คู่มือครูฝึก ช่างเครื่องปรับอากาศ ระดับ 2 โมดูล 3

Page 1

หน้าปก



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

คู่มือครูฝึก 0920164170202 สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

ชุดการฝึกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝึกที่ 3 09217306 งานท่อและงานเชื่อม

กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

คานา คู่มือครูฝึก สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 โมดูลที่ 3 งานท่อและงานเชื่อม ฉบับนี้ เป็ น ส่ ว นหนึ่งของหลักสูตรฝึกอบรมฝี มือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการจัดการฝึกอบรมกับชุดการฝึกตามความสามารถ โดยได้ดาเนินการภายใต้โครงการ พั ฒ นาระบบฝึ ก และชุ ด การฝึ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน ด้ ว ยระบบการฝึ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ครูฝึกได้ใช้เป็นเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝึกอบรมให้เป็นไปตามหลักสูตร กล่าวคือ อบรมผู้รับการฝึกให้สามารถอธิบายหลักการ วิธีการ และ ปฏิบัติงานในการ ตัดท่อ ปรับแต่งท่อ ขยายท่อ บานท่อ ดัดท่อ งานเชื่อมท่อ และติดตามความก้าวหน้าของผู้รับการฝึกอบรม ในด้านความสามารถหรือสมรรถนะให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนด ระบบการฝึกอบรมตามความสามารถเป็นระบบการฝึกอบรมที่ส่งเสริมให้ผู้รับการฝึกอบรมสามารถฝึกฝนเรียนรู้ได้ ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเน้นในเรื่องของการส่งมอบการฝึกอบรมที่หลากหลายไปให้แก่ ผู้ รับการฝึ กอบรม และต้องการให้ ผู้ รั บ การฝึ ก อบรมเกิด การเรี ยนรู้ ด้ว ยตนเอง การฝึ กปฏิบัติจะด าเนิน การในรู ป แบบ Learning by Doing และเน้นผลลัพธ์การฝึกอบรมในการที่ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานต้อ งการ โดยยึ ด ความสามารถของผู้ รั บ การฝึ ก เป็น หลั ก การฝึ ก อบรมในระบบดั งกล่ าว จึ ง เป็ น รู ป แบบ การฝึกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝึกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งได้จากการวิเคราะห์งานอาชีพ (Job Analysis) ในแต่ละสาขาอาชีพ จะถูก กาหนดเป็นรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผู้รับการฝึกอบรมจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน และ สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้รับการฝึกจะต้องเรียนรู้และฝึกฝนจนกว่าจะ สามารถปฏิบัติเองได้ ตามมาตรฐานที่กาหนดในแต่ละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การส่งมอบการฝึก สามารถดาเนินการได้ ทั้งรูปแบบการเรียนรู้ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ (Paper Based) และผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ (Computer Based) โดยผู้รับการฝึกสามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self-Learning) ที่บ้านหรือที่ทางาน และเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติตามความพร้อม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝึก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝึกหรือทดสอบประเมินผลความรู้ความสามารถกับหน่วยฝึก โดยมีครูฝึกหรือผู้สอนคอยให้คาปรึกษา แนะนาและจัดเตรียมการฝึกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดาเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะต่าง ๆ อันจะทาให้สามารถเพิ่มจานวนผู้รับการฝึกได้มากยิ่งขึ้น ช่วยประหยัดเวลาในการเดิ นทาง และ ประหยั ดงบประมาณค่าใช้จ่ ายในการพัฒ นาฝี มือแรงงานให้ แก่กาลั งแรงงานในระยะยาว จึงถือเป็นรูปแบบการฝึ กที่มี ความสาคัญต่อการพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนาระบบการฝึกอบรมตามความสามารถมาใช้ ในการพัฒนาฝีมือแรงงาน จะช่วยทาให้ประชาชน ผู้ใช้ แรงงานผู้ว่างงาน นักเรียน นักศึกษา และผู้ประกอบอาชีพอิสระ สามารถเข้าถึงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างสะดวก และได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

สารบัญ เรื่อง

หน้า

คานา

สารบัญ

ข้อแนะนาสาหรับครูฝกึ

1

โมดูลการฝึกที่ 3 09217306 งานท่อและงานเชื่อม หัวข้อวิชาที่ 1 0921730601 งานท่อ หัวข้อวิชาที่ 2 0921730602 งานเชื่อม คณะผู้จัดทาโครงการ

15 45 66

ข กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน



คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก ข้อแนะนาสาหรับครูฝึก คือ คาอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคู่มือ และขั้นตอนการเข้ารับการฝึก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 6 ข้อ ดังนี้

1. รายละเอียดของคู่มือ 1.1 โมดูลการฝึก / หัวข้อวิชา หมายถึง โมดูลการฝึกที่ครูฝึกต้องจัดการฝึกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด้ วย หัวข้อวิชาที่ผู้รับการฝึกต้องเรียนรู้และฝึกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวข้อวิชาเป็นตัวกาหนดความสามารถ ที่ต้องเรียนรู้ 1.2 ระยะเวลาการฝึก หมายถึง จานวนชั่วโมงในการฝึกอบรม เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละโมดูล 1.3 ระบบการฝึกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝึกที่เกิดจากการนาความรู้ ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จาเป็นสาหรับการทางานมาเป็นฐาน (Based) ของการจัดฝึกอบรม หรือนามากาหนดเป็นเนื้อหา (Content) และเกณฑ์การประเมิน การฝึกอบรม ทาให้ผู้รับการฝึกอบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด และตามความสามารถในการเรียนรู้ของผู้รับการฝึกเป็นหลัก 1.4 ชุดการฝึก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับเป็นอุปกรณ์ช่วยฝึก โดยแต่ละโมดูลประกอบด้วย คู่มือครูฝึก คู่มือผู้รับการฝึก คู่มือประเมิน สื่อวีดิทัศน์ 1.5 ระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนาระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้ในการจัดการเรียนรู้และฝึกอบรม เช่น ระบบรับสมัครออนไลน์ ระบบลงทะเบียน เข้ารับ การฝึกอบรมออนไลน์ ระบบการฝึกอบรมภาคทฤษฎีผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์สื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน์ การบันทึกผลการฝึกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยการเข้าใช้งานระบบ แบ่งส่วนการใช้งานตามความรับผิดชอบของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียดังภาพในหน้าที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ - ผู้ดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผู้พัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝึก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2. ผังการฝึกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3. วิธีการฝึกอบรม 3.1 ครูฝึก ทาความเข้าใจการฝึกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถส่งมอบการฝึกอบรมให้แก่ผู้รับการฝึกได้ 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) โดยในแต่ละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกต่างกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับ การฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ด้ว ยตนเอง โดยครูฝึกเป็นผู้ส่งมอบ คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) แก่ผู้รับการฝึก และฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) ที่ครูฝึกส่งมอบให้ การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้ รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเข้า รับ การฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้า มี) หรือ เข้า รับ การฝึก ในโมดูล ถัด ไป หรือเข้ารับการฝึ กในโมดูล ที่ครูฝึ กกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

4 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อถึงวัน ฝึกภาคปฏิบัติ ครูฝึกให้ใบงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบายขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.1.2 การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม (Offline) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีจากครูฝึก และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม การฝึกภาคทฤษฎี - ครูฝึกใช้คู่มือครูฝึกที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) และวีดิทัศน์ (DVD) เป็นสื่อช่วยในการ ฝึ กภาคทฤษฎี โดยส่ง มอบคู ่ม ือ ผู ้ร ับ การฝึก แก่ผู ้ร ับ การฝึก ที ่ศ ูน ย์ฝ ึก อบรม และฝึก ภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึ กอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ ของคู่มือการประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในกระดาษคาตอบ แล้วส่งกระดาษคาตอบ ให้ครูฝึก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

5 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

- ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูล ถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหา จากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 4) ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อถึงวัน ฝึกภาคปฏิบัติ ครูฝึกให้ใบงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบายขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝ ึก ตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้ค ะแนนการตรวจสอบของคู ่ม ือ การ ประเมินที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก

6 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3.1.3 การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ (Online) คือ การฝึกอบรมที่ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเองผ่านระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI โดยใช้คู่มือผู้รับการฝึกที่เป็นสื่อออนไลน์ในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝึกภาคปฏิบัติที่ศูนย์ฝึกอบรม วิธีดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning - ครูฝึกอธิบายวิธีการดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ให้แก่ผู้รับการฝึก ซึ่งวิธีการ ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ช่องทางตามแต่ละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ iOS ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ 2) ผู้รับการฝึกที่ใช้เครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบปฏิบัติการ Android ค้นหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวน์โหลด เพื่อติดตั้งบน เครื่ องมือสื่ อสาร และเข้าใช้งานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว้ 3) ผู้รับ การฝึกที่ใช้คอมพิว เตอร์ ระบบปฏิบัติการ Windows สามารถดาวน์โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเข้าเว็บไซต์ mlearning.dsd.go.th แล้วเข้าใช้งาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว้ ให้กดปุ่ม Download DSD m-learning เพื่อดาวน์โหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร์ การฝึกภาคทฤษฎี - ผู้รับการฝึกเรียนรู้ภาคทฤษฎีด้วยตนเอง จากคู่มือผู้รับการฝึก ซึ่งเป็นสื่อออนไลน์บนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร ผู้รับการฝึกจะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึกภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ - ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเอง จนเข้าใจแล้วจึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2) ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก

7 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

การฝึกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องฝึกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันฝึกและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องฝึก - ครูฝึกกาหนดวันฝึกให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝึกแจ้งวันฝึกภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึกในระบบ 3) ก่อนวันฝึกภาคปฏิบัติ ให้ครูฝึกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 4) เมื่อถึงวัน ฝึกภาคปฏิบัติ ครูฝึกให้ใบงานแก่ผู้รับการฝึก อธิบายขั้นตอนการฝึกปฏิบัติงาน และให้คาแนะนาช่วยเหลือผู้รับการฝึกตลอดระยะเวลาในการฝึกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝึกประเมินผลงานการฝึกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝึกเปิดห้องสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทาได้ 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝึกกาหนดวันสอบและรายชื่อของผู้รับการฝึกลงในห้องสอบ - ครูฝึกกาหนดวันสอบให้ผู้รับการฝึกเข้ามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ก่อนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝึกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบให้คะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ์ 3) ครูฝึกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝึกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบให้คะแนนการตรวจสอบของคู่มือการประเมิน ที่พิมพ์จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) 5) ครูฝึกประเมินผลงานของผู้รับการฝึก โดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสาร โครงร่างหลักสูตร จึงจะผ่านการฝึกโมดูลนั้น 6) ครูฝึกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแก่ผู้รับการฝึก 3.2 ครูฝึกชี้แจงรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแก่ผู้รับการฝึก เพื่อทาการตกลงรูปแบบการฝึกอบรมร่วมกับผู้รับการฝึก โดยให้ผู้รับการฝึกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝึกวางแผนการฝึกตลอดหลักสูตรร่วมกันกับผู้รับการฝึก 4. อุปกรณ์ชว่ ยฝึกและช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึก ครูฝึกสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ช่วยฝึกได้ 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝึก ด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) โดยมีช่องทางการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยฝึกแต่ละรูปแบบแตกต่างกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 8 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

- สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝึกด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์รูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝึกมีหน้าที่มอบหมายให้ผู้รับการฝึกทดสอบความรู้ภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) และภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) โดยใช้ คู่มือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผู้รับการฝึก โดยแบ่งการประเมินผลได้ดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ด้านความรู้) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านความรู้ ดังนี้ เกณฑ์การให้คะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป ต่ากว่าร้อยละ 70

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ด้านทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติก่อนฝึก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝึก โดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และการระบุความสามารถด้านทักษะ ดังนี้ เกณฑ์การประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทาได้ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน ต่ากว่าร้อยละ 70 หรือ ไม่สามารถทาได้ ตามเกณฑ์การปฏิบัติงาน

เกณฑ์การประเมิน ความสามารถ ผ่าน (C) ไม่ผ่าน (NYC)

ผู้รับการฝึกจะได้รับการประเมินผลการฝึกจากครูฝึก โดยจะต้องสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแต่ละโมดูลนั้น ๆ ได้ตามเกณฑ์ที่กาหนด จึงจะถือว่าผ่านการฝึกโมดูลนั้น และเมื่อผ่านการฝึกครบทุกโมดูล จึงจะถือว่าฝึกครบชุดการฝึกนั้น ๆ แล้ว 9 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

6. เงื่อนไขการผ่านการฝึก ผู้รับการฝึกที่จะผ่านโมดูลการฝึก ต้องได้รับค่าร้อยละของคะแนนการทดสอบหลังฝึก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนามาคิดแบ่งเป็นสัดส่วน ภาคทฤษฎี คิดเป็นร้อยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเป็นร้อยละ 80 เมื่อนาคะแนนมารวมกัน ผู้รับการฝึกจะต้องได้ไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 จึงจะผ่านเกณฑ์ ทั้งนี้ ผู้รับการฝึกจะต้องทาคะแนนผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผ่านโมดูลการฝึก

10 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมฝีมือแรงงานตามความสามารถ สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้าน และการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164170202

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒ นาขึ้น ให้ครอบคลุมด้านความรู้ ทั กษะ และเจตคติแก่ผู้รับการฝึกในสาขาช่างเครื่องปรับอากาศ ในบ้านและการพาณิชย์ ขนาดเล็ก เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การอ่านแบบ และวงจรทางไฟฟ้า 1.2 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าในเครื่องปรับอากาศระบบ 3 เฟส อุปกรณ์และหลักการทางานของ ระบบควบคุมต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องปรับอากาศ 1.3 มีความรู้ความสามารถในการตัด ปรับแต่ง ขยาย บาน ดัด และเชื่อมท่อ 1.4 มีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับหลักการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้า 1 เฟส 3 เฟส และการต่อมอเตอร์ หลายความเร็ว 1.5 มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้ชนิดและขนาดของคอมเพรสเซอร์ได้อย่างเหมาะสม 1.6 มีความรู้ความสามารถในการประกอบติดตั้งระบบท่อสารทาความเย็นที่ใช้ในเครื่องปรับอากาศ 1.7 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการและวิธีการหล่อลื่นอุปกรณ์ในระบบเครื่องปรับอากาศ 1.8 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บสารทาเย็น เพื่อการเคลื่อนย้ายหรือการซ่อมบารุงโดยการปั๊มดาวน์ หรือ ใช้เครื่องเก็บสารทาความเย็นอย่างถูกต้อง และการจัดเก็บอุปกรณ์ระบบสารทาความเย็นเพื่อป้องกันความชื้น 1.9 มีความรู้ความสามารถในการทาความสะอาดระบบ เมื่อภายในระบบมีความชื้น 1.10 มีความรู้ความสามารถในการตรวจสอบการทางานเครื่องปรับอากาศ และการวัดค่าต่าง ๆ 1.11 มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องปรับอากาศ 2. ระยะเวลาการฝึก ผู้ รั บ การฝึ กจะได้รั บ การฝึ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบั ติ โดยสถาบันพัฒ นาฝี มือแรงงาน หรือสานักงานพัฒนา ฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถใช้ระยะเวลาในการฝึก 72 ชั่วโมง

11 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

เนื่ อ งจากเป็ น การฝึ ก ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ พื้ น ฐานความรู้ ทั ก ษะ ความสามารถและความพร้ อ มของผู้ รั บ การฝึ ก แต่ละคน มีผลให้ผู้รับการฝึกจบการฝึกไม่พร้ อมกัน สามารถจบก่อนหรือเกินระยะเวลาที่กาหนดไว้ในหลั กสูตรได้ หน่วยฝึกจึงต้องบริหารระยะเวลาในการฝึกให้เหมาะสมตามความจาเป็น ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อานวยการ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือผู้อานวยการสานักงานพัฒนาฝีมือแรงงานที่เป็นหน่วยฝึกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หน่วยความสามารถและโมดูลการฝึก จานวนหน่วยความสามารถ 11 หน่วย จานวนโมดูลการฝึก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.2 ชื่อย่อ : วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 4.3 ผู้ รั บ การฝึ ก ที่ ผ่ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ่ า นการฝึ ก ครบทุ ก หน่ ว ยความสามารถ จะได้ รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. สาขา ช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2

12 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

รายละเอียดโมดูลการฝึกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร

สาขาช่างเครื่องปรับอากาศในบ้านและการพาณิชย์ขนาดเล็ก ระดับ 2 งานท่อและงานเชื่อม

รหัสหลักสูตร 0920164170202 2. ชื่อโมดูลการฝึก รหัสโมดูลการฝึก 09217306 3. ระยะเวลาการฝึก รวม 9 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ 7 ชั่วโมง 30 นาที 4. ขอบเขตของหน่ว ย หน่ ว ยการฝึ กนี้ พัฒ นาขึ้นให้ ครอบคลุ มด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติแก่ผู้ รับการฝึ ก การฝึก เพื่อให้มีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีการตัด การต่อ การขยาย การบานแฟลร์ และการดัดท่อได้ 2. ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัดท่อได้ 3. อธิบายวิธีการเชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และการเชื่อมต่อ ผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ 4. เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ 5. พื้นฐาน ผู้สมัครเข้ารับการฝึกต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ และปฏิบัติงานในการ ตัดท่อ ปรับแต่งท่อ ผู้รับการฝึก ขยายท่ อ บานท่ อ ดั ด ท่ อ งานเชื่ อ มท่ อ หรื อ ผ่ า นการฝึ ก อบรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งจาก หน่วยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได้ 2. ผู้รับการฝึกผ่านระดับ 1 มาแล้ว 3. ผู้รับการฝีกผ่านโมดูล 2 มาแล้ว 6. ผลลัพธ์การเรียนรู้ : เมื่อสาเร็จการฝึกในโมดูลนี้แล้วผู้รับการฝึกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรู้ความสามารถและใช้ ระยะเวลาฝึก ดังนี้ ระยะเวลาฝึก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธ์การเรียนรู้ ชื่อหัวข้อวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีการตัด การต่อ หัวข้อที่ 1 : งานท่อ 1:15 4:00 5:15 การขยาย การบานแฟลร์ และ การดัดท่อได้ 2. ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และ ดัดท่อได้

13 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3 อธิบายวิธีการเชื่อมแก๊ส หัวข้อที่ 2 : งานเชื่อม ระหว่างท่อทองแดงกับท่อ ทองเหลือง และการเชื่อมต่อ ผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ 4 เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดง กับท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อ ผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ รวมทั้งสิ้น

14 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

0:45

3:30

4:15

2:00

7:30

9:30


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 1 0921730601 งานท่อ (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการตัด การต่อ การขยาย การบานแฟลร์ และการดัดท่อได้ 2. ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัดท่อได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. 2. 3. 4.

การตัดท่อ การขยายท่อ การบานแฟลร์ การดัดท่อ

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก 15 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

- สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ท่อแคปทิ้วป์ ยาว 3 เซนติเมตร 2) ท่อทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร 3) แฟลร์นัต ขนาด 1/2 นิ้ว 4) ยูเนี่ยน ขนาด 1/2 นิ้ว 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) ค้อน 2) คัตเตอร์ตัดท่อ 3) ชุดขยายท่อ 4) ชุดบานแฟลร์ 5) ตลับเมตร 6) ตะไบสามเหลี่ยม 7) เบนเดอร์ดัดท่อขนาด 1/2 นิ้ว 8) รีมเมอร์

จานวน 1 เส้น จานวน 1 เส้น จานวน 1 อัน จานวน 1 อัน จานวน 1 ตัว จานวน 1 ตัว จานวน 1 ชุด จานวน 1 ชุด จานวน 1 ชุด จานวน 1 ตัว จานวน 1 ตัว จานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก

16 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจน เข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้

7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หน่วยที่ 3 งานเชื่อมแก๊ส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/3.html ภานุวัฒน์ หนูกิจ. 2556. งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.maceducation.com/ebook/3305806100/files/assets/common/downloads/publication.pdf สนอง อิ่มเอม. 2547. เครื่องทาความเย็นและเครื่องปรับอากาศรถยนต์. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง สุธิกานต์ วงษ์เสถียร. 2549. ระบบไฟฟ้าควบคุม เครื่องทาความเย็นและเครื่องปรับอากาศ. กรุงเทพฯ : สกายบูกส์.

17 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 1 งานท่อ ชนิดของท่อที่ใช้ในเครื่องทาความเย็น ท่อทางเดินสารทาความเย็นที่ใช้ในระบบเครื่องทาความเย็น แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดังนี้ 1) ท่อชนิดอ่อน ส่วนใหญ่ที่นิยมใช้ ได้แก่ ท่อทองแดงอย่างอ่อน ท่ออะลูมิเนียม ท่อที่ทาจากสารอัลลอยด์พิเศษ โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางหลายขนาด 2) ท่อชนิดแข็ง ที่ใช้ในระบบทาความเย็น ได้แก่ ท่อทองแดงอย่างแข็ง ท่อเหล็กสเตนเลส

ภาพที่ 1.1 ท่อชนิดอ่อน

ภาพที่ 1.2 ท่อชนิดแข็ง

18 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขนาดของท่อทองแดง และท่อแคปทิ้วป์ ท่อทองแดงชนิดท่ออ่อนแบบม้วน และชนิดแข็งแบบเส้นมีหลายขนาด ซึ่งนามาใช้กับงานเดินท่อของสารทาความเย็น ในระบบที่มีขนาดแตกต่างกัน โดยมีรายละเอียดตามตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1.1 ขนาดของท่อทองแดงแบบม้วน แบบความหนาปกติ ขนาด (นิ้ว/OD.)

ความหนา (มม.)

SWG. No.

1/4

0.50

25

1/4

0.71

22

5/16

0.50

25

5/16

0.60

23

5/16

0.70

22

3/8

0.50

25

3/8

0.60

23

3/8

0.71

22

1/2

0.60

23

1/2

0.71

22

5/8

0.71

22

3/4

0.71

22

3/4

0.81

21

19 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ตารางที่ 1.2 ขนาดของท่อทองแดงแบบม้วน แบบความหนาพิเศษ ขนาด (นิ้ว/OD.)

ความหนา (มม.)

SWG. No.

3/16

0.60

23

1/4

1.20

18

5/16

1.20

18

5/16

1.02

19

3/8

1.20

18

1/2

1.20

18

5/8

1.20

18

5/8

1.02

19

3/4

1.20

18

3/4

1.02

19

ตารางที่ 1.3 ขนาดของท่อทองแดงแบบเส้น Type M ความยาว 6 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน

(นิ้ว/OD.)

(นิ้ว)

3/8

1/4

0.55

1/2

3/8

0.64

5/8

1/2

0.71

3/4

5/8

0.76

7/8

3/4

0.81

1-1/8

1

0.89

1-3/8

1-1/4

1.07

1-5/8

1-1/2

1.27

2-1/8

2

1.52

2-5/8

2-1/2

1.78

20 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ความหนา (มม.)


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน

(นิ้ว/OD.)

(นิ้ว)

3-1/8

3

ความหนา (มม.) 2.03

ตารางที่ 1.4 ขนาดของท่อทองแดงแบบเส้น Type L ความยาว 6 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน

(นิ้ว/OD.)

(นิ้ว)

3/8

1/4

0.76

1/2

3/8

0.89

5/8

1/2

1.02

3/4

5/8

1.07

7/8

3/4

1.14

1-1/8

1

1.27

1-3/8

1-1/4

1.40

1-5/8

1-1/2

1.52

2-1/8

2

1.78

2-5/8

2-1/2

2.03

3-1/8

3

2.29

3-5/8

3-1/2

2.54

4-1/8

4

2.79

5-1/8

5

3.18

6-1/8

6

3.56

8-1/8

8

5.08

21 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ความหนา (มม.)


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ตารางที่ 1.5 ขนาดของท่อทองแดงแบบเส้น Type K ความยาว 6 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก

ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน

ความหนา (มม.)

(นิ้ว/OD.)

(นิ้ว)

3/8

1/4

0.89

1/2

3/8

1.24

5/8

1/2

1.24

3/4

5/8

1.24

7/8

3/4

1.65

1-1/8

1

1.65

1-3/8

1-1/4

1.65

1-5/8

1-1/2

1.83

2-1/8

2

2.11

2-5/8

2-1/2

2.41

3-1/8

3

2.77

4-1/8

4

3.40

5-1/8

5

4.06

6-1/8

6

4.88

นอกจากนี้ท่ออีกประเภทที่เป็นอุปกรณ์สาคัญของระบบปรับอากาศ คือ ท่อแคปปิลลารี่ หรือแคปทิ้วป์ ซึ่งมีรายละเอียดของขนาดตามตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1.6 แสดงขนาดของท่อแคปปิลลารี่ ขนาดและเบอร์แคปทิ้วป์ เบอร์

ขนาด (นิ้ว/ID.)

ความหนา (มม.)

22

0.028

0.71

21

0.032

0.80

20

0.036

0.91

22 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขนาดและเบอร์แคปทิ้วป์ เบอร์

ขนาด (นิ้ว/ID.)

ความหนา (มม.)

19

0.042

1.07

18

0.050

1.27

17

0.055

1.40

16

0.059

1.50

15

0.064

1.62

14

0.070

1.78

1. การตัดท่อ การตัดท่อสารทาความเย็น มี 2 วิธี ดังนี้ 1.1 การตัดท่อโดยใช้คัตเตอร์ คัตเตอร์สาหรับตัดท่อ มีหลายประเภท ซึ่งผู้ใช้งานควรเลือกใช้คัตเตอร์ให้เหมาะสมกับประเภท และขนาดของท่อ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1) คัต เตอร์ต ัด ท่อ แบบสายคล้อ งตัว ส าหรับ ใช้ต ัด ท่อ ในที ่แ คบ โดยตัด ท่อ ได้ตั ้ง แต่ข นาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 - 12 นิ้ว

ภาพที่ 1.3 คัตเตอร์ตัดท่อแบบคล้องตัว 2) คัตเตอร์ตัดท่อแบบสปริง ประกอบไปด้วยส่วนของสปริงที่มีหน้าที่ช่วยให้การขยับเข้าออกรวดเร็วขึ้น ทาให้ประหยัดเวลาในการหมุนคัตเตอร์เพื่อตัดท่อ คัตเตอร์ตัดท่อแบบสปริงมีหลายรุ่น ซึ่งสามารถตัดท่อ ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ¼ - 6 นิ้ว 23 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.4 คัตเตอร์ตัดท่อแบบสปริง 3) คั ต เตอร์ ตั ด ท่ อ ทองแดงและท่ อ คอนดู ด (Tubing and Conduit Cutter) ส าหรั บ ตั ด ท่ อ ทองแดง ท่อทองเหลือง ท่ออะลูมิเนียม และท่อคอนดูดแบบบาง โดยคัตเตอร์ประเภทนี้ จะมีลูกบิดขนาดใหญ่ ซึ่งช่วย ประหยัดเวลาในการตัดท่อ คัตเตอร์ประเภทนี้มีหลายขนาด สามารถตัดท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/8 - 4 นิ้ว

ภาพที่ 1.5 คัตเตอร์ตัดท่อทองแดงและท่อคอนดูด 4) คัตเตอร์ตัดท่อแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ่ เป็นคัตเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้กับท่อขนาดใหญ่ และสามารถ ใช้ร่วมกับมอเตอร์ขันท่อ โดยอุปกรณ์นี้สามารถรองรับท่อที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 1/8 - 2 นิ้ว

24 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.6 คัตเตอร์ตัดท่อแบบลูกกลิ้งขนาดใหญ่ 5) คัตเตอร์ตัดท่อแบบอัตโนมัติ เหมาะสาหรับตัดท่อทองแดง ท่อ ทองเหลือง ท่ออะลูมิเนียม ท่อพีวีซี ท่อคอนดูดแบบบาง อุปกรณ์จะทาให้จับยึดท่อได้แบบพอดี และสามารถตัดได้โดยหมุนอุปกรณ์ไปรอบ ๆ เหมาะสาหรับ การทางานในพื้น ที่จากัด คัต เตอร์แ บบอัต โนมัติมี 2 ขนาด คือ สาหรับท่อขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง 15 มิลลิเมตร และ 22 มิลลิเมตร

ภาพที่ 1.7 คัตเตอร์ตัดท่อแบบอัตโนมัติ 6) มินิคัตเตอร์ เป็นคัตเตอร์ขนาดเล็ก เหมาะสาหรับการตัดท่อขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 - 22 มิลลิเมตร และพื้นที่ทางานที่จากัด ซึ่งมินิคัตเตอร์สามารถตัดท่อทองแดง ท่ออะลูมิเนียม และท่อทองเหลือง

25 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.8 มินิคัตเตอร์ ขั้นตอนการตัด มีดังนี้ - วางท่อลงระหว่างโรลเลอร์และใบมีดคัตเตอร์ - ปรับระยะใบมีดให้ฝังลงบนท่อเล็กน้อย - หมุนคัตเตอร์รอบท่อช้า ๆ เพื่อให้ใบมีดฝังลงในเนื้อท่อโดยรอบ - ปรับระยะใบมีดให้ฝังลงในเนื้อท่อลึกขึ้น แล้วหมุนคัตเตอร์รอบท่อ ทาซ้า ๆ จนท่อขาด

ภาพที่ 1.9 ลักษณะการตัดท่อด้วยคัตเตอร์ การตัดท่อโดยใช้เลื่ อย เหมาะสาหรับท่อแข็ง โดยต้องใช้ตัวจับท่อยึดท่อไว้ก่อนที่จะใช้เลื่ อยตัด เพื่อความสะดวกและแม่นยา

26 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.10 การใช้เลื่อยตัดท่อ 1.2 การตัดท่อแคปปิลลารี่ ท่อแคปปิลลารี่ หรือ แคปทิ้วป์ เป็นท่อที่มีขนาดเล็กมาก ดังนั้นในการตัดแคปทิ้วป์จึงใช้อุปกรณ์เฉพาะสาหรับตัด แคปทิ้วป์เท่านั้น โดยการตัดแคปทิ้วป์มีขั้นตอน ดังนี้ 1) คลี่ท่อรูเข็มออกจากม้วน ตกแต่งให้เป็นเส้นตรง 2) ทาตาแหน่งจุดที่จะตัด 3) ใช้ตะไบสามเหลี่ยมถูตรงจุดตัดให้เป็นร่องลึก ประมาณ 1/3 ของขนาดท่อ 4) ใช้มือดัดงอไปมาให้ท่อหัก ตรงจุดตัด 5) ตกแต่งปลายท่อด้วยตะไบให้ดูสวยงาม 6) ทาความสะอาดไม่ให้เศษผงทองแดง หรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ เข้าไปในท่อ

ภาพที่ 1.11 ตะไบสามเหลี่ยม กับที่วัดขนาดท่อแคปทิ้วป์ การปรับแต่งปลายท่อ ในการปรับ แต่งปลายท่อจะใช้รีมเมอร์ (Reamer) ช่ว ยลบความคมและความขรุข ระของท่อ ที่เ พิ่ง ตัด ใหม่ โดยการลบคมต้องให้ปลายท่อชี้ลงพื้น เพื่อป้องกันไม่ให้เศษทองแดงเข้าไปในท่อ เนื่องจากจะทาให้เกิดการอุดตัน ของท่อ หลังจากปรับแต่งปลายท่อเรียบร้อย ถ้ายังไม่ใช้งานควรหาวัสดุปิด หรือใช้คีมบีบไว้เพื่อป้องกันสิ่งสกปรก 27 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

โดยรีมเมอร์ลบคมท่อ แบ่งออกเป็น - ชุดใบมีดงอ เป็นอุปกรณ์ลบคมท่อโลหะสาหรับใส่กับก้านจับขนาด 3.2 มม.

ภาพที่ 1.12 ชุดใบมีดงอ - อุปกรณ์ลบคมปลายท่อ สามารถลบคมได้ทั้งขอบด้านใน และด้านนอก โดยส่วนที่จับทาจากพลาสติก ช่วยให้จับได้แน่นกระชับ

ภาพที่ 1.13 อุปกรณ์ลบคมปลายท่อ

ภาพที่ 1.14 การใช้รีมเมอร์ปรับแต่งปลายท่อ 2. การขยายท่อ การขยายท่อทองแดง เป็นการขยายท่อให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเล็กน้อย เพื่อให้สามารถสวมต่อกับท่ออีกท่อนหนึ่งที่มีขนาด เท่ากันได้ โดยใช้เครื่องมือขยายท่อ (Swaging Tool) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวจับท่อ และเหล็กตอก ขั้นตอนการขยายท่อ มีดังนี้ 1) คว้านตกแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย 28 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2) ใส่ท่อเข้าไปในรูของตัวจับท่อ ขนาดของรูกับท่อต้องเท่ากัน วัดความสูงของปลายท่อให้เท่ากับ ความหนา ของเหล็กตอก 3) ขันตัวจับให้แน่น 4) ใส่เหล็กตอกเข้าไปในท่อ แล้วใช้ค้อนค่อย ๆ ตอกเหล็กตอก จนปลายท่อแนบกับด้ามเหล็กตอก 5) คลายตัวจับท่อออก

ภาพที่ 1.15 การขยายท่อ 3. การบานแฟลร์ การทาแฟลร์ เรีย กอีก อย่า งหนึ ่ง ว่า การบานท่อ มีจุด ประสงค์เ พื่อ ต่อ ท่อ เข้า ด้ว ยกัน โดยใช้ วิธีการขันเกลี ยว ของแฟลร์นัตที่เกลียวใน เข้ากับเกลียวนอกของยูเนียน ซึ่งแบ่งออกเป็น การบานท่อชั้นเดียว และการบานท่อสองชั้น 1.1 ขั้นตอนการบานท่อชั้นเดียว มีดังนี้ 1) คว้านตกแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย 2) ใส่ท่อเข้า ไปในรูจับ ท่อ ขนาดของรูกับท่อต้อ งเท่ากัน และให้ปลายท่อสูง กว่าตัว จับ ประมาณ 1/3 ของความสูงปากหลุม ถ้าเหลือปลายท่อไว้มากเกิน เมื่อบานท่อท่อจะแตกออก ถ้าเหลือปลายท่อน้อย เกินไป เมื่อไปสวมต่อจะทาให้เกิดการรั่วไหลของสารทาความเย็นได้ 3) ขันตัวจับให้แน่น 4) สวมตัวบานท่อเข้าไปในตัวจับ แล้วออกแรงขันให้ตัวบานท่อกดท่อทองแดงบานออก 5) คลายตัวจับออก 29 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.16 การบานท่อชั้นเดียว 1.2 ขั้ น ตอนการบานท่ อ สองชั้ น มี ดั ง นี้ 1) คว้านตกแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย 2) ใส่ท่อเข้าไปในรูจับท่อ โดยให้ความสูงของปลายท่อเท่ากับความหนาของอะแดปเตอร์ 3) ขันตัวยึดให้แน่น 4) สวมอะแดปเตอร์เข้าไปในท่อ 5) ออกแรงขันให้ตัวบานท่อกดลงบนอะแดปเตอร์จนแน่น 6) คลายตัวบานท่อและเอาอะแดปเตอร์ออก แล้วออกแรงขันให้ตัวบนท่อกดลงบนปลายท่ออีกครั้ง 7) คลายตัวบานท่อ และตัวจับท่อออก 8) ถ้าหากท่อที่บานแล้วสวมกับยูเนียนไม่พอดีให้ทาใหม่

ภาพที่ 1.17 การบานท่อสองชั้น

30 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

4. การดั ด ท่ อ ในบางครั้งจาเป็นต้องดัดท่อให้โค้ง เพื่อให้สามารถต่อถึงกันได้ โดยการดัดท่อจะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า เบนเดอร์ (Bender) ซึ่งสามารถดัดท่อได้หลายชนิด เช่น ท่อเหล็ก ท่อสเตนเลส ท่อทองแดง ท่ออะลูมิเนียม เป็นต้น โดยไม่ควรใช้กับท่อ ที่มีผนังท่อบางมาก ขั้นตอนการดัดท่อ ดังนี้ 1) เลือกเบนเดอร์ให้พอดีกับขนาดของท่อ 2) ยกด้ามหมุนขึ้น ใส่ท่อทองแดงในช่อง และตัวยึดท่อเพื่อป้องกันไม่ให้ท่อลื่นไหล ดังภาพที่ 1.18

ภาพที่ 1.18 ระยะจับยึดท่อก่อนดัด 3) นาท่อทองแดงสอดเข้าไปในเบนเดอร์ ตรวจสอบตาแหน่งองศาที่ 0 ให้ตรงกับตาแหน่งที่จะดัด ดังภาพ ที่ 1.19

ภาพที่ 1.19 ทิศทางการดัด 4) ค่อย ๆ กดด้ามของเบนเดอร์ให้ท่องอโค้งตามองศาที่ต้องการ ดังภาพที่ 1.20

31 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ภาพที่ 1.20 ตาแหน่งการอ่านค่าองศาในการดัด 5) ถ้าต้องการดัดท่อที่มีมุมมากกว่า 90 องศา ให้หมุนด้านจับทวนเข็มนาฬิกาเข้าหาตัว เพื่อให้สามารถกด ด้ามจับได้อีก 6) วัดความยาวจากปลายท่อ และทาเครื่องหมายจุดที่ต้องการดัดท่อ 7) ถ้าด้านปลายของท่อที่ต้องการดัดอยู่ด้านซ้ายของตัวยึดท่อ ให้ขยับเครื่องหมายบนท่อให้ตรงกับ ขีด L บนด้ามจับ 8) ถ้าด้านปลายของท่อที่ต้องการดัดอยู่ด้านขวาของตัวยึดท่อ ให้ขยับเครื่องหมายบนท่อให้ตรงกับ ขีด R บนด้ามจับ 9) การดัดท่อด้วยมุม 90 องศา จะกดด้ามกดลงจนกระทั่งขีด 0 บนด้ามจับตรงกับขีด 90 องศาบนวงล้อ 10) การดัดท่อด้วยมุม 45 องศา จะกดด้ามกดลงจนกระทั่งขีด 0 บนด้ามจับตรงกับขีด 45 องศาบนวงล้อ 11) ถอดท่อออกจากเบนเดอร์

32 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว

1. จากภาพคืออุปกรณ์ที่ใช้ในงานท่อประเภทใด ก. บานแฟลร์ท่อ ข. ขยายท่อ ค. ดัดท่อ ง. ตัดท่อ 2. หากต้องการตัดท่อด้วยตะไบสามเหลี่ยม ต้องใช้ตะไบทาร่องลึกที่ท่อประมาณเท่าไหร่ ก. ประมาณ 1/2 ของขนาดท่อ ข. ประมาณ 1/3 ของขนาดท่อ ค. ประมาณ 1/4 ของขนาดท่อ ง. ประมาณ 1/6 ของขนาดท่อ 3. ข้อใดเป็นวิธีที่ถูกต้องในการการลบคมท่อ ก. ใช้ตัวลบคมท่อด้านที่เป็นกรวยแหลมสอดเข้าไปในท่อกวาดหมุนไปมาแนวนอน ข. ใช้ตัวลบคมท่อด้านที่เป็นกรวยแหลมสอดเข้าไปในท่อที่ชี้ขึ้นเอียง 45 องศา ค. ใช้ตัวลบคมท่อด้านที่เป็นกรวยแหลมสอดเข้าไปในท่อที่ชี้ลงต่า ง. ใช้ตัวลบคมท่อด้านที่เป็นกรวยแหลมสอดเข้าไปในท่อที่ชี้ขึ้น

33 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

เฉลยใบทดสอบ ข้อ

1 2 3

34 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 งานท่อ 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - ตัด ต่อ ขยาย บานแฟลร์ และดัดท่อได้ - เชื่อมท่อทองแดงผ่านแก็สไนโตรเจนได้

2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 4 ชั่วโมง

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกปฏิบัติงานท่อตามแบบที่กาหนดให้

หน่วย : มิลลิเมตร

35 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 งานท่อ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ค้อน

จานวน 1 ตัว

2. คัตเตอร์ตัดท่อ

จานวน 1 ตัว

3. ชุดขยายท่อ

จานวน 1 ชุด

4. ชุดบานแฟลร์

จานวน 1 ชุด

5. ตลับเมตร

จานวน 1 ชุด

6. ตะไบสามเหลี่ยม

จานวน 1 ตัว

7. เบนเดอร์ดัดท่อขนาด 1/2 นิ้ว

จานวน 1 ตัว

8. รีมเมอร์

จานวน 1 ตัว

9. ชุดเชื่อม

จานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

36 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ท่อแคปทิ้วป์ ยาว 3 เซนติเมตร

จานวน 1 เส้น

2. ท่อทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร

จานวน 1 เส้น

3. แฟลร์นัต ขนาด 1/2 นิ้ว

จานวน 1 อัน

4. ยูเนี่ยน ขนาด 1/2 นิ้ว

จานวน 1 อัน

2. ลาดับการปฏิบัติงาน งานท่อ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมท่อความยาว 40 เซนติเมตร

คาอธิบาย เตรียมท่อทองแดง ขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 40 เซนติเมตร

2. วัดความยาวท่อที่ 50 มิลลิเมตร แล้วตัด

ใช้ตลับเมตรวัดความยาว และ

โดยปลายอีกด้านหนึ่งให้ทาการขยายท่อเพื่อ กาหนดจุดที่ 50 มิลลิเมตร จากนั้น เตรียมเชื่อม จากนั้นลบคมท่อให้เรียบร้อย

ใช้คัตเตอร์ตัดท่อตามความยาว โดยเผื่อความยาวเพิ่มประมาณ 10 มิลลิเมตร สาหรับสวมท่อเข้า อีกด้าน โดยปลายด้านหนึ่งทาการ ขยายท่อเพื่อเตรียมเชื่อม จากนั้น ลบคมท่อให้เรียบร้อย

37 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

3. วัดความยาวท่อ 70 มิลลิเมตรแล้วกาหนด ใช้ตลับเมตรวัดความยาวลงมาอีก จุดดัดท่อ

70 มิ ล ลิ เ มตร แล้ ว ก าหนดจุ ด เพื่อเตรียมดัดท่อ 90 องศา

4. ดัดท่อ 90 องศาตามที่ได้กาหนดจุดไว้

ใช้เบนเดอร์ดัดท่อให้ได้ 90 องศา

5. วัดความยาวท่อ 90 มิลลิเมตร แล้ว

ใช้ ตลั บเมตรวั ดความยาว 90

กาหนดจุดเพื่อเตรียมดัด

มิลลิเมตร ตามแบบ กาหนดจุดเพื่อ เตรียมดัด 45 องศา

38 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

6. ดัดท่อให้ได้มุม 45 องศา

ใช้เบนเดอร์ดัดท่อ ทามุม 45 องศา

7. จากจุดดัดที่ 45 องศา วัดความยาว

ใช้ตลับเมตรวัดความยาวจากจุดที่

70 มิลลิเมตร แล้วตัดท่อ และลบคมท่อ

ดัด 45 องศามาอีก 70 มิลลิเมตร

ให้เรียบร้อย จากนั้นพักไว้

แล้วกาหนดจุดเพื่อตัด จากนั้นตัด ท ่อ ท อ ง แ ด ง แ ล ้ว ล บ ค ม ท ่อ ให้เรียบร้อย จากนั้นพักไว้

8. นาท่อที่ตัดไว้ในลาดับแรกมาใส่แฟลร์นัต น าท่ อ ที่ ตั ด ไว้ ใ นล าดั บ แรกมาใส่ ตามแบบ

แฟลร์นัตตามแบบ

39 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9. บานแฟลร์ตามแบบ

คาอธิบาย จากนั้ น บานแฟลร์ ต ามแบ บที่ กาหนดในใบงาน

10. น าท่ อ ทั้ ง สองส่ ว นมาสวมเข้ า ด้ ว ยกั น น าท่ อ ทั้ ง สองส่ ว นมาสว มเข้ า เชื่อมรอยต่อที่ 1 ที่ได้ขยายท่อไว้

ด้วยกัน และทาการเชื่อมรอยต่อที่ 1

11. ตั ด แคปทิ้ ว ป์ ส วมในท่ อ ใช้ คี ม บี บ แล้ ว ตัดแคปทิ้วป์ด้วยตะไบสามเหลี่ยม เชื่อมปิดแคปทิ้วป์

ยาวประมาณ 30 มิลลิเมตร จากนั้น สวมแคปทิ้ ว ป์ ล งในท่ อ ประมาณ 8 มิ ล ลิ เ มตร แล้ ว ใช้ คี ม บี บ ท่ อ จากนั้นเชื่อมปิดแคปทิ้วป์ให้สนิท

40 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คาอธิบาย

12. ทดสอบรอยรั่ว

ทดสอบรอยรั่วผ่านไนโตรเจน

13. ส่งชิ้นงาน

ส่งชิ้นงาน

41 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

ท่อในเครื่องทาความเย็น 1.1 งานตัดท่อ

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 งานขยายท่อ (แบบตอก)

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 งานบานแฟลร์ 1 ชั้น

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 งานดัดท่อ (เบนเดอร์)

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

42 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 งานตัดท่อ

คะแนนเต็ม 20

- ตัดท่อได้ขนาดตามที่กาหนด ลบคมท่อเรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- ตัดท่อขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร ยังมีคมท่ออยู่เล็กน้อย ให้คะแนน 3 คะแนน - ตัดท่อขาด/เกินตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร ลบคมท่อไม่เรียบร้อย ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 งานขยายท่อ (แบบตอก)

- ผิวเรียบ คอท่อ ไม่มีรอยร้าว แตก ระยะขยายได้ขนาด ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- ผิวเรียบ คอท่อ มีรอยเล็กน้อย ระยะขยายได้ขนาด ให้คะแนน 3 คะแนน - ผิวเรียบ คอท่อ มีรอยร้าว แตก ระยะขยายลึก หรือตื้นเกินไป ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 งานบานแฟลร์ 1 ชั้น

- ผิวเรียบ ระยะความบานได้ตามขนาด ให้คะแนน 5 คะแนน - ผิวมีรอยเล็กน้อย ระยะบานได้ตามขนาด ให้คะแนน 3 คะแนน

5

- ผิวมีรอย ระยะการบานมากเกิน ท่อมีรอยแตก ให้คะแนน 1 คะแนน 1.4 งานดัดท่อ (เบนเดอร์)

- กาหนดระยะตาแหน่งดัดถูกต้อง สามารถดัดได้ 30 องศา ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- กาหนดระยะตาแหน่งดัดขาด/เกิน 1-2 มิลลิเมตร สามารถดัดได้ขาด/ เกิน 1-2 องศา ให้คะแนน 3 คะแนน - กาหนดระยะตาแหน่งดัดขาด/เกินตั้งแต่ 3 มิลลิเมตร สามารถดัดได้ ขาด/เกินตั้งแต่ 3 องศา ให้คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน ครบถ้วน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

1

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 25

43 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 18 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

44 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

รายละเอียดหัวข้อวิชาที่ 2 0921730602 งานเชื่อม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธ์การเรียนรู้ 1. อธิบายวิธีการเชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และการเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ 2. เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจนได้

2. หัวข้อสาคัญ 1. การเชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง 2. การเชือ่ มต่อผ่านแก๊สไนโตรเจน

3. วิธีการฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเลือกได้ 3 รูปแบบ คือ 1) การฝึกอบรมด้วยการส่งมอบสื่อสิ่งพิมพ์ 2) การฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 3) การฝึกอบรมด้วยสื่อในระบบออนไลน์ ดังรายละเอียดในข้อแนะนาสาหรับครูฝึก

4. อุปกรณ์ช่วยฝึก 1. สื่อการฝึกอบรม ครูฝึกสามารถเลือกใช้งานสื่อได้ 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Offline) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึก เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (Online) ประกอบด้วย - คู่มือครูฝึกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม - คู่มือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผู้รับการฝึก - สื่อวีดิทัศน์ (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝึกอบรม 45 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2. วัสดุและอุปกรณ์ประกอบการจัดฝึกอบรมต่อผู้รับการฝึก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ลวดเชื่อมเงิน จานวน 1 อัน 2) ลวดเชื่อมทองเหลือง จานวน 1 เส้น 3) น้ายาประสาน จานวน 1 อัน 4) เซอร์วิสวาล์วพร้อมวาล์วลูกศร จานวน 2 ชุด 5) ท่อทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 6 เซนติเมตร จานวน 6 เส้น 6) ท่อทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 6 เซนติเมตร จานวน 6 เส้น 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ์ 1) ค้อน จานวน 1 ตัว 2) คัตเตอร์ตัดท่อ จานวน 1 อัน 3) ปากกาจับชิ้นงาน จานวน 1 ชุด 4) ชุดเชื่อมแก๊ส จานวน 1 ชุด 5) ตลับเมตร จานวน 1 ชุด 6) ตะไบสามเหลี่ยม จานวน 1 ชุด 7) ไนโตรเจนพร้อมเกจเรกูเลเตอร์ จานวน 1 ชุด 8) รีมเมอร์ จานวน 1 ตัว 9) เลื่อยตัดเหล็ก จานวน 1 ชุด หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

5. ขั้นตอนการฝึกอบรม 1. ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกทาแบบทดสอบก่อนฝึก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ฝึกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ให้ผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึก และฝึกหัดทาใบทดสอบท้ายหัวข้อวิชา 3. เมื่อผู้รับการฝึกศึกษาคู่มือผู้รับการฝึกประจาโมดูลนั้นเข้าใจแล้ว ให้ครูฝึกมอบหมายผู้รับการฝึกให้ทาแบบทดสอบ หลังฝึก (Post-Test) และประเมินผลเช่นเดียวกับแบบทดสอบก่อนฝึก 4. การฝึกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝึกชี้แจงลาดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝึกให้ผู้รับการฝึกทาการฝึก โดยครูฝึกต้องคอยสอบถาม ชี้แนะ และให้คาแนะนาเมื่อผู้รับการฝึกมีข้อสงสัย 6. ครูฝึกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พร้อมวิเคราะห์ผลงานร่วมกับผู้รับการฝึกและแนะนาวิธีแก้ไข 7. ครูฝึกแนะนาผู้รับการฝึกที่คะแนนผลงานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ให้ทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝึก 46 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

6. การวัดผล 1. ครูฝึกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบก่อนฝึก 1.1 ถ้าผลการประเมินผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนดในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเข้ารับการฝึก ภาคปฏิบัติ (ถ้ามี) หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไป หรือเข้ารับการฝึกในโมดูลที่ครูฝึกกาหนดได้ 1.2 ถ้าผลการประเมินต่ากว่าร้อยละ 70 ให้ครูฝึกมอบหมายให้ผู้รับการฝึกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด้วยตนเองจนเข้าใจ จึงทาแบบทดสอบหลังฝึก (Post-Test) 2. ครูฝึกประเมินแบบทดสอบหลังฝึก โดยใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการประเมินแบบทดสอบก่อนฝึก 3. ครูฝึกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผู้รับการฝึกโดยต้องผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ตามที่กาหนด ในเอกสารโครงร่างหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เข้ารับการฝึกในโมดูลถัดไปได้

7. บรรณานุกรม จีรวรรณ บุตรโสภา. 2557. หน่วยที่ 3 งานเชื่อมแก๊ส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://2100-1005-1.blogspot.com/2014/01/3.html วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีแพร่. 2557. การเชื่อมแก๊ส. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.pcat.ac.th/_files_school/00000831/data/00000831_1_20141106-121955.pdf วิทยาลัยเทคนิคพัทยา. 2560. หน่วยที่ 5 งานบัดกรีแข็ง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.pattayatech.ac.th/files/150511088525213_15051111115447.pdf

47 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบข้อมูล หัวข้อวิชาที่ 2 งานเชื่อม การเชื่อมแก๊ส ในการเชื่อมท่อน้ายาสารทาความเย็น จะประกอบไปด้วยเครื่องมือและอุปกรณ์ ดังนี้ 1) ถังบรรจุแก๊สอะเซทิลีน (Acetylene Cylinder) 2) ถังบรรจุแก๊สออกซิเจน (Oxygen Cylinder) 3) มาตรวั ด ความดั น ออกซิ เ จน และอะเซทิ ลี น ( Oxygen and Acetylene Regulator) มี ห น้ า ที่ บ อก ความดันภายในถังแก๊ส และควบคุมความดันที่ปล่อยออกมาให้คงที่ โดยแบ่งเป็น - เกจวัดความดันสูง ทาหน้าที่วัดความดันภายในถัง โดยเกจวัดความดันสูงของออกซิเจน จะวัดได้สูงถึง 3,000 ปอนด์ / ตารางนิ้ว ส่วนของอะเซทิลีน วัดได้สูงถึง 350 ปอนด์/ตารางนิ้ว - เกจวัดความดันต่า ทาหน้าที่วัดความดันของแก๊สที่นาไปใช้งาน โดยเกจวัดความดันต่าของออกซิเจน จะปรับใช้งานที่ความดัน 25 ปอนด์ / ตารางนิ้ว ส่วนของอะเซทิลีน จะปรับใช้งานที่ความดันไม่เกิน 15 ปอนด์/ตารางนิ้ว 4) สายเชื่อม (Welding Hose) เป็นท่อยางที่มีความยาวไม่น้อยกว่า 5 เมตร มีทั้งแบบสายเดี่ยวและสายคู่ 5) ข้อต่อ (Fitting) ไว้สาหรับสวมเข้ากับสายเชื่อม แล้วยึดด้วยแคล้มป์รัดท่อยาง ทอร์ชเชื่อมและหัวทิพเชื่อม (Welding Torch and Welding tip) ทอร์ชเชื่อม หรือ กระบอกเชื่อมเป็นส่วน ที่แก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซทิลีนมาผสมกัน โดยสามารถควบคุมอัตราส่วนได้ตามต้องการ จากนั้นแก๊สจะไหล ไปสู่หัวทิพเชื่อม 6) แว่น ตาเชื่อ มแก๊ส (Welding Goggle) สวมเพื่อ ป้อ งกัน สะเก็ด ไฟจากการเชื่อ ม และถนอมสายตา โดยมีทั้งแบบเลนส์คู่และเลนส์เดี่ยว 7) อุปกรณ์จุดเปลวไฟ (Spark Lighter) ขณะจุดไฟควรให้ปลายทิพห่างประมาณ 1 นิ้ว 8) อุปกรณ์ทาความสะอาดหัวทิพเชื่อม (Tip Cleaner) เพื่อไม่ให้เปลวไฟเอียงหรือแตกออก 9) วาล์วป้องกันแก๊สและไฟย้อนกลับ (Reverse Floe Check Valves) 10) ประแจ (Wrench) ใช้ประแจเปิดถังโดยเฉพาะ 11) ลวดเชื่อมแก๊ส (Filler Rod) ลวดเชื่อมทองแดง ลวดเชื่อมเงิน แบ่งเกรดได้ดังนี้ - ชนิ ด 0% ไม่ มี ส่ ว นผสมของเงิ น (BCup-2) เหมาะกั บ งานเชื่ อ มทองแดง ราคาประหยั ด และสถานที่เชื่อมสามารถใช้อุณหภูมิสูงได้ 48 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

- ชนิด 2% มีส่วนผสมของเงิน 2% (BCup-2) เหมาะกับงานเชื่อมทองแดงและเชื่อมทองเหลืองได้ - ชนิด 5% มีส่วนผสมของเงิน 5% (BCup-3) เหมาะกับงานเชื่อม เช่นเดียวกัน 2% แต่จุดเชื่อม มีความยืดหยุ่นสูงกว่า 0% และ 2% - ชนิด 15% มีส่วนผสมของเงิน 15% (BCup-5) เหมาะกับงานเชื่อม เช่นเดียวกับ 5% และกรณี หน้าสัมผัสไม่เรียบ และช่วยรักษาอุณหภูมิ ไม่ให้สูญเสียในรอยต่อ เช่น งานเครื่องเย็น - ชนิด 35% มีส่วนผสมของเงิน 35% (BAg-35) เหมาะกับงานเชื่อม เช่นเดียวกับ 15% และกรณี โลหะ พื้นฐานต่างสกุล เช่น เหล็กกับทองแดง - ชนิ ด 45% มี ส่ ว นผสมของเงิ น 45% (BAg-5) เหมาะกั บ งานเชื่ อ ม เช่ น เดี ย วกั บ 35% และกรณี โลหะผสมต่างสกุล เช่น สเตนเลสสตีลกับทองแดงหรือทองเหลือง - ชนิด 56% มีส่วนผสมของเงิน 56% (BAg-7) เหมาะกับงานเชื่อมทุกชนิดที่ต้องการคุณภาพสูงสุดนิยม ในอุตสาหกรรมผลิตอาหาร ตารางที่ 2.1 แสดงสารเชื่อมและโลหะที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมทั่วไป ชื่อสารเชื่อม มาตรฐาน JIS BCuP

BCuP

1-6

Phosphor

โลหะที่สามารถเชื่อมประสาน Cu+Cu. Cu+CuZn

อุณหภูมิทางาน 645 - 9250C

CuZn+CuZn

หมายเหตุ การประสานงานของ Cu+Cu ไม่ ต้ อ งใช้

Copper

Flux ก็ ส า ม า ร ถ ประสานกันได้

BA g

BA g

1-8

Cu+Cu. Cu+CuZn

605 - 8000C

จะค่อนข้างแข็งกว่า

เงิน

18. 21.

Cu+SuS

Brass สาหรับการดึง

24. 1A. 7A

Fe+SuS. Fe+CuZn

ถ้ า เป็ น การสั่ น จะ

7B. 8A. 20A.

SuS+SuS. SuS+CuZn

อ่อนกว่า Brass

CuZn+CuZn BCuZn

BCuZu 0-7

ทองเหลือง

สามารถเชื่ อ มประสานกั บ โลหะ 800 - 9350C

เชื่อมประสาน CuZn

เช่นเดียวกับของ BRASS ได้

โดยเชื่อม Bead

BAI

BA 4343

AI+AI. AI+SuS

อลูมิเนียม

BA 4045

AI+Cu

520 - 6150C

การบัดกรี AI จะ ไม่ใช้ เนื่องจาก

49 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ชื่อสารเชื่อม มาตรฐาน JIS

โลหะที่สามารถเชื่อมประสาน

อุณหภูมิทางาน

หมายเหตุ

BA 4145

ไม่แข็งแรงต่อการสั่น

BA 4047

และแรงดึง แต่ที่ผ่าน มาไดกิ้นเคยทา บัดกรี AI-Cu ในการ ผลิต Alumi Cooler

คุณสมบัติของฟลักซ์ 1) ช่วยในการอาร์กได้ง่ายขึ้น ทาให้ชิ้นงานเรียบสม่าเสมอ 2) ป้องกันอากาศที่อาจเข้ามารวมตัวกับแนวเชื่อมได้ 3) ช่วยดึงสิ่งสกปรกในบ่อหลอมละลายเข้ามารวมตัวเป็นสแลก รวมถึงกาจัดออกไซด์และสารมลทิน 4) ปกคลุมรอยเชื่อม ทาให้รอยเชื่อมไม่เย็นตัวเร็วกว่าปกติ 5) เติมและรักษาคุณสมบัติของธาตุที่ผสมอยู่ ทาให้รอยเชื่อมมีคุณสมบัติตามต้องการ 6) ลดการกระเด็นของเม็ดโลหะ

ภาพที่ 2.1 ชุดเครื่องเชื่อมแก๊ส ขั้นตอนการจุดเปลวไฟ มีดังนี้ 1) ตรวจสอบว่าอุปกรณ์ต่าง ๆ พร้อมใช้งาน ไม่มีรอยรั่วของแก๊ส 2) เปิดลิ้นถังแก๊สออกซิเจนก่อน โดยหมุนช้า ๆ จนสุดเกลียว 3) เปิดลิ้นถังแก๊สอะเซทิลีน โดยหมุนเพียง 1-2 รอบ และให้ประแจที่ใช้เปิดคาไว้ 4) ปรับขนาดความดันแก๊สตามชนิดของหัวเชื่อม โดยปรับ O2 และ LPG ทีเ่ รกูเลเตอร์ 50 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

5) เปิดวาล์วหัวถังแก๊สอะเซทิลีน หรือแก๊ส LPG เกจวัดแรงดันด้านขวามือ แสดงค่า ความดันภายในถังแก๊ส จากนั้น ปรับ เรกูเ ลเตอร์ต ามเข็ม นาฬิก า จนเกจวัด แรงดัน ข้า งซ้า ยมื อ ชี้ที่ 0.5 บาร์ หมุน เปิด วาล์ ว หั ว แก๊สออกซิเจน และปรับแรงดันโดยหมุนตามเข็มนาฬิกา ให้ความดันอยู่ที่ 2.5 บาร์ 6) เปิดวาล์วแก๊สอะเซทิลีนโดยหมุนวาล์วที่หัวเชื่อมประมาณ 1/6 รอบ แล้วจุดไฟ 7) เปิดวาล์วออกซิเจนโดยหมุนประมาณ 1/3 รอบ แล้วปรับให้เป็นเปลวไฟในลักษณะที่ต้องการ 8) เปิดลิ้นแก๊สออกซิเจนที่มือถือเชื่อมประมาณ 1/6 รอบ และเปิดลิ้นแก๊สอะเซิทิลีนเล็กน้อย 9) ใช้ม ือ บัง ที ่ห ัว เชื ่อ ม เมื ่อ รู ้ส ึก มีแ ก๊ส พุ ่ง ออกมา ให้ใ ช้เ ครื ่อ งมือ จุด ไฟจุด โดยให้ห ่า งจากหัว เชื ่อ ม ประมาณ 3 เซนติเมตร 10) ปรับเปลวไฟให้มีลักษณะตามต้องการ โดยลักษณะของเปลวไฟที่ใช้ในการเชื่อม มีหลายลักษณะ ดังนี้ - เปลวคาร์ บู ไ รซิ ง (Carburizing Flame) เรี ย กว่ า เปลวลด ซึ่ ง มี ป ริ ม าณของแก๊ ส อะเซิ ทิ ลี น มากกว่า ออกซิเ จน โดยมีเ ปลวไฟ 3 ชั้น ชั้น นอกสุด เป็น รูป กรวยแหลมสีส้ม ชั้น กลางเป็น แก๊ส คาร์บอนมอนออกไซด์ ชั้นในสุดมองเห็นไม่ชัดเจน เปลวไฟนี้ให้ความร้อน 2,800 ˚C

ภาพที่ 2.2 เปลวไฟคาร์บูไรซิง - เปลวนิวทรัล (Neutral Flame) เรียกว่า เปลวกลาง ซึ่งมีปริมาณของแก๊สอะเซทิลีนกับออกซิเจนเท่ากัน โดยเปลวไฟมี 2 ชั้น ชั้นนอกเป็นรูปกรวยแหลมไม่มีเขม่า ชั้นในเป็นรูปกรวยปลายมนมีสีขาวนวล เปลวนี้ให้ความร้อน 3,200 ˚C เหมาะสาหรับการเชื่อมท่อสารทาความเย็น

ภาพที่ 2.3 เปลวไฟนิวทรัล - เปลวไฟออกซิไดซิง (Oxidizing Flame) เรียกว่า เปลวเพิ่ม ซึ่งมีปริมาณของแก๊สออกซิเจน มากกว่า อ ะ เ ซ ทิ ลี น โ ด ย เ ป ล ว ไ ฟ มี 2 ชั้ น ชั้ น น น อ ก เ ป็ น รู ป ก ร ว ย แ ห ล ม สี ฟ้ า แ ล ะ เ สี ย ง ดั ง ชั้นในเป็นเปลวเล็กสั้น เปลวนี้ให้ความร้อน 3,400 ˚C

51 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ภาพที่ 2.4 เปลวไฟออกซิไดซิง 1. การเชื่อมท่อทองแดงและทองแดงกับทองเหลือง การเชื่อมท่อทองแดงกับทองเหลือง มีวิธีการเชื่อมเหมือนกับการเชื่อมท่อทองแดงทั่วไป โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ตรวจสอบว่าท่อทั้งสองที่จะเชื่อมต่อนั้น สามารถสวมกันได้พอดีหรือไม่ ช่องห่างต้องมีระยะประมาณ 0.07 มิลลิเมตร และไม่น้อยกว่า 0.025 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นระยะที่เหมาะสมที่สุด ที่ทาให้โลหะบัดกรีไหล ผ่านได้พอดี ถ้าระยะห่างระหว่างท่อมีขนาดกว้างเกินไป ลวดเงินเชื่อมจะไหลเข้าไปภายในมาก และส่งผล ให้ท่ออ่อนตัวลง ถ้าระยะห่างน้อยกว่า 0.025 มิลลิเมตร โลหะบัดกรีจะไหลผ่านได้ไม่ดี ทาให้เกิดตามด ที่รอยเชื่อม ก่อให้เกิดปัญหาการรั่วซึมเมื่อใช้งานไประยะเวลานาน 2) ตรวจสอบความสะอาดของชิ้นงาน ไม่ให้มีสิ่งเปรอะเปื้อนบริเวณผิ วรอบนอกของท่อ เช่น คราบออกไซด์ คราบน้ามัน ฝุ่นละออง เพื่อให้โลหะประสานซึมเข้าเชื่อมระหว่างผิวท่อได้ดี 3) ตรวจสอบรูปร่างของข้อต่อว่าถูกต้องตามแบบหรือไม่ 4) โดยทั่วไปสารเชื่อมจะมีความอ่อนตัวมากกว่าข้อต่อ จึงต้องใช้ข้อต่อแบบสวมทับ เพราะมีพื้นที่สัมผัสกันมาก 5) ตรวจสอบการใช้ลวดเงินเชื่อมว่าตรงกับวัตถุประสงค์ของงาน 6) ใส่ฟลั๊ก แล้วปรับให้เป็นเปลวไฟในลักษณะที่ต้องการ 7) มุมของเปลวไฟในการเชื่อมประมาณ 80 องศา จ่อเปลวไฟที่บริเวณที่ต้องการเชื่อม เติมลวดเงินเชื่อมทีละนิด 8) เสร็จแล้วตรวจสอบคุณภาพชิ้นงาน 2. การเชื่ อ มท่ อ ผ่ า นแก๊ ส ไนโตรเจน (การเชื่อมท่อทองแดง) การเชื่อมท่อทองแดงด้วยวิธีการบัดกรีแข็ง (Brazing) ซึ่งเป็นการให้ความร้อนแก่ท่อทองแดง และเติมลวดเชื่อมโดย ไม่ใช้น้ายาประสาน โดยระหว่างที่เชื่อมต้องปล่อยแก๊สไนโตรเจนเข้าสู่ภายในท่อ เพื่อป้องกันการเกิดออกไซด์ของทองแดง ซึ่งจะทาให้เกิดคราบเขม่าสีดาที่ผิวด้านในของท่อ โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ปรับแต่งปลายท่อให้เรียบร้อย 2) สวมท่อทั้งสองที่ต้องการเชื่อมต่อกัน 3) ใช้เทปปิดปลายท่ออีกด้าน แล้วเจาะรูขนาดเล็ก เพื่อให้แก๊สไนโตรเจนไหลออกได้ 4) ปล่อยแก๊สไนโตรเจนแรงดันประมาณ 2 psi เข้าสู่ท่อ 52 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

5) ตรวจเช็คความพร้อมของอุปกรณ์เชื่อม และจุดไฟที่หัวเชื่อม 6) ปรับเปลวไฟให้เป็นเปลวไฟนิวทรัล โดยปรับปริมาณของแก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซทิลีนในอัตราส่วนที่เท่ากัน 7) ให้ความร้อนแก่บริเวณปลายท่อ โดยให้ห่างจากขอบประมาณ 1 นิ้ว และส่ายไปมาสั้น ๆ ห้ามค้างอยู่จุดใดจุดหนึ่ง นานเกินไป เพราะจะทาให้ท่อเสียหายได้ 8) เมื่อบริเวณที่จะเชื่อมมีอุณหภูมิสูงพอแล้วให้เลื่อนเปลวไฟออก 9) ใส่ลวดเชื่อมพร้อมฟลักซ์เข้าไปที่รอยต่อ 10) เมื่อลวดเชื่อมและฟลักซ์ละลายดีแล้ว จึงดับเปลวไฟได้

ภาพที่ 2.5 ขั้นตอนการบัดกรีแข็งผ่านแก๊สไนโตรเจน

ภาพที่ 2.6 ท่อที่ผ่านการบัดกรีแข็งผ่านแก๊สไนโตรเจน ในปัจจุบันช่างเครื่องปรับอากาศนิยมเลือกใช้แก๊สไนโตรเจนในการเชื่อมท่อทองแดงและทองแดงกับทองเหลือง มากกว่าที่จะเลือกใช้แก๊สออกซิเจน เนื่องจากแก๊สไนโตรเจนนั้น เมื่อช่างเครื่องปรับอากาศทาการเชื่อมแล้ว รอยเชื่อมที่ ได้มีความแข็งแรง และไม่ก่อให้เกิดการระเบิดขณะปฏิบัติงานดังเช่นการใช้แก๊สออกซิเจน แต่ข้อเสียของการใช้แก๊ส ไนโตรเจน คือ ต้นทุนของถังแก๊สไนโตรเจน ซึ่งมีราคาที่ค่อนข้างสูง อาจทาให้ช่างเครื่องปรับอากาศบางส่ว นไม่มี ความพร้อมที่จะเลือกใช้แก๊สไนโตรเจนได้

53 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบทดสอบ คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่า ถูก หรือ ผิด และทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบ ถูก

ผิด

ข้อความ 1. การเชื่อมท่อต้องใช้เปลวไฟเบาๆกับท่อทองแดงบาง ๆ 2. ควรเลือกใช้เปลวไฟทรง ๆ เมื่อทาให้ท่อทองแดงทะลุ 3. ก่อนใช้งานต้องตรวจว่ามีการรั่วหรือไม่ 4. เมื่อเชื่อมเสร็จไม่ควรจับท่อโดยทันที 5. ขณะเปิดแก๊สที่หัวเชื่อม ต้องเปิดอย่างรวดเร็ว 6. ต้องใส่ชุด หน้ากาก ถุงมือป้องกันอันตรายจากการเชื่อม 7. จะต้องอิงมือทุกครั้งก่อนจุดไฟเมื่อทดสอบแก๊ส 8. เมื่อเชื่อมเสร็จนาไปใช้งานได้เลย 9. ควรขยายรูท่อก่อนทาการเชื่อม 10. ผู้เชื่อมไม่จาเป็นต้องสวมหน้ากากป้องกัน

54 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

เฉลยใบทดสอบ ข้อ

ถูก

ผิด

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

55 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 งานเชื่อม 1. วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม - เชื่อมแก๊สระหว่างท่อทองแดงกับท่อทองเหลือง และเชื่อมต่อผ่านแก๊สไนโตรเจนได้ 2. ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานรวม 3 ชั่วโมง 30 นาที

3. คาชี้แจง ให้ผู้รับการฝึกเชื่อมท่อทองแดง 2 ท่อเข้าด้วยกัน ด้วยวิธีการต่อไปนี้ 1. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง 2. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงินผ่านแก๊สไนโตรเจน

56 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 งานเชื่อม 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนเริ่มปฏิบัติงาน ได้แก่ - ถุงมือผ้า - รองเท้านิรภัย - ชุดปฏิบัติการช่าง 1.2 รับฟังคาสั่งจากครูฝึก พร้อมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่ให้มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือวัสดุอันตราย เช่น สายไฟฟ้า วางกีดขวางอยู่ 2. ดูแลไม่ให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณ์ช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉินต่าง ๆ รวมถึงวิธีการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. ค้อน

จานวน 1 ตัว

2. คัตเตอร์ตัดท่อ

จานวน 1 อัน

3. ปากกาจับชิ้นงาน

จานวน 1 ชุด

4. ชุดเชื่อมแก๊ส

จานวน 1 ชุด

5. ตลับเมตร

จานวน 1 ชุด

6. ตะไบสามเหลี่ยม

จานวน 1 ชุด

7. ไนโตรเจนพร้อมเกจเรกูเลเตอร์

จานวน 1 ชุด

8. รีมเมอร์

จานวน 1 ตัว

9. เลื่อยตัดเหล็ก

จานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือว่ามีสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ หากพบว่าเครื่องมือชิ้นใดชารุด ให้รายงานครูฝึกให้ทราบ

57 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

1.5 การเตรียมวัสดุต่อผู้รับการฝึก 1 คน 1. เซอร์วิสวาล์วพร้อมวาล์วลูกศร

จานวน 2 ชุด

2. ท่อทองแดงขนาด 1/2 นิ้ว ความยาว 6 เซนติเมตร

จานวน 6 เส้น

3. ท่อทองแดงขนาด 3/8 นิ้ว ความยาว 6 เซนติเมตร

จานวน 6 เส้น

4. น้ายาประสาน

จานวน 1 อัน

5. ลวดเชื่อมเงิน

จานวน 1 อัน

6. ลวดเชื่อมทองเหลือง

จานวน 1 เส้น

58 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2. ลาดับการปฏิบัติงาน 2.1 เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดท่อทองแดงตามกาหนด

คาอธิบาย ตัดท่อทองแดงตามที่กาหนดไว้ ใน ใบงาน พร้อมขยายท่อด้านหนึ่งทุกชิ้น

2. สวมท่อต่อเข้าด้วยกันเพื่อเตรียมเชื่อม

สวมท่อ ต่อ เข้า ด้ว ยกัน โดยท่ อ 3/8 นิ้ ว เตรี ย มเชื่ อ มด้ ว ยลวด ทองเหลือง

3. ปรับตั้งเปลวไฟเชื่อม

ปรับตั้งเปลวไฟแก๊สเชื่อม

4. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อม โดยใช้น้ายาประสาน

ทองเหลือง โดยใช้น้ายาประสาน

59 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

5. ทดสอบรอยรั่ว

คาอธิบาย

ทดสอบรอยรั่ ว ผ่ า นไนโตรเจน โดยถ้าจุดเชื่อมมีรอยรั่วหรือเชื่ อม ปิ ด ไม่ ส นิ ท จะเกิ ด ฟองอากาศ ภายในน้า

6. สิ่งชิ้นงาน

สิ่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

60 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

2.2 เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงินผ่านแก๊สไนโตรเจน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ตัดท่อทองแดงตามกาหนด

คาอธิบาย ตัดท่อทองแดงตามที่กาหนดไว้ใน ใบงานพร้อมขยายท่อด้านหนึ่ง ทุกชิ้น

2. สวมท่อทองแดงเข้าด้วยกันเพื่อเตรียมนาไป

สวมท่ อ ต่ อ เข้ า ด้ ว ยกั น โดยท่ อ

เชื่อม

1/2 นิ้ว เตรียมเชื่อมด้วยลวดเงิน โดยผ่านแก๊สไนโตรเจน

3. ต่ อ แก๊ ส ไนโตรเจน เข้ า กั บ ท่ อ ทองแดงที่ เตรี ย มต่ อ ไนโตรเจนและปล่ อ ย จะเชื่อม แล้วปล่อยแก๊สไนโตรเจน

แก๊ ส ไนโตรเจนผ่ า นเรกู เ ลเตอร์ ภายในท่อที่จะเชื่อม ที่ความดัน 2 Psi โดยปลายท่ อ อี ก ด้ า นหนึ่ ง เปิดไว้

61 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. ปรับตั้งแก๊สเชื่อม

คาอธิบาย ปรั บ ตั้ ง เปลวไฟแก๊ ส เชื่ อ ม โดย เปิดวาล์วแก๊สอะซีทีลีน แล้ว เปิด วาล์ ว หั ว ท่ อ ของแก๊ ส ออกซิ เ จน จากนั้ น เปิ ด วาล์ ว หั ว เชื่ อ มของ แก๊สอะเซทิลีน แล้วจุดแก๊สโดยให้ อุปกรณ์จุดเปลวไฟ เปิดวาล์วหัว เชื่ อ มของออกซิ เ จน เปลวไฟ จะต้องไม่มีควันดาหรือไม่มีเสี ยง ดัง ปรับแต่งให้ได้เปลวกลาง หรือ Neutral Flame

5. เชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงิน

เชื่อมท่อทองแดงด้ว ยลวดเชื่ อ ม เงิน

6. ทดสอบรอยรั่ว

ทดสอบรอยรั่วผ่านไนโตรเจน โดยถ้าจุดเชื่อมมีรอยรั่วหรือเชื่อม ปิดไม่สนิท จะเกิดฟองอากาศ ภายในน้า

7. สิ่งชิ้นงาน

สิ่งชิ้นงานเพื่อรับการประเมิน

62 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

ข้อควรระวัง


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

3. ตรวจสอบชิ้นงาน ตรวจสอบและบันทึกข้อบกพร่องต่อไปนี้ ลาดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑ์การพิจารณา

การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง 1.1 งานขยายท่อ

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 รอยเชื่อม

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การทดสอบรอยรั่ว

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงิน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 งานขยายท่อ

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 รอยเชื่อม

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 การทดสอบรอยรั่ว

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและครบถ้วน

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องและ

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบัติงาน 2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

ความถูกต้องตามวิธีการปฏิบัติงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพื้นที่

ความถูกต้องตามวิธีการใช้งาน

ปฏิบัติงาน

63 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

ใบให้คะแนนการตรวจสอบ ลาดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

การปฏิบัติงาน

คะแนนเต็ม 30

การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมทองเหลือง 1.1 งานขยายท่อ

- ขยายท่อแล้วคอท่อสมบูรณ์ เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- ขยายท่อแล้วคอท่อมีรอยเล็กน้อย แต่ไม่เสียหายต่อการใช้งาน ให้ คะแนน 3 คะแนน - ขยายท่อแล้วท่อมีรอยลึก ใช้งานแล้วเสียหาย ให้คะแนน 1 คะแนน 1.2 รอยเชื่อม

- เชื่อมท่อได้แนบสนิท แข็งแรง สวยงาม ให้คะแนน 5 คะแนน - เชื่อมท่อได้ ท่อตรง แข็งแรง แต่ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 3 คะแนน

5

- เชื่อมท่อได้ ท่อไม่ตรง ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 1 คะแนน 1.3 การทดสอบรอยรั่ว

- รอยเชื่อมไม่รั่ว ผสานเป็นเนื้อเดียว ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- รอยเชื่อมไม่รั่ว ผิวมีรอยเชื่อมไม่สม่าเสมอ รอยเชื่อมหนา ให้คะแนน 3 คะแนน - รอยเชื่อมรั่ว ให้คะแนน 1 คะแนน การเชื่อมท่อทองแดงด้วยลวดเชื่อมเงิน 1.4 งานขยายท่อ

- ขยายท่อแล้วคอท่อสมบูรณ์ เรียบร้อย ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- ขยายท่อแล้วคอท่อมีรอยเล็กน้อย แต่ไม่เสียหายต่อการใช้งาน ให้ คะแนน 3 คะแนน - ขยายท่อแล้วท่อมีรอยลึก ใช้งานแล้วเสียหาย ให้คะแนน 1 คะแนน 1.5 รอยเชื่อม

- เชื่อมท่อได้แนบสนิท แข็งแรง สวยงาม ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- เชื่อมท่อได้ ท่อตรง แข็งแรง แต่ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 3 คะแนน - เชื่อมท่อได้ ท่อไม่ตรง ไม่แนบสนิท ให้คะแนน 1 คะแนน 1.6 การทดสอบรอยรั่ว

- รอยเชื่อมไม่รั่ว ผสานเป็นเนื้อเดียว ให้คะแนน 5 คะแนน

5

- รอยเชื่อมไม่รั่ว ผิวมีรอยเชื่อมไม่สม่าเสมอ รอยเชื่อมหนา ให้คะแนน 3 คะแนน - รอยเชื่อมรั่ว ให้คะแนน 1 คะแนน 2

กิจนิสัย

5

2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์อย่างถูกต้องและ - ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1

ครบถ้วน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.2 สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

อย่างถูกต้องและครบถ้วน ก่อนเริ่มปฏิบตั ิงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน

2.3 ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนการทางาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

1 1

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว่างการปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

64 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได้


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3 ลาดับที่

รายการประเมิน

เกณฑ์การให้คะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได้

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และทา

- ปฏิบัติได้ครบถ้วน ถูกต้อง ให้คะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไม่ครบถ้วน ไม่ถูกต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

1 35

หมายเหตุ หากผู้เข้ารับการฝึกได้รับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 70) ให้ผู้เข้ารับการฝึก ขอเข้ารับการทดสอบภาคปฏิบัติได้

65 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

คณะผู้จัดทาโครงการ คณะผู้บริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

5. ว่าที่ร้อยตรี สมศักดิ์ พรหมดา

ผู้อานวยการสานักพัฒนาผู้ฝึกและเทคโนโลยีการฝึก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน์

ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบการฝึก

7. นายวัชรพงษ์

มุขเชิด

ผู้อานวยการสานักงานรับรองความรู้ความสามารถ

คาเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ์

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพ์สาลี

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกล้า

ภาควิชาครุศาสตร์วิศวกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กาภู ณ อยุธยา

สานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงค์วัฒนานุรักษ์

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาช่างไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค์

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาช่างยนต์ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 66 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


คู่ มื อ ครู ฝึ ก สาขาช่ า งเครื่ อ งปรั บ อากาศภายในบ้ า นและการพาณิ ช ย์ ข นาดเล็ ก ระดั บ 2 โมดู ล การฝึ ก ที่ 3

67 กรมพั ฒ นาฝี มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.