช ง านระบบ หรื อ ปรั บ ตั้ ง ค า ความเร็ ว คงที่
5
ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน กดปุ ม เป ด ใช ง านระบบ และปรั บ ตั้ ง ค า ความเร็ ว คงที่ ไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 5
การเพิ่ ม และลดความเร็ ว เมื่ อ ใช ง านระบบควบคุ ม ปรับเพิ่มและลดความเร็วตามทีก่ ําหนดไดถูกตอง ความเร็วอัตโนมัติ
ใหคะแนน 5 คะแนน
367 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
ปรั บ เพิ่ ม หรื อ ลดความเร็ ว ไม ไ ด ตามที่ กํ า หนด อย า งใด อยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ป รั บ เ พิ่ ม แ ล ะ ล ด ค ว า ม เ ร็ ว ไ ม ไ ด ต า ม ที่ กํ า ห น ด ใหคะแนน 0 คะแนน 6
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย และไมครบทุกชิ้น ใหคะแนน 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมถกู ตองและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 8
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
28
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 20 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
368 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบงาน ใบงานที่ 9.2 การทดลองระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัยของตัวรถยนตได 2. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) ได 3. ปฏิบัติงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย
2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 1 ชั่วโมง 30 นาที
3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทดลองใชระบบระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)
369 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 9.2 การทดลองระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติ งาน ไมใหมีอุปกรณ อื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวข อง หรือวัสดุอันตราย เชน สายไฟฟ า วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. รถยนตที่มีระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)
จํานวน 1 คัน
2. รถยนตที่ไมมีระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS)
จํานวน 1 คัน
3. กรวยจราจร
จํานวน 2 อัน
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ผาเช็ดทําความสะอาด
จํานวน 1 ผืน
370 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
2. ลําดับการปฏิบัติงาน การทดลองระบบเบรกปองกันลอล็อก (ABS) 2.1 เปรียบเทียบระยะเบรกของรถที่มีระบบ ABS และไมมีระบบ ABS ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
1. ติดเครื่องยนต
ติดเครื่องยนต
ขอควรระวัง คาดเข็มขัดนิรภัย เพื่อความปลอดภัย
2. ขับรถทีไ่ มมีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กําหนด
เข า เกี ย ร D และขั บ รถด ว ย ความเร็ว 60 กิโ ลเมตร/ชั่ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด
3.เหยียบเบรก
เหยีย บเบรกอยา งกะทั น หั น จนกระทั่ งรถหยุ ดสนิ ท และวาง กรวยจราจร เพื่อทําเครื่องหมาย ตรงจุดที่รถหยุด
371 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย
4. ขับรถทีม่ ีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กาํ หนด
ขอควรระวัง
เข า เกี ย ร D และขั บ รถด ว ย ความเร็ ว 60 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด
5. เหยียบเบรก
เหยี ย บเบรกอย า งกะทั นหั น จนกระทั่ งรถหยุ ดสนิ ท และวาง กรวยจราจร เพื่อทําเครื่องหมาย ตรงจุดที่รถหยุด สังเกตระยะทาง ที่รถทั้ง 2 คันใชเบรก
2.2 เปรียบเทียบการบังคับเลี้ยวของรถที่มีระบบ ABSและไมมีระบบ ABS ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ขับรถที่ไมมีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กําหนด
คําอธิบาย ขอควรระวัง เ ข า เ กี ย ร D แ ล ะ ขั บ ร ถ ด ว ย ความเร็ ว 60 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด
372 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย ขอควรระวัง กอ นที่จ ะถึ ง สิ่ ง กีด ขวางเหยีย บ
2.เหยียบเบรก
เบรกอยา งกะทัน กัน แลว หัก พวงมาลัยเพื่อหลบสิ่งกีดขวาง
3. สังเกตการทํางานของระบบ
รถจะยัง คงเคลื ่อ นที ่ไ ด แตล อ รถยนตจ ะไม ส ามารถหั ก เลี้ ย ว หลบสิ่งกีดขวางได
4. ขับรถที่มีระบบ ABS จนถึงระยะทางที่กําหนด
เ ข า เ กี ย ร D แ ล ะ ขั บ ร ถ ด ว ย ความเร็ ว 60 กิ โ ลเมตร/ชั่ ว โมง จนถึงจุดที่กําหนด
373 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําอธิบาย ขอควรระวัง กอ นที่จ ะถึ ง สิ่ ง กีด ขวางเหยีย บ
5. เหยียบเบรก
เบรกอยางกะทัน หัน จนกระทั่ง รถหยุดสนิท
6. สังเกตการทํางาน
โดยรถจะตองหักเลี้ยวหลบสิ่งกีด ขวางได
7. จอดรถ
จอดรถ ดั บ เครื่ อ งยนต แ ละเข า เกีย รที่ตําแหนง P และดึ ง เบรก มือ เพื่อปองกันรถไหล
8. ทําความสะอาดและจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ
ใชผาเช็ดทําความสะอาดบริเวณ สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และจั ด เก็ บ เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ ใ ห เรียบรอย
374 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
3. ตรวจสอบการทํางาน ตรวจสอบและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ ลําดับที่ 1
รายการตรวจสอบ
เกณฑการพิจารณา
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ
ความถูกตองตามวิธีการใชงาน
ครบถวน 2
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลอยางถูกตอง ความถูกตองตามวิธีการใชงาน และครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
4
การขั บ รถและการเหยี ย บเบรกเพื่ อให ร ะบบ ABS ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ทํางาน
5
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน
7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ทันเวลาที่กําหนด
375 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่
1
รายการตรวจสอบ
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตองและ ครบถวน
ขอกําหนดในการใหคะแนน
เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม 3
เตรี ย มเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ค รบถ ว น หรื อ ไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุไมครบถวนและ ไมถูกตอง 2
ใหคะแนน 0 คะแนน
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดแก ถุงมือผา สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง รองเทานิรภัย ชุดปฏิบัติงานชาง ไดอยางถูกตองและ ครบทั้ง 3 ชนิด ใหคะแนน 3 คะแนน ครบถวน กอนเริ่มปฏิบัติงาน
3
สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง ครบ 2 ชนิด ใหคะแนน 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลไดอยางถูกตอง นอยกวา 2 ชนิด ใหคะแนน 0 คะแนน
3
การปฏิบัติงานไดถูกตอง เปนไปตามลําดับขั้นตอน
ถูกตองและเปนไปตามลําดับขั้นตอน ใหคะแนน 3 คะแนน
3
ถูกตอง แตสลับขั้นตอนปฏิบัติงานในบางขั้นตอน ใหคะแนน 2 คะแนน ถูกตอง แตปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 1 คะแนน ไมถูกตอง และปฏิบัติงานไมครบทุกขั้นตอน ใหคะแนน 0 คะแนน 4
การขับรถและการเหยียบเบรกเพื่อใหระบบ ABS ทํางาน ขับรถตามความเร็วที่กําหนด และเหยียบเบรกเพื่อใหระบบ ABS ทํางาน ไดอยางถูกตอง ใหคะแนน 5 คะแนน ขับรถไมเปนไปตามความเร็วที่กําหนด หรือ เหยียบเบรก เพื่อใหระบบ ABS ทํางานไมถูกตอง อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 3 คะแนน ขับรถไมเปนไปตามความเร็วที่กําหนด และ เหยียบเบรก เพื่อใหระบบ ABS ทํางานไมถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน
376 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
5
คะแนนที่ได
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
ลําดับที่
5
รายการตรวจสอบ
ขอกําหนดในการใหคะแนน
ความสะอาดเรียบรอยในการปฏิบัติงาน
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไดสะอาดเรียบรอย และครบทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน
คะแนน เต็ม
คะแนนที่ได
3
ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ไมสะอาดเรียบรอย หรือไมครบทุกชิ้น อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 6
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุหลังปฏิบัติงาน
จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ และวัสดุอยางถูกตอง ครบถวน
3
ทุกชิ้น ใหคะแนน 3 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ ง หรื อ ไมครบถวน อยางใดอยางหนึ่ง ใหคะแนน 2 คะแนน จั ด เก็ บ เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ และวั ส ดุ ไ ม ถู ก ต อ งและ ไมครบถวน หรือไมจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ ใหคะแนน 0 คะแนน 7
เวลาที่ใชในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานไดอยางสมบูรณภายในเวลาทีก่ ําหนด
3
ใหคะแนน 3 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดไมเกิน 5 นาที ใหคะแนน 2 คะแนน ปฏิบัติงานเกินเวลาทีก่ ําหนดมากกวา 5 นาที ใหคะแนน 1 คะแนน คะแนนเต็ม
23
หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 16 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ข0อเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได
377 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 378 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งบํา รุ ง รั ก ษารถยนต ระดั บ 1
โมดู ล การฝ ก ที่ 6
379 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน