vu
หน้าปก
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
คู่มือครูฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝึกที่ 10 09217312
การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ
กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
คานา คู่มือครูฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูลที่ 10 การตรวจสอบการทางาน เครื่ อ งปรั บ อากาศ และการวั ด ค่ า ต่ า ง ๆ ฉบั บ นี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของหลั ก สู ต รฝึ ก อบรมฝี มื อ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ ง พัฒนาขึ้นเพื่ อใช้ เป็ นเอกสารประกอบการจั ดการฝึ กอบรมกั บชุ ดการฝึ กตาม ความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการพัฒนาระบบฝึกและชุดการฝึกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ด้ ว ยระบบการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ครูฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ อบรมผู้รับการฝึก ให้สามารถอธิบายสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า และวิธีการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น และติดตาม ความก้าวหน้าของผู้รับการฝึกอบรม ในด้านความสามารถหรือสมรรถนะให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้ องการ โดยยึ ดความสามารถของผู้ รับ การฝึ ก เป็น หลั ก การฝึ กอบรมในระบบดั ง กล่ าว จึงเป็นรู ป แบบ การฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถู ก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
ข้อแนะนาสาหรับครูฝกึ
1
โมดูลการฝึกที่ 10 09217312 การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศและการวัดค่าต่าง ๆ หัวข้อวิชาที่ 1 0921731201 การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ คณะผู้จัดทาโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
14 44
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้
1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับ การฝึ กต้องเรี ย นรู้ และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ข้อวิชาเป็นตัว กาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์ก ารประเมิน การฝึก อบรม ทาให้ผู้รับ การฝึก อบรมมีค วามสามารถ ( Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้ วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้า รับ การฝึก อบรมออนไลน์ ระบบการฝึก อบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็ก ทรอนิก ส์ห รือ อุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่ง ส่ว นการใช้งานตามความรับผิดชอบของผู้มีส่ว นได้ส่ว นเสี ยดังภาพในหน้าที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ - ผู้ดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผู้พัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝึก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2. ผังการฝึกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ครูฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถส่งมอบการฝึกอบรมให้แก่ผู้รับการฝึกได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึก อบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภ าคทฤษฎี (ด้า นความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึก เป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึ กในโมดูล ที่ครูฝึ กกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ครูฝึกใช้คู่มือครูฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) เป็นสื่อช่วยในการฝึก ภาคทฤษฎี โดยส่งมอบคู่มือผู้รับการฝึกแก่ผู้รับการฝึกที่ศูนย์ฝึก อบรม และฝึกภาคปฏิบัติ ที่ศูนย์ฝึกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึก มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อ นฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้ค ะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก
6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝึกอธิบายวิธีก ารดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ให้แก่ผู้รับการฝึก ซึ่งวิธีการ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว้ 3) ผู้รับ การฝึก ที่ใ ช้ค อมพิว เตอร์ ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน์โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเข้าเว็บไซต์ mlearning.dsd.go.th แล้วเข้าใช้งาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ ให้กดปุ่ม Download DSD m-learning เพื่อดาวน์โหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร์ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลั กสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก
7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึกในระบบ 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครู ฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝึก ภาคปฏิบัติ ครูฝึก ให้ใ บงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบ ายขั้น ตอนการฝึก ปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ครูฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
- สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม
5. การวัดและประเมินผล ครูฝึกมีหน้าที่มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี (ด้า นความรู้) และภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) โดยใช้ คู่มือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผู้รับการฝึก โดยแบ่งการประเมินผลได้ดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึ ก โดยกาหนดเกณฑ์การให้ คะแนนและการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทาได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน
เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)
ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว 9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฎี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก
10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและ การพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164170202
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของ ระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์ หลายความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือ ใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือ สานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ 11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2
12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร
สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก รหัสหลักสูตร ระดับ 3 0920164170203 2. ชื่อโมดูลการฝึก การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ รหัสโมดูลการฝึก และการวัดค่าต่าง ๆ 09217210 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 5 ชั่วโมง 30นาที ทฤษฎี 1 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ 4 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหน่วย หน่วยการฝึกนี้ พัฒนาขึ้นให้ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ได้ 2. ใช้เครื่องมือในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ได้ 5. พื้นฐาน ความสามารถของ ผู้รับการฝึก
ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เครื่องมือ และวิธีการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ในระบบเครื่องปรับอากาศ หรือ ผ่านการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้อง จากหน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝึกผ่านโมดูลที่ 9 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการตรวจสอบ หัวข้อที่ 1: การตรวจสอบการทางาน 1:30 4:00 5:30 การทางานเครื่องปรับอากาศ เครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ได้ 2. ใช้เครื่องมือในการตรวจสอบ การทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ได้ รวมทั้งสิ้น 1:30 4:00 5:30
13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921731201 การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ได้ 2. ใช้เครื่องมือในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ได้
2. หัวข้อสาคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ การวัดค่ากระแสไฟฟ้า การวัดค่ากาลังไฟฟ้า การตรวจสอบหารอยรั่วของสารทาความเย็น การตรวจสอบการลัดวงจรไฟฟ้าและการรั่วลงดิน การวัดค่าแรงดันสารทาความเย็น การวัดค่าอุณหภูมิตามจุดต่าง ๆ ของเครื่องปรับอากาศ
3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก
4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
- คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรม 2.1 วัสดุ 1) ดินสอ/ปากกา จานวน 1 แท่ง 2) แบบบันทึกผล จานวน 1 แผ่น 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) เครื่องปรับอากาศ ขนาด 48,000 BTU จานวน 1 เครื่อง 2) ชุดเครื่องมืองานท่อ (ตัด ดัด บาน ขยาย ลบคม ชุดเชื่อม) จานวน 1 ชุด 3) ชุดเครื่องมือช่างเครื่องปรับอากาศ (แมนิโฟลด์เกจ ถังน้ายาสารทาความเย็น) จานวน 1 ชุด 4) ชุดเครื่องมือช่างไฟฟ้า (มัลติมิเตอร์ คลิปแอมป์ ไขควง คีมช่างไฟฟ้า ฯลฯ จานวน 1ชุด ปั๊มสุญญากาศ ฯลฯ)
5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก
15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่ กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้
7. บรรณานุกรม ฉัตรชาญ ทองจับ. 2557. เครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ. ปทุมธานี : สกายบุ๊กส์.
16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ 1. การตรวจสอบการทางานของเครื่องปรับอากาศ 1.1 การตรวจสอบขนาดเครื่องปรับอากาศ และระบบไฟฟ้า (การอ่านฉลาก ขนาด และระบบไฟฟ้า) การอ่านฉลากที่ เครื่องปรับอากาศ ถือเป็นสิ่งสาคัญที่ผู้ปฏิบัติงานจะต้องทาการศึกษา เพื่อให้ทราบรายละเอียดของเครื่องปรับอากาศเบื้องต้น โดยองค์ประกอบหลัก ๆ ในการอ่านฉลากของเครื่องปรับอากาศ จะมีอยู่ 6 ส่วน คือ 1) ชื่อรุ่น โดยปกติจะแสดงอยู่ในบรรทัดแรก 2) ประสิทธิภาพการทาความเย็น คือ ขนาดของ BTU ของแอร์ 3) แรงดันไฟฟ้า คือ แรงดันของระบบไฟที่สามารถต่อเข้าจ่ายให้กับแอร์ 4) กระแสไฟฟ้า คือ กระแสไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ 5) กาลังไฟฟ้า คือ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปในเวลา 1 นาที มีหน่วยเป็นวัตต์ (w) 6) สารทาความเย็น จะระบุชนิดของสารทาความเย็นที่ใช้ในแอร์รุ่นนั้น ๆ เพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น สามารถดูตัวอย่างในการอ่านฉลากที่เครื่องปรับอากาศ ดังในตัวอย่างที่ 1, 2, 3 และ 4
ภาพที่ 1.1 สัญลักษณ์ประหยัดไฟเบอร์ 5
17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ตัวอย่างที่ 1 ชื่อรุ่น
FH 36PUV2S
ประสิทธิภาพการทาความเย็น
10600 W [36167 Btu/h ]
แรงดันไฟฟ้า
220 V~ 1 Ph 50 Hz
กระแสไฟฟ้า
14.94 A
กาลังไฟฟ้า
3412.9 W
ประสิทธิภาพพลังงาน
3.11 W/W [10.61 Btu/hW]
คอมเพรสเซอร์
Scroll
สารทาความเย็น
R22
จากตัวอย่างที่ 1 เป็นเครื่องปรับอากาศแบบธรรมดา ใช้แรงดันไฟฟ้า เท่ากับ 220 โวลต์ สามารถอ่านค่าต่าง ๆ จากฉลากประสิทธิภาพได้ดังนี้ - ชื่อรุ่น FH 36PUV2S - ประสิทธิภาพการทาความเย็น เท่ากับ 10600 วัตต์ 36167 บีทียู/ชม. - แรงดันไฟฟ้า เท่ากับ 220 โวลต์ - กระแสไฟฟ้า เท่ากับ 14.94 แอมป์ - กาลังไฟฟ้า เท่ากับ 3412.9 วัตต์ - สารทาความเย็น รุ่น R.22 กรณีศึกษาลาดับถัดไปคือกรณีศึกษาเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ ขนาด 36,000 BTU ขึ้นไปแต่ไม่เกิน 72,000 BTU แบบ 3 เฟส ใช้แรงดันไฟฟ้า เท่ากับ 380 โวลต์ มีตัวอย่างดังนี้ ตัวอย่างที่ 2 รุ่น
DK040S130
Model ประสิทธิภาพการทาความเย็น
11,800 W.
Cooling Capacity
40,262 BTU/h
ระบบไฟฟ้า
380 V. 18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
Power Source
3 PH. 50 Hz.
กระแสไฟฟ้า
กาลังไฟฟ้า
6.07
3,798
Current
Power
Amps.
W.
ค่าประสิทธิภาพ (EER.)
10.61
Energy Efficiency Ratio ชนิดสารทาความเย็น
R22
Refrigerant จากตัวอย่างที่ 2 สามารถอ่านค่าต่าง ๆ จากฉลากแอร์ได้ดังนี้ -
ชื่อรุ่น DK040S130
-
ประสิทธิภาพการทาความเย็น เท่ากับ 11,800 วัตต์. 40,262 บีทียู/ชม.
-
แรงดันไฟฟ้า เท่ากับ 380 โวลต์.
-
กระแสไฟฟ้า เท่ากับ 6.07 แอมป์
-
กาลังไฟฟ้า เท่ากับ 3,798 วัตต์
-
สารทาความเย็น รุ่น R 22
ตัวอย่างที่ 3 รุ่น Model ประสิทธิภาพการทาความเย็น Cooling Capacity ระบบไฟฟ้า Power Source กระแสไฟฟ้า กาลังไฟฟ้า Current Power ค่าประสิทธิภาพ (EER.) Energy Efficiency Ratio ชนิดสารทาความเย็น Refrigerant
ER44MT 13,000 W. 44,356 BTU/h 380 V. 3 PH. 50 Hz. 7.60 4,333 Amps. W. 10.24 R22
19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
จากตัวอย่างที่ 3 สามารถอ่านค่าต่าง ๆ จากฉลากแอร์ได้ดังนี้ - ชื่อรุ่น ER44MT - ประสิทธิภาพการทาความเย็น เท่ากับ 13,000 วัตต์. 44,356 บีทียู/ชม. - แรงดันไฟฟ้า เท่ากับ 380 โวลต์. - กระแสไฟฟ้า เท่ากับ 7.60 แอมป์ - กาลังไฟฟ้า เท่ากับ 4,333 วัตต์ - สารทาความเย็น รุ่น R 22 ตัวอย่างที่ 4 ชื่อรุ่น
42FCE018-S3
ประสิทธิภาพการทาความเย็น
17600 W [60000 Btu/h ]
แรงดันไฟฟ้า
380 V~ 3 Ph 50 Hz
กระแสไฟฟ้า
10.65 A
กาลังไฟฟ้า
5950 W
ประสิทธิภาพพลังงาน
2.96 W/W [10.71 Btu/hW]
คอมเพรสเซอร์
Scroll
สารทาความเย็น
R410A
จากตัวอย่างที่ 4 สามารถอ่านค่าต่าง ๆ จากฉลากแอร์ได้ดังนี้ - ชื่อรุ่น 42FCE018-S3 - ประสิทธิภาพการทาความเย็น เท่ากับ 17600 วัตต์. 60000 บีทียู/ชม. - แรงดันไฟฟ้า เท่ากับ 380 โวลต์ - กระแสไฟฟ้า เท่ากับ 10.65 แอมป์ - กาลังไฟฟ้า เท่ากับ 5,950 วัตต์ - สารทาความเย็น ที่ใช้ในแอร์รุ่นนี้ R410A
20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
จากกรณีศึกษาตัวอย่างที่ 1 เมื่อเปรียบเทียบกับตัวอย่างที่ 2 – 4 พบว่าค่ากระแสไฟในกรณีที่ 1 มีขนาด 14.94 A ซึง่ มากกว่าตัวอย่างที่ 2 – 4 สาเหตุที่เป็นเช่นนั้นเนื่องจากค่ากระแสไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศแบบ 3 เฟส จะมีกระแสไฟฟ้า เท่ากันในแต่เฟส จึงแสดงค่ากระแสไฟฟ้าเพียง 1 เฟส 2. การวัดค่ากระแสไฟฟ้า ในการวัดค่ากระแสไฟฟ้า นิยมใช้แคล้มป์ออนมิเตอร์ หรือ คลิปแอมป์วัดกระแสไฟฟ้า ซึง่ ทาได้ด้วยการคล้องสายที่จะวัด เพียงเส้นเดียว และอ่านค่ากระแสที่หน้าปัด โดยมีหน่วยเป็นแอมแปร์ การใช้แคล้มป์ออนมิเตอร์ แคล้มป์ออนมิเตอร์เป็นเครื่องมือวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า (โวลต์) การวัดความต้านทานไฟฟ้า (โอห์ม) และวัด กระแสไฟฟ้าได้เช่น กัน ลั กษณะการใช้งาน จะใช้มือบีบก้ามปูคล้ องสายที่ต้องการวัดในกรณีที่วัดกระแสไฟฟ้า และสามารถใช้เสียบสายสาหรับวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า (โวลต์) และการวัดความต้านทานไฟฟ้า (โอห์ม) โดยปรับตามค่าที่ ปุ่มเลือกสเกล
ภาพที่ 1.2 แคล้มป์ออนมิเตอร์ ขั้นตอนในการวัดโดยใช้แคล้มป์ออนมิเตอร์ 1) การวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า (AC. Voltage) ก่อนที่เราจะวัดจะต้องเสียบสายเข้ายังช่อ งที่เสียบสายที่ใช้สาหรับวัด แรงเคลื่อนไฟฟ้า และปรับปุ่มเลือก สเกลมายังช่องวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า เสียก่อน โดยให้อยู่ในตาแหน่ง แรงเคลื่อนไฟฟ้า ที่เหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ กระแสไฟฟ้าที่จะทาการวัด หากเป็นระบบไฟฟ้า 1 เฟส หรือ 220 โวลต์ ควรปรับให้มาอยู่ในช่อง 600 โวลต์ ถ้าเป็นระบบไฟฟ้า 3 เฟส หรือ 400 โวลต์ จะต้องปรับให้มาอยู่ในช่อง 600 โวลต์ แล้วจึงทาการวัดอ่านค่าที่ จอดิจิตอล ค่าที่วัดได้ มีหน่วยเป็น โวลต์ (V) 2) การวัดกระแสไฟฟ้า (AC. Current) ก่อนที่จะวัดแอมป์จะต้องปรับเครื่องมือวัด คือ ปุ่มเลือกสเกลมายังช่องแอมป์ (หรือ ACA) เสียก่อน โดยปรับ ย่านวัดค่ากระแสที่มีค่าสูงก่อน เพื่อป้องกันเครื่องมือชารุด จากนั้นให้นาก้ามปูคล้องสายที่จะวัดเพียงเส้นเดียว 21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
และอ่านค่าที่หน้าปัด ค่าที่วัดได้ จะมีหน่วยเป็นแอมป์ (A) ในการวัดค่ากระแสนี้จ ะวัด ได้เ ฉพาะตอนที่อุป กรณ์ ไฟฟ้าต่าง ๆ ทางานอยู่เท่านั้น หากอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่มีหรือไม่ทางาน ก็จะไม่สามารถวัดค่าได้
ภาพที่ 1.3 การใช้แคล้มป์มิเตอร์ 3) การวัดความต้านทาน (Resistance) การวัดค่าความต้านทานจะแตกต่างไปจากการวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า หรือวัดค่ากระแสไฟฟ้า คือ จะเป็นการวัดค่า ความต้านทานของขดลวดมอเตอร์ว่าชารุดหรือไม่ การวัดหาค่าคาปาซิเตอร์ (Capacitor) ตลอดจนวัดสายไฟฟ้า ว่ามีการชารุดขาดหรือไม่ จากนั้นให้เสียบสายเข้าช่องเสียบสาย และปรับเครื่องมือวัดให้มาอยู่ในช่องวัดโอห์ม ค่าที่วัดได้มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) 3. การวัดค่ากาลังไฟฟ้า กาลั งไฟฟ้ า คือ พลั งงานไฟฟ้ าที่ ใช้ ไปในเวลา 1 นาที มีห น่ว ยเป็นวัตต์ (w) หรือจูล ต่อวินาที สามารถเขียนแสดง ความสัมพันธ์ได้ดังนี้ กาลังไฟฟ้า (วัตต์) = พลังงานไฟฟ้า (จูล)/เวลา (วินาที) โดยเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิด จะใช้พลังงานไฟฟ้าต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและขนาดของเครื่องใช้ไฟฟ้า สามารถทราบได้จาก ตัวเลขที่กากับไว้บนเครื่องใช้ไฟฟ้า ที่ระบุความต่างศักย์ (V) และกาลังไฟฟ้า (W) ตัวอย่าง หลอดไฟฟ้า มีตัวเลขกากับ 220V 75W 220V หมายถึง หลอดไฟฟ้านี้ใช้กับความต่างศักย์ 220 โวลต์ ซึ่งจะต้องใช้ให้ตรงกับค่าความต่างศักย์ที่กาหนด 75W หมายถึง ค่าของพลังงานไฟฟ้าที่หลอดไฟฟ้าใช้ไปในเวลา 1 วินาที เรียกว่า กาลังไฟฟ้า การวัดพลังงานไฟฟ้า ใช้หน่วยเป็นจูล ตัวเลข 75W จึงหมายถึง ขณะเปิดไฟ หลอดไฟฟ้านี้จะใช้พลังงานไฟฟ้า 75 จูล ในเวลา 1 วินาที กาลังไฟฟ้ามีค่ามากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า และความต่างศักย์ที่ เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นต่ออยู่ โดยกาลังไฟฟ้ามีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า
22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
จะได้
P = VI
กาหนดให้
P คือ กาลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็นวัตต์ V คือ ความต่างศักย์มีหน่วยเป็นโวลต์ I คือ กระแสไฟฟ้ามีหน่วยเป็นแอมแปร์
โดยทั่วไปนิยมวัดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นหน่วยที่ ใหญ่กว่าหน่วยจูล โดยวัดกาลังไฟฟ้าเป็นกิโลวัตต์ และคิดช่วงเวลาเป็นชั่วโมง ดังนั้น พลังงานไฟฟ้าจึงวัดได้เป็น กิโลวัตต์ -ชั่วโมง หรือเรียกว่าหน่วยหรือยูนิต ไฟฟ้าที่ใช้ใน บ้านเรือนทั่วไปมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ ดังนั้นในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ จะใช้พลังงานไฟฟ้ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จานวน ชนิด ขนาด และระยะเวลาในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า การไฟฟ้าจะคิดเงินค่าพลังงานไฟฟ้าที่ แต่ละบ้านใช้ไป โดยใช้ เครื่องวัดติดไว้บนเสาไฟฟ้าหน้าบ้านของผู้ใช้ไฟฟ้า เรียกว่า กิโลวัตต์-ชั่วโมง มิเตอร์ หรือ มาตรไฟฟ้า ซึ่งวัดพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป เป็นกิโลวัตต์-ชั่วโมง เรียกกันทั่วไปว่า หน่วยหรือยูนิต ขณะใช้พลั งงานไฟฟ้าจะมีกระแสไฟฟ้าผ่ านมาตรไฟฟ้ามากหรือน้อย ตามพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ ดังนั้นจึงมีการออกแบบ มาตรไฟฟ้าขนาดต่าง ๆ ตามปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในเวลา 1 วินาที เช่น มาตรไฟฟ้าขนาด 5, 15, 50 แอมแปร์ สถานที่ที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้ามาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ โรงแรม หรือสถานที่ที่ใช้เครื่องปรับอากาศหลายเครื่อง ต้องเลือกขนาดของมาตรไฟฟ้าให้เหมาะสม สามารถทนต่อกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านได้ ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาตรไฟฟ้า มากเกินกว่าที่กาหนด จะทาให้มาตรไฟฟ้าเกิดความร้อนสูงจนเกิดการไหม้ขึ้น 4. การตรวจหารอยรั่วของสารทาความเย็น 4.1 การใช้ฟองสบู่หารอยรั่ว การใช้ฟองสบู่หารอยรั่ว สามารถทาได้ โดยนาสบู่มาละลายน้าจนน้าสบู่ข้น จากนั้นนาฟองสบู่ทาบริเวณท่อที่ต้องการ ตรวจสอบ ควรทาในจุด ที่น่า สงสัย และทาให้ทั่ว รอยต่อ โดยเฉพาะบริเ วณที่มีก ารเชื่อ มประสาน สัง เกตตาแหน่ง ที่อาจเกิดรอยรั่ว หากมีรอยรั่ว เกิดขึ้น ฟองสบู่จะโป่งออกจนแตก 4.2 การใช้ตะเกียงตรวจรอยรั่ว การทางานของตะเกียงตรวจรั่ว อาศัยคุณสมบัติของเปลวไฟที่เกิดจากแอลกอฮอล์ โพรเพนอะเซติลีน หรือแก๊สอื่น ๆ บางชนิดที่ให้เปลวเป็นสีน้าเงิน ถ้ามีสารทาความเย็นผสมกับแก๊สเพียงเล็กน้อย จะทาให้สีของเปลวไฟเปลี่ยนเป็นสีเขียว หรือสีม่วง ขั้นตอนการใช้ตะเกียงตรวจรอยรั่ว 1) เสียบท่อสายยางสาหรับสารรั่วเข้ากับถังแก๊ส 23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2) เปิดวาล์วประมาณครึ่งรอบพอแก๊สจุดไฟติด 3) ปรับปริมาณเปลวไฟและควรทาการปรับให้มีสีอ่อนที่สุด 4) จากนั้นให้ใช้สายยางตรวจสอบรอยรั่วตามจุดต่าง ๆ 5) หากพบรอยรั่วของเปลวไฟจะเกิดเปลี่ยนเป็นสีเขียว 6) ทาการกาหนดจุดที่มีการรั่วเพื่อทาการซ่อมทาต่อไป 4.3 การใช้เครื่องมือตรวจรอยรั่วอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องตรวจรอยรั่วอาจมีลักษณะเป็นแบบปืนหรือแบบกล่อง โดยทุกแบบอาศัยหลักการทางานเช่นเดียวกัน คือ เมื่อสารเคลื่อนที่ไปตามท่อที่ภายในบรรจุสารทาความเย็นอยู่ หากพบรอยรั่วจะมีสารทาความเย็นระเหยออกมาจะมี ปลายสัมผัสแก๊สที่ไวมาก ซึ่งถ้าพบว่าน้ายารั่วจะทาให้เกิดเสียงดังหรือมีไฟกะพริบเป็นสัญญาณให้ทราบ 5. การตรวจสอบการลัดวงจรไฟฟ้าและการรั่วลงดิน ในหลายอาคารจะมีการติดตั้งระบบสายดินเพื่อความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า แต่การตรวจสอบการรั่วของกระแสไฟก็ เป็นสิ่งจาเป็น เนื่องจากกระแสไฟที่รั่วไหลอาจะก่อให้เกิดอันตราย และยังทาให้เกิดความสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าอีกด้วย ขั้นตอนการตรวจสอบ มีดังนี้ 1) วั ด ความต้ า นทานระหว่ า งสายไฟทุ กเส้ น และระหว่ า งสายไฟกั บ ดิ นหรื อจุ ด ที่ มี ก ารต่ อลงดิ น โดยการใช้เครื่ องวัดค่าฉนวนของสาย (Insulation Tester) ซึ่งจะต้องปลดสายไฟทั้งทางด้านแหล่ ง จ่ า ย และทางด้านโหลดออกก่อน ค่าความต้านทานที่วัดได้ต้องไม่น้อยกว่า 500 กิโ ลโอห์ม ถ้าหากต่ากว่านี้ แสดงว่าฉนวนหรือจุดต่อสายไม่สมบูรณ์อาจทาให้เกิดกระแสไฟรั่วได้ หากตรวจพบว่าสาเหตุเกิดจากฉนวน ของสายไฟฟ้าเสียหายให้ทาการซ่อมแซม แต่หากเกิดจากการเสื่อมสภาพหรือหมดอายุให้ทาการเปลี่ยนใหม่ 2) ใช้ ไ ขควงวั ด ไฟแตะส่ ว นที่ เ ป็ น โลหะ ถ้ า ไฟของไขควงส่ อ งสว่ า ง แสดงว่ า เกิ ด ไฟรั่ ว ที่ บ ริ เ วณนั้ น ให้ท าการตรวจสอบสายไฟว่า ฉนวนเกิด ความเสีย หายหรื อ ไม่ โดยเฉพาะจุด ที่มีก ารต่อ สาย ส าหรับ เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องทดสอบขณะที่เปิดเครื่องใช้งาน 3) เมื่อปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกเครื่อง สังเกตการทางานของมิเตอร์ไฟฟ้าว่ายังคงหมุนหรือไม่ หากยังคงหมุนอยู่ แสดงว่ามีกระแสไหลผ่านหรือเกิดไฟรั่ว 4) ในกรณีที่ติด ตั้ง เครื่อ งตัด ไฟรั่ว ร่ว มด้ว ย หากเครื่อ งตัด ไฟรั่ว ทางานปลดวงจร ให้ทาการตรวจสอบหา สาเหตุและทาการแก้ ไขให้ ถู กต้ อง
24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
6. การวัดค่าความดันสารทาความเย็น เครื่องมือวัดความดันสารทาความเย็น (แมนิโฟลด์เกจ) แมนิโฟลด์เกจเป็นเครื่องมือสาหรับวัดความดันและสุญญากาศในระบบปรับอากาศและเป็นเครื่องมือที่สาคัญสาหรับการบริการ เกี่ยวกับระบบปรับอากาศ
ภาพที่ 1.4 ส่วนประกอบของแมนิโฟลด์เกจ คุณลักษณะของแมนิโฟลด์เกจในชุดโฟลด์เกจ จะมีเกจวัด 2 ด้านคือ -
เกจวัดความดันต่า เกจด้านนี้เป็นเกจแบบรวม คือ วัดได้ทั้งค่าความดันต่า และค่าสุญญากาศสามารถอ่าน
ค่าความดันได้ตั้งแต่ 0 – 350 Psi (ปอนด์/ตารางนิ้ว) ซึ่งขึน้ อยู่กับยี่ห้อของแมนิโฟลด์เกจและสามารถอ่านค่าสุญญากาศ ได้ตั้งแต่ 0 – 30 in.Hg (นิ้ว.ปรอท) สีของเกจจะเป็นสีน้าเงิน
ภาพที่ 1.5 สเกลของเกจความดันต่า 25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
-
เกจวัดความดันสูง เกจด้านนี้จะวัดได้เฉพาะค่าความดัน วัดค่าสุญญากาศไม่ได้ สามารถอ่านค่าความดั น
ได้ตั้งแต่ 0 – 800 Psi (ปอนด์/ตารางนิ้ว ) ซึ่งขึ้นอยู่กับยี่ห้ อของแมนิโ ฟลด์เกจด้วย สีของเกจจะเป็นสีแดง
ภาพที่ 1.6 สเกลของเกจความดันสูง ลักษณะของข้อต่อ จะมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ด้านที่เป็นข้อต่อตรง และด้านที่เป็นข้อต่องอ ให้ใช้ด้านข้อต่อตรงต่อเข้ากับแมนิโฟลด์เกจของ ด้านความดันต่าหรือด้านเกจสีน้าเงิน ส่วนสายของเเมนิโฟลด์เกจ สายสีแดง ต่อกับเกจด้านความดันสูง (ปลายสายเกจจะ มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ด้านที่เป็นข้อต่อตรง และด้านที่เป็นข้อต่องอ ให้ใช้ด้านข้อต่อตรงต่อเข้ากับแมนิ โฟลด์เกจของด้าน ความดันสูงหรือด้านเกจสีแดง) และสายสีเหลือง ใช้สาหรับบริการต่าง ๆ เช่น การถ่ายสารทาความเย็น หรืองานบรรจุ สารทาความเย็น เป็นต้น
ภาพที่ 1.7 สายแมนิโฟลด์เกจ
26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ภาพที่ 1.8 เกจวัดสารทาความเย็นทั้ง 3 เบอร์ 7. การวัดค่าอุณหภูมิตามจุดต่าง ๆ ของเครื่องปรับอากาศ ในการวัดค่าอุณหภูมิตามจุดต่าง ๆ ของเครื่องปรับอากาศ จะใช้เทอร์โมมิเตอร์ เป็นอุปกรณ์สาหรับวัดอุณหภูมิของสิ่งต่าง ๆ มีทั้งแบบหลอดแก้วบรรจุของเหลวไว้ภายใน และแบบดิจิตอล วิธีการใช้ 1) วัดอุณหภูมิของของเหลว ให้จุ่มเทอร์โมมิเตอร์ลงไปในของเหลวนั้น รอจนค่าอุณหภูมิคงที่และอ่านค่า 2) วัดอุณหภูมิของวัตถุ ให้แตะเทอร์โมมิเตอร์ที่วัตถุนั้น ๆ รอจนค่าอุณหภูมิคงที่และอ่านค่า 3) วัดอุณหภูมิลมจากเครื่องปรับอากาศ ให้เสียบเทอร์โมมิเตอร์บริเวณช่องลมออก ระวังอย่าให้เข้าไปลึกเกิน รอจนค่าอุณหภูมิคงที่และอ่านค่า การบารุงรักษาหลังใช้งาน - ให้เช็ดทาความสะอาด และเก็บใส่กล่องให้เรียบร้อย
27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ถ้าต้องการวัดกระแสไฟฟ้าต้องปรับเครื่องมือวัดมาที่ช่องสเกลใด ก. ACA ข. CAC ค. ACC ง. AAC 2. ในการตรวจสอบการลัดวงจรและการรั่วลงดินของไฟฟ้า ใช้เครื่องมือใดตรวจสอบง่ายที่สุด ก. ไขควงวัดไฟ ข. โวลต์มิเตอร์ ค. เครื่องวัดค่าฉนวนของสาย ง. ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกเครื่อง 3. ในกรณีที่ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วร่วมด้วย หากเครื่องตัดไฟรั่วปลดวงจร ควรทาสิ่งใดต่อ ก. แก้ไขวงจรไฟฟ้า ข. สับสะพานไฟขึ้น ค. ตรวจสอบหาสาเหตุ ง. ใช้ไขควงวัดไฟตรวจสอบ 4. การวัดค่าอุณหภูมิตามจุดต่าง ๆ ของเครื่องปรับอากาศใช้เครื่องมือใดในการวัด ก. มัลติมิเตอร์ ข. ไฮโกรมิเตอร์ ค. เทอร์โมมิเตอร์ ง. เครื่องวัดความชื้น
28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
5. การใช้ตะเกียงตรวจรอยรั่ว จุดที่มีรอยรั่วจะเห็นเปลวไฟเป็นสีใด ก. สีเขียว ข. สีแดง ค. สีขาว ง. สีเหลือง 6. การระบุประเภทของสารทาความเย็นทาได้อย่างไร ก. ใช้แมนิโฟลด์เกจเพื่อวัดค่า ข. พิจารณาจากการทาปฏิกิริยากับฟองสบู่ ค. อ่านจากฉลากที่ติดบนเครื่อง ง. จุดไฟเพื่อสังเกตสีของเปลวไฟ 7. ข้อใด เป็นค่าที่คลิปแอมป์ ไม่ สามารถวัดได้ ก. แรงดันไฟฟ้า ข. ปริมาณสารทาความเย็น ค. ปริมาณกระแสไฟฟ้า ง. ความต้านทาน 8. ค่ากาลังไฟฟ้าของโหลดขึ้นอยู่กับค่าใด ก. ค่าความต้านทานกับขนาดสายไฟฟ้า ข. ความจุไฟฟ้ากับความจุความร้อนจาเพาะ ค. ขนาดของสายไฟฟ้าและความยาวของสายไฟฟ้า ง. ปริมาณกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
9. สายสีเหลืองของแมนิโฟลด์เกจมีไว้เพื่อประโยชน์ใด ก. วัดค่าแรงดันต่าของระบบปรับอากาศ ข. วัดค่าแรงดันสูงของระบบปรับอากาศ ค. เป็นสายบริการที่ใช้บารุงรักษาหรือเติมสารทาความเย็น ง. ระบายสารปนเปื้อนในระบบปรับอากาศ
30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
เฉลยใบทดสอบ ข้อ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9
31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ใช้เครื่องมือในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ ได้
2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง
3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานดังนี้ 1. จงติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ขนาด 48,000 BTU ตามแบบที่กาหนด 2. ทดสอบการเดินเครื่องปรับอากาศแล้วบันทึกผล
บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน ขนาดเครื่องทาความเย็น………………….. บีทียูต่อชั่วโมง (……………..วัตต์) แรงเคลื่อนไฟฟ้า ................... โวลต์ ระบบไฟฟ้า ............................ เฟส ค่า LRA …………….Amps. ค่า FLA …………………….. Amps กาลังไฟฟ้า ......................... วัตต์ เบอร์สารทาความเย็น .................................. น้าหนักสารทาความเย็น ........................................... ก.ก. ความดันด้านต่า ................................... psig ความดันด้านสูง ................................... psig อุณหภูมิอากาศเข้าคอนเดนเซอร์ (ชุดระบายความร้อน)
………………°c/…………….°f
อุณหภูมิอากาศออกคอนเดนเซอร์ (ชุดระบายความร้อน)
………………°c/…………….°f
อุณหภูมิลมส่งชุดทาความเย็น
………………°c/…………….°f
อุณหภูมิลมกลับชุดทาความเย็น
………………°c/…………….°f
อุณหภูมิท่อซัคชั่น
………………°c/…………….°f
อุณหภูมิท่อลิควิด
………………°c/…………….°f
สรุปผลการทดสอบเครื่อง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เครื่องปรับอากาศ ขนาด 48,000 BTU
จานวน 1 เครื่อง
2. ชุดเครื่องมืองานท่อ (ตัด ดัด บาน ขยาย ลบคม ชุดเชื่อม)
จานวน 1 ชุด
3. ชุดเครื่องมือช่างเครื่องปรับอากาศ (แมนิโฟลด์เกจ ถังน้ายาสารทาความเย็น ปั๊มสุญญากาศ ฯลฯ)
จานวน 1 ชุด
4. ชุดเครื่องมือช่างไฟฟ้า (มัลติมิเตอร์ คลิปแอมป์ ไขควง คีมช่างไฟฟ้า ฯลฯ)
จานวน 1 ชุด
หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ดินสอ/ปากกา
จานวน 1 แท่ง
2. แบบบันทึกผล
จานวน 1 แผ่น
33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
2. ลาดับการปฏิบัติงาน การตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
1. ติดตั้งเครื่องปรับอากาศตามแบบที่กาหนด
ข้อควรระวัง
ทาการติดตั้งแฟนคอยล์ยูนิต และชุดคอนเดนซิ่งยูนิตตาม แบบในใบงาน
2. ติดตั้งงานท่อเพื่อต่อท่อระหว่าง
ทาการดัดท่อ บานแฟลร์
แฟนคอยล์ยูนิต และคอนเดนซิ่งยูนิต
ท่อสาหรับต่อท่อระหว่าง แฟนคอยล์ยูนิต และชุด คอนเดนซิ่งยูนิต
3. ติดตั้งระบบไฟฟ้า
ติดตั้งระบบไฟฟ้าภายใน
ก่อนจ่ายไฟจาก
ระบบเครื่องปรับอากาศ
แหล่งจ่ายไฟควรให้ครูฝึก
จากนั้นติดตั้งเข้ากับ
ตรวจชิ้นงานก่อนเพื่อ
แหล่งจ่ายไฟ
ความปลอดภัยในชีวิต
34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
4. ปิดรูผนังและยึดท่อกับผนัง
ปิดรูผนังและยึดท่อเข้ากับผนัง
5. ทาสุญญากาศระบบ
ทาสุญญากาศระบบประมาณ 45 นาที
6. เติมสารทาความเย็นเข ้าสู่ระบบ จากนั้นทดสอบเครื่อง
เติมน้ายาสารทาความเย็น และเปิดเครื่องปรับอากาศ เพื่อทดสอบระบบการทางาน โดยปรับความเย็นไปที่ Cool
35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
7. แกะฝาคอยล์เย็น
ข้อควรระวัง
แกะฝาครอบโครงคอยล์เย็น ของเครื่องปรับอากาศ
8. ใช้มัลติมิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้า
ใช้มัลติมิเตอร์วัดค่แรงดันไฟฟ้า ระวั ง อั น ตราย! อย่ า ให้
และกระแสไฟฟ้า แล้วบันทึกผล
แ ล ะ ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ที่ ตั ว ร่ า งกายถู ก ตั ว น าไฟฟ้ า คอยล์เย็นแล้วบันทึกผล
9. ประกอบปิดโครงให้เรียบร้อย
ประกอบโครงคอยล์เย็นให้ เรียบร้อย
10. แกะฝาโครงคอยล์ร้อน
แกะฝาครอบโครงคอยล์ร้อน ของเครื่องปรับอากาศ
36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ท่านอาจเสียชีวิตได้
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
11. ใช้แคล้มป์ออนมิเตอร์วัดค่าแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ใช้ แ คล้ ม ป์ อ อนมิ เ ตอร์ วั ด ค่ า แล้วบันทึกผล
แรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า ที่ตัวคอยล์ร้อนแล้วบันทึกผล
12. ประกอบปิดโครงให้เรียบร้อย
ประกอบโครงคอยล์ ร้ อ นให้ เรียบร้อย
37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
13. ปิดเครื่องปรับอากาศ 5 นาที จากนั้นต่อแมนิโฟลด์เกจ
ปิดเครื่องปรับอากาศ แล้วทิ้ง
เพื่อวัดความดันด้านท่อดูด และท่อลิควิด
ไว้สัก 5 นาที จากนั้นนาแมนิ โฟลด์เกจสายสีน้าเงินต่อเข้า ท่อดูด และสายสีแดงต่อที่ท่อ ลิควิด (วาล์วของเกจจะต้อง อยู่ตาแหน่งปิด)
14. บันทึกผลด้าน Low และ Hi
บันทึกผลการวัดความดันด้าน LOW และ HI ขณะปิด เครื่องปรับอากาศหรือขณะที่ คอยล์ร้อนไม่ทางาน
38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
15. เปิ ด เครื่ อ งปรั บ อากาศแล้ ว ปรั บ อุ ณ หภู มิ ที่ 25 องศา เปิดเครื่องปรับอากาศ แล้ว 10 นาที แล้วอ่านค่าความดันเกจ
ปรับอุณหภูมิที่ 25 °C แล้วรอ จนกระทั่งคอยล์ร้อนทางาน ทิ้งไว้ประมาณ 10 นาทีแล้ว จึงอ่านค่าความดันของเกจ
16. บันทึกผลด้าน Low และ Hi
บันทึกผลการวัดความดันด้าน Low แ ล ะ HI ข ณ ะ ที่ ค อ ย ล์ ร้ อ น ท า ง า น แ ล้ ว บันทึกผล
17. นาเทอร์โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิที่คอยล์เย็นช่องลมจ่าย
นาเทอร์โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิ
แล้วบันทึกผล
ทีช่ ่องลมจ่ายที่คอยล์เย็นแล้ว บันทึกผล
39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คาอธิบาย
18. นาเทอร์โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิที่คอยล์เย็นช่องลมกลับ นาเทอร์โมมิเตอร์วัดอุณหภูมิ แล้วบันทึกผล
ทีช่ ่องลมกลับที่คอยล์เย็นแล้ว บันทึกผล
19. นาเทอร์โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิที่คอยล์ ร้อนช่องลมเป่า นาเทอร์โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิ แล้วบันทึกผล
ที่ลมเป่าที่คอยล์ร้อนแล้ว บันทึกผล
20. น าเทอร์ โ มมิเตอร์ วัดอุณหภูมิที่คอยล์ ร้ อนช่องลมดูด นาเทอร์โมมิเตอร์ วัดอุณหภูมิ แล้วบันทึกผล
ที่ลมดูดที่คอยล์ร้อนแล้ว บันทึกผล
40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
ข้อควรระวัง
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1
2
รายการตรวจสอบ
เกณฑ์การพิจารณา
การติดตั้งและทดสอบเครื่องปรับอากาศ 1.1 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.2 การตัด ดัด บานแฟลร์ เชื่อมท่อ
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.3 การติดตั้งระบบไฟฟ้า
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.4 การทาสุญญากาศและเติมน้ายา
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
1.5 การใช้เครื่องมือวัดไฟฟ้าและระบบทาความเย็น
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่
ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน
ปฏิบัติงาน
41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1
รายการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
คะแนนเต็ม 50
- ติดตั้งเครื่อ งปรับ อากาศ ทั้งส่ว นของคอยล์ร้อ นและคอยล์ เ ย็ น ได้
10
ถูกต้องตามระยะที่กาหนดไว้ในแบบติดตั้ง ให้คะแนน 10 คะแนน - ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ทั้งส่วนของคอยล์ร้อนและคอยล์เย็นผิดไป จากระยะที่กาหนดไว้ในแบบ หักคะแนนจุดละ 2 คะแนน 1.2 การตัด ดัด บานแฟลร์ เชื่อม ท่อ
- ตัด ดัด บานแฟลร์ และเชื่อมท่อ ได้ถูกต้อง เมื่อทาเสร็จแล้วตรวจไม่
10
พบรอยรั่ว ร้าว แตก ให้คะแนน 10 คะแนน - ตัด ดัด บานแฟลร์ และเชื่อมท่อ ได้ โดยเมื่อทาเสร็จแล้วตรวจพบ รอยรั่ว ร้าว แตก ให้หักคะแนนจุดละ 2 คะแนน 1.3 การติดตั้งระบบไฟฟ้า
- ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ถูกต้อง ปลอดภัยในทุกจุด เมื่อเปิดเครื่องแล้ว เครื่องปรับอากาศทางานได้ตามปกติ ให้คะแนน 10 คะแนน
10
- ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ แต่พบจุดที่มีตัวนาไฟฟ้าโผล่มาจากการต่อสาย ตรวจพบการรั่ว การลงกราวด์ หรือ เมื่อเปิดเครื่องแล้ว เครื่องปรับอากาศไม่ทางาน ให้หกั คะแนนจุดละ 2 คะแนน 1.4 การทาสุญญากาศและเติมน้ายา
- ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ถูกต้อง ปลอดภัยในทุกจุด เมื่อเปิดเครื่องแล้ว
10
เครื่องปรับอากาศทางานได้ตามปกติ ให้คะแนน 10 คะแนน - ติดตั้งระบบไฟฟ้าได้ แต่พบจุดที่มีตัวนาไฟฟ้าโผล่มาจากการต่อสาย ตรวจพบการรั่ว การลงกราวด์ หรือ เมื่อเปิดเครื่องแล้ว เครื่องปรับอากาศไม่ทางาน ให้หกั คะแนนจุดละ 2 คะแนน 1.5 การใช้เครื่องมือวัดไฟฟ้าและระบบทาความ - ใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว ให้คะแนน 10 คะแนน เย็น - ใช้เครื่องมือได้ถูกต้อง แต่ขาดความคล่องแคล่ว ให้คะแนน 5 คะแนน
10
- ใช้ เ ครื่ อ งมื อ ได้ ไม่ ถู ก ต้ อ งและขาดความคล่ อ งแคล่ ว ให้ ค ะแนน 1 คะแนน 2
กิจนิสัย
5
2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
ครบถ้วน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
1
2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
1
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน
42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
1
คะแนนที่ได้
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10 ลาดับที่
รายการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา
- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน
ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได้
1 55
หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 39 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้
43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา
ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน์
ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก
7. นายวัชรพงษ์
มุขเชิด
ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ
คาเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพ์สาลี
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกล้า
ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กาภู ณ อยุธยา
สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงค์วัฒนานุรักษ์
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค์
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน
คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 10
45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน