หนาปก
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
คูมือครูฝก 0920164170201 สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
คํา นํา
คูมือครูฝก สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 โมดูลที่ 7 หลักการทําความเย็น และสารทําความเย็น ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการ ภายใต โ ครงการพั ฒ นาระบบฝ ก และชุด การฝก ตามความสามารถเพื่อ การพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝกตาม ความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครู ฝ กได ใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเป นไปตามหลักสูต ร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหเขาใจ วัฏ จัก ร หลักการระบบการทํ า ความเย็ น และระบบปรับ อากาศได และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดา น ความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรูไ ด ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต องการ โดยยึ ด ความสามารถของผู รับ การฝ กเปน หลัก การฝ ก อบรมในระบบดั งกลา ว จึ ง เป น รู ป แบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรีย นรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรีย มการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย มและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดม ากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใช จายในการพั ฒ นาฝมือแรงงานใหแ ก กําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
สารบัญ
เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 7 09217302 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น หัวขอวิชาที่ 1 0921730201 ระบบทําความเย็นและปรับ อากาศ
20
หัวขอวิชาที่ 2 0921730202 หนวยวัดในระบบทําความเย็น
28
หัวขอวิชาที่ 3 0921730203 สารทําความเย็น
39
คณะผูจัดทําโครงการ
50
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้ อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับผิด ชอบของผูม ีสวนไดสวนเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตร ระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถแบบ ออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบีย นแบบออนไลน ใหผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบีย นผานเว็บไซต โดยกรอกประวัติ เลือก หลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบีย นแบบออฟไลน ผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบีย นที่ศูนยฝก โดยการเลือกหลักสูตร กรอก ประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวใ นระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐานของกรม พัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ค. ผังการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสือ่ สิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ข อเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผู รับ การฝก ที่ศู นยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแ กผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือกใชอุป กรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิม พ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่ม อบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและ การพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170201
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกใน สาขาชางเครื่องปรับอากาศ ในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแห งชาติ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาและงานชางเครื่องทําความเย็นไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับหนวยวัดของระบบตาง ๆ ที่ใชงานในเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ และสามารถ อานแบบเครื่องกล แบบทางไฟฟาเบื้องตน รวมทั้งแบบวงจรไฟฟาที่เกี่ย วกับงานเครื่องทําความเย็น 1.3 มีความรูในการคํานวณเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มี ค วามรู ค วามสามารถในการใช ง านเครื่ อ งมื อ วั ด และทดสอบงานไฟฟ า งานเครื่ อ งทํ า ความเย็ น และ เครื่องปรับอากาศที่กําหนดได 1.5 มีความรูความสามารถในการตอสายไฟฟาตามที่กําหนดได 1.6 มีความรูความสามารถในการตัด ปรับแตง ขยาย บาน ดัด และการเชื่อมทอ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น 1.8 มีความรูเกี่ยวกับสวนประกอบระบบทําความเย็นแบบแกสอัดไอ 1.9 มีความรูความสามารถในการตรวจสอบวงจรไฟฟาในเครื่องปรับอากาศ 1.10 มีความรูความสามารถในการติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 82 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝ ก จบการฝ กไมพ รอมกั น สามารถจบกอ นหรือ เกิ น ระยะเวลาที่ กํา หนดไวใ นหลักสูต รได
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุ ล ยพิ นิ จ ของผู อํา นวยการ สถาบั น พั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน หรื อ ผู อํา นวยการสํา นั ก งานพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานที่ เ ป น หน ว ยฝ ก ตามความสามารถ จะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 10 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 10 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยข นาดเล็ก ระดับ 1
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 7 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920164170201 2. ชื่อโมดูลการฝก รหัสโมดูลการฝก 09217302 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง 15 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 15 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน ว ย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมี การฝก ความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายหลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศได 2. อธิบายวัฏจักรระบบการทําความเย็นและระบบปรับอากาศได 3. อธิบายความหมายของหนวยวัดในระบบการทําความเย็นไดอยางถูกตอง 4. อธิบายคุณสมบัติของสารทําความเย็น การแบงประเภทสารทําความเย็น การเลือกใช สารทําความเย็น และถังบรรจุสารทําความเย็นไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานเกี่ย วกับหลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศ หนวยวัดใน ผูรับการฝก ระบบการทําความเย็ น สารทําความเย็น หรือผานการฝกอบรมที่เกี่ย วขอ ง จาก หนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานการฝกโมดูลที่ 6 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายหลักการทําความเย็น หัวขอที่ 1 : ระบบทําความเย็นและปรับอากาศ 0:30 0:30 และสภาวะปรับอากาศได 2. อธิบ ายวัฏ จั กร ระบบการทํา ความเย็ น และ ระบบปรับ อากาศได 3. อธิบ ายความหมาย หัวขอที่ 2 : หนวยวัดในระบบทําความเย็น 0:45 0:45 ของหนวยวั ดในระบบ สาขาชางเครื่องปรับอากาศในบานและการพาณิชยขนาดเล็ก ระดับ 1 หลักการทําความเย็นและสารทําความเย็น
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 การทํา ความเย็ น ได อยา งถูก ต อง 4. อธิบายคุณสมบั ติ หัวขอที่ 3 : สารทําความเย็น ของสารทํา ความเย็ น การแบงประเภท สารทําความเย็น การเลือกใชสารทําความเย็น และถังบรรจุสารทําความเย็น ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
1:00
-
1:00
2:15
-
2:15
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1
0921730201 ระบบทําความเย็นและปรับอากาศ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายหลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศได 2. อธิบายวัฏจักรระบบการทําความเย็นและระบบปรับอากาศได
2. หัวขอสําคัญ 1. หลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศ 2. วัฏจักรของระบบทําความเย็นและระบบปรับอากาศ 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทําความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุกส. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส.
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบทําความเย็นและสาร ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน ทําความเย็น ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องระบบทํ า ความ 2. ฟง และซักถามขอสงสัย เย็นและสารทําความเย็น ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องระบบทําความเย็น 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องระบบทําความเย็นและ สารทําความเย็น หนาที่ 14 – 19 ไปศึกษา และสารทําความเย็น หนาที่ 14 – 19 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความ รู ใ หมพ รอ ม ใชสื ่อ วีด ิท ัศ น นาทีที ่ 00.00 - 03.18 และตัวอยางจริงประกอบการ สอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 หลั ก การทํ า ความเย็ น และสภาวะปรั บ อากาศ 2.2 วัฏจักรของเครื่องทําความเย็นและระบบ ปรับอากาศ 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 18 - 19 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม ฝก หนาที่ 18 - 19 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ ฝก หนาที่ 27 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกั น ตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ระบบทําความ เย็นและสารทําความเย็น ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง ระบบทําความ เย็ น และสารทํ า ความเย็ น เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการ ปฏิ บั ติ ง าน และคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการ คุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ระบบทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ 1. หลักการทําความเย็นและสภาวะปรับอากาศ หลักการเบื้องต นของการทํ าความเย็ น คือ การทําใหสารทํา ความเย็ น (Refrigerant) เกิดการเปลี่ย นแปลงสถานะ เพราะวาในการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารตองใชความรอนแฝง ดังนั้น การเปลี่ยนสถานะของสารทําความเย็นจากสถานะ ของเหลวเปนสถานะแกสจะเกิดการดูดความรอนจากบริเวณขางเคียงไป จึงทําใหบริเวณนั้นมีอุณหภูมิลดลง 2. วัฏจักรของเครื่องทําความเย็นและระบบปรับอากาศ การทําความเย็นระบบอัดไอ (Vapor Compression System) เปนระบบที่นิยมแพรหลายและใชกันทั่วไป ประกอบดวย อุปกรณหลัก ไดแก คอมเพรสเซอร คอนเดนเซอร แคปทิ้วป หรือ เอ็กซแพนชั่นวาลว และอีวาพอเรเตอร ซึ่งทํางานรวมกัน เปนวัฏจักร และทําใหเกิดความเย็นขึ้นมา
ภาพที่ 1.1 วัฏจักรเครื่องทําความเย็น วัฏจักรการทํางานของการทําความเย็นระบบอัดไอ เริ่ม จากคอมเพรสเซอรดูดน้ํายาสถานะแกสจากทอทางดู ด (Suction Line) ของคอมเพรสเซอร จากนั้น จะอัด ใหมีค วามดัน และอุณหภูม ิที่สูงขึ้น แลว สงออกไปยังทอทางอัด หรือทอดิสชารจ (Discharge Line) ไปยังคอนเดนเซอร น้ํายาที่มีความดันสูง อุณหภูมิสูงจะถูกระบายความรอนออกดวย น้ําหรือ อากาศ และควบแนน เปลี่ย นสถานะจากแกส เปน ของเหลว จากนั้น ถูก สง เขา ทอ ลิค วิด (Liquid Line) 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ไปยัง ถังพักน้ํายาเหลว เขาไปยังเอ็กซแพนชั่ นวาลว ซึ่งมีหนาที่ควบคุมปริม าณน้ํายาโดยฉี ดน้ํายาใหเป นฝอยเข าไปใน อีวาพอเรเตอร สารทํา ความเย็ น สถานะของเหลวเมื่ อ ความดั น ลดลง ก็จ ะดึง ความร อ นในอีว าพอเรเตอรเ พื ่อ นํา มาใชใ นการเดือ ด ทําใหอุณหภูมิภายในลดลง ดังนั้น สารทําความเย็นที่ออกจากอีวาพอเรเตอร จะเปลี่ยนสถานะ กลายเปนแกสที่มีความดันต่ํา อุณหภูมิต่ํา ผานเขายังทอทางดูด และถูกดูดกลับเขาคอมเพรสเซอร หลังจากนั้นจะถูก คอมเพรสเซอรอัดใหมีความดันสูง อุณ หภูม ิสูง สง ออกไปยัง คอนเดนเซอร เพื่อ ควบแนน เป น วัฏ จัก รไปเรื ่อ ย ๆ โดยที่น้ํายาแอร จะไมสูญหาย ถาหากไมมีการรั่วซึมในระบบ
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. การทําความเย็นมีหลักการคือ การเปลี่ย นสถานะของสารทําความเย็ น จาก สถานะของเหลวเปนสถานะแกสจะเกิดการดูดความรอนจากบริเวณขางเคียงไป 2. คอมเพรสเซอรดูดน้ํายาสถานะแกสจากทอทางอัด 3. คอมเพรสเซอร เปนอุปกรณหลักในวัฎจักรทําความเย็น
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2
0921730202 หนวยวัดในระบบทําความเย็น (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกความหมายของหนวยวัดในระบบการทําความเย็นไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.
อุณหภูมิ ขนาดเครื่องทําความเย็น สัมประสิทธิ์สมรรถนะ (COP) ประสิทธิภาพการใหความเย็น (EER) ความดันสัมบูรณ ความดันเกจ และความดันบรรยากาศ
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส.
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับหนวยวัดในระบบทํา ความ ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน เย็น ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องหนวยวัดในระบบ 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ทําความเย็น ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องหนวยวัดในระบบ 1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ งหน ว ยวั ด ในระบบทํ า ความเย็น หนาที่ 20 - 28 ไปศึกษา ทําความเย็น หนาที่ 20 - 28 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความ รู ใ หมพ รอ ม ใชสื ่อ วีด ิท ัศ น นาทีที ่ 00.00 - 09.46 และตัวอยางจริงประกอบการ สอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 หนวยวัดอุณหภูมิ 2.2 หนวยวัดขนาดของเครื่องทําความเย็น 2.3 คาสัมประสิทธิ์สมรรถนะ 2.4 คาประสิทธิภาพการใหความเย็น 2.5 คาความดันสัม บูรณ ความดันเกจ ความ ดันบรรยากาศ 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 27 - 28 โดยครูคอยสังเกต ฝก หนาที่ 27 - 28 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ ฝก หนาที่ 38 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับ กั นตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อ ง หน ว ยวั ด ใน ระบบทําความเย็น ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง หนวยวัดในระบบ ทําความเย็นเกี่ย วกับกิจ นิสัย ในการปฏิบั ติงาน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุ ณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 หนวยวัดในระบบทําความเย็น 1. อุณหภูมิ ความรอนเปนพลังงานชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถเปลี่ย นไปเปนพลังงานรูปอื่นได โดยพลังงานความรอนจะถายเทจากวัตถุ ที่มีอุณหภูมิสูงไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ํากวา และจะหยุดการถายเทเมื่อวัตถุทั้งสองมีอุณหภูมิเทากัน 1.1 การวัดระดับพลังงานความรอน แบงได 2 ประเภท ไดแก 1) การวัด ความหนาแนน ของพลัง งานความรอ น หรือ อุณ หภูม ิ ซึ่ง ใชเ ทอรโ มมิเ ตอร (Thermometer) ในการวัดเทอรโมมิเตอรทํางานดวยหลักการขยายตัวและหดตัวของของเหลวในหลอดแกวเมื่อไดรับความรอน สวนใหญของเหลวที่ใชมักจะเปนแอลกอฮอลหรือปรอท หนวยของอุณหภูมิที่นิยมใชกันมีอยู 4 หนวย ดังนี้ - หนวยองศาเซลเซียส (Celsius, ºC) - หนวยองศาฟาเรนไฮต (Fahrenheit, ºF) - หนวยเคลวิน (Kelvin, K) - หนวยองศาแรงกิน (Rankine, ºR) โดยหนวยเคลวินและองศาแรงกินมีขอดี คือ สามารถวัดไดถึงจุดองศาสัมบูรณ (Absolute Temperature) ซึ่งเปนจุดที่ไมมีความรอนอยูเลย 2) การวัด คา ระดับ ปริม าณความรอ น ปริม าณความรอ น คือ จํา นวนความรอ นที่ม ีอ ยูใ นสสาร ซึ่งจะมี ปริม าณมากหรื อ น อยขึ้ น อยูกั บ น้ํา หนั กของสสาร อุณหภูมิ และความร อ นจํา เพาะของสสารชนิ ด นั้ น การวัด คา ระดับ ปริม าณความรอ นไมส ามารถวัด ไดโ ดยตรง แตส ามารถวัด ไดจ ากผลของความรอนที่ กระทําตอวัตถุอื่น เชน ทําใหอุณหภูมิเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือเกิดการเปลี่ย นสถานะ หนวยที่ใชวัดปริม าณ ความรอนมีอยู 2 หนวย คือ - หนวยบีทียู (British Thermal Unit, BTU) โดยปริมาณความรอน 1 บีทียู คือ ปริมาณความรอน ที่ทําใหน้ํา 1 ปอนด มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 ºF - หนวยแคลอรี่ (Calorie) โดยปริม าณความรอน 1 แคลอรี่ คือ ปริม าณความรอนที่ทําใหน้ํา 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นหรือลดลง 1 ºC
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 2. ขนาดของเครื่องทําความเย็น ขนาดของเครื่องทําความเย็นสามารถระบุได ดังนี้ 2.1 ตันของการทําความเย็น (Ton of Refrigeration) คือ คาที่ใชแทนขนาดเครื่องทําความเย็นที่สามารถทําความเย็น เทียบไดกับปริมาณความรอนที่ใชในการละลายน้ําแข็งจํานวน 1 ตัน ในเวลา 24 ชั่วโมง 2.2 คิว ของการทํา ความเย็น เปน การคํา นวณหาคา ปริม าตรภายในหอ งทํา ความเย็น มีห นว ยเปน ลูก บาศก-ฟุต (Cubic - Feet) เชน ตูเย็นมีขนาด 6 คิว แสดงวาตูเย็นตูนั้นมีขนาดความจุภายใน เทากับ 6 ลูกบาศก – ฟุต เปนตน 3. สัมประสิทธิ์สมรรถนะ (COP) สัมประสิทธิ์สมรรถนะ (Coefficient of Performance หรือ COP) คือ คาที่บงบอกถึงประสิทธิภาพในการทําความเย็นของ Heat Pump ซึ่งการคํานวณหาคาไดโดยการเปรียบเทียบคาความรอนที่ปลอยออกมาจาก คอยลรอน (Condenser; คา Q) กับคาพลังงานที่ใชในการขับเครื่องคอมเพรสเซอร (Compressor; คา W) โดยแทนคาในสมการ ดังนี้
ตัวอยาง Heat Pump ที่มีคา COP เทากับ 3 หมายถึง พลังงานที่ใ ชใ นการขับเครื่อ งคอมเพรสเซอรทุก 1 กิโลวัต ต จะมีสมรรถนะในการทําความเย็นได 3 กิโลวัตต 4. ประสิทธิภาพการใหความเย็น (EER) คาประสิทธิภาพของเครื่องทําความเย็น (Energy Efficiency Ratio หรือ EER) เปนคาแสดงประสิทธิภาพ การใช พลั ง งานไฟฟา ของเครื่ องทํ าความเย็น และเครื่ อ งปรั บอากาศแบบทั่ ว ไป ชนิ ด Fixed Speed ซึ่ ง ระบบการทํ า งานของ คอมเพรสเซอรไมปรับความเร็วในการหมุนรอบ ทําใหเกิดการตัดตอการทํางานของมอเตอรคอมเพรสเซอรบอย ๆ เพื่อรักษา อุณหภูมิภายในหอง โดยทั่วไปนั้นมีคา EER เทากับ 10.6 หรื อ มากกว า ยิ่ ง ค า EER สู ง ยิ่ ง ช ว ยประหยั ด พลัง งานไฟฟา ซึ ่ ง ฉ ลาก ของเค รื ่อ งปรับ อากาศ จะบ อ ก ข อ ง ข น า ด เครื่ อ งปรั บ อากาศเป น BTU/hr และบอกค า กํ า ลั ง ไฟฟ า ที่ เครื่องปรับอากาศตองใชเปนวัตต โดยสมการคํานวณหาคา EER ดังนี้
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 ตัวอยาง เครื่องปรับอากาศขนาด 12,000 บีทียู มีคากําลังไฟฟาที่เครื่องปรับอากาศใชงาน 1,000 วัตต จงหาคา EER ของเครื่องปรับอากาศ EER =
ขนาดการทําความเย็น (BTU)
กําลังไฟฟาที่ใชทั้งหมด (Watt)
12,000
=
1,000
= 12
ตารางที่ 2.1 แสดงคาใชจายที่สามารถชวยประหยัดไฟไดของเครื่องปรับ อากาศ เบอร 3,4 และ 5 ฉลากประหยัดพลังงาน
เบอร 3
เบอร 4
เบอร 5
คา EER
10.60- 11.00
11.00-11.59
11.60++
ชวยประหยัดคาใชจายตอป
0 บาท
1,254 บาท
1,254 บาท
0 บาท
1,699 บาท
3,397 บาท
0 บาท
2,199 บาท
4,398 บาท
สําหรับแอร 12,000 BTU ชวยประหยัดคาใชจายตอป สําหรับแอร 18,000 BTU ชวยประหยัดคาใชจายตอป สําหรับแอร 24,000 BTU ในปจจุบันเครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศนิยมใชระบบ Inverter หรือ Variable Speed ซึ่งใชระบบเซ็นเซอร ตรวจจับอุณหภูมิ เมื่อถึงอุณหภูมิที่กําหนดคอมเพรสเซอรจะลดรอบลงเพื่อรักษาความเย็นไว โดยคอมเพรสเซอรจะยังคง ทํางานตอเนื่อง ทําใหสามารถประหยัดไฟมากกวาระบบปกติ ซึ่งใชการทดสอบแบบ SEER (Seasonal Energy Efficiency Ratio) วัดประสิทธิภาพในการใชพลังงานตามฤดูกาล ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 2.2 เกณฑระดับประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ ชนิด Variable Speed/Inverter เกณฑพลังงาน ป ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) ขนาดเครื่องปรับ อากาศ
ประสิทธิภาพพลังงานตามฤดูกาล : SEER (บีทียู/ชั่วโมง/วัตต) เบอร 1
ไมเกิน 8,000 วัตต
เบอร 2
เบอร 3
เบอร 4
เบอร 5
12.00 - 12.59
12.60 - 13.39 13.40 – 14.19 14.20 - 14.99
≥15.00
11.00 - 11.69
11.70 - 12.39
≥14.00
(≤27,296 บีทียู/ชั่วโมง) มากกวา 8,000 - 12,000 วัตต (>27,296 - 40,944 บีทียู/ชั่วโมง) 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
12.40 - 13.19
13.20 - 13.99
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 5. ความดันสัมบูรณ ความดันเกจ และความดันบรรยากาศ ความดัน คือ น้ําหนักที่ตกลงบนพื้นที่ 1 ตารางหนวย โดยระบบอังกฤษจะมีหนวย ปอนด/ ตารางนิ้ว, lb/in2 หรือ psi โดยมีสมการดังนี้ เมื่อ
P เทากับ คาความดัน (lb/in2) F เทากับ แรง (lb) A เทากับ พื้นที่รับแรง (in2)
การวัดคาความดัน สามารถวัดได 2 แบบ คือ 5.1 วัด ในหนว ยความดัน สัม บูร ณ (Absolute Pressure) ความดัน สัม บูร ณ คือ ระดับ ความดัน ที่ม ีคา จริง ๆ หนวยจะเปน psia 5.2 วัดในหนวยความดันเกจ (Gauge Pressure) เราจะใชเครื่องมือที่เรีย กวา เกจ (Gauge) เปนตัววัดคาความดัน ซึ่งคาความดันที่อานจากเกจจะมีหนวยเปน psig โดยความดันเกจจะเริ่ม อานคาที่ความดันบรรยากาศ ดังนั้น คาความดันเกจที่อานไดจะมีคานอยกวาความดันสัมบูรณอยูที่ 14.7 เสมอ
ภาพที่ 2.1 แสดงการเปรียบเทียบหนวย psiaและ psig
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 สมการเปรียบเทียบระหวางหนวย psia และ psig สมการ ความดันสัมบูรณ
=
(Absolute Pressure)
ความดันเกจ
+
(Gauge Pressure)
หรือ
psig
=
psia - 14.7
และ
psia
=
psig + 14.7
ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure)
คาความดันสัมบูรณ (Psia) จะใชวัดคาความดันตาง ๆ ตั้งแตคาความดันสูง ๆ จนกระทั่งความดันลดลงเปนสุญญากาศ โดยการวัด คา จะวัด เทีย บในหนว ยของความดั น เกจเสมอ สว นความดัน เกจ (Psig) จะใชวัด คา ความดัน สูง ๆ จนกระทั่งถึงความดันบรรยากาศนั้นเทานั้น ถาความดันต่ํากวาความดันบรรยากาศ จะตองไปวัดในหนวยของนิ้วปรอท (Inches of Mercury, Hg) เกจวัดสุญญากาศ (Vacuum Gauge of Barometer) การวัดความดันเหนื อบรรยากาศนั้นเราจะใชเกจวัดความดั นสูง (Pressure Gauge) สามารถวัดคาไดตั้งแต 0 psig ขึ้นไป ในกรณีที่ตองการวัดความดันที่ต่ํากวาบรรยากาศ คือ วัดใหถึง 0 psia หรือใหเปนสุญญากาศนั้น จะตองใชเครื่องมือวัดที่เรียกวาบารอมิเตอร (Barometer)
ภาพที่ 2.2 บารอมิเตอรแบบเบื้องตน
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. หนวยของอุณหภูมิที่นิยมใชกันมีอยู 4 หนวย คือ หนวยองศาเซลเซียส หนวยองศาฟาเรนไฮต หนวยเคลวิน และ หนวยองศาแรงกิน 2. หนวยองศาฟาเรนไฮต มีสัญลักษณ คือ ºF 3. K คือ หนวย เคอรี่ (Kerry) 4. การทดสอบแบบ SEER คือ การวัดประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศแบบ Fixed Speed ในการใชพลังงานแบบเหมารายป 5. ความรอน 1 บีทียู คือ ปริมาณความรอนที่ทําใหน้ํา 1 ปอนด มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น หรือลดลง 100 ºF
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3
0921730203 สารทําความเย็น (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - บอกคุณสมบัติของสารทําความเย็น การแบงประเภทสารทําความเย็น การเลือกใชสารทําความเย็น และถังบรรจุ สารทําความเย็นไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.
ชนิดและคุณสมบัติของสารทําความเย็น ประเภทของสารทําความเย็น การเลือกใชสารทําความเย็น ถังบรรจุสารทําความเย็น
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม นุกูล แกวมะหิงษ. 2558. เครื่องปรับอากาศ (ภาคทฤษฎี). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. มงคล พูนโตนด. 2557. เครื่องทําความเย็น. นนทบุรี : ศูนยหนังสือเมืองไทย. สุธิกานต วงษเสถียร. 2549. ระบบไฟฟาควบคุม เครื่องทําความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส.
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับสารทําความเย็น
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้น ฐาน ที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคําถามที่เกี่ยวของกับเนื้อหาเพื่อสรางความ 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย สนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องสารทําความเย็น 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องสารทํา ความเย็ น 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องสารทําความเย็น หนาที่ 29 - 37 ไปศึกษา หนาที่ 29 - 37 2. สอนเนื้ อ หาตามหั ว ข อ ของแผนการจั ด การ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เรียนรูโดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝกโดย ใชความรูเดิม ของผูรับการฝกมาตอยอดเป น ความ รู ใ หมพ รอ ม ใชสื ่อ วีด ิท ัศ น นาทีที ่ 00.00 - 10.30 และตัวอยางจริงประกอบการ สอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 ความหมายของสารทําความเย็น 2.2 ชนิดและคุณสมบัติของสารทําความเย็น 2.3 ประเภทของสารทําความเย็น 2.4 การเลือกใชสารทําความเย็น 2.5 รหัสสีของถังบรรจุสารทําความเย็น 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบ หนาที่ 36 – 37 โดยครูคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม ฝก หนาที่ 36 – 37
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 4. ครูฝกเฉลยใบทดสอบ โดยดูเฉลยจากคูมือครู 4. จดบั น ทึ ก ซั ก ถามข อ สงสั ย ด ว ยวาจาที่ สุ ภ าพ ฝก หนาที่ 49 เรีย บรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับ กั นตรวจกั บ เพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง สารทําความเย็น
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง สารทําความเย็ น เกี่ย วกับกิจนิสัย ในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 สารทําความเย็น สารทําความเย็น หมายถึง สารที่ดูดความรอนจากบริเวณโดยรอบ เพื่อเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกส ทําใหอากาศ โดยรอบมีอุณหภูมิลดลง และเมื่อสารในสถานะแกสระบายความรอนออกไปก็จะเปลี่ยนสถานะเปนของเหลวอีกครั้ง 1. ชนิดและคุณสมบัติของสารทําความเย็น สารทําความเย็นเปนของเหลวที่มีคุณสมบัติใ นการทําความเย็น โดยการดูดความรอนจากวัตถุหรือสิ่งของที่ตองการ ทําความเย็น ดังนั้น สารทําความเย็นที่ดีจึงตองมีคุณสมบัติทางฟสิกส ทางเคมี มีความปลอดภัยในการใชงานและประหยัด ดังนี้ 1.1 คุณสมบัติทางฟสิกส (Physical Properties) ไดแก 1) ความร อนแฝงของการกลายเปนไอ สารทํ าความเย็นที่ ดี ต องมีค าความร อนแฝงของการกลายเปนไอสูง ทําใหใชสารทําความเย็นนอยลง และสามารถลดขนาดของมอเตอรคอมเพรสเซอรได 2) ปริม าตรจําเพาะของสารทําความเย็ นในสถานะไอ เมื่อความรอนแฝงของการกลายเปนไอมี ค า มาก จะทําใหปริม าตรจําเพาะมีคานอย การขยายตัวในสถานะแกสจะใชพื้นที่นอย ชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพ แกคอมเพรสเซอร 3) อัตราการอัดของลูกสูบ ถาอัตราการอัดของลูกสูบต่ํากําลังของเครื่องก็ต่ํา แตประสิทธิภาพเชิงปริมาตรสูง ซึ่งเปนผลใหขนาดของคอมเพรสเซอรลดลงได 4) ความรอนจําเพาะของสารทําความเย็นในสถานะของเหลวตองมีคาต่ํา และเมื่ออยูในสถานะแกสคาความรอน จําเพาะตองมีคาสูง ทําใหประสิทธิภาพของระบบแลกเปลี่ยนความรอนดีขึ้น 1.2 คุณสมบัติทางเคมี (Chemical Properties) ไดแก 1) ถายเทความรอนไดดี เพื่อจะไดใชสารทําความเย็นปริมาณนอย 2) ไมเปนพิษ หากเกิดการรั่วซึมก็ไมกอใหเกิดอันตรายตอผูใช 3) ไมติดไฟ ไมระเบิด 4) ไมกัดโลหะที่เปนตัวเครื่องและทอ 5) หากเกิดการรั่วจะสามารถหารอยรั่วไดงาย สารทําความเย็นบางชนิดอาจผสมสีเขาไปดวย โดยเมื่อเวลารั่ว ก็จะมีสีออกมาตามรอยรั่วนั้น 6) ใชความดันไมสูง เพราะถาใชความดันสูงจะตองมีการสรางตัวเครื่องและระบบทอใหแข็งแรงขึ้น 7) ไมเปลี่ยนสภาพ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคาความดันและความรอน 43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 8) ไมทําปฏิกิริยากับน้ํามันหลอลื่น เนื่องจากในคอมเพรสเซอรจะมีน้ํามันหลอลื่นที่ใชหลอลื่นลูกสูบ 9) ราคาไมแพง เครื่องทําความเย็นจะผลิตมาเพื่อใชกับสารทําความเย็นเฉพาะชนิดนั้น ๆ มักจะถูกสรางขึ้นมาใชกับสารทําความเย็ น ชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะ เนื่องจากสารทําความเย็นแตละชนิดตองการความดันและขนาดของคอมเพรสเซอรแอรไมเท ากั น ดังนั้นเมื่อใชสารทําความเย็นที่ไมเหมาะสมจะทําใหไมเย็นและเครื่องอาจทํางานหนักเกินกําลัง 2. ประเภทของสารทําความเย็น การแบงประเภทของสารทําความเย็น แบงตามสวนประกอบ ดังนี้ 2.1 กลุมสาร CFCs (Chlorofluorocarbon) เปนกลุม สารทํา ความเย็ นที่มี คลอรี น เป นสว นประกอบสารทําความ เย็นในกลุมนี้ ไดแก R-11, R-12, R-113 และ R-114 เปนตน 2.2 กลุมสาร HCCs (Hydrofluorocarbon) เปน สารทํา ความเย็น ที่พ ัฒ นาขึ้น มาใชง านแทนสาร CFC สารใน กลุมนี้ไดแก R-23, R-125, และ R-134a 2.3 กลุมสารผสม คือ การนําสารทํา ความเย็ น บางชนิ ดมาผสมกั น เพื่อใหไดคุณสมบัติ ต รงกับ การใช งานเฉพาะ บางอยาง เชน สารทําความเย็น R-400 ไดจากการนําสาร R-12 มาผสมกับสาร R-114 เปนตน 2.4 กลุมที่เปนพิษและติดไฟ ไดแก R-40, R-123 และ R-117 เปนตน 2.5 กลุมที่ติดไฟ ไดแก R-170 (Ethane), R-290 (Propane) และ R-600 (Butane) เปนตน 2.6 กลุมที่ใชกับ ระบบที่เย็นจัด (Cryogenic) คือ กลุม สารทําความเย็นที่มีจุดเดือดที่อุณหภูมิต่ํามากจนถึงสัมบูรณ ไดแก R-702 (Hydrogen), R-704 (Helium), R-732 (Oxygen) และ R-740 (Argon) เปนตน
3. การเลือกใชสารทําความเย็น ชนิดของสารทําความเย็นที่ใชงานในปจจุบันมีดังนี้ 1) สารทําความเย็น R-11 (Trichloromonofluoromethane) คือ สารทําความเย็นกลุม ฟลูออโรคารบอน ไมเปนพิษและไมติดไฟ สามารถทํางานไดที่ความดันต่ํามาก โดยสารชนิดนี้ใ ชใ นระบบเครื่องปรับอากาศ ขนาดใหญที่ใชคอมเพรสเซอรแ บบแรงเหวี่ยงหนีศูนย นอกจากนี้ยังสามารถใชใ นการลางระบบเครื่ อ งเย็ น ในกรณีที่มอเตอรคอมเพรสเซอรไหม หรือในการซอมแซมระบบใหม เชน เปลี่ยนทอใหม ยายสถานที่ติดตั้ง เปนตน
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 2) สารทําความเย็น R-12 (Dichlorodifluoromethane) คือ สารทําความเย็นกลุมฟลูออโรคารบอน โดยสารชนิ ดนี้ จะนําไปใชกับระบบตูเย็น ตูแช และเครื่องปรับอากาศติดรถยนต 3) สารทําความเย็น R-22 (Monochlorodifluoromethane) คือ สารทําความเย็นกลุมฟลูออโรคารบอน สารชนิดนี้ ทํ า งานที่ ค วามดั น สู ง กว า R-12 จะใช ใ นเครื่ อ งทํ า ความเย็ น เครื่ อ งปรั บ อากาศแบบติ ด หน า ต า ง และ เครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน 4) สารทํ า ความเย็ น R-32 (Difluoromethane) เป น สารทํ า ความเย็ น กลุ ม ฟลู อ อโรคาร บ อน ใช ใ น เครื่อ งปรับ อากาศแบบแยกสว น สํา หรับ อาคารบา นเรือ นออกแบบขึ้น มาใหเ ปน มิต รตอ สิ่ง แวดลอม ซึ่งตางจากสารทําความเย็น R-22 ที่มีสวนในการทําลายชั้นบรรยากาศของโลก เนื่องจากสารทําความเย็น R 32 จะมีปริมาณของฟลูออรีนต่ํา จึงชวยบรรเทาเรื่อง Global Warming Potential ไปได 5) สารทําความเย็น R-717 (Ammonia) สารทําความเย็นชนิดนี้เปนสารอนินทรียที่มีสวนผสมของไนโตรเจน และไฮโดรเจน เปนสารมีพิษและติดไฟได มีความสามารถในการทําความเย็นสูง มักใชงานกับเครื่องทําความเย็ น ขนาดใหญ เชน หองเย็น โรงน้ําแข็ง เปนตน 6) สารทําความเย็น R-134a (Tetrafluoroethane) คือ สารทําความเย็นกลุม ฟลูออโรคารบอน สารชนิดนี้ ถูกพัฒนาขึ้นมาใชงานแทน R-12 โดยนํามาใชงานในเครื่องปรับอากาศรถยนต และตูเย็นที่ผลิตใหม 7) สารทําความเย็น R-410A (Hydrofluorocarbon) เปนสารทําความเย็นกลุมซีโอโทรปกสารทําความเย็นที่ ได รับ การออกแบบมาเป น พิ เ ศษพั ฒ นาขึ้ น มาใช ง านแทนน้ํ า ยาแอร R22 จะนํ า มาใช ใ นเครื่ อ งทํ า ความเย็น เครื่องปรับอากาศแบบติดหนาตาง และเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวน ตารางที่ 3.1 ขอแตกตางระหวางสารทําความเย็น R-410A และ R-32 R32 ความสามารถในการติดไฟ
R410A
สารติดไฟยาก
ไมติดไฟ
ไมติดไฟ
(A2L)
(A1)
(A1)
วิธีการเติม สารทําความเย็น เติมสภาวะแกส หรือ เขาระบบ
เติมสภาวะของเหลวเทานั้น เติมสภาวะแกส หรือ
ของเหลว
ของเหลว
เปรียบเทียบกับสารทําความ แรงดันเทากัน เย็น R410A
เครื่องมือบํารุงรักษาความสามารถใชรวมกัน
เปรียบเทียบกับสารทําความ แรงดันประมาณ 1.6 เทา เครื่องมือบํารุงรักษาไมสามารถใช เย็น R22
R22
รวมกันไดเนื่องจากคุณสมบัติดานความตานทานแรงดัน 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
4. ถังบรรจุสารทําความเย็น รหัสสีของถังทําความเย็น ทําขึ้นเพื่อปองกันความผิดพลาดในการใชงาน จึงมีการกําหนดรหัสสีถังบรรจุสารทําความเย็น แตละชนิดไว ดังนี้ ตารางที่ 3.2 แสดงรหัสสีของถังสารทําความเย็น ชนิดของสารทําความเย็นที่นิยมใชในปจจุบัน
รหัสสีของถังสารทําความเย็น
R-11
สีสม
R-12
สีขาว
R-22
สีเขียว
R-717 (แอมโมเนีย)
สีเงิน
R-134a
สีฟาออน
R-410A
สีชมพูเขม
R-32
สีชมพูออน
ชนิดของถังสารทําความเย็น โดยทั่วไปถังของสารทําความเย็นจะทําจากเหล็ก หรืออะลูมิเนีย ม โดยจะติดตั้งอุปกรณ ระบายความดัน (Safety Plug) เมื่อความดันสูงผิดปกติ มีวาลวเปดปดและโครงปองกันอยูดานบน โดยถังบรรจุสารทําความเย็น สามารถแบงได 3 ชนิด ดังนี้ 1) ถังเก็บสํารอง (Storage Cylinder) 2) ถังที่นํากลับมาใชใหมได (Returnable Cylinder) 3) ถังที่ใ ชครั้งเดีย วทิ้ง (Disposable Cylinder) หรือ Throw - Away โดยจะมีขอความข างถั งว า Non-Rechargeable ถังบรรจุน้ํายาแอรชนิด Disposable (ใชแลวทิ้ง) โดยทั่วไปมีอยู 3 ชนิด 1) มีความหนา 1.0 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักถังเหล็กรวมวาลวเปลาประมาณ 2.5 กิโลกรัม (น้ําหนักถังเปลา) ใชบรรจุสารความเย็น R134a , R12 , R22 โดยสามารถบรรจุไดสูงสุด 13.6 กิโลกรัม 2) มีความหนา 1.2 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักถังเหล็กเปลารวมวาลวประมาณ 3.0 กิโลกรัม (น้ําหนักถังเปลา) ใชบรรจุสารทําความเย็น R404a , R407c โดยสามารถบรรจุไดปริมาณสูงสุด 10.9 หรือ 11.3 กิโลกรัม 3) มีความหนา 1.5 มิลลิเมตร และมีน้ําหนักถังเหล็กเปลารวมวาลวประมาณ 3.5 กิโลกรัม (น้ําหนักถังเปลา) ใชบรรจุสารทําความเย็น R410a , R32 โดยสามารถบรรจุไดปริมาณสูงสุด 10.9 หรือ 11.3 กิโลกรัม สวน R32 จะบรรจุเพียง 7 กิโลกรัมในถังประเภทนี้เทานั้น 46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7 อันตรายจากการใชถังน้ํายาผิดวิธี 1) การขยายตัวของน้ํายาแอร R32 มากกวาน้ํายาแอร R134a คิดเปน 2.2 เทาที่ยานอุณหภูมิ 40–60 องศาเซลเซียส 2) ความดั น R32 ภายในรถป ค อั พ เป ด ประทุ น ไม เ ป ด แอร ห ากอุ ณ หภู มิ สู ง สะสมถึ ง 60 องศาเซลเซี ย ส จะทําให R32 มีแรงดันสูงที่ 554 ปอนดตอตารางนิ้ว 3) ถังเหล็ก One Way หรือ Dispisable รับแรงดันไดสูงสุดไมเกิน 400-450 ปอนดตอตารางนิ้ว 4) ถังเหล็ก R32 เติมน้ํายาแอร R32 ได 7 กิโลกรัม (Max Load)
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. สารทําความเย็น หมายถึง สารที่ดูดความรอนจากบริเวณโดยรอบ เพื่อเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนแกส ทําใหอากาศโดยรอบมีอุณหภูมิลดลง 2. สารทําความเย็นแบบ R 32 มีฟลูออรีนต่ํา จึงชวยบรรเทาภาวะโลกรอนได 3. ถังสีชมพูออน คือ ถัง R-410A 4. สาร R-40 R-123 และ R-117 เปนสารในกลุมที่เปนพิษและติดไฟงาย 5. ถังเหล็ก R32 เติมน้ํายาแอร R32 ไดไมจํากัด
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช 4. นายสุรพล
เบญจาทิกุล พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ า นและการพาณิ ช ย ข นาดเล็ ก ระดั บ 1 โมดู ลการฝ ก ที่ 7
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน